การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เรอ่ื ง ความปลอดภยั ในชวี ติ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2
โดยใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื เทคนิค STAD
Development of Learning Achievement about life safety learning subject group Health
and Physical Education Grade 2 using collaborative learning management STAD technique
ชลธชิ า โยวะ
การคน้ คว้าอสิ ระนเ้ี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชีพครู
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกฉยี งเหนอื
พ.ศ. 2564
ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ก
ชอื่ เรอื่ ง การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เรื่องความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรยี นรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โดยใชก้ ารจัดการเรยี นร้แู บบรว่ มมือ
เทคนิคSTAD
ชอื่ ผวู้ จิ ยั ชลธิชา โยวะ
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา ดร.อาคม อ่ึงพวง
ชอ่ื ปรญิ ญา ประกาศนียบัตรบณั ฑิตวิชาชพี ครู
มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ปีการศกึ ษา 2564
บทคดั ยอ่
ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น โด ย ใช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม เป็ น ที่ นิ ย ม ใช้ กั น ม า ก ใน ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า
เพราะเปน็ การนำเสนอขอ้ มูลในลกั ษณะสอื่ หลายมิติท่ีมีประสทิ ธภิ าพ การศกึ ษาครัง้ น้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและสอบหลังเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้
การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD 2. เพ่ือสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ
เรียนรู้วชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา เรอื่ งความปลอดภยั ในชวี ิต โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมอื เทคนิค
STAD กลุ่มตวั อย่างที่ใชใ้ นการศึกษาครั้งนี้คอื นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนาคำพิทยาสรรพ์
ตําบลนาคำ อําเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเขต 4
ที่เรียนรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จํานวน 9 คน จากห้องเรียน
จํานวน 1 ห้อง ซ่ึงได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน
การศึกษาคือ การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ มีค่าความยากต้ังแต่ 0.211 ถึง 0.737 ค่าอำนาจ
จำแนกตั้งแต่ 0.233 ถึง 0.833 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบเท่ากับ 0.872 และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน
12 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.353 ถึง 0.884 ค่าความเชื่อม่ันของแบบสอบถามท้ังฉบับเท่ากับ
0.940 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทำการทดสอบ
สมมตุ ิฐานโดยการใช้ t-test
ผลการศกึ ษาปรากฏดงั น้ี
1. นักเรียนที่เรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 โดยใชการจัดการ
เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่องความปลอดภัยในชีวิต มีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียน อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึง่ เปน็ ไปตามสมมตุ ฐิ านท่ีตง้ั ไว้
2. แบบวัดความพึงพอใจหลังการจัดการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
STAD เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต ในด้านต่างๆ มีผลคะแนนการวัดความพึงพอใจ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.4
รวมผลคะแนนมคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 4.4 ซึ่งมคี ่าคะแนนอยูใ่ น ระดบั มาก
TITLE Development of Learning Achievement about life safety learning subject group Health
and Physical Education Grade 2 using collaborative learning management STAD technique
AUTHOR Cholthicha Yowa YEAR 2021
ADVISORS Dr. Arkom Eungpuang
DEGREE Graduate Certificate in Teacher Profession
UNIVERSITY Northeastern University Academic
ABSTRACT
Teaching and learning by using a series of activities is very common in educational institutions.
because it is an effective presentation of information in a multidimensional medium this study The
objectives are: 1. To compare the learning achievement. before study and after exam Grade 2 using learning
management STAD Technique Collaborative Form 2. To survey students' satisfaction towards learning
management in health and physical education subjects. about life safety using learning management STAD
collaborative technique. The samples used in this study were Grade 1 student at Nakhampittayasan School,
Na Kham Sub-district, Ubonrat District Khon Kaen Province Office of Primary Education Service Area 4, who
studied health and physical education courses in the second semester of Academic Year 2020, 9 students
from 1 classroom, obtained by simple random sampling. education is learning management The STAD
cooperative technique, a four-choice, 20-item achievement test with a difficulty value from 0.211 to 0.737, a
discriminating power from 0.233 to 0.833, a test confidence value of 0.872, and a student satisfaction
questionnaire. 12 items of the 5-level estimation scale of skill reinforcement exercises had discriminating
powers ranging from 0.353 to 0.884. The confidence of the whole questionnaire was 0.940. The statistics
used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation. and testing the hypothesis using t-test
The results of the study were as follows.
1. Students who study using the Learning Management Plan Grade 2 by using STAD
cooperative learning management technique on life safety. have higher achievement scores after school
than before It was statistically significant at the .05 level, which was in line with the hypothesis.
2. The satisfaction measurement form after learning management by using the STAD
cooperative learning management technique on life safety in various areas has a score of satisfaction
measurement. with a mean score of 4.4, with a mean score of 4.4, with a high score
ข
กิตตกิ รรมประกาศ
งา น วิ จั ย ฉ บั บ นี้ ส ำ เร็ จ ส ม บู ร ณ์ ได้ ด้ ว ย ค ว า ม ก รุ ณ า แ ล ะ ค ว า ม ช่ ว ย เห ลื อ อ ย่ า ง สู งยิ่ งจ า ก
ดร.วานิช ประเสริฐพร และ ดร.อาคม อ่ึงพวง อาจารย์นิเทศก์ ท่ีให้คำปรึกษาและแนะนำแนวทางท่ี
ทรงคุณค่าในการทำงานวจิ ยั ฉบับนี้ใหม้ คี วามสมบรู ณ์มาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างย่งิ
ขอขอบ พ ระคุณ น ายสิท ธิพ ร เถรวัลย์ ผู้อำนวยการโรงเรียนน าคำพิ ท ยาสรรพ์
นายสุทธิศักด์ิ เพ็ชรแก่น ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภออุบล
รัตน์ และ คุณครูสมศักด์ิ สุธรรมราช ครูวิทยฐานะชํานาญการพิเศษ ท่ีกรุณาเป็นผู้เช่ียวชาญในการ
ตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั โดยให้คําแนะนําอยา่ งดีย่ิง ซ่ึงเป็นส่วนสําคัญท่ีทําให้งานวิจัยน้ี
สําเรจ็ ลุล่วงด้วยดี
ขอขอบพระคุณคณาจารย์หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้แก่ผู้วิจัย และให้กำลังใจในการทำงานวิจยั ใน
ครง้ั นีโ้ ดยตลอด
ขอขอบคุณเพ่ือนนักศึกษาปฏิบัติการในสถานศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีให้ความชว่ ยเหลอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู
คณุ ค่าและประโยชน์ของงานวิจัยฉบบั น้ี ผู้วจิ ัยขอน้อมรำลึกถึงคุณบิดา มารดา ผู้ให้
ชวี ติ ตลอดจนบูรพาจารย์และผูม้ ีพระคุณทกุ ทา่ น ท่ไี ด้ให้ความรแู้ ละอบรมสงั่ สอนแก่ผู้วิจัย จนประสบ
ความสำเรจ็ ในชวี ิตและหน้าที่การงาน
ชลธิชา โยวะ
ก
ชอื่ เรอื่ ง การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เรื่องความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรยี นรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โดยใช้การจัดการเรยี นร้แู บบรว่ มมือ
เทคนิคSTAD
ชอื่ ผวู้ จิ ยั ชลธิชา โยวะ
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา ดร.อาคม อ่ึงพวง
ชอ่ื ปรญิ ญา ประกาศนียบัตรบณั ฑติ วชิ าชพี ครู
มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ปีการศกึ ษา 2564
บทคดั ยอ่
ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น โด ย ใช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม เป็ น ที่ นิ ย ม ใช้ กั น ม า ก ใน ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า
เพราะเปน็ การนำเสนอขอ้ มูลในลกั ษณะสอ่ื หลายมิติที่มีประสทิ ธิภาพ การศึกษาครงั้ น้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและสอบหลังเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้
การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD 2. เพื่อสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ
เรียนรู้วชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา เรื่องความปลอดภัยในชีวิต โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมอื เทคนิค
STAD กลุ่มตวั อย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีคือ นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนาคำพิทยาสรรพ์
ตําบลนาคำ อําเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเขต 4
ที่เรียนรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จํานวน 9 คน จากห้องเรียน
จํานวน 1 ห้อง ซ่ึงได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน
การศึกษาคือ การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ มีค่าความยากต้ังแต่ 0.211 ถึง 0.737 ค่าอำนาจ
จำแนกตั้งแต่ 0.233 ถึง 0.833 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบเท่ากับ 0.872 และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน
12 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.353 ถึง 0.884 ค่าความเชื่อม่ันของแบบสอบถามท้ังฉบับเท่ากับ
0.940 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทำการทดสอบ
สมมตุ ิฐานโดยการใช้ t-test
ผลการศกึ ษาปรากฏดงั น้ี
1. นักเรียนท่ีเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 โดยใชการจัดการ
เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต มีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียน อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05 ซ่งึ เป็นไปตามสมมุตฐิ านท่ีตง้ั ไว้
2. แบบวัดความพึงพอใจหลังการจัดการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
STAD เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต ในด้านต่างๆ มีผลคะแนนการวัดความพึงพอใจ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.4
รวมผลคะแนนมคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.4 ซ่ึงมีค่าคะแนนอย่ใู น ระดับมาก
บทท1่ี
บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคญั
ปจั จุบันเป็นที่รูก้ ันดีว่าอบุ ัตเิ หตุสามารถเกดิ ขึ้นได้ตลอดเวลา เปน็ ปญั หาที่ต้องอาศยั ระยะเวลาใน
การแกไ้ ข โดยจะต้องอาศยั ความร่วมมอื จากทุกฝ่ายท่ีเก่ยี วข้องไม่วา่ จะเปน็ ภาครฐั เอกชน หรอื ประชาชน
ท่วั ไป เราต้องมีการประสานความร่วมมือและร่วมกันทำงานไปพร้อมๆกนั รวมถึง การจดั แผนการเรียนรู้
แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาพลศึกษา ช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 เน่ืองจากในปัจจุบัน เนื่องจากนักเรียนยังขาดความรู้ความเขา้ ใจในการดำเนินชีวิตท่ี
ถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ทำให้ปัญหาเกิดขึ้นหลายประการ ทั้งการเกิดอุบัติเหตุโดยตรง รวมถึง
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ียังอยู่ในมาตรฐานที่ต่ำกว่าเกณฑ์ เป็นสาเหตุและเหตุผลสำคัญ จึงได้จัด
แผนการเรยี นรแู้ บบร่วมมอื เทคนิค STAD เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาพล
ศึกษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึน้ รวมถึงการป้องกันการเกิด
อบุ ัติเหตุ และการดูแลตัวเอง ใหแ้ ก่ นกั เรียน อยา่ งจริงจังและตอ่ เนอื่ ง
ผู้จัดทำ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดให้มีการจัดแผนการเรียนรู้แบบร่วมมือ
เทคนิค STAD เรือ่ งความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาพลศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี
2 ในการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และแกไ้ ขปัญหา ลดอุบตั ิเหตทุ อ่ี าจเกิดขน้ึ ตอ่ ไป
คำถามการศกึ ษา
2.1 การจัดแผนการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่องความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ สุขศึกษาพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนาคำพิทยาสรรพ์ มีประสบผลสำเร็จตาม
วัตถุประสงค์
2.2 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนกอ่ นเรยี นและหลังการจัดแผนการเรยี นรู้แบบร่วมมอื เทคนิค STAD
เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีท่ี โรงเรียนนาคำ
พิทยาสรรพ์ แตกตา่ งกนั หรอื ไม่
2.3 ความพงึ พอใจของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ที่มีตอ่ การจดั แผนการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ
เทคนิค STAD เรื่องความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาพลศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนนาคำพทิ ยาสรรพ์ อย่ใู นระดับใด
2
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอ่ นเรียนและสอบหลังเรียน ช้ันประถมศกึ ษาปีที่
2 โดยใช้การจัดการเรยี นรู้ แบบรว่ มมอื เทคนิค STAD
2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
เรื่องความปลอดภัยในชวี ิต โดยใช้การสอน แบบร่วมมอื เทคนิค STAD
สมมุติฐานในการวจิ ัย
1.นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้การจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมือ
เทคนิค STAD กล่มุ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา มีผลสมั ฤทธิ์หลงั เรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น
2.นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ที่ได้รับการสำรวจตวามคิดเห็นมีความพึงพอใจในการใช้การ
จัดการเรยี นรแู้ บบร่วมมือเทคนิค STAD
ความสำคัญของการวจิ ยั
1. จากการวิจัยในคร้ังน้ี ทำให้ได้การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรือ่ ง ความปลอดภัยใน
ชีวิตกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือเทคนิค STAD ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ สามารถนำไปใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ และเป็นแนวทาง
ในการพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา ในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปี
ท่ี 2
2. เป็นแนวทางสำหรับครู และผู้ท่ีสนใจในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการจัดการเรียนรู้โดยใช้การ
จดั การเรยี นรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา และกลมุ่ สาระการ
เรยี นรู้อน่ื ๆ ตอ่ ไปตามความเหมาะสม
3
ขอบเขตของการวจิ ยั
ผวู้ ิจัยได้กำหนดขอบเขตของการวจิ ัย ดังนี้
1. กลุม่ เป้าหมาย
1.1 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนาคำ
พิทยาสรรพ์ อำเภออบุ ลรัตน์ จังหวัดขอนแกน่ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีประถมศึกษา เขต 4 ที่เรียนรายวิชาสุข
ศึกษาและพลศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 9 คน จากห้องเรยี นจำนวน 1 หอ้ ง
2. ตัวแปรท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
2.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้การ
จัดการเรยี นรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD
2.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ไดแ้ ก่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น/แบบประเมิน
ความพงึ พอใจ
3. ระยะเวลาในการวิจยั ได้แก่ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 8 ช่วั โมง
ทั้งนี้ไม่รวมเวลาทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น
4. เน้อื หาทใี่ ชใ้ นการวิจัย
เน้ือหาท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ เป็นเนื้อหากลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา เร่ือง ความ
ปลอดภัยในชีวติ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดยมีหวั ขอ้ ดังตอ่ ไปนี้
4.1 อุบัติเหตแุ ละการปอ้ งกนั เวลา 2 ช่วั โมง
4.2 สญั ลักษณแ์ ละป้ายเตือน เวลา 2 ชว่ั โมง
4.3 อคั คภี ัย เวลา 2 ช่ัวโมง
4.4 ยาน่ารู้ เวลา 2 ช่วั โมง
4
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
1.การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียน
ทีเ่ น้นให้ผ้เู รียนได้เรียนรู้เปน็ กลุ่มยอย โดยคละความสามารถจากนักเรียนท่ีมผี ลสมั ฤทธิท์ างการ เรยี นสูง-
ปานกลาง- อ่อน อยู่ในกลุ่มเดียวกันใช้กระบวนการกลุ่มในการแสวงหาความรู้ร่วมกันร่วมกนแสดงความ
คิดเหน็ ร่วมกันตดั สินใจและแกป้ ัญหาทีเ่ กดิ ขึ้น ชว่ ยเหลอื พึง่ พาซึ่งกนั และกันมคี วามรบั ผิดชอบร่วมกันและ
ประเมินความรู้ความสามารถของสมาชิกกลุ่ม เป็นรายบุคคลเพื่อ นำผลมาสรุปเป็นความสำเร็จของการ
เรียนเป็นกลมุ่ แบ่งเปน็ 5 ขน้ั ได้แก่
ขน้ั ที่ 1 การนำเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น (Classroom Presentation) เน้ือหาในบทเรียน
จะถกู เสนอตอ่ นักเรียนทั้งหอ้ งโดยครผู สู้ อน ซ่ึงครูจะใชเ้ ทคนิควธิ กี ารสอนรูปแบบใด ข้ึนอยู่กับลกั ษณะของ
เนื้อหาของบทเรียนและการตัดสินใจของครูเป็นสำคัญ ที่จะเลือกเทคนิควิธีการสอนท่ีเหมาะสม ในขั้นน้ี
ผู้เรียนจะต้องเข้าใจและต้ังใจเรียน เพราะจะมีผลต่อการทำแบบทดสอบย่อย และผลจากการทดสอบจะ
เป็นตัวกาหนดคะแนนความกา้ วหนา้ ของตนเองและของกล่มุ ดว้ ย
ข้นั ท่ี 2 การเรียนกลุม่ ย่อย (Team Study) กลุ่มจะประกอบด้วยนักเรียนประมาณ 4-5
คน ซึ่งมคี วามแตกตา่ งกันทัง้ ในผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและเพศ หลงั จากการสอนเนือ้ หาครูจะให้ นักเรยี น
แยกทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อศึกษาตามบัตรงาน หรือบัตรกิจกรรมที่ครูกาหนดให้หน้าท่ี ท่ีสำคัญของกลุ่ม
คอื การเตรียมสมาชิกของกลุ่มให้พร้อมทจ่ี ะทำแบบทดสอบ
ข้นั ที่ 3 การทดสอบย่อย (Test) ทำหลังจากเรยี นไปประมาณ 1-2 คาบ นกั เรยี น จะตอ้ ง
ได้รับการทดสอบในระหวางทำการทดสอบ ไม่อนุญาตใหช้ ว่ ยเหลอื กัน ทุกคนจะต้องทำด้วยความสามารถ
ของตนเอง
ข้ันที่ 4 คะแนนความกาวหน้าของสมาชิกแต่ละคน (Individual Improvement
Scores) นักเรียนทุกคนมีโอกาสได้คะแนนสูงสุดเพื่อช่วยเพ่ือน ซ่ึงจะทำไม่ได้เลยถ้าคะแนนในการสอบ
ต่ำกว่าคะแนนทีไ่ ด้ในคร้ังก่อน นักเรยี นแต่ละคนจะมีคะแนนเป็น “ฐาน” ซึ่งได้จากการเฉลยี่ คะแนนใน
การสอบคร้ังก่อน หรอื คะแนนเฉล่ียจากแบบทดสอบทีค่ ลา้ ยคลงึ กัน ซง่ึ คะแนนความก้าวหน้าของนกั เรียน
สำหรับกลุม่ ขึน้ อยวู่ ่าคะแนนของเขาห่างจากคะแนนฐาน มากนอ้ ยเพียงใด
5
ขั้นท่ี 5 กลุ่มท่ีได้รับการยกย่องหรือการยอมรับ (Team Recognition) กลุ่มแต่ละกลุ่ม
จะ ได้รับการรับรองหรือได้รับรางวัลต่าง ๆ ก็ต่อเมื่อสามารถทำคะแนนของกลุ่มได้มากกวาเกณฑ์
ท่กี ำหนดไว้
2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากความรู้ ความสามารถ จากการจัด
การเรียนการสอน เรื่อง ความปลอดภัยในชีวิต หรือประสบการท่ีได้รับจากการเรยี นการสอน วัดได้จาก
แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
3.ความพึงพอใจในการเรียนรู้ หมายถึง ความรูส้ ึกช่ืนชอบหรือพอใจในการเรียนรู้ ผู้เรยี น เต็มใจ
และกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติกิจกรรม และต้องการปฏิบัติกิจกรรมนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง 8 วัดได้จาก
แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียน ท่ีได้รบั การสอนแบบรว่ มมือ เทคนิค STAD จำนวน
20 ข้อ โดยแบ่งเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสาระการเรียนรู้ ด้านกิจกรรม การเรียนการสอน ด้านสื่อและ
อปุ กรณ์ในการจดั กิจกรรมและด้านการวัดและประเมนิ ผล
ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ
1. นกั เรยี นได้รบั การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน เรือ่ ง ความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการ
เรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 2 โดยใช้การจดั การเรยี นรู้ แบบรว่ มมอื เทคนิค STAD
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีความร้คู วามสามารถที่ดีขนึ้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบ
รว่ มมือเทคนิค STAD
3. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 มีคะแนนสอบที่เพิ่มขึ้นจากเดิม โดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบรว่ มมือเทคนคิ STAD
4. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 มีพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD
และพรอ้ มให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการจัดการเรียนการสอน
6
บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
การทำวจิ ยั ครั้งน้ี เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นนาคำพิทยา
สรรพ์ อำเภออบุ ลรัตน์ จังหวดั ขอนแก่น เร่อื งความปลอดภัยในชวี ติ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ
เทคนคิ STAD ซ่ึงผวู้ ิจยั ไดศ้ ึกษาจากเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง ดังน้ี
1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษา
และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2
2. การจัดการเรยี นรูแ้ บบร่วมมอื เทคนคิ STAD
3. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
4. ความพึงพอใจในการเรยี นรู้
5. งานวิจัยที่เก่ยี วข้อง
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพล
ศึกษา สุขภาพ หมายถึง ภาวะของมนษุ ย์ที่สมบรู ณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม สุขภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ
เพราะเก่ียวโยงกับชีวิตมนุษย์เราทุกคน คนเราควรได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพเพื่อจะได้มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับสุขภาพทีถ่ ูกต้อง สง่ ผลให้สังคมไทยมีคณุ ภาพ รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้าน
สุขภาพท่ีมีเป้าหมาย เพื่อให้เป็นการสร้างเสริมสุขภาพ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต การดำรงสุขภาพของ
บุคคลในครอบครัวและชุมชน สุขศึกษาจึงเน้นให้ผู้เรียนมีการพัฒนาด้านความรู้ คุณธรรม ค่านิยม
และเจตคติ เพือ่ ปฏิบตั ิควบคู่ไปด้วยกัน พลศกึ ษาจะเนน้ ให้ผู้เรยี นการออกกำลงั กาย เล่นกีฬา เคล่ือนไหว
และการเล่นเกม เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และ
สตปิ ัญญา สาระทเ่ี ป็นกรอบเนอื้ หา ประกอบด้วย
1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ นักเรียนได้เรียนรู้เร่ืองการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของมนุษย์ ได้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการทำงานของระบบต่างๆของ
รา่ งกายและทราบวิธีปฏิบตั ติ นใหเ้ ติบโตโดยมพี ฒั นาการทสี่ มวยั
7
2. ชีวิตและครอบครัว นักเรียนได้เรียนรู้เร่ืองคุณค่าของตนเองและครอบครัว ในการปรับตัวต่อ
การเปล่ียนแปลงทางร่างกาย ทางเพศ ทางจิตใจ ทางอารมณ์และทางความรู้สึก การสร้างและรักษา
สัมพันธภาพกับผู้อื่น สขุ ปฏบิ ตั ิทางเพศ และทักษะในการดำเนนิ ชีวติ ได้
3. การออกกำลังกาย การเคล่ือนไหว กฬี าไทย กฬี าสากล การเล่นเกม ผู้เรียนได้เรียนรเู้ รอ่ื งการ
เคลอื่ นไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้
4. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับการเลือกผลิตภัณฑ์
เพื่อสุขภาพ การบริโภคอาหาร การป้องกันโรคท้ังโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อและการสร้างเสริม
สมรรถภาพได้
5. ความปลอดภัยในชีวิต นักเรียนได้เรียนรู้เรอ่ื งการป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงต่อความ
รุน แร ง อุ บั ติ เห ตุ สารเสพ ติ ดแล ะ อั น ตร ายจาก ก ารใช้ ยารว ม ถึงค ว าม ป ลอ ดภั ยใน ชีวิ ต
(กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551 : 1)
คณุ ภาพผู้เรยี น (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2551 : 3-5) จบชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3
1. นกั เรียนมีความรู้และมีความเข้าใจเรอ่ื งพฒั นาการของมนุษย์และการเจริญเตบิ โต และปัจจัยท่ี
มผี ลต่อการเจริญเติบโตได้
2. นักเรียนมีสุขนิสัยท่ีดีในเร่ือง การรักษาความสะอาด การพักผ่อนนอนหลบั การกิน การเล่น
การออกกาลังกาย และอวยั วะทกุ ส่วนของร่างกาย
3. ป้องกันตนเองจากพฤติกรรมที่อาจนำไปสู่การใช้สารเสพติด การล่วงละเมิด ทางเพศและรู้จัก
ปฏิเสธในเรอื่ งทีไ่ มเ่ หมาะสม
4. สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ตามพัฒนาการในแต่ละช่วงวยั และมีทักษะการ
เคล่อื นไหว
5. มีวิธีในการเลือกบริโภคอาหารเลือกของใช้ เลือกของเล่น ท่ีดีต่อสุขภาพ ป้องกันตัวเองจาก
อบุ ตั ิเหตุและควรหลกี เลย่ี ง
6. สามารถประพฤติตนได้อย่างถูกตอ้ งเม่อื มปี ญั หาทางอารมณ์และปญั หาสุขภาพ
7. ปฏบิ ัติตนตามกฎ ขั้นตอน และตามคำแนะนำใหค้ วามรว่ มมือกับผู้อ่นื ด้วยความเตม็ ใจจนทำให้
งานประสบความสำเร็จ
8
8. เคารพสิทธิของผู้อ่นื และปฏบิ ตั ิตามสทิ ธิของตนเองและในการเล่นเป็นกลมุ่
3. ใช้ทักษะในการป้องกันตนเองเพ่ือหลีกเลี่ยงสถานการณ์คับขัน สรุปได้ว่าในการจัดการเรียน
การสอนในกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษานั้น สาระที่ 5 เรอ่ื งความปลอดภัยในชีวิตมคี วามครอบคลุมท้ัง
ในรายวชิ าสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ถือว่าเป็นสาระที่มีความสำคัญผู้เรียนจะต้องมีความเขา้ ใจและสามารถ
นำไปใช้ไดใ้ นชวี ติ ประจำวนั
การจัดการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื (Cooperative Learning) เทคนิค STAD
การนำเสนอเก่ยี วกบั เอกสารประกอบการเรียน ผู้ศึกษาได้แบ่งการนำเสนอออกเป็น 3 หัวข้อคือ
1.แนวคดิ หลักเกี่ยวกบั การเรยี นรูแ้ บบกลุ่มร่วมมอื
2.ความหมายของการเรียนแบบรว่ มมือ
3.องคป์ ระกอบพืน้ ฐานของการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ มีรายละเอียดดงั น้ี
1. แนวคดิ หลกั เก่ยี วกับการเรยี นรแู้ บบกลุ่มรว่ มมือ
การสอนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) พัฒนาขนึ้ โดย Robert E. Slavin ผอู้ ำนวยการ
โครงการศึกษาระดบั โอกาสให้ผู้เรียนไดใ้ ช้ความคิดร่วมกัน แลกเปล่ยี นประสบการณ์ ความคิด เหตผุ ลซึ่ง
กันและกัน ได้เรียนรู้สภาพอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดของคนในกลุ่ม เพื่อเป็นแนวคิดไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวัน ตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล ตลอดจนเพ่ือจะเรียนรู้และรับผิดชอบงานของผู้อื่น
เสมอื นงานของตน โดยม่งุ เน้นผลประโยชน์และความสำเร็จของกลมุ่ มีนกั การศึกษาเสนอแนวคดิ ดังน้ี
วิมลรัตน์ สนุ ทรโรจน์ (2550 : 17-19) ได้เสนอว่า การเรยี นรู้แบบกลุ่มร่วมมอื เปน็ การสอนที่เน้น
การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนได้เรียนรู้เป็นโดยท่ีแต่ละกลุ่มมีส่วนร่วมอยางแท้จริงใน
การเรียนรู้และความสำเร็จของกลุ่ม โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการแบ่งปันทรัพยากรการเรียนรู้
รวมทั้งการเป็นกำลังใจแก่กันและกันคนที่เรียนเก่งจะช่วยเหลือคนที่เรียนอ่อนกว่า หลักการจัดกลุ่ม
นักเรียนผู้สอนตอ้ งศึกษาคะแนนสอบวิชาใดวชิ าหนง่ึ ของนักเรียน แล้วเรียงอันดับจากคนที่มีคะแนนสงู สุด
ไปหาคนท่ีมีคะแนนต่ำสดุ แล้วจัดให้แต่ละกลุ่มมีคนเก่ง ปานกลาง ออ่ น คละกันทุกกลมุ่ ในแต่ละกลมุ่ ควร
จะมีทั้งเพศชายและเพศหญิงคละกันด้วย และกลุ่มท่ีมีขนาดพอเหมาะ คือ กลุ่มที่มีสมาชิก 3 คน การ
แบ่งกลุ่มแบบนี้จะเห็นได้วาทุกกลุ่มจะมีนักเรียนคละ เก่ง ปานกลาง อ่อนเหมือนกน การเรียนรู้แบบกลุ่ม
9
ร่วมมือจะช่วยให้นักเรียนเรียนรู้อยางมีความสุข โดยผู้เรียนทุกคนในกลุ่มจะมีความสบายใจในการพูดคุย
ซักถามกัน ให้ความรู้แก่กัน คนเก่งจะเกิดความภาคภูมิใจในการให้ความรู้แก่คนเรียนปานกลางและคน
เรียนออ่ น ซึง่ จะช่วยให้คนเรยี นปานกลางและเรียนออ่ นได้คะแนนสงู ขนึ้
2. ความหมายของการเรียนแบบร่วมมือ
นักการศกึ ษาหลายทา่ นไดใ้ หค้ วามหมายของการเรียนแบบร่วมมอื ดังน้ี
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2551 : 23)ได้กล่าวว่า การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ
เทคนิค STAD หมายถึง วิธีการที่จะมีเป้าหมายของกลุ่มและช่วยเหลือกันเพ่ือหาความ สำเร็จของกลุ่ม
ส่วนหลักการของการเรียนแบบร่วมมือกาหนดให้ใช้เวลาในช้ันเรียน มีการทำงานร่วมกนเป็นกลุ่ม
ประมาณ 3 คน โดยสมาชิกในกลุ่มจะต้องมีความสามารถแตกต่างกันและ เทคนิคน้ีจะต้องใช้แรงเสริม
เชน่ รางวัล คำชมเชย เพื่อเป็นการกระตนุ้ ให้นกั เรยี นรว่ มมือกนั ทำงาน
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2550 : 28) ได้เสนอว่าการสอนในช้ันเรียนมีการแบ่งปันเป็นกลุ่ม
แต่ละกลมุ่ แบ่งคละความสามารถของนกั เรียน ออ่ น ปานกลาง เก่ง แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม
ชว่ ยเหลือกันเป็นกลุ่ม ครูผู้สอนจะนำเสนอประเดน็ ใหมห่ รือเน้ือหาใหม่ โดยอาจนำเสนอดว้ ยส่ือทีน่ ่าสนใจ
เพื่อให้กิจกรรมการเรยี นการสอนประสบผลสำเร็จ ใช้การสอนโดยตรงหรือต้ังประเด็นใหม่หลังจากเรียน
แต่ละเนื้อหา นักเรยี นตอ้ งทำแบบทดสอบย่อยเป็นรายบุคคล แล้วนำคะแนนของสมาชิกในทีมมาร่วมกัน
นักเรียนท่ีตอบคำถามหรือปฏิบัติกิจกรรมได้ดีข้ึนจะได้คะแนนพิเศษเป็นรางวัล มุ่งเน้นการประสบ
ผลสำเรจ็ เป็นกล่มุ
Johnson and Johnson (1991 : 6-7) กล่าววา การเรียนแบบร่วมมือเป็นการเรียนท่ีจดั ขึ้นโดย
การคละกันระหว่างนักเรยี นที่มคี วามสามารถต่างกันนักเรียนทำงานร่วมกันและช่วยเหลือกัน เพอ่ื ให้กลุ่ม
ของตนประสบผลสำเรจ็ ในการเรียน
Slavin (1995 : 2-7) ได้ให้ความหมายวา การเรียนแบบร่วมมอื เป็นวิธีสอนท่ีนำไปประยุกต์ใช้ได้
หลายวิชาและหลำยระดับชั้น โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย โดยท่ัวไปมี สมาชิก 3 คน
ที่มีความสามารถแตกตา่ งกนั เปน็ นักเรยี นเกง่ 1 คน ปานกลาง 2 คน และออ่ น1 คน นักเรียนในกลมุ่ ทต่ี อ้ ง
เรียนและรับผิดชอบงานกลุ่มร่วมกัน นักเรียนจะประสบผลสำเร็จก็ต่อเมื่อเพื่อนสมาชิกในกลุ่มทุกคน
10
ประสบผลสำเร็จ บรรลุเปา้ หมายร่วมกัน จงึ ทำให้นักเรียนช่วยเหลือพ่ึงพากัน และสมาชิกในกลุ่มจะไดร้ ับ
รางวัลรว่ มกนั เมอ่ื กลุ่มทำคะแนนไดถ้ งึ เกณฑท์ ่ีกำหนดไว้
สรุปไดว้ าการจดั การเรยี นรูแ้ บบร่วมมือ เปน็ การจัดการเรียนการสอนท่ีใหผ้ ู้เรียน เรยี นรู้ได้ลงมือ
ปฏิบัติส่ิงต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ เน้นให้มีการแบ่งงานกันทำช่วยเหลือรว่ มกัน
ทำงานท่ีได้รับมอบหมายในกลุ่มหนึ่ง ๆ ประกอบด้วย ผู้เรียนท่ีมีความสามารถทางการเรียนแตกต่างกัน
ในขณะเรียนสมาชิกในกลุ่มสามารถชว่ ยเหลือกันในการทำงานในเนื้อหานนั้ ๆ เม่ือจบบทเรยี นจะทดสอบ
เป็นรายบุคคล แล้วนำคะแนนมาเฉล่ียเป็นคะแนนของกลุ่ม มีการประกาศคะแนนของกลุ่ม
ผู้เรียนสามารถเปล่ียนกลุ่มได้ โดยทุกคนมีความรับผิดชอบงานของตนเอง และงานส่วนรวมร่วมกันมี
ปฏสิ ัมพันธ์กันและกนั มที กั ษะการ ทำงานกลุม่ เพอ่ื ให้งานบรรลุเปา้ หมาย
3. องค์ประกอบพ้นื ฐานของการเรยี นรู้แบบร่วมมือ
Johnson and Johnson (1991: 31-37) กล่าวว่าองค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือ มีองคป์ ระกอบดงั นี้
1. การมีความสมั พันธเ์ กี่ยวข้องกนั ในทางบวก หมายถงึ การท่ีสมาชกิ ในกลุ่มมีการทำงานอย่างมี
เป้าหมายร่วมกัน มีการแข่งขัน มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ร่วมกันมีบทบาทหน้าที่และ
ประสบความสำเร็จรว่ มกนั รวมทง้ั ได้รับ ผลประโยชน์หรอื รางวัลโดยเทา่ เทียมกัน
