๘๗
๒๓) เทศบาลนครระยอง
เทศบาลนครระยอง มีความพร้อมสาหรับการรับเรื่องร้องเรียน โดยสามารถนา
ระบบ QR Code เผยแพร่ผ่านช่องทาง Website, Line@ และ Facebook ของเทศบาลนครระยอง
ซ่ึงช่องทางดังกล่าวเป็นช่องทางท่ีสะดวกและปลอดภัยสาหรับการแจ้งเบาะแสของประชาชน เนื่องจาก
เทศบาลนครระยองมคี ณะทางานทมี่ ีหน้าทร่ี ับเรอื่ งรอ้ งเรยี นโดยเฉพาะ
เทศบาลนครระยอง สนับสนุนการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในในการป้องกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ การจัดซื้อจัดจา้ งภาครฐั
๒๔) เทศบาลตาบลชากบก
เทศบาลตาบลชากบกเป็นหน่วยงานของรัฐระบบท้องถ่ิน ท่ีสามารถดาเนินการ
จัดซ้ือจัดจ้างเองได้โดยอยู่ภายใต้กฎหมายและระเบียบตามหน่วยงานส่วนกลางเหมือนกัน ปัจจุบัน
มีช่องทางในการรับเร่ืองร้องเรียนและประชาสัมพันธ์ เพ่ือให้ประชาชนเข้าตรวจสอบได้ เช่น E-mail
เว็บเพจเทศบาล และไลนส์ ว่ นกลางของเทศบาล เป็นต้น
เทศบาลตาบลชากบกมีความยินดีรับฟังและพร้อมแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน
และเห็นว่าระบบ QR Code เป็นแนวทางที่ดีในการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันแลปราบปราม
การทุจริตเพราะหน่วยงานของรฐั ต้องโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้
๒๕) เทศบาลตาบลชุมแสง
เทศบาลตาบลชุมแสงมีความพร้อมพอสมควรในการจัดทาระบบ QR Code
เนื่องจากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงเว็บไซต์ เพ่ือรองรับการร้องเรียนออนไลน์ เพื่ออานวยความสะดวก
และรักษาความปลอดภัยให้แก่ผู้แจ้งเบาะแส ทั้งน้ี เห็นว่าการพิจารณาศึกษา เร่ือง “การจัดทาระบบ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ” เป็นเรื่อง
ทางวิชาการ มขี ้อมลู และวิธีคดิ ท่ีซับซ้อน เมื่อศกึ ษาเสร็จแล้วควรถ่ายทอดผลการศกึ ษาให้แกห่ น่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องและให้ประชาชนทราบเข้าใจได้โดยง่าย แ ละเห็นว่าควรศึกษาและปลูกฝังค่านิยม
ความตระหนกั ถึงความสาคัญในเรื่องดังกล่าวใหแ้ กเ่ จ้าหน้าที่ของหน่วยงานทีเ่ กย่ี วข้องและประชาชนต้อง
เขา้ ใจและมีสว่ นร่วมด้วยเช่นกัน
๒๖) เทศบาลตาบลเชิงเนิน
เทศบาลตาบลเชิงเนินมีความพร้อมในการรับเร่ืองร้องเรียน ผ่าน ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นช่องทางที่สะดวกและปลอดภัยในการแจ้งเบาะแส และเห็นด้วยกับการ
จัดทาระบบ QR Code เนื่องจากภาพลักษณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมักถูกมองว่าเป็นหน่วยงาน
ทม่ี กี ารทจุ รติ อยู่เสมอ ท้งั ท่ปี ฏิบตั ติ ามระเบียบกฎหมายและจานวนรอ้ ยละของการทจุ รติ ท้ังหมดน้อยกวา่
หน่วยงานอ่ืน ดังนั้น การเปิดเผยข้อมูลให้ประชาชนได้รับรู้จะเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร
๘๘
ปกครองส่วนท้องถ่ิน และเห็นว่าก่อนดาเนินการเปิดระบบ หน่วยงานมีความต้องการให้มีการ
จดั อบรมใหค้ วามรูก้ ับเจา้ หนา้ ท่ผี รู้ บั ผิดชอบดแู ลระบบดงั กลา่ ว
๒๗) เทศบาลตาบลทงุ่ ควายกิน
เทศบาลตาบลทุ่งควายกินมีการเปิดเผยข้อมูลการจัดซ้ือจัดจ้างโดยการ
ติดประกาศท่ีเทศบาล การประกาศเผยแพร่ในเว็บไซต์ของเทศบาล และการประกาศในระบบ
ของกรมบัญชีกลาง และมีการรับเร่ืองร้องเรียนได้หลายช่องทาง เช่น โทรสายตรงถึงนายกเทศมนตรี
ปลัดเทศบาลหรือยื่นคาร้องได้ที่สานักงานและช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ ผ่านเว็บไซต์เทศบาล Facebook
เทศบาล เป็นตน้
๒๘) เทศบาลตาบลบา้ นนา
เทศบาลตาบลบา้ นามีการจัดทาชอ่ งทางการรอ้ งเรียนการทุจรติ ดังนี้
(๑) ดว้ ยตนเอง ณ เทศบาล
(๒) ทางไปรษณีย์
(๓) ระบบรบั เร่อื งร้องเรียนทางเวบ็ ไซต์ www.banna-klaeng.go.th
(๔) ตูร้ ับฟงั ความคดิ เหน็
(๕) Facebook
เทศบาลตาบลบ้านนาไม่ขัดข้องในการจัดทาระบบ QR Code และเสนอว่า
สามารถตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเตมิ ได้ที่ระบบ ITA ของ ป.ป.ช.
