๓๗
๓.๔ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity
and Transparency Assessment : ITA)
คณะกรรมการ ป.ป.ช. และคณะกรรมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ได้มีมติเห็นชอบคู่มือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นท่ีเรียบร้อยแลว้ โดยมีการปรับปรุงเนื้อหาและรายละเอียดข้ันตอนต่าง ๆ
เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ท่ีสุดและหน่วยงานภาครัฐสามารถนาไปใช้ประกอบการพัฒนาคุณธรรม
และความโปร่งใสในการดาเนินงานให้เป็นไปอย่างต่อเน่ือง (continuous improvement) และรว่ มกัน
พัฒนาการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น
การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมชิ อบ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมถึงนาขอ้ มูลดงั กลา่ วไป
ใช้ประกอบการประเมิน ITA ของหน่วยงานตามให้เปน็ ไปตามขนั้ ตอนการประเมินท่กี าหนดตอ่ ไป
โดยการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity and Transparency Assessment: ITA) เป็นเคร่ืองมือในเชิงบวกที่มุ่งพัฒนาระบบราชการ
ไทยในเชิงสร้างสรรค์ มากกว่ามุ่งจับผิด เปรียบเสมือนเครื่องมือตรวจสุขภาพองค์กรประจาปี โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐ ทั่วประเทศได้รับทราบถึงสถานะและปัญหาการดาเนินงานด้าน
คุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กร ผลการประเมิน ที่ได้จะช่วยให้หน่วยงานภาครัฐสามารถนาไปใช้
ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการ สามารถอานวยความ
สะดวก และตอบสนองต่อประชาชนได้ดีย่งิ ขึ้น ขณะเดียวกันยังเป็นเคร่ืองมือ ในการยกระดับมาตรฐาน
การดาเนินงานภาครัฐ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้าน การทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ ด้วยเหตุนี้การประเมิน ITA จึงไม่ได้เป็นเพียงการประเมินคุณธรรมการดาเนินงาน
การป้องกันการทุจริตในองค์กรและการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ แต่ยังเป็นการประเมินประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงาน และการให้บริการประชาชน เพือ่ ใหท้ ราบถงึ ชอ่ งว่างของความไม่เปน็ ธรรมและความด้อย
ประสิทธิภาพ สาหรับนาไปจัดทาแนวทางมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในระบบราชการไทยต่อไป
การประเมิน ITA ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นับปีท่ี 9 ของการดาเนินการ
ท่ีผ่านมา และเป็นปีท่ี 4 ท่ีได้ปรับเข้าสู่การประเมินในรูปแบบออนไลน์ โดยการพัฒนาร่วมกันกับ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ในการออกแบบและพัฒนาเคร่ืองมือการประเมินให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประกอบกับ สานักงาน ป.ป.ช. ได้ออกแบบและพัฒนาระบบเทคโนโลยี
สารสนเท ศรองรับการประเมินคุณ ธรรมและความโปร่งใสในการดา เนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ
(Integrity and Transparency Assessment System: ITAS) ซึ่งน ามาใช้เป็น ศูน ย์กลางในการ
๓๘
ดาเนินการประเมินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซง่ึ การประเมิน ITA ในรูปแบบ ปัจจุบันได้ส่งผลให้หน่วยงาน
ภาครัฐได้เกิดความตระหนักในการบริหารงานและกากับดูแลการดาเนินงานให้มีคุณธรรมและให้
ความสาคัญกับความโปร่งใสขององค์กรของรัฐเป็นอย่างมากและครอบคลุมหน่วยงานภาครัฐ
ไปท่วั ประเทศ ซงึ่ จะเห็นได้วา่ ตง้ั แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นตน้ มานั้นไดเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงและ
พัฒนาการของหนว่ ยงานภาครฐั ในทางปฏบิ ัตอิ ย่างเหน็ ไดช้ ดั โดยเฉพาะอย่างย่ิงความตนื่ ตวั และหนั มาให้
ความสนใจต่อการพัฒนาแฟลตฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ของตนเองให้ทันสมัยและน่าสนใจมากข้ึนท่ี
สาคัญคือส่งผลให้หน่วยงานมีการจัดการข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นระบบระเบียบและเตรียมความพร้อม
ในการเปิดเผยขอ้ มลู ต่อสาธารณะใหไ้ ด้รบั ทราบและสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การตรวจสอบอกี ดว้ ย
ทง้ั น้ี หลกั การพน้ื ฐาน ITA คือ
1. “เปิดเผยข้อมูล” ของหน่วยงานภาครัฐเพ่ือให้สาธารณชนได้รับทราบและสามารถ
ตรวจสอบการดาเนินงานได้
2. “เปิดโอกาส” ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานภาครัฐ ท้ังเจ้าหน้าที่ภายใน
หน่วยงาน และประชาชนผู้รับบริการ/ติดต่อกับหน่วยงานภาครัฐได้เข้ามามีส่วนร่วมประเมินหรือแสดง
ความเหน็ ต่อหน่วยงานภาครัฐ
ส่วนเป้าหมายของ ITA นั้น มุ่งหวังให้หน่วยงานภาครัฐได้มีการปรับปรุงพัฒนาตนเอง
ในด้านคุณธรรมและความโปร่งใสเพื่อให้เกิดธรรมาภิบาลในหน่วยงานภาครัฐ มีการดาเนินงานท่ีมุ่งให้
เกดิ ประโยชน์ต่อประชาชนและสว่ นรวมเป็นสาคญั และลดโอกาสท่ีจะเกิดการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
