หน้า |ก
คำนำ
ต า ม บ ท บั ญ ญั ติ ข อ งพ ร ะร า ช ก ฤ ษ ฎี ก า ว่ า ด้ ว ย ห ลั ก เก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร บ ริ ห า ร กิ จ ก า ร บ้ า น เมื อ ง ท่ี ดี
พ.ศ. 2546 มาตรา 9 กาหนดให้ (1) ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด สถานศึกษาต้องจัดทาแผนปฏิบัติการ
ประจาปีการศึกษา ไว้เป็นการล่วงหน้า (2) การกาหนดแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษาตาม (1) ต้องมี
รายละเอียดของข้ันตอน ระยะเวลาและงบประมาณที่จะต้องใช้ในการดาเนินการของแต่ละขั้นตอนเป้าหมายของ
ภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิของภารกิจ และตัวช้ีวัดความสาเร็จของภารกิจและตามมาตรา 16 วรรคสอง กาหนดให้ในแต่
ละปงี บประมาณสถานศกึ ษา ต้องจัดทาแผนปฏบิ ัติการประจาปี โดยให้ระบุสาระสาคัญเกยี่ วกบั นโยบายการปฏบิ ัติ
ราชการของสถานศึกษา เป้าหมายและผลสัมฤทธขิ์ องงานเสนอให้หน่วยงานต้นสังกัดให้ ความเหน็ ชอบ และวรรค
สาม เม่ือได้รับความเห็นชอบแล้ว ให้งานฝ่ายบริหารงบประมาณจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการดาเนินงาน
ตามแผนปฏิบัติการประจาปีต่อไปประกอบกับระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดทาแผนการบริหาร
ราชการแผ่นดนิ พ.ศ. 2547 ข้อ 8 กาหนดใหส้ ่วนราชการ จัดทาแผนปฏบิ ัติราชการตามมาตรา 16 แห่งพระราช
กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ภายในกาหนดเวลา โดย (2)
กาหนดแผนปฏิบัติการประจาปี ให้จัดทาและเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้ความเห็นชอบก่อน
เสนอคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีในแผนงบประมาณต่อไป โดยมีสาระสาคัญของแผนปฏิบัติงานประจาปี
แบง่ เป็น 4 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 บทนา นาเสนอขอ้ มูลเกี่ยวกับกรอบแนวคดิ เชงิ นโยบายท่ีเก่ยี วข้องกับการ
จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี ส่วนท่ี 2 สาระสาคัญของแผนปฏิบัติการประจาปี ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ
ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ตัวช้ีวัดตามเป้าประสงค์ และค่าเป้าหมาย ส่วนที่ 3 รายละเอียดของแผนปฏิบัติการ
ประจาปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรยี นบ้านโปง่ คอมและหวังเปน็ อยา่ งยงิ่ ว่าผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องจะนาไปใช้เปน็ กรอบ
ในการดาเนินงาน และระดมสรรพกาลังรว่ มผลักดันการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2562 ไปสู่
การปฏบิ ัติให้บรรลตุ ามเป้าหมายท่วี างไวต้ ่อไป
(นางธนพรรณ ทศพรพรหม)
ผ้อู านวยโรงเรยี นบ้านโปง่ คอม
สำรบัญ หน้า |ข
คานา หนา้
สารบัญ
ส่วนท่ี 1 ส่วนนำ ก
ข้อมลู ของสถานศึกษาสภาพบรบิ ททัว่ ไป ข
สภาพปัจจุบนั ของสถานศึกษา 1
ขอ้ มลู ด้านอาคารสถานที่ 1
ขอ้ มูลด้านงบประมาณและทรัพยากร 4
แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินและการใชห้ ้องสมดุ 4
ขอ้ มลู ครแู ละบุคลากร 4
ข้อมูลนักเรยี น 5
ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระดบั สถานศึกษา ปีการศึกษา 2561 6
โครงสรา้ งการบริหารสถานศึกษา 8
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา 9
สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกกรอบสาม 14
ผลงานท่ีผา่ นมาในรอบ 3 ปี 16
ขอ้ มูลการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ 17
23
สว่ นที่ 2 ทศิ ทำงกำรพัฒนำสถำนศึกษำ 24
อัตลักษณข์ องสถานศึกษา
เอกลกั ษณ์ 25
สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน 27
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 27
ค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช. 27
กลยุทธสฺ ถานศึกษา 27
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานฯ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 27
วิสัยทศั น์ประเทศไทย ปี 2558 – 2563 “ม่นั คง มง่ั ค่งั ยั่งยืน” 28
คาแถลงนโยบายของนายกรัฐมนตรีนโยบายของนายกรัฐมนตรี 31
นโยบายด้านการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน) 33
จดุ เนน้ 6 ยทุ ธศาสตร์ กระทรวงศกึ ษาธิการ 34
กลยุทธส์ านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (สพฐ.) 36
มาตรฐานเพ่อื การประกันคณุ ภาพภายในระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 38
39
40
ส่วนที่ 3 แผนงำน/งำน/โครงกำร/กิจกรรม ปงี บประมำณ 2562 หน้า |ค
แผนงานบริหารงานวิชาการ
แผนงานบริหารงานงบประมาณ 43
แผนงานบริหารงานบุคคล 45
แผนงานบริหารงานทัว่ ไป 70
81
ส่วนท่ี 4 กลไกและเงื่อนไขควำมสำเร็จ 86
กลไกและเง่ือนไขความสาเรจ็
102
สว่ นท่ี 5 แนวทำงกำรบริหำรงบประมำณ ปีงบประมำณ 2562 102
ระดับสถานศึกษา
แนวทางการใช้งบประมาณ 105
การติดตามผลการดาเนินงาน 106
106
ภำคผนวก 107
คณะทางาน
การให้ความเห็นชอบเอกสารแผนปฏบิ ัติการปงี บประมาณ 2562 108
109
110
หน้า |1
สว่ นที่ 1 ส่วนนำ
ข้อมลู ของสถำนศึกษำ
สภำพบรบิ ททัว่ ไป
หน้า |2
แผนปฏบิ ตั กิ ำรประจำปกี ำรศกึ ษำ 2562
ของ
โรงเรยี นบำ้ นโปง่ คอม
๑. ข้อมูลของสถำนศึกษำ
สภำพบริบททั่วไป
1.1 ชอ่ื สถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านโป่งคอม ตัง้ อยู่เลขที่ 45 หมทู่ ่ี 7 ตาบลด่านช้าง อาเภอด่านช้าง
จังหวดั สุพรรณบุรี รหัสไปรษณีย์ 72180 โทรศพั ท์ 098-3541651
E-Mail : [email protected]
1.2 สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต ๓ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
1.3 เปดิ สอนระดับชัน้ อนุบาล 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
1.4 สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ (ภาพถ่ายทางอากาศ: ตามพกิ ัดท่ตี งั้ )
1.5 แผนทโ่ี รงเรียน
หน้า |3
1.6 เขตพ้นื ที่บรกิ าร
1) ช่ือหมู่บา้ นโปง่ คอมใต้ หมู่ที่ 7 ตาบลด่านช้าง อาเภอดา่ นชา้ ง จงั หวดั สพุ รรณบุรี
1.7 ประวัติโรงเรียน
โรงเรียนบ้านโป่งคอม ตั้งขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2530 โดยนายเจรญิ เมืองวงศ์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 ตาบลด่าน
ช้าง อาเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นผู้จัดหาทุนในการสร้างอาคารเรียนแบบถาวร ก่ึงชั่วคราว แต่ยังไม่ได้
ทาการสอนอยา่ งถูกต้อง จนกระทั่ง นายวเิ ชยี ร นม่ิ อนงค์ อาจารย์ใหญโ่ รงเรยี น บา้ นพุน้าร้อน ไดส้ ่งครูมาช่วยสอน
จานวน 2 คนและเปิดทาการสอนต้ังแต่วันท่ี 1 มิถุนายน 2532 โดยเปิดเป็นโรงเรียนสาขาของบ้านพุน้าร้อน
เปดิ สอนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 มจี านวนนักเรียนทั้งสน้ิ 25 คน เป็นชาย 16 หญิง 9 คน
วันท่ี 29 เมษายน 2538 สานักงานการประถมศึกษาอาเภอด่านช้าง ได้มีคาสั่งแต่งตั้ง นายมานพ กาฬ
ภกั ดี มาดารงตาแหนง่ ครใู หญ่โรงเรยี นบา้ นโปง่ คอม เป็นคนแรก โดยเปดิ ทาการสอน ตงั้ แต่ชนั้ อนุบาล 1 ถงึ
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 มนี ักเรยี นทงั้ สน้ิ 72 คน มีครทู าการสอน 2 คน
ปี พ.ศ. 2539 – 2539 นายมานพ กาฬภักดี ไดม้ าดารงตาแหนง่ ครูใหญ่
ปี พ.ศ. 2539 - 2543 นายภูษิต สภุ าษิต ไดม้ าดารงตาแหน่งครูใหญ่
ปี พ.ศ. 2543 - 2544 นายพิทยา บางสวุ รรณ ได้มาดารงตาแหนง่ ครูใหญ่
ปี พ.ศ. 2544 - 2545 นายสุรสีห์ สาโรจน์ ไดม้ าดารงตาแหนง่ ครูใหญ่
ปี พ.ศ. 2545 – 2545 นายสายยนต์ ทรดี ได้มาดารงตาแหน่งครูใหญ่
ปี พ.ศ. 2547 - 2547 นายศกั ดา จิรโรจน์ ได้มาดารงตาแหน่งครูใหญ่
ปี พ.ศ. 2548 - 2549 นายประเสรฐิ นิลทับ ไดม้ าดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรียน
ปี พ.ศ. 2549 - 2551 นางทองแท้ วงศ์เสนา ได้มาดารงตาแหน่งผ้อู านวยการโรงเรยี น
ปี พ.ศ. 2552 – 2559 นายสายณั ห์ นิยมทอง ไดม้ าดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรียน
ปี พ.ศ. 2559 - 2562 นายยทุ ธการ เจยี ตระกูล ไดม้ าดารงตาแหนง่ รักษาราชการแทนผู้อานวยการ
โรงเรยี น
ปี พ.ศ. 2562 – ปจั จบุ นั นางธนพรรณ ทศพรพรหม ไดม้ าดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรยี น
ปัจจุบัน โรงเรียนเปิดทาการสอนตั้งแต่ระดับช้ันอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีหมู่บ้านในเขต
บรกิ าร คือ หมู่ที่ 7 บ้านโปง่ คอม การคมนาคมติดตอ่ กับอาเภอและจังหวดั สามารถตดิ ตอ่ ได้ ทางบกโดยรถยนต์ รถ
ต่าง ๆ และระยะทางจากโรงเรียนถึงตัวอาเภอด่านช้าง ประมาณ 23 กิโลเมตร ระยะทางจากโรงเรียนถึง
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 ประมาณ 85 กิโลเมตร และระยะทางจากโรงเรียน
ถึงจงั หวัดสุพรรณบุรี ประมาณ 100 กิโลเมตร
โรงเรยี นบา้ นโป่งคอม อยู่ในสหวิทยาเขตชาวดอย มจี านวน 13 โรงเรียน เป็นโรงเรียนทีต่ ั้งอยู่
สภาพท่สี งู และเปน็ พนื้ ทห่ี มู่บา้ นยากจน ผปู้ กครองนักเรียนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป และเกษตรกรรม
นกั เรียนในเขตบรกิ ารของโรงเรียนสว่ นใหญ่เดนิ ทางมาเรียนโดยรถจักรยานและผ้ปู กครองมาสง่ ระยะทางประมาณ
3 – 5 กโิ ลเมตร สภาพส่วนใหญ่ผปู้ กครองมฐี านะยากจน
หน้า |4
2. สภำพปัจจบุ นั ของสถำนศกึ ษำ
ตรำสญั ลกั ษณ์ของโรงเรียน
ปรชั ญำของโรงเรยี น
“ปญญฺ าว ธเนน เสยฺโย” ปัญญาประเสรฐิ กว่าทรัพย์
คำขวัญ
“เก่งในการเรยี น เพียรหาความรู้ คูค่ ุณธรรม นาประชาธปิ ไตย”
สีประจำโรงเรยี น
น้าตาล หมายถงึ ความเปน็ มติ ร ความอบอุ่น ความจรงิ ใจ ความแข็งแรง ความซือ่ สตั ย์ความไว้ใจ
สุขภาพ ความย่งั ยืน ความทนทาน ความเรียบง่าย ความเป็นผใู้ หญ่ ความเสมอภาค
ขาว หมายถึง ความบรสิ ุทธ์ิ สันตภิ าพ ความสงบสุข ความดี ความเรียบง่าย ความสะอาด
อัตลกั ษณ์โรงเรยี น ระดบั ปฐมวัย “ยิม้ ง่าย ไหวส้ วย”
ระดบั ประถมศึกษา “วิชาการเดน่ เนน้ คณุ ธรรม”
เอกลกั ษณ์
“สถานศึกษาท่ีมุ่งเน้นใหน้ ักเรียนเกง่ ดี มีสขุ ”
3. ขอ้ มูลดำ้ นอำคำรสถำนที่
3.1 มีอาคารเรียนจานวน 1 หลัง ส้วม 2 หลัง สนามเด็กเลน่ ๑ สนาม สนามฟุตบอล ๑
3.2 จานวนห้องเรียนท้ังหมด 5 ห้องเรียน จาแนกเป็นห้องปฐมวัย 1 ห้อง ห้องประถมศึกษา 3 ห้อง
หอ้ งสมุด ๑ หอ้ ง
3.3 พื้นท่จี ัดกิจกรรม ได้แก่ สนามฟุตบอล พ้นื ทโี่ ดยรอบของโรงเรียนบ้านโปง่ คอม และใตอ้ าคารเรยี น
4. ข้อมูลดำ้ นงบประมำณและทรพั ยำกร
รำยรบั จำนวน/บำท รำยจำ่ ย จำนวน/บำท
เงนิ งบประมำณ 773,443 งบดาเนนิ งาน/เงินเดือน-คา่ จ้าง 449,790
เงนิ นอกงบประมำณ 155,502 งบพฒั นาคุณภาพ 96,416
เงินรำยได้ 117,040 เงินอ่ืน ๆ ค่าจ้างครู -
สถำนศึกษำ
งบดาเนินการ/เงนิ เดอื น เงินค่าจ้าง คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ของรายรับ
งบพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของรายรบั
หน้า |5
5. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญำท้องถิน่ และกำรใชห้ ้องสมุด
5.1) หอ้ งสมดุ มีขนาด 45 ตารางเมตร จานวนหนงั สือในห้อสมุดทั้งหมด 1,000 เลม่ การสบื ค้นหนงั สือ
และการยืม – คืน ใชร้ ะบบดิวอ้ี จานวนนักเรยี นท่ใี ชบ้ รกิ ารห้องสมุดในปีการศึกษาน้ี คิดเป็นจานวนเฉล่ียการใช้
18 คน / วนั
5.2) หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
ห้องปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ จานวน 1 ห้อง
5.3) คอมพิวเตอร์ จานวน 12 เครอ่ื ง
ใช้เพอ่ื การเรยี นการสอน 5 เครอ่ื ง
ใชเ้ พอ่ื สืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเ์ นต็ 5 เครอ่ื ง
จานวนนกั เรียนทส่ี บื คน้ ข้อมลู ทางอินเตอร์เนต็ ในปีการศกึ ษาทีร่ ายงาน
เฉล่ีย 8 คน ต่อวัน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 49.50 ของนกั เรียนท้ังหมด
ใช้เพ่ือการบริหารจดั การ 3 เครอ่ื ง
5.4) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น สถิตกิ ำรใชจ้ ำนวนคร้งั /ปี
แหล่งเรียนรภู้ ำยใน 125
ชื่อแหล่งเรียนรู้ 198
1. หอ้ งสมดุ
2. หอ้ งคอมพวิ เตอร์
5.5) แหล่งเรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน สถิตกิ ำรใช้
จำนวนครัง้ /ปี
แหล่งเรยี นรภู้ ำยนอก
ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ 4
4
1. อา่ งเก็บน้าหบุ เขาวง 15
2. พพิ ิธภณั ฑช์ มุ ชนวดั พุนา้ ร้อน 2
3. วดั
4. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นพุน้ารอ้ น
5.6) ปราชญช์ าวบา้ น/ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นกั เรียน ในปี
การศึกษาท่ีรายงาน
5.6.1 พระอธิการเฉลิมพลวันโป่งคอมใต้ ใหค้ วามรูเ้ ร่อื ง เกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ิธรรม และ ธรรมะสคู่ วาม
สงบสขุ สถติ ิการใหค้ วามรใู้ นโรงเรยี นแหง่ น้ี จานวน 6 คร้ัง /ปี
5.6.2 เจ้าหน้าท่ีจากสถานีตารวจอาเภอด่านช้าง ให้ความรู้เกี่ยวกับการจราจร และยาเสพติด สถิติ
การใหค้ วามรใู้ นโรงเรยี นแหง่ นี้ จานวน 2 ครงั้ /ปี