๒๙) เทศบาลตาบลเนนิ ฆ้อ
เท ศ บ า ล ต า บ ล เนิ น ฆ้ อ ได้ จั ด ท า ก ล่ อ งแ จ้ งร้ อ ง เรี ย น เก่ี ย ว กั บ ก า ร ทุ จ ริ ต ฯ ไ ว้
ด้านหน้าหน่วยงาน ในส่วนของการจัดทาระบบ QR Code เห็นว่าจะช่วยอานวยความสะดวกในการ
ปฏิบัติงาน และจะทาใหม้ ีประสิทธิภาพมากขึน้
๓๐) เทศบาลตาบลสานักทอ้ น
เทศบาลตาบลสานกั ท้อนมีความพรอ้ มในการรับเร่ืองรอ้ งเรยี นจากการจัดซ้อื จัด
จ้างของภาครัฐ โดยเห็นควรให้ระบบ QR Code ท่ีมีควรเน้นแพลตฟอร์มเดียวกันท่ัวประเทศและ
มาจากหนว่ ยงานสว่ นกลาง
เทศบาลตาบลสานักท้อนมีเครอื่ งมอื ท่ีเทศบาลตาบลสานักท้อน สร้างขึ้นเพื่อรับ
เรอ่ื งรอ้ งเรยี นจากประชาชน ในปัจจุบัน มีดังนี้
ช่องทางที่ 1 - ตรู้ บั เร่อื งรอ้ งเรียน/ ขอ้ คดิ เหน็
ช่องทางท่ี 2 - รอ้ งเรยี นผา่ นทางจดหมายถึงผู้เก่ียวข้อง
ชอ่ งทางท่ี 3 - ร้องเรียนดว้ ยตนเองในวัน เวลาราชการ กรณีไมม่ หี นังสือร้องเรียน
ให้มีการบันทึกรายละเอียดการร้องเรียนพร้อมชื่อ- นามสกุล ลงลายมือช่ือ พร้อมท่ีอยู่ เบอร์โทรศัพท์ที่
สามารถติดตอ่ ได้
๘๙
ช่องทางที่ 4 - ร้องเรียนทางโทรศัพท์ ให้มีการบันทึกรายละเอียดการร้องเรียน
พรอ้ มทอี่ ยู่ เบอร์โทรศัพทท์ ่สี ามารถติดตอ่ ได้
ชอ่ งทางที่ 5 - รอ้ งเรยี นผ่านอินเทอร์เน็ต เชน่ Facebook, E-mail , website
, line , กระทตู้ า่ ง ๆ เป็นต้น ให้ผูด้ แู ลระบบรวบรวมและสามารถติดตอ่ ได้
ช่องทางท่ี 6 - ร้องเรียนผ่านทางสื่อ ส่ิงพิมพ์ ส่ือมวลชนให้รวบรวมข้อมูล
เทศบาลตาบลสานักท้อน ได้เปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างให้ประชาชนได้เข้าไป
ตรวจดไู ด้ ตามชอ่ งทาง ดังต่อไปน้ี
1. ในระบบฐานขอ้ มลู อิเล็กทรอนกิ สข์ องกรมบญั ชีกลาง (ระบบ EGP)
2. ใน Website ของเทศบาลตาบลสานักท้อน
3. ในระบบ line official ของเทศบาลตาบลสานักท้อน
4. ติดประกาศเผยแพรท่ ่บี อรด์ ประชาสมั พนั ธข์ องเทศบาลตาบลสานักทอ้ น
ข้อมลู ที่นำไปเปดิ เผยได้ ประกอบไปดว้ ย
- ประกาศประกวดราคาจดั ซื้อจัดจา้ ง
- ประกาศราคากลางจดั ซือ้ จดั จา้ ง
- ประกาศผูช้ นะการเสนอราคางานจ้าง
- ประกาศสรุปผลการจดั ซื้อจัดจ้างประจาเดอื น
- ประกาศสรุปผลการจดั ซื้อจดั จา้ งประจาไตรมาส (ราคาต่ากวา่ 5,000.-บาท)
ข้อมูลทีส่ งวนไว้ไมเ่ ปิดเผย ประกอบไปด้วย - ไมม่ ี
เทศบาลตาบลสานกั ท้อนเหน็ ด้วยกบั การจัดทาระบบดังกล่าว โดยท้ังนี้ให้เป็นไป
ตาม พรบ.การจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ยกตัวอย่างเช่น เพ่ือให้เกิดความโปร่งใสในการ
จัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการสังเกตการณ์ขั้นตอนใด
ขั้นตอนหนึง่ ของการจัดซอ้ื จัดจ้าง โดยอาจกาหนดให้มกี ารจดั ทาขอ้ ตกลงคุณธรรมก็ได้
เทศบาลตาบลสานักท้อนเห็นว่าความโปร่งใสอย่างเดียวไม่เพียงพอ การเปิดเผย
ข้อมูลต่อสาธารณชนเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ แต่ต้องให้ความสาคัญกับประสิทธิผลของกลไก
การตรวจสอบและภาระความรับผิดชอบต่อสังคม การส่งเสริมความซ่ือตรงภาครัฐเป็นพันธกิจ และเป็น
ความรับผิดชอบร่วมกันสาหรับข้าราชการทุกระดับผ่านการสั่งการ และระดับของการปกครองตนเองที่
แตกต่างกันซ่ึงสอดคล้องกับกรอบแนวคิดขององค์กร และกฎหมายของประเทศ ดังนั้นข้อเสนอแนะน้ีจึง
เกีย่ วขอ้ งกับขา้ ราชการทุกระดับในการส่งเสริมความไวว้ างใจจากประชาชน
๓๑) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลตาขัน
องค์การบริหารส่วนตาบลตาขันเห็นด้วยกับการจัดทาระบบ QR Code เพราะ
ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม แต่เห็นว่าปัญหาการจัดซ้ือจัดจ้างบางคร้ังเกิดจากนโยบายระดับกระทรวง
หรือกรมที่ส่ังการให้ท้องถิ่นถือปฏิบัติโดยมิได้สอบถามหรือตรวจสอบผลกระทบในการดาเนินการหรื อ
ปฏิบัตงิ านของทอ้ งถ่นิ ทาใหเ้ กิดการทจรติ จากระบบหรือวธิ กี าร
๙๐
๓๒) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลทางเกวียน
องค์การบริหารส่วนตาบลทางเกวียนมีช่องทางในการแจ้งเบาะแสหรือย่ืนเร่ือง
ร้องเรียนเก่ียวกับการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานผ่านเว็บไซต์ของ อบต. ในส่วนของการจัดทา
ระบบ QR Code อบต. มคี วามพร้อมในการจดั ทา
๓๓) องค์การบริหารส่วนตาบลท่งุ ควายกิน
องคก์ ารบริหารส่วนตาบลทุ่งควายกนิ มีการอานวยความสะดวกให้กบั ประชาชน
ที่มีความประสงค์จะแจ้งเบาะแสหรือยื่นเรื่องร้องเรียนเก่ียวกบั การทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงาน
ของรัฐโดยประชาชนสามารถแจ้งผ่าน Website ของหน่วยงาน แจ้งโดยตรงโดยยื่นหนังสือได้ท่ี
หน่วยงานหรือสามารถแจ้งได้ทางหมายเลขโทรศัพท์ของหนว่ ยงาน
องคก์ ารบริหารส่วนตาบลทุ่งควายกินเห็นด้วยกับการจดั ทาระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยงานมีความพร้อมในการ
ดาเนนิ การตลอดจนสนับสนนุ การดาเนินการของคณะกรรมาธิการในการพิจารณาศกึ ษาครงั้ น้ีดว้ ย
องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งควายกินมีความพร้อมที่จะดาเนินการและ
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