ในหน่วยงานภาครัฐ ส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐสามารถบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ในแผนแม่บท
ภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ
ท้งั น้ี ไดม้ ีการเก็บข้อมลู จาก 3 ส่วน ดงั นี้
ส่วนท่ี 1 การเก็บข้อมูลจากบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ (Internal Integrity and
Transparency Assessment: IIT) โดยเปดิ โอกาสใหบ้ คุ ลากรภาครฐั ทกุ ระดับทปี่ ฏิบตั งิ านมาไมน่ อ้ ยกว่า
1 ปีไดม้ ีโอกาส สะท้อนและแสดงความคิดเห็นต่อคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานตนเอง
ส่วนที่ 2 การเก็บข้อมูลจากผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อหน่วยงานภาครัฐ (External
Integrity and Transparency Assessment: EIT) โดยเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อหน่วยงาน
ภาครัฐในช่วง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้มีโอกาสสะท้อนและแสดงความคิดเห็นต่อการดาเนินงาน
ของหนว่ ยงานภาครฐั
ส่วนท่ี 3 การเปิดเผยข้อมูลทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน (Open Data Integrity and
Transparency Assessment: OIT) เป็นการตรวจสอบระดับการเปิดเผยข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐท่ี
เผยแพร่ไว้ทางหน้าเวบ็ ไซต์ หลกั ของหน่วยงาน
๓๙
กล่าวโดยสรปุ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) เป็นการประเมินท่ีมี วัตถุประสงค์
ทจ่ี ะก่อใหเ้ กิดการปรบั ปรุงพัฒนาด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงานภาครัฐ โดยมีการประเมิน
ครอบคลุมหน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศ ทั้งนี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๑
มีมติเห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือและเข้าร่วมการประเมินคุณธรรม
และความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ โดยใช้
แนวทางและเคร่ืองมือการประเมินตามท่ีสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ หรอื สานักงาน ป.ป.ช. กาหนด
๓.๕ ข้อมลู เบือ้ งตน้ เกย่ี วกับดชั นีการรบั รกู้ ารทจุ ริต (Corruption Perceptions Index : CPI)
ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) คือ เคร่ืองมือในการวัด
ความโปร่งใสและการทุจริตคอร์รัปชันของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ที่มีค่าคะแนนตั้งแต่ (คอร์รัปชัน
มากท่ีสุด) - ๑๐๐ (คอร์รปั ชันน้อยทส่ี ดุ ) ซ่งึ จดั ทาโดยองคก์ รเพ่อื ความโปรง่ ใสนานาชาติ (Transparency
International : TI)
ตัวช้ีวัด ดชั นีการรบั รูก้ ารทจุ ริตของประเทศไทย (Corruption Perceptions Index: CPI)
(อนั ดับ/คะแนน) และค่าเปา้ หมาย
เปา้ หมาย ประเทศไทยมีการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบลดลง
ปี ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ อยู่ในอนั ดับ ๑ ใน ๕๔ และ/หรอื ได้คะแนนไม่ตา่ กวา่ ๕๐ คะแนน
ปี ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐ อยู่ในอนั ดบั ๑ ใน ๔๓ และ/หรือ ไดค้ ะแนนไมต่ า่ กวา่ ๕๗ คะแนน
ปี ๒๕๗๑ – ๒๕๗๕ อยใู่ นอนั ดบั ๑ ใน ๓๒ และ/หรอื ได้คะแนนไม่ตา่ กวา่ ๖๒ คะแนน
ปี ๒๕๗๖ – ๒๕๘๐ อย่ใู นอนั ดับ ๑ ใน ๒๐ และ/หรือ ไดค้ ะแนนไม่ตา่ กวา่ ๗๓ คะแนน
(รา่ ง) แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )
ปี ๒๕๖๔ คะแนนดัชนกี ารรบั รกู้ ารทุจรติ อยูท่ ่ี 40 คะแนน
ปี ๒๕๖๕ คะแนนดชั นกี ารรบั รูก้ ารทจุ รติ อยทู่ ่ี 45 คะแนน
แผนการปฏริ ูปประเทศด้านการปอ้ งกนั และการปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ
เป้าหมายรวม ประเทศไทยมีระดับคะแนนดัชนีการรับรกู้ ารทุจริต (Corruption Perceptions
Index: CPI) อยูใ่ น ๒๐ อนั ดับแรกของโลกในปี พ.ศ. ๒๕๗๙
๔๐
ประเดน็ คาถามท้งั 9 แหล่งขอ้ มลู ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การยกระดบั คะแนน CPI
1. แหล่งข้อมูล IMD World Competitiveness Yearbook (IMD) ซ่ึงได้คะแนนลดลง
คือ ได้ 41 คะแนน (ปี 2019 ได้ 45 คะแนน)
IMD นาข้อมูลสถิติทุติยภูมิและผลการสารวจความคิดเห็นผู้บริหารระดับสูง ไปประมวลผล
จดั อนั ดบั ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศไทย และพจิ ารณาจาก 4 องคป์ ระกอบ คอื
1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ
2) ประสทิ ธภิ าพของภาครัฐ
3) ประสทิ ธภิ าพของภาคธรุ กจิ
4) โครงสร้างพ้ืนฐาน
ทัง้ นี้ IMD สารวจขอ้ มูลประมาณ เดือนมกราคม – เมษายน ของทุกปี ในแหล่งข้อมลู IMD
World Competitiveness Yearbook(IMD) โดยมีประเด็น ท่ีองค์การเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ นามา
คานวณเป็นคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตจากแบบสารวจความคิดเห็นผู้บริหารระดับสูงใน ประเทศไทย
คอื “มีการติดสินบนและคอรร์ ัปชนั หรือไม่” คะแนนลดลง 4 คะแนน เน่อื งจากผู้ตอบแบบสารวจเห็นวา่ ยังมี