5.6.3 เจ้าหน้าที่จากหนว่ ยงานการรักษาความปลอดภยั ไฟปา่ ให้ความรเู้ กีย่ วกับ
หน้า |6
การรกั ษาความปลอดภยั และวธิ กี ารป้องกันภยั อนั ตรายในบ้านและชุมชนสถิติการให้ความรู้ในโรงเรยี น จานวน 2
ครั้ง/ปี
5.6.4 นางสนิ พลายละหาร ใหค้ วามรู้เก่ยี วกับการทาน้ายาล้างจาน และนา้ ยาซักล้างชนิดต่าง ๆ
สถติ ิการให้ความรใู้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน 6 ครัง้ /ปี
5.6.5 นางบุญฐม โชระเวช ให้ความรู้เกี่ยวกับ การปลกู ผักปลอดสารพษิ
สถิตกิ ารให้ความรู้ในโรงเรยี นแห่งน้ี จานวน 10 ครงั้ /ปี
5.6.6 โรงพยาบาลดา่ นชา้ ง ให้ความรู้เกย่ี วกบั การรักษาสขุ ภาพฟนั
สถิติการใหค้ วามรูใ้ นโรงเรียนแหง่ น้ี จานวน 2 ครงั้ /ปี
5.6.7 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนบ้านพุน้าร้อน ใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั การดูแลรักษาสุขภาพ
ร่างกาย ฉดี วคั ซีน ปอ้ งกันโรค กาจดั ยงุ ลาย สถิติการใหค้ วามรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน 4 ครงั้ / ปี
6. ขอ้ มูลครูและบคุ ลำกร
1) จานวนบุคลากร
บุคลำกร ผู้บรหิ ำร ข้ำรำชกำรครู พนกั งำน ครอู ตั รำจำ้ ง เจ้ำหน้ำที่อื่น ๆ รวมทั้งหมด
รำชกำร
จำนวน 1 2 1 1 1 6
2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบคุ ลากร ปริญญำตรี ปริญญำโท ปริญญำเอก รวมทั้งหมด
บคุ ลำกร ตำ่ กวำ่ ปริญญำตรี 4 1 -6
จำนวน 1
3) จานวนครทู ี่สอนตรงตามสาขา/วิชาเอก................3.................คน คดิ เปน็ ร้อยละ 75
4) จานวนครูที่สอนตรงตามความถนัด.......................3................คน คดิ เป็นร้อยละ 75
5) ขอ้ มูลวทิ ยฐานะ ตาแหน่ง อายงุ าน
ขื่อ-สกุล ตำแหน่ง อำยุงำน
นำงธนพรรณ ทศพรพรหม ผู้อานวยการโรงเรยี น 33 ปี 4 เดือน
นำยยุทธกำร เจยี ตระกูล ครู 3 ปี 1 เดอื น
นำงสำวน้ำเพชร อนิ ทรว์ งษ์ ครู 2 ปี 9 เดอื น
นำยทนยภฤศ วงศสวุ รรณ พนักงานรชการ 3 ปี 5 เดือน
นำงอัญชสิ ำ ช่อฮวด เจา้ หนา้ ท่ธี รุ การ 7 เดอื น
นำงสำวนชุ นำรถ เขยี วเซ็น ผ้ชู ่วยครู 4 ปี 9 เดอื น
หน้า |7
ขอ้ มลู สำรสนเทศ (ปกี ำรศึกษำ 2561)
2.1 ข้อมูลผู้บริหาร (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2562)
1) ผูอ้ านวยการโรงเรียน ชือ่ -สกลุ นางธนพรรณ ทศพรพรหม โทรศพั ท์ 098-3541651
วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนน้ี ต้ังแต่วันที่ 1 มีนาคม 2562 จนถึงปัจจุบันรวม 3
เดือน (ข้อมูล ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2562)
2) หัวหน้างานวชิ าการโรงเรียน นางสาวน้าเพชรอินทร์วงษ์ โทรศพั ท0์ 98-3430364
E-Mail: [email protected] วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด ปรญิ ญาตรี ดารงตาแหน่งท่โี รงเรียนน้ี
ตง้ั แต่วันท่ี 1 กันยายน 2559 จนถึงปัจจบุ นั รวม 2 ปี 9 เดอื น การบริหารงานฝ่ายวิชาการ
3) หวั หนา้ งาน 4 ฝ่าย (ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา)
3.1 นายยุทธการ เจียตระกลู โทรศัพท์ 082-3429149 E-Mail : [email protected]
วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ดารงตาแหน่งท่ีโรงเรียนนี้ ต้ังแต่วันท่ี 25 พฤษภาคม 2559 จนถึงปัจจุบัน รวม
3 ปี 1 เดอื น การบรหิ ารงานงบประมาณ
3.2 นายยุทธการ เจยี ตระกูล โทรศพั ท์ 082-3429149 E-Mail : [email protected]
วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ดารงตาแหน่งท่ีโรงเรียนนี้ ต้ังแต่วันท่ี 25 พฤษภาคม 2559 จนถึง
ปัจจบุ นั รวม 3 ปี 1 เดือน การบริหารงานฝา่ ยบุคคล
3.3 นางสาวน้าเพชรอนิ ทรว์ งษ์ โทรศัพท0์ 98-3430364 E-Mail: [email protected]
วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2559 จนถึงปัจจุบัน
รวม 2 ปี 9 เดือน การบริหารงานฝา่ ยวิชาการ
3.4 นายทนยภฤศ วงศสุวรรณ โทรศัพท์ 064-4094751 E-Mail : [email protected]
วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด ปริญญาตรี ดารงตาแหน่งทโี่ รงเรียนนี้ ตัง้ แตว่ นั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 จนถงึ ปจั จุบัน
รวม 3 ปี 5 เดอื น การบริหารงานฝ่ายทวั่ ไป
หน้า |8
7.ข้อมลู นกั เรียน
จานวนนกั เรยี น ปีการศกึ ษา ...2562.... รวม 29 คน (ขอ้ มูล ณ วันที่ 10 มถิ ุนายน 2562)
ระดับช้ันเรียน จำนวนหอ้ ง เพศ รวม
ชาย หญิง
อ.1 - -- -
อ.2 1 3- 3
อ.3 1 41 5
รวม 2 71 8
ป.1 1 -- -
ป.2 1 13 4
ป.3 1 -- -
ป.4 1 74 11
ป.5 1 23 5
ป.6 1 1- 1
รวม 6 11 10 21
รวมทั้งหมด 8 18 11 29
2.4.1) ขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นนกั เรยี น
2.1) จานวนนักเรยี นในเขตพื้นที่บริการท้ังสิ้น 29 คน นอกเขตบริการ.......-........คน
2.2) จานวนนกั เรยี นทั้งสิ้นในโรงเรียน 29 คน ชาย 18 คน หญงิ 11 คน
2.3) จานวนนักเรียนทีม่ สี มรรถภาพทางกายตามเกณฑข์ องกรมพลศึกษา 29 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100
2.4) จานวนนักเรยี นท่มี ีน้าหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย 25 คน คิดเปน็ ร้อยละ 86.21
2.5) จานวนนักเรียนที่มีความบกพร่องเรยี นรวม..........คน คิดเป็นร้อยละ.......................
2.6) จานวนนกั เรยี นมีภาวะทพุ โภชนา..................คน คิดเป็นร้อยละ...............
2.7) จานวนนกั เรียนทีม่ ีความต้องการชว่ ยเหลอื พเิ ศษ.........คน คิดเป็นร้อยละ.........................
2.8) จานวนนกั เรยี นที่ออกกลางคนั ..........คน คิดเป็นร้อยละ....................
2.9) จานวนนักเรียนทีซ่ า้ ชั้น..........คน คดิ เปน็ ร้อยละ.........
2.10) จานวนนกั เรยี นทจ่ี บหลักสูตรอนุบาล ๓ จานวน.......... คน คดิ เป็นร้อยละ....................ประถมศกึ ษา
ปที ี่ ๖ จานวน..........คน คิดเปน็ ร้อยละ.......
หน้า |9
8.ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นระดับสถำนศกึ ษำ ปีกำรศึกษำ 2561
ระดบั ปฐมวัย
จานวน/ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ พฒั นาการแต่ละด้านในระดบั 3 ข้ึนไป
ระดับช้นั ผลกำรประเมนิ พัฒนำกำรนักเรยี นดำ้ น ครบทั้ง
อ.1 ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม สติปญั ญา 4 ดำ้ น
อ.2
อ.3 จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
รวม
3 100 3 100 3 100 3 100 3
5 100 5 100 5 100 5 100 5
- - - ------
8 100 8 100 8 100 8 100 8
ระดบั กำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำน
1) จานวน/รอ้ ยละของนกั เรยี นทีม่ ีเกรดเฉล่ยี ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนแตล่ ะรายวชิ าใน ระดบั 3 ขึน้ ไป
ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6
ระดบั ชน้ั รำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
จำนวน ภาษาไทย
นกั เรียน ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสต ์ร
สังคม ึศกษาฯ
ประวัติศาสต ์ร
ภาษา ัองกฤษ
ุสขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
ป.1 4 67.5 64 63 63 63.5 60 78 73 69
ป.3 12 67.36 71.36 72.27 77.18 74.18 75.09 77.46 75.09 78.18
ป.4 5 71 84 69 75 84 71.5 83 79 60.5
ป.5 2 70 82 86 91 80 73 59 71 63
ป.6 1 61 72.25 76.75 88.75 73.75 68.75 65.5 73 54.25
รวม 24 67.37 74.72 73.40 78.99 75.09 69.67 75.22 74.22 64.99
ห น ้ า | 10
2) จานวน/รอ้ ยละของนกั เรยี นท่มี ผี ลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดับดขี ึน้ ไป
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6
ระดบั ช้ัน จำนวน ผลกำรประเมิน ระดบั ดี รอ้ ยละ
นักเรียน ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี ดเี ยี่ยม ข้นึ ไป 100
-
ป.1 4 - - 13 4
100
ป.3 12 - 2 5 5 8 100
100
ป.4 5 - - -5 5
ป.5 2 - - 11 2
ป.6 1 - - -1 1
รวม 24 - 2 7 15 22
3) จานวน/ร้อยละของนักเรยี นทีม่ ีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ในระดับดขี ึ้นไป
ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1-6
ระดบั ชน้ั จำนวน ผลกำรประเมิน ระดบั ดี รอ้ ยละ
นกั เรยี น ไม่ผา่ น ผ่าน ดี ดเี ย่ียม ข้ึนไป 100
-
ป.1 4 - - -4 4
100
ป.3 12 - 228 10 100
100
ป.4 5 - - -5 5
ป.5 2 - - -2 2
ป.6 1 - - -1 1
รวม 24 - 2 2 20 22
4) จานวน/ร้อยละของนักเรียนท่มี ีผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขน้ั พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ในระดบั ผำ่ นขึ้นไประดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
สมรรถนะสำคัญ จำนวน ผลกำรประเมนิ ระดับ รอ้ ยละ
นกั เรยี น ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี ดีเยย่ี ม ผำ่ น
1. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร ขน้ึ ไป 100
2. ควำมสำมำรถในกำรคดิ 1 - -1 - 100
3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ 1 - -1 - 1 100
4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต 1 - -1 - 1 100
5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 1 - -- 1 1 100
1 - -- 1 1 100
รวม 1
5 - -3 2
5
ห น ้ า | 11
5) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET)
ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2561
ระดับ/รำยวชิ ำ ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ
ระดบั โรงเรียน 40.50 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 25.00
ระดับ สพป.สพ 3 40.00 32.00
54.61 35.65 38.83 35.47
ระดบั ประเทศ 55.90 37.50 39.93 39.24
ผลต่ำงระดับ สพป.สพ 3
ตา่ กว่าระดบั สูงกวา่ ระดบั ต่ากวา่ ระดับ ตา่ กว่าระดบั
กับระดับโรงเรยี น สพป.สพ 3 สพป.สพ.3 สพป.สพ 3 สพป.สพ 3
รอ้ ยละ 14.11 ร้อยละ 4.35 รอ้ ยละ 6.83 ร้อยละ 15.47
ผลต่ำงระดับประเทศ
กบั ระดบั โรงเรยี น ตา่ กว่า สูงกว่า ต่ากว่า ต่ากว่า
ระดบั ประเทศ ระดบั ประเทศ ระดับประเทศ ระดับประเทศ
ร้อยละ 15.40 รอ้ ยละ 2.50 ร้อยละ 7.93 ร้อยละ 14.47
2) ผลการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา 2560 – 2561
รำยวชิ ำ/ปีกำรศึกษำ คะแนนเฉลี่ย (ระดบั โรงเรียน)
ภำษำไทย ปีการศึกษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 สรุปผล
คณติ ศำสตร์
วิทยำศำสตร์ 37.03 40.50 เพ่ิมข้ึนร้อยละ 3.47
ภำษำองั กฤษ
28.75 40.00 เพิม่ ข้ึนร้อยละ 1.25
30.13 32.00 ลดลงร้อยละ 1.87
27.50 25.00 ลดลงรอ้ ยละ2.50
ห น ้ า | 12
6. ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3
1) ผลการประเมินทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) ปกี ารศึกษา 2561
ระดบั /ควำมสำมำรถ คะแนนเฉลีย่ รวมความสามารถ
ดา้ นภาษา ด้านคานวณ ดา้ นเหตผุ ล ทง้ั 3 ดา้ น
53.80
ระดบั โรงเรยี น 55.71 52.85 52.85
57.73
ระดบั สพป.สพ 3 62.18 55.58 55.42 49.48
47.19 48.07
ระดับประเทศ 53.18 ต่ากวา่ ระดบั
ตา่ กวา่ ระดบั ตา่ กว่าระดบั สพป.สพ 3
ผลต่ำงระดับ สพป.สพ 3 ต่ากว่าระดับ สพป.สพ 3 สพป.สพ 3 ร้อยละ 6.07
กบั ระดับโรงเรยี น สพป.สพ 3 ร้อยละ 2.73 รอ้ ยละ 2.57 สูงกวา่
ระดบั ประเทศ
รอ้ ยละ 6.47 สูงกวา่ สูงกว่า รอ้ ยละ 3.70
ระดับประเทศ ระดับประเทศ
ผลตำ่ งระดับประเทศ สงู กวา่ รอ้ ยละ 5.66 รอ้ ยละ 4.51
ระดบั ประเทศ
กบั ระดบั โรงเรียน รอ้ ยละ 2.53
2) การเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ปกี ารศกึ ษา 2560-
2561
ควำมสำมำรถ/ปกี ำรศกึ ษำ คะแนนเฉล่ยี (ระดับโรงเรียน) สรุปผล
ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561
ดำ้ นภำษำ 66.42 55.71 ลดลงรอ้ ยละ 10.71
ด้ำนคำนวณ
55.71 52.85 ลดลงรอ้ ยละ 2.86
ด้ำนเหตุผล 55.00 52.85 ลดลงร้อยละ 2.15
รวมควำมสำมำรถท้งั 3 59.04 53.80 ลดลงร้อยละ 5.24
ดำ้ น
ห น ้ า | 13
7. ผลการประเมินความสามารถการอ่าน (RT) ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1
1) ผลการประเมนิ ความสามารถการอา่ น (RT) ปีการศึกษา 2561
ระดบั /สมรรถนะ การอ่านออกเสยี ง คะแนนเฉล่ยี รวม 2 สมรรถนะ
63.16 63.58
ระดับโรงเรยี น การอา่ นรเู้ รื่อง
ระดบั สพป.สพ 3 74.90 64.00 77.37
ระดับประเทศ 66.16 68.72
ผลต่ำงระดับ สพป.สพ 79.85
ตา่ กว่าระดบั 71.27 ต่ากว่าระดับ
3 สพป.สพ 3 สพป.สพ 3
กับระดับโรงเรยี น ร้อยละ 1.74 ตา่ กวา่ ระดบั รอ้ ยละ 13.79
ผลต่ำงระดับประเทศ สพป.สพ 3
กบั ระดบั โรงเรียน ตา่ กวา่ ร้อยละ15.85 ตา่ กวา่
ระดับประเทศ ระดบั ประเทศ
ร้อยละ 3.00 ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 5.14
ระดับประเทศ
ร้อยละ 7.27
2) การเปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถการอา่ น (RT) ปีการศกึ ษา 2560- 2561
สมรรถนะ/ปกี ำรศกึ ษำ คะแนนเฉล่ยี (ระดับโรงเรียน)
กำรอ่ำนออกเสียง ปีการศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 สรปุ ผล
กำรอำ่ นรเู้ ร่ือง
รวม 2 สมรรถนะ 69.25 63.16 ลดลงร้อยละ 6.09