เนื่องจากประชาชนมีหน้าที่ที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของชาติ โดยเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการ
ดาเนินการเพ่อื สร้างความโปรง่ ใสของภาครัฐ
๓๔) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลนา้ เป็น
อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล น้ า เป็ น มี ช่ อ ง ท า ง ใ น ก า ร แ จ้ ง เบ า ะ แ ส ไ ด้ ใ น
www.namphen.go.th Facebook : องค์การบริหารส่วนตาบลน้าเป็น และสามารถตรวจสอบได้จาก
www.gprocurement.go.th ของกรมบัญชีกลาง
๓๕) องค์การบรหิ ารส่วนตาบลบา้ นแลง
องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านแลงมีการเปิดเผยการจัดซ้ือจัดจ้างโดยติดบอร์ด
ประชาสัมพันธ์หน้า อบต. และลงเว็บไซต์ ของ อบต. ทั้งนี้ อบต. มีความพร้อมในการรับเรื่องร้องเรียน
โดยการหากมี QR Code ต้องลงในเว็บไซต์ อบต.บ้านแลงและก็จะลงประชาสัมพันธ์ในเฟสบุคเพ่ือให้
ประชาชนรบั ทราบ
๓๖) องค์การบริหารสว่ นตาบลพลงตาเอี่ยม
องค์การบริหารส่วนตาบลพลงตาเอ่ียมมีช่องทางแจ้งเบาะแสเรื่องร้องเรียนทาง
E-mail , Line , Facebook , Website ขององค์การบริหารส่วนตาบล และเบอร์โทรศัพท์สายตรง
ผูบ้ รหิ าร
๙๑
๓๗) องคก์ ารบริหารส่วนตาบลแม่นา้ คู้
องค์การบริหารส่วนตาบลแม่น้าคู้พร้อมท่ีจะดาเนินการเผยแพร่รายละเอียด
โครงการ และรับเร่ืองร้องเรียนทุกช่องทาง ปัจจุบัน อบต.มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนโดยร้องเรียน
ด้วยตนเองในวันและเวลาราชการ รอ้ งเรียนทางไปรษณีย์ รอ้ งเรียนทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
: [email protected] และเว็บไซตข์ อง อบต. www.meanamkhu.go.th
๓๘) องค์การบริหารส่วนตาบลละหาร
องค์การบริหารส่วนตาบลละหารมีช่องทางแจ้งเบาะแสเรื่องร้องเรียนทาง E-
mail , Line , Facebook , Website ขององค์การบริหารส่วนตาบล และเบอร์โทรศัพท์สายตรง
ผู้บรหิ าร
๓๙) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหนองละลอก
องค์การบริหารส่วนตาบลหนองละลอกมีระบบ e – service ร้องเรียน
การทุจริตและประพฤติมิชอบ ผ่านทาง www.nonglalok.go.th ระบบงานต่าง ๆ ร้องเรียนการทุจริต
ทั้งน้ี เห็นว่า ระบบ QR Code เป็นการทางานซ้าซ้อนกับหลายหน่วยงานท่ีมักโอนมาให้ อปท. ปฏิบัติให้
เป็นภาระให้กับหน่วยงาน สตง. , ป.ป.ช. , ป.ป.ท. , ป.ป.ง. , COST โครงการความโปร่งใสภาครัฐ
ซงึ่ อปท. กม็ ีชอ่ งทางรอ้ งเรียนทปี่ ระชาชนสามารถรอ้ งเรียนไดห้ ลายชอ่ งทางอยู่แล้ว
๔.๓ การวิเคราะห์ผลรบั ความเห็นจากหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง
เม่ื อ พิ จ าร ณ าข้ อ มู ล ที่ ได้ รั บ จ า ก ห น่ ว ย ง าน ท่ี เกี่ ย ว ข้ อ ง แ ล ะ จ า ก ก าร ล งไป ส าร ว จ
ความคิดเห็นของหน่วยงานต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีต่างจังหวัดดังกล่าวมาแล้วใน ๔.๑ และ ๔.๒ ข้างต้น สามารถ
นามาประกอบการวเิ คราะห์สรุปประเด็นการรับฟังความคดิ เห็น ดังนี้
๑. บทบาทอานาจและหน้าท่ีเกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้างของแต่หน่วยงาน พบว่า
การเปิดเผยข้อมูลการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างเพ่ือให้ประชาชนได้เข้าไปตรวจสอบนั้น ทุกหน่วยงาน
ดาเนินการตามกฎหมายและระเบียบอยู่แล้ว และพบข้อมูลสาคัญว่า หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ
จัดจ้างในปัจจุบัน คือ กรมบัญชีกลางก็ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐท้ังหมด
เช่น แผนการจัดซื้อจัดจ้าง ประกาศเชิญชวน ประกาศผู้ชนะ สาระสาคัญในสัญญา ในเวบ็ ไซต์ศนู ย์ข้อมูล
การจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ www.gprocurement.go.th และมีการสร้างมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
และผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริตแห่งพระราชบัญญัติฯ ที่กาหนดให้ภาคประชาชนและ
ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยใช้เคร่ืองมือท่ีเรียกว่า
โครงการความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (Infrastructure Transparency Initiative : CoST)
และข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact : IP) มาใช้เป็นเคร่ืองมือตรวจสอบความโปร่งใสในกระบวนการ
จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ยังได้มีการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริตในภาครัฐ
๙๒
และสามารถรายงานไดห้ ากมีการพบเห็นพฤตกิ รรมท่ีส่อไปในทางทุจริตด้วย จากการศึกษาขอ้ มูลเพ่ิมเติม
เก่ียวกับโครงการ CoST ซึ่งดาเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๗ วรรคสอง นั้น พบว่า ในโครงการนี้ มีการระบขุ ้อมลู ตา่ ง ๆ กล่าวคอื
๑) กระบวนการจัดทาและนาเสนอโครงการ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล หน่วยงานเจ้าของ
โครงการ ยุทธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณ สถานท่ีตั้งโครงการ วตั ถุประสงค์ของโครงการ รายละเอียด
