รายงานการพิจารณาศกึ ษา
เร่อื ง
การจดั ทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปอ้ งกันและปราบปราม
การทุจรติ การจดั ซ้ือจัดจ้างภาครัฐ
ของคณะกรรมาธกิ ารศกึ ษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต
ประพฤตมิ ชิ อบและเสริมสร้างธรรมาภบิ าล
วุฒิสภา
ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร
ศกึ ษาตรวจสอบเรื่องการทจุ ริต
ประพฤติมชิ อบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล
สานักกรรมาธิการ ๒ สานกั งานเลขาธิการวุฒสิ ภา
(สำเนำ)
บนั ทึกขอ้ ความ
สว่ นราชการ คณะกรรมำธกิ ำรศึกษำตรวจสอบเรอ่ื งกำรทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบและเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล วุฒิสภำ
ท่ี สว (กมธ ๒) ๐๐๑๐/ วันที่ พฤศจิกำยน ๒๕๖๔
เร่อื ง รำยงำนกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรศกึ ษำตรวจสอบเร่อื งกำรทุจรติ ประพฤติมิชอบ
และเสรมิ สร้ำงธรรมำภิบำล วุฒิสภำ
กรำบเรยี น ประธำนวฒุ ิสภำ
ด้วยในครำวประชุมวุฒิสภำ ครั้งที่ ๑๗/๒๕๖๒ (สมัยสำมัญประจำปีคร้ังท่ีหนึ่ง) วันอังคำรท่ี
๑๐ กันยำยน ๒๕๖๒ ท่ีประชุมวุฒิสภำได้ลงมติต้ังคณะกรรมำธิกำรสำมัญประจำสภำตำมข้อบังคับ
กำรประชุมวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๗๘ (๒๓) ซึ่งคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเรื่องกำรทุจริต
ประพฤติมิชอบและเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล วุฒิสภำ เป็นคณะกรรมำธิกำรสำมัญประจำวุฒิสภำ
มีหน้ำที่และอำนำจพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติ กระทำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง
ศึกษำตรวจสอบเร่ืองกำรกระทำกำรทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงำนของรัฐหรือหน่วยงำนอื่น
กำรเสริมสร้ำงธรรมำภิบำลในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินตำมหลักกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองท่ีดี
และตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษำเร่ืองใด ๆ เกี่ยวกับกลไก กระบวนกำร
และมำตรกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตประพฤติมิชอบ พิจำรณำศึกษำ ติดตำม เสนอแนะ
และเร่งรัดกำรปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ที่อยู่ในหน้ำที่และอำนำจ และอื่น ๆ
ที่เกย่ี วข้อง ซงึ่ ปจั จุบนั กรรมำธกิ ำรคณะน้ี ประกอบดว้ ย
(๑) พลเรือเอก ศษิ ฐวชั ร วงษ์สุวรรณ ประธำนคณะกรรมำธกิ ำร
(๒) พลเอก สำเรงิ ศวิ ำดำรงค์ รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนที่หนึ่ง
(๓) นำยธำนี อ่อนละเอียด รองประธำนคณะกรรมำธกิ ำร คนท่สี อง
(๔) หมอ่ มหลวงสกลุ มำลำกุล รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนท่ีสำม
(๕) นำงสำวดำวน้อย สทุ ธินภิ ำพันธ์ รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนทส่ี ี่
(๖) นำยววิ รรธน์ แสงสรุ ยิ ะฉัตร เลขำนกุ ำรคณะกรรมำธิกำร
(๗) นำยประสิทธิ์ ปทมุ ำรักษ์ รองเลขำนกุ ำรคณะกรรมำธิกำร
(๘) นำงสำววิไลลกั ษณ์ อรนิ ทมะพงษ์ โฆษกคณะกรรมำธิกำร
(๙) พลเอก วิชิต ยำทพิ ย์ ประธำนที่ปรกึ ษำคณะกรรมำธิกำร
(๑๐) พลเอก เลิศฤทธ์ิ เวชสวรรค์ ทปี่ รกึ ษำคณะกรรมำธิกำร
(๑๑) พลอำกำศเอก ถำวร มณีพฤกษ์ทปี่ รึกษำคณะกรรมำธกิ ำร
(๑๒) พลตำรวจโท ตรีทศ รณฤทธิวชิ ยั ท่ปี รกึ ษำคณะกรรมำธิกำร
(๑๓) พลเอก พสิ ทิ ธ์ิ สทิ ธสิ ำร
(๑๔) นำงวรำรัตน์ อตแิ พทย์
(๑๕) นำยสมเดช นิลพนั ธ์ุ
(๑๖) พลตำรวจโท สมบัติ มลิ ินทจินดำ
(๑๗) นำยสญั ชยั จลุ มนต์
(๑๘) พลเอก อำชำไนย ศรสี ุข
(๑๙) นำยอมร นลิ เปรม
บัดนี้ ...
-๒-
บัดนี้ คณะกรรมำธิกำรได้ดำเนินกำรพิจำรณำศึกษำ เรื่อง กำรจัดทำระบบกำรมีส่วน
ร่วมของประชำชนในกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตกำรจัดซ้ือจัดจ้ำง เสรจ็ เรียบร้อยแลว้ จึงขอ
รำยงำนกำรพจิ ำรณำศกึ ษำเรอ่ื งดงั กล่ำวต่อวุฒสิ ภำตำมขอ้ บังคบั กำรประชมุ วุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๙๘
จึงกรำบเรียนมำเพื่อโปรดทรำบและนำเสนอรำยงำนของคณะกรรมำธิกำรต่อท่ีประชุม
วุฒสิ ภำต่อไป
(ลงชื่อ)
(ศษิ ฐวชั ร วงษส์ ุวรรณ)
ประธำนคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเรื่องกำรทุจรติ
ประพฤตมิ ิชอบและเสรมิ สร้ำงธรรมำภบิ ำล
วฒุ สิ ภำ
สำเนำถกู ตอ้ ง
(นำยอสุ ำห์ ชสู นิ ธ์)
ผชู้ ่วยเลขำนกุ ำรคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเร่ืองกำรทุจรติ
ประพฤติมิชอบและเสรมิ สร้ำงธรรมำภบิ ำล
กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรศกึ ษำตรวจสอบ นยั นำ พมิ พ์
เรอื่ งกำรทจุ ริต และเสรมิ สรำ้ งธรรมำภิบำล อสุ ำห์ / นัยนำ ทำน
สำนกั กรรมำธิกำร ๒ สำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๘๒ - ๓
ก
รายนามคณะกรรมาธกิ าร
พลเรือเอก ศษิ ฐวัชร วงษส์ วุ รรณ
ประธานคณะกรรมาธกิ าร
พลเอก สำเริง ศวิ ำดำรงค์ นำยธำนี ออ่ นละเอยี ด
รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนที่หน่งึ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทีส่ อง
หม่อมหลวงสกลุ มำลำกุล นำงสำวดำวนอ้ ย สุทธนิ ภิ ำพันธ์
รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทสี่ าม รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี ี่
นำยววิ รรธน์ แสงสรุ ิยะฉัตร นายประสทิ ธิ์ ปทมุ ารกั ษ์ นำงสำววไิ ลลักษณ์ อรนิ ทมะพงษ์
เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร
รองเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร โฆษกคณะกรรมาธกิ าร
ข
พลเอก วชิ ิต ยำทพิ ย์
ประธานทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร
พลอำกำศเอก ถำวร มณีพฤกษ์ พลเอก เลศิ ฤทธิ์ เวชสวรรค์
ที่ปรึกษาคณะกรรมาธกิ าร ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร
พลตำรวจโท ตรที ศ รณฤทธวิ ิชยั
ที่ปรึกษาคณะกรรมาธกิ าร
ค
พลเอก พิสทิ ธ์ิ สิทธิสำร นำงวรำรัตน์ อตแิ พทย์
กรรมำธกิ ำร กรรมำธกิ ำร
นำยสมเดช นลิ พนั ธุ์ พลตำรวจโท สมบตั ิ มลิ ินทจนิ ดำ
กรรมำธิกำร กรรมำธกิ ำร
นำยสญั ชัย จลุ มนต์ พลเอก อำชำไนย ศรีสุข
กรรมำธกิ ำร กรรมำธกิ ำร
ง
นายอมร นลิ เปรม
กรรมาธกิ าร
จ
รายงานการพจิ ารณา
เรอื่ ง การจดั ทาระบบการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ
การจดั ซอ้ื จดั จา้ งภาครัฐ
ของคณะกรรมาธิการศกึ ษาตรวจสอบเรอื่ งการทุจรติ ประพฤตมิ ชิ อบและเสรมิ สร้างธรรมาภบิ าล
วุฒสิ ภา
ดว้ ยในคราวประชมุ วฒุ สิ ภา คร้ังท่ี ๑๗/๒๕๖๒ (สมัยสามัญประจาปคี รัง้ ที่หนง่ึ ) วันองั คารท่ี ๑๐
กันยายน ๒๕๖๒ ท่ีประชุมวุฒิสภาได้ลงมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจาสภาตามข้อบังคับ
การประชมุ วุฒสิ ภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๗๘ (๒๓) ซึ่งคณะกรรมาธกิ ารศกึ ษาตรวจสอบเรอ่ื งการทุจรติ ประพฤติ
มิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา เป็นคณะกรรมาธิการสามัญประจาวฒุ ิสภา มีหน้าท่ีและอานาจ
พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง ศึกษาตรวจสอบเรื่องการกระทา
การทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานอ่ืน การเสริมสร้างธรรมาภิบาล
ในการบริหารราชการแผ่นดินตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และศึกษาเร่ืองใด ๆ เก่ียวกับกลไก กระบวนการและมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ประพฤติมิชอบ พิจารณาศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ท่อี ยใู่ นหน้าที่และอานาจ และอืน่ ๆ ท่เี กย่ี วข้อง
บัดนี้ คณะกรรมาธิการได้ดาเนินการพิจารณาศึกษา เร่ือง การจัดทาระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เสร็จเรียบร้อยแล้ว
จึงขอรายงานผลการพิจารณาศึกษาเรื่องดงั กล่าวตอ่ วฒุ สิ ภา ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
ขอ้ ๙๘ ดังนี้
๑. การดาเนินงาน
๑.๑ คณะกรรมาธกิ ารได้มีมตเิ ลือกตาแหน่งตา่ ง ๆ ดังน้ี
๑.๑.๑ พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สวุ รรณ เป็นประธานคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๒ พลเอก สำเริง ศวิ ำดำรงค์ เปน็ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่หี นง่ึ
๑.๑.๓ นำยธำนี ออ่ นละเอียด เปน็ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง
๑.๑.๔ หม่อมหลวงสกุล มำลำกลุ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนท่ีสาม
๑.๑.๕ นำงสำวดำวนอ้ ย สทุ ธนิ ภิ ำพนั ธ์ เปน็ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี ่ี
๑.๑.๖ นำยววิ รรธน์ แสงสรุ ยิ ะฉตั ร เปน็ เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร
๑.๑.๗ นำยประสทิ ธ์ิ ปทุมำรกั ษ์ เป็นรองเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร
๑.๑.๘ นำงสำววไิ ลลักษณ์ อรนิ ทมะพงษ์ เป็นโฆษกคณะกรรมาธกิ าร
๑.๑.๙ พลเอก วชิ ติ ยำทพิ ย์ เป็นประธานทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ
ฉ
๑.๑.๑๐ พลเอก เลศิ ฤทธ์ิ เวชสวรรค์ เป็นทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๑ พลอำกำศเอก ถำวร มณีพฤกษ์ เป็นทปี่ รึกษาคณะกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๒ พลตำรวจโท ตรีทศ รณฤทธิวชิ ัย เป็นทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๓ พลเอก พสิ ทิ ธิ์ สทิ ธสิ ำร เป็นกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๔ นำงวรำรตั น์ อตแิ พทย์ เป็นกรรมำธกิ ำร
๑.๑.๑๕ นำยสมเดช นิลพนั ธ์ุ เปน็ กรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๖ พลตำรวจโท สมบตั ิ มลิ นิ ทจนิ ดำ เป็นกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๗ นำยสญั ชัย จุลมนต์ เป็นกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๘ พลเอก อำชำไนย ศรสี ุข เป็นกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๙ นายอมร นิลเปรม เปน็ กรรมาธกิ าร
๒. วิธกี ารพจิ ารณาศึกษา
๒.๑ คณะกรรมาธิการได้จัดให้มกี ารประชุม จานวน ๖ คร้ัง
๒.๒ คณะกรรมาธิการได้ดาเนินการโดยการเชิญหน่วยงานมาให้ข้อมูลข้อเท็จจริง
และประกอบการพจิ ารณา ดังนี้
๒.๒.๑ กระทรวงมหาดไทย
กรมการปกครอง
(๑) นายวิฑูร ทับเปนไทย ตาแหนง่ หวั หน้ากลุ่มงานพสั ดุ
กองคลัง
(๒) นำงสำวศิรพิ ร เล่ห์อ่ิม ตำแหนง่ นกั วิชำกำรพัสดชุ ำนำญกำร
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถน่ิ
(๑) นางสาวบานช่นื วิจิตรกานตว์ งศ์ ตาแหน่ง ผู้อานวยการกองคลัง
(๒) นำยธนนติ ิ บญุ ปก ตำแหนง่ นกั จดั กำรงำนทั่วไปชำนำญกำร
๒.๒.๒ กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสงั คม
(๑) นางสมศรี หอกันยา ตาแหน่ง ผ้อู านวยการศูนยเ์ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร
(๒) นำยทรงวฒุ ิ โชตกิ ำญจนวทิ ย์ ตำแหน่ง นกั วิชำกำรคอมพิวเตอร์
ชำนำญกำรพเิ ศษ
(๓) นำยรังสฤษฎ์ นอ้ ยอบุ ล ตำแหน่ง นกั วิชำกำรคอมพวิ เตอร์
ชำนำญกำร
๒.๒.๓ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม
สานกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
- นางสาวจฑุ ามาส อดุ มสรยุทธ ตาแหนง่ ผชู้ ่วยอานวยการ สวทช.
ศูนยเ์ ทคโนโลยอี ิเล็กทรอนกิ ส์และคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC)
- นายวสันต์ ภทั รอธคิ ม ตาแหน่ง นกั วิจัยอาวโุ ส
ช
๒.๒.๔ กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สานกั งานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) (สพร.)