2. การปฏิสัมพันธ์กันอย่างใกลช้ ิด ระหวา่ งการทำงานกลมุ่ ) เป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่ม
แลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่งกันและกันอธิบายความรู้ให้แก่เพื่อนสมาชิกในกลุ่มฟัง และมีการให้ข้อมูล
ยอ้ นกลบั ซึ่งกันและกนั
3. ควรประเมินผลการปฏิบัติงานของสมาชิกในกลุ่ม เป็นกจิ กรรมที่ตรวจเช็คหรอื ทดสอบให้มัน
ใจว่าสมาชกิ มีความรบั ผิดชอบต่องานกล่มุ หรอื ไมเ่ พยี งใด โดยสามารถจะทดสอบเป็นรายบุคคล เช่น การ
สมุ่ ถาม การทำงาน การสังเกต
4. การใช้ทักษะระหว่างบุคคลและทักษะการใช้การทำงานเป็นกลุ่มย่อย ในการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือน้ีเพ่ือให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนทักษะการทำงานกลุ่ม ทักษะ
ระหว่างบุคคล
11
5. กระบวนการกลุ่ม เป็นการทำงานท่มี ขี ัน้ ตอน สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มจะต้องทำความเข้าใจใน
เปา้ หมายของการทำงาน มีการวางแผน มีการดำเนินการตามแผนประเมินผลงาน และปรับปรงุ งาน
ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
สมนึก ภัททิยธนี (2556 : 73) ให้ความหมายแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไว้วา เป็น
แบบทดสอบท่ีวัดสมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ ท่ีนักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้ว มี 2 ประเภทคือ
แบบทดสอบทีค่ รูสร้างกับแบบทดสอบมาตรฐาน
แนวคิดท่ีใช้เป็นแนวในการสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
บญุ ชม ศรสี ะอาด (2545: 122–123) ได้เสนอแนวคิดที่ใช้ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวา ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ือนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลนั้น
นิยมสรา้ งโดยยดึ ตามการจำแนกจดุ ประสงค์ทางการศึกษา ตามปกติการวัดจะมี 3 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. พฤติกรรมด้านพุทธพิ ิสัย (Cognitive Domain) เป็นพฤติกรรมทางด้านสมองและสติปัญญา
แบง่ ยอ่ ยได้ดงั นี้
1.1 ความรู้ (Knowledge) หมายถงึ ความสามารถในการทจ่ี ะจดจำกบั ความรู้ที่รับไปแลว้
1.2 ความเข้าใจ (Comprehension) หมายถงึ ความสามารถในการตีความแปลความ และการ
ขยายความ
1.3 การนำไปใช้ (Application) หมายถึง ความสามารถในการทนี ำความรู้
ความสามารถ ทไี่ ด้เรยี นรมู้ าประยุกตใ์ ชไ้ ด้
1.4 การวิเคราะห์ (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการหาข้อเท็จจริงหาความสำคัญ และ
หลักการตา่ ง ๆ ของสิ่งน้ัน
1.5 การสังเคราะห์ (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมเข้ามารวมกัน หรือทำให้
เกดิ เร่ืองใหม่ สิ่งใหม่
1.6 การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึง ความสามารถในการตัดสินสิ่งต่าง ๆ โดยมีเกณฑ์
หรือมาตรฐานเป็นเครื่องตดั สิน
2. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นพฤติกรรมทางด้านจติ ใจท่ีแสดงออกมาใน
รปู แบบของคา่ นยิ ม
12
3. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นพฤติกรรมท่ีเก่ียวกับทักษะในการ
เคลื่อนไหว การใช้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ตลอดจนการประสานงานของประสาทและกล้ามเนื้อ
จากการเรยี นรูอ้ าจแยกลักษณะการประเมินผลจากข้อมูลออกเปน็ 2 วธิ ที ่ีสำคัญคอื
3.1 การประเมนิ ผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced Evaluation)
3.2 การประเมนิ ผลแบบอิงกลมุ่ (Norm Referenced Evaluation)
4. ข้ันตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน มขี ้ันตอนการสรา้ งแบง่ ได้ 3 ข้นั ตอนใหญ่ ๆคือ
ขั้นท่ี 1 ข้นั วางแผนการสร้างแบบทดสอบ ประกอบดว้ ย
1.1 กำหนดจุดมุ่งหมายของการทดสอบ ส่ิงสำคัญประการแรกที่ผู้สร้างข้อสอบจะต้องรู้
คอื อะไรคือจดุ มุง่ หมายของการทดสอบ ทำไมจึงตอ้ งมีการสอบ และจะนำผลการสอบไปใช้อย่างไร
1.2 กำหนดเน้ือหาและพฤติกรรมท่ีต้องการวัด เน้ือหาท่ีต้องการวัดได้จากจุดมุ่งหมายของการ
ทดสอบ ผสู้ ร้างข้อสอบจะต้องวิเคราะห์จำแนกเนอื้ หาที่ต้องการวัดให้ครอบคลุมเน้ือหาทั้งหมด ซ่ึงจำแนก
พฤติกรรมเป็น 6 ระดับ คือ ความรู้ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และ
การประเมินค่า
1.3 กำหนดรูปแบบของแบบทดสอบ เลือกแบบทดสอบประเภทแบบทดสอบอัตนัย แบบตอบ
ส้ันและเลอื กตอบหรือแบบทดสอบปรนยั (Objective Test) ซง่ึ ขน้ึ อย่กู บั จดุ ม่งุ หมายของแบบทดสอบ
1.4 การจัดทำตารางวิเคราะหเ์ น้อื หาและพฤตกิ รรม เปน็ การวางแผนผังการสรา้ งข้อสอบ ทำใหผ้ ู้
ทสี่ รา้ งขอ้ สอบรู้ว่าในแตล่ ะเนอ้ื หาจะต้องสร้างข้อสอบในพฤตกิ รรมใดบา้ งและแต่ละพฤติกรรมต้องใช้กข่ี อ้
1.5 กำหนดสว่ นอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การสอบ เชน่ คะแนน ระยะเวลาการสอบ
ข้นั ท่ี 2 ขนั้ การสร้างแบบทดสอบ เปน็ การเขยี นขอ้ สอบ ตามเนื้อหาและรปู แบบของแบบทดสอบ
โดยทำเป็นแบบทดสอบฉบบั ร่าง
ขั้นที่ 3 ขั้นตรวจสอบคุณภาพข้อสอบก่อนนำไปสร้างแบบทดสอบ แล้วค่อยนำแบบทดสอบไป
ตรวจสอบหาคุณภาพ ซ่ึงคุณภาพแบบทดสอบพิจารณาทั้งคุณภาพของแบบทดสอบรายข้อ ได้แก่ ความ
ยากและอำนาจจำแนกและคุณภาพของแบบทดสอบท้ังฉบับ ได้แก่ ความเที่ยงตรงและความเช่ือมัน การ
ตรวจสอบสามารถทำได้ท้ังตรวจสอบเองและใหผ้ ู้เช่ยี วชาญตรวจ การตรวจเองเป็นการตรวจสอบคุณภาพ
ของข้อคำถาม - คำตอบตามหลักการสร้างข้อสอบท่ีดี สำหรับการตรวจโดยผู้เชี่ยวชาญจะเป็นการ
ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชงิ เนือ้ หา เพ่อื ดวู ่าขอ้ คำถามแตล่ ะข้อสมั พันธ์สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์
5. การหาคณุ ภาพของแบบทดสอบ
แบบทดสอบท่ีดีควรมคี ณุ สมบตั ิ ดังนี้
13
5.1 ความเชอ่ื มัน (Reliability) เป็นความคงเส้นคงวาของของคะแนนท่ไี ดจ้ ากการทดสอบโดยใช้
แบบทดสอบน้ันหลาย ๆ ครง้ั กับผ้เู ขา้ สอบกลุ่มเดียวกัน ความเชื่อมนั่ เป็นคณุ ภาพของแบบทดสอบท้ังฉบับ
มีค่าตั้งแต่ 0 – 1 โดยมีแนวทางในการพิจารณา ดังนี้ถ้าความเช่ือมันน้อยกว่า 0.70 หมายความว่าความ
น่าเชื่อถือค่อนข้างต่ำ(ควรปรับปรุง)ถ้าความเช่ือมั่นมากกวาหรือเท่ากับ 0.70 หมายความว่าความ
น่าเช่ือถือยอมรับได้ (สังคม / มนุษยศาสตร์) ถ้าความเชื่อมันมากกว่าหรือเท่ากับ 0.80 หมายความว่า
ความน่าเชื่อถือยอมรับได้ (วิทยาศาสตร์ /คณิตศาสตร์) ถ้าความเชื่อมันมากกว่าหรือเท่ากับ 0.90
หมายความวา่ ความน่าเชื่อถือได้มาตรฐานระดับสากล
5.2 ความเท่ียงตรง (Validity) เป็นความสอดคล้องของแบบทดสอบกับวัตถุประสงค์ ในการวัด
คือวัดได้ตรงกับสิ่งท่ีต้องการจะวัด ความเที่ยงตรงแบ่งเป็น 3 ประเภท คือความเท่ียงตรงตามเนื้อหา
(Content validity) หมายถึง คุณสมบัติของแบบทดสอบที่สามารถวดั เนื้อหาวิชาได้ตรงตามท่ีกำหนดไว้
ในหลักสูตรความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ ( Criterion-related Validity) หมายถึงคุณสมบัติของแบบทดสอบ
ที่สามารถนำคะแนนจากการทดสอบนั้นมาใชใ้ นการพยากรณ์ผลการเรยี นได้ความเทย่ี งตรงตามโครงสร้าง
(Construct Validity) หมายถึงคุณสมบัติของแบบทดสอบที่สามารถวัดสมรรถภาพของสมองด้านต่าง ๆ
ได้
5.3 ความเป็นปรนยั (Objectivity) เป็นคณุ สมบตั ิของแบบทดสอบ 3 ประการ คอื
5.3.1 อ่านแลว้ เขา้ ใจตรงกนั
5.3.2 การตรวจใหค้ ะแนนตรงกนั
5.3.3 การแปลความหมายของคะแนนตรงกนั
5.4 ความยาก (Difficulty) หมายถึงสัดส่วนของจำนวนผู้ท่ีทำข้อสอบถูกกับจำนวน ผู้เข้าสอบ
ทั้งหมด ความยากมีค่าตั้งแต่ 0 – 1 ใช้สัญลักษณ์ p แทนความยาก โดยมีความหมายดังนี้ถ้า p > 0.80
ขอ้ สอบง่ายมาก
5.5 อำนาจจำแนก (Discrimination) เป็นประสิทธิภาพของข้อสอบในการจำแนกเด็กเก่งออก
จาก เด็กอ่อน อำนาจจำแนกมีค่าต้ังแต่-1 ถึง +1 ใช้สัญลักษณ์ r แทนอำนาจจำแนกโดยมีความหมายดงั น้ี
ถ้า r > 0.60 ข้อสอบมีอำนาจจำแนกดีมาก สรุปได้วาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนถือเป็นเคร่อื งมือทสี่ ำคญั ใน
การวดั ความรูค้ วามสามารถของผู้เรยี นโดยนัยท่ีเป็นตวั เลข ทัง้ นี้ตามหลังสูตรแกนกลางพุทธศักราช 2551
ได้กำหนดสมรรถนะของผู้เรียนเพิ่มเติมไว้หลำยข้อ เช่น ด้านการส่ือสาร การคิด การแกปัญหา จาก
การศึกษา ้ความรู้และแนวทาง ในการใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD น้ันกระบวนการ
ตา่ ง ๆเพ่ือให้ได้มา ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีสูงขึ้นของผู้เรียนน้ันการจัดการเรยี นรูแ้ บบร่วมมือเทคนิค
STAD ยังสามารถเพ่ิม สมรรถนะของผู้เรียนได้อีกด้วย เช่น ในการนำเทคนิคการส่ือสารการแกปัญหาที่
14
เกิดขน้ึ ในกลุ่ม เปน็ ต้นความพึงพอใจในการเรียนรูใ้ นการดำเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน ความพึงพอใจ
เป็นส่ิงสำคัญที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนทำงานที่ได้รับมอบหมายหรือต้องการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์
ครูผู้สอนซ่ึงในสภาพปัจจุบนั เปน็ เพียงผู้อำนวยความสะดวกหรือให้คำแนะนำปรึกษาจงึ ต้องคำนึงถึงความ
พอใจในการเรยี นรู้
1. ความหมายของความพึงพอใจพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 775) ได้ให้
ความหมายของความพงึ พอใจวา่ หมายถึง พอใจ ชอบใจ
กาญจนา อรุณสุขรุจี (2546 : 5) กล่าวว่าความพึงพอใจของมนุษย์เป็นการแสดงออก เป็น
นามธรรม การท่ีจะทราบว่าบคุ คลที่มคี วามพงึ พอใจหรือไม่สามารถสังเกตได้โดยการแสดงออกที่ค่อนข้าง
สลบั ซบั ซ้อน ดงั น้นั การสร้างสงิ่ เร้าจงึ เป็นแรงจูงใจของบุคคลนัน้ ใหเ้ กิดความพงึ พอใจในงานนั้น
2. ทฤษฎที เ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ความพงึ พอใจนักวชิ าการได้พฒั นาทฤษฎีท่ีอธิบายองค์ประกอบของความ
พึงพอใจ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจกับปัจจัยอ่ืน ๆ ไว้หลายทฤษฎี Korman A.K.
(1977 : 32) ได้จำแนกทฤษฎคี วามพึงพอใจในงานออกเปน็ 2 กลุ่มคือ
1. ทฤษฎีการสนองความต้องการ กลุ่มนี้ถือว่าความพึงพอใจ ในงานเกดิ จากความตอ้ งการส่วน
บคุ คลท่ีประสบความสำเรจ็
2. ทฤษฎีการอ้างอิงกลุ่ม ความพึงพอใจมีความสัมพันธ์ในทางบวก ซึ่งสมาชิกให้กลุ่มเป็น
แนวทางในการประเมินผลการทำงาน Manford E. (1972 : 44) ได้เสนอความคดิ เก่ียวกับความพงึ พอใจ
งานจากผลการวิจยั ออกเป็น 5 กลมุ่ ดงั ต่อนี้
1. กล่มุ ความตอ้ งการทางด้านจติ วิทยา กลุ่มน้ีได้แก่Maslow, A.H. ,Herzberg. Fและ Likert R.
มองว่าความพึงพอใจงานน้ันเกิดจากความต้องการของบุคคลที่ต้องการความสำเร็จของงานและต้องการ
การยอมรบั จากคนอื่น
2. กลุ่มภาวะผู้นำมองความพึงพอใจงานจาก รูปแบบและการปฏิบัติตนของผู้นำที่มีต่อ
ผู้ใต้บงั คบั บญั ชา กลุ่มนไ้ี ด้แก่ Blake R.R., Mouton J.S. และ Fiedler R.R.
3. กลุ่มความพยายามต่อรองรางวัล คือกลุ่มที่มองความพึงพอใจจากรายได้เงินเดือนและ
ผลตอบแทนตา่ งๆ
4. กลุ่มอุดมการณ์ทางการจัดการมองความพึงพอใจจากพฤติกรรมการบริหารงานขององค์กร
ได้แก่ Crogier M. และ Coulder G.M.