ของโครงการโดยสังเขป สถานะโครงการ
๒) ข้อมูลการเตรียมความพร้อมโครงการ ประกอบด้วยข้อมูล คือ ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ
รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบในการเวนคืนที่ดิน ปีงบประมาณ งบประมาณโครงการ
วันที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณ เงินงบประมาณ หรือเงินนอกงบประมาณ ข้อมูลติดต่อเจ้าหน้าที่และ
หน่วยงานเจ้าของโครงการ
๓) ข้อมูลการจัดซ้ือจัดจ้าง ประกอบด้วย รายละเอียดในการติดต่อของหน่วยงานจัดซ้ือ
จัดจ้าง หน่วยงานที่จัดซ้ือจัดจ้าง ร่างขอบเขตงาน (TOR) วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ประเภทการจัดซ้ือจัดจ้าง
ราคากลาง และบริษัทท่เี ขา้ ร่วมประกวดราคา
๔) ข้อมูลสัญญาและความคืบหน้าโครงการ ประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน
บริหารสัญญา ชื่อสัญญา เลขที่คุมสัญญา สถานะปัจจุบันของสัญญา ขอบเขตสัญญาและความคืบหน้า
โครงการ ประเภทสัญญา รายละเอียดการจ่ายเงินของโครงการ บริษัทที่ได้สัญญา มูลค่าของสัญญา
วนั ท่ลี งนามสัญญา ระยะเวลาดาเนนิ การตามสัญญา วันเริ่มตน้ สญั ญาและระยะเวลาคงเหลอื ตามสญั ญา
๕) ข้อมูลหลังจากเสร็จส้ินโครงการและการจัดการข้อร้องเรียน ประกอบด้วยข้อมูล
วันที่โครงการเสร็จสมบูรณ์ ขอบเขตงานเม่ือเสร็จสมบูรณ์ ค่าใช้จ่ายท้ังหมดของโครงการ เหตุผล
ในการเปลย่ี นแปลงโครงการ การจดั การขอ้ รอ้ งเรียน และการตรวจสอบและรายงานประเมินผลโครงการ
ซ่ึงพิจารณาแล้ว เห็นว่า มีหลักการที่ดีสอดคล้องกับแนวคิดของคณะกรรมาธิการฯ ท่ีจะดาเนินการ
กาหนดวิธีการตรวจสอบการทุจริตของหน่วยงานภาครัฐในการดาเนินโครงการต่าง ๆ แต่ยังพบข้อจากัด
ในการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่สามารถเข้าถึงข้อมลู โดยงา่ ยและสะดวก โดยเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในพื้นที่การดาเนิน
โครงการ
๒. ความพร้อมในการรบั เร่อื งรอ้ งเรยี น หรือสรา้ งเครอื่ งมือเพ่ือเปน็ ช่องทางทสี่ ะดวกและ
ปลอดภัยในการแจ้งเบาะแสของประชาชน หากมีรูปแบบ QR Code ในการเผยแพร่รายละเอียด
แผนงานโครงการเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐเพ่ือให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบ
การทุจริต รวมถึงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับหลักการพิจารณาศกึ ษา เรื่อง "การจัดทาระบบ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ" ของ
คณะกรรมาธิการฯ พบว่า ทุกหน่วยงานมีความพร้อมในการรับเร่ืองร้องเรียนซ่ึงปัจจุบันก็มีการ
ดาเนินการอยู่แล้ว และหากมีโครงการหรือนารูปแบบ QR Code มาจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของ
๙๓
ประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐของคณะกรรมาธิการฯ หลาย
หนว่ ยงานกไ็ มข่ ัดข้องในการดาเนนิ การดงั กลา่ ว
๓. การอานวยความสะดวกให้กับประชาชนท่ีมีความประสงค์จะแจ้งเบาะแสหรือ
ยื่นเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ และวิธีการเปิดเผยข้อมูล
เก่ียวกับการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างให้ประชาชนได้เข้าไปตรวจดู พบว่า ทุกหน่วยงานมีการอานวย
ความสะดวกใหป้ ระชาชนได้มีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบข้อมูลท่ีเกี่ยวขอ้ ง ซ่ึงก็มีรปู แบบที่แตกต่าง
กันออกไป อาทิ ผ่านเว็บไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ เชน่ เฟสบกุ๊
กล่าวโดยสรุป จากการรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง พบว่า แม้หลาย
หน่วยงานจะมีระบบการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ แต่เมื่อคณะกรรมาธิการฯ เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ
“๑ โครงการ ๑ QR Code” เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้าง
ภาครัฐ หน่วยงานได้เห็นด้วยและไม่ขัดข้องที่จะมีช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกัน
และปราบปรามการทุจรติ การจัดซอ้ื จัดจ้างภาครฐั ดังกล่าว
บทที่ ๕
สรปุ ผลการพิจารณาศกึ ษา ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
๕.๑ สรุปผลการพจิ ารณาศึกษา
คณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเร่ืองการทุจริต ประพฤติมิชอบ และเสริมสร้าง
ธรรมาภิบาล วุฒิสภา ได้เลง็ เห็นถึงความสาคัญของปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบการจัดซ้ือจัดจ้าง
ในหน่วยงานของรัฐท่ีเกดิ ขึ้นในสังคมไทยมาอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และมีแนวโน้มท่ีจะทวี
ความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นเร่ือย ๆ เนื่องมารูปแบบการทุจริตมีวิวัฒนาการท่ีสลับซับซ้อน
เปล่ียนแปลงไปตามสภาพสังคม ซึ่งปัญหาดังกล่าวทาให้ประเทศชาติได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
สูญเสียงบประมาณแผ่นดินจานวนมหาศาลไปกับการทุจริตโดยเฉพาะในโครงการขนาดใหญ่ที่ต้องใช้
งบประมาณมาก ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ แม้ทุกภาคส่วนในสังคมจะมีความต่ืนตัวและ