65.00 64.00 ลดลงร้อยละ 1.00
67.12 63.58 ลดลงรอ้ ยละ 3.54
ห น ้ า | 14
๙. โครงสร้ำงกำรบริหำรสถำนศึกษำ
นางธนพรรณ ทศพรพรหม
ผู้อานวยการสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
นางสาวนา้ เพชร อินทรว์ งษ์ นายยทุ ธการ เจียตระกลู นายยทุ ธการ เจียตระกูล นายทนยภฤศ วงศสุวรรณ
การบรหิ ารวชิ าการ การบรหิ ารงบประมาณ การบรหิ ารบุคคล การบริหารท่วั ไป
คณะครู / นกั เรยี น /นักการภารโรง
แผนงำนวชิ ำกำร แผนงำนงบประมำณ แผนบุคลำกร แผนงำนบรหิ ำรทั่วไป
๑. การพฒั นาหรือการดาเนินการ ๑. การจดั ทาแผนงบประมาณ ๑. การวางแผนอตั รากาลงั ๑. การพัฒนาระบบเครือข่าย
๒. การจดั สรรอัตรากาลงั ข้อมูลสารสนเทศ
เกี่ยวกบั การใหค้ วามเหน็ และคาขอตงั้ งบประมาณ เพอื่ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากร ๒. การประสานงานและพัฒนา
ทางการศกึ ษา เครอื ข่ายสถานศกึ ษา
การพัฒนาสาระหลกั สตู รทอ้ งถ่ิน เสนอต่อเลขาธกิ ารสานักงาน ๓. การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตัง้ ๓. การวางแผนการบรหิ ารงาน
๔. การเปลยี่ นตาแหน่งให้สงู ข้นึ การศกึ ษา
๒. การวางแผนดา้ นการวชิ าการ คณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน การย้ายขา้ ราชการครแุ ละ ๔. งานวจิ ยั เพื่อการพฒั นา
บุคลากรทางการศกึ ษา นโยบายและแผน
๓ .การจดั การเรยี นการสอนใน ๒. การจดั ทาแผนการใช้จา่ ยเงิน ๕. การดาเนนิ การเกย่ี วกบั ๕. การจดั ระบบการบรหิ ารและ
การเล่ือนขั้นเงนิ เดือน พฒั นาองคก์ ร
สถานศึกษา ตามท่ไี ดร้ บั จดั สรรงบประมาณ ๖. การพฒั นามาตรฐาน
การปฏบิ ัตงิ าน
๔. การพฒั นาหลกั สตู รใน จากสานกั งานคณะกรรมการ ๗. งานเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา
สถานศกึ ษา ศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานโดยตรง
๕. การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้
๖. การวัดผล ประเมนิ ผล และ
ดาเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น
ห น ้ า | 15
โครงสร้ำงกำรบรหิ ำรจัดกำรศึกษำ(ต่อ)
แผนงำนวิชำกำร แผนงำนงบประมำณ แผนบคุ ลำกร แผนงำนบรหิ ำรทว่ั ไป
๗. การวจิ ยั เพ่อื พัฒนาคุณภาพ ๓. การอนมุ ตั ิการจ่ายงบประมาณท่ี ๖. การลาทกุ ประเภท ๘. การดาเนินงานธุรการ
การศึกษาในสถานศกึ ษา ไดร้ บั จดั สรร ๗. การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิ งาน ๙. การดูแลอาคารสถานทแี่ ละ
๘. การพัฒนาและสง่ เสรมิ ใหม้ ีแหล่ง ๔. การขอโอนและการขอเปลย่ี นแปลง ๘. การดาเนินการทางวนิ ยั และการ สิ่งแวดล้อม
เรียนรู้ งบประมาณ ลงโทษ ๑๐. การจัดทาสามะโนประชากร
๙. การนเิ ทศการศึกษา ๕. การรายงานผลการเบิกจา่ ย ๙. การสั่งพกั ราชการและการส่ังให้ ๑๑. การรบั นักเรียน
๑๐. การแนะแนว งบประมาณ ออกจากราชการไว้กอ่ น ๑๒. การเสนอความคดิ เห็นเกย่ี วกับ
๑๑. การพัฒนาระบบประกนั คุณภาพ ๖. การตรวจสอบ ติดตามและรายงาน ๑๐. การรายงานการดาเนินการทาง การจัดต้งั ยุบ รวมหรอื เลิกสถานศกึ ษา
ภายในและมาตรฐานการศึกษา การใชง้ บประมาณ วินยั และการลงโทษ ๑๓. การประสานงานจดั การศึกษาใน
๑๒. การสง่ เสรมิ ชุมชนใหม้ ี ๗. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงาน ๑๑. การอทุ ธรณแ์ ละการร้องทกุ ข์ ระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศัย
ความเข้มแขง็ ทางวิชาการ การใช้ผลผลติ จากงบประมาณ ๑๒. การจดั ระบบและการจัดทา ๑๔. การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา
๑๓. การประสานความร่วมมือในการ ๘. การระดมทรัพยากรและ ทะเบียนประวตั ิ ๑๕. การทัศนศึกษา
พฒั นาวิชาการกบั สถานศกึ ษาและ การลงทุนเพอ่ื การศกึ ษา ๑๓. การจัดทาบญั ชรี ายชอ่ื และการ ๑๖. การสง่ เสริมงานกจิ การนกั เรียน
องคก์ รอน่ื ๙. การปฏิบัตงิ านอน่ื ใดตามที่ได้รับ ให้ความเหน็ เกี่ยวกบั ๑๗. การประชาสมั พันธ์งานการศึกษา
๑๔. การส่งเสริมและสนบั สนนุ งาน มอบหมายเก่ยี วกับกองทุนเพอื่ การศึกษา การเสนอขอพระราชทาน ๑๘. การสง่ เสริม สนับสนนุ และ
วิชาการแก่บุคคล ครอบครวั องค์กร ๑๐. การการบริหารจดั การทรพั ยากร เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ ประสานงานการจัดการศกึ ษา ของ
หนว่ ยงาน สถานศึกษาและสถาน เพ่อื การศึกษา ๑๔. การสง่ เสริมการประเมินวทิ ย บคุ คล องค์กร หนว่ ยงานและสถาบนั
ประกอบการอื่นทจ่ี ดั การศกึ ษา ๑๑. การวางแผนพัสดุ ฐานะขา้ ราชการครูและบคุ ลากร สงั คมอนื่ ที่จัดการศึกษา
๑๕. การจัดทาระเบียบและแนวปฏิบตั ิ ๑๒. การกาหนดรูปแบบรายการ หรือ ทางการศึกษา ๑๙. งานประสานราชการสว่ นภมู ิภาค
เกี่ยวกบั งานดา้ นวชิ าการของ คุณลักษณะเฉพาะของครภุ ณั ฑ์หรอื ๑๕. การส่งเสรมิ และยกย่องเชดิ ชู และส่วนท้องถิน่
สถานศกึ ษา สิ่งก่อสร้างที่ใช้งบประมาณเพ่อื เสนอต่อ เกยี รติ ๒๐. การรายงานผลการปฏิบตั ิ งาน
๑๖. การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั ๑๖. การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ ๒๑. การจัดระบบการควบคุมภายใน
เพ่อื ใช้ในสถานศกึ ษา พืน้ ฐาน และจรรยาบรรณวชิ าชีพ หนว่ ยงาน
๑๗. การพฒั นาสอ่ื และใช้ส่อื ๑๓. การพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศ ๑๗. การสง่ เสรมิ วินยั คุณธรรม ๒๒. แนวทางการจัดกจิ กรรมเพอื่
เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา เพือ่ การจดั ทาและจดั หาพสั ดุ จรยิ ธรรมสาหรับขา้ ราชการครแู ละ ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมใน
๑๔. การจดั หาพสั ดุ บคุ ลากรทางการศกึ ษา การลงโทษนักเรียน
๑๕. การควบคมุ ดแู ล บารุงรักษาและ ๑๘. การริเร่มิ สง่ เสรมิ การขอรับ
จาหน่ายพัสดุ ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพครูและ
๑๖. การจัดหาผลประโยชนจ์ าก บคุ ลากรทางการศกึ ษา
ทรัพย์สิน ๑๙. การพัฒนาข้าราชการครูและ
๑๗. การรบั เงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ และ บคุ ลากรทางการศึกษา
การจา่ ยเงิน
๑๘. การจัดทาบญั ชกี ารเงนิ
๑๙. การจัดทารายงานทางการเงนิ และ
งบการเงิน
๒๐. การจัดทาหรือจดั หาแบบพมิ พบ์ ัญชี
ทะเบยี นและรายงาน
ห น ้ า | 16
10. โครงสรำ้ งหลกั สตู รสถำนศกึ ษำ
เวลาเรยี น
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
กล่มุ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตร์ 80 80 80 120 80 80
สงั คมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม 80 80 80 120 120 120
ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40
ศาสนาศลี ธรรม จริยธรรม
หนา้ ทพี่ ลเมือง วัฒนธรรม
และการดาเนนิ ชวี ติ ในสังคม
เศรษฐศาสตร์ 40 40 40 80 80 80
ภูมศิ าสตร์
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 40 40 80 80 80
ศิลปะ 80 80 80 80 80 80
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 40 80 80
ภาษาตา่ งประเทศ 200 200 200 160 160 160
รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) 920 920 920 920 920 920
รายวชิ าเพม่ิ เติม
หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง 40 40 40 40 40 40
รวมเวลาเรยี นเพมิ่ เตมิ 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมนกั เรยี น
- ลูกเสือยุวกาชาด 120 120 120 120 120 120
- ชมุ นุม
กจิ กรรมเพอื่ สังคม
และสาธารณประโยชน์
รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120 120 120 120 120 120
รวมเวลาเรียนทงั้ หมด 1,080 1,080 1,080 1,080 1,080 1,080
รวมเวลาทั้งหมด ไมน่ อ้ ยกว่า 1,000 ช่ัวโมง ไม่นอ้ ยกวา่ 1,000 ช่ัวโมง
ห น ้ า | 17
11. สรปุ ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกกรอบสำม
โรงเรียนรับการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศกึ ษา (องค์การมหาชน) รอบ ๓ เมอ่ื วันท่ี……………เดอื น………………… พ.ศ. …………….. โดยมีผลการประเมิน
โดยมผี ลการประเมิน ดังน้ี
1) ผลกำรประเมนิ ภำยนอกระดับกำรศกึ ษำปฐมวัย
ตวั บ่งชที้ ี่ ชือ่ ตัวบง่ ช้ี ระดบั คุณภำพ
กลมุ่ ตวั บง่ ชีพ้ ืน้ ฐำน ดี
ดี
๑ เด็กมีพัฒนาการด้านรา่ งกายสมวยั ดีมาก
ดมี าก
๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย ดี
ดี
๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสงั คมสมวยั ดี
ดี
๔ เด็กมีพฒั นาการด้านสติปญั ญาสมวัย
๕ เดก็ มีความพร้อมศึกษาตอ่ ในขั้นตอ่ ไป
๖ ประสทิ ธผิ ลการจัดประสบการณเ์ รยี นรทู้ เ่ี น้นเด็กเป็นสาคัญ
๗ ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
๘ ประสิทธผิ ลของระบบการประกันคุณภาพภายใน
กลุ่มตวั บ่งช้ีอตั ลกั ษณ์ ดี
๙ ผลการพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณธิ าน/วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ดี
และวัตถปุ ระสงค์ของการจดั ต้ัง
๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเนน้ และจดุ เด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
กลุ่มตัวบ่งชม้ี ำตรกำรสง่ เสริม ดี
ดี
๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพื่อสง่ เสริมบทบาทของ
สถานศึกษา
๑๒ ผลการสง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐาน รักษา
มาตรฐานและพัฒนาสคู่ วามเป็นเลศิ ท่สี อดคล้องกบั แนวทางการ
ปฏิรปู การศกึ ษา
ห น ้ า | 18
สรปุ ผลการประเมนิ ภายนอกระดับการศกึ ษาปฐมวยั ประเภทโรงเรยี น ใช่ ไม่ใช่
ผลรวมคะแนนประเมินสถานศกึ ษา 87.56 คะแนน ใช่ ไม่ใช่
มีคณุ ภาพระดับดี ใช่ ไม่ใช่
การรองรบั มาตรฐานสถานศึกษาประเภทโรงเรียน
ผลรวมคะแนนรวมทกุ ตัวบ่งชี้ ตัง้ แต่ ๘๐ คะแนน ขึน้ ไป
มตี วั บ่งช้ที ่ีได้ระดับดขี ึน้ ไป ๑๐ ตวั บ่งชี้ จาก ๑๒ ตวั บ่งชี้
ไม่มตี วั บง่ ชีใ้ ดทม่ี ีระดับคุณภาพต้องปรับปรงุ หรอื ตอ้ งปรับปรุงเร่งดว่ น
ในภำพรวมสถำนศกึ ษำจดั กำรศึกษำข้นึ พนื้ ฐำน
: ระดบั กำรศกึ ษำปฐมวัย (………………….. ปี)
สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา
ไม่สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา
จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนำและข้อเสนอแนะจำกกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำมระดับกำรศึกษำปฐมวัย
จดุ เดน่
1.เด็กมีสุขภาพกาย สุขนิสัย สุขภาพจิต สุนทรียภาพ มีวินัยและรู้รับผิดชอบสมวัย และสามารถปรับตัว
เข้ากับสังคมได้ เด็กมีทักษะพ้ืนฐานตามพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา
สมวยั และมีความพรอ้ มศึกษาต่อในขั้นต่อไป
2.ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อ
ยกระดับมาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลศิ ท่ีสอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา
3.ครูหรือผู้เลี้ยงดูเด็กส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม ด้าน
สติปญั ญา สง่ เสรมิ ความสมั พันธ์ทางบวกกับเดก็ และครอบครัว
4.มีการประกันคุณภาพภายในอย่างมีประสทิ ธภิ าพสถานศึกษาจดั ทาแผนยุทธศาสตรแ์ ละแผนปฏิบัตกิ าร
ประจาปีรวมทั้งแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ตามหลักสตู รสถานศึกษาระดับปฐมวัย โดยการมีส่วนร่วมจาก
ทุกฝ่ายมีการประชุมปรึกษาหารือเพื่อวางแผนในการทางาน มอบหมายหน้าที่ให้ผู้ท่ีเหมาะสมดาเนินงานมีการ
นิเทศ ติดตามผล และประเมินผลอย่างต่อเนือ่ ง มีการปรับปรุงแก้ไขจนมีคุณภาพในระดับดีมาก เป็นที่ยอมรับของ
ผู้เกี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายและชุมชนโดยรอบ
ห น ้ า | 19
จุดควรพัฒนำ
1.การสง่ เสริมและพฒั นาเด็กให้สามารถปรับตวั เขา้ กับเพ่อื น ๆ ในหอ้ งเรียน และเดก็ ในห้องเรียนอืน่ ๆ ได้
2.ผลการดาเนินงานตามโครงการพิเศษเพ่ือส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา และการแก้ไขปัญหา ขาด
ความชัดเจนในเรื่องวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย ลาดบั ขั้นตอน กจิ กรรม การกากบั ติดตามและการประเมนิ ผล
3.ควรแยกการประกนั คณุ ภาพภายในระหว่างปฐมวยั และประถมศกึ ษา
ข้อเสนอแนะเพ่ือกำรพัฒนำตำมกฎกระทรวงว่ำด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีกำรประกันคุณภำพ
กำรศึกษำ พ.ศ.2553
1.ด้ำนผลกำรจดั กำรศกึ ษำ
1.1 ครูควรส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อน ๆ ในห้องเรียน และเด็กในห้องเรียน
อนื่ ๆ ได้ดว้ ยกจิ กรรมสร้างความค้นุ เคยในห้องเรยี น เชน่ กิจกรรมตามมุมประสบการณ์ การร้องเพลง แสดงบทบาท
สมมติ กิจกรรมเคล่ือนไหว กจิ กรรมเล่านทิ าน ศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้
1.2 การดาเนินการตามโครงการพิเศษ สถานศึกษาควรกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ลาดับข้ันตอน
กิจกรรม การกากับติดตามและการประเมินผล ด้วยการน้อมนาแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการด้านหลักสูตร กิจกรรม การดาเนินชีวิตของเด็กปฐมวัยในสถานศึกษาและที่บ้าน
อยา่ งเปน็ ระบบชัดเจน
2.ด้ำนกำรบรหิ ำรสถำนศกึ ษำ