ปัญหาการให้และรับสินบน และการคอร์รัปชันของเจ้าหน้าท่ีรัฐ เช่น เจ้าหน้าที่รัฐยอมรับสินบนในการ
ลกั ลอบเปิดบอ่ นการพนนั ปญั หาสนิ บน จากลกั ลอบเข้าประเทศของแรงงานผิดกฎหมาย
ถึงแม้ภาครัฐจะมีการนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาให้บริการประชาชน แต่ในกระบวนการ
พิจารณาอนุมัติ อนุญาต ยังมีการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่รัฐอยู่ จึงเกิดปัญหาสินบนและการทุจริต
ซงึ่ ส่งผลต่อภาพลักษณ์การทุจรติ ของประเทศ โดยมีสาเหตมุ าจากการท่ีผู้เข้ารบั บริการต้องความสะดวก
รวดเรว็ ในการรับบรกิ ารจึงยอมทจี่ ะจา่ ยสินบน ประกอบกบั การบงั คับใช้กฎหมายเพ่อื ลงโทษเจา้ หนา้ ท่รี ัฐ
ท่ีกระทาการทุจริตยังไม่มีประสิทธิภาพ ถึงแม้จะมีการลงโทษเจ้าหน้าท่ีของรัฐที่กระทาความผิด
แต่เป็นเพียงเจ้าหน้าท่ีของรัฐในระดับล่าง นอกจากนี้ กฎหมายต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการอนุมัติอนุญาต
เช่น พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
ไมส่ ามารถดาเนนิ การได้อยา่ งอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
2. แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล Bertelsmann Stiftung Transformation Index (BF (TI))
ได้ 37 คะแนน (ปี 2019 ได้ 37 คะแนน)
BF (TI) ใช้ผู้ เชี่ ยวช าญ วิเคราะ ห์ แ ล ะป ระเมิ น กระ บ วน การเป ล่ียน แ ป ลงไป
สปู่ ระชาธิปไตย และระบบ เศรษฐกิจแบบตลาดเสรี และดูความเปลีย่ นแปลง 3 ดา้ น คือ
1) ดา้ นการเมอื ง
2) ด้านเศรษฐกิจ และ
3) ดา้ นการจัดการของรัฐบาล
๔๑
ท้งั น้ี BF (TI) จะมีการเผยแพร่ผลทุก 2 ปี และขอ้ มูลทเี่ ผยแพร่คร้ังล่าสุดชว่ งตน้ ปี 2563
ถึงแม้ว่า การประเมินจะประกอบด้วยชุดคาถามหลายข้อ แต่องค์การเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ
ใช้คะแนนจากคาถาม ของ BF (TI) เพียง 2 ข้อ ในการประเมินคะแนน CPI คือ การดาเนินการ
กับเจา้ หน้าท่ีของรฐั ที่กระทาการทุจรติ และความสาเรจ็ ของรัฐบาลในการจัดการกบั ปัญหาคอร์รปั ชนั
โดยขอ้ มูลท่ีไดจ้ ะถกู นามาวเิ คราะหจ์ ากผเู้ ช่ียวชาญ ของ BF (TI) ในประเทศไทย จานวน 2 คน
ค ะแ น น ค งที่ เนื่ อ งจาก องค์ก รเพื่ อค วาม โป ร่งใสน าน าชาติ (Transparency
International หรอื TI) ใชค้ ะแนนจากรายงานการวเิ คราะหข์ อง BF (TI) ครัง้ ล่าสุด เม่อื ปที ่ผี ่านมา
๓. แหล่งข้อมูล Economist Intelligence Unit Country Risk Ratings (EIU) ได้ 37
คะแนน (ปี 2019 ได้ 37 คะแนน)
EIU วิเคราะห์เชิงลึกเก่ียวกับ ความเส่ียงท่ีระบบเศรษฐกิจของประเทศต้องเผชิญ
ได้แก่ ความโปร่งใส ในการจัดสรรและการใช้จ่ายงบประมาณ การใช้ทรัพยากรของราชการ/ส่วนรวม
การแต่งต้ังข้าราชการจากรัฐบาลโดยตรง มีหน่วยงานอิสระในการตรวจสอบการจัดการงบประมาณ
ของหน่วยงาน น้ัน ๆ มีหน่วยงานอิสระด้านยุติธรรมตรวจสอบผู้บริหาร/ผู้ใช้อานาจ ธรรมเนียมการให้
สินบน เพ่ือให้ได้สัญญาสัมปทานจากหน่วยงานของรัฐ ทั้งน้ี EIU มีการสารวจเก็บข้อมูลประมาณ
เดอื นกนั ยายนของทกุ ปี โดยข้อมลู ท่ีไดจ้ ะถกู นามาวิเคราะห์จากผู้เชยี่ วชาญของ EIU จานวน 2 - 3 คน
คะแนนคงที่ เนื่องจากผู้เชี่ยวชาญของ EIU เห็นว่า ประเทศไทยยังคงมีปัญหา
ไม่แตกตา่ งกับปี 2019 ในเร่ืองความโปร่งใสในการจัดสรรและการใช้จ่ายงบประมาณ การใช้ทรัพยากร
ของราชการ การแต่งต้งั ขา้ ราชการ จากรัฐบาลโดยตรง การตรวจสอบการจัดการงบประมาณ ตลอดจน
ปัญหาเกย่ี วกับธรรมเนยี มปฏบิ ตั ใิ นการให้สินบนเพ่ือให้ได้สัญญา หรอื สมั ปทานจากหนว่ ยงานของรัฐ
๔. แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล Global Insight Country Risk Ratings (GI) ได้ 35 ค ะ แ น น
(ปี 2019 ได้ 35 คะแนน)
ในแหล่งข้อมูล Global Insight Country Risk Ratings (GI) มีประเด็นท่ีองค์การเพื่อ
ความโปร่งใสนานาชาติ นามาคานวณเป็นคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต คือ “ความเส่ียงของการ
ท่ีบุคคลหรือบริษัทจะต้องเผชิญกับการติดสินบนหรือการคอร์รัปชันในรูปแบบอื่นเพ่ือท่ีจะทาให้
การดาเนินธุรกิจเป็นไปอย่างราบร่ืน เช่น เพ่ือให้ได้รับสัญญาเพื่อการส่งออก นาเข้า หรือเพื่อความสะดวกสบาย
เก่ียวกับงานด้านเอกสารต่าง ๆ มีมากน้อยเพียงใด” ซึ่งถูกประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญแต่ละประเทศ ซึ่งได้รับ
ขอ้ มูลจากกลมุ่ ลกู คา้ ผทู้ าสัญญากับภาครัฐ นักลงทุน นักธุรกิจ ผู้รบั งานอิสระ เครือขา่ ยนกั ข่าว
คะแนนคงที่ เนื่องจากผู้เช่ียวชาญในแต่ละประเทศซึ่งได้รับข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
(กลุ่มลูกค้า ผู้ทาสัญญากับภาครัฐ นักลงทุน นักธุรกิจ ผู้รับงานอิสระ และเครือข่ายนักข่าว) เห็นว่า
๔๒
การดาเนินธุรกิจในประเทศไทยยังมีความเส่ียงท่ีจะต้องเผชิญกับการการติดสินบนห รือการคอร์รัปชัน
ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้การดาเนินธรุ กจิ เป็นไปอยา่ งราบร่ืน