5. กลุ่มเนื้อหาของงาน ความพึงพอใจงานเกดิ จากเนือ้ หาของตัวงาน
3. ทฤษฎีลำดับข้ันความต้องการของมนุษย์ของมาสโลว์ คือผู้วางรากฐานจิตวิทยามนุษย์นิยม
ได้พัฒนาทฤษฎีแรงจูงใจซ่ึงมอี ิทธิพลต่อระบบการศึกษา ทฤษฎีของมาสโลว์มีพ้ืนฐานอยู่บนความคิดท่ีว่า
15
การตอบสนองแรงขับเปน็ หลักการเพยี งอนั เดยี วท่มี ีความสำคญั โดยเน้นในเรอื่ งลำดบั ข้นั ความต้องการเขา
มีความเชื่อว่า มนุษย์มีแนวโน้มที่จะมีความต้องการอันใหม่ที่สูงขึ้นแรงจูงใจของคนเรามาจากความ
ต้องการพฤติกรรมของคนเรา มุ่งไปสู่การตอบสนอง ความพอใจ มาสโลว์ แบ่งความตอ้ งการพื้นฐานของ
มนุษย์ออกเปน็ 5 ระดับด้วยกัน ได้แก่
1. มนุษยม์ ีความตอ้ งการอยูเ่ สมอ ไม่มีท่สี ้นิ สุด
2. ความต้องการท่ีได้รับการสนองแลว้ จะไม่เปน็ แรงจูงใจต่อความตอ้ งการทไ่ี ม่ได้รับการสนอง
3. ความตอ้ งการของคนซ้ำซ้อนกัน บางทีความต้องการหนง่ึ แล้วยังไม่ส้ินสดุ กเ็ กดิ ความต้องการ
ดา้ นอื่นๆขนึ้ มาอีก
4. ความต้องการของคนมีลักษณะเป็นลำดับขั้น เม่ือความต้องการในระดับต่ำได้รับการสนอง
แล้ว ความตอ้ งการระดบั สงู กจ็ ะเรียกรอ้ งให้มีการตอบสนอง
5. ความต้องการเป็นตัวตนที่แท้จริงของตนเอง ลำดับความต้องการพื้นฐานของ Maslow
เรยี กว่า Hierarchy of Needs มี 5 ลำดับขัน้ ดงั น้ี
1. ความต้องการด้านร่างกาย (Physiological Needs) ความต้องการคือปัจจัย 4 คือ ต้องการ
เคร่อื งนุ่งห่มเพ่ือป้องกันความร้อน อาหารให้อ่ิมท้อง ยารักษาโรคภัย ไข้เจ็บ รวมท้ังสัตว์ร้าย ที่อยู่อาศัย
เพื่อป้องกันแดด ฝน ลม อากาศร้อน หนาว ความต้องการเหล่านี้คือความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของ
มนษุ ย์ทุกคน จึงมคี วามต้องการพืน้ ฐานข้ันแรกที่มนษุ ย์ทุกคนตอ้ งการบรรลใุ ห้ได้กอ่ น
2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) หลังจากท่ีมนุษย์บรรลุความต้องการด้าน
ร่างกาย ทำให้ชีวิตสามารถดำรงอยู่ในขั้นแรกแล้ว จะมีความต้องการด้านความปลอดภัยของชีวิตและ
ทรัพย์สินของตนเองเพ่ิมขึ้นต่อไป เช่น หลังจากมนุษย์มีอาหารรับประทานจนอ่ิมท้องแล้วได้เร่ิมหันมา
คำนึงถึงความปลอดภัยของ อาหาร หรือสุขภาพ โดยหันมาให้ความสำคัญกันเร่ืองสารพิษที่ติดมากับ
อาหาร ซึ่งสารพิษเหลา่ นี้อาจสร้างความไมป่ ลอดภัยให้กบั ชีวติ ของเขา เป็นต้น
3. ความต้องการความรักและการเป็นเจ้าของ (Belonging and Love Needs) เป็นความ
ตอ้ งการทีเ่ กิดขึ้นหลังจากการท่ีมชี ีวิตอยูร่ อดแล้ว มีความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สินแล้ว ม่ นษุ ย์จะเริ่ม
มองหาความรักจากผ้อู ื่น ตอ้ งการทีจ่ ะเป็นจ้าของส่ิงตา่ ง ๆ ท่ีตนเองครอบครองอยู่ตลอดไป เช่น ตอ้ งการ
ให้พอ่ แม่ พ่ีน้อง คนรัก รักเราและต้องการให้เขาเหล่าน้นั รักเราคนเดียวไมต่ อ้ งการให้เขาเหล่านัน้ ไปรกั คน
อ่ืน โดยการแสดงความเป็นเจ้าของ เป็นต้น
16
4. ความต้องการการยอมรับนับถือจากผู้อื่น (Esteem Needs) เป็นความต้องการอีกข้ันหน่ึง
หลังจากได้รับความต้องการทางร่างกาย ความปลอดภัย ความรักและเป็นเจ้าของแล้วจะต้องการการ
ยอมรับนับถือจากผู้อื่น ต้องการได้รับเกียรติจากผู้อื่น เช่น ต้องการการเรียกขานจากบุคคลท่ัวไปอย่าง
สุภาพ ให้ความเคารพนับถือตามควรไม่ต้องการการกดขี่ข่มเหงจากผู้อื่นเน่ืองจากทุกคนมีเกียรติและ
ศักดศ์ิ รขี องความเปน็ มนุษยเ์ ท่าเทยี มกัน
5. ความตอ้ งการความเป็นตัวตนอันแท้จริงของตนเอง (Self-Actualization Needs)เป็นความ
ต้องการข้ันสุดท้าย ซ่ึงเป็นความต้องการข้ันสูงสุดของมนุษย์ แต่ความต้องการในขั้นนี้มักเกิดข้ึนได้ยาก
เพราะต้องผา่ นความต้องการในขน้ั อน่ื ๆ มาก่อนและตอ้ งมคี วามเข้าใจในชีวิตเปน็ อยา่ งยิ่ง สรุปได้วา่ ความ
พึงพอใจของบุคคลมลี กั ษณะของความตอ้ งการพนื้ ฐาน 5 ระดับตามแนวคิดของมาสโลว์ นน้ั สามารถตอบ
คำถามเรื่องความมุ่งหมายของชีวิตได้ครบถ้วน ในระดับหน่ึง เพราะมนุษย์เราตามปกติจะมีระดับความ
ต้องการหลายระดับ และเมอ่ื ความตอ้ งการระดบั ต้นไดร้ ับการสนองตอบก็จะเกดิ ความต้องการในระดบั สูง
เพมิ่ ขึ้นเรอ่ื ยไปตามลำดับจนถึงระดับสงู สุด ตามความพึงพอใจของแตล่ ะบคุ คล
ความพึงพอใจในการเรียนรู้
ในการดำเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน ความพงึ พอใจเป็นส่ิงสำคัญที่จะกระตุ้นให้ ผูเ้ รยี นทำงาน
ท่ีได้รับมอบหมายหรือต้องการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ ครูผู้สอนซึ่งใน สภาพปัจจุบันเป็นเพียงผู้
อำนวยความสะดวกหรอื ให้คำแนะนำปรึกษาจงึ ต้องคำนึงถงึ ความพอใจในการเรยี นรู้
1. ความหมายของความพึงพอใจ
พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 775) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจ ว่าหมายถงึ พอใจ
ชอบใจ
สรุปความหมายของความพึงพอใจว่า หมายถึง พฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรู้สึกชอบพอใจ
เป็นความรู้สึกของบุคคลในทางบวกเป็นความ รู้สึกชอบทำแล้วเกิดความสบายใจเป็นความรู้สึกท่ีดีของ
บคุ คลต่อสิ่งใดสงิ่ หนง่ึ และเป็นความรู้สกึ ที่บรรลุถงึ ความตอ้ งการ
2. ทฤษฎที ่เี ก่ยี วข้องกับความพึงพอใจ
นักวิชาการได้พัฒนาทฤษฎีท่ีอธิบายองค์ประกอบของความพึงพอใจ และอธิบาย ความสัมพันธ์
ระหว่างความพงึ พอใจกับปัจจัยอื่น ๆ ไวห้ ลายทฤษฎี
17
สรุปได้ว่า ความพึงพอใจของบุคคลมีความต้องการ 5 ระดับ ตามแนวคิดของมาสโลว์
สามารถตอบคำถามเรื่องความมุ่งหมายของชีวิตได้ครบถ้วน ในระดับหนึ่ง เพราะปกติจะมีระดับความ
ต้องการหลายระดับ เม่ือความต้องการ ระดับต้นได้รับการสนองตอบก็จะเกิดความต้องการในระดับสูง
เพม่ิ ขึ้นเรื่อยไปตามลำดับจนถึง ระดบั สูงสุด ตามความพงึ พอใจของแตล่ ะบุคคล
งานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง
มยุรีฟองจนั สม (2553 : 130) ได้ศึกษาผลการเรียนรู้เรื่อง เติบโตตามวัยกล่มุ สาระการเรียนรู้สุข
ศึกษาและพลศึกษาของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่1 โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ระหว่างกิจกรรม STAD กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่1 โรงเรียนขยายโอกาส อำเภอศรี
เทพ สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์เขต 3 ภาคเรียนท่ี1 ปี การศึกษา 2553 จำนวน
2 โรงเรียน คอื ใช้การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบร่วมมือ กิจกรรม STAD โรงเรยี นบ้านเกาะแก้วจำนวน 17
คน เป็นกลมุ่ ทดลองท่ี1 และโรงเรยี นบา้ นบงึ นาจาน จำนวน 20 คน ผลการวจิ ัยพบว่า ผลสัมฤทธท์ิ างการ
เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี1 เรื่องเติบโตตามวัย
โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ กิจกรรม STAD หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติท่รี ะดับ .05 ซ่ึงไม่มคี วามแตกตา่ งกันนกั เรียนจึงมีความพึงพอใจตอ่ การเรยี น
เอกราช ถ้ำกลาง (2554 : 64) ได้ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ
รว่ มมือกันเรียนรแู้ บบ STAD ของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี6 เรื่องความปลอดภัย กล่มุ ทดลองโรงเรียน
สาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (มอดินแดง) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6/4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2553 จำนวน 44 คน ผลการวิจัยพบว่า การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทำให้นักเรียนมี
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ94.55 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ80 พัฒนาขน้ึ มปี ระสิทธภิ าพ
84.09/ 94.55
โสมรภี ครองบุญ (2557 : 83-89) ทำการศกึ ษาเร่ือง ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม
รว่ มมือเทคนิค STAD เร่อื ง การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิของการเรียนวิชา
สขุ ศึกษาและพลศึกษา กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัยเปน็ นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ 4/6 ท่ีกำลังศกึ ษา
อยู่ในปี การศึกษา 2557 จำนวน 53 คน โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์กรุงเทพมหานคร พบว่ า
ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน จำนวน 48 คน ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 90.57 ส่วนนักเรียนท่ีมี
ผลสัมฤทธเ์ิ ทา่ เดมิ ภายหลงั ได้รับการจัดการเรยี นรู้ จำนวน 3 คน ซงึ่ คิดเป็นร้อยละ 5.66 และนกั เรียนทม่ี ี
ผลสัมฤทธ์ิน้อยลงภายหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 คนคิดเป็นรอ้ ยละ 3.77 สรปุ ได้ว่านักเรียนมี
ผลสมั ฤทธิ์สูงขึน้
18
บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั
การวิจัยในคร้ังน้ี เป็นการวิจัยแบบกึง่ ทดลอง (Quasi Experimental Research) ผวู้ ิจยั ได้
กำหนดหวั ขอ้ การดำเนินการวจิ ยั ตามลำดบั ดังน้ี
1. กลุม่ เปา้ หมาย
2. เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั
3. การสร้างและหาคณุ ภาพเครือ่ งมอื ในการวจิ ยั
4. วิธกี ารดำเนินการวจิ ัย
5. ขน้ั ตอนในการดำเนนิ การวจิ ยั
6. การจัดกระทำขอ้ มูลและการวิเคราะหข์ อ้ มลู
7. สถติ ทิ ี่ใช้ในการวิจัยการวิจยั
กลมุ่ เป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นนาคำพิทยาสรรพ์
อำเภออบุ ลรัตน์ จังหวดั ขอนแกน่ สำนักงานเขตพนื้ ท่ปี ระถมศกึ ษา เขต 4 ท่ีเรียนรายวิชาสขุ ศึกษาและพล
ศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 9 คน จากห้องเรยี นจำนวน 1 หอ้ ง
เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั
เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้งั นี้มี 3 ชนิด ประกอบด้วย
1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบกล่มุ ร่วมมือเทคนิค STAD เร่อื ง ความปลอดภัยในชีวติ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ประถมศึกษาปี ท่ี 2 จำนวน 4 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมเวลา 8
ชว่ั โมง
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เรื่อง ความปลอดภัยในชีวติ ประการ กล่มุ สาระ การ
เรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 แบบปรนัย ชนดิ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 10 ข้อ
3. แบบสอบถามความพึงพอใจ
19
การสรา้ งและหาคณุ ภาพเคร่ืองมือในการวจิ ัย