สถานศกึ ษาควรจัดทาแผนพัฒนา โครงการ กจิ กรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และการประเมนิ ผลที่ชัดเจน
ในการดาเนินการตามมาตรการดา้ นความปลอดภัย และการป้องกนั การบาดเจ็บในเด็ก ในกรณีการเฝ้าระวัง และ
วิเคราะห์ความเส่ียงท่ีจะเกิดข้ึนกับเด็กอย่างมีระบบ ด้วยการสารวจ บันทึกข้อมูลสม่าเสมอ มีการประเมินผล
นาไปส่กู ารดาเนนิ กจิ กรรมปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมและวิเคราะห์ความเสย่ี งอยา่ งมีคุณภาพ
3.ด้ำนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่เี น้นเด็กเป็นสำคญั
ครูหรือผู้เล้ียงดูเด็กควรได้รับการพัฒนาในเรื่องการส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อธรรมชาติและ
พัฒนาการของเด็ก ด้วยกิจกรรมคาถาม คาตอบ เล่าเรื่องจากภาพ เร่ืองท่ีบ้าน สภาพในห้องเรียน การร้องเพลง
กิจกรรมการเคลื่อนไหว วาดภาพระบายสีจากจินตนาการ ปั้นส่ิงที่ต้องการจากดินน้ามัน กิจกรรมเล่นตามมุม
ประสบการณ์ รวมทั้งส่งเสริมให้ครูศึกษาเพิ่มเติมหรือศึกษาดูงานด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กจาก
สถานศึกษาแห่งอ่ืน ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านการอ่าน เขียนเลข บูรณาการร่วมกับการพัฒนาด้าน
รา่ งกาย อารมณ์ และจติ ใจ ไปพร้อมกนั
4.ด้ำนประกนั คุณภำพภำยใน
สถานศึกษาควรดาเนินการประกันคุณภาพภายใน ของระดับปฐมวัยแยกจากระดับประถมศึกษาอย่างมี
ระบบ โดยนาผลจากการประเมินคุณภาพภายในและข้อเสนอแนะของ สมศ และต้นสังกัดมาวิเคราะห์ เพ่ือ
ปรับปรงุ คณุ ภาพอยา่ งต่อเน่ือง (กำหนดระยะเวลำในกำรพฒั นำทกุ ดำ้ นภำยใน 2 ป)ี
2) ผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกระดบั กำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน ห น ้ า | 20
ตวั ชอื่ ตัวบง่ ช้ี ระดับคุณภำพ
บง่ ชท้ี ี่ ดมี าก
ดมี าก
กล่มุ ตัวบ่งชพ้ี ื้นฐำน ดี
ดี
๑ ผเู้ รียนมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี ดี
ดี
๒ ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม ดี
ดี
ท่พี งึ ประสงค์
ดี
๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง
ดี
๔ ผเู้ รยี นคดิ เป็นทาเปน็ ดี
๕ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผเู้ รยี น ดี
๖ ประสิทธผิ ลของการจัดการเรียนการสอน
ทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ
๗ ประสทิ ธิภาพของการบริหารจดั การ
และการพฒั นาสถานศกึ ษา
๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน
โดยสถานศึกษาและตน้ สงั กดั
กลุ่มตวั บ่งชอ้ี ตั ลกั ษณ์
๙ ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรัชญา
ปณิธาณ พนั ธกิจ และวตั ถุประสงค์
ของการจัดต้ังสถานศกึ ษา
๑๐ ผลการพัฒนาตามจุกเน้นและจดุ เด่น
ที่สง่ ผลสะทอ้ นเป็นอัตลกั ษณ์
ของสถานศึกษา
กลุ่มตวั บง่ ชมี้ ำตรกำรส่งเสริม
๑๑ ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษ
เพ่อื ส่งเสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา
๑๒ ผลการสง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษา
เพือ่ ยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐาน
และพฒั นาสู่ความเป็นเลศิ ท่ีสอดคล้องกบั
แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
ห น ้ า | 21
สรปุ ผลการประเมินภายนอกระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
ผลรวมคะแนนประเมนิ สถานศกึ ษา 88.57 คะแนน
มีคณุ ภาพระดับดี
การรองรบั มาตรฐานสถานศึกษา ระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ใช่ ไมใ่ ช่
ผลรวมคะแนนรวมทุกตวั บ่งชี้ ต้งั แต่ ๘๐ คะแนน ขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่
ใช่ ไมใ่ ช่
มตี วั บง่ ช้ที ี่ได้ระดับดขี น้ึ ไป ๑๐ ตัวบ่งช้ี จาก ๑๒ ตวั บ่งชี้
ไม่มีตัวบง่ ชี้ใดทม่ี รี ะดบั คณุ ภาพต้องปรับปรงุ หรอื ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งดว่ น
ในภำพรวมสถำนศกึ ษำจัดกำรศึกษำขนึ้ พ้ืนฐำน
: ระดับกำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน
สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา
ไมส่ มควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา
จุดเด่นท่ีควรพัฒนำและข้อเสนอแนะจำกกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม ระดับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน
จดุ เดน่
1.ผู้เรียนมีน้าหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ รวมท้ังรู้จักการดูแลตนเองให้มีความ
ปลอดภัย มีสุนทรียภาพ เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นผู้เรียนที่ดีของสถานศึกษาเป็นผู้มีการบาเพ็ญ
ประโยชน์ต่อสังคม ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตง้ั
สถานศึกษา และตามจุดเนน้ และจดุ เดน่ ทส่ี ง่ ผลสะท้อนเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
2.ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา มกี ารพฒั นาไดด้ ที กุ ดา้ น
3.ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูมีความมุ่งม่ันต้ังใจ ในการจัดการ
เรยี นการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
4.พัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด ซึ่งเปน็ ไปอย่างเปน็ ระบบ
และตอ่ เน่ือง
จุดควรพัฒนำ
1.ผเู้ รียนควรได้รับการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ท่มี ผี ลสมั ฤทธ์ิอยใู่ นระดับต้องปรับปรงุ เร่งด่วน ตอ้ ง
ปรับปรุง และพอใช้
2.สถานศึกษาควรนาผลประเมินการดาเนินงานของสถานศึกษา ไปพฒั นาครูแต่ละคนอยา่ งมีระบบ
ห น ้ า | 22
ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำตำมกฎกระทรวงว่ำด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ
พ.ศ.2553
1.ดำ้ นผลกำรจัดกำรศึกษำ
ผูเ้ รยี นควรไดร้ บั การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ที่มีผลสมั ฤทธ์ติ ่ากว่าระดบั ดี
ด้วยการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พัฒนา การวัดและประเมินผลท่ี
หลากหลาย การออกแบบทดสอบทีว่ ดั การวิเคราะห์ เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นค้นุ เคยและชินกบั แบบทดสอบที่หลากหลาย
2.ดำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำรศึกษำ
1.สถานศึกษาควรนาข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผลแล้ว ตามระบบบริหารคุณภาพ (PDCA) มาสรุปผลการ
ดาเนนิ งานทั้ง 3 ด้าน คือ ดา้ นเด็ก ด้านครแู ละด้านผู้บริหาร โดยข้อมลู เหล่านี้ต้องแบง่ แยกในส่วนของปฐมวัยและ
ประถมศึกษาไว้อย่างชัดเจน เพอ่ื จะไดจ้ ดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแกป้ ัญหาได้ตรงจุด
2.สถานศึกษาควรวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา และผลการประกันภายในของต้นสงั กัด เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันของทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องในการจดั ทา
แผนพฒั นาคุณภาพกรศึกษาปฐมวัย และต้องเป็นแผนที่สอดรับกับแผนพัฒนาคุณภาพระดับประถมศึกษา เพอ่ื เป็น
การเตรยี มความพร้อมให้เดก็ มคี วามพร้อมศกึ ษาในขน้ั ต่อไป
3.ดำ้ นกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
1.ควรพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิด ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ คิด
สังเคราะห์ คดิ แก้ปญั หา คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ โดยใชก้ ิจกรรมค้นคว้า ทดลอง กระบวนการกลุ่ม การให้ผู้เรียนได้
ลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริงอยา่ งเป็นระบบตอ่ เนือ่ ง
2.ควรพัฒนาเคร่ืองมือวัดผลประเมินผลการจัดการเรียนการสอนให้ครอบคลุมจุดประสงค์ตัวชี้วัดในการ
วัดผลประเมนิ ผล
3.ควรพัฒนากระบวนการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาทางการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนาส่ือนวัตกรรมให้
เหมาะสมกับธรรมชาติของแต่ละวชิ าอยา่ งเป็นระบบ
4.ดำ้ นกำรประกันคุณภำพภำยใน
สถานศึกษาควรดาเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างมีระบบและต่อเน่ือง โดยนาผลการประเมิน
คุณภาพภายนอกและภายในของสถานศึกษา มาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (กำหนด
ระยะเวลำในกำรพฒั นำทุกดำ้ นภำยใน 2 ป)ี
ห น ้ า | 23
12. ผลงำนท่ีผำ่ นมำในรอบ 3 ปี
ผลกำรทดสอบระดบั ชำติขัน้ พ้นื ฐำน O-NET ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีที่ 6
ประจำปีกำรศกึ ษำ 2561
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ จำนวนคน คะแนนเฉลี่ย
ภำษำไทย 1 40.50
คณิตศำสตร์ 1 40.00
วิทยำศำสตร์ 1 32.00
ภำษำต่ำงประเทศ 1 25.00
ผลคะแนนกำรทดสอบระดับชำตขิ ั้นพ้นื ฐำนปีกำรศึกษำ 2557—2561
กลมุ่ สำระ 2558 คะแนนเฉลย่ี 2561
40.50
ภำษำไทย 34.17 2559 2560 40.00
คณิตศำสตร์ 62.25 37.03 32.00
วทิ ยำศำสตร์ 28.33 55.00 28.75
สังคมศึกษำฯ 46.00 30.13 -
ภำษำต่ำงประเทศ 30.50 45.00 - 25.00
38.00 27.50 27.50
27.50
ผลความรว่ มมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากคณะครู นักเรยี น ผปู้ กครอง และชมุ ชนตลอดจนส่วน
ราชการต่าง ๆ ทาให้การดาเนินงานภารกิจต่าง ๆ ของโรงเรียนมีผลสาเร็จเป็นที่ยอมรับท้ังในระดับเครือข่ายของ
สถานศกึ ษา สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 และหน่วยงานอน่ื ๆ เป็นอย่างดี
ห น ้ า | 24
13. ขอ้ มูลกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้
ควำมหมำยภมู ิปัญญำท้องถิ่นและวิทยำกรภำยนอก
ภูมิปัญญาท้องถ่ินหมายถึง องค์ความรู้ความสามารถวิธีการผลงานที่ค้นคว้ารวบรวมจัดเป็นความรู้ถ่ายทอด
จากคนรุ่นหน่ึงมาสู่อีกคนรุ่นหน่ึงจนเกิดผลิตผลท่ีดีงดงาม ส่งเสริมให้ผู้เรียน อนุรักษ์และเห็นคุณค่ามีประโยชน์
สามารถนามาแกป้ ัญหาและพัฒนาชีวติ ได้
วิทยากรภายนอกหมายถึง ผู้ทาหน้าท่ีถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ท่ีแสดงถึงภูมิรู้มีความชานาญการใน
ศาสตร์นนั้ ๆใหค้ นอ่นื รับรูซ้ ึง่ เปน็ บุคลท่อี ยู่ภายนอกสถานศึกษา
ในแต่ละชุมชนจะมีภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิทยากรภายนอกดังนั้นจึงเป็นหน้าท่ีของสถานศึกษาแต่ละแห่งท่ี
จะนาบุคลากรเหล่าน้ีมามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับชีวิตความ
เป็นอยขู่ องโรงเรยี นวดั ปากดงทา่ ศาล ประกอบดว้ ย 7 สาขา ดังนี้
๑.๑ สาขาเกษตรกรรม
๑.๒ อุตสาหกรรมและหตั ถกรรม
๑.๓ แพทย์แผนไทย
๑.๔ ทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม
๑.๕ กองทุนและธุรกิจชุมชน
๑.๖ ศิลปกรรม
๑.๗ ศาสนาและประเพณี
ในการนาภมู ิปัญญาท้องถน่ิ และวทิ ยากรภายนอกมาชว่ ยในการจัดการศึกษาสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น ๒ กล่มุ
ดังนี้ คอื กลมุ่ ท่ีอยู่ในเขตบรกิ ารและกลุ่มท่ีอยนู่ อกเขตบริการ
1. ปรำชญ์ชำวบ้ำน/ภูมิปัญญำท้องถ่ิน ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สถำนศึกษำเชิญมำให้ควำมรู้แก่ครู นักเรียน ในปี
กำรศึกษำท่ีรำยงำน
1.1 พระอธิการเฉลิมพลวันโป่งคอมใต้ ให้ความรู้เรื่อง เก่ียวกับการปฏิบัติธรรม และ ธรรมะสู่ความสงบ
สขุ สถิติการใหค้ วามรู้ในโรงเรยี นแห่งน้ี จานวน 6 ครัง้ /ปี
1.2 เจ้าหน้าท่ีจากสถานีตารวจอาเภอด่านช้าง ให้ความรู้เกี่ยวกับการจราจร และยาเสพติด สถิติการให้
ความรใู้ นโรงเรยี นแห่งนี้ จานวน 2 คร้งั /ปี
1.3 เจ้าหน้าท่ีจากหน่วยงานการรักษาความปลอดภัยไฟป่า ให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย
และวิธีการปอ้ งกันภัยอนั ตรายในบา้ นและชมุ ชนสถิติการใหค้ วามร้ใู นโรงเรียน จานวน 2 ครง้ั /ปี
1.4 นางสิน พลายละหาร ให้ความรู้เกี่ยวกับการทาน้ายาล้างจาน และน้ายาซักล้างชนิดต่าง ๆ สถิติการ
ให้ความรใู้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน 6 ครั้ง /ปี
1.5 นางบุญฐม โชระเวช ให้ความรู้เกี่ยวกับ การปลูกผักปลอดสารพิษ สถิติการให้ความรู้ในโรงเรยี นแห่ง
นี้ จานวน 10 ครัง้ /ปี
1.6 โรงพยาบาลด่านช้าง ให้ความรู้เก่ียวกับ การรักษาสุขภาพฟันสถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้
จานวน 2 คร้ัง/ปี
1.7 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพชมุ ชนบ้านพุนา้ ร้อน ให้ความรเู้ กี่ยวกบั การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพรา่ งกาย ฉีด
วคั ซีน ป้องกนั โรค กาจัดยงุ ลาย สถิตกิ ารใหค้ วามรู้ในโรงเรยี นแหง่ นี้ จานวน 4 ครงั้ / ปี
ห น ้ า | 25
ส่วนที่ 2
ทศิ ทำงกำรพัฒนำสถำนศกึ ษำ
ปีงบประมำณ 2562
ห น ้ า | 26
ทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโป่งคอม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นแผนหรือแนวทาง หรือข้อกาหนดของการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนบ้านโป่งคอมที่จะใช้ในการจดั การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพที่สุจริต