- นายจิรชาติ ทิพย์พงษจ์ ติ รา ตาแหน่ง นักกลยทุ ธอาวโุ ส
๒.๒.๕ สภาสถาปนิก
- พลอากาศตรีหม่อมหลวงประกติ ติ เกษมสันต์ ตาแหน่ง นายกสภาสถาปนกิ
๒.๒.๖ สภาวศิ วกร
- นางสาวพัชญา บุญกรองแกว้ ตาแหน่ง ผชู้ ่วยหวั หนา้ สานักกฎหมาย
และจรรยาบรรณ
๒.๒.๗ สมาคมอตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ งไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์
(๑) นายกฤษดา จันทรจ์ ารัสแดง ตาแหน่ง อปุ นายกสมาคม
(๒) นางสาวผกาวดี สนุ ทรธรรม ตาแหน่ง ผจู้ ัดการสมาคม
(๓) นายศิรวจั น์ โอฬารธนสนิ ตาแหนง่ กรรมการสมาคม
๒.๒.๘ กรมโยธาธิการและผังเมือง
(๑) นางภัททิรา สุริวรรณ ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการกองคลงั
(๒) นางสาวภาวณิ ี จดู คง ตาแหนง่ นกั วชิ าการพัสดชุ านาญการพเิ ศษ
(๓) นางสาวฐิตกิ าญจน์ ทินอุทยั ตาแหนง่ นักวชิ าการพัสดปุ ฏิบัติการ
๒.๓ อนกุ รรมาธิการได้มมี ตเิ ดินทางไปศกึ ษาดูงาน จานวน ๒ ครั้ง ดงั นี้
๒.๓.๑ จงั หวัดเชียงราย เมอื่ วนั พฤหัสบดที ่ี ๑ - วันเสาร์ท่ี ๓ เมษายน ๒๕๖๔
๒.๓.๒ จังหวดั ระยอง เมอ่ื วนั อังคารท่ี ๑๔ - วันพฤหสั บดีที่ ๑๖ กนั ยายน ๒๕๖๔
๓. ผลการพิจารณาศึกษา
คณะกรรมาธิการขอรายงานผลการพิจารณาศึกษา เรื่อง การจัดทาระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยคณะกรรมาธิการ
ซึ่งคณะกรรมาธิการได้พิจารณารายงานด้วยความละเอียดรอบคอบแล้ว และได้มีมติให้ความเห็นชอบ
กับรายงานดังกลา่ ว
จากการพิจารณาศึกษาเร่ืองดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการจึงขอเสนอรายงาน
การพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ โดยมีรายละเอียดตามรายงานท้ายนี้ เพ่ือให้วุฒิสภาได้พิจารณา
หากวุฒิสภาให้ความเห็นชอบด้วยกับผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการขอให้โปรดแจ้งไปยัง
คณะรฐั มนตรี เพื่อพจิ ารณาและดาเนินการตามแต่จะเหน็ สมควรต่อไป ท้งั น้ี เพอ่ื ประโยชนข์ องประเทศชาติ
และประชาชนสบื ไป
(นายววิ รรธน์ แสงสรุ ิยะฉตั ร)
เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารศกึ ษาตรวจสอบเรือ่ งการทุจรติ
ประพฤตมิ ิชอบและเสริมสรา้ งธรรมาภบิ าล
วฒุ ิสภา
ซ
สารบัญ
หนา้
คณะกรรมาธิการ ก
คานา จ
สารบัญ ซ
บทที่ ๑ บทนา................................................................................................................................... ๑
๑.๑ ความเป็นมาหรอื สภาพปัญหา ..................................................................................... ๑
๑.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา ......................................................................................... ๓
๑.๓ ขอบเขตของการศกึ ษา ................................................................................................ ๓
๑.๔ วธิ ีการดาเนินการศกึ ษา ......................................................................................... ๔
๑.๕ ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั .......................................................................................... ๔
บทที่ ๒ กฎหมาย ยุทธศาสตรช์ าติ และแผนปฏิรปู ประเทศและนโยบายรัฐบาลทเี่ กีย่ วข้อง
กับการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต ..................................................... ๕
๒.๑ กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง …................................................................................................. ๕
๒.๑.๑ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ……….................... ๗
๒.๑.๒ พระราชบญั ญัติ และทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ................................................................. ๘
๑) พระราชบัญญัติการจดั ซื้อจดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ... ๘
๒) พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔
แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ...................................................................... ๙
๓) พระราชกฤษฎีกาว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธกี ารบรหิ ารกจิ การ
บ้านเมืองท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ................................................................... ๑๐
๔) พระราชบัญญตั กิ ารบรหิ ารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบ
ดจิ ิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ .............................................................................. ๑๓
๕) พระราชบัญญตั ขิ อ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ...................... ๑๔
๖) พระราชบัญญัติคมุ้ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คล พ.ศ. ๒๕๖๒ ........................ ๑๖
๒.๒ ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ .......... ๑๘
๒.๒.๑ เป้าหมาย ………....................................................................................……. ๑๙
๒.๒.๒ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ....…….....…...........................................................……. ๑๙
ค
สารบัญ
หนา้
๒.๓ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การตอ่ ต้านการทุจริตและประพฤติมชิ อบ
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) (แผนยอ่ ยการป้องกนั การทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ) ................................. ๒๐
๒.๔ ยุทธศาสตร์ (เฉพาะท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการต่อต้านการทจุ ริต)…. ๒๒
๒.๕ แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ...............………………………………………………. ๒๒
๒.๕.๑ ด้านการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบ ...................... ๒๒
๒.๕.๒ ดา้ นการบรหิ ารราชการแผ่นดิน ..................................................................... ๒๕
๒.๖ นโยบายของรัฐบาล .............................................………………………………………………. ๒๖
บทที่ ๓ แนวคดิ ทฤษฎี และขอ้ มลู ที่เก่ียวข้องกบั การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการต่อตา้ น
การทุจรติ และรปู แบบ QR Code ................................................................................ ๒๘
๓.๑ แนวคิดการมสี ่วนรวมของประชาชน …....................................................................... ๒๘
๓.๑.๑ ความหมายการมีสว่ นรวมของประชาชน ............................................……. ๒๙
๓.๑.๒ รูปแบบและลักษณะการมสี ่วนรวมของประชาชน ..............................……. ๓๐
๓.๒ แนวคิดการบรหิ ารราชการแบบมสี ว่ นร่วม (Participatory Governance) ............... ๓๖
๓.๒.๑ ความหมายการบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม ................................…...…. ๓๒
๓.๒.๒ ประโยชนข์ องการบรหิ ารราชการแบบมสี ่วนร่วม ..................................…. ๓๓
๓.๓ แนวคิดหลกั ธรรมาภิบาล (GoodGovernance) ........................................................ ๓๔
๓.๓.๑ ความหมายของธรรมาภบิ าล...............................................................……. ๓๔
๓.๓.๒ หลกั การพ้ืนฐานของการสร้างธรรมาภิบาลในองคก์ ร .........................……. ๓๕
๓.๔ การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity
and Transparency Assessment : ITA) .................................................................................... ๓๖
๓.๕ ขอ้ มูลเบอ้ื งตน้ เก่ียวกบั ดชั นกี ารรบั รู้การทุจรติ (Corruption Perceptions Index : CPI) .. ๓๙
๓.๖ การเขา้ ถึงเทคโนโลยีของคนไทย .............................................................................. ๔๖
๓.๗ นโยบายแผนพัฒนารฐั บาลดจิ ทิ ลั ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ .............. ๔๙
๓.๘ การพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ลั ในตา่ งประเทศ .................................................................... ๕๑
๓.๙ ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกับรปู แบบของ QR Code ………………………………………………….. ๕๓
ง
สารบญั
หนา้
บทท่ี ๔ ผลการพิจารณาศึกษา ........................................................................................................ ๕๘
๔.๑ การรบั ความเหน็ จากหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง .................................................................. ๕๙
๔.๒ การเดินทางลงพ้นื ท่ี เพื่อความเหน็ จากหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง ...................................... ๗๒
๔.๓ การวิเคราะห์ผลรบั ความเหน็ จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง .............................................. ๘๗
บทท่ี ๕ สรุปผลการพจิ ารณาศึกษา ข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะ …………………………………..…....…… ๙๔
๕.๑ สรุปผลการพิจารณาศึกษา ......................................................................................... ๙๔
๕.๒ ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................ ๙๖
บรรณานกุ รม ....................................................................................................................................
ภาคผนวก .........................................................................................................................................
บทที่ ๑
บทนำ
๑.๑ ควำมเป็นมำและสภำพปัญหำ
ด้วยสถานการณ์การทุจริต (Corruption) เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ
ของภาครัฐ เป็นปัญหาสาคัญระดับประเทศ เนื่องจากเป็นการทุจริตที่เก่ียวข้องกับการใช้จ่ายเงิน
งบประมาณแผ่นดินเป็นจานวนมาก ซึ่งเมื่อพิจารณาข้อมูลงบประมาณเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้างของ
หน่วยงานภาครัฐในระหว่าง ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ พบว่า มีจานวนเงินงบประมาณการจัดซ้ือจัดจ้าง
และมูลค่าโครงการรวมที่มีมูลค่าสูงข้ึนทุกปี ส่วนในด้านจานวนโครงการก็เพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน กล่าวคือ
เมื่อเปรียบเทียบงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ท่ีมีจานวน
งบประมาณจัดซ้ือจัดจ้าง ๑,๑๒๙,๒๘๓.๐๑ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๑๑๙,๒๓๒.๓๐ ล้านบาท
และจานวนโครงการรวม ๓,๔๗๐,๕๕๑ โครงการ กับปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ท่มี ีจานวนงบประมาณจดั ซอ้ื จัดจา้ ง
๑,๒๑๗,๕๖๘.๔๐ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๐๙๖,๕๖๙.๕๕ ล้านบาท และจานวนโครงการรวม
๔,๔๐๐,๗๑๗ โครงการ จะเห็นได้ว่า มีแนวโน้มงบประมาณการจัดซ้ือจัดจ้างท่ีคอ่ นข้างสูง ขณะเดยี วกัน
จานวนโครงการก็จะย่ิงทวีเพ่ิมมากขึ้น๑ และเม่ือพิจารณาในรายละเอียดเก่ียวกับมูลค่าโครงการ
ซึ่งจาแนกตามประเภทโครงการ พบว่า มูลค่าโครงการประเภทจ้างก่อสร้างเป็นโครงการที่มีมูลค่า
งบประมาณสูงที่สุดในทุกปี ประกอบกับเมื่อพิจารณาข้อมูลดัชนีช้ีวัดความโกงหรือดัชนีช้ีวัดภาพลักษณ์
คอร์รัปชัน หรือ (Corruption Perceptions Index : CPI) ซึ่งจัดทาโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใส
นานาชาติ (Transparency International : TI) ซ่ึงเปน็ องคก์ รระหวา่ งประเทศทไี่ ดก้ อ่ ตงั้ ขึน้ เพอ่ื รณรงค์
แก้ไขปัญหาการทุจริตหรือคอร์รัปชัน โดยเมื่อวันท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔ องค์กรเพื่อความโปร่งใส
นานาชาติหรือ TI ได้แถลงรายงาน ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันโลก ประจาปี ๒๕๖๓ จาก ๑๘๐
ประเทศท่ัวโลก พบว่า ประเทศไทย มีคะแนนจานวน ๓๖ คะแนน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) อยู่ใน
ลาดับที่ ๑๐๔ จากประเทศที่เข้าร่วมประเมินทั้งหมด ๑๘๐ ประเทศ และอยู่ในอันดับที่ ๕ ของกลุ่ม
ประเทศอาเซียน ซ่ึงสะท้อนความหมายว่า การทุจริตหรือคอร์รัปชันในประเทศไทยยังคงมีอยู่อย่าง
๑ สืบคน้ จาก https://govspending.data.go.th/dashboard/๑ .เม่ือวันท่ี ๒๔ ตลุ าคม ๒๕๖๔.
๒
ต่อเน่ือง๒ และมีผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนในการใช้ประโยชน์จากโครงการที่ภาครัฐดาเนินการ
จัดซ้ือจัดจ้าง อีกท้ังยังส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ประเทศเพราะเป็นการทาลายความน่าเช่ือถือของ
ประเทศในสายตาของนักลงทุนต่างชาติอีกดว้ ย ซ่ึงจะเป็นอปุ สรรคต่อการพฒั นาความเจรญิ ก้าวหน้าของ
ประเทศ
ขณะท่ีในปัจจุบันการแก้ปัญหาการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครั ฐจะใช้วิธีการ
ตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตโดยการต้ังคณะบุคคลขึ้นมาตรวจสอบ หรือการให้มี
การร้องเรียนผา่ นช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ หรอื หนว่ ยงานตรวจสอบตา่ ง ๆ นั้น
วิธีการตรวจสอบโดยการตั้งคณะบุคคลต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต
หรือการให้มีการร้องเรียนแต่เพียงอย่างเดียวนั้น อาจจะไม่เพียงพอต่อการสกัดกั้นหรือลดการทุจริต
ในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เป็นรูปธรรม
อย่างแท้จริง
ดังน้ัน การสร้างเครื่องมือที่เป็นระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม
การทุจริตในการจดั ซ้ือจัดจ้างของภาครัฐ โดยการนาเทคโนโลยีรปู แบบ QR Code มาใช้งานในการเป็น
ตัวสื่อกลางในการส่งข้อมูลเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการติดตามตรวจสอบ ป้องกันและปราบปราม
การทุจริตจึงเป็นส่ิงสาคัญท่ีส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบและป้องกันการทุจริต
ซ่ึงเทคโนโลยีรูปแบบคิวอาร์โค้ด (QR code) ย่อมาจาก Quick Response Code ท่ีสามารถใช้
สมาร์ทโฟนเพื่ออ่านข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อความ เบอร์โทรศัพท์ URL เพ่ือเช่ือมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็น
ฐานข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่เป็นการเปิดเผย โปร่งใส และ
กลไกในการป้องกันปราบปรามการทุจริตในทุกข้ันตอน ตลอดจนมีกลไกในการป้องกันและรักษา
ความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้กับประชาชนท่ีแจ้งเบาะแสหรือให้ข้อมูลการทุจริตในการจัดซ้ือ
จัดจ้างโครงการตา่ ง ๆ ของภาครัฐ โดยใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถงึ ข้อมูลการจัดซ้ือจัดจ้างโครงการตา่ ง ๆ
ของภาครัฐไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว ปลอดภยั และยังเป็นการเปิดโอกาสใหภ้ าคประชาชนและผ้ทู ่ีเก่ียวข้อง
ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจัดซ้ือ
จัดจ้างของภาครัฐอันจะทาให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ประเทศและความผาสกุ ของประชาชน เกิดความคุ้มค่าสูงสุด
ของเงินงบประมาณแผ่นดิน ประชาชนได้รับบริการจากการลงทุนโครงการต่าง ๆ ภาครัฐท่ีมีคุณภาพ
ซึ่งสอดรับกับแผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา
๒สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (๒๕๖๔). คะแนนดัชนีการรับรู้การ
ทจุ ริต (CPI). สบื คน้ เม่อื ๒๔ ตลุ าคม ๒๕๖๔, จาก
https://www.nacc.go.th/files/article/attachments/26809121fcc59b165111ad494e9b86f2f5b8f4f.pdf?fbclid=IwAR2
5yhFi4tJQ7gE_9zFIC7smUoNJPfa-lPQbRmjNaNlUbFTmONyvBSzqFSU
๓
ด้วยเหตผุ ลดงั กล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการศกึ ษา ตรวจสอบเรอ่ื งการทุจริตประพฤติมชิ อบ
และเสรมิ สร้างธรรมาภิบาล จึงเห็นควรดาเนนิ การศกึ ษาเพ่อื หาวธิ ีการจดั ทาระบบการตดิ ตามตรวจสอบ
และป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและ
ตรวจสอบการบริหารการจัดซื้อจัดจา้ งโครงการตา่ ง ๆ ของภาครัฐไดอ้ ย่างสะดวกและรวดเรว็ ตามกรอบ
หน้าท่ีและอานาจของคณะกรรมาธิการฯ ในรูปแบบการนาเทคโนโลยีรูปแบบ QR Code มาใช้ให้เป็น
รูปธรรมและมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นเครื่องมือให้แก่ประชาชนสาหรับใช้ในการติดตาม ตรวจสอบ
และปอ้ งกันปราบปรามการทจุ ริตในการจัดซอื้ จัดจา้ งของภาครัฐให้มีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลยง่ิ ข้ึน
ตอ่ ไป
๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ของกำรศึกษำ
๑.๒.๑ เพื่อดาเนินการศึกษาเร่ืองใด ๆ ตามหน้าท่ีและอานาจของคณะกรรมาธิการ
ศึกษาตรวจสอบเรอื่ งการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบและเสริมสร้างธรรมาภบิ าล ตามขอ้ ๗๘ วรรคสอง (๒๓)