วธิ กี ารสร้างและหาคณุ ภาพเครือ่ งมือในการวิจยั ผู้วจิ ยั ได้ดำเนนิ การตามขั้นตอน ดังนี้
1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง ความปลอดภัยในชีวิต ประการ กลุ่ม
สาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 แบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
จำนวน 10 ข้อ
โดยผู้ศึกษาใชเน้ือหาตามขอบข่ายที่เรียน มวี ิธีสร้างดังน้ี
1.1 ศกึ ษาเน้ือหาบทเรียนในระดับชันประถมมศึกษาปีที่ 2
1.2 นำเน้ือหาและจุดประสงค์การเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษาในแต่ละ
แผนการจัดการเรียนรูม้ าพิจารณาว่าเหมาะสมและสอดคล้องแล้วนำมาวดั ความสามารถด้วยวิธีการสอน
การจัดแผนการเรียนรู้แบบร่วมมอื เทคนคิ STAD
1.3 กำหนดรปู แบบของแบบวัดผผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ขอ้
1.4 สร้างแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ ให้อาจารย์ที่ปรึกษา
ตรวจสอบ หลังจากน้ันนำไปให้ ผู้เชี่ยวชาญ ในการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา จำนวน 3
ทา่ น ประกอบไปดว้ ย
1.นายสิทธิพร เถรวัลย์ ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนนาคำพิทยาสรรพ์ สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 ผู้เชย่ี วชาญด้านการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา
2.นายสุทธิศักดิ์ เพ็ชรแก่น ตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภออุบลรัตน์ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
ขอนแกน่ ผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นการวิจัยและพฒั นาคุณภาพการศึกษา
3.นายสมศักดิ์ สุธรรมราช ตำแหนง่ ครวู ทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 4 ผู้เช่ยี วชาญดา้ นการสอน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
เพื่อตรวจสอบความถูกต้องความตรงตามเนื้อหา ตลอดท้ังความถูกต้องด้านการใช้ภาษา และ
ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ โดยใช้เกณฑ์กำหนดคะแนนความคิดเห็นดังน้ี (ล้วน สายยศ และอังคณา
สายยศ, 2539: 248-249)
20
ให้+1 เม่ือแน่ใจว่าองค์ประกอบของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาสขุ ศึกษาและพลศกึ ษาเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์
ให้ 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าองค์ประกอบของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วชิ าสุขศึกษาและพลศกึ ษาเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์
ให้ -1 เมื่อแนใ่ จวา่ องคป์ ระกอบของแบบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
วชิ าสขุ ศึกษาและพลศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับจุดประสงค์
โดยใชส้ ูตร ดงั นี้ บุญชม ศรีสะอาด (2556)
R
สตู ร IOC = n
เม่ือ R = ผลรวมคะแนนของผู้เชย่ี วชาญทั้งหมด
n = จำนวนผู้เชี่ยวชาญทงั้ หมด
ถ้าคา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง IOC ที่คำนวณไดม้ ากกว่าหรือเทา่ กับ 0.5 ข้อคำถาม
นนั้ ก็เป็นตวั แทนลักษณะของกลุ่มพฤตกิ รรม ถ้าข้อคำถามใดที่มีค่าดัชนีความสอดคลอ้ งตำ่ กว่า 0.5 ขอ้
คำถามนัน้ กถ็ กู ตดั ออก หรอื ปรับปรงุ แกไ้ ขใหมใ่ ห้ดขี ึน้ ผ้ศู ึกษา พจิ ารณาคัดเลือกเฉพาะรายการประเมนิ
ขอ้ ที่มคี า่ IOC ตั้งแต่ 0.67-1.00 ขน้ึ ไปเอาไว้ และปรบั ปรงุ รายการประเมนิ ขอ้ ที่ผูเ้ ช่ียวชาญให้
ข้อเสนอแนะหรือเพ่ิมเติม
1.5 นำแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าสุขศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน 20 ข้อ ที่
ผ้เู ชยี่ วชาญได้ตรวจสอบและให้ค่าคะแนนแล้ว มาหาค่าความตรงโดยนำผลคะแนนของผู้เชยี่ วชาญแตล่ ะ
ท่านมา
รวมกันแล้วหารด้วยจำนวนของผ้เู ช่ียวชาญ หลังจากหาค่าความตรงแล้วแบบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
วชิ าสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน 20 ขอ้ คงเหลือใช้ไดจ้ ริงจำนวน 15 ข้อ
1.6 นำแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา จำนวน 15
ข้อ ไปทดลองใชก้ ับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านเหล่านาดี ท่ีไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน
10 คน เพอ่ื หาค่าความยากงา่ ย และคา่ อำนาจจำแนก
21
1.7 หลังการทดลองใช้แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและพล
ศึกษา จำนวน 15 ข้อ ปรากฏว่าหลังจากที่หาค่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนกแล้ว คงเหลือบท
สนทนาท่ใี ช้ได้จริง 10 ข้อ ซึง่ ตรงกบั ความต้องการของผ้วู ิจยั ในการทำแบบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ า
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน 10 ขอ้
1.8 พิมพแ์ บบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา จำนวน 10
ข้อ
วิธกี ารดำเนนิ การวิจยั
การวิจัยในครั้งน้ีเป็นการวิจัยทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design (นฤมล
แสงพรหม. 2560 : 109-110) มีลักษณะการทดลองดงั ภาพประกอบ 3
กล่มุ ทดสอบกอ่ นเรียน ทดลอง ทดสอบหลังเรยี น
กล่มุ O1 X O2
เม่ือ O1 แทน การทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test)
O2 แทน การทดสอบหลังเรยี น (Post-test)
X แทน การสอนโดยใชก้ ารจดั แผนการเรียนรูแ้ บบรว่ มมือ เทคนคิ STAD
ภาพประกอบ 3 รปู แบบการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design
22
ขนั้ ตอนในการดำเนนิ การวจิ ยั
การวิจัยครง้ั นี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) กับกลมุ่ เป้าหมาย
ทใ่ี ช้การสอนโดยใช้การจัดแผนการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ เทคนิค STAD เร่ือง ความปลอดภัยในชวี ิต เพื่อหา
ประสิทธิภาพของการสอนโดยใช้การจัดแผนการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เร่อื ง ความปลอดภัย
ในชีวติ โดยกำหนดขั้นตอนในการดำเนนิ การวิจยั ดังนี้
1. ขั้นเตรยี มกอ่ นการทดลอง
1.1 เตรยี มกลมุ่ เป้าหมาย โดยการจดั ทำบัญชรี ายช่อื นกั เรียน จัดทำตาราง
กำหนดวัน
เวลาในการทดลอง พร้อมทัง้ ทำเรื่องขออนญุ าตทางโรงเรียน
1.2 จดั เตรยี มสถานทีแ่ ละเครอื่ งมือในการทดลอง
2. ข้ันดำเนินการทดลอง
2.1 ผู้วิจัยแนะนำกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับวธิ ีปฏิบตั ิในการเรียนด้วยการใช้
แผนการเรยี นรู้แบบร่วมมอื เทคนคิ STAD โดยใช้เวลาในการแนะนำนักเรยี นประมาณ 10 นาที
2.2 ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายทำแบบทดสอบ เรอื่ ง ความปลอดภัยในชวี ิต (Pre-test)
ที่ผู้วจิ ยั สรา้ งขึน้ และได้วเิ คราะหค์ ณุ ภาพแลว้
2.3 ทำการทดลอง โดยใหน้ ักเรียนกลุ่มเป้าหมายเรียนจากใช้สื่อประสมในการ
จัดการเรยี นรเู้ ร่ือง ความปลอดภยั ในชวี ิต กลุม่ สาระการเรยี นสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี
2 โดยแผนการเรียนร้แู บบร่วมมอื เทคนคิ STAD จำนวน 8 ชว่ั โมง
2.4 ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายทำแบบทดสอบ เร่ือง ความปลอดภยั ในชีวติ (Post-test)
ซงึ่ กระทำทันทเี มอื่ ส้ินสุดการเรียน โดยใช้แบบทดสอบ เร่อื ง ความปลอดภยั ในชีวติ ชุดเดียวกันกบั การ
ทดสอบก่อนเรียน
23
การจดั กระทำขอ้ มลู และการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผูว้ ิจัยวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำเรจ็ รูป โดยดำเนินการ
วิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั นี้
1. นำคะแนนแบบวัดผลสมั ฤทธ์ิก่อนเรียนและหลังเรียนมาวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บแบบ
วัดผลสัมฤทธกิ์ ่อนเรียนและหลงั เรียน โดยใช้ t-test แบบกลมุ่ ไมอ่ ิสระ (Dependent Samples t-
test)
สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคร้งั น้ี มีดังน้ี
1. สถิติทใี่ ชใ้ นการตรวจสอบเครอื่ งมอื
1.1 หาค่าความตรงโดยใชผ้ ้เู ชย่ี วชาญ เรียกว่าดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC : Index of
Item Objective Congruence) มีสูตรในการคำนวณดังนี้ (นฤมล แสงพรหม. 2560 : 141)
IOC = R
N
เมือ่ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง
R แทน ผลรวมความเหน็ ของผูเ้ ช่ียวชาญ
N แทน จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
1.2 วเิ คราะห์หาคา่ ความยาก (P) และค่าอำนาจจำแนก (r) ของแบบทดสอบเป็น
รายขอ้ มีสูตรในการคำนวณดงั น้ี (ทรงศักดิ์ ภสู ีออ่ น. 2556 : 57-58)
P= H+L r= H−L
2N N
เมอ่ื P แทน ค่าความยากง่ายของข้อสอบ
r แทน คา่ อำนาจจำแนกของขอ้ สอบ
H แทน จำนวนคนในกลมุ่ สูงทีต่ อบขอ้ สอบข้อนั้น ๆ ถกู
L แทน จำนวนคนในกลมุ่ ตำ่ ท่ตี อบข้อสอบขอ้ นั้น ๆ ถกู
N แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงหรอื กลมุ่ ต่ำ
24
1.3 หาค่าความเชอ่ื ม่ันของแบบทดสอบทัง้ ฉบับโดยใช้สตู ร KR-20 ตามวิธีของ คเู ดอร์-
ริชารด์ สัน (Kuder-Richardson Method) มีสตู รในการคำนวณดังน้ี (ทรงศักด์ิ ภูสีอ่อน. 2556 :
88-89)
rtt =k pq
− 1 −
k 1 S2
เมือ่ rtt แทน ค่าความเช่ือมั่นของแบบทดสอบท้ังฉบับ
p แทน คา่ ความยากของข้อสอบแต่ละข้อ
q แทน สดั ส่วนคา่ ความยากแต่ละข้อ (q = 1 – p)
S2 แทน ค่าความแปรปรวนของคะแนนรวม
k แทน จำนวนขอ้ สอบในแบบทดสอบ
1.4 การหาค่าความเชื่อมน่ั ของแบบสอบถาม แบบมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ
หาโดยวธิ ีการใช้สตู รสมั ประสิทธแิ์ อลฟา ( -Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) มีสูตร ในการ
คำนวณดงั น้ี (ทรงศักด์ิ ภสู อี อ่ น. 2556 : 90)
= k Si2
k − 1 1 − St2
เมอ่ื แทน ค่าความเชอ่ื มนั่ ของแบบสอบถาม
Si2 แทน ผลรวมของความแปรปรวนรายข้อ
St2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม
k แทน จำนวนข้อ
2. สถิตพิ ืน้ ฐานทีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ได้แก่
2.1 ค่าเฉลยี่ ( X ) มีสตู รในการคำนวณดังน้ี (สุนทรพจน์ ดำรงค์พานชิ . 2554 :
37)
X = X
n
เมอ่ื X แทน คา่ เฉล่ยี
X แทน ผลรวมทง้ั หมดของคะแนน
n แทน จำนวนกลุ่มตวั อยา่ งท้ังหมด
25
2.2 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( S.D.) มสี ตู รในการคำนวณดังน้ี (สุนทรพจน์ ดำรงค์พานิช.