ตลอดจนการรู้จักอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และ
สติปัญญา อีกทงั้ มีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากลเพื่อการแข่งขัน
ในยุคปัจจุบนั ดงั น้นั หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโป่งคอม (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 จึงประกอบด้วยสาระสาคัญของหลักสูตรแกนกลาง สาระ
ความรู้ที่เกีย่ วข้องกับชุมชนท้องถ่ิน และสาระสาคญั ทโ่ี รงเรยี นพฒั นาเพม่ิ เติม โดยจัดเปน็ สาระการเรียนรรู้ ายวิชา
พ้ืนฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายปีใน
ระดับประถมศึกษา และกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียนบ้านโป่งคอม ตามหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านโป่งคอม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551
วสิ ัยทศั น์โรงเรยี น
วิสัยทัศน์ (VISION)
ภายในปี 2565 โรงเรียนบ้านโป่งคอม มุ่งจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
สภาพแวดล้อมน่าอยู่ มุ่งพัฒนาการเรียนรู้ สร้างคนดี มีความเป็นไทย ก้าวไกลเทคโนโลยี ปฏิบัติตนตามกลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
พันธกจิ โรงเรยี นบำ้ นโป่งคอม
1.ส่งเสรมิ พัฒนาผ้เู รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
2.จดั สภาพแวดลอ้ มทน่ี า่ อยเู่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้
3.ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีทกั ษะชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.ส่งเสรมิ การอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมไทยไปพร้อมกบั การก้าวทันเทคโนโลยี
5.ส่งเสริมพัฒนาผ้เู รยี นให้มคี ุณธรรมจริยธรรมพร้อมเปน็ คนดใี นสังคม
เป้ำประสงคโ์ รงเรยี นบำ้ นโปง่ คอม
1.นกั เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
2.สภาพแวดลอ้ มสวยงาม สะอาด ร่มร่ืน นา่ อยู่นา่ เรยี น
3.นักเรยี นมที ักษะชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.นกั เรียนรู้จักอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทยและก้าวทนั เทคโนโลยี
5.นกั เรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรมและอย่ใู นสังคมได้อย่างมีความสขุ
ห น ้ า | 27
อัตลักษณ์
ระดับปฐมวัย “ย้มิ ง่าย ไหว้สวย”
ระดบั ประถมศึกษา “วชิ าการเด่น เน้นคณุ ธรรม”
เอกลกั ษณ์
“สถานศกึ ษาที่มุ่งเน้นใหน้ ักเรยี นเก่ง ดี มสี ุข”
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโป่งคอม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ม่งุ ให้ผ้เู รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดังน้ี
1. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง เพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธกี ารสอื่ สาร ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสงั คม
2. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพอ่ื นาไปสู่การสร้างองค์ความรหู้ รือสารสนเทศเพ่ือ
การตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
3. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ัญหำ เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ท่ีเผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตดั สนิ ใจทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม
4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวนั การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมดว้ ย
การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่
สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่
5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ
และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทางาน
การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโป่งคอม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยรู่ ่วมกับผู้อ่นื ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่อื สัตย์สุจรติ
3. มีวนิ ยั
ห น ้ า | 28
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง
6. ม่งุ มั่นในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจิตสาธารณะ
คำ่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประกำร ตำมนโยบำยของ คสช.
1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
2. ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ุดมการณใ์ นส่งิ ทด่ี งี ามเพื่อสว่ นรวม
3. กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทงั้ ทางตรง และทางอ้อม
5. รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดตี อ่ ผ้อู น่ื เผ่ือแผแ่ ละแบ่งปนั
7. เขา้ ใจเรียนรูก้ ารเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุขที่ถูกตอ้ ง
8. มีระเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ่
9. มสี ติร้ตู วั รู้คดิ รูท้ า รปู้ ฏบิ ตั ติ ามพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว
10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาท สมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวรู้จักอดออมไว้ใช้เม่ือยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมที่จะขยาย
กจิ การเม่อื มคี วามพร้อม เมื่อมภี ูมิคุม้ กนั ทดี่ ี
11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลสมีความละอายเกรง
กลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา
12. คานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง
กลยุทธ์สถำนศึกษำ (Strategy)
กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผ้เู รียนส่มู าตรฐานการศึกษาทุกระดับมีความรูแ้ ละทกั ษะด้านเทคโนโลยี เพ่ือ
เปน็ เครื่องมือในการเรยี นรู้
กลยทุ ธ์ที่ 2 ปลูกฝงั คณุ ธรรมความสานกึ ในความเปน็ ชาตไิ ทยระบอบประชาธปิ ไตย อนรุ ักษ์วฒั นธรรม
และส่ิงแวดล้อมและมีวถิ ชี วี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กลยุทธท์ ่ี 3 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนสมู่ าตรฐานวิชาชีพ สามารถจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนได้อย่างมคี ุณภาพ และใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สารได้
กลยุทธ์ท่ี 4 ส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นพื้นฐาน ชมุ ชน ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ
และองค์กรภายนอกในการรว่ มพัฒนาคุณภาพการศึกษา
กลยุทธท์ ี่ 5 พัฒนาความพร้อมในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่ือการเรียนรู้และการบรหิ าร
จัดการศกึ ษา
กลยทุ ธท์ ี่ 6 พฒั นาแหล่งเรยี นร้สู ภาพแวดล้อมในโรงเรยี นใหร้ ่มร่ืนนา่ อย่ปู ลอดภยั และเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้
ห น ้ า | 29
วเิ ครำะหป์ ระเด็นกลยุทธ์ : มำตรฐำนระดับกำรศึกษำปฐมวยั
ประเด็นกลยุทธ์ ขอ้ : มำตรฐำนของสถำนศึกษำ
กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่มาตรฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็
การศึกษาทุกระดับมีความรู้และทักษะด้าน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ
เทคโนโลยี เพ่อื เป็นเคร่อื งมอื ในการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น
สาคัญ
กลยุทธ์ท่ี 2 ปลูกฝังคุณธรรมความสานึกใน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
ความเป็นชาติไทยระบอบประชาธิปไตย อนุรักษ์ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจดั การ
วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม และมีวิถีชีวิต มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สาคัญ
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาครูและบุคลากรทางการ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็
ศึกษาทุกคนสู่มาตรฐานวิชาชีพ สามารถจัด มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ
กิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็น
และใช้ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสารได้ สาคญั
กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการมีส่ว นร่ว มข อ ง มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นพ้ืนฐาน ชุมชน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจดั การ
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ และองคก์ รภายนอกในการร่วม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็น
พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา สาคญั
กลยุทธ์ท่ี 5 พัฒนาความพร้อมในด้านเทคโนโลยี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
สารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและจัดการ
และการบริหารจัดการศกึ ษา มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็น
สาคัญ
กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาแหล่งเรียนรู้สภาพแวดล้อม มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
ในโรงเรียนให้ร่มรื่นน่าอยู่ปลอดภัยและเอื้อต่อ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจัดการ
การเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็น
สาคญั
ห น ้ า | 30
วิเครำะห์ประเดน็ กลยุทธ์ : มำตรฐำนระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พืน้ ฐำน
ประเด็นกลยุทธ์ ขอ้ : มำตรฐำนของสถำนศกึ ษำ
กลยทุ ธท์ ่ี 1 พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นส่มู าตรฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รียน
การศกึ ษาทุกระดับมีความรู้และทักษะด้าน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
เทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้น
ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
กลยุทธท์ ี่ 2 ปลูกฝังคณุ ธรรมความสานกึ ใน มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น
ความเปน็ ชาติไทยระบอบประชาธปิ ไตย อนุรกั ษ์ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
วฒั นธรรม และส่ิงแวดล้อมและมีวถิ ชี ีวติ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
กลยุทธท์ ่ี 3 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
ศกึ ษาทกุ คนสู่มาตรฐานวชิ าชพี สามารถจัด มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
กจิ กรรมการเรียนการสอนได้อยา่ งมีคุณภาพ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
และใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารได้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ
กลยุทธท์ ่ี 4 สง่ เสริมการมีส่วนรว่ ม มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รยี น
ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ พื้นฐาน ชมุ ชน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ และองค์กรภายนอกในการร่วม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้น
พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ผู้เรยี นเป็นสาคัญ
กลยทุ ธท์ ่ี 5 พัฒนาความพรอ้ มในด้านเทคโนโลยี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น
สารสนเทศและการส่อื สารเพื่อการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
และการบริหารจดั การศึกษา มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
กลยุทธท์ ี่ 6 พัฒนาแหลง่ เรียนร้สู ภาพแวดลอ้ ม มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน
ในโรงเรียนใหร้ ม่ ร่ืนนา่ อยปู่ ลอดภัยและเอื้อ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ตอ่ การเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
ห น ้ า | 31
นโยบำย
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำนและคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้ืนฐำน
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562
หัวใจสาคัญของการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน คือ การสร้างและพัฒนาคนไทยเพ่ืออนาคตของประเทศ สร้าง
คนไทยให้เปน็ คนดีและคนเก่ง มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ มี
ความเขม้ แขง็ ทั้งร่างกายและจิตใจ เน้นการอา่ นออก เขียนได้ คิดวเิ คราะหเ์ ป็น สามารถสร้างวสิ ยั ทศั น์และวางแผน
อนาคตทด่ี ีของตนเองได้ รวมถึงรกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามของคนไทย และคานงึ ถงึ ประโยชนส์ ่วนรวม
และประเทศชาติเป็นหลัก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงกาหนดนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.