๕. แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล The Political and Economic Risk Consultancy (PERC)
ได้ 38 คะแนน (ปี 2019 ได้ 38 คะแนน)
PERC สารวจข้อมูลจากนักธุรกิจในท้องถิ่นและนักธุรกิจชาวต่างชาติท่ีเข้าไป
ทาธุรกิจในประเทศน้ัน ได้แก่ นักธุรกิจจากสมาคมธรุ กิจ ผู้แทนที่เข้าร่วมการประชุมตา่ ง ๆ ในเอเชีย
ผู้แทนหอการค้าประเทศต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งข้อมูลท่ีนามาใช้จัดทา CPI 2020 เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวม
ข้อมูลประมาณเดือนมกราคมถึงต้นเดือนมีนาคม 2019 และตีพิมพ์วารสารในเดือนมีนาคม 2020
ทั้งนี้ PERC มีหลักเกณฑ์ในการสารวจโดยการสอบถามกลุ่มตัวอย่างซ่ึงเป็นการถามคาถาม ท่ีแสดงให้
เหน็ ถงึ ระดับการรบั รใู้ นเรือ่ งการคอร์รปั ชัน
คะแนนคงท่ี เน่อื งจากสถานการณ์การทจุ ริตของประเทศไทยในมมุ มองการรับรูข้ องผูต้ อบ
แบบสอบถามไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญจากปีที่ผ่านมา ซ่ึงจะมีบุคคลบางกลุ่มท่ีกระทาการ
ทุจริตและทาให้ประเทศไทยเสื่อมเสียชื่อเสียง แต่กลุ่มบุคคลส่วนใหญ่มีการดาเนินการอย่างถูกต้องตาม
กฎหมาย
๖ . แห ล่ งข้อมูล PRS International Country Risk Guide (PRS) ได้ 32 คะแน น
(ปี 2019 ได้ 32 คะแนน)
ICRG เป็นการจัดอันดับความเส่ียงของประเทศต่าง ๆ ทั้งความเสี่ยงด้านการเมือง
ด้านเศรษฐกิจ และด้านการเงิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยผู้เช่ียวชาญ และมีการรายงานผลทุกเดือน
ครอบคลุม 140 ประเทศทัว่ โลก
“การคอร์รัปชัน” เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ใช้ประเมินความเสี่ยงด้านการเมือง PRS จึงมุ่ง
ประเมินการคอร์รัปชันในระบบการเมือง โดยรูปแบบการทุจริตท่ีพบมากท่ีสุด คือ การเรียกรับสินบน
หรือการเรียกรับเงิน เพื่ออานวยความสะดวกในการนาเข้า/ส่งออก การประเมินภาษี รวมถึงระบบ
อุปถัมภ์ ระบบพวกพ้อง การให้เงินสนับสนุนพรรคการเมืองแบบลับๆ และความสัมพันธ์ใกล้ชิดของ
นักการเมืองกับนักธุรกิจ ในแหล่งข้อมูล Political Risk Services International Country Risk
Guide (ICRG) มีประเด็นที่องค์การเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ นามาคานวณเป็นคะแนนดัชนีการรับรู้
การทจุ รติ คือ “การประเมนิ การคอรร์ ัปชนั ในระบบการเมือง ซง่ึ รปู แบบของการคอรร์ ัปชันโดยตรงทกี่ าร
ดาเนินธุรกิจพบบ่อยคร้ัง คือ การเรียกร้องเงินหรือการต้องจ่ายสินบนเพื่อให้ได้มาซ่ึงใบอนุญาต
การนาเขา้ และส่งออก (Import and Export Licenses) การควบคุมการส่งออก (Exchange Controls)
การประเมินภาษีการคุ้มครองจากตารวจ หรือการกู้ยืมขอให้ท่านช่วยให้คะแนนปัญหาการคอร์รัปชัน
ทั้งการคอร์รัปชันท่ีเกิดข้ึนจริงหรือโอกาสท่ีจะเกิดการคอร์รัปชันจากระบบอุปถัมภ์ ระบบเครือญาติ
๔๓
การฝากเข้าทางาน การต่างตอบแทน การระดมทุนท่ีเป็นความลับและความสัมพันธ์ใกล้ชิดที่น่าสงสัย
ระหว่างนักการเมืองกบั ภาคธรุ กิจ
คะแนนคงท่ี เนื่องจากส่วนหน่ึงอาจมาจากการท่ีแหล่งข้อมูลนี้มีการรายงานผลทุกเดือน
และในรอบปี ท่ีผ่านมาไม่มีเหตุการณ์ใดท่ีทาให้คะแนนเพ่ิมข้ึนแบบก้าวกระโดดหรือลดลง
แบบรนุ แรง ดังนั้น คะแนนจึงยงั คงที่
๗ . แ ห ล่ งข้ อ มู ล World Economic Forum (WEF) ได้ 43 ค ะแ น น (ปี 2 0 1 9
ได้ 43 คะแนน)
WEF สารวจมุมมองของนักธุรกิจที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยเก่ียวกับปัจจัย
ทีเ่ ป็นอปุ สรรค สงู สดุ ในการทาธรุ กิจ 5 ดา้ น คอื
1) การคอรร์ ัปชนั
2) ความไม่มั่นคงของรฐั บาล/ปฏวิ ัติ
3) ความไม่แนน่ อนด้านนโยบาย
4) ระบบราชการที่ไม่มีประสิทธิภาพ
5) โครงสร้างพ้นื ฐานและสาธารณูปโภคที่ไม่เพียงพอวา่
แต่ละปัจจัยเป็นอุปสรรคเพ่ิมขึ้น เท่าเดิม หรือลดลง ทั้งนี้ WEF สารวจข้อมูลประมาณ
เดือนมกราคม – มิถุนายน ของทุกปี โดยในแหล่งข้อมูล World Economic Forum (WEF)
มปี ระเดน็ ทอ่ี งคก์ ารเพอ่ื ความโปร่งใสนานาชาติ นามาคานวณเป็นคะแนนดชั นกี ารรับรูก้ ารทุจรติ คือ
1) “ในประเทศของคณุ เปน็ เรอื่ งปกตเิ พยี งใดท่ีบริษทั จ่ายเงินพเิ ศษโดยไมม่ ีเอกสารอา้ งอิง
หรือจา่ ยสนิ บนทเี่ ชื่อมโยงกับเรือ่ งต่อไปนี้”
(1) การนาเข้า – ส่งออก
(2) สาธารณปู โภค
(3) การชาระภาษีประจาปี
(4) การทาสัญญาและการออกใบอนุญาต
(5) ไดร้ บั การตดั สินใจทีเ่ ออื้ ประโยชนจ์ ากกระบวนการยุตธิ รรม
2) ในประเทศของคุณ เป็นเรื่องปกติเพียงใดท่ีมีการคอร์รัปชันโดยการจ่ายโอนเงิน
งบประมาณ ของรัฐไปยังบริษทั บคุ คลธรรมดาหรอื กลุ่มบุคคล
คะแนนคงที่ เนื่องจากมุมมองของนักลงทุนเกี่ยวกับสถานการณ์การทุจริตไม่ได้
เปลีย่ นแปลง ไปในทางท่ดี ีขน้ึ หรือแย่ลงกว่าเดมิ ถึงแม้หนว่ ยงานภาครัฐจะมกี ารตนื่ ตวั กบั การให้บริการ
ดว้ ยความโปร่งใส มีการลดข้ันตอนและระยะเวลาในการติดตอ่ กับหน่วยงานของรัฐ แตก่ ็ไมอ่ าจส่งผลให้
เกดิ การเปล่ยี นแปลง อยา่ งมีนยั สาคญั
๔๔
๘. แห ล่ งข้อมูล World Justice Project (WJP) ได้ 38 คะแน น (ปี 2 0 1 9 ได้
38 คะแนน)