ของขอ้ บังคับการประชุมวฒุ ิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
๑.๒.๑ เพอ่ื เปน็ การเสรมิ สรา้ งการมสี ่วนรว่ มของภาคประชาชนในการตดิ ตาม ตรวจสอบ
และป้องกันปราบปรามการทจุ รติ ตามแผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต
และยุทธศาสตรช์ าติ
๑.๒.๓. เพ่ือสร้างระบบการตดิ ตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจดั ซ้ือ
จัดจ้างของภาครัฐในการนาเทคโนโลยีรูปแบบ QR Code เช่ือมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูล
เก่ียวกับการดาเนินการบริหารการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐในทุกขั้นตอน
เพื่อท่จี ะให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ ไดโ้ ดยสะดวก รวดเร็ว และเป็นรูปธรรม
๑.๓ ขอบเขตของกำรศึกษำ
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการจัดทาระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม
การทุจรติ คอร์รัปช่ันในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในการนาเทคโนโลยีรูปแบบ QR Code เชื่อมโยงไป
ยงั เว็บไซต์ซงึ่ เป็นฐานข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการบริหารการจัดซอื้ จัดจ้างของภาครัฐท่ีเป็นการเปิดเผย
โปร่งใส และกลไกในการป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในทุกขั้นตอน รวมทั้งมีกลไกในการ
ป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้กับประชาชน ท่ีแจ้งเบาะแสหรือ ให้ข้อมู ล
การทุจรติ คอรร์ ัปชันในการจัดซื้อจดั จา้ งโครงการตา่ ง ๆ ของภาครัฐ
๑.๔ วิธกี ำรดำเนนิ กำรศกึ ษำ
ดาเนินการพจิ ารณาศึกษาโดยคณะกรรมาธกิ ารศกึ ษาตรวจสอบเรอ่ื งการทุจรติ ประพฤติ
มิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล ตามหน้าท่ีและอานาจ ตามข้อ ๗๘ วรรคสอง (๒๓) ของข้อบังคับ
การประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยเชิญผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมเพื่อให้
๔
ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะกรรมาธิการ รวมทั้งการศึกษาจากเอกสารข้อมูล
ด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้อง
นอกจากน้ี ยังมีการพิจารณาศึกษากฎหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ
ที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต และนโยบายของรัฐบาล ตลอดจน
แนวคิด ทีม่ า สภาพปัญหาและผลกระทบจากสถานการณ์การทุจรติ คอร์รัปชันเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้าง
ในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ รวมทั้งเอกสารงานวิจัย บทความ กฎหมาย บทความทางวิชาการ
และบทวิเคราะห์เกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชันการจัดซ้ือจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ รวมท้ัง
ระเบียบ หลักเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้องต่าง ๆ เพ่ือนาข้อมูลท่ีได้มาศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพ่ือหา
แนวทางในการจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายอันนาไปสู่การแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันเก่ียวกับ
การจัดซอ้ื จัดจ้างในโครงการตา่ ง ๆ ของภาครัฐท่เี หมาะสมกบั สงั คมไทยและเสรมิ สร้างการมสี ่วนร่วมของ
ภาคประชาชนในการติดตาม ตรวจสอบการทุจรติ ของภาครัฐเพอ่ื ให้หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง เพอื่ ขับเคลอื่ น
และดาเนินการให้เกิดผลอยา่ งเป็นรูปธรรมตอ่ ไป
๑.๕ ประโยชนท์ ่ีคำดวำ่ จะไดร้ บั
๑.๕.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต
คอร์รัปช่ัน และภาครัฐมีการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างในการโครงการต่าง ๆ โดยเปิดเผยข้อมูล
อย่างโปร่งใส
๑.๕.๒ มีระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน
ในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐโดยการนาเทคโนโลยีรูปแบบ QR Code เช่ือมโยงไปยังเว็บไซต์ซ่ึงเป็น
ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในโครงการต่าง ๆ ในทุกข้ันตอน
เพ่อื ให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้ขอ้ มลู โดยสะดวก รวดเร็ว และเป็นรูปธรรม
บทท่ี ๒
กฎหมาย ยทุ ธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ
และนโยบายรัฐบาลทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต
๒.๑ กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๒.๑.๑ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายแม่บทหลัก เพ่ือใช้เป็นหลัก
ในการปกครอง และเป็นแนวทางในการจัดทากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอ่ืน ซ่ึงในเร่ือง
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริตน้ัน ถือเป็นกลไกหนึ่งที่รัฐธรรมนูญกาหนดไว้
โดยปรากฏอยใู่ นบทบญั ญัตติ า่ ง ๆ ของรัฐธรรมนูญ ดังนี้
คาปรารภของรัฐธรรมนูญ
“...การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด
เด็ดขาด เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ปราศจากคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลเข้ามามีอานาจ
ในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อานาจตามอาเภอใจ และการกาหนดมาตรการป้องกันและบริหาร
จัดการวิกฤติการณ์ของประเทศให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน...การจะดาเนินการในเรื่องเหล่านี้ให้ลุล่วงไปได้
จาต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของรัฐตามแนวทาง
ประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครอง
ทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์และลกั ษณะสังคมไทย หลกั ความสุจริต หลักสทิ ธมิ นุษยชน และหลักธรรมาภิบาล
อนั จะทาให้สามารถขับเคล่ือนประเทศให้พัฒนาไปข้างหนา้ ได้อย่างเป็นข้ันตอนจนเกิดความมัน่ คง มงั่ คั่ง
และย่ังยืน ท้ังในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข”
มาตรา ๕๐ (๑๐) บคุ คลมหี นา้ ทไ่ี มร่ ่วมมอื หรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมชิ อบทุกรูปแบบ
รัฐธรรมนูญแห่งราชการอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติเพ่ิมหน้าที่ของ
ปวงชนชาวไทยหลายประการ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรา ๓๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซ่ึงกาหนดให้ปวงชนชาวไทยมีหน้าที่ต่อประเทศชาติประการต่าง ๆ
โดยการเพมิ่ หน้าท่ตี ามอนมุ าตรา (๑๐) กาหนดหลกั การเก่ียวกับหน้าทีป่ วงชนชาวไทยในเรื่องการปอ้ งกัน
และขจดั การทุจริตและประพฤตมิ ิชอบให้มีความชัดเจนยงิ่ ขนึ้ เพื่อให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการต่อต้าน
การทุจริตทกุ รูปแบบ
๖
มาตรา ๖๓ รฐั ตอ้ งส่งเสริม สนบั สนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถงึ อันตรายทีเ่ กิดจาก
การทุจริตและประพฤติมิชอบท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมี
ประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมท้ังกลไกใน
การส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันเพ่ือมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส
โดยไดร้ ับความค้มุ ครองจากรัฐตามทก่ี ฎหมายบญั ญัติ
มาตราน้ีเป็นบทบัญญัติใหม่ซึ่งมีความสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ (มาตรา ๓๕ (๓)) เพื่อให้การขจัดการทุจริตเกิดผลอย่างจริงจัง
โดยต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนและประชาชนในการร่วมมือกัน แต่การท่ี
ประชาชนจะต่นื ตัว เพื่อให้ความรว่ มมือนน้ั รฐั จาเป็นต้องสง่ เสริม สนบั สนุน และให้ความรู้แกป่ ระชาชน
กอ่ นเป็นเบ้ืองต้น เมื่อประชาชนตระหนักถงึ ภัยอันตรายอันเกิดจากการทุจริตแล้ว จึงจะให้ความร่วมมือ
เพ่ือขจัดหรือต่อต้านการทุจริตอย่างได้ผล ในขณะเดียวกันก็ต้องมีหลักประกันว่าประชาชนที่ให้ความ
รว่ มมอื แลว้ จะได้รบั ความคุม้ ครองจากรฐั ไม่ใหถ้ ูกรงั แกหรือกลั่นแกลง้ ได้
มาตรา ๗๘ รฐั พึงสง่ เสริมให้ประชาชนและชุมชนมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งเก่ยี วกับ
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนา
ประเทศด้านต่าง ๆ การจัดทาบริการสาธารณะทั้งในระดับชาติและระดับท้องถ่ิน การตรวจสอบการใช้
อานาจรัฐ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดทั้งการตัดสินใจทางการเมือง
และการอ่ืนใดบรรดาท่ีอาจมผี ลกระทบต่อประชาชนหรอื ชมุ ชน
บทบัญญัติแห่งมาตรานี้เป็นบทบัญญัติใหม่ เป็นบทบัญญัติท่ีกาหนดให้รัฐส่งเสริม
ให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
โดยกาหนดเป็นนโยบายสาคัญให้รัฐพึงมีแนวนโยบายในการส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้
ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. การจัดทาบริการสาธารณะท้ังในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ๒. การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
๓. การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๔. การตัดสินใจทางการเมือง และ ๕. การอ่ืนใดบรรดาที่
อาจมผี ลกระทบต่อประชาชนหรือชุมชน
มาตรา ๒๕๘ ใหด้ าเนินการปฏริ ปู ประเทศอยา่ งนอ้ ยในดา้ นตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ผล ดงั ต่อไปนี้
ฯลฯ ฯลฯ
ข. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
ฯลฯ ฯลฯ
๗
(๕) ให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย
ตรวจสอบได้ และมีกลไกในการป้องกันการทุจรติ ทกุ ข้นั ตอน
ฯลฯ ฯลฯ
ค. ดา้ นกฎหมาย
(๑) มีกลไกให้ดาเนนิ การปรบั ปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรอื ขอ้ บังคับต่าง ๆ ทใ่ี ชบ้ งั คับ
อยูก่ ่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญน้ีให้สอดคล้องกับหลกั การตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับ
หลักสากล โดยให้มีการใช้ระบบอนุญาตและระบบการดาเนินการโดยคณะกรรมการเพียงเท่าที่จาเป็น
เพอื่ ให้การทางานเกิดความคลอ่ งตัว โดยมีผูร้ ับผดิ ชอบทชี่ ดั เจน และไม่สรา้ งภาระแกป่ ระชาชนเกินความ
จาเปน็ เพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ และปอ้ งกันการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
ฯลฯ ฯลฯ
กลา่ วโดยสรปุ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ถอื เปน็ กฎหมายแมบ่ ทที่วางหลกั การ
เกี่ยวกับเร่ืองต่าง ๆ ในการปกครองประเทศ ซึ่งในเร่ืองการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้าน
การทุจริตนั้น ในรัฐธรรมนญู ฉบับนี้ บัญญัติไว้ทัง้ ในคาปรารภของรฐั ธรรมนญู ท่ีกาหนดให้มีการวางกลไก
ปอ้ งกัน ตรวจสอบ และขจดั การทุจรติ และประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด ซงึ่ ต้องอาศยั ความร่วมมือ
ระหว่างประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานท้ังหลายของรัฐตามแนวทางประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์
ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครอง ที่เหมาะสมกับสถานการณ์
และลักษณะสังคมไทย หลักความสุจริต หลักสิทธิมนุษยชน และหลักธรรมาภิบาล โดยรัฐธรรมนูญยัง
กาหนดให้ประชาชนมีหน้าท่ีไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ขณะท่ี
รัฐเองก็มีหน้าท่ีรัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจากการทุจริต
และประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพ
เพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมท้ังกลไกในการส่งเสริมให้
ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือ ชี้เบาะแส โดยได้รับ
ความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ และรัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้
ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบด้วย นอกจากน้ี ในส่วนของ
บทบัญญัติเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศยังมีเน้นให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศในด้านการบริหารราชการ
แผ่นดินโดยเฉพาะการให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย
ตรวจสอบได้ และมีกลไกในการป้องกันการทุจริตทุกข้ันตอน รวมถึงด้านกฎหมายท่ีจะต้องมีกลไก
ให้ดาเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับอยู่ก่อนวันประกาศใช้
รัฐธรรมนูญน้ีให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยให้มี
การป้องกันการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบดว้ ย
๘
๒.๑.๒ พระราชบญั ญตั ิ และทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
๑) พระราชบญั ญตั ิการจัดซอื้ จดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐
สาหรับพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ นี้
ได้ตราข้ึนตามความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญที่ต้องการให้มีการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
และเพ่อื ให้การดาเนนิ การจัดซ้ือจัดจา้ งและการบริหารพสั ดุภาครัฐมกี รอบการปฏบิ ัตงิ านทีเ่ ปน็ มาตรฐาน
เดียวกัน โดยการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานกลาง เพื่อให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่งนาไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ
โดยมุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนให้มากที่สุด เพ่ือให้เกิดความโปร่งใสและเปิดโอกาสให้มี
การแข่งขนั อย่างเปน็ ธรรม มกี ารดาเนนิ การจดั ซือ้ จดั จ้างทคี่ านึงถึงวัตถุประสงค์ของการใชง้ านเปน็ สาคญั
ซ่ึงจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน มีการวางแผนการดาเนินงานและมีการประเมินผล
การปฏิบตั ิงานซ่ึงจะทาใหก้ ารจดั ซื้อจดั จ้างมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล รวมทงั้ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลัก
ธรรมาภิบาล มีการส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ
ซ่ึงเป็นมาตรการหน่ึงเพ่ือป้องกันปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ
ประกอบกับมาตรการอื่น ๆ เช่น การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะทาให้เกิด
ความโปร่งใสในการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ อันจะเป็นการสร้างความเชื่อม่ันให้กับสาธารณชน
และก่อให้เกิดผลดีกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้เป็นท่ียอมรับโดยท่ัวไป โดยมีบทบัญญัติที่เก่ียวข้องกับ
การมีสว่ นร่วมของภาคประชาชนในการป้องกนั การทุจรติ ดงั นี้
มาตรา ๑๖ เพ่ือให้เกิดความโปรง่ ใสในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ให้หน่วยงานของรัฐจัด
ให้ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น มี ส่ ว น ร่ ว ม ใน ก า ร สั ง เก ต ก า ร ณ์ ข้ั น ต อ น ห นึ่ ง ข้ั น ต อ น ใด ข อ ง ก า ร จั ด ซ้ื อ จั ด จ้ า ง
ของหน่วยงานของรฐั ตามที่กาหนดไว้ในหมวดนี้
มาตรา ๑๗ ในการดาเนินการตามมาตรา ๑๖ คณะกรรมการความร่วมมือป้องกัน
การทุจริต อาจกาหนดให้มีการจัดทาข้อตกลงคุณธรรมตามโครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
ในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐตามมาตรา ๑๘ ก็ได้ ท้ังน้ี การจัดซ้ือจัดจ้างท่ีต้องจัดทาข้อตกลงคุณธรรม
ดังกล่าวให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต ประกาศกาหนดในราชกิจจา
นุเบกษา โดยอย่างน้อยให้คานึงถึงวงเงินของการจัดซ้ือจัดจ้าง มาตรการป้องกันการทุจริต การจัดซื้อ
จัดจ้างท่ีมีความเสี่ยงต่อการทุจริต และความคล่องตัวในการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
เพ่อื ประกอบการพิจารณาด้วย
คณะกรรมการความรว่ มมอื ปอ้ งกนั การทจุ รติ อาจกาหนดวิธกี ารนอกเหนอื จากวรรคหนง่ึ
เพื่ออานวยความสะดวกให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐก็ได้ ทั้งนี้ ตามท่ี
คณะกรรมการความร่วมมือป้องกนั การทุจริต ประกาศกาหนดในราชกจิ จานุเบกษา
๙
มาตรา ๑๘ ข้อตกลงคุณธรรมตามโครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
ในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ให้จัดทาเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการ
และผูป้ ระกอบการที่จะเขา้ ย่ืนข้อเสนอ โดยฝา่ ยหนว่ ยงานของรัฐเจ้าของโครงการและฝา่ ยผู้ประกอบการ
ที่จะเข้ายื่นข้อเสนอต้องตกลงกันว่าจะไม่กระทาการทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้าง และให้มีผู้สังเกตการณ์
ซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญ หรือประสบการณ์ ท่ีจาเป็นต่อโครงการจัดซ้ือจัดจ้างน้ัน ๆ เข้าร่วม
สังเกตการณ์ในการจัดซ้ือจัดจ้างต้ังแต่ขั้นตอนการจัดทาร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดของพัสดุ
ท่ีจะทาการจัดซ้ือจัดจ้างและร่างเอกสารเชิญชวนจนถึงข้ันตอนส้ินสุดโครงการ โดยผู้สังเกตการณ์ต้องมี