2562 ดงั นี้
1.เร่งรัดปฏิรูปการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบและกระบวนการ การจัด
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานทั้งระบบใหม้ ปี ระสิทธิภาพ ทนั สมยั ทนั เหตุการณ์ ทันโลก ใหส้ าเร็จอยา่ งเปน็ รูปธรรม
2.เร่งพัฒนาความแข็งแกร่งทางการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท รวมถึง เด็กพิการ และด้อย
โอกาส มีความรู้ และทักษะแห่งโลกยุคใหม่ควบคู่กนั ไป โดยเฉพาะทักษะการอา่ น การเขียน และ การคิด เพือ่ ให้มี
ความพรอ้ มเขา้ ส่กู ารศึกษาระดบั สงู และโลกของการทางาน
3.เร่งปรับระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน มีการประสานสัมพันธ์ กับ
เน้ือหา ทักษะ และกระบวนการเรียนการสอน ประกอบไปด้วย มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการสอน
การพฒั นาทางวิชาชีพและสภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้
4.ยกระดับความแข็งแกร่งมาตรฐานวิชาชพี ครูและผ้บู ริหารสถานศึกษา ให้ครูเป็นผู้ที่มีความสามารถและ
ทักษะท่ีเหมาะสมกับการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้บริหารสถานศึกษา มีความสามารถในการบริหารจัดการ
และเป็นผู้นาทางวิชาการ ครูและผู้บริหารสถานศึกษาประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี แก่ผู้เรียน สร้างความม่ันใจ
และไว้วางใจ ส่งเสรมิ ใหร้ ับผดิ ชอบต่อผลทีเ่ กดิ กบั นักเรียนท่สี อดคลอ้ งกบั วชิ าชพี
5.เรง่ สร้างระบบใหส้ านักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา เป็นองค์กรคุณภาพทีแ่ ข็งแกร่ง และมปี ระสิทธิภาพ เพ่ือ
การใหบ้ ริการทด่ี ี มีความสามารถรับผิดชอบการจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐานทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
6. เร่งรัดปรับปรุงโรงเรียนให้เป็นองค์กรท่ีมีความเข้มแข็ง มีแรงบันดาลใจ และมีวิสัยทัศน์ ในการจัด
การศึกษาขน้ั พื้นฐานที่ชัดเจน เปน็ สถานศกึ ษาคุณภาพ และมีประสิทธภิ าพ ที่สามารถจดั การเรียน การสอนอย่างมี
คุณภาพและได้มาตรฐานระดบั สากล
7. สร้างระบบการควบคุมการจัดการการเปล่ียนแปลงทางการศึกษาท่ีมีข้อมูลสารสนเทศ และข่าวสาร
เกย่ี วกบั กระบวนการเรียนการสอนอยา่ งพร้อมบริบูรณ์ และมีนโยบายการตดิ ตามประเมนิ ผลอยา่ งเป็นรปู ธรรม
8. สร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทางานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการให้บริการที่ดี ท้ังส่วนกลางและ
ส่วนภูมิภาค เร่งรัด การกระจายอานาจและความรับผิด ชอบ ส่งเสริมการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีท่ีทุกภาคส่วนเข้ามา มี
ส่วนร่วม ปรับปรุงระบบของโรงเรียน ให้เป็นแบบร่วมคิดร่วมทา การมีส่วนร่วม และการประสานงาน สามารถใช้
เครือข่ายการพัฒนาการศกึ ษา ระหว่างโรงเรียนกับโรงเรยี น องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ องค์กรวิชาชพี กลมุ่ บุคคล
องคก์ รเอกชน องค์กรชุมชน และองคก์ รสังคมอ่ืน
ห น ้ า | 32
9.เร่งปรับระบบการบริหารงานบุคคล มุ่งเน้นความถูกต้อง เหมาะสม เป็นธรรม ปราศจากคอร์รัปชั่น ให้
เป็นปัจจัยหนุนในการเสริมสร้างคุณภาพและประสิทธิภาพ ขวัญและกาลังใจ สร้างภาวะจูงใจ แรงบันดาลใจ และ
ความรบั ผดิ ชอบในความสาเรจ็ ตามภาระหนา้ ที่
10.มุ่งสร้างพลเมืองดีที่ตื่นตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้ และทาให้การศึกษา นาการ
แกป้ ญั หาสาคัญของสังคม รวมทั้งปัญหาการคอรร์ ปั ชั่น
11.ทุ่มเทมาตรการเพ่ือยกระดับคุณภาพสถานศึกษาที่พัฒนาล้าหลัง และโรงเรียน ขนาดเล็กที่ไม่ได้คุณภาพ เพ่ือไม่ให้
ผเู้ รยี นตอ้ งเสยี โอกาสได้รับการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ
ห น ้ า | 33
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ปี 2558 – 2563 “มน่ั คง มงั่ ค่ัง ยง่ั ยนื ”
ประเทศไทยได้ประกาศ วิสัยทัศน์ เพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศของรัฐบาล โดยมีช่ือว่า “มั่นคง
ม่ังคั่ง ยั่งยืน” เพ่ือพัฒนาทั้งด้านเสถียรภาพ ความสงบสุข เศรษฐกิจที่เข้มแข็ง ด้านการใช้จ่าย จัดหางบประมาณ
เพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้มากขน้ึ แก้ปญั หาด้านสาธารณปู โภค การดแู ลสขุ ภาพ และการศึกษา
วิสัยทัศน์ “มั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน” นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข ภายใต้ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
และสนองตอบผลประโยชน์แหง่ ชาติ อันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขต อานาจรัฐ การดารง
อยู่อย่างมั่นคง ย่ังยืนของสถาบันหลักของชาติ การดารงอยู่อย่างมั่นคงของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุก
รูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุข เป็นปึกแผ่น มีความม่ันคงทางสังคม ท่ามกลาง พหุสังคมและการมี
เกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของ
ประชาชน ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ความม่ันคงทางพลังงาน อาหาร ความสามารถใน
การรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกัน
อยา่ งสันติ ประสานสอดคล้องกันด้านความมั่นคงในประชาคมอาเซียน และประชาคมโลกอย่างมีเกยี รติและศกั ด์ิศรี
ความม่ันคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศและ
ภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคง
ในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย
มีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ท่ีเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน
มรี ะบบการเมืองท่ีมั่นคงเป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศทีต่ ่อเน่ือง และโปร่งใสตามหลัก ธรรมาภบิ าล สงั คม
มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความ
อบอุ่น มีความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับ
การดารงชวี ติ มีท่อี ยอู่ าศัยและความปลอดภัยในชีวติ ทรพั ย์สิน มกี ารออมสาหรบั วัยเกษยี ณ
ความม่งั คั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตวั ของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องจนเขา้ สู่กล่มุ ประเทศรายได้สูง
ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้นไม่มี
ประชาชนที่อยู่ใต้เส้นความยากจน เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งจาก
ภายในประเทศและภายนอกประเทศ และเปน็ จุดสาคญั ของการเช่ือมโยงในภมู ิภาคท้ังการคมนาคมขนสง่ การผลิต
การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ นอกจากนั้นยังมีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้าง การพัฒนาต่อเนื่องไป
ได้แก่ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทาง
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้
เพ่มิ ข้นึ อยา่ งต่อเน่ือง ซ่ึงเปน็ การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ไี ม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาตจิ นเกินพอดี ไม่สรา้ งมลภาวะ
ต่อสง่ิ แวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรบั และเยียวยาของระบบนเิ วศน์ การผลิตและการบรโิ ภคเปน็ มิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของประชาคมโลก ซึ่งเป็นท่ียอมรับร่วมกันทรัพยากรธรรมชาติมีความ
อุดมสมบูรณ์มากขึ้น และสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอ้ืออาทร เสียสละเพ่ือ
ผลประโยชนส์ ่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายท่มี ุ่งประโยชน์ส่วนรวมอยา่ งยั่งยืนและ ให้ความสาคญั กับการมีส่วนรว่ มของ
ประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนาใน
ระดับอยา่ งสมดลุ มีเสถียรภาพ และยั่งยืน
ห น ้ า | 34
คำแถลงนโยบำยของนำยกรัฐมนตรี
นโยบำยของนำยกรฐั มนตรี
ในคาแถลงนโยบายของนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ วันศุกร์ท่ี
12 พฤศจิกายน 2557 นโยบายด้านการศึกษากาหนดไว้ในข้อที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้การทะนุบารุงศาสนา
ศิลปะ และวัฒนธรรม และนโยบายด้านวิจัย ข้อท่ี 8 การพัฒนาและส่งเสริมในการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม จากนโยบายรัฐบาล 11 ด้าน คือ 1) การปกป้องและเชิดชูสถาบัน
พระมหากษัตริย์ 2) การรักษาความม่ันคงของรัฐและการต่างประเทศ 3) การลดความเหล่ือมล้าของสังคม และ
การสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ 4) การศึกษาและเรียนรู้การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม 5)
การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน 6) การเพ่ิมศักยภาพทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ 7) การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน 8) การพัฒนาและสง่ เสริมการใช้ประโยชน์
จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม 9) การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และ
การสรา้ งสมดลุ ระหวา่ งการอนุรักษ์ กบั การใชป้ ระโยชน์อย่างย่ังยืน 10) การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่
มีธรรมาภิบาล และการป้องกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ 11) การปรับปรุงกฎหมาย
และกระบวนการยุตธิ รรม
นโยบำยด้ำนกำรศึกษำ ข้อท่ี 4 กำรศึกษำและเรียนรู้ กำรทะนุบำรุงศำสนำ ศิลปะและวัฒนธรรม
เพ่อื สรำ้ งสงั คมให้เขม้ แขง็ อยำ่ งมคี ุณภำพ และคุณธรรมควบค่กู ัน ดังน้ี
-จัดให้มีการปฏริ ปู การศกึ ษาและการเรียนรู้ ท้งั ในระบบ และการศกึ ษาทางเลอื กไปพร้อมกนั
-ปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณและการเรียนรู้ สนับสนุนการศึกษาให้สอดคล้องกับความจาเป็นของ
ผู้เรยี น และลกั ษณะของพนื้ ทข่ี องโรงเรยี น ปรบั ปรุงและบรู ณาการระบบการกู้ยืมเพ่ือการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
-ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป มีโอกาสจัด
การศึกษาที่มีคุณภาพ ท่ัวถึง และร่วมปฏิรูปการศึกษาและเรียนรู้ กระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษา
สสู่ ถานศึกษา เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่
-พัฒนาคนในทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความรู้และทักษะใหม่ที่สามารถประกอบ
อาชีพได้อย่างหลากหลาย รองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
-ส่งเสรมิ อาชีวศึกษาและการศึกษาระดบั วิทยาลัยชมุ ชน เพื่อสรา้ งแรงงานท่ีมีทักษะตรงตามความต้องการ
ท้องถน่ิ และตลาดแรงงาน
-พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นครู ส่งเสริม ให้ครูมีวุฒิ
ตามวชิ าทส่ี อน ใหส้ ามารถนาเทคโนโลยแี ละเครอื่ งมือมาใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือช่วยครูหรอื เพ่ือการเรียนรูด้ ้วยตนเอง
-ทะนุบารุงและอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ สนับสนุนให้ทุกองค์กรมีบทบาทใน
การปลูกฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรม และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
-อนุรักษ์ฟื้นฟูและเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านและวัฒนธรรมสากล และ
การสร้างสรรค์งานศิลปะและวัฒนธรรมที่เปน็ สากล เพ่ือเขา้ สู่เสาหลักวฒั นธรรมของอาเซียนและประชาคมโลก
ห น ้ า | 35
-ปลูกฝังค่านิยม และจิตสานึกที่ดี รวมทั้งสนับสนุนการผลิตสื่อคุณภาพ เปิดพ้ืนที่สาธารณะ ให้เยาวชน
และประชาชนได้มโี อกาสแสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์
นโยบำยด้ำนกำรศึกษำ ข้อท่ี 8 กำรพัฒนำและส่งเสริมกำรใช้ประโยชน์จำกวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี
กำรวจิ ัยและพฒั นำ และนวตั กรรม เพอื่ นำไปส่กู ำรผลิตและบริกำรทที่ นั สมยั
-สนับสนุนการเพ่ิมค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาของประเทศ เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายให้ไม่ต่ากว่า
ร้อยละ 1 ของรายได้ประชาชาติและมีสัดส่วนรฐั ต่อเอกชน 30 : 70 เพ่ือให้ประเทศสามารถแข่งขันและก้าวหน้า
ทัดเทยี มประเทศอืน่
-เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอนที่เช่ือมโยงระหว่างวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ผลิตกาลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เช่ือมโยงระหว่างการเรียนรู้กับ
การท่องจา อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม มีช่องทางในการใช้เทคโนโลยีระหว่างหน่วยงานและ
สถานศกึ ษา
-การปฏิรปู ระบบให้ส่งิ จงู ใจ ระเบียบและกฎหมายทเ่ี ป็นอุปสรรคต่อการทางานวจิ ัยและพัฒนา ไปต่อยอด
หรือใช้ประโยชน์ ส่งเสริมการจัดทาแผนพัฒนาการวิจัยและพัฒนาในระดับภาค หรือ กลุ่มจังหวัด ให้
สอดคล้องความต้องการของท้องถนิ่ และนาไปใช้ประโยชน์เชงิ พาณิชยไ์ ด้
-ส่งเสริมให้โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของประเทศ ใช้ประโยชน์จากผลการศึกษาวิจัยและพัฒนา และ
นวัตกรรมของไทยตามความเหมาะสม โดยให้มีนโยบายจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐท่ีเอ้ืออานวย สร้างโอกาสการพัฒนา
เทคโนโลยขี องประเทศ
-ปรับปรุงและจัดเตรียมให้มีโครงสร้างพ้ืนฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านการวิจัยและพัฒนา
และด้านนวตั กรรมซ่งึ เป็นโครงสรา้ งพน้ื ฐานทางปัญญาในการต่อยอดส่กู ารใช้เชิงพาณิชยข์ องภาคอุตสาหกรรม
นอกจากนโยบายด้านการศึกษาสองข้อของรัฐบาลแล้ว นายกรฐั มนตรยี ังได้ให้นโยบายด้านการศึกษาไว้อีก 10 ข้อ
คอื
1) ทาใหเ้ ร็ว มผี ลสมั ฤทธ์ิภายในเดอื นกนั ยายน 2559 ใหม้ ากที่สดุ ทีเ่ หลือสง่ ต่อใหร้ ฐั บาลต่อไป
2) ประชาชน สังคมพึงพอใจ ประเทศได้คนมคี ณุ ภาพ
3) ปรบั ลดภาระงานทไ่ี ม่จาเปน็ ของกระทรวงศกึ ษาธิการลง
4) เรง่ ปรบั หลกั สูตร/ตาราแต่ละกลมุ่ ใหเ้ หมาะสม การพมิ พ์ตาราต้องคมุ้ ราคา
5) ผลิตคนใหท้ ันกบั ความต้องการของประเทศ จบแลว้ ตอ้ งมีงานทา เขา้ ทางาน AEC ให้ทันปีน้ี ชว่ ยแก้ไข
ปญั หาว่างงาน และปัญหาสังคมได้
6) ปรับหลกั สูตร ทาใหเ้ ดก็ ครู ผู้ปกครองมีความสุข
7) ใชส้ อื่ การสอน กระต้นุ ผเู้ รียนเพ่ือสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นรู้กับเดก็
8) ลดความเหล่อื มล้า จดั การศกึ ษาให้ทวั่ ถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ
9) นาระบบ ICT เขา้ มาใช้จัดการเรียนรอู้ ยา่ งเปน็ รูปธรรมและกวา้ งขวาง
10) เรยี นไม่ใชเ่ พอื่ สอบ แตเ่ รยี นใหไ้ ด้ทกั ษะชวี ติ อยใู่ นยคุ โลกไรพ้ รมแดน
ห น ้ า | 36
นโยบำยดำ้ นกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน (สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พนื้ ฐำน)
1.กำรแก้ไขปญั หำเด็กประถม อำ่ นไม่ออก เขียนไม่ได้
-ปรบั ปรงุ วิธีการเรยี นการสอนท่เี ห็นผลสมั ฤทธ์ชิ ัดเจน เช่น การสอนแบบแจกลูกสะกดคาโดย
ใชแ้ นวการจัดการเรยี นรู้ท่ีสอดคลอ้ งกบั พฒั นาการสมอง (BBL)
-กาหนดเปา้ หมายใหน้ กั เรียนช้ัน ป.1 ตอ้ งอ่านออกเขยี นได้ ชั้น ป.2 ข้นึ ไปต้องอ่านคล่อง
เขียนคล่อง เป็นตน้
2.กำรดแู ลเดก็ ออกกลำงคัน
-การดูแลเด็กออกกลางคันให้ไดร้ ับการศกึ ษาภาคบงั คับ เช่น ตอ้ งมฐี านขอ้ มลู เรื่องน้ี หากเดก็
จบออกไปต้องมีระบบติดตามดูแล และหากเด็กออกไปทางานที่ใด ต้องสนับสนุนให้เรียนต่อในสถานศึกษาของ
กศน.