WJP ประเมินค่าความโปร่งใสโดยใช้ 8 หลักเกณฑ์ เน้นเร่ืองหลักนิติธรรม แต่ปีที่ผ่านมา
TI นาเกณฑ์ด้านการปราศจากคอร์รัปชันและแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนมาเป็นตัวให้คะแนน
โดยในรายงาน ฉบบั ที่ผ่านมา WJP ได้เก็บรวบรวมขอ้ มลู ระหวา่ งเดอื นพฤษภาคม – พฤศจกิ ายน 2020
ในแหลง่ ขอ้ มลู World Justice Project (WJP) มปี ระเด็นที่องคก์ ารเพอื่ ความโปร่งใสนานาชาติ นามา
คานวณเป็นคะแนน ดัชนกี ารรบั รู้การทุจรติ คือ
1) ข้าราชการ (เจ้าหน้าที่) ในสายบริหารไม่ได้ใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพ่ือ
ผลประโยชน์สว่ นตน
2) ข้าราชการ (เจ้าหน้าท่ี) ในสายตุลาการไม่ได้ใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพ่ือ
ผลประโยชนส์ ่วนตน
3) ข้าราชการ (เจ้าหน้าท่ี) ในสายตารวจและทหารไม่ได้ใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพ่ือ
ผลประโยชน์ส่วนตน
4) ข้าราชการ (เจ้าหน้าที่) ในสภานิติบัญญัติ ไม่ได้ใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพ่ือ
ผลประโยชนส์ ว่ นตน
คะแนนคงท่ี เนื่องจากผู้เชี่ยวชาญและกลุ่มตัวอย่างภาคประชาชนมองว่ากลุ่มข้าราชการ
(สายบริหาร สายตุลาการ สายตารวจและทหาร รวมท้ังในสภานิติบัญญัติ) ยังคงใช้ทรัพย์สินของทาง
ราชการเพื่อผลประโยชนส์ ว่ นตน ซ่ึงปัญหาดังกล่าวยังไมไ่ ด้รบั การแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม
๙. แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล Varieties of Democracy Institute (VDEM) ได้ 20 ค ะ แ น น
(ปี 2019 ได้ 20 คะแนน)
V-DEM วัดเก่ียวกับความหลากหลายของประชาธิปไตย การถ่วงดุลของฝ่ายบริหาร
นติ บิ ัญญัติ และตลุ าการ ตลอดจนการทจุ รติ ของเจา้ หน้าที่ในฝ่ายบรหิ าร นติ ิบัญญัติ และตุลาการ ซงึ่ ใน
ปี 2016 มกี ารวดั ในอาเซียนเพียง 4 ประเทศ แต่ต่อมาในปี 2017 จนถึงปัจจุบันมีการวัดในประเทศ
กลมุ่ อาเซียน 10 ประเทศ
ในแหล่งข้อมูล Varieties of Democracy Institute (VDEM) มีประเด็นที่องค์การ
เพื่อความโปรง่ ใสนานาชาติ นามาคานวณเป็นคะแนนดัชนีการรับรกู้ ารทุจรติ ตามคาถามทวี่ ่า การทุจริต
ทางการเมือง เป็นที่แพร่หลายมากน้อยเพียงใด (How pervasive is political corruption?) โดยดัชนี
แสดงความแพรห่ ลาย ของการทุจรติ น้ี ถกู คานวณจากค่าเฉล่ยี ของดชั นี 4 ด้านคือ
1) ดัชนีการคอร์รัปชันในภาครัฐ (Public sector corruption index) โดยใช้คาถามว่า
“เจ้าหน้าที่รัฐ มีพฤติกรรมเรียกรับสินบน หรือส่ิงของอ่ืนใด ในระดับใด และเจ้าหน้าที่รัฐมีพฤติกรรม
๔๕
ขโมยเบียดบังเงินหรืองบประมาณ หรอื ทรัพยากรภาครัฐ เพอ่ื ประโยชนส์ ่วนตนหรือเพ่ือคนในครอบครัว
ของตนเองบอ่ ยคร้งั เพียงใด”
2) ดัชนีการคอร์รัปชันของผู้บริหารระดับสูง (Executive corruption index) โดยใช้
คาถามว่า “ผู้บริหารระดับสูง หรือตัวแทน มีพฤติกรรมเรียกรับสินบน หรือส่ิงของอื่นใดเป็นประจา
หรอื ไม่ และผ้บู รหิ าร ระดับสูง หรอื ตวั แทนเหลา่ น้ันมพี ฤตกิ รรมขโมย เบียดบังเงนิ หรอื งบประมาณ หรือ
ทรัพยากรภาครัฐ เพ่ือประโยชนส์ ว่ นตนหรอื เพอื่ คนในครอบครัวของตนเองบอ่ ยครงั้ เพยี งใด”
3) ดั ช นี ก ารค อ ร์รัป ชั น ข อ งฝ่ าย นิ ติ บั ญ ญั ติ (The indicator for legislative
corruption) โดยใช้คาถามว่า “เจา้ หนา้ ทีฝ่ า่ ยนิติบัญญตั ิไดใ้ ชต้ าแหนง่ หน้าท่เี พ่ือเรียกรับผลประโยชน์ใน
ประเดน็ เหลา่ นีใ้ นระดับใด”
(1) เรยี กรับสินบน
(2) รับเงินเพ่ือช่วยเหลือให้ได้รับสัญญาจากภาครัฐ (เพื่อตัวเอง ครอบครัว เพ่ือน
ผสู้ นับสนุนทางการเมือง)
(3) มีผลประโยชน์ต่างตอบแทนกับภาคธุรกิจเพื่อแลกกับโอกาสในการว่าจ้างภาย
หลงั จากออกจากสภานติ ิบญั ญตั ิ
(4) ขโมย (เบียดบัง) เงินของภาครัฐห รือเงิน จากโครงการบริจาคต่าง ๆ
เพือ่ นามาใชส้ ่วนตัว”
4) ดัชนีการคอร์รัปชันของฝ่ายตุลาการ (The indicator for judicial corruption)
โด ย ใช้ ค า ถ า ม ว่ า “ ป ร ะ ช า ช น ห รื อ ภ า ค ธุ ร กิ จ มี ก า ร จ่ า ย เงิน พิ เศ ษ (ที่ ไม่ มี เอ ก ส า ร
การจ่ายเงนิ ) หรือสนิ บน เพอ่ื เรง่ หรอื ชะลอกระบวนการของฝา่ ยตุลาการ ในระดบั ใด”
คะแนนคงที่ เนื่องจากภาพสะท้อนที่แสดงให้เห็นว่า รัฐบาลให้ความสาคัญกับ
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างต่อเนื่อง โดยผ่านความพยายามของหน่วยงานตรวจสอบ
ในการดาเนินการเชิงป้องปรามการทุจริตในระดับพื้นท่ีและในระดับนโยบาย แต่ปัญหาเกี่ยวกับกรณี
เจ้าหน้าที่ของรัฐและผู้บริหารระดับสูง มีพฤติการณ์การเรียกรับผลประโยชน์ หรือสินบน หรือเบียดบัง
เงินงบประมาณ หรือทรัพยากรภาครัฐเพื่อประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้อง ยังคงเป็นปัญหาอยู่และ
ยังไม่ได้รบั การแก้ไขปญั หาอย่างเปน็ รูปธรรม
จากผลคะแนนการรับรู้การทุจริต ในปี 2020 เป็นเคร่ืองบ่งชี้สาคัญถึงสถานการณ์การทุจริต
ในประเทศไทย ซึ่งเปน็ เรื่องสาคัญที่รัฐบาลจาเป็นตอ้ งมีนโยบายในการแกไ้ ขปัญหาการทุจริตอยา่ งจรงิ จัง