เขา้ มามีส่วนร่วมในการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ตามบทบาทและภาระหน้าท่ีของตนเองเพิ่มมาก
ขึ้นก็ตาม แต่ดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทย ท่ีถูกจัดให้อยู่ในลาดับที่ ๙๙ จาก ๑๘๐ ประเทศ
ทั่วโลกในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ย่อมแสดงให้เห็นว่าการสร้างการรับรู้การทุจริตของประเทศไทยยังจาเป็นต้อง
ได้รับการพัฒนาต่อไป คณะกรรมาธิการฯ จึงได้ริเร่ิมดาเนินการพิจารณาศึกษาโครงการศึกษาและจัดทา
ระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ
ในรูปแบบ QR Code ซ่ึงมีวิธีการพิจารณาศึกษาโดยการรับฟังข้อมูลและข้อคิดเห็นจากหน่วยงานท่ี
เก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี
๑) การเชิญผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องเข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการฯ
เพ่ือให้ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับการศึกษาและจัดทาระบบดังกล่าว จานวน
๑๗ หน่วยงาน
๒) การเดินทางลงพื้นท่ี ณ จังหวัดเชียงราย และจังหวัดระยอง เพื่อรับฟังข้อมูล
และข้อคดิ เห็นเก่ียวกับการศกึ ษาและจัดทาระบบดังกล่าวกบั ส่วนราชการในจังหวัดเชียงราย และจังหวัด
ระยอง จานวน ๓๙ หนว่ ยงาน
นอกจากน้ี ยังได้มีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลวิชาการท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือนาไปสู่การวิเคราะห์
สภาพปัญหาท่ีผ่านมาของการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตสาหรับประกอบการ
จัดทาข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมาธิการฯ
จากการพิจารณาศึกษาและรับข้อมูล แลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากหน่วยงานต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งในส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค ทั้งหมดจานวน ๕๖ หน่วยงาน นั้น พบว่า หน่วยงานเหล่านั้นล้วนมีความเห็นสอดคล้อง
๙๕
และเป็นไปในทิศทางเดียวกันว่า หากมีรูปแบบ QR Code สาหรับเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็น
ฐานข้อมูลเกี่ยวกับ การดาเนินการบริหารการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐ ในโครงการต่าง ๆ
ที่เปิดเผยจะเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ
ดาเนินการโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ เพ่ือป้องกันการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างในการดาเนินโครงการได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และหากการศึกษาดังกล่าวสามารถดาเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม จะทาให้มี
ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการบริหารการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐที่เปิดเผยให้ประชาชนสามารถ
เข้าถึงได้โดยสะดวก รวดเร็ว และประชาชนทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบและ
เฝ้าระวังการทุจริตในการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ซ่ึงโครงการน้ี
เปรียบเสมือน “ตาสับปะรด” ท่ีคอยจับตามองโครงการที่ภาครัฐกาลังดาเนินการมิให้มีการทุจริตหรือ
เกิดการร่วั ไหลของงบประมาณ จึงไม่ขัดขอ้ งและมคี วามพรอ้ มในการดาเนินโครงการดงั กล่าว
อย่างไรก็ตาม บางหน่วยงานมีข้อสังเกตว่า โครงการศึกษาและจัดทาระบบติดตาม
ตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในการจัดซ้ือ จัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบ
QR Code ดังกล่าวมีความคล้ายกับโครงการความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (Infrastructure
Transparency Initiative : CoST) แ ล ะ ข้ อ ต ก ล ง คุ ณ ธ ร ร ม (Integrity Pact : IP)
ตามหมวด ๒ ว่าด้วยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริต
แห่งพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งอยู่ระหว่างดาเนินการ
พัฒนาและควบคมุ โดยกรมบัญชีกลาง แต่ก็ไมข่ ัดข้องในการดาเนินการโครงการจัดทารูปแบบ QR Code
เนื่องจากเป็นการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามก ารทุจริต
การจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ ประกอบกับหมวด ๒ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและผู้ประกอบการ
ในการป้องกันการทุจริต แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
ได้มีการกาหนดให้ภาคประชาชนสามารถตรวจสอบการดาเนินโครงการจัดซื้อจัดจ้างภาครั ฐ
ผ่านเครื่องมือที่เรียกว่า ข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact : IP) และโครงการความโปร่งใสในการ
ก่อสร้างภาครัฐ (Infrastructure Transparency Initiative : CoST) ดังน้ัน จึงเห็นด้วยกับการที่
คณะกรรมาธิการฯ จะมีการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปราม
การทจุ รติ ในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ท้ังนี้ เพ่ือไม่ให้เป็นภาระกับหน่วยงานของรัฐตลอดจนเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูล
จัดซื้อจัดจ้างแบบ one stop service ผู้พัฒนารูปแบบ QR Code ต้องพัฒนาเครื่องมือท่ีไม่ซ้าซ้อนกับ
เครื่องมือที่มีอยู่แล้ว รวมท้ังควรหารือในรายละเอียดกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องก่อนดาเนินการพัฒนา
ระบบใหม่ เพ่อื ให้การส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลมากยงิ่ ขนึ้
๙๖
๕.๒ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้กาหนดให้บุคคลมีหน้าท่ีไม่ร่วมมือหรือสนับสนุน
การทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ขณะที่รัฐเองก็ต้องจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้
ประชาชนรวมตัวกันเพ่ือมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส โดยได้รับ
ความคุ้มครองจากรัฐ โดยปัจจุบันการทุจริตมีการพัฒ นารูปแบบและวิธีการที่ ซับซ้อนขึ้น
ลาพังอาศัยเพียงการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานหรือเจ้าหน้าท่ีที่มีหน้าท่ีและอานาจ
ดา้ นการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพียงอย่างเดียวย่อมไม่เพียงพอที่จะสอดส่องดูแลหรือเฝา้ ระวัง
เพ่ือป้องกันหรือป้องปรามไม่ให้เกิดการทุจริตได้ครอบคลุมทุกพื้นท่ีของประเทศ ดังน้ัน เพื่อให้การแก้ไข
ปัญหาดังกล่าวมีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
อย่างเข้มงวด และส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมในการต่อต้าน หรือชี้เบาะแสการทุจริต
และประพฤติมชิ อบ ภาครัฐจึงควรเสรมิ สร้างกลไกหรืออานวยความสะดวกให้เครอื ข่ายภาคประชาสังคม
หรือประชาชนในพ้ืนท่ีซึ่งถือว่าเป็นผู้มสี ่วนได้เสียโดยตรงจากการจัดซ้ือจัดจ้างหรอื ก่อสร้างโครงการใด ๆ
ของหน่วยงานรัฐซึ่งเกิดข้ึนในพื้นท่ีที่ตนอาศัยอยู่ ซ่ึงถือเป็นแรงจูงใจสาคัญในการเชิญชวนให้เครือข่าย
หรือบุคคลดังกล่าวเข้าร่วมเฝา้ ระวงั สอดส่อง และแจง้ เบาะแสการทุจรติ ในพน้ื ท่ีของตน
โครงการศึกษาและจัดทาระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต
ค อ ร์รัป ชั น ใน ก ารจั ด ซื้ อ จั ด จ้ างข อ งภ าค รัฐใน รูป แ บ บ QR Code ที่ ค ณ ะ ก รรม าธิก าร ฯ
ได้ริเริ่มดาเนินการพิจารณาศึกษาน้ัน จะเป็นเคร่ืองมือหรือกลไกสาคัญในการเปิดโอกาสและสร้าง
แรงจูงใจให้เครือข่ายภาคประชาสังคมหรือประชาชนในพ้ืนท่ีเข้าร่วมเฝ้าระวัง สอดส่อง และแจ้งเบาะแส
การทุ จริต ใน พ้ื น ที่ ของตน เนื่ องจากได้ เปิ ดโอกาสให้ ป ระชาชน สามารถเข้าถึงข้อมู ลและต รวจสอบ
การบริหารการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ในรูปแบบ “๑ โครงการ ๑ QR Code”
โดยมีการติด QR Code ดังกล่าวไว้ตามป้ายโครงการต่าง ๆ จะทาให้สามารถตรวจสอบกระบวนการ
จัดซื้อจัดจ้างโครงการได้ตั้งแต่เริ่มโครงการ ระหว่างดาเนินโครงการ และส้ินสุดโครงการ ตลอดจนทาให้
เกดิ ความสะดวกในการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดในแต่ละโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐท่ีมกี ารจัดซ้ือจัดจ้างว่า
มีการเปล่ียนชื่อ ใช้งบประมาณดาเนินโครงการจานวนเท่าไหร่ และเป็นโครงการเดิมที่เคยดาเนิน
โครงการน้ีไปแล้วหรือไม่ ประการใด ซ่ึงหากโครงการใดท่ีดาเนินการแล้วไม่ก่อเกิดประโยชน์
ต่อประชาชนและมีการทุจริตเกิดข้ึนก็สามารถที่จะร้องเรียนโครงการน้ีได้โดยสแกนรูปแบบ QR Code
เพ่ือแจ้งเบาะแสการทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้าง ซ่ึงจะทาให้งบประมาณที่ถูกนาไปใช้จ่ายในแต่ละโครงการ
เกิดความคุ้มค่าต่อการลงทุน และไม่เกิดความซ้าซ้อนในการขออนุมตั ิงบประมาณเพ่ือดาเนินโครงการท่ีมี
ลักษณะเดียวกันอีก อีกทั้งการจัดทารูปแบบ QR Code จะทาให้ง่ายต่อการติดตามตรวจสอบ
โครงการต่าง ๆ ของภาครัฐที่มีการจัดซ้ือจัดจ้างด้วย ซ่ึงโครงการดังกล่าวนี้สอดคล้องกับแนวคิด
๙๗
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) ที่เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชน
มสี ่วนรว่ มในทางการเมืองการปกครองมากย่ิงข้ึนมใิ ช่เพียงให้ประชาชนสามารถใช้อานาจอธิปไตยของตน
ผ่านการเลือกต้ังเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน แต่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
ความเคลอ่ื นไหว และความคืบหน้าของการบริหารจดั การประเทศ หรือเข้าไปมีส่วนรว่ มในการตรวจสอบ
เฝ้าระวงั สอดสอ่ ง และแจง้ เบาะแสการทุจรติ
นอกจากนี้ ในปัจจุบัน พบว่า เทคโนโลยีมีการพัฒนาก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วมากดังจะ
เห็นได้จากภาพรวมของการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศที่มีการเปล่ียนแปลง พัฒนา ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล
เต็มรูปแบบมากขึ้นโดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีจานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยสูงถึง ๕๐.๑ ล้านคน
และมีจานวนช่ัวโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยต่อวันต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ – พ.ศ. ๒๕๖๓ เฉล่ียสูงขึ้น