2554 : 62)
S.D. = n X 2 − ( X )2
n(n -1)
เมื่อ S.D. แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน
X แทน คะแนนแตล่ ะตัว
n แทน จำนวนกลมุ่ ตัวอย่างในกลุ่มนัน้
2.3 ร้อยละ มีสูตรในการคำนวณดังนี้ (บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2553 : 122)
เมอ่ื P P = f 100
n
f
n แทน รอ้ ยละ
แทน ความถีท่ ีต่ ้องการแปลงให้เป็นรอ้ ยละ
แทน จำนวนความถี่ทงั้ หมด
3. สถิติที่ใช้ในการการทดสอบสมมุตฐิ าน
เปรียบเทียบคะแนนแบบวัดทักษะก่อนเรียน (Pre-test) กับหลังเรียน (Post-test)
ของกลุ่มทดลอง โดยใช้ t-test แบบกลุ่มไม่อิสระ (Dependent Samples t-test) มีสูตรในการ
คำนวณดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2553 : 109)
t = D
n D2 − ( D)2
n −1
เมอ่ื t แทน คา่ สถิตทิ ี่จะใชเ้ ปรยี บเทยี บกับค่าวิกฤต เพอื่ ทราบ
ความมีนยั สำคัญ
D แทน ค่าผลต่างระหว่างคู่คะแนน
n แทน จำนวนหนว่ ยตวั อยา่ งหรอื จำนวนคู่คะแนน
26
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูศ้ ึกษาได้ดำเนนิ การวิเคราะหข์ อ้ มลู และเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ตามลำดบั ดงั ต่อไปน้ี
1. สญั ลกั ษณท์ ่ีใช้ในการนำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
2. ลำดบั ข้ันในการนำเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3. ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
สญั ลกั ษณท์ ใี่ ชใ้ นการนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
แทน คา่ เฉล่ยี
N แทน จำนวนนกั เรียน
S.D. แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
t แทน ค่าสถิตทิ ดสอบท่ีใชเ้ ปรียบเทียบค่าวิกฤต เพ่ือทราบความมีนยั สำคญั
ลำดบั ขน้ั ในการนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ผศู้ กึ ษาได้ดำเนินการนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามลำดับขน้ั ดังน้ี
1. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรียน
และหลงั เรียนโดยใชก้ ารจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมือเทคนคิ STAD เร่ืองความปลอดภัยในชีวิตกลุ่มสาระการ
เรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2
2. ผลการวิเคราะห์แบบวดั ความพึงพอใจความความพึงพอใจของผู้เรียนในการใช้การจดั การ
เรียนรแู้ บบร่วมมือเทคนิค STAD เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2
27
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
1. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรีย น
และหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่องความปลอดภัยในชีวิต
กลุม่ สาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2
ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรียน
และหลังเรยี น ปรากฏผลดังตาราง 1
ตาราง 1 การวิเคราะห์เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น ของนักเรียน
ทีเ่ รยี นโดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบรว่ มมือเทคนิค STAD เรือ่ งความปลอดภยั ในชีวิต
Dependent simple t-test
การทดสอบ n S.D. t
กอ่ นเรยี น 9 11.33 1.00 13.6
หลังเรียน 9 15.11 0.78
จากตาราง 1 พบวา่ ทักษะในการเรียนเร่ืองความปลอดภัยในชีวิต กอ่ นเรียนและหลังเรียนดว้ ย
การจดั การเรยี นรูแ้ บบรว่ มมอื เทคนคิ STAD เรื่องความปลอดภยั ในชีวิต กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและ
พลศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 มีความกา้ วหน้าทางการเรียน โดยผลการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าผลการ
ทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉลี่ย
ก่อนเรียนเท่ากับ 11.33 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 56.67 และนักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เฉลี่ยหลงั เรียนเท่ากบั 15.11 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75.56
28
ตาราง 2 ผลการวิเคราะหแ์ บบวัดความพึงพอใจความความพงึ พอใจของผู้เรียนในการใช้การจัดการเรียนรู้
แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่องความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 2
งานวจิ ัยไดด้ ำเนินการวัดความพึงพอใจ ท่ีนกั เรียนมตี อ่ การเรยี น เร่ืองความปลอดภยั โดยใช้การ
จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD โดยวิธีการสร้างแบบสอบถามในประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ
ความปลอดภัยในชวี ิต รวมทั้งบรรยากาศในห้องเรียน และวิธีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การจัดการ
เรยี นรู้แบบร่วมมอื เทคนิค STAD ปรากฏผลดงั ตาราง 2
แบบวดั ความพงึ พอใจตอ่ การเรยี น ระดบั ความพงึ พอใจ
เรอื่ งความปลอดภยั ในชวี ติ
1.มีวิธกี ารนำเขา้ สบู่ ทเรยี นความปลอดภัยในชีวติ ได้ดี 4.5 มาก
2.มวี ธิ ีการสอนการดา้ นความปลอดภยั ในชีวติ ได้ดี 4.5 มาก
3.มกี ิจกรรมการฟังท่นี ่าสนใจ 4.5 มาก
4.มขี นั้ ตอนการสอนท่ีถูกตอ้ ง 4.5 มาก
5.การเรียนด้วยกจิ กรรมทำใหเ้ กดิ ความสนุกสนานในการเรียนรู้ 4.5 มาก
6.การเรียนด้วยกิจกรรมแบบกล่มุ ชว่ ยใหม้ คี วามกระตอื รือร้นในการเรยี นมากขนึ้ 4.5 มาก
7.นกั เรียนเห็นว่าการเรียนด้วยกจิ กรรมแบบกลุ่มทำใหน้ ักเรยี นทราบถงึ ความ
ปลอดภยั ในชีวิตได้ถูกตอ้ ง 4.5 มาก
8.การเรียนด้วยกจิ กรรมกลมุ่ ฝึกให้นกั เรียนกล้าคดิ กล้าพดู กล้าทำ
9.การเรยี นด้วยกจิ กรรมกลุ่ม ทำใหน้ กั เรยี นมีความเช่ือม่ันในตนเอง 4.5 มาก
10.นกั เรียนมคี วามเพลิดเพลนิ ใจในขณะทำกิจกรรม 4.5 มาก
11.นกั เรียนสามารถนำความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการเรยี นนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ 4.5 มาก
12.บทเรียนมีภาพและสถานการณ์ประกอบ ทำให้เรา้ ความสนใจ 3.0 ปานกลาง
4.5 มาก
คา่ เฉลย่ี ทงั้ หมด 4.4 มาก
จากตารางที่ 2 ตารางแบบวัดความพงึ พอใจหลังการจดั การเรียน ความปลอดภยั โดยใชก้ ารจดั การเรียนรู้
แบบรว่ มมือเทคนิค STAD มคี ่าเฉลี่ยเทา่ กบั 4.4 รวมผลคะแนนมคี ่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.4 ซงึ่ มคี ่าคะแนนอยู่ใน
ระดบั มาก
29
สญั ลกั ษณท์ ใ่ี ชใ้ นการนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
แทน ค่าเฉล่ีย
N แทน จำนวนนักเรียน
S.D. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
t แทน คา่ สถิตทิ ดสอบที่ใชเ้ ปรยี บเทียบคา่ วกิ ฤต เพอ่ื ทราบความมีนัยสำคัญ
30
บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
การวิจยั ครั้งน้ีเป็นการรายงานผลการเรยี นรู้แบบร่วมมือ เทคนคิ STAD เร่ืองความปลอดภัยใน
ชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนาคำพิทยาสรรพ์
ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ซ่งึ มีขั้นตอนดงั น้ี
1. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
2. สรุปผลการวิจยั
3. อภปิ รายผลการวจิ ยั
4. ข้อเสนอแนะ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 2 โดยใชก้ ารจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมอื เทคนิค STAD เรอื่ งความปลอดภัยในชีวติ
2. เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้เรียนในการใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD
เรือ่ งความปลอดภยั ในชวี ิต
สรปุ ผลการวจิ ยั
ผลการวิจัยสรุปได้ดงั น้ี
1. นักเรียนที่เรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 โดยใชการจัดการ
เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่องความปลอดภัยในชีวิต มีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียน อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 ซงึ่ เป็นไปตามสมมุติฐานทีต่ ั้งไว้
2. แบบวัดความพึงพอใจหลังการจัดการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
STAD เรื่องความปลอดภัยในชีวิต ในด้านต่างๆ มีผลคะแนนการวัดความพึงพอใจ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.4
รวมผลคะแนนมคี ่าเฉลย่ี เท่ากบั 4.4 ซ่งึ มีค่าคะแนนอยู่ใน ระดับมาก
31
อภปิ รายผลการวจิ ยั
จากการวิจยั คร้งั นี้ สามารถอภิปรายผลได้ดงั ต่อไปน้ี
1. นกั เรยี นมีคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น หลังเรยี นสงู กว่าก่อนเรยี น อยา่ งมนี ัยสำคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ต้ังไว้ ทั้งนี้อาจมาจากการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
เทคนิค STAD เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ จึงส่งผลให้นักเรียนมี
คะแนนแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งผลการทดสอบที่ได้มีความ
น่าเชื่อถือ เน่ืองมาจากเครื่องมือท่ีใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีผู้วิจัย
สร้างขึ้นตามขัน้ ตอนที่สำคัญ ดงั นี้
1) ศกึ ษาเนอ้ื หาบทเรยี นในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 และใช้การจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมือ
เทคนิค STAD เรือ่ งความปลอดภยั ในชีวิต
2) นำเนื้อหาและจุดประสงคก์ ารเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษาในแตล่ ะแผนการจดั การเรยี นรู้
มาพิจารณาว่าเหมาะสมและสอดคลอ้ งแลว้ นำมาวัดความรู้ความสามารถในเน้ือหาเร่อื งความปลอดภัย
ในชีวิต
3) กำหนดรปู แบบของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น จำนวน 20 ขอ้
4) สร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น จำนวน 30 ข้อ นำไปให้ ผูเ้ ชย่ี วชาญ ในการ
จัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้อง ความตรงตามเนื้อหา
ตลอดทั้งความถูกตอ้ งและความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์
5) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น จำนวน 30 ข้อ ท่ีผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจสอบและ
ใหค้ ่าคะแนนแล้ว มาหาค่าความตรงโดยนำผลคะแนนของผู้เชยี่ วชาญแต่ละท่านมารวมกันแลว้ หารด้วย
จำนวนของผู้เช่ียวชาญ หลังจากหาค่าความตรงแลว้ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน จำนวน 30
ขอ้ คงเหลือใช้ไดจ้ ริงจำนวน 25 ข้อ
6) นำแบบวัดทักษะเร่ืองความปลอดภัยในชีวิตจำนวน 25 ข้อ ไปทดลองใช้กับนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเหล่านาดี ท่ไี ม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 34 คน เพ่ือหาค่าความยากง่าย
และค่าอำนาจจำแนก
32
7) หลังการทดลองใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 25 ข้อ ปรากฏว่า
หลังจากท่ีหาค่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนกแล้ว คงเหลือบทสนทนาท่ีใช้ได้จรงิ 20 ข้อ ซ่ึงตรง
กบั ความต้องการของผู้วิจัยในการทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น จำนวน 20 ข้อ
8) พิมพ์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ ซึ่งสอดคล้องกับ ผล
การศึกษาของ
เลิศมนัส อุปฌาย์ (2555 : 81-84) ที่พบวา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรยี นของกลมุ่ ตัวอย่าง
ท้ัง 26 คนได้คะแนน เฉลี่ยจากการทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 15.73 คะแนน จากคะแนนเต็ม 65
คะแนนคิดเป็นรอ้ ยละ24.20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.929 และจากการ ทดสอบหลังการเรียนโดยใช้
เอกสารประกอบการเรยี นเรอื่ งเรียนรูต้ ัวเราชวี ติ และครอบครัว สรา้ งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยใน
ชีวิตท้ัง13 เล่มมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 56.65 จากคะแนน เต็ม 65 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 87.16 ส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.243 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยใช้เอกสาร
ประกอบการเรียนเรื่องเรียนรู้ตัวเราชีวิตและครอบครัว สร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิต
อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิที่ระดบั .01
2. นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ต่อการใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
STAD เรื่องความปลอดภัยในชีวิต อาจเน่ืองมาจากเป็นการปฏิบัติตนในชีวิตประจำวัน โดยได้เรียนรู้
สถานการณ์ตา่ งๆ ผา่ นการลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ จึงส่งผลให้ผู้เรยี นชอบ และทำออกมาได้ดี
33
ขอ้ เสนอแนะ
จากการวิจัยใน ครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสน อแ นะต่อผู้สน ใจในการนำผลการวิจัยไปใช้
หรอื ในการทำการศึกษาคร้งั ตอ่ ไป ดังน้ี
1. ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การนำไปใช้
1.1 ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรยึดหลักให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ควรให้
ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติดว้ ยตนเอง โดยครมู หี น้าทค่ี อยให้คำแนะนำ และกระตุน้ ใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรู้
1.2 ให้ นั ก เรีย น เรียน รู้โดยใช้ ก ารจัด ก ารเรีย น รู้แบ บ ร่ว มมื อ เท คนิ ค STAD
เรื่องความปลอดภัยในชีวิต ไม่ควรเร่งให้นักเรียนเรียนรู้แค่ภายในเวลาท่ีกำหนด แต่ควรให้นักเรียนได้
ศึกษา ทบทวนเน้อื หาไดเ้ พิม่ นอกเวลาเรยี น
2. ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาครัง้ ตอ่ ไป
2.1 ควรมกี ารพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอื เทคนิค STAD เรื่องความปลอดภัยใน
ชวี ิต ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยใชเ้ น้ือหาที่อยู่ใกลต้ ัว เก่ยี วกับท้องถน่ิ ของตนเอง เพื่อให้นกั เรียนสามารถ
นำความรทู้ ี่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.2 ควรมกี ารพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เร่ืองความปลอดภัยใน
ชวี ิต ในรปู แบบตา่ งๆ
บรรณานกุ รม
บรรณานุกรม
เฉลิมศักดิ์ ยุระไชย. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา เร่ือง ชีวิตและครอบครัว ช้ันประถมศึกษา ปี ที่4. การศึกษา
คน้ ควา้ อิสระการศกึ ษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตรก์ ารสอน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
เดือนเพ็ญ จันทะคาด. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD
เร่ือง พลังงานแสง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 4. การศึกษา ค้นคว้าอิสระ
การศึกษามหาบณั ฑิต. มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
ยุรีฟองจันทร์สม. (2553). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เร่ือง เติบโตตามวัยกลุ่มสาระ การเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่1 โดยใช้กิจกรรม การเรียนรู้แบบร่วมมือระหว่าง
กิจกรรม STAD กับกจิ กรรม TGT. วิทยานิพนธ์ ครศุ าสตร์มหาบณั ฑติ . มหาวิทยาลยั ราชภัฏเทพสตรี.
ฉัตรลดา ปุณณขันธ์. (2548). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เร่ืองเพลงไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 4. การศึกษาค้นคว้าอิสระ การศึกษามหาบัณฑิต.
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
วมิ ลรตั น์ สุนทรโรจน์. (2545). พัฒนาการเรียนการสอน เอกสารประกอบการสอน วิชา 0506703.
มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุพลวังสินธุ์. (2543). “การบริหารโรงเรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา" วารสารวิชาการ. 5(6) :
29-30 มถิ ุนายน.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ . กรุงเทพฯ :
วฒั นาพาณชิ ย์.
ไพศาล หวังพานิช. (2553). วิธีการวิจัย. กรุงเทพฯ : งานส่งเสริมวิจัยและต ารา มหาวิทยาลัย ศรี
นครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร.
พวงรตั น์ ทวีรตั น์. (2530). วธิ ีการวิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.
สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งท่ี 4. กาฬสินธ์ุ : ประสานการพิมพ์.
(2551). การวดั ผลการศกึ ษา. พิมพ์คร้ังที่ 6. กาฬสนิ ธุ์ : ประสานการพมิ พ.์
บญุ ชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจยั เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีรยิ าสาสน์ .