ความเป็นกลางและไม่เปน็ ผู้มีส่วนไดเ้ สยี ในโครงการการจัดซื้อจัดจ้างนั้น แลว้ ให้รายงานความเห็นพร้อม
ขอ้ เสนอแนะต่อคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทจุ ริตทราบดว้ ย
แนวทางและวิธีการในการดาเนินงานโครงการ แบบของข้อตกลงคุณธรรม
การคัดเลือกผู้สังเกตการณ์ และการจัดทารายงานตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปต ามที่คณะกรรมการ
ความร่วมมือป้องกันการทจุ ริต ประกาศกาหนดในราชกจิ จานเุ บกษา
มาตรา ๑๙ ผู้ประกอบการที่อยู่ในประเภทหรือมีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างตามท่ี
คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริตประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา หากประสงค์จะเข้า
ยื่นข้อเสนอกับหน่วยงานของรัฐในการจัดซ้ือจัดจ้างตามพระราชบัญญัติน้ี ต้องจัดให้มีนโยบาย
ในการป้องกันการทุจริตและมีแนวทางปอ้ งกันการทจุ รติ ในการจดั ซือ้ จดั จา้ งที่เหมาะสม
มาตรฐานขั้นต่าของนโยบายและแนวทางป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง
ที่ผู้ประกอบการตอ้ งจัดให้มีตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการความร่วมมอื ป้องกันการทุจริต
ประกาศกาหนดในราชกจิ จานุเบกษา
๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ .ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ตราขึ้นเพ่ือปรับปรงุ ระบบ
บริหารราชการเพ่ือใหส้ ามารถปฏิบตั งิ านตอบสนองตอ่ การพัฒนาประเทศและการใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้นโดยกาหนดให้การบริหารราชการแนวทางใหม่ ต้องมีการกาหนดนโยบาย
เป้าหมาย และแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละระดับ
ไดอ้ ยา่ งชัดเจน มีกรอบการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองท่ีดเี ปน็ แนวทางในการกากบั การกาหนดนโยบายและ
การปฏิบัติราชการ และเพื่อให้กระทรวงสามารถจัดการบริหารงานให้เป็นไปตาม เป้าหมายได้
จึงกาหนดให้มีรูปแบบการบริหารใหม่ โดยกระทรวงสามารถแยกส่วนราชการจัดตั้งเป็นหน่วยงานตาม
ภาระหน้าท่ี เพ่ือให้เกดิ ความคล่องตวั และสอดคล้องกบั เป้าหมายของงานทีจ่ ะต้องปฏิบัติ และกาหนดให้
มีกลุ่มภารกิจของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มีงานสัมพันธ์กัน เพ่ือท่ีจะสามารถกาหนดเป้าหมายการทางาน
๑๐
ร่วมกันได้ และมีผู้รับผิดชอบกากับการบริหารงานของกลุ่มภารกิจนั้นโดยตรงเพ่ือให้งานเป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว รวมทั้งให้มีการประสานการปฏิบัติงาน และการใช้งบประมาณเพ่ือที่จะให้
การบ ริห ารงาน ขอ งทุ กส่ วน ราช ก ารบ รรลุเป้ าห ม ายขอ งก ระท รวงไ ด้ อ ย่างมี ป ระสิ ท ธิภาพแ ล ะล ด
ความซ้าซ้อน มีการมอบหมายงานเพื่อลดข้ันตอนการปฏิบัติราชการ และสมควรกาหนดการบริหาร
ราชการในต่างประเทศให้เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติหน้าท่ีและสามารถปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็ว
และมีเอกภาพ โดยมีหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการ นอกจากน้ี สมควรให้มี
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเพ่ือเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลการจัดส่วนราชการและ
การปรับปรุงระบบการทางานของภาคราชการให้มีการจัดระบบราชการอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
โดยมีการหลักการสาคัญในการแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติฉบับน้ี นอกจากการปรับปรงุ องคป์ ระกอบ
ขององค์กรการบริหารราชการแผ่นดินแล้ว ยังมีการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการทางานของ
ภาคราชการ เพื่อให้การบรหิ ารราชการแผน่ ดินเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและตอบสนองความตอ้ งการ
ของประชาชนในบทบญั ญัติ ดังนี้
มาตรา ๓/๑ วรรคสาม และวรรคสี่
ในการปฏิบัติหน้าท่ีของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ให้คานงึ ถงึ ความรับผดิ ชอบของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน การมสี ่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผย
ข้อมลู การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ทง้ั นี้ ตามความเหมาะสมของแตล่ ะภารกิจ
เพื่อประโยชนใ์ นการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตราน้ี จะตราพระราชกฤษฎีกากาหนด
หลกั เกณฑ์และวิธกี ารในการปฏบิ ัติราชการและการสัง่ การให้สว่ นราชการและข้าราชการปฏิบัตกิ ็ได้
๓) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
พ.ศ. ๒๕๔๖
สาหรับพระราชกฤษฎีกาฉบบั น้ี เป็นการตราขนึ้ สบื เน่ืองจากทม่ี กี ารปฏิรูประบบราชการ
เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและให้บริการแก่ประชาชน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ซ่ึงการบริหารราชการและการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการนี้ ต้องใช้
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ลดข้ันตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจาเป็น และประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับ
การตอบสนองความต้องการ รวมท้ังมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่าเสมอ และเน่ืองจาก
มาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติให้การกาหนด
หลักเกณฑ์และวธิ ีการในการปฏบิ ัติราชการและการส่ังการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติราชการ
๑๑
เพ่ือให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีกระทาโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา จึงมีการตรา
พระราชกฤษฎกี าฉบับนี้ขนึ้ โดยหลักการสาคัญของกฎหมายฉบับนี้ ปรากฏในบทบญั ญัตดิ ังต่อไปน้ี
มาตรา ๖ การบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ได้แก่ การบริหารราชการเพ่ือบรรลุ
เป้าหมาย ดังต่อไปน้ี
(๑) เกดิ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน
(๒) เกิดผลสมั ฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ
(๓) มีประสทิ ธิภาพและเกดิ ความคมุ้ คา่ ในเชิงภารกจิ ของรฐั
(๔) ไมม่ ีข้ันตอนการปฏบิ ตั งิ านเกินความจาเป็น
(๕) มีการปรบั ปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันตอ่ สถานการณ์
(๖) ประชาชนไดร้ บั การอานวยความสะดวกและไดร้ ับการตอบสนองความต้องการ
(๗) มีการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการอยา่ งสม่าเสมอ
มาตรา ๘ ในการบริหารราชการเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน ส่วนราชการจะต้อง
ดาเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็นศูนย์กลางที่จะได้รับการบริการจากรัฐ และจะต้องมีแนวทาง
การบรหิ ารราชการ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) การกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็นไปเพ่ือวัตถุประสงค์
ตามมาตรา ๗ และสอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรฐั มนตรีทแ่ี ถลงต่อรฐั สภา
(๒) การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดยซื่อสัตย์สุจริต สามารถ
ตรวจสอบได้ และม่งุ ใหเ้ กิดประโยชน์สุขแกป่ ระชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถน่ิ
(๓) ก่อนเริ่มดาเนินการ ส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสียให้
ครบถ้วนทุกด้าน กาหนดข้ันตอนการดาเนินการท่ีโปร่งใส มีกลไกตรวจสอบการดาเนินการในแต่ละ
ขั้นตอน ในกรณีที่ภารกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดาเนินการรบั ฟังความคิดเห็น
ของประชาชนหรือช้ีแจงทาความเข้าใจเพ่ือให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ท่ีส่วนรวมจะได้รับ
จากภารกิจนนั้
(๔) ให้เป็นหน้าท่ีของข้าราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจ
ของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการ เพ่ือปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้มี
การปรับปรุงวิธปี ฏิบตั ิราชการใหเ้ หมาะสม
(๕) ในกรณีท่ีเกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดาเนินการ ให้ส่วนราชการดาเนินการ
แก้ไขปัญหาและอุปสรรคน้ันโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหาหรืออุปสรรคน้ันเกิดข้ึนจากส่วนราชการอ่ืนหรือ
ระเบียบข้อบังคับที่ออกโดยส่วนราชการอื่น ให้ส่วนราชการแจ้งให้ส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องทราบ
เพือ่ ดาเนนิ การแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วตอ่ ไป และให้แจ้ง ก.พ.ร. ทราบด้วย
๑๒
การดาเนินการตามวรรคหน่ึง ให้ส่วนราชการกาหนดวิธีปฏิบัติให้เหมาะสมกับภารกิจ
แต่ละเร่ือง ท้ังน้ี ก.พ.ร. จะกาหนดแนวทางการดาเนินการท่ัวไปให้ส่วนราชการปฏิบัติให้เป็นไป
ตามมาตรานด้ี ้วยก็ได้
มาตรา ๒๓ ในการจัดซ้ือหรือจัดจ้าง ให้ส่วนราชการดาเนินการโดยเปิดเผยและ
เที่ยงธรรม โดยพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์
ทจ่ี ะใช้ ราคา และประโยชนร์ ะยะยาวของส่วนราชการท่จี ะไดร้ ับประกอบกนั
ในกรณีท่ีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นเหตุให้ต้องคานึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษา
เปน็ สาคัญ ใหส้ ามารถกระทาได้โดยไมต่ ้องถอื ราคาตา่ สุดในการเสนอซอื้ หรือจ้างเสมอไป
ให้ส่วนราชการท่ีมีหน้าท่ีดูแลระเบียบเก่ียวกับการพัสดุปรับปรุงระเบียบที่เก่ียวข้อง
เพ่อื ใหส้ ่วนราชการดาเนนิ การตามวรรคหนง่ึ และวรรคสองไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติงานที่เก่ียวข้องกับการบริการประชาชนหรือการติดต่อ
ประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ให้ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทาแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลา
การดาเนินการ รวมทั้งรายละเอียดอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละข้ันตอนเปิดเผยไว้ ณ ที่ทาการของ
ส่วนราชการและในระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ เพ่ือให้ประชาชนหรือผู้ที่เก่ียวข้อง
เข้าตรวจดไู ด้
มาตรา ๓๙ ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ
เพ่ืออานวยความสะดวกใหแ้ ก่ประชาชนท่ีจะสามารถตดิ ตอ่ สอบถามหรอื ขอข้อมลู หรอื แสดงความคดิ เห็น
เก่ยี วกับการปฏบิ ัติราชการของสว่ นราชการ
ระบบเครือข่ายสารสนเทศตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดทาในระบบเดียวกับท่ีกระทรวง
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารจัดใหม้ ีขึ้นตามมาตรา ๔๐
มาตรา ๔๐ เพ่ืออานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชนในการติดต่อกับ
ส่วนราชการทุกแหง่ ใหก้ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารจัดใหม้ ีระบบเครือข่ายสารสนเทศ
กลางขึน้
ในกรณีท่ีส่วนราชการใดไม่อาจจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการได้
อาจรอ้ งขอให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารดาเนินการจัดทาระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ของส่วนราชการดังกล่าวก็ได้ ในการน้ีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารจะขอให้
สว่ นราชการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านบุคลากร ค่าใช้จ่าย และขอ้ มลู ในการดาเนนิ การกไ็ ด้
มาตรา ๔๑ ในกรณีท่ีส่วนราชการได้รับคาร้องเรียน เสนอแนะ หรือความคิดเห็น
เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติราชการ อุปสรรค ความยุ่งยาก หรือปัญหาอ่ืนใดจากบุคคลใด โดยมีข้อมูลและสาระ
ตามสมควร ให้เป็นหน้าท่ีของส่วนราชการนั้นท่ีจะต้องพิจารณาดาเนินการให้ลุล่วงไป และในกรณีที่มี
๑๓
ท่อี ยู่ของบคุ คลน้นั ให้แจ้งใหบ้ คุ คลนัน้ ทราบผลการดาเนนิ การดว้ ย ท้งั นี้ อาจแจง้ ให้ทราบผ่านทางระบบ
เครอื ข่ายสารสนเทศของส่วนราชการดว้ ยกไ็ ด้
ในกรณีการแจ้งผ่านทางระบบเครือข่ายสารสนเทศ มิให้เปิดเผยชื่อหรือท่ีอยู่ของ
ผรู้ อ้ งเรียน เสนอแนะ หรือแสดงความคิดเหน็
กล่าวโดยสรุป กฎหมายในระดับพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาที่เก่ียวข้อง
ได้บญั ญัติหลักการที่เก่ียวขอ้ งกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตอ่ ต้านการทุจริต โดยเฉพาะส่วนที่
เกี่ยวข้องกับการจัดซ้ือจัดจ้างได้มีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ในเร่ืองสาคัญ ๆ หลายประการ อาทิ การจัดให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วม
ในการสังเกตการณ์ขั้นตอนหน่ึงข้ันตอนใดของการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ และการจัดระบบ
บริหารราชการแผ่นดินเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการ
แก่ประชาชนได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้ึน โดยในการปฏิบัตหิ นา้ ทีข่ องส่วนราชการ ตอ้ งใชว้ ิธกี ารบรหิ าร
กิจการบ้านเมืองท่ีดี โดยเฉพาะอย่างย่ิงให้คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของ
ประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามพระราชบญั ญัติ
ระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ ซงึ่ แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการ
แผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมีการตราพระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
ในการปฏบิ ตั ริ าชการและการสง่ั การใหส้ ว่ นราชการและข้าราชการปฏิบัติ กลา่ วคอื พระราชกฤษฎกี าว่า
ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งทุกส่วนราชการยังคงใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัตริ าชการตลอดมา
๔) พระราชบญั ญัตกิ ารบรหิ ารงานและการใหบ้ รกิ ารภาครฐั ผ่านระบบดิจทิ ลั พ.ศ. ๒๕๖๒
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ฉ บั บ น้ี เกิ ด ขึ้ น เนื่ อ ง จ า ก ปั จ จุ บั น เท ค โน โล ยี ได้ มี ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า
และเป็นสว่ นหนึง่ ในวิถชี วี ิตและการประกอบธรุ กจิ ของประชาชน ซง่ึ ในการบริหารงานและการให้บรกิ าร
ภาครัฐท่ีผ่านมายังมิได้นาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพและอานวยความสะดวก
แก่ประชาชนได้อย่างเต็มท่ี และโดยท่ีรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้มีการปฏิรูปประเทศ
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยให้มีการนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหาร
ราชการแผ่นดินและการจัดทาบรกิ ารสาธารณะ และให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐ
ทุกหน่วยงานเข้าด้วยกันเพ่ือให้เป็นระบบข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดินและเพ่ือ
อานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน สมควรให้มีกฎหมายในการขับเคลื่อนให้เกิดการปฏิรูปการบริหาร
ราชการแผ่นดินและการบริการประชาชนตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และเพ่ือยกระดั บ
การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐให้อยู่ในระบบดิจิทัล อันจะนาไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล
ท่มี รี ะบบการทางานและขอ้ มูลเชือ่ มโยงกนั ระหวา่ งหน่วยงานของรฐั อยา่ งมั่นคงปลอดภัย มปี ระสิทธภิ าพ
รวดเรว็ เปดิ เผยและโปร่งใส รวมทัง้ ประชาชนได้รบั ความสะดวกในการรบั บริการและสามารถตรวจสอบ
๑๔
การดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐได้ ซ่ึงมาตราท่ีเก่ียวข้องกับการจัดทาระบบติดตามตรวจสอบ
และป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปช่ันในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบการจัดทา
QR Code มดี งั น้ี
มาตรา ๔ เพ่ือให้การบริหารงานภาครัฐและการจัดทาบริการสาธารณะเป็นไปด้วย
ความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการให้บริการและการอานวยความสะดวกแก่
ประชาชน ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการบริหารงานและการจัดทาบริการสาธารณะในรูปแบบ
และช่องทางดิจิทัล โดยมีการบริหารจัดการและการบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการทางานให้มี
ความสอดคล้องกันและเช่ือมโยงเข้าด้วยกันอย่างมนั่ คงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล โดยมุ่งหมายในการ
เพิ่มประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกในการให้บริการและการเข้าถึงของประชาชน และในการ
เปดิ เผยข้อมลู ภาครัฐตอ่ สาธารณะและสร้างการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น
(๔) การเปดิ เผยขอ้ มูลหรือข่าวสารสาธารณะท่ีหนว่ ยงานของรฐั จัดทาและครอบครองใน
รูปแบบและช่องทางดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยสะดวก มีส่วนร่วมและตรวจสอบ
การดาเนินงานของรัฐ และสามารถนาข้อมูลไปพัฒนาบริการและนวัตกรรมท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อ
ประเทศในด้านต่าง ๆ
มาตรา ๑๗ ให้หน่วยงานของรัฐจัดทาข้อมูลท่ีต้องเปิดเผยตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูล
ข่าวสารของราชการในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ โดยต้องให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้
อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และสามารถนาไปเผยแพร่ ใช้ประโยชน์ หรือพัฒนาบริการและนวัตกรรม
ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ท้ังน้ี มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการ
พฒั นารัฐบาลดิจิทัลกาหนด ซ่ึงต้องเป็นไปเพ่ือประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนในการ
เขา้ ถงึ ขอ้ มูล
๕) พระราชบญั ญตั ิขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
พระราชบัญญตั ฉิ บบั นเ้ี กดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากในระบอบประชาธิปไตยการให้ประชาชนมีโอกาส
กว้างขวางในการได้รบั ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกบั การดาเนินการต่าง ๆ ของรัฐเปน็ สง่ิ จาเป็น เพอ่ื ท่ีประชาชน
จะสามารถแสดงความคดิ เหน็ และใชส้ ิทธทิ างการเมอื งไดโ้ ดยถกู ตอ้ งกบั ความเปน็ จริง อันเปน็ การส่งเสริม
ให้มีความเป็นรัฐบาลโดยประชาชนมากยิ่งข้ึน สมควรกาหนดให้ประชาชนมีสิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสาร
ของราชการ โดยมขี ้อยกเว้นอันไมต่ อ้ งเปดิ เผยท่ีแจง้ ชดั และจากัดเฉพาะขอ้ มูลข่าวสารทห่ี ากเปิดเผยแล้ว
จะเกิดความเสียหายต่อประเทศชาติหรือต่อประโยน์ท่ีสาคัญของเอกชน ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาระบอบ
ประชาธิปไตยให้มั่นคงและจะยังผลให้ประชาชนมีโอกาสรู้ถึงสิทธิหน้าทที่ของตนอย่างเต็มที่ เพ่ือที่จะ
ปกปักรักษาประโยชนข์ องตนได้อกี ประการหน่งึ ด้วย ประกอบกับสมควรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในส่วน
ท่ีเกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการไปพร้อมกัน ซ่ึงมาตราท่ีเก่ียวข้องกับการจัดทาระบบติดตาม
๑๕
ตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปช่ันในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบ
การจดั ทา QR Code มีดงั น้ี
มาตรา ๗ หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปน้ีลง
พิมพใ์ นราชกจิ จานเุ กศา
(๑) โครงสร้างและการจัดองคก์ รในการดาเนินงาน
(๒) สรุปอานาจหนา้ ท่ที ส่ี าคัญและวิธกี ารดาเนนิ งาน
(๓) สถานที่ตดิ ตอ่ เพือ่ ขอรับข้อมลู ข่าวสาร หรอื คาแนะนาในการตดิ ตอ่ กับหนว่ ยงานของรฐั
(๔) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอ้ บังคบั คาส่งั หนงั สอื เวียน ระเบยี บ แบบแผน นโยบายหรือ
การตคี วาม ทัง้ นี้ เฉพาะท่จี ัดให้มีขน้ึ โดยมีสภาพอยา่ งกฎ เพอ่ื ใหม้ ผี ลเปน็ การทวั่ ไปต่อเอกชนทเี่ กี่ยวข้อง
(๕) ขอ้ มูลขา่ วสารอ่ืนตามที่คณะกรรมการกาหนด
ขอ้ มูลข่าวสารใดท่ีได้มีการจัดพิมพ์เพือ่ ให้แพรห่ ลายตามจานวนพอสมควรแล้ว ถา้ มีการลง
พิมพใ์ นราชกิจจานเุ บิกษาโดยอ้างอิงถงึ สิ่งพิมพ์น้นั กใ็ หถ้ อื วา่ เปน็ การปฏิบตั ิตามบทบัญญตั วิ รรคหน่ึงแล้ว
ให้หนว่ ยงานของรัฐรวบรวมและจดั ใหม้ ีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไวเ้ ผยแพรเ่ พ่ือขาย
หรือจาหน่าย จ่ายแจก ณ ทีท่ าการของหน่วยของรัฐแห่งนน้ั ตามท่ีเหน็ สมควร
มาตรา ๙ ภายใต้บงั คับมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูล
ข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปน้ีไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ทัง้ น้ี ตามหลักเกณฑและวิธกี ารที่
คณะกรรมการกาหนด
(๑) ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยท่ีมีผลโดยตรงต่อเอกชน รวมทั้งความเห็นแย้งและ
คาสัง่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการพิจารณาวินจิ ฉยั ดังกลา่ ว
(๒) นโยบายหรอื การตีความที่ไม่เข้าขา่ ยตอ้ งลงพมิ พใ์ นราชกจิ จานุเบกษา ตามมาตรา ๗ (๔)
(๓) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจาปีของปที ีก่ าลงั ดาเนนิ การ
(๔) คมู ือหรอื คาสง่ั เกย่ี วกบั วิธีปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ที่ของรฐั ซ่ึงมีผลกระทบถงึ สิทธิ หน
าทข่ี องเอกชน
(๕) ส่งิ พมิ พทไ่ี ดม้ กี ารอ้างอิงถึงมาตรา ๗ วรรคสอง
(๖) สัญญาสัมปทาน สัญญาท่ีมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับ
เอกชนในการจัดทาบรกิ ารสาธารณะ
(๗) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติ
คณะรฐั มนตรี ทั้งน้ี ให้ระบรุ ายช่ือรายงานทางวชิ าการ รายงานข้อเท็จจริง หรือขอ้ มูลข่าวสารท่ีนามาใช้
ในการพิจารณาไว้ดว้ ย
(๘) ข้อมลู ข่าวสารอืน่ ตามที่คณะกรรมการกาหนด
๑๖
ข้อมูลข่าวสารท่ีจัดให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีส่วนท่ีต้องห้ามมิให้
เปิดเผยตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ อยู่ด้วยให้ลบหรือตัดทอนหรือทาโดยประการอ่ืนใดที่ไม่เป็น
การเปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสารสวนนั้น
บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ตาม ย่อมมีสิทธิเข้าตรวจดู ขอสาเนาหรือ
ขอสาเนาท่ีมีคารบั รองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งได้ ในกรณีที่สมควรหน่วยงานของรฐั โดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑ์เรียกค่าธรรมเนียมในการนั้นก็ได้ ในการน้ีให้คานึง
ถงึ การช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยประกอบด้วย ท้ังน้ี เว้นแต่จะมีกฎหมายเฉพาะบญั ญัติไวเป็นอย่างอ่นื
คนต่างด้าวจะมีสทิ ธิตามมาตรานีเ้ พยี งใดให้เป็นไปตามท่ีกาหนดโดยกฎกระทรวง
๖) พระราชบัญญตั ิคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
พระราชบัญญัติฉบับน้ีเกิดข้ึนเน่ืองจากปัจจุบันมีการล่วงละเมิด สิทธิความเป็นส่วนตัว
ของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจานวนมากจนสร้างความเดือดร้อนราคาญหรือความเสียหาย ให้แก่เจ้าของ
ขอ้ มลู ส่วนบุคคล ประกอบกบั ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีทาใหก้ ารเกบ็ รวบรวม ใช้ หรอื เปดิ เผยขอ้ มูล
สว่ นบุคคลอนั เป็นการล่วงละเมดิ ดังกล่าว ทาได้โดยง่าย สะดวก และรวดเรว็ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อ
เศรษฐกิจโดยรวม สมควรกาหนดให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นการทั่วไปข้ึน
เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรือมาตรการกากับดูแลเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลท่ี
เป็นหลักการท่ัวไป ซ่ึงมาตราท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทาระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม
การทุจรติ คอร์รปั ช่นั ในการจัดซอ้ื จัดจา้ งของภาครัฐในรปู แบบการจดั ทา QR Code มีดงั นี้
มาตรา ๖ ในพระราชบญั ญัติน้ี
“ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลเก่ียวกับบุคคลซึ่งทาให้สามารถระบุตัวบุคคล
น้นั ไดไ้ มว่ ่าทางตรงหรอื ทางออ้ ม แต่ไม่รวมถงึ ขอ้ มลู ของผ้ถู ึงแก่กรรมโดยเฉพาะ
มาตรา ๑๙ ผู้ควบคุมข้อมลู ส่วนบุคคลจะกระทาการเกบ็ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคลไม่ได้หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะน้ัน เว้นแต่
บทบญั ญัติแหง่ พระราชบัญญัตนิ ้ีหรือกฎหมายอ่นื บญั ญตั ใิ ห้กระทาได้
การขอความยินยอมต้องทาโดยชัดแจ้ง เป็นหนังสอื หรอื ทาโดยผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์
เว้นแต่ โดยสภาพไมอ่ าจขอความยนิ ยอมดว้ ยวธิ กี ารดงั กล่าวได้
ในการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ผคู้ วบคมุ ข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้ง
วัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลไปด้วย และการขอความยินยอมน้ัน
ต้องแยกส่วนออกจากขอ้ ความอนื่ อย่างชดั เจน มแี บบหรือข้อความท่ีเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยและเข้าใจได้ รวมทง้ั ใช้
ภาษาที่อ่านง่าย และไม่เป็นการหลอกลวงหรือทาให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเข้าใจผิดในวัตถุประสงค์
ดังกล่าว ท้ังนี้ คณะกรรมการจะให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วน
บุคคล ตามแบบและข้อความทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนดกไ็ ด้
๑๗
ในการขอความยินยอมจากเจา้ ของข้อมลู สว่ นบุคคล ผู้ควบคุมขอ้ มูลสว่ นบคุ คลตอ้ งคานงึ
อย่างถึงที่สุดในความเป็นอิสระของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในการให้ความยินยอม ทั้งนี้ ในการเข้าทา
สัญญา ซ่ึงรวมถึงการให้บริการใด ๆ ต้องไม่มีเงื่อนไขในการให้ความยินยอมเพ่ือเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่มีความจาเป็นหรือเก่ียวข้องสาหรับการเข้าทาสัญญาซึ่งรวมถึงการ
ใหบ้ รกิ ารนัน้ ๆ
เจา้ ของข้อมูลสว่ นบคุ คลจะถอนความยนิ ยอมเสียเม่อื ใดก็ได้โดยจะต้องถอนความยนิ ยอม
ได้งา่ ย เชน่ เดยี วกบั การให้ความยินยอม เวน้ แต่มีขอ้ จากดั สิทธิในการถอนความยนิ ยอมโดยกฎหมายหรือ
สัญญาท่ีให้ประโยชน์แก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ การถอนความยินยอมย่อมไม่ส่งผลกระทบต่อ
การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลท่ีเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ให้ความยินยอมไปแล้ว
โดยชอบตามทก่ี าหนดไวใ้ นหมวดนี้
ในกรณีที่การถอนความยินยอมส่งผลกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในเรื่องใด
ผู้ควบคุม ข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบถึงผลกระทบจากการถอน
ความยนิ ยอมนั้น
การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลท่ีไม่เป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ในหมวดนี้
ไม่มีผลผูกพันเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และไม่ทาให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสามารถทาการเก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปดิ เผยขอ้ มูลส่วนบุคคลได้
มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
โดยไมไ่ ด้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่เป็นขอ้ มูลส่วนบุคคลท่ีเก็บรวบรวมไดโ้ ดย
ได้รับยกเวน้ ไมต่ อ้ งขอความยนิ ยอมตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๖
บคุ คลหรอื นิติบุคคลที่ได้รับข้อมูลสว่ นบุคคลมาจากการเปดิ เผยตามวรรคหน่ึง จะตอ้ งไม่
ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลเพ่ือวัตถุประสงค์อื่นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ที่ได้แจ้งไว้กับผู้ควบคุม
ข้อมูลสว่ นบุคคลในการขอรบั ข้อมูลสว่ นบุคคลนน้ั
ในกรณีทผี่ ู้ควบคุมขอ้ มูลส่วนบคุ คลใช้หรือเปดิ เผยขอ้ มูลสว่ นบุคคลที่ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ ง
ขอความยินยอมตามวรรคหนึ่ง ผคู้ วบคุมขอ้ มูลส่วนบุคคลตอ้ งบันทึกการใช้หรอื เปิดเผยน้ันไว้ในรายการ
ตามมาตรา ๓๙
๑๘
๒.๒ ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐๑เป็นแผนการพัฒนาประเทศที่กาหนด
กรอบและแนวทางการพัฒนาให้หน่วยงานของรัฐทุกภาคส่วนต้องทาตาม เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์
ประเทศไทยท่ีว่า”ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “ม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
เพอื่ สนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ โดยท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๕ กาหนดให้
รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล
เพ่ือใชเ้ ป็นกรอบในการจดั ทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ งและบูรณาการกัน เพื่อให้เกิดพลังผลักดันร่วมกัน
ไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ยุทธศาสตร์ชาติเป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญ
แหง่ ราชอาณาจักรไทย
สาหรับยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตน้ัน ปรากฏ
ในข้อ ๔.๖ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒ นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ท่ีมีเป้าหมาย การพัฒนาทส่ี าคัญเพื่อปรับเปลย่ี นภาครฐั ท่ยี ึดหลัก “ภาครฐั ของประชาชนเพ่ือประชาชน
และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท
หน่วยงานของรัฐที่ทาหน้าที่ ในการกากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขัน
มสี มรรถนะสงู ยดึ หลักธรรมาภิบาล ปรับวฒั นธรรมการทางานให้ม่งุ ผลสัมฤทธแ์ิ ละผลประโยชนส์ ว่ นรวม
มีความทันสมัย และพร้อมท่ีจะปรับตัว ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะ
อย่างย่ิงการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้
อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้ง มีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและ
เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยม ความซื่อสัตย์สุจริต
ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ อย่างส้ินเชิง
๑ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ .สืบคน้ จาก
http://plan.bru.ac.th/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B
8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4-20-
%E0%B8%9B%E0%B8%B5-%E0%B8%9E-%E0%B8%A8-2561-2580/.เมือ่ วนั ท่ี ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔
๑๙
นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จาเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล
มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอ้ือต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรม
มีการบรหิ ารทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลอื กปฏบิ ัติ และการอานวยความยตุ ธิ รรมตามหลกั นิตธิ รรม
ยุทธศาสตรช์ าติด้านความมน่ั คงมีเป้าหมายสาคญั ในภาพรวมระยะ ๒๐ ปีท่ีเปน็ รูปธรรม
ชัดเจน คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข” โดยเร่งเสริมสร้างความเข้มแข็งและความรัก
ความสามัคคปี รองดอง ของคนในชาติ ตลอดถึงการปลกุ จติ สานึกด้านความม่ันคงให้เกิดข้นึ ในประชาชน
ทกุ ระดบั การพฒั นาระบบงาน ด้านการข่าวให้มงุ่ เน้นการบรู ณาการขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ นความมนั่ คงอยา่ ง
เป็นระบบ การพัฒนาปรับปรุงกลไก การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง และกลไกในการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความม่ันคงให้มีเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และมีการบูรณาการการดาเนินงาน
อย่างแท้จริง โดยปัญหาความม่ันคงเร่งดว่ น ท่ีจะตอ้ ง ดาเนินการแก้ไข ประกอบด้วย ปัญหาความม่ันคง
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหายาเสพติด ปัญหา ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ปัญหาอาชญากรรมทางไซเบอร์ และปัญหาการทุจริตในระบบราชการ ทั้งน้ี เมื่อพิจารณายุทธศาสตร์
ชาติดงั กลา่ วแล้ว มียทุ ธศาสตรท์ ี่เก่ียวข้องสาคญั ๆ ดงั น้ี
๒.๒.๑ เป้าหมาย (เฉพาะทเ่ี กีย่ วขอ้ ง)
ข้อ ๒.๓ ภาครัฐมคี วามโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ
๒.๒.๒ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (เฉพาะท่ีเก่ียวขอ้ ง)
ข้อ ๔.๑.๔ การพัฒนาและเสริมสร้างกลไกที่สามารถป้องกันและขจัดสาเหตุ
ของประเด็นปัญหา ความม่ันคงท่ีสาคัญ เพื่อให้ประเทศชาติมีกลไกเฉพาะเจาะจงที่มีประสิทธิภาพ
สามารถแก้ไขต้นเหตุท่ีเป็น รากเหง้าของปัญหาภายในประเทศทั้งปวงให้หมดไป มีการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง และทาให้เกิดความเชื่อม่ันในกระบวนการยุติธรรม
โดยพัฒนาปรับปรุงกลไกและหน่วยงาน ด้านความมั่นคงที่มีอยู่เดิม เช่น กองอานวยการรักษา
ความม่ันคงภายในราชอาณาจักร ศูนย์ประสานการปฏิบัติ ในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
เป็นต้น หรือที่ต้องออกแบบใหม่ให้มีประสิทธิภาพ พร้อมรองรับ ปัญหาความม่ันคงท้ังรูปแบบเดิม
และรูปแบบใหม่ได้ทุกมิติ กาหนดและเสริมสร้างบทบาทของหน่วยงาน องค์กร หรือคณะกรรมการ
ที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบวิธีการดาเนินงาน การบูรณาการการปฏิบัติ ให้สอดคล้อง
เกื้อกลู และตอ่ เน่อื งกัน ตลอดไปจนถงึ สามารถวิเคราะหแ์ ละแก้ไขปญั หาท่ีสาเหตไุ ดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง
ข้อ ๔.๖ ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทกุ ภาคสว่ น
ร่วมต่อต้านการทุจริตภาครัฐมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสร้างวัฒนธรรมแยกแยะประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชนส์ ว่ นรวม
ของบุคลากรภาครัฐให้เกิดข้ึน รวมทั้งสร้างจิตสานึกและค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตื่นตัวและละอาย
๒๐
ต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ พร้อมทั้งส่งเสริม สนับสนุน ให้ภาคีองค์กรภาคเอกชน
ภาคประชาสังคม ชุมชน ประชาชน และภาคีต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการสอดส่อง เฝ้าระวัง ให้ข้อมูล