เพ่ือนาไปสู่แนวทางปฏิบัติในการสร้างความโปร่งใสในการดาเนินการของหน่วยงานภาครัฐ นอกจากนี้
ภาคธรุ กจิ เอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชน จะต้องตระหนักถึงความสาคัญของปัญหาการทจุ ริต
และไม่ยอมทน ต่อการทุจริต ซึ่งจะนาไปสู่สังคมท่ีสุจริตส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ และส่งผลต่อ
การเพิ่มข้ึนของคะแนนดชั นกี ารรับรกู้ ารทจุ รติ ต่อไป
๔๖
๓.๖ การเข้าถึงเทคโนโลยขี องคนไทย
เพ่ือนาเสนอข้อมูลท่ีจะนาไปสู่การประยุกต์นวัตกรรมหรือการกาหนดกลไกท่ีจะทาให้
การป้องกันและการปราบปรามการทุจริตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยนั้น
ต้องทราบถงึ สถานะเก่ียวกับการเขา้ ถงึ เทคโนโลยีของคนไทยในปัจจุบนั ว่าเป็นเชน่ ไรบา้ ง
จากการศึกษา พบว่า สานักงานสถิติแห่งชาติ๗ ไดส้ ารวจการมีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสอ่ื สารในครวั เรอื น ซงึ่ ได้จดั ทาเปน็ ครง้ั แรกในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ และตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๖ เปน็ ต้นมา
สานักงานสถิติแห่งชาติได้ทาการสารวจต่อเน่ืองเป็นประจาทุกปี เพ่ือให้ทราบจานวนประชาชนท่ีใช้
โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ลักษณะ และพฤติกรรมในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีต่าง ๆ
รวมทั้งจานวนครัวเรือนท่ีมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เช่น โทรศัพท์พ้ืนฐาน
เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตในครัวเรือน เป็นต้น การสารวจใช้วิธีสัมภาษณ์
หัวหน้าครวั เรอื น และสมาชกิ ในครวั เรือนทมี่ ี อายุ ๖ ปขี ึ้นไป ผลการสารวจในปี ๒๕๖๓ พบวา่ มีจานวน
ประชาชนอายุ ๖ ปขี น้ึ ไป ทง้ั สิน้ ประมาณ ๖๓.๘ ล้านคน ในจานวนนมี้ ผี ้ใู ชโ้ ทรศพั ท์มอื ถือ รอ้ ยละ ๙๔.๘
ผูใ้ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ต รอ้ ยละ ๗๗.๘ และผ้ใู ชค้ อมพวิ เตอร์ รอ้ ยละ ๒๖.๔
และจากการสารวจการใช้ส่ือโซเชียลของคนไทย โดย Global Digital Report 2021 ของ
We Are Social และ Hootsuite แพลตฟอร์มบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลน์ เปิดสถิติถึงเดือน
กรกฎาคม ช่วงครึ่งปีหลังของปี ๒๕๖๔ พบ พฤติกรรมใช้ออนไลน์คนไทย “ติดอันดับโลก”
หลายรายการ โดยสถิติจาก We Are Social ยังพบด้วยว่า คนไทย จานวนร้อยละ ๖๙ อยู่บนโลก
ออนไลน์เป็นท่ีเรียบร้อย และมีพฤติกรรมออนไลน์หลายอย่างท่ีเริ่มได้รับความนิยมเพิ่มสูงขึ้น คนไทย
ใช้โซเชียลมีเดียเป็นช่องทางหลักในการอัพเดทข่าวเป็นอันดับ ๑ ของโลกในปีน้ี หรือคิดเป็นร้อยละ ๗๘
ขณะที่ คนไทยมากถึงรอ้ ยละ ๙๑ อ่านข่าวออนไลน์ มากเป็นอนั ดบั ท่ี ๒ ของโลก โดยในกลุ่มของโซเชยี ล
มีเดีย คนไทยใช้แพลตฟอร์ม Facebook มากเป็นอันดับ 8 ของโลก โพสต์เฟซบุ๊กเฉลี่ยคนละ ๑๑ คร้ัง
ต่อเดือนและแสดงความคิดเห็น (comment) บนเฟซบุ๊ก เฉลี่ย ๘ คร้ังต่อเดือน ขณะที่ YouTube คน
๗ สำนังก าำนัสิติตห่งาาำิตงะทระงาิติตรเก พือ่เพระฐกงติหเทสกาม. สรุปผลที่สำคัญสำรวจกำรมกี ำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ และกำร
สื่อสำรในครัวเรือน พ.ศ. ๒๕๖๓. ส่บมน้ ัพ.อ่เ ๒๑ ิุเำม. ๒๕๖๔, ิำง
http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/%e0%b8%94%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b8%99ICT/%e0%b9%80%e0%b8%97%e0%b8%84%e0%b9%82%e0%b8%9 9
%e0%b9%82%e0%b8%a5%e0%b8%a2%e0%b8%b5%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b8
%b7%e0%b8%ad%e0%b8%99/2563/Pocketbook63.pdf
๔๗
ไทยใชม้ ากเปน็ อนั ดบั ๑๘ ของโลก Instagram มากเป็นอนั ดบั ๑๖ ของโลก ใช้ Facebook Messenger
มากเปน็ อนั ดบั ๖ ของโลก และใช้ Twitter มากเปน็ อันดบั ๑๐ ของโลก
ทม่ี า : https://datareportal.com/reports/digital-2021-july-global-statshot
นอกจากน้ี จากการศึกษาการใช้งานแอปพลิเคชันต่าง ๆ ท่ีคนไทยคุ้นชิน ณ ปัจจุบัน
พบว่า มีมากมาย เช่น เป๋าตัง ไทยชนะ หมอพร้อม ล้วนแต่ต้องใช้งานโดยวิธีสแกน QR Code ท้ังส้ิน
ซึ่งทาให้ประชานชนมีความชานาญและคุ้นชินกับระบบดังกล่าว โดยพบว่า คนไทยท่ีเช็คอินผ่านระบบ
ชองไทยชนะหรือหมอชนะกว่า ๔๗ ล้านคน เมื่อเทียบกับจานวนประชากรทั้งหมด ๖๗ ล้านคน คิดเป็น
กว่าร้อยละ ๗๐ ซ่ึงถือว่ามีประมาณมากพอสมควร ดังพิจารณาได้จากแผนภูมิรายงานข้อมูล
แอปหมอชนะ
๔๘
ทีม่ า : https://www.bbc.com/thai/thailand-55784607
กล่าวโดยสรุป จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต พบข้อมูลสาคัญเก่ียวกับแนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
(Participatory Democracy) ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมือง
การปกครอง และในการตัดสินใจระดับต่าง ๆ มากข้ึน ตลอดจนแนวคิดหลักธรรมาภิบาล หรือ Good
Governance หรือตามกฎหมายใช้คาว่า “การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมท่ีดี” ท่ีแนวคิด