ในทุกปี ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ประชาชนไทยใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉล่ียต่อวันสูงถึง ๑๑ ชม. ๒๕ นาที
ต่อวันเนื่องจากสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ง่าย มีเครือข่ายครอบคลุม๑ ดังจะเห็นได้จากการเข้าถึง
แอปพลิเคชั่นต่าง ๆ ของหน่วยงานรัฐ อาทิ หมอชนะ หมอพร้อม เป๋าตังส์ หรือโครงการคนละคร่ึงที่มี
การใช้โทรศัพท์มอื ถือสแกน QR Code เพื่อทาธรุ กรรมต่าง ๆ ซึ่งแสดงให้เหน็ ว่า ประชาชนมีความพร้อม
ในเร่ืองการเข้าถึงข้อมลู โดยผ่านระบบการสแกน QR Code
ดังนั้น เม่ืออินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึงได้ง่ายและมีโครงข่ายทั่วถึง และมีการดาเนิน
โครงการจัดทารหัส QR Code ติดไว้ตามป้ายโครงการต่าง ๆ ของหน่วยงานรัฐ จะเป็นเคร่ืองมือหรือ
กลไกสาคัญในการอานวยความสะดวกให้เครือข่ายภาคประช าสังคมหรือประชาชนในพื้นที่เข้าร่วม
เฝ้าระวัง สอดส่อง และแจ้งเบาะแสการทุจริต เนื่องจากประชาชนสามารถเข้าถึงระบบและมีส่วนร่วม
ในการตรวจสอบแจ้งเบาะแสได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยผ่านสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ที่สามารถ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และสแกน QR Code ก็สามารถร่วมตรวจสอบ และแจ้งเบาะแสการทุจริตได้
โดยไม่ต้องเข้าผ่านระบบหรือวิธีการเดิมดังเช่นเคยปฏิบัติมา อาทิ เว็บไซต์ของหน่วยงาน การแจ้งเร่ือง
ร้องเรียนผ่าน Call Center หรือสง่ เอกสารเปน็ ไปรษณียไ์ ปยงั หน่วยงานต่าง ๆ
อย่างไรก็ดี คณะกรรมาธิการฯ มีข้อสังเกตเกี่ยวกับการออกแบบระบบหรือรูปแบบ
การจัดทารหสั QR Code ดังนี้
๑) การจัดทาระบบดังกล่าว ผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทาระบบจะต้องออกแบบระบบให้มี
ความสะดวก ไม่ซับซ้อนและมีข้ันตอนท่ีง่ายต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีในแต่ละหน่วยงาน
เพ่ืออานวยความสะดวกและไม่เป็นการสร้างภาระงานหรือการเพ่ิมข้ันตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
๑ สานกั ยุทธศาสตร์ สานักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม, รายงานผล
การสารวจพฤตกิ รรมผ้ใู ชอ้ ินเทอร์เนต็ ในประเทศไทย ปี 2563, (กรงุ เทพฯ: สานักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์, 2563),
น.38-40.
๙๘
รวมทั้งต้องคานึงถึงความง่าย ความรวดเร็ว ความสะดวกของระบบในการเข้าใช้ของประชาชน
อีกทางหนงึ่ ด้วย
๒) ระบบฐานข้อมูลควรมีรายละเอียดข้อมูลสาคัญอย่างเพียงพอให้กับภาคประชาชน
ในการตรวจสอบและป้องกันการทุจริต เช่น ชื่อโครงการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ สถานที่ดาเนินการ
ช่วงระยะเวลาที่ดาเนินการ เพ่ือให้การแจ้งเบาะแสของประชาชนเกิดความชัดเจนเพียงพอ
ท่ีหนว่ ยงานจะสามารถดาเนนิ การตามเรอื่ งร้องเรยี น/การแจ้งเบาะแสได้
๓) รูปแบบ QR Code ควรเป็นระบบท่ีมีรูปแบบตอบกลับการสนทนาผ่านข้อความและ
เสียงแบบอัตโนมัติ (Chat bot) ซ่ึงเป็นแอปพลิเคชันท่ีใช้ในการสนทนากับประชาชนที่ร้องเรียน
โดยสามารถท่ีจะพูดคุยโต้ตอบกบั เจ้าหน้าที่เก่ียวกับรายละเอียดในแต่ละโครงการว่าการดาเนินโครงการ
อยใู่ นขั้นตอนใด ตลอดจนสามารถทจี่ ะรอ้ งเรียนเจา้ ของโครงการไดอ้ กี ดว้ ย
๔) ควรกาหนดเสนอให้คณะรัฐมนตรีออกมาตรการหรือนโยบายผ่านมติคณะรัฐมนตรี
ส่ังการหรือบังคับให้ทุกหน่วยงานที่ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างในระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐด้วย
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement: e-GP) ของกรมบัญชีกลาง ต้องดาเนินการ
ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบโครงการต่าง ๆ
ของภาครฐั ที่มกี ารจดั ซ้ือจดั จ้างตงั้ แตเ่ รม่ิ โครงการ ระหว่างดาเนนิ การ และส้นิ สุดโครงการ
๕) การจัดทารูปแบบ QR Code ดังกล่าวเป็นระบบท่ีส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูล
ต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เช่น การร้องเรียน หรือการแจ้งเบาะแสเรื่องการทุจริต
การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการจัดซ้ือจัดจ้าง เน่ืองจากระบบดังกล่าวเป็นระบบที่มีรูปแบบตอบ
กลับการสนทนาผ่านข้อความและเสียงแบบอัตโนมัติ (Chatbot) จึงสามารถท่ีจะพูดคุยโต้ตอบกับ
ประชาชนได้ในเรื่องต่าง ๆ โดยผู้ที่ร้องเรียน หรือแจ้งเบาะแสเรื่องการทุจริต เพียงแค่สแกน QR Code
ตามป้ายโครงการก็จะมีการเชื่อมโยงข้อมูลเข้าสู่ Applications LINE เพ่ือส่งข้อมูลไปยังเจ้าหน้าที่
ที่เก่ียวข้อง ดังนั้น ประชาชนจึงสามารถพูดคุยกับเจ้าหน้าที่และสามารถตรวจสอบโครงการต่าง ๆ
ที่ดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างได้ อีกท้ัง กรมบัญชีกลางมีฐานข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ
ของภาครัฐ ซ่ึงอยู่ในระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government