กาญจนาอรุณสุขรุจี. (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดำเนินงานของ สหกรณ์
การเกษตร ไชยปราการจำกัด อำเภอไชยปราการจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่
สายจิตร เหมทานนท์. (2546). ความหมายของความพึงพอใจ. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2555 จาก
http:// www.Saw 01.blogrpost.com /2008/07blog-post-1615.html.
นฤมล ธรรมประชา. (2549). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยบทเรียนสำเร็จรูปเร่ือง
ประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 2.
การศกึ ษาคน้ ควา้ อสิ ระ การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นาน
มบี คุ๊ ส์พับลิเคชันส์ ่ .
มลิวัลย์ ภูบุญปลูก. (2562). การพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ โดยใช้ชุดกิจกรรมการฟังบท
สนทนาในชวี ิตประจำวัน สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
สายจิตร เหมทานนท์. (2546). ความหมายของความพึงพอใจ. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2555 จาก
http:// www.Saw 01.blogrpost.com /2008/07blog-post-1615.html.
มะลิวัลย์ ชูสกุล. (2548). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้
(4 MAT) เร่ืองความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 5.
วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชันส์ ่ .
วาณี ทองเสวต. (2548). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเก้ือการุณย์.
วัชรากรณ์กองมณี. (2546). การพัฒนาแผนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปีที่4 เร่ือง ส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติโดยเน้นกิจกรรม การเรียนรู้แบบร่วมมือ.
การศกึ ษาค้นคว้าอสิ ระ การศกึ ษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
Slavin, R.E. (1995). Cooperative Learning. (2nd ed.). London : Allyn and Bacon.
Slavin, E. Robert. (1978). “STAD,” Journal of Research and Development in
Educational. 60(7) : 42-48 ; July.
ภาคผนวก ก
แผนการจดั การเรยี นรู้การพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรอื่ ง ความปลอดภยั ในชวี ติ
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2
โดยการใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื เทคนิค STAD
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1
รหัสวิชา พ12101 รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา
ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ความปลอดภัยในชีวิต เวลา 8 ช่ัวโมง
เรอ่ื ง อบุ ัติเหตแุ ละการปอ้ งกัน เวลา 2 ช่ัวโมง
ผสู้ อน นางสาวชลธชิ า โยวะ สอนวนั ท…ี่ …..เดอื น………………พ.ศ…………
มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั
ป.2 ปฏิบัติตนในการป้องกันอบุ ัติเหตทุ ี่อาจเกดิ ขึ้นทางนำ้ และทางบก
สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
อุบัติเหตุทางน้ำและทางบกเกิดจากสาเหตหุ ลายอยา่ ง จงึ ต้องมวี ิธกี ารป้องกันอยา่ งถกู ต้อง
สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• อบุ ัติเหตทุ างนำ้ และทางบก
- สาเหตขุ องอุบตั เิ หตุทางนำ้ และทางบก
- วิธกี ารป้องกนั อุบัตเิ หตุทางนำ้ และทางบก
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
4.1 ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้
4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มีความรับผดิ ชอบ
ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แผ่นพับ เรอื่ ง การป้องกันอบุ ัตเิ หตุ
การวดั และการประเมนิ ผล
7.1 การประเมนิ กอ่ นเรยี น
- ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง อุบตั เิ หตุและการป้องกัน
7.2 การประเมินระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
7.3 การประเมนิ หลงั เรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน เรื่อง อุบัติเหตุและการป้องกัน
กิจกรรมการเรยี นรู้
นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลงั เรียน
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
คำชแ้ี จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ขณะเดินทางตามถนน ไม่ควรทำสง่ิ ใด 6. ถ้าจะข้ามถนน ควรปอ้ งกันตนเองจากอุบตั เิ หตุ
ก. เดินบนทางเท้าชดิ ด้านใน อย่างไร
ข. เดินชดิ ไหลท่ างด้านขวา
ค. เดินชิดไหลท่ างด้านซ้าย ก. ข้ามตรงทางม้าลาย
ข. เดนิ ขา้ มบรเิ วณรถติด
2. เพราะเหตุใด ไม่ควรยนื โหนท่ีประตู ค. ว่งิ ขา้ มถนนทนั ที
ก. อาจพลดั ตกรถได้ 7. เพราะเหตุใด ควรใสเ่ สื้อสีขาวหรือสีสว่าง ขณะ
ข. อาจถูกตำรวจจราจรปรบั เดนิ ทาง ในเวลากลางคนื
ค. ทำให้ผอู้ ื่นข้นึ หรือลงรถลำบาก ก. ทำใหผ้ วิ ดูขาวข้ึน
ข. ดูสวยงาม และประทบั ใจ
3. ใครปฏบิ ตั ติ นในการขีจ่ กั รยานได้ถูกตอ้ ง ค. เพอ่ื ใหผ้ ขู้ ับข่มี องเห็นได้ชัดเจน
ก. ฟ้าขี่จักรยานชิดขอบทางขวาของถนน 8. ขอ้ ใดเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตทุ างน้ำ
ข. ฝ้าจับจักรยานดว้ ยมอื ขา้ งเดียว ก. ผู้โดยสารลงเรืออย่างเปน็ ระเบยี บ
ค. ฟางตรวจสภาพจกั รยานก่อนขี่ ข. ฝนตก มพี ายุ
ค. ผู้ขบั เรือไม่ดื่มสุรา
4. ข้อใดเปน็ การป้องกนั อุบตั ิเหตุทางนำ้ 9. เมอื่ ลงเรือแล้วควรปฏิบตั ิตนอย่างไร
ก. น่ังบนกราบเรอื ก. เดนิ เข้าไปในตัวเรอื
ข. ยืนรอเรือทโี่ ป๊ะเรือ ข. น่ังท่กี ราบเรือ
ค. สวมเสื้อชชู พี ขณะโดยสารเรือทางไกล ค. วิง่ เลน่ ในเรือ
10. เพราะเหตุใด ควรยนื รอรถไฟฟา้ หลังเสน้ สเี หลือง
5. ใครปฏบิ ตั ิตนไดป้ ลอดภยั จากอบุ ัตเิ หตุ ก. เจ้าหน้าที่รถไฟบงั คบั
ก. กุ้งยืนรอรถไฟฟา้ อยูห่ น้าเสน้ เหลอื ง ข. เพือ่ ป้องกนั ตนเองจากอบุ ัตเิ หตุ
ข. ก๊บิ จบั พนักพงิ ขณะยืนบนรถโดยสารประจำ ค. เพอ่ื ความเป็นระเบียบ
ทาง
ค. กุ๊กกระโดดขน้ึ เรือเม่ือเรือจะออกจากทา่ เทียบ
เรอื
ไดค้ ะแนน คะแนนเตม็
10
เฉลย
1. ค 2. ก 3. ค 4. ค 5. ข 6. ก 7. ค 8. ข 9. ก 10. ข
แบบทดสอบหลงั เรยี น 10
คำชแี้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. เพราะเหตุใด ควรใสเ่ ส้อื สีขาวหรอื สสี วา่ ง ขณะ 6. ข้อใดเปน็ การป้องกนั อบุ ตั เิ หตุทางน้ำ
เดินทาง ในเวลากลางคนื ก. ยืนรอเรอื ทโี่ ป๊ะเรอื
ข. สวมเสอ้ื ชูชีพขณะโดยสารเรือทางไกล
ก. เพอ่ื ให้ผู้ขับขี่มองเห็นไดช้ ัดเจน ค. นั่งบนกราบเรือ
ข. ทำให้ผิวดขู าวขน้ึ
ค. ดสู วยงาม และประทบั ใจ 7. ใครปฏิบตั ติ นในการข่จี กั รยานได้ถูกตอ้ ง
2. เมอ่ื ลงเรือแลว้ ควรปฏิบตั ติ นอยา่ งไร ก. ฝา้ จับจักรยานด้วยมอื ขา้ งเดียว
ก. นัง่ ท่ีกราบเรือ ข. ฟางตรวจสภาพจกั รยานก่อนขี่
ข. วง่ิ เล่นในเรอื ค. ฟา้ ข่ีจักรยานชิดขอบทางขวาของถนน
ค. เดินเขา้ ไปในตวั เรือ
3. เพราะเหตุใด ควรยืนรอรถไฟฟ้าหลงั เสน้ สเี หลือง 8. ใครปฏบิ ตั ิตนได้ปลอดภัยจากอบุ ัติเหตุ
ก. เพื่อความเป็นระเบียบ ก. ก้งุ ยนื รอรถไฟฟา้ อยหู่ นา้ เส้นเหลือง
ข. เพ่อื ป้องกนั ตนเองจากอบุ ตั ิเหตุ ข. กุก๊ กระโดดขึ้นเรือเมื่อเรือจะออกจากท่าเทยี บ
ค. เจา้ หนา้ ทร่ี ถไฟบังคับ
4. ถา้ จะข้ามถนน ควรป้องกันตนเองจากอุบตั เิ หตุ เรือ
อยา่ งไร ค. กิ๊บจับพนักพิงขณะยืนบนรถโดยสารประจำ
ก. ว่ิงขา้ มถนนทันที
ข. เดินข้ามบริเวณรถตดิ ทาง
ค. ข้ามตรงทางม้าลาย 9. ขณะเดินทางตามถนน ไม่ควรทำสิง่ ใด
5. ข้อใดเป็นสาเหตุของการเกดิ อุบตั ิเหตุทางน้ำ
ก. ฝนตก มพี ายุ ก. เดนิ ชดิ ไหล่ทางด้านซ้าย
ข. ผโู้ ดยสารลงเรืออยา่ งเป็นระเบยี บ ข. เดนิ บนทางเท้าชดิ ด้านใน
ค. ผู้ขบั เรือไม่ด่มื สุรา ค. เดินชดิ ไหลท่ างดา้ นขวา
10. เพราะเหตุใด ไม่ควรยนื โหนที่ประตู
ก. อาจถูกตำรวจจราจรปรบั
ข. อาจพลดั ตกรถได้
ค. ทำใหผ้ ูอ้ ื่นขึ้นหรือลงรถลำบาก
ไดค้ ะแนน คะแนนเตม็
10
เฉลย
1. ก 2. ค 3. ข 4. ค 5. ก 6. ข 7. ข 8. ค 9. ก 10. ข
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
คำชแ้ี จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ ง ที่
ตรงกบั ระดับคะแนน
คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 321
1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเม่อื ไดย้ นิ เพลงชาติ และบอกความหมายของเพลงชาตไิ ด้
กษตั ริย์ 1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธหิ น้าท่ี
1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อโรงเรยี น และปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื สรา้ ง
ความสามคั คี ปรองดองในหมเู่ พ่อื น
1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทต่ี นนับถอื ตามหลกั ของศาสนา
1.5 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามทโ่ี รงเรยี น
และชุมชนจดั ขน้ึ
2. ซื่อสตั ย์ สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง และเป็นจรงิ
2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถ่ี กู ตอ้ ง ทาตามสญั ญาทต่ี นใหไ้ วก้ บั พอ่ แม่ หรอื ผปู้ กครอง
2.3 ปฏบิ ตั ติ อ่ ผอู้ ่นื ดว้ ยความซอ่ื ตรง
3. มวี ินัย 3.1 ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั
รบั ผิดชอบ และโรงเรยี น มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ
ในชวี ติ ประจาวนั
4. ใฝ่ เรยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ และนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้
4.2 รจู้ กั จดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม
4.3 เชอ่ื ฟังคาสงั ่ สอนของบดิ า มารดา โดยไม่โตแ้ ยง้
4.4 ตงั้ ใจเรยี น
4.5 ปรบั ปรุงตนเองในขอ้ ผดิ พลาด
5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ นิ และสง่ิ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั
5.2 ใชอ้ ุปกรณ์การเรยี นอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่
5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ
6. มุ่งมนั ่ ในการ 6.1 มคี วามตงั้ ใจและพยายามในการทางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
ทางาน 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ อ่ อปุ สรรคเพ่อื ใหง้ านสาเรจ็
คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 321
7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สานึกในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย
7.2 เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รจู้ กั ช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครทู างาน
8.2 อาสาทางานใหผ้ อู้ น่ื
8.3 รจู้ กั การดแู ลรกั ษาทรพั ยส์ มบตั แิ ละสงิ่ แวดลอ้ มของหอ้ งเรยี น โรงเรยี น
เขา้ ร่วมกจิ กรรมของโรงเรยี น
ลงช่ือ .................................................... ผปู้ ระเมิน
................ /................ /................
บนั ทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
1.ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.ปญั หา อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื …………………………………………………………..ผู้สอน
(นางสาวชลธิชา โยวะ)
……………/………………………./…………….
ความคิดเห็น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื ………….……………………………….ครูพีเ่ ล้ียง
(นายสมศักด์ิ สุธรรมราช)
……………/………………………./…………….
ลงช่ือ……………………………………………..ผู้บรหิ าร
(นายสิทธิพร เถรวัลย์)
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นนาคำพทิ ยาสรรพ์
วันท่ี…………………………………….…………….
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2