3.ปรับปรงุ หลักสูตร
-การลดเวลาเรียน ลดการบา้ นนกั เรยี น ให้นกั เรียนเรยี นอย่างมีความสขุ แตไ่ มใ่ ชเ่ วลาเหลอื
แล้วไปจัดกจิ กรรมทเ่ี พิม่ ภาระหรือเพิ่มการบ้านให้นักเรยี นอกี
-ไม่ใชก่ ารเรยี นเพ่ือมาสอบอย่างเดยี ว
-ต้องสรา้ งภูมิต้านทานให้กบั เด็กในยคุ โลกไรพ้ รมแดน ให้นกั เรยี นคิด/ปฏบิ ัตมิ ากกว่าท่องจา
4.กำรแก้ไขปัญหำโรงเรียนขนำดเลก็
-การแก้ไขปญั หาโรงเรียนขนาดเล็กทม่ี คี รสู อนไม่ครบช้นั เรียน
-ใชก้ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) อย่างจริงจงั เต็มรปู แบบ สง่ เสริมสนับสนนุ
โรงเรยี นไกลกงั วลให้เปน็ โรงเรยี นตน้ ทางที่มคี ุณภาพ
5. กำรลดควำมเหลือ่ มลำ้ ทำงกำรศกึ ษำ
-การใชโ้ ครงการพัฒนาคณุ ภาพทางการศึกษาทางไกล DLTV และผ่าน ICT ดว้ ย DLTV
6. กำรประเมนิ ครู/ นักเรียน/ โรงเรียน
-การประเมนิ คร/ู นกั เรียน/ โรงเรียน หาความสมดุล ระหวา่ งการควบคุมคุณภาพทางการ
ศึกษากับภาระงานของครูท่ีต้องเพ่ิมข้ึน ตลอดจนปรับปรุงการคัดสรรครู ผู้บริหาร การประเมินวิทยฐานะให้
เหมาะสม อาจจัดโมบายทมี จากส่วนกลาง เพอื่ ลดภาระครหู รือนาเทคโนโลยีเข้ามาชว่ ย
7. กำรดแู ลรกั ษำสิ่งกอ่ สรำ้ งและครุภณั ฑ์ในหน่วยงำนและสถำนศกึ ษำ
-ควรจดั ให้มีระบบในการดูแลรักษาส่งิ ของทง้ั หมดอย่างแนน่ หนา ไมว่ า่ จะเป็นอาคาร สถานที่
ยานพาหนะ ตลอดจนครุภัณฑ์ต่างๆ ประกอบด้วย 1) ระบบการจัดหา-แจกจ่าย โดยจะต้องมีตรรกะ-มีเหตุ
มีผลในการแจกจ่าย ไม่ใช่แจกจ่ายตามความเสน่หา จะทาให้เกิดความเลียแข้งเลียขากัน เป็นเร่ืองท่ีไม่ดี 2) ระบบ
การซ่อมบารุง ควรตั้งทีมเฉพาะขึ้นมาเพื่อบารุงดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องทุกวงรอบการใช้งาน พร้อมทั้งมีความ
ต่อเนือ่ ง และ 3) การจาหน่าย เพื่อท่จี ะได้จดั ซ้อื ทดแทน
8. กำรดูแลเรอื่ งสวสั ดกิ ำร
-ให้ความสาคญั กับการบรรจุ โยกย้าย เลือ่ นตาแหน่ง วิทยฐานะ
-การแก้ไขปญั หาหน้สี ินครจู านวนกว่าลา้ นล้านบาท ขณะนีไ้ ด้มกี ารวางแนวทางและจัดระบบ
ห น ้ า | 37
แก้ไขปัญหาเรื่องน้ีร่วมกับธนาคารออมสินแล้ว จึงขอฝากให้ครูใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนิน
ชวี ติ รู้จักใช้ รู้จกั เก็บ ไม่แก่งแย่งแข่งขนั กัน ขอใหค้ รูพยายามลดหนล้ี ง ในขณะเดียวกนั ต้องสร้างจิตสานกึ ในการใช้
จา่ ยให้กับลกู หลานของตวั เองด้วย
9. กำรขยำยโครงกำรธนำคำรขยะในสถำนศึกษำ
-ปลกู ฝงั การคัดแยกขยะ และทง้ิ ขยะใหถ้ ูกท่แี ก่นักเรียน นิสิตนักศกึ ษาในทุกระดบั การศกึ ษา
และทุกสังกดั
-ขยายโครงการธนาคารขยะในโรงเรียนสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
38,000 แห่งท่ัวประเทศ โดยมอบ สพฐ.ศึกษารายละเอียดเพื่อหาแนวทางขยายโครงการธนาคารขยะให้ครบทุก
โรงเรียน
ห น ้ า | 38
จุดเนน้ 6 ยุทธศำสตร์ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก้ าหนด จุดเนน้ 6 ยุทธศาสตร์ เพอ่ื เปน็ แนวทางการดาเนินงานของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ดงั น้ี
1. ครู เพ่ือแก้ปัญหาครูไม่ครบชั้น สอนไม่ตรงเอก ภาระงานเยอะ ขาดขวัญและกาลังใจ โดยมีแนวทาง
ดาเนินงาน อาทิ โครงการคุรุทายาท ทุนครูระดับอุดมศึกษา ราชภัฎเป็นเลิศ (ด้านครู) มหาวิทยาลัย พ่ีเล้ียงพัฒนา
ครูช่วงปดิ ภาคเรยี น ปรบั ปรุงเกณฑ์ประเมินวทิ ยฐานะ ปรับปรุงบ้านพักครู เป็นตน้
2. หลักสูตรและกระบวนกำรเรียนรู้ เพ่ือแก้โจทย์เด็กเรียนมาก ไม่มีความสุข และผลสัมฤทธ์ิต่า
โดยใช้แนวทางการปฏิรปู หลักสูตรสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา การต้ังกรมวิชาการ โครงการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ STEM Education กระบวนการ BBL
ทวิศกึ ษา การจดั ทามาตรฐานภาษาองั กฤษ Boot-camp เปน็ ตน้
3. พฒั นำคุณภำพสถำนศกึ ษำและแหลง่ เรียนรู้ เพอ่ื การผลิตพฒั นากาลงั คนและงานวจิ ัย ที่
สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ เพื่อส่งเสริมการผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาท่ีเป็น
ความตอ้ งการของประเทศ ยกระดบั มาตรฐานฝีมือ แกป้ ญั หาขาดแคลนกาลงั แรงงานสายวชิ าชีพ และงานวิจัยที่ไม่
สามารถนาไปใช้ได้จริง โดยใช้แนวทางการสร้างค่านิยมอาชีวศึกษา ทุนการศึกษาด้านวิชาชีพ ทวิศึกษา ทวิภาคี
อาชีวศึกษาสู่สากล ปรับเกณฑ์การสรรหาและบรรจุครูอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาท่ีเป็นเลิศ ทุนให้ยืมสาขา ขาด
แคลน เช่นภาษาองั กฤษ เป็นต้น
4. กำรประเมินและกำรพัฒนำมำตรฐำนกำรศึกษำ เพื่อส่งเสริมการประเมินครู การศึกษาต่อใน
แต่ละระดับ การประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนและสถานศึกษา โดยการสร้างกรอบมาตรฐานการประเมิน กาหนด
แนวทางการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา การทดสอบผ่านหรือซ้าช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 6
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 พัฒนาแบบทดสอบการศึกษามาตรฐานระดับชาติ สร้างเครื่องมือ
ระบบวธิ ปี ระเมินหรอื ประกนั คุณภาพ เป็นตน้
5. ICT เพ่ือกำรศึกษำ เพื่อปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน พัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบ การจัด
การเน้ือหาสาระหรือองค์ความรู้ โดยใช้แนวทางการจัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา และ
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารงาน มีการบูรณาการงบประมาณ ICT และโครงการ DLTV เปน็ ต้น
6. กำรบริหำรจัดกำร เพื่อให้มีระบบงบประมาณท่ีสอดคล้องกับการดาเนินงาน การกากับดูแลท่ีมีประสิทธิภาพ ท่ีมี
การบูรณาการและกระจายอานาจ โดยใชแ้ นวทางของระบบคูปองเพ่อื การศึกษา การจดั สรรงบประมาณตามกรอบปฏิรปู การศกึ ษา
จัดกลมุ่ Cluster การปรับโครงสรา้ ง และปรับปรงุ ระเบยี บในการเขา้ สู่ตาแหนง่ และความก้าวหนา้ ในตาแหน่งผูบ้ รหิ ารในพน้ื ที่
ห น ้ า | 39
กลยุทธ์สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน (สพฐ.)