แจง้ เบาะแสการทุจริต และตรวจสอบการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคส่วนอ่ืน ๆ โดยไดร้ ับ
ความคุ้มครองจากรัฐตามท่กี ฎหมายบญั ญตั ิ
๔.๖.๑ ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกัน
การทุจริตและประพฤติมิชอบ รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิด
จากการทุจริตและประพฤติมิชอบท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน จัดให้มีมาตรการและกลไกที่มี
ประสิทธิภาพเพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้ง ส่งเสริม
และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยเฉพาะการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การรณรงค์ให้ความรู้
ต่อต้าน หรือชี้เบาะแสการทจุ ริต โดยไดร้ ับความคุม้ ครองจากรฐั ตามท่กี ฎหมายบัญญตั ิ พรอ้ มทง้ั มีระบบ
การรับเรื่องร้องเรยี นการทุจรติ และประพฤติมชิ อบทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ
๔.๖.๒ บุคลากรภาครัฐยึดม่ันในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความ
ซ่ือสัตย์สุจริต กาหนดให้เจ้าพนักงานของรัฐต้องยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลีกเลี่ยงการขัดกันระหว่างประโยชน์บุคคลและประโยชน์
ส่วนรวม รวมท้ังย่ืนบัญชีทรัพย์สินและหน้ีสินของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
โดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ
ผวู้ ่าการตรวจเงินแผน่ ดิน และผู้ดารงตาแหน่งระดับสูงตามท่ีกฎหมายกาหนดจะต้องเปิดเผยบัญชีแสดง
รายการทรพั ย์สนิ และหนีส้ นิ ใหป้ ระชาชนทราบ
๔.๖.๔ การบริหารจัดการการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
อย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ จัดให้มีกลไกการประสานงานการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ท้ังในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ ตลอดจนเพิ่มประสิทธภิ าพ
การป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบ โดยการพัฒนาระบบงานและโครงสรา้ งองค์กร
ทีเ่ อือ้ ต่อการดาเนนิ งานแบบบรู ณาการและมงุ่ ผลสัมฤทธิ์
๒.๓ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) (แผนยอ่ ยการป้องกันการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ)
กระบวนการดาเนินงานด้านการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มีการกาหนดยุทธศาสตร์การดาเนินงาน อาทิ “สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต” โดยยุทธศาสตร์
ดงั กล่าวมีแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ซงึ่ มแี นวทางการพัฒนาทเ่ี กยี่ วข้อง ดงั นี้
๒๑
๑) ปลูกและปลุกจิตสานึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรม สุจริต และการปลูกฝัง
และหล่อหลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนทุกช่วงวัย ทุกระดับ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม
“คน” โดยการ “ปลกู ” และ “ปลกุ ” จติ สานกึ ความเป็นพลเมอื งทดี่ ี มวี ฒั นธรรมสจุ ริต สามารถแยกแยะ
ได้ว่าส่ิงใด เป็นประโยชน์ส่วนตน สิ่งใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายต่อการกระทาความผิด
ไม่เพิกเฉยอดทน ต่อการทุจริต และเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ รวมถึง
การส่งเสริมการสรา้ งวัฒนธรรม และค่านิยมสุจริตในระดับชุมชนเพื่อนาไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม
ค่านิยมท่ียึดประโยชน์สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในทกุ รูปแบบ โดยเฉพาะการสง่ เสรมิ วัฒนธรรมสุจริตผ่านหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับท่เี ด็กไทยทุกคน
ต้องเรยี นท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา เพื่อปฏิรูป “พลเมือง
ไทยในอนาคต” ให้มีความเปน็ พลเมืองเต็มข้ัน สามารถทาหน้าทีค่ วามเป็นพลเมืองที่ดี มีจติ สานึกยึดม่ัน
ในความซ่อื สัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบตอ่ ส่วนรวม มีระเบยี บวินยั และเคารพกฎหมาย
๔) ปรับ “ระบบ” เพื่อลดจานวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ
มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการทุจริตอย่างต่อเนื่อง เพ่ือสนับสนุนให้การดาเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุกข้ันตอนการดาเนินงาน และมีความเท่าทัน
ต่อพลวัตของการทุจริต โดยการพัฒนาเครื่องมือ เพ่ือสร้างความโปร่งใส มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรม
และมาตรการในการต่อต้านการทุจริตท่ีมีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต รวมถึงการ
ประเมินความเส่ียงด้านการทุจริต เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบ หรือแนวทางในบริหาร
จัดการความเสี่ยงของการดาเนินงานท่ีอาจก่อให้เกิดการทุจริต และการบูรณาการติดตามประเมินผล
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐแล ะรัฐวิสาหกิจต้ังแต่
ขนั้ วางแผนกอ่ นดาเนนิ งาน ขนั้ ระหว่างการดาเนินงาน และข้นั สรปุ ผลหลังการดาเนนิ โครงการ
๕) ปรับระบบงานและโครงสร้างองค์กรที่เอ้อื ตอ่ การลดการใชด้ ุลพินิจในการปฏิบัติงาน
ของเจ้าหน้าท่ี เช่น การนาระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้แทนการใช้ดุลพินิจเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงาน
การสร้างมาตรฐานที่โปร่งใสในกระบวนการบริการของภาครัฐ ลดข้ันตอนกระบวนการและระยะเวลา
ในการปฏิบัติงานด้วยวิธีปฏิบัติท่ีชัดเจนตรวจสอบได้ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
เพอ่ื ลดการใช้ดลุ พนิ ิจ ของผู้มีอานาจในการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต รวมถึงการสร้างความโปรง่ ใสในการ
บริการข้อมูลภาครัฐทั้งระบบ โดยการพัฒนาระบบข้อมูลดิจิทัลท่ีมีการกาหนดกฎเกณฑ์ กติกา
กระบวนการ ข้ันตอนการดาเนินงาน การเข้าถึงข้อมูล รวมถึงข้อมูลการจัดซ้ือจัดจ้างและการใช้
งบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือส่งเสริม การเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ สร้างความโปร่งใส และ
ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการบริหารจัดการของภาครัฐโดยสาธารณชน ซึ่งรวมถึงการมีกลไกท่ีเปิด
โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซื้อ จัดจ้างและการดาเนิ นการภาครัฐ
๒๒
เพ่ือบูรณาการการทางานของรัฐและประชาชน รวมถึงส่งเสริมสนับสนุน การตื่นตัวและเพิ่มขีด
ความสามารถของประชาชนในการร่วมเฝ้าระวัง และป้องกันการทุจริตคอร์รัปช่ัน ที่มีอยู่ใกล้ตัว
โดยมมี าตรการสนับสนนุ และคมุ้ ครองผูช้ ้เี บาะแสท่ีสามารถสรา้ งความเชื่อมน่ั และมน่ั ใจให้กบั ผ้ใู ห้เบาะแส
๒.๔ ยุทธศาสตร์ (เฉพาะท่เี กีย่ วขอ้ งกับการมสี ่วนรวมของประชาชนในการตอ่ ตา้ นการทุจริต)
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ “พัฒนาระบบปอ้ งกันการทุจริตเชิงรกุ ”
มุ่งเน้นการพัฒนากลไกและกระบวนงานด้านการป้องกนั การทุจรติ ของประเทศไทยให้มี
ความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน เพ่ือลดโอกาสการทุจริตหรือทาให้การทุจริตเกิดยากขึ้น
หรือไม่เกิดขึ้น โดยอาศัยท้ังการกาหนดกลไกด้านกฎหมาย กลไกทางการบริหาร และกลไกอ่ืน ๆ
ตลอดจนเสริมสร้างการปฏิบัติงานของหน่วยงานท้ังภาครัฐ และเอกชนให้มีธรรมาภิบาลมากย่ิงขึ้น
โดยมกี ลยุทธเ์ ฉพาะทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการมสี ว่ นรวมของประชาชนในการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต ดังน้ี
กลยทุ ธ์ท่ี ๑ เพมิ่ ประสิทธิภาพระบบงานป้องกนั การทุจรติ
แนวทางตามกลยุทธ์
๑. พัฒนามาตรการเชงิ รกุ ท่สี ามารถแกไ้ ขปัญหาการทจุ รติ ในแตล่ ะระดบั
๒ . พั ฒ น าระ บ บ ก ารท า งาน แ บ บ บู รณ าก ารระ ห ว่างภ าค รัฐ ภ าค เอ ก ช น
และภาคประชาสงั คม
๓. เพ่ิมบทบาทของภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการเข้ามามีส่วนร่วมกับระบบ
การปอ้ งกันการทุจรติ
๔. ยกระดับกลไกการกากบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปอ้ งกนั การทุจริต
๒.๕ แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง)
นอกจากยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแมบ่ ทดงั กลา่ วแล้ว แผนการปฏิรปู ประเทศยงั เปน็ หนง่ึ
ในแผนท่ีรัฐธรรมนูญกาหนดไว้ ซึ่งแผนการปฏิรูปประเทศมีสาระสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ ดงั นี้
๒.๕.๑ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ
ในการจัดทาแผนการปฏิรูปฉบับปรับปรุงในเดือนกันยายน ๒๕๖๓ ได้ให้
ค ว าม ส า คั ญ กั บ กิ จ ก ร รม ป ฏิ รู ป ท่ี จ ะ ส่ งผ ล ให้ เกิ ด ก า รเป ลี่ ย น แ ป ล งต่ อ ป ระ ช า ช น อ ย่าง มี นั ยส า คั ญ
(Big Rock) จานวน ๕ กิจกรรม โดยมีกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการ
ตอ่ ต้านการทุจรติ จานวน ๒ กิจกรรม ได้แก่
๒๓
กจิ กรรมปฏิรูปท่ี ๑ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้าน
การทุจรติ
ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมิชอบมีกิจกรรมที่หน่วยงานสามารถดาเนินการได้ด้วยตนเองและกิจกรรมท่ีต้องอาศัย
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อช่วยสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน ซ่ึงจะช่วยให้การ
ดาเนินภารกิจของหน่วยงานมีประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์มากข้ึน โดยการส่งเสริมให้ภาคประชาชน
มีส่วนร่วมในการต้านภัยทุจริตนี้สามารถดาเนินการผ่านภาคีการพัฒนาต่าง ๆ ท้ังภาคประชาชน
เครือข่ายภาคประชาชน องค์กรชุมชน เครือข่ายภาคีประชาชน และองค์กรสาธารณประโยชน์
โดยเฉพาะทอี่ ยใู่ นจังหวดั ตา่ ง ๆ และมปี ระสบการณ์ในการพัฒนาชุมชนในท้องถิ่นของตน ตลอดจนมีการ
รวมกลุ่มและดาเนนิ กจิ กรรมในการป้องกันการทจุ ริตในพนื้ ทขี่ องตัวเองผ่านกิจกรรมโครงการต่าง ๆ อาทิ
โครงการส่งเสริมธรรมาภิบาลขององค์กรชุมชน โครงการพัฒนาหมู่บ้านช่อสะอาด โครงการหมู่บ้าน
ศลี ห้า โครงการ STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต โครงการเครือขา่ ย ป.ป.ท. เฝา้ ระวงั การทจุ รติ (PACC
Connect) และโครงการหมาเฝ้าบา้ น ซง่ึ เปน็ การรว่ มมอื กับหนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
ในการต่อตา้ นการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบในระดบั ท้องถนิ่ ทัง้ น้ี การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมิชอบโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนน้ีจะมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลมากข้ึน
หากมีการส่งเสริมความร่วมมืออย่างเป็นระบบ (People Engagement) โดยกาหนดบทบาทของรัฐ
ให้เป็นผู้สนับสนุนและอานวยความสะดวก มกี ารใช้ส่อื สงั คมออนไลน์เพม่ิ ขนึ้ ตลอดจนให้ความสาคัญกับ
การส่งเสริมเครอื ขา่ ยภาคประชาชนและองค์กรชุมชนใหม้ ีบทบาทและเปน็ แกนนาในการดาเนนิ กจิ กรรม
การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบควบคู่ไปกับพัฒนาชุมชนและสังคม ซ่ึงจะเป็นการเสริมสร้าง
ความม่ันคงทางสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น การส่งเสริมให้เครือข่ายภาคประชาชน
สภาองค์กรชุมชน และภาคีท่ีเกี่ยวข้องของภาคประชาชนทั้งจากมูลนิธิ องค์กรสาธารณประโยชน์
รัฐและเอกชน มีการบูรณาการดาเนินการตามบทบาทหน้าท่ีท่ีแตกต่างกันในแต่ละจังหวัดแต่ละท้องที่
และร่วมกันเป็นแกนกลางในการตรวจสอบ ป้องกัน ปัญหาจากการทุจริตและประพฤติมิชอบที่ส่งผล
กระทบต่อผลประโยชน์ของชาวบ้านในพ้ืนท่ีโดยตรงจึงเป็นหัวใจสาคัญในการเพ่ิมประสิทธิภาพ
การต่อต้านการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบของประเทศอยา่ งมีนัยสาคัญ โดยมเี ปา้ หมาย ดงั น้ี
๑) ส่งเสริมให้เครือข่ายภาคประชาชนสามารถมีบทบาทในการเสนอแนะแนวทาง
ที่เหมาะสมและมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริตและประพฤ ติมิชอบโดยเฉพาะในท้องที่ของตน
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และปลอดภัย
๒) สนบั สนุนให้ประชาชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้และมีความซื่อสัตย์สุจริตตามรอย
เบื้องพระยคุ ลบาท
๒๔
กิจกรรมปฏิรูปท่ี ๒ การพัฒนาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและพัฒนาระบบ
คุม้ ครองผแู้ จ้งเบาะแสการทุจริตทมี่ ีประสิทธภิ าพ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้ความสาคัญกับ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต โดยบัญญัติไว้ใน มาตรา ๖๓
รัฐตอ้ งส่งเสรมิ สนับสนุน และใหค้ วามรแู้ ก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกดิ จากการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ
ท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการ
ทจุ รติ และประพฤติมิชอบดังกล่าวอยา่ งเขม้ งวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมใหป้ ระชาชนรวมตัวกนั เพือ่ มี
ส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือช้ีเบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมาย
บัญญัติ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐมีส่วนร่วมในการป้องกันและเฝ้า
ระวังการทุจริต จึงต้องมีมาตรการทางกฎหมายที่เก่ียวข้อง ได้แก่ การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสาร
สาธารณะเพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมลู ข่าวสารโดยไม่ต้องร้องขอและได้มาตรฐานสากล ควบคู่กับ
การเตรียมช่องทางให้ผมู้ ีเบาะแส ข้อมูลเชงิ ลกึ สามารถแจ้งข้อมลู ไดอ้ ย่างสะดวกและปลอดภัย รวมทัง้ มี
ระบบการแจ้งผลการติดตามให้กับผรู้ อ้ งเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสได้รบั ทราบตลอดจนตอ้ งจัดให้มกี ฎหมาย
เพ่ือปกป้องคุ้มครองและเยียวยาผู้ให้เบาะแสอย่างเหมาะสม โดยมีกิจกรรมหลักที่สาคัญเฉพาะ
ที่เกี่ยวข้องกับการมสี ่วนรว่ มของภาคประชาชนในการต่อต้านการทุจรติ ดงั น้ี
๑. การพัฒนาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนผ่านการผลักดันการออก
กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารสาธารณะที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารโดยไม่ต้องร้องขอ
และหน่วยงานภาครัฐต้องเปิดเผยข้อมูลในครอบครองผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์ม เว้นแต่ข้อมูลที่เป็น
ความลับหรือกระทบต่อความมั่นคง เพื่อให้ประชาชนในวงกว้างสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าว
ไดโ้ ดยสะดวก
๒. การพัฒนาช่องทางการแจ้งเบาะแสและข้อมูลเชิงลึกในรูปแบบที่หลากหลาย
และมรี ะบบปกปดิ ตัวตนท่ีมีประสทิ ธิภาพและการค้มุ ครองผแู้ จง้ เบาะแสอย่างครบวงจร ให้ผแู้ จง้ เบาะแส
สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก มคี วามเช่ือมั่นในเร่ืองการเก็บรกั ษาความลับ และความปลอดภยั ตลอดจน
การจัดทาระบบแจง้ ผลการตดิ ตามให้กบั ผรู้ อ้ งเรยี นหรือผแู้ จง้ เบาะแสไดร้ บั ทราบ
กิจกรรมปฏิรูปดังกลา่ วมีเปา้ หมาย ดงั นี้
๑. กฎหมายที่เกี่ยวข้องมีผลบังคับใช้ในทางปฏิบัติ (กฎหมายป้องกันการฟ้อง
ปิดปาก กฎหมายว่าด้วยขอ้ มูลขา่ วสารสาธารณะ)
๒. พฒั นาระบบการคุ้มครองผู้แจง้ เบาะแสอยา่ งครบวงจร
๒๕
๒.๕.๒ ด้านการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับปรับปรุง ได้ให้
ความสาคัญในการเตรียมความพร้อมเผชิญกับการเปล่ียนแปลงในทุกมิติ และรองรับผลกระทบของ
สถานการณ์ชีวิตวถิ ใี หม่ (New Normal) และทิศทางที่กาหนดไวต้ ามยทุ ธศาสตรช์ าติ มวี ัตถุประสงคห์ ลกั
เพ่ือสร้างภาครัฐให้มีความโปร่งใส เป็นท่ีเช่ือถือไว้วางใจของประชาชนในความซ่ือตรง และมาตรฐาน
การทางานที่มีคณุ ภาพสูงในระดบั สากล มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมุ่งเนน้ ให้เกิดผลสัมฤทธทิ์ ่ีชัดเจน
สาหรับกจิ กรรมการปฏิรปู เฉพาะท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การมีส่วนรว่ มของภาคประชาชนในการตอ่ ตา้ นการทุจริต
อันจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาครัฐและเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญภายใต้
แผนปฏริ ปู ฯ ฉบบั ปรับปรุงนี้ ได้แก่
กิจกรรมปฏิรปู ที่ ๕ ขจดั อปุ สรรคในการจดั ซอ้ื จดั จา้ งภาครฐั และการเบกิ จ่ายเงนิ
เพื่อให้เกิดความรวดเรว็ คุม้ ค่า โปร่งใส ปราศจากการทุจริต
การจดั ซือ้ จัดจ้างภาครัฐ เปน็ กระบวนการที่สาคญั ของการใชจ้ า่ ยงบประมาณภาครฐั
ซึ่งพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซ่ึงมีผลใช้บังคับเมื่อวันท่ี
๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ มีเจตนารมณ์เพ่ือให้การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
มกี รอบการปฏิบัติงานทเี่ ปน็ มาตรฐานเดียวกัน หน่วยงานของรัฐทุกแห่งสามารถนาไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ
โดยมุ่งเนน้ การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนให้มากท่ีสุด เพื่อใหเ้ กดิ ความโปร่งใสและเปดิ โอกาสให้มีการ