Procurement: e-GP) จึงเห็นว่า ควรมีการเชื่อมต่อฐานขอ้ มูลดงั กล่าวกับกรมบัญชีกลาง
๖) หากการจัดทารปู แบบ QR Code เป็นผลสาเร็จและประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมลู และ
สามารถร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสได้โดยสะดวกแล้ว ฝ่ายหน่วยงานตรวจสอบท่ีจะรับเรื่องร้องเรียนของ
ประชาชนก็จะต้องมีการสร้างความเข้มแข็งให้กับหน่วยงานตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความม่ันใจว่า
ทรัพยากรต่าง ๆ จะไปถึงผู้ที่มีความต้องการอย่างแท้จริง และองคก์ รทีเ่ กยี่ วข้องกบั การตอ่ ต้านการทุจริต
และหน่วยงาน ตรวจสอบต้องได้รับจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรที่เพียงพอ รวมถึงมีความเป็นอิสระ
ในการดาเนนิ การอยา่ งแท้จริงดว้ ย
๙๙
๗) ควรเปิดเผยแพรข่ ้อมลู ที่เก่ียวข้องและรับรองการเข้าถึงข้อมูลเพ่อื ให้มั่นใจว่าสาธารณชน
ไดร้ ับขอ้ มลู สาคญั ได้ โดยง่าย สะดวก และตรงต่อเวลา
บรรณานุกรม
กฎหมาย
รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัตกิ ารจดั ซ้อื จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยการสรา้ งระบบบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองและสังคมทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๒
หนงั สอื และวารสารทางวชิ าการ
ดษุ ฎี อายวุ ฒั น์ และคณะ. (๒๕๓๕). การมีสว่ นรว่ มของชาวบ้านในงานวนศาสตรช์ ุมชน: กรณชี ุมชนหว้ ยม่วง.
ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .
ยุวัฒน์ วฒุ เิ มธี. การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งให้กบั ชมุ ชน. วารสารพฒั นาชมุ ชน. ปีท่ี ๓๖ ฉบบั ที่ ๔.
ศาสตราจารย์ ดร.สมบตั ิ ธารงธญั วงศ์. (๒๕๔๕). แนวความคดิ และการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ ๑๒.
คณะรฐั ประศาสนศาสตร์ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์.
สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ. (๒๕๖๐), การบรหิ ารราชการแบบมสี ว่ นรว่ ม: เทคนิควิธี
และการนาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ.
สานักยทุ ธศาสตร์ สานกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กระทรวงดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม.
(2563). รายงานผลการสารวจพฤตกิ รรมผูใ้ ชอ้ ินเทอร์เนต็ ในประเทศไทย ปี 2563. กรงุ เทพฯ:
สานกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์.
วทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์
ประพนั ธ์ วรรณบวร. (๒๕๔๓). การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลในการ
ดาเนินงานองค์การบริหารสว่ นตาบล: กรณศี กึ ษาจงั หวดั นครราชสมี า, (โครงการศกึ ษาคน้ ควา้
ด้วยตนเอง (ศศ.ม.), บณั ฑิตวทิ ยาลัย) ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
สริ พิ ัฒน์ ลาภจติ ร. (๒๕๕๐). ปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ การตดั สนิ ใจมีส่วนรว่ มของประชาชนในการสนับสนุนการ
บริหารงาน องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี.
(วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ ) กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
สือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐. สบื คน้ เมอ่ื ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔, จาก
http://plan.bru.ac.th/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B
8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8
%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4-20-%E0%B8%9B%E0%B8%B5-
%E0%B8%9E-%E0%B8%A8-2561-2580/
ระบบข้อมลู การใช้จา่ ยภาครฐั . (๒๕๖๔). ภาษไี ปไหน. สืบคน้ เม่อื ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๔, จาก
https://govspending.data.go.th/dashboard/๑
สานักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาต.ิ (๒๕๖๔). คะแนนดชั นกี ารรับรู้
การทุจรติ (CPI). สืบคน้ เม่อื ๒๔ ตลุ าคม ๒๕๖๔, จาก
https://www.nacc.go.th/files/article/attachments/26809121fcc59b165111ad494e
9b86f2f5b8f4f.pdf?fbclid=IwAR25yhFi4tJQ7gE_9zFIC7smUoNJPfa-
lPQbRmjNaNlUbFTmONyvBSzqFSU
สานักงานสถิตแิ หง่ ชาตกิ ระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม. สรปุ ผลทสี่ าคญั สารวจการมีการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สารในครัวเรือน พ.ศ. 2563. สบื คน้ เม่ือ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๖๔,
จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/%e0%b8%94%e0%b9%89%e0%
b8%b2%e0%b8%99ICT/%e0%b9%80%e0%b8%97%e0%b8%84%e0%b9%82%e
0%b8%99%e0%b9%82%e0%b8%a5%e0%b8%a2%e0%b8%b5%e0%b9%83%e0
%b8%99%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0
%b8%a3%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%99/2563/Pocketbook63.pdf