กลยุทธ์ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้าน
เทคโนโลยีเพือ่ เปน็ เครื่องมอื ในการเรียนรู้
กลยุทธ์ 2 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง มีความรบั ผิดขอบตอ่ สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม และห่างไกลยาเสพตดิ
กลยุทธ์ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ และลดความเสยี่ งจากการออกกลางคนั โดยระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนทเ่ี ข้มแขง็
กลยุทธ์ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี
คณุ ภาพ
กลยุทธ์ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษา
หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรส่วนท้องถ่ิน เพื่อส่งเสริมและ
สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษา
กลยทุ ธ์ 6 พัฒนาการศึกษาในเขตพ้นื ที่จงั หวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพื้นท่ียากลาบาก
ห น ้ า | 40
มำตรฐำนเพ่อื กำรประกันคณุ ภำพภำยในระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน
มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของผูเ้ รยี น
มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำรของผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำ
มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ
มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพผูเ้ รียน
ผลการเรียนร้ทู ี่เป็นคุณภาพของผ้เู รียนท้ังด้านผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการ ประกอบด้วยความสามารถใน การอ่าน การเขยี น
การสื่อสาร การคิดคานวณ การคิดประเภทต่าง ๆ การสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นตามหลกั สตู ร การมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ วิชาชพี และด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ที่เปน็ คา่ นยิ มท่ี
ดตี ามท่สี ถานศกึ ษากาหนด มีความภาคภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ ลความเปน็ ไทยการยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
รวมทง้ั สุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม
1.1 ผลสัมฤทธทิ์ ำงวิชำกำรของผ้เู รยี น
1) มีควำมสำมำรถในกำรอำ่ น กรำรเขียน กำรสื่อสำร และกำรคิดคำนวณ
ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดในแตล่ ะ
ระดบั ชน้ั
2) มคี วำมสำมำรถในกำรคิดวเิ ครำะห์ คิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ อภปิ รำยแลกเปลย่ี นควำมคดิ เหน็ และแกป้ ัญหำ
ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหาอยา่ งมเี หตผุ ล
3) มีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวตั กรรม
ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ท้ังด้วยตัวเองและการทางานเป็นทีมใม เช่ือมโยงองค์ความรู้
และประสบการณม์ าใชใ้ นการสร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ โครงงาน ชนิ้ งานหรือผลผลิต
4) ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสรเทศและกำรสือ่ สำร
ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการพัฒนาตนเองและวสังคมในด้าน
การเรยี นรู้ การสอื่ สาร การทางาน อยา่ งสร้างสรรค์ และมีคณุ ภาพ
5) มีผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นตำมหลักสูตรสถำนศึกษำ
ผู้เรียนบรรลุและมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมในด้านความรู้ ความ
เขา้ ใจ ทักษะ และกระบวนการตา่ ง ๆ รวมท้งั มใความกา้ วหน้าในผลการทดสอบระดบั ชาติหรอื ผลการทดสอบอ่ืน ๆ
6) มคี วำมรู้ ทักษะพื้นฐำน และเจตคตทิ ่ีดีต่องำนอำชพี
ผู้เรียนมคี วามรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติท่ีดพี รอ้ มท่ีจะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สงู ขึ้น การทางานหรอื
งานอาชพี
ห น ้ า | 41
1.2 คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผู้เรียน
1) มีคณุ ลักษณะและค่ำนิยมทดี่ ีตำมที่สถำนศึกษำกำหนด
ผเู้ รยี นมพี ฤติกรรมเป็นผทู้ ่มี คี ณุ ธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกตกิ า มีคา่ นิยมและจติ สานกึ ตามทสี่ ถานศึกษา
กาหนดโดยไมข่ ดั กับกฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดขี องสังคม
2) มีควำมภมู ใิ จในท้องถิ่นและคงวำมเป็นไทย
ผเู้ รยี นมีความภูมใิ จในท้องถน่ิ เห็นคณุ ค่าของความเปน็ ไทย มสี ่วนรว่ มในการอนุกรกั ษ์วัฒนธรรมและประเพณี
ไทย รวมทั้งภูมิปญั ญาไทย
3) ยอมรับท่จี ะอย่รู ่วมกนั บนควำมแตกตำ่ งและหลำกหลำย
ผเู้ รยี นยอมรับและอยรุ่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งระหว่างบุคคลในดา้ นเพศ วยั เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม
ประเพณี
4) มสี ขุ ภำวะทำงร่ำงกำยและจิตสงั คม
ผู้เรยี นมกี ารรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณแ์ ละสงั คม และแสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั
สามารถอยู่ร่วมกบั คนอ่นื อย่างมีความสขุ เขา้ ใจผอู้ น่ื ไมม่ คี วามขดั แย้งกบั ผ้อู ่นื
มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร
เปน็ การจัดระบบการจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา มกี ารกาหนดเป้าหมายวิสยั ทศั น์ และพันธกิจอย่างชดั เจน สามารถ
ดาเนินงาน พัฒนาวิชาการอย่างเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาในทุกกลุ่มเป้าหมาย จัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา ดาเนินการพั?นาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพและการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพ่อื สนับสนุนการบริหารจดั การและการเรยี นรู้ รวมทงั้ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอือ้ ตอ่ การจัดการเรียนรู้
2.1 มเี ป้ำหมำย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจทสี่ ถำนกำหนดกำหนดชดั เจน
สถานศึกษากาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการ
ของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัดรวมทั้งทันต่อการเปล่ียนแปลง
ของสังคม
2.2 มรี ะบบบรหิ ำรจัดกำรคุณภำพของสถำนศกึ ษำ
สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบท้ังในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั
การศึกษา การนาแผนไปปฏิบัตเิ พอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา มกี ารตดิ ตรามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรบั ปรุงพัฒนางานอยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง มกี ารบริหารอตั รากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนาขอ้ มลู
มาใชใ้ นการพัฒนา บุคลากรและผทู้ เ่ี กย่ี วข้อง ทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วมการวางแผน ปรบั ปรงุ และพฒั นา และรว่ มรบั ผิดชอบต่อผลการจัด
การศกึ ษา
2.3 ดำเนนิ งำนพฒั นำวิชำกำรที่เน้นคุณภำพผเู้ รียนรอบด้ำนตำมหลกั สูตรสถำนศึกษำและทกุ กลมุ่ เปำ้ หมำย
สถานศึกษาบริหารการจัดการเก่ียวกับงานวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร ท่ีเน้นคุ ณภาพ
ผู้เรียนรอบด้าน เช่ือมโยงวิถีชีวิตจริงและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย หมายรวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มที่เรียนแบบ
ควบรวมหรอื กลมุ่ ที่เรียนร่วมดว้ ย
2.4 พฒั นำครูและบุคลำกรใหม้ คี วำมเชีย่ วชำญทำงอำชีพ
สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น
2.5 จัดสภำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพและสงั คมทีเ่ อื้อต่อกำรจดั กำรเรยี นรู้
สถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทง้ั ภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอ้ือต่อการ
จดั การเรียนรแู้ ละมีความปลอดภัย
ห น ้ า | 42
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพือ่ สนับสนนุ กำรบรหิ ำรจัดกำรและกำรจัดกำรเรียนรู้
สถานศึกษาจัดระบบจัดหา การพัฒนาและการบรกิ าร เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื ใช้ในการบรหิ ารจดั การและการจดั การ
เรยี นรู้ ท่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา
มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญ
เปน็ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนตามมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา สร้างโอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ ม
ในการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง มีการบริหารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวก สรา้ งปฏิสมั พนั ธ์ที่ดี ครรู จู้ กั ผู้เรยี นเป็น
รายบคุ คล ดาเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผ้เู รยี น รวมท้ังรว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นรูแ้ ละนา
ผลที่ได้มาใช้เป็นขอ้ มลู ป้อนกลับเพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้
3.1 จดั กำรเรยี นร้ผู ำ่ นกระบวนกำรคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และสำมำรถนำไปประยุกต์ ใช้ในกำรดำเนินชวี ิต
จัดกิจกรรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่าน
กระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริง มีแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีสามารถนาไปจดั กจิ กรรมได้จรงิ มีรปู แบบการจัดการเรยี นรเู้ ฉพาะสาหรับ
ผู้ท่ีมีความจาเป็นและตอ้ งการความช่วยเหลอื เป็นพิเศษ ผู้เรียนได้รบั การฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความคดิ เห็น สรุปองคค์ วามรู้
นาเสนอผลงานและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้
3.2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ำรสนเทศ และแหล่งเรียนรูท้ ่ีเอือ้ ต่อกำรเรยี นรู้
มกี ารใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ รวมทงั้ ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้ โดยการสรา้ ง
โอกาสให้ผเู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากส่ือท่หี ลากหลาย
3.3 มีกำรบริหำรจัดกำรชัน้ เรียนเชิงบวก
ครุผสู้ อนมกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรยี น โดนเนน้ การมปี ฏสิ ัมพันธเ์ ชิงบวก ใหเ้ ดก็ รักครู ครูรกั เดก็ และเดก็ รักเดก็ เดก็ รกั ท่ี
จะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรู้ รว่ มกนั อย่างมีความสขุ
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยำ่ งเป็นระบบ และนำผลมำพัฒนำผู้เรยี น
มกี ารตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ มขี ้ันตอนโดยใชเ้ ครือ่ งมอื และวธิ ีการวดั และ
ประเมนิ ผลที่เหมาะสมกบั เป้าหมายจดั การเรียนรู้และใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับแก่ผ้เู รยี นเพอื่ นาไปใช้ในการพฒั นาการเรยี นรู้
3.5 มีกำรแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพอ่ื ปรับปรงุ และพัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้
ครูและผ้มู สี ่วนเกีย่ วขอ้ งรว่ มกันแลกเปล่ยี นความรแู้ ละประสบการณร์ วมทง้ั ขอ้ มลู ปอ้ นกลับเพื่อนาไปใช้ในการปรับปรงุ
และพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ห น ้ า | ๔๓
ส่วนที่ 3
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ปีงบประมาณ 2562
ห น ้ า | ๔๔
สว่ นที่ 3
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ปีงบประมาณ 2562
โรงเรียนได้จัดทำแผนปฏิบัติกำรปีงบประมำณ 2562 โดยยึดแนวนโยบำยกำรจัดกำรศึกษำของ
สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำสุพรรณบุรี เขต 3 และนโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้น
พื้นฐำน ปี พ.ศ. 2561 เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในกำรบริหำรงำน และเป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติงำนตำมภำรกิจ
ของโรงเรียนซึ่งครอบคลุมงำนทั้ง 4 แผนงำน จำนวน 21 โครงกำร รำยละเอียดแผนงำน โครงกำร กิจกรรม
ปีงบประมำณ 2562 ดังนี้
แผนงำน โครงกำร งบประมำณ ผู้รับผดิ ชอบ
1. โครงกำรพัฒนำกำรศกึ ษำเด็กปฐมวยั 38,880 ครนู ุชนำรถ
5,000 ครูน้ำเพชร
2. โครงกำรส่งเสรมิ ควำมเป็นเลิศทำงวชิ ำกำร 3,000 ครูทนยภฤศ
3. โครงกำรส่งเสริมนิสยั รักกำรอำ่ นและกำรใชห้ อ้ งสมุด 3,000 ครูนำ้ เพชร
บริหำร 4. โครงกำรสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอนั 3,000 ครูนำ้ เพชร
งำน พงึ ประสงคต์ ำมหลักคำ่ นยิ ม 12 ประกำร 3,000 ครนู ำ้ เพชร
วชิ ำกำร 5. โครงกำรนเิ ทศวัดผลประเมินผล 7,000 ครทู นยภฤศ
6. โครงกำรกำรประกันคณุ ภำพภำยในสถำนศึกษำ 81,880 ครูยุทธกำร
7. โครงกำรวันสำคญั ตำ่ งๆ 5,000 ครยู ทุ ธกำร
2,000 ครยู ุทธกำร
8. โครงกำรสนับสนนุ ค่ำใช้จำ่ ยในกำรจดั กำรศกึ ษำ 98,000 ครยู ทุ ธกำร
20,000 ครยู ทุ ธกำร
ต้ังแตร่ ะดบั อนบุ ำลจนจบกำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำน
7500 ครูยุทธกำร
9. โครงกำรจัดซ้ือจดั หำ วัสดุ อุปกรณก์ ำรศึกษำ
8,000 ผอ.ธนพรรณ
บริหำร 10. โครงกำรส่งเสรมิ บรหิ ำร กำรเงิน บัญชี พัสดุ 60,000 ครูยุทธกำร
งบ 11. โครงกำรอำหำรกลำงวัน 8,000 ครูยุทธกำร
12. โครงกำรชำระค่ำสำธำรณูปโภค 3,000 ครูยทุ ธกำร
ประมำณ 13. โครงกำรปรับปรุงส่งเสริมเงนิ ทุนอุดหนนุ 3,000 ครทู นยภฤศ
ปจั จัยพ้นื ฐำน 2000 ครยู ุทธกำร
บริหำร 14. โครงกำรพฒั นำบคุ คลำกร 4000 ครทู นยภฤศ
4,000 ครูยุทธกำร
งำนบคุ ล 15. โครงกำรจัดหำครผู ูส้ อนเพอ่ื พัฒนำกำรศึกษำ 369,260 369,260
16. โครงกำรปรับปรุงสภำพแวดลอ้ มในโรงเรียน
17. โครงกำรส่งเสรมิ กิจกรรมด้ำน ดนตรี กฬี ำ ศลิ ปะ
บริหำร 18. โครงกำรสง่ เสรมิ สขุ ภำพนกั เรยี น
งำน 19. โครงกำรส่งเสรมิ กำรเรยี นร้ตู ำมหลักปรัชญำของ
ท่วั ไป เศรษฐกิจพอเพียง
20. โครงกำรจัดระบบงำนธรุ กำรและสำรบรรณ
21. โครงกำรประชำสัมพนั ธ์บ้ำน วัด โรงเรยี น
รวม
ห น ้ า | ๔๕
แผนงาน
บริหารงานวชิ าการ
ห น ้ า | ๔๖
โครงการ พฒั นำกำรศกึ ษำเดก็ ปฐมวยั
แผนงาน บรหิ ำรงำนวชิ ำกำร
สนองกลยทุ ธท์ ่ี 1 พัฒนำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำทุกระดบั ตำมหลักสูตร
ลกั ษณะโครงการ โครงกำรต่อเนอ่ื ง
สนองมาตรฐานการศึกษา มำตรฐำนที่ 5,10,14,15
ผู้รับผิดชอบโครงการ นำงสำวนุชนำรถ เขียวเซน็
ระยะเวลาดาเนินการ 1 ตลุ ำคม 2561 ถงึ 30 กันยำยน 2562
หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบนั กำรจัดกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน ไดย้ ดึ พระรำชบญั ญตั กิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พทุ ธศักรำช 2542
หมวด 4 มำตรำท่ี 22 และสอดคล้องกบั นโยบำยของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน ปี 2552
พัฒนำคณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ดี เก่ง สุข โดยนำหลักกำรเรียนรทู้ ่ีใชส้ มองเปน็ พื้นฐำน (Brain-Based
Learning) 12 ประกำร และควำมฉลำดทำงอำรมณ์ EQ (EMOTIONAL QUOTIENT) เพ่ือสอดคล้องกบั ควำม
ต้องกำรของนกั เรยี น ท่ีมีลกั ษณะแตกต่ำงกัน ใหม้ ีศักยภำพพร้อมในทุกด้ำน ดำ้ นรำ่ งกำย ดำ้ นอำรมณ์ ด้ำน
จิตใจ และดำ้ นสติปัญญำ สำมำรถรู้จกั เข้ำใจ และควบคุมอำรมณ์ของตนเองได้สอดคล้องกับวยั มีกำรประพฤติ
ปฏิบตั ติ นอยูร่ ่วมกับผู้อื่นได้อยำ่ งมคี วำมสุข ทัง้ ควำมคิด อำรมณ์ และพฤติกรรม เพ่ือเปน็ พื้นฐำนทีส่ ำคัญท่ีจะ
นำไปสู่ ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 1-6 ตอ่ ปี
วัตถปุ ระสงค์
1. เดก็ อำยุ 4 - 6 ปี ไดร้ บั กำรจดั กำรศึกษำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำทุกระดบั
2. เพอื่ พัฒนำกำรของสมองตำมวัยใหเ้ ตม็ ศักยภำพ และควำมฉลำดทำงอำรมณ์
3. ผปู้ กครองและชมุ ชน ใหก้ ำรสนับสนนุ งำนจัดกำรศกึ ษำปฐมวัย ดี เก่ง สขุ
เป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ
1. นกั เรยี นปฐมวยั จำนวน 8 คน ไดร้ บั กำรจดั กำรศึกษำคณุ ภำพ และมำตรฐำน
กำรศกึ ษำ
2. นักเรียนปฐมวัยจำนวน 8 คน มีพัฒนำกำรของสมอง และควำมฉลำดทำงอำรมณ์
3. ผู้ปกครองและชุมชน อยำ่ งน้อยร้อยละ 82 ให้กำรสนบั สนนุ ในกำรจดั กำรศกึ ษำช้ันปฐมวัย
เชิงคุณภาพ
1. นักเรยี นทุกคนได้รับกำรจัดกำรศึกษำชน้ั ปฐมวัยอย่ำงมีคุณภำพเหมำะสมตำมวัย
2. นักเรยี นทุกคนไดม้ ีกำรพัฒนำกำรของสมอง และควำมฉลำดทำงอำรมณใ์ นทุกด้ำน
และอยรู่ ่วมกับผ้อู ื่นได้อย่ำงมคี วำมสขุ
3. ผ้ปู กครองและชุมชนรอ้ ยละ 80 ให้กำรสนับสนนุ ในกำรจัดกำรศึกษำชนั้ ปฐมวยั