แข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างที่คานึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็นสาคัญ
ซึ่งจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงินมีการวางแผนการดาเนินงานและมีการประเมินผลการ
ปฏิบัติงาน ซ่ึงจะทาให้การจัดซ้ือจัดจ้างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งเพ่ือให้เป็นไปตามหลัก
ธรรมาภิบาล มีการส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ
ซ่ึงเป็นมาตรการหนึ่งเพื่อป้องกันปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
โดยท่ีผ่านมาคดีการทุจริตท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลความผิดในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ ส่วนใหญ่ (รอ้ ยละ ๕๔) เกดิ จากการทุจรติ ดา้ นการจดั ซ้อื จัดจ้าง
อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติยังพบปัญหาในการดาเนินการหลายด้าน อาทิ ระบบ
การตรวจสอบทมี่ ีความเขม้ ขน้ มากเกนิ ไป จนกระทั่งเจ้าหน้าทที่ ีร่ ับผิดชอบงานพัสดุมีความเกรงกลัวโทษ
ทางอาญาจนทาให้การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างเป็นไปด้วยความล่าช้า ยากลาบาก และอาจจาเป็นต้อง
จัดซ้ือส่ิงของที่มีราคาถูกแต่ไม่มีคุณภาพ เพื่อความถูกต้องและตามกฎหมาย ประกอบกับหน่วยงาน
ของรัฐบางแห่งยังไม่ค่อยให้ความสาคัญกับเจ้าหน้าที่ท่ีรับผิดชอบงานพัสดุเท่าที่ควร ทาให้บุคลากร
เหล่าน้ขี าดความกา้ วหนา้ ในสายงาน
๒๖
นอกจากนี้ การนาระบบดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการจัดซ้อื จัดจ้างภาครัฐยังไม่สามารถ
ทาได้ครบวงจร จากสาเหตุหลายประการ อาทิ งบประมาณในการพัฒนาระบบ กฎระเบียบราชการ
บางเรื่องไม่เอ้ือต่อระบบดิจิทัล รวมท้ังขาดการบูรณาการข้อมูลการจัดซ้ือจัดจ้างระหว่างหน่วยงาน
การปฏิรูประบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ ควรจะมุ่งเน้นการวางระบบที่รวดเร็ว และโปร่งใสด้วยการใช้
เทคโนโลยีเข้ามาจัดการแทนบุคคล และควรให้ความสาคัญกับเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลด้านการจัดซ้ือ
จัดจ้าง และบูรณาการทางานร่วมกันระหว่างกรมบัญชีกลางและหน่วยงานตรวจสอบการทุจริต
เพ่ือให้มีแนวทางการป้องกันการทุจริตท่ีชัดเจน มีมาตรฐาน สร้างความเช่ือม่ันต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ
บุคลากรด้านพัสดุมีความรู้ ความสามารถ มีความภาคภูมิใจในวิชาชีพและมีเส้นทางความก้าวหน้า
ในสายงาน รวมทั้งส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน และภาคประชาชนในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของกลไกการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐเพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริตประพฤติมิ ชอบในภาค
ราชการได้อยา่ งครบวงจร
กจิ กรรมปฏริ ูปดงั กลา่ วมีเปา้ หมาย ดังนี้
๑. หนว่ ยงานภาครฐั สามารถดาเนิน การจัดซือ้ จัดจา้ งได้โดยรวดเร็ว มีประสทิ ธภิ าพ
มีความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผ่านระบบสนับสนุนจัดซื้อจัดจ้างเป็นแบบดิจิทัลในทุกข้ันตอน
มกี ารบรู ณาการ และเชอ่ื มโยงขอ้ มูลดา้ นการจัดซ้ือจัดจา้ งกับระบบอน่ื ๆ อยา่ งเตม็ รปู แบบ
๒. มีระบบในการติดตามและป้องกันการทุจริตท่ีรวดเร็ว มีมาตรฐาน ส่งเสริม
บทบาทภาคเอกชน ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมตรวจสอบป้องกันการทุจริต เพ่ือสร้างความโปร่งใส
และการทจุ ริตการจดั ซ้อื จดั จ้างลดลง
๒.๖ นโยบายของรัฐบาล
คณะรัฐมนตรีท่ีมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบาย
ต่อรัฐสภา เม่ือวนั พฤหัสบดีที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โดยมีนโยบายหลัก ๑๒ ด้าน โดยด้านการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตนน้ั ปรากฏอยใู่ นนโยบาย ดงั น้ี
ข้อ ๑๒. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการ
ยุตธิ รรม
ข้อ ๑๒.๑ แก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยจัดให้มีมาตรการและระบบ
เทคโนโลยี นวตั กรรมท่ีช่วยปอ้ งกนั และลดการทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบอย่างจรงิ จังและเข้มงวด รวมท้ังเป็น
เครื่องมือ ในการติดตามการแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งเร่งสร้าง
จิตสานึกของคนในสังคมให้ยึดมั่นในความซ่ือสัตย์ สุจริต ถูกต้อง ชอบธรรม และสนับสนุนทุกภาคส่วน
ให้เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการป้องกนั และเฝา้ ระวังการทุจริตประพฤตมิ ชิ อบ
๒๗
ข้อ ๑๒.๒ ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดยส่งเสริมให้มีรูปแบบการลงโทษอ่ืนที่ไม่ใช่
โทษอาญาตามหลักสากล มุ่งเน้นยกระดับการพัฒนาระบบ แก้ไข บาบัด ฟ้ืนฟูผู้กระทาผิด ส่งเสริม
ปกป้อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน พัฒนาประสิทธิภาพระบบการสืบสวนสอบสวนด้านการปราบปราม
อาชญากรรมพิเศษ กาหนดมาตรการคุม้ ครองเจา้ หน้าท่ีของรัฐในกระบวนการยุติธรรมให้สามารถปฏิบัติ
หน้าที่โดยปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงาใด ๆ พร้อมท้ังบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในกระบวนการยุติธรรม ให้ดาเนินงานสอดประสานกันอย่างเป็นองคาพยพ เพื่อให้สามารถจัดการกับ
ข้อขัดแย้งและกรณีพิพาท ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการทางานเชิงรุก รวมทั้งพัฒนาบุคลากร
ในกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถอานวยความยุติธรรมยุติธรรมได้อย่างเป็นธรรม เสมอภาค โปร่งใส
รวดเร็ว ท่ัวถึง และปราศจากการเลือกปฏิบัติ สร้างความเช่ือม่ันในกระบวนการยุติธรรมได้
และสร้างสังคมที่พัฒนาอย่างเป็นธรรม ลดความเหล่ือมล้า เกิดความเสมอภาคและเท่าเทียม
พร้อมทั้งผลักดันให้เกิดการนาเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลกฎหมาย พัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เพ่ือให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ และเป็นธรรม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย
ท่ีจาเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก
และรวดเร็ว
นโยบายเร่งด่วน ๑๒ เรอื่ ง โดยปรากฏอยู่ในเร่ืองที่ ๘ ดงั นี้
ข้อ ๘. การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการท้ังฝ่ายการเมือง
และฝ่ายราชการประจา โดยเร่งรดั การดาเนินมาตรการทางการเมืองควบคู่ไปกับมาตรการทางกฎหมาย
เมื่อพบผู้กระทาผิดอย่างเคร่งครัด นาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการเฝ้าระวังการทุจริตประพฤติมิชอบ
อย่างจริงจัง และเข้มงวด และเร่งรัดดาเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายเม่ือพบผู้กระทาผิดอย่าง
เคร่งครัด เพ่ือให้ภาครัฐปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยเร็วท่ีสุด พร้อมท้ังให้ภาคสังคม
ภาคเอกชน และประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการปอ้ งกันและเฝา้ ระวังการทจุ ริตประพฤติมิชอบ
กล่าวโดยสรุป ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท และแผนการปฏิรูปประเทศเก่ียวกับ
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้มีการกาหนดไว้อย่างเป็นระบบ
และมีแนวทางที่จะนาไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน ซ่ึงมุ่งไปสู่เป้าหมายท่ีทาให้ภาครัฐมีความโปร่งใส
ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ นอกจากนี้ ในด้านนโยบายของรัฐบาลซ่ึงจะต้องดาเนินการ
ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท และแผนการปฏิรูปประเทศดังกล่าว
ก็ได้มีการแถลงต่อรัฐสภา ท้ังท่ีเป็นนโยบายเร่ืองปกติและเรื่องเร่งด่วนอันเก่ียวกับการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบไวเ้ ช่นเดียวกัน
บทท่ี ๓
แนวคดิ ทฤษฎี และข้อมลู ท่ีเกย่ี วข้อง
กบั การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการต่อตา้ นการทุจริต และรูปแบบ QR Code
๓.๑ แนวคิดประชาธปิ ไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy)
แนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) เริ่มต้ังแต่ปี
ค.ศ. ๑๙๖๐ เม่ือสงั คมมีความซับช้อนมากข้ึน และตัวแทนที่ได้รับเลือกตั้งไมไ่ ด้ทาหน้าท่ีในการตัดสินใจ
เรื่องต่าง ๆ เก่ียวกับการบริหารราชการแผ่นดินหลัก ๆ เนื่องจากการบริหารราชการแผ่นดินเป็นหน้าที่
ของระบบราชการและหน่วยงานฝ่ายบริหารต่าง ๆ และโดยท่ีการตัดสินใจสาคัญต่าง ๆ ในเบ้ืองต้น
เกิดข้ึนภายนอกรัฐสภาและฝ่ายนิติบัญญัติ ทาให้เจ้าหน้าท่ีรัฐที่ทางานอยู่ในหน่วยงานของรัฐ
กลบั มีบทบาทในการตดั สนิ ใจสาคญั ๆ และใช้ผลจากการตัดสินใจนั้นไปดาเนนิ การ โดยการเหน็ ชอบของ
ผู้นาหน่วยงานซ่ึงไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง โดยประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้
ประชาชนมีสว่ นร่วมในทางการเมืองการปกครอง และในการตัดสินใจระดับต่าง ๆ มากขึ้น มิใช่เพียงให้
ประชาชนสามารถใช้อานาจของตนผ่านการเลือกต้ังเพียงอย่างเดียว แต่ยังเปิดช่องทางให้ประชาชน
มีส่วนร่วมรับร้ขู ้อมูลข่าวสาร ความเคลือ่ นไหว และความคืบหน้าของการบรหิ ารจัดการประเทศ โดยผู้ท่ี
ทาหน้าท่ีแทนประชาชน หรือเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนรว่ มแสดงความคดิ เห็นและให้ขอ้ มลู แก่ผู้ท่ีทาหน้าท่ี
แทนตน เพือ่ ประกอบการตัดสินใจในเรอ่ื งต่างๆ รวมทั้งการที่ประชาชนเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการตรวจสอบ
และถอดถอนผูท้ ี่ทาหนา้ ทแี่ ทนประชาชนทขี่ าดประสิทธภิ าพ บกพร่องตอ่ หน้าท่หี รือไมส่ ุจริตแล้วแต่กรณี
ในบทนี้ จงึ เป็นการนาเสนอสาระสาคญั ของแนวคดิ การมสี ่วนรวมของประชาชน แนวคดิ
การบริหารราชการแบบมีสว่ นรว่ ม และหลักธรรมาภิบาล
การมีส่วนร่วมของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางสังคมและการเมืองในอดีต
การมีส่วนร่วมของประชาชนจะมคี วามหมายเพียงกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในทางการเมอื งที่
ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งที่เป็นไปตามหลักการของประชาธิปไตยแบบ
ตัวแทน แต่กระแสสังคมในปัจจุบันให้ความสาคัญกับประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ท่ีประชาชนเข้ามา
มสี ่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการตัดสินใจของภาครัฐซึ่งมีผลกระทบตอ่ ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
นอกเหนือจากมสี ิทธิ์เพยี งการเลอื กผู้แทนเข้าไปทาหน้าที่ปกครองและบริหารประเทศ
๒๙
๓.๑.๑ ความหมายการมสี ่วนรวมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน (Citizen Participation) มีความหมายหลากหลาย
และใช้คาภาษาอังกฤษแตกต่างกัน เช่น Popular Participation, People Participation และ Public
Participation ซึ่งต่างก็มีเป้าประสงค์และเน้อื หาสาระไปในทางเดียวกนั การมสี ่วนรว่ ม (Participation)
เป็นคาที่เกิดและอยู่เคียงคู่กับการปกครองระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากระบบการปกครองนี้ถือว่า
อานาจอธิปไตยซึ่งเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศน้ันมาจากประชาชน ดังน้ันการมีส่วนร่วม
จึงนามาใช้ในการบริหารงานแบบประชาธิปไตยและเป็นองค์ประกอบอย่างหน่ึงของหลักธรรมภิบาล
การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมหรือการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน (Participate Management)
จะเป็นการท่ีบุคคลได้มีส่วนเก่ียวข้องในการปฏิบัติงานท้ังในด้านการแสดงความคิดเห็นและการ
ปฏิบัติการมีส่วนร่วมและช่วยสร้างพลังจิตให้ร่วมกันปฏิบัติงานอย่างเต็มที่มีประสิทธิภาพมากกว่าการ
ยินยอมปฏิบัติตามคาสั่งการมีส่วนร่วมจะช่วยกระตุ้นให้บุคคลน้ันสนับสนุนเป้าหมายของกลุ่มตลอดจน
วตั ถปุ ระสงคร์ วมขององคก์ ร
ยุวัฒน์ วุฒิเมธี๑ ได้อธิบายการมีส่วนร่วมของประชาชนว่า หมายถึงการเปิดโอกาสให้
ประชาชนได้มสี ว่ นร่วมในการคิดรเิ รม่ิ การพิจารณาตัดสนิ ใจการปฏิบตั ิและรบั ผดิ ชอบในเรือ่ งตา่ ง ๆ อนั มี
ผลกระทบถึงตวั ประชาชนเอง การทีจ่ ะสามารถทาใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการพฒั นาท้องถิ่นเพือ่
แกไ้ ขปญั หาและนามาซ่งึ สภาพความเปน็ อยขู่ องประชาชนทดี่ ขี นึ้ ไดน้ น้ั ผู้นาการเปลีย่ นแปลงตอ้ งยอมรบั
ปรัชญาพัฒนาชมุ ชนท่ีวา่ มนุษย์ทุกคนมีความปรารถนาทจี่ ะอยรู่ ่วมกับผู้อนื่ อย่างเป็นสุขได้รับการปฏิบัติ
อย่างเป็นธรรมและเป็นท่ียอมรับของผู้อ่ืนและพร้อมที่จะอุทิศตนเพื่อกิจกรรมของชุมชน ขณะเดียวกัน
ต้องยอมรับความบริสุทธ์ิใจด้วยว่ามนุษย์น้ันสามารถพัฒนาได้ถ้ามีโอกาสและได้รับการช้ีแนะอย่าง
ถูกตอ้ ง
สิริพัฒน์ ลาภจิตร๒ อธิบายว่า การมีส่วนร่วม (participation) เป็นกระบวนการสื่อสาร
ระหว่างบคุ คล กล่มุ บุคคล ชุมชน หรือองคก์ ร ในการดาเนินกิจกรรมใด กิจกรรมหนึ่งหรือหลายกจิ กรรม
ท้ังเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซึ่งการมีส่วนร่วมจะเก่ียวข้องกับกระบวนการให้ประชาชนเข้ามามี
ส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินงาน พัฒนา ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมการดาเนินการและร่วมรับ
๑ ยุวฒั น์ วุฒิเมธ.ี การเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งใหก้ บั ชมุ ชน. วารสารพฒั นาชุมชน. ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔: หนา้ ๓๒.
๒ สิริพัฒน์ ลาภจิตร. (๒๕๕๐). ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงาน
องค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) กรุงเทพมหานคร:
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๐), หนา้ ๒๖.
๓๐
ผลประโยชน์ โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกันของกลุ่ม และเป็นการเสริมสร้างความ
สามคั คี ความร้สู ึกรว่ มรับผดิ ชอบกบั กลุ่มด้วย
ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ๓ ให้ความหมายการมีส่วนร่วมของประชาชน ว่าเป็นการให้
โอกาสประชาชนเข้าร่วมดาเนินงานตั้งแต่กระบวนการเบ้ืองต้นจนถึงกระบวนการสิ้นสุด โดยท่ีการเข้า
รว่ มอาจร่วมในขนั้ ตอนใดขน้ั ตอนหนงึ่ หรอื ครบวงจรก็ได้ การเข้ารว่ มมที ั้งรายบคุ คล กลมุ่ หรือองค์กรท่ีมี
ความคิดเหน็ ทีส่ อดคล้องกนั การรับผิดชอบรว่ มกัน เพื่อดาเนินการพฒั นาและเปล่ียนแปลงไปในทิศทาง
ที่ตอ้ งการ โดยการกระทาผา่ นกลมุ่ หรือองคก์ ร เพ่อื ใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์
กล่าวโดยสรุป คือ การมีส่วนร่วม หมายถึง การท่ีบุคคล กลุ่มคน หรือองค์กรภาค
ประชาชนเข้ามาร่วมกันดาเนินงานกิจกรรมอยา่ งใดอย่างหนึ่ง โดยมีการรับรใู้ นขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ต้ังแตก่ าร
คดิ การตัดสนิ ใจการกาหนดแนวทาง การวางแผน การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลของกิจกรรมนนั้ ๆ
โดยคนที่เข้ามาร่วมน้ันตา่ งไดร้ ับผลของการดาเนินการโดยเฉพาะการได้รบั ประโยชนร์ ่วมกนั
๓.๑.๒ รปู แบบและลกั ษณะการมสี ่วนรวมของประชาชน๔
รูปแบบของการมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชนทดี่ าเนนิ การอย่โู ดยทั่วไป สามารถสรปุ ได้ 5
รปู แบบ คอื
๑) การรับรู้ข่าวสาร (public information) การมีส่วนร่วมในรูปแบบนี้ ประชาชนผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย และบุคคลหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจะต้องได้รับการแจ้งให้ทราบถึงรายละเอียด
ของโครงการท่ีจะดาเนินการ รวมทั้งผลกระทบท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น ท้ังน้ี การได้รับแจ้งข่าวสารดังกล่าว
จะต้องเป็นการแจ้งก่อนท่จี ะมีการตัดสินใจดาเนินโครงการ
๒) การปรึกษาหารือ (public consultation) เป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมท่ีมีการจัดการ
หารือระหว่างผดู้ าเนินโครงการกับประชาชนที่เก่ียวขอ้ งและได้รบั ผลกระทบเพ่ือที่จะรับฟังความคิดเห็น
และตรวจสอบขอ้ มลู เพิ่มเตมิ หรือประกอบการจดั ทารายงาน การศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม นอกจากน้ี
การปรึกษาหารือยังเป็นอีกช่องทางหน่ึง ในการกระจายข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนทั่วไปและ
หน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อให้เกิดความเข้าใจในโครงการและกิจกรรมมากขึ้น เพื่อให้มีข้อเสนอแนะ
เพอื่ ประกอบทางเลอื กในการตดั สนิ ใจ
๓ ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (๒๕๓๕). การมีสว่ นร่วมของชาวบ้านในงานวนศาสตร์ชุมชน : กรณีชุมชนห้วยม่วง. ขอนแก่น:
มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ , หนา้ ๗.
๔ ประพันธ์ วรรณบวร. (๒๕๔๓). การมีส่วนร่วมของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลในการดาเนินงานองคก์ าร
บริหารส่วนตาบล: กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมา, (โครงการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ศศ.ม.), บัณฑิตวิทยาลัย) ขอนแก่น:
มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ , หน้า ๔๒.
๓๑
๓) การประชุมรับฟังความคิดเห็น (public meeting) การประชุมรับฟังความคิดเห็นมี
วัตถุประสงค์เพ่ือให้ประชาชนและฝ่ายท่ีเก่ียวข้องกับโครงการหรือกิจกรรม และผู้มีอานาจตัดสินใจใน
การทาโครงการหรือกิจกรรมน้ัน ไดใ้ ช้เวทีสาธารณะในการทาความเข้าใจ และค้นหาเหตุผลทีจ่ ะดาเนิน
โครงการหรือกิจกรรมในพืน้ ทนี่ นั้ หรอื ไม่ การประชุมรบั ฟงั ความคิดเหน็ มีหลายรปู แบบ ดงั นี้
(๑) การประชุมในระดับชุมชน (community meeting) การประชุมลักษณะนี้ ต้อง
จัดข้ึนในชุมชนท่ีได้รับผลกระทบจากโครงการโดยเจ้าของโครงการหรือกิจกรรมต้องส่งตัวแทนเข้า ร่วม
เพื่ออธิบายให้ที่ประชุมทราบถึงลักษณะโครงการและผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดข้ึนและตอบข้อคาถาม
การประชมุ ในระดับน้อี าจจะจัดในระดับที่กว้างขน้ึ ได้ เพื่อรวมหลาย ๆ ชุมชนในคราวเดยี วกนั ในกรณที ี่มี
หลายชุมชนได้รบั ผลกระทบ
(๒) การประชุมรับฟังความคิดเห็นในเชิงวิชาการ (technical hearing) สาหรับ
โครงการท่ีมีข้อโต้แย้งในเชิงวิชาการจาเป็นจะต้องมีการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นในเชิงวิชาการ
โดยเชิญผูเ้ ช่ียวชาญเฉพาะสาขาจากภายนอกมาช่วยอธิบายซักถาม และให้ความเห็นตอ่ โครงการประชุม
อาจจะจัดในท่ีสาธารณะทั่วไป ผลการประชุมจะต้องนาเสนอต่อสาธารณะ และผู้เข้าร่วมประชุมต้อง
ไดร้ ับทราบผลดังกลา่ วด้วย
(๓) การประชาพิจารณ์ (public hearing) เป็นการประชุมท่ีมีข้ันตอนการดาเนินการ
ท่ชี ัดเจนมากขนึ้ เป็นเวทีในการเสนอขอ้ มูลอย่างเปดิ เผยที่ไมม่ กี ารปิดบัง ท้งั ฝ่ายเจา้ ของโครงการ และผู้มี
ส่วนได้สว่ นเสียจากโครงการ และคณะกรรมการจดั การประชมุ จะต้องมีองคป์ ระกอบของผู้เขา้ รว่ มทเี่ ป็น
ท่ียอมรับมหี ลักเกณฑแ์ ละประเด็นในการพิจารณาท่ีชดั เจนและแจ้งให้ทกุ ฝา่ ยทราบท่ัวกัน ซึ่งมาจากการ
ร่วมกันกาหนดข้ึน ท้ังนี้ รูปแบบการประชุมไม่ควรจะเป็นทางการมากนัก และไม่เกี่ยวข้องกับนัยของ
กฎหมายมาก การจัดประชุมจึงอาจจัดในหลายวันและไม่จาเป็นจะต้องจัดเพียงคร้ังเดียวหรือสถานที่
เดยี วตลอดไป
(๔) การร่วมในการตัดสินใจ (decision making) เป็นเป้าหมายสูงสุดของการมีส่วน
รว่ มของประชาชน ซงึ่ ในทางปฏิบัติทีจ่ ะให้ประชาชนเป็นผ้ตู ดั สินใจในประเด็นปัญหาเหลา่ นั้นไม่สามารถ
ดาเนินการใหเ้ กดิ ขึ้นไดง้ า่ ย ๆ อาจจะดาเนินการให้ประชาชนทไี่ ด้รบั ผลกระทบ เลือกตัวแทนของคนเข้า
ไปนั่งในคณะกรรมการใดคณะหนึ่งที่มีอานาจตัดสินใจ ในฐานะท่ีเป็นตัวแทนขององค์กรท่ีทาหน้าที่เป็น
ผู้แทนประชาชนในพ้ืนทีม่ ีบทบาทช้นี าการตัดสินใจได้
(๕) การใช้กลไกทางกฎหมาย รูปแบบน้ีไม่ถือว่าเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชน
โดยตรงแตเ่ ป็นลักษณะของการเรียกร้องและป้องกันสิทธิของตนจากการไม่ไดร้ ับความเป็นธรรม เพ่ือให้
ได้มาซ่ึงผลประโยชนท์ ี่คิดว่าควรจะได้รับ ในรัฐธรรมนูญได้ใหห้ ลักการเร่ืองการมีส่วนร่วมของประชาชน
๓๒
ไว้ในหลายมาตรา ซ่ึงประชาชนสามารถใช้สิทธิของตนตามรัฐธรรมนูญท้ังในรูปของปัจเจก และในรูป
ขององค์กรตามที่ไดร้ ะบุไวใ้ นพระราชบัญญัติต่าง ๆ ท่ีบญั ญตั ิข้นึ
๓.๒ แนวคิดการบริหารราชการแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Governance)๕
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Governance) เป็นการจัดการบริหาร
ราชการแผ่นดินตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ซ่ึงจะนาไปสู่ระบบราชการท่มี ีคุณลักษณะ
สาคญั ตามหลกั ธรรมาภิบาล คอื เปน็ ระบบราชการที่มคี วามสุจรติ โปร่งใส เปิดเผยข้อมลู เท่ียงธรรมและ
มีการบริหารงานทเี่ น้นประชาชนเป็นศูนยก์ ลาง และมงุ่ ประโยชน์สขุ ของประชาชนเปน็ สาคญั
๓.๒.๑ ความหมายการบรหิ ารราชการแบบมีสว่ นรว่ ม (Participatory Governance)
ความหมายหรือนิยามของ “การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Governance)
น้นั มนี กั วิชาการหลายทา่ นได้ให้ความหมายท่มี ีลักษณะคล้ายคลึงกนั เช่น
เศรษฐิยา เปร่ืองพิชญาธร ให้ความหมายว่า หมายถึง การบริหารราชการท่ีเจ้าหน้าที่
หรือหน่วยงานของรัฐได้เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้ที่เก่ียวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ได้
เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการบริหารและดาเนินงานของรัฐ ท้ังทางตรงและทางอ้อมเพ่ือท่ีจะ
ตอบสนองตอ่ ความต้องการของประชาชน
อรพินท์ สพโชคชยั ใหค้ วามหมายวา่ หมายถงึ การจดั ระบบการบรหิ ารราชการ ข้ันตอน
วิธกี ารปฏิบตั ิงาน และโครงสร้างของการตดั สนิ ใจในการบริหารราชการ ให้เป็นระบบที่เปิดให้ประชาชน
ได้เข้ามามีส่วนร่วม (Public Participation) ในพันธกิจขององค์กรภาครัฐมากข้ึน องค์กรภาครัฐที่มี
ระบบการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมจะดาเนินการให้บริการสาธารณะและการตดั สินใจเชิงนโยบาย
ในมิติท่ีเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เน้นความเปิดเผยและโปร่งใสให้ความสาคัญในการ
พฒั นาและสรรหาข้าราชการและบคุ ลากรทุกระดบั โดยยดึ ถือหลักปรชั ญาการมีส่วนร่วมของประชาชน
และเป็นบุคลากรที่มีคุณลักษณะดังน้ี คือ มีจิตสาธารณะมีความเป็นประชาธิปไตย เคารพในสิทธิข้ัน
พ้ืนฐานของประชาชน เปิดกว้างพร้อมท่ีจะรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และปฏิบัติงานเพื่อ
ประโยชน์สุขของประชาชน
สานักงานคณะกรรมการพัฒนา ให้ความหมายว่า หมายถึง การบริหารราชการท่ีนาผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผน การตัดสินใจ การ
๕ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (๒๕๖๐) การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม:เทคนิควิธีและการ
นาไปสู่การปฏบิ ัติ. กรงุ เทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, หนา้ ๑๕-๑๘.
๓๓
ดาเนนิ งานและการประเมนิ ผล โดยมีการจัดระบบงานหรือวธิ กี ารทางาน การจัดโครงสรา้ ง และการสร้าง
วัฒนธรรมการทางานของเจ้าหน้าที่รัฐ ที่เอื้อต่อการเปิดโอกาสให้ประชาชนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ี
เกีย่ วข้องเข้ามามีสว่ นร่วมในการบริหารราชการ
การบริหารราชการแบบมสี ่วนร่วม จงึ เป็นแนวคดิ ในการบริหารราชการทใี่ ห้ความสาคัญ
กับการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม โดยเน้นการปฏิบัติงานท่ีให้ภาคประชาชนเข้ามามี
บทบาทในลักษณะหุ้นส่วนที่ครอบคลุม ตั้งแต่การริเร่ิมการดาเนินงานหรือดาเนินโครงการ การจัดทา
งบประมาณโครงการ การดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ การติดตามตรวจสอบ และการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน
๓.๒.๒ ประโยชนข์ องการบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม
การปรับเปลี่ยนการบริหารราชการของหน่วยงานภาครัฐ ท่ีเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้า
มามีส่วนร่วมในลักษณะของหุ้นส่วน การพัฒนาภายใต้แนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมการมีส่วน
ร่วมของประชาชน และการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม จะกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ หนว่ ยงานภาครฐั ใน
หลายประการ ไดแ้ ก่
๑. การตัดสินใจที่มีคุณค่าและความหมาย (Meaningful decision) เพราะภาค
ประชาชนได้เข้ามามสี ่วนร่วมในการจัดลาดับความสาคัญของโครงการ แผนงาน การใช้งบประมาณ
๒. การใช้ทรัพยากร (Public resources) อย่างรอบคอบ เพราะภาคประชาชนเข้ามามี
สว่ นในการตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงาน
๓. ภาคประชาชนได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ เพื่อหาทางแก้ไขปัญหา
สาธารณะต่างๆ ทาให้แนวทางเหลา่ นั้นได้รับการสนับสนนุ เมอื่ นาไปปฏิบัติ และได้รับการยอมรับ ซึ่งทา
ให้ภาครฐั ไม่ตอ้ งทางานในลกั ษณะโดดเดย่ี วต่อไป
๔. การทางานในลักษณะหุ้นส่วน (Partnership) โดยภาครัฐปรับเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้
ประสานและอานวยความสะดวก (Facilitator) ซง่ึ สอดคล้องกับบทบาทภาครฐั ในการบริหารราชการยุค
ใหม่ทาใหร้ ัฐสามารถลดขนาดลง และทางานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากข้ึนเพราะมีหนุ้ สว่ นการพัฒนามา
ชว่ ยแบง่ เบาภาระดา้ นค่าใชจ้ ่าย บคุ ลากร และงบประมาณ
๕. ความสามารถในการให้บริการท่ีดีข้ึน เพราะสามารถตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ ท่ัวถึงและตรงจุดมากข้ึน เช่น การสาธารณสุข การศึกษา
เป็นต้น
๓๔
๖. ความสมั พันธ์ระหว่างภาครัฐและประชาชนมคี วามไว้วางใจเป็นพน้ื ฐานอนั เป็นผลสืบ
เนื่องมาจากการได้ร่วมคิด ร่วมตดั สินใจ ร่วมทาและร่วมรบั ผลประโยชน์ รวมท้ังมกี ารแลกเปล่ียนข้อมูล
ขา่ วสารและองคค์ วามรอู้ ย่างเปิดเผยระหว่างกนั
กล่าวโดยสรุป จากพัฒนาการของประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ส่งผลให้แนวคิดการมี
ส่วนร่วมของประชาชน และแนวคิดการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม เป็นแนวคิดท่ีได้รับความสนใจ
และให้ความสาคัญในการนามาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐในปัจจุบัน ซ่ึง
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนรว่ ม การมสี ่วนร่วมของประชาชน และการบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม เป็น
แนวคิดที่ต่างมีความหมายและนิยามที่แตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตามก็มีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกัน
โดยต่างก็มีคาอธิบายที่แสดงให้เห็นและได้คาตอบท่ีคล้ายคลึงกัน ดังจะเห็นได้จากการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ด้วยระบบประชาธิปไตยน้ันได้ถูก
ปลูกฝังไว้ว่าเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน ถ้าขาดประชาชนก็ไม่มี
ประชาธิปไตย ในขณะเดียวกันระบบประชาธปิ ไตยจะพัฒนาก้าวเดินไปข้างหนา้ น้นั การบรหิ ารราชการก็
ต้องมกี ารจัดระบบการบริหารจัดการท่ีเป็นการบริหารราชการแบบมสี ่วนร่วม ซึ่งการจะบรรลผุ ลได้ต้อง
สร้างวัฒนธรรมการบริหารจัดการภาครัฐที่ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยสามารถ
แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์และเชื่อมโยงระหว่างกันในสามมิติ ได้แก่ ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
(Participatory Democracy - PD) การบริหารราชการแบบมสี ่วนร่วม (Participatory Governance -
PG) และการมีส่วนรว่ มของประชาชน (PublicParticipation - PP)
๓.๓ แนวคิดหลกั ธรรมาภบิ าล (Good Governance)๖
แนวคิดหลักธรรมาภิบาล หรือ Good Governance หรือตามกฎหมายใช้คาว่า
“การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองและสังคมทีด่ ี” นนั้ ตามกฎหมาย กล่าวคือ พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหาร
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ ีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้นาหลกั การดังกล่าวมากาหนดไว้ โดยมคี วามหมายและหลกั การสาคัญ ๆ ดงั นี้
๓.๓.๑ ความหมายของธรรมาภิบาล (Good Governance)
ธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เป็นแนวทางสาคัญใน
การจัดระเบียบให้สังคมรัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชนซึ่งครอบคลุมถึงฝ่ายวิชาการ ฝ่าย
๖ ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการสร้างระบบบรหิ ารกิจการบ้านเมอื งและสงั คมทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๒
๓๕
ปฏิบัติการ ฝ่ายราชการ และฝ่ายธุรกิจ สามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขมีความรู้รักสามัคคีและร่วมกัน
เป็นพลงั กอ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื และเปน็ สว่ นเสริมความเข้มแขง็ หรอื สรา้ งภูมคิ ุ้มกันแกป่ ระเทศ
เพื่อบรรเทาป้องกันหรือ แก้ไขเยียวยาภาวะวิกฤติภยันตรายท่ีอาจจะมีมาในอนาคตเพราะสังคมจะร้สู ึก
ถึงความยุติธรรม ความโปร่งใสและความมีส่วนร่วม อันเป็นคุณลักษณะสาคัญของศักดิ์ศรีความเป็น
มนุษย์ และการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ พระประมขุ สอดคล้องกับความ
เป็นไทย รฐั ธรรมนูญ และกระแสโลกยุคปจั จุบัน
๓.๓.๒ หลักการพื้นฐานของการสรา้ งธรรมาภิบาลในองคก์ ร
การสง่ เสริมให้เกิดกรสร้างธรรมาภิบาลนนั้ มาจากความร่วมมือของทง้ั สถาบันทัง้ ภาครัฐ
ภาคเอกชนและประชาสังคม บทบาทของรัฐท่ีสาคัญนั้น คือ รัฐเป็นผู้มีบทบาทในการวางรากฐาน
และรักษากฎระเบียบต่าง ๆ การสร้างธรรมาภิบาลของรัฐน้ันจาเป็นต้องอาศัยระบบการจัดการภาครัฐ
ที่มปี ระสิทธิภาพ มภี าระรับผิดชอบภายใตก้ ฎหมาย และนโยบายทโี่ ปรง่ ใสตรวจสอบได้ ดงั น้ัน จึงมคี วาม
จาเป็นอย่างย่ิงท่ีรัฐจะต้องมีการปฏิรูประบบราชการ เพ่ือปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มี
ประสิทธิภาพ และรับผิดชอบภายใต้กรอบของกฎหมาย ซึ่งจุดมุ่งหมายในการสร้างธรรมาภิบาล
ของภาครัฐน้ัน จะต้องพยายามปฏิรูปการบริหารจัดการให้ถูกต้องตามหลักเหตุผล และหน้าท่ี มีระบบ
ความรับผิดชอบด้านการเงินทมี่ ีประสิทธภิ าพมาใช้ และให้มีความโปร่งในการปฏิบตั ิงาน ยกระดบั ความ
ชานาญของภาครัฐให้มีความทันสมัย เป็นต้น ส่วนบทบาทขององค์การภาคเอกชนและบทบาทของ
ประชาสังคม ที่มีต่อการสร้างธรรมาภิบาล คือ การรวมตัวกันของสาธารณชนในการต่อต้านการทุจริต
และการประพฤติมิชอบ โดยรัฐควรมีการหามาตรการท่ีจะกระตุ้นให้เกิดการตระหนักถึงการทาผิด
จรรยาบรรณ เป็นตน้
สาหรับหลักการพ้ืนฐานของธรรมมาภิบาลในองค์กรตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่า
ด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบไปด้วย หลักนิติธรรม
หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า
ซึง่ มรี ายละเอียด ดังนี้
๑. หลักนิติธรรม (The Rule of Law) คือ การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ
ซึ่งรวมถึงการไม่เลือกปฏิบัติการไม่ทาตามอาเภอใจ การไม่ละเมิดกฎหมาย และการไม่ละเมิดสิทธิของ
ผู้อนื่
๒. หลักคุณธรรม (Morality) คือ การยึดมั่น ถือม่ันในคุณธรรมความดีงาม ความ
ถูกต้องตามทานองคลองธรรมรวมถึงมีความซื่อสัตย์จริงใจ และยึดมั่นในความสุจริตคุณธรรมเป็น
แนวทางทีถ่ ูกต้องในการดาเนินชวี ิต ท้งั ความประพฤตแิ ละจติ ใจซึ่งแต่ละสังคมกาหนดและยอมรบั ปฏบิ ัติ
๓๖
กัน เช่น ช่ือสัตย์อดทน เมตตากรุณา เสียสละ เป็นต้นในระดับกิจการ หลักคุณธรรม คือ การทาธุรกิจ
ด้วยความมีจริยธรรมทางธุรกิจ ซึ่งหมายถึง มาตรฐานทางศีลธรรมคุณธรรมท่ีใช้กับองค์กรทางธุรกิจ
ปัญหาจรยิ ธรรมธรุ กิจทเ่ี กดิ ขึ้นกบั กจิ การ เช่น การปกบดิ ขอ้ เท็จจริง หรือตกแตง่ ตัวเลขทางบญั ชีเพอ่ื หวงั
ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง การฟอกเงิน การหลบเล่ียง หนีภาษี การละเลยไม่ดูแลด้านความปลอดภัย
ในสถานท่ที างาน การเลือกปฏิบตั หิ รอื มีสองมาตรฐานในการบริหารงานบุคคล
๓. หลักความโปร่งใส (Accounta bility) คือ ความถูกต้อง ชดั เจน ปฏิบัติตามหลักการ
ท่ีควรจะเป็นรวมถึงการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน มีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องได้
รวมทั้งการให้และรับข้อมูลท่ีเป็นจริงตรงไปตรงมาทันเวลาในระดับกิจการ อาจแปลความหมายของ
“Accountability" ว่าเป็น "ความรับผิดชอบท่ีอธิบายได้" ซ่ึงเป็นภาระบทบาทของผู้บริหารในแง่
ข้อผูกพันหรือความเต็มใจท่ีจะยอมรับความรับผิดชอบ รวมทั้งความสามารถในการรายงานชี้แจงให้
เหตุผลเพ่ืออธิบายการกระทาของตนเองและสามารถตอบคาถามของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ในทุกท่ี
ทุกโอกาส เพ่ือแจกแจงอธิบายการกระทาท้ังหมดที่ตนรบั ผดิ ชอบ
๔. หลักการมีส่วนร่วม (Participation) อ การให้โอกาสบุคคลท่ีเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วน
ร่วมในการตัดสินใจ ในเร่ืองต่าง ๆ ที่สาคัญรวมท้ังการเปิดรับฟังความคิดเห็น เพ่ือรับคาแนะนามาร่วม
วางแผนและปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ในระดับสังคม ซึ่งประกอ บด้วยบุคคลหลากหลาย
และมีความคิดเห็นท่ีแตกต่าง หลักการมีส่วนร่วมจะช่วยประสานความคิดเห็นหรือความต้องการที่
แตกต่าง เพื่ออยู่บนพ้ืนฐานโดยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมในระตับกิจการ องค์กรจะกาหนดให้มี
คณะกรรมการซึ่งประกอบด้วยบุคคลที่มีประสบการณ์หลากหลายช่วย บริหารงานขององค์กรให้บรรลุ
วัตถุประสงค์
๕. หลักความรับผิดชอบ (Responsibility) คอื ความรับผดิ ชอบในงานของตน ความรับ
ผติ ชอบตอ่ การกระทาของตนเอง รวมถงึ การตระหนักและสานกึ ในสทิ ธิและหน้าที่
๖. หลักความคุ้มค่า (Cost -Effectiveness or Economy) คือ การบริหารจัดการ
ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในระตับบุคคล ความคุ้มค่าเทียบเคียงได้กับความประ หยัดไม่ฟุ่มเฟือย
และใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าในระดับกิจการ คือ การบริหารจัดการ
เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรือเกิดมูลค่ามากท่ีสุด เช่น การใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า และรักษา
ทรพั ยากรธรรมชาติให้ย่ังยนื