ในการนาไปดาเนินการของกิจการของหน่วยงานของรัฐให้มีความโปร่งใส ประกอบข้อมูลเบื้องต้น
เก่ียวกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and
Transparency Assessment : ITA) และข้อมูลเบ้ืองต้นเกี่ยวกับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption
Perceptions Index : CPI) ซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงการปรับตัวของระบบการบริหารราชการแผ่นดินท่ีมี
เครือ่ งมอื ตา่ ง ๆ มาใช้ในการขบั เคล่ือนการบริหารราชแผน่ ดนิ ทมี่ ีความโปร่งใสมากขึ้น
นอกจากน้ี จากการศึกษาถึงข้อมูลการเข้าถึงเทคโนโลยีของคนไทยสาหรับเพื่อนาไป
วิเคราะห์เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรมการตรวจสอบการบริหารราชการแผ่นดินตามรูปแบบท่ี
คณะกรรมาธิการฯ จะนาเสนอน้ัน พบว่า ประชาชนคนไทยเข้าถึงเทคโนโลยีอย่างทั่วถึงในระดับสูง
และมีแนวโน้มจะครอบคลุมทั่วท้ังประเทศ ดังจะเห็นได้จากการเข้าถึงการใช้โปรแกรมประยุกต์หรือ
แอปพลิเคชันต่าง ๆ อาทิ หมอพรอ้ ม ไทยชนะหรือหมอชนะ เปา๋ ตงั
๔๙
๓.๗ นโยบายแผนพัฒนารฐั บาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
ในภาวะปัจจุบนั แรงขับเคลอ่ื นการเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม (Driving Force) ส่งผล
ให้การดาเนินงานภาครัฐของประเทศไทยมีความจาเป็นท่ีจะต้องมีการปรับตัวเพ่ือรองรับกับยคุ ของการ
เปลี่ยนผ่านทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption) ที่เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาท และ
ทดแทนการทางานของบุคคล รวมถึงเทคโนโลยีแบบดั้งเดิม ซึ่งมีความสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมการบริโภค และการรับบริการของประชาชนท่ีมีแนวโน้มจะเปล่ียนไปดาเนินธุรกรรมต่าง ๆ
ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ิมขึ้นอย่างก้าวกระโดด จากผลสารวจจานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยมี
มากกว่า ๔๗.๕ ล้านคน จากผลสารวจในปี ๒๕๖๒ คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๕ ของประชากรทั้งหมดใน
ประเทศไทย ซึ่งสอดคล้องกับรายงานการจัดทาดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ขององค์การสหประชาชาติ
(UN e-Government Index) ในปี ๒๕๖๓ ที่ได้มีการรายงานจานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์
ผ่านอุปกรณ์ส่ือสารเคลอ่ื นทีอ่ ยใู่ นระดับสูง
การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ดังท่ีได้กล่าวมาน้ีได้ถูกเร่งรัด (Catalyst)
การเปล่ียนแปลงยิ่งข้ึนไปเมื่อเกิดสถานการณ์การระบาดของโรค Covid-19 ในช่วงปลายปี ๒๕๖๒
มาจนถึงปัจจุบันท่ีทาให้เกิดปรากฎการณ์ทางสังคมท่ีเรียกว่า “ความปกติใหม่” หรือ New Normal
ที่ประชาชนจะต้องเว้นระยะห่างและหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า ทาให้ความจาเป็น (Demand) ของ
เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ิมขึ้นกว่าช่วงก่อนที่จะเกิดการระบาดของโรค จากสถานการณ์น้ี ทาให้หน่วยงาน
ภาครัฐทีม่ ีหนา้ ทใ่ี นการใหบ้ รกิ ารประชาชนจะตอ้ งเรง่ รัดการปรบั เปล่ียนรปู แบบและวธิ กี ารให้บรกิ ารจาก
การให้บริการโดยตรงกับประชาชน ต้องเปลี่ยนมาให้บริการผ่านช่องทางดิจิทัลมากยิ่งขึ้น ซ่ึงการจะ
ดาเนินการให้บริการภาครัฐสามารถให้บริการผ่านช่องทางดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบได้น้ัน หน่วยงาน
ภาครัฐจาเป็นท่ีจะต้องดาเนินมาตรการต่าง ๆ เช่น การปรับเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐให้เป็นดิจิทัล
(Digitization) การบูรณาการบริการและข้อมูลภาครัฐเพื่อที่จะให้หน่วยงานภาครัฐสามารถให้บริการ
ผา่ นชอ่ งทางดิจิทลั ได้อยา่ งเบ็ดเสรจ็ และไร้รอยต่อ (Seamless) นอกจากการใหบ้ ริการต่อประชาชนแล้ว
น้ัน สถานการณ์ของการระบาดของโรค Covid-19 ทาให้หน่วยงานภาครัฐของไทยจาเป็นที่จะต้องปรับ
รูปแบบ วิธีการทางาน เช่น การลดจานวนบุคลากรที่จะต้องทางานท่ีสานักงาน หรือการหลีกเลี่ยง
การประชุม ณ สถานท่ีใดท่ีหน่ึงเป็นการเฉพาะ ทาให้หน่วยงานภาครัฐมีความจาเป็นต้องนาเทคโนโลยี
ดิจิทลั มาปรบั ใชใ้ นการทางานของหนว่ ยงานภาครัฐเพอ่ื ใหก้ ารทางานของหนว่ ยงานภาครฐั มคี วามสะดวก
และคลอ่ งตัวมากข้ึน
ในการปรับเปลยี่ นการให้บริการ และการทางานของหน่วยงานภาครัฐดังที่ได้กล่าวมานี้แสดงให้
เหน็ ถึงปรากฏการณ์ของการเปล่ยี นแปลงรูปแบบการทางาน (Digital Transformation) ของหน่วยงาน
๕๐
ภาครัฐ เพ่ือให้สอดรับกับบริบททางเศรษฐกิจและสังคมที่เปล่ียนแปลงไป ทั้งนี้ รัฐบาลได้เล็งเห็น
ความสาคญั ของการปรบั เปล่ียนรูปแบบการทางานและการใหบ้ ริการภาครฐั จึงไดม้ ีการจัดทาแผนพฒั นา
รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ เพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทางาน
และการให้บรกิ ารภาครัฐของประเทศไทย ซ่ึงเปน็ ไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการบริหารงาน
และการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมไปถึงแผนยุทธศาสตร์ชาติแผ่นแม่บท
ยุทธศาสตรช์ าติ แผนปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะแผนการปฏริ ูปประเทศว่าดว้ ยการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน
ที่ได้มีการปรับเป้าหมายในเรื่องของความปกติใหม่ในหน่วยงานภาครัฐของประเทศไทย อีกท้ัง
แผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมที่มุ่งจะพัฒนาให้ประเทศไทยมีการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจดิจิทัล
จนนาไปสกู่ ารพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ มีวัตถุประสงค์ ๕ ประการ
ไดแ้ ก่
๑) เพือ่ บูรณาการดาเนินงานรว่ มกนั ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
๒) เพ่อื ให้มีกรอบการขับเคล่อื นกจิ กรรม/โครงการทีช่ ัดเจนมุ่งสจู่ ดุ หมายเดยี วกนั
๓) เพ่ือกาหนดการอบรมขับเคลื่อนการบูรณาการรฐั บาลดจิ ิทัลที่สาคัญ สาหรับกาหนดประเด็น
แผนบรู ณาการประจาปีงบประมาณ
๔) เพ่ือกาหนดหน่วยงานหลักและหน่วยงานรองในการขับเคล่ือนประเด็นที่เก่ียว ข้อง
พร้อมกรอบงบประมาณในการดาเนนิ งาน
๕) เพื่อเป็นกรอบแนวทางให้หน่วยงานภาครัฐจัดทาแผนการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติการบรหิ ารงานและการใหบ้ ริการภาครฐั ผ่านระบบดจิ ิทลั พ.ศ. ๒๕๖๒
วิ สั ย ทั ศ ข อ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น แ ล ะ ก า ร ให้ บ ริ ก า ร ภ า ค รั ฐ ผ่ า น ร ะ บ บ ดิ จิ ทั ล
พ.ศ. ๒๕๖๒ คอื “รัฐบาลดิจทิ ัล เปิดเผย เช่อื มโยง และรว่ มกันสรา้ งบริการท่ีมีคณุ ค่าให้ประชาชน”
ยุทธศาสตร์การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีจานวน ๔ ยุทธศาสตร์ มุ่งหวังให้นาไปสู่เป้าหมายของ
ประเทศในด้าน “การลดความเหล่ือมล้าในการเข้าถึงบริการและสวัสดิการของประชาชน การเพิ่มขีด
ความสามารถทางการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย การสร้าง
ให้เกิดความโปร่งใสในการทางานของภาครัฐ ที่ประชาชนสามารถตรวจสอบได้ และการสร้างการมี
ส่วนรว่ มของประชาชนในการขบั เคลอ่ื นนโยบายสาคัญของประเทศ”
๕๑
๓.๘ การพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ัลในต่างประเทศ
ปัจจุบันนานาประเทศตระหนักถึงความสาคัญในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการ
พัฒนาประเทศและได้มีการริเริ่มพัฒนารัฐบาลดิจิทัลขึ้น ซ่ึงการศึกษาวิสัยทัศน์ นโยบายและแผนการ
ดาเนินงานการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในต่างประเทศที่ประสบความสาเรจ็ สามารถนามาใช้เป็นแนวทางใน
การกาหนดกรอบและทิศทางการพฒั นารัฐบาลดิจิทลั ของประเทศไทยได้ ได้แก่ ราชอาณาจกั รเดนมาร์ก
สาธารณรัฐสงิ คโปร์ สหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐเกาหลี ซ่ึงสามารถสรปุ การพัฒนาทสี่ าคญั ได้ดงั น้ี
๑) การจัดทาข้อมูลดจิ ิทัล โดยรวบรวมและปรบั เปลยี่ นข้อมลู ภาครฐั ใหอ้ ยู่ในรปู แบบดิจิทลั เพ่ือ
นาไปใชป้ ระโยชน์ และพัฒนาบรกิ ารประชาชนและภาคธรุ กิจ
๒) การปรับปรุงกระบวนการภาครัฐ ท่ีมีการกาหนดรูปแบบการทางานระหว่างหน่วยงาน
ภาครัฐ และบทบาทการสนับสนุนของหน่วยงานกลาง โดยการนาระบบดิจิทลั มาลดขน้ั ตอน
ลดกระบวนการทางาน ลดงานเอกสารและมีการจัดทาลาดับการปรับปรุงตามความสาคัญ
ของกระบวนการ และจดั กลมุ่ ความสาคัญของหนว่ ยงานท่ใี ห้บรกิ าร เพื่อให้เกิดกระบวนงาน
ท่ีเป็นไปตามมาตรฐานบนพื้นฐานความปลอดภัยและมีจริยธรรมภายใต้กรอบธรรมาภิบาล
ซงึ่ หลายประเทศมงุ่ เนน้ การดาเนนิ งานแบบ Agile เพอ่ื ให้เกิดความยืดหยุ่นในการทางาน
๓) การพัฒนาบริการดิจิทัล ที่มุ่งเน้นการให้บริการดิจิทัลภาครัฐท่ีง่าย สะดวก รวดเร็ว
ปลอดภยั และมีคุณภาพสูงอีกท้ังต้องมีความน่าเช่ือถือ ยืดหยนุ่ และมีความมัน่ คงปลอดภัย
จากการคุกคามทางไซเบอร์ เป็นมิตรกับประชาชนและเอื้อต่อการเติบโตของภาคธุรกิจ
โดยยดึ หลกั ประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง (Citizen Centric)
๔) การพัฒนาและบูรณาการแพลตฟอร์มดจิ ิทัลภาครัฐ มุ่งเน้นการบรู ณาการบริการภาครัฐและ
การพัฒนาต่อยอดระบบบรกิ าร ณ จุดเดียว (One-Stop Service) ผา่ นระบบดิจิทัลโดยเป็น
กระบวนการตั้งแต่ต้นจนจบ (End – to – End Process) การพัฒนาระบบยืนยันตัวตน
(Digital ID) เพื่ออานวยความสะดวกประชาชนและผู้ประกอบการในการดาเนินการด้าน
ธุรกรรม การสร้างแพลตฟอร์มกลางสาหรับการบริการประชาชน รวมถึงการพัฒนา
แพลตฟอร์มพื้นฐานที่หน่วยงานภาครัฐสามารถใช้งานร่วมกันได้ การพัฒนามาตรฐานร่วม
การใช้ Open Source Framework และการใช้ Open ซอฟท์แวร์ ซึ่งมีความจาเป็นต้องมี
การประกาศมาตรฐานและแนวทางดาเนินงานสาหรับการประยุกต์ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลใน
แผนงานระดบั ชาติ
๕) การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐ โดยส่งเสริมให้มีการเช่อื มโยม
และการบรู ณาการระบบดิจทิ ัลผา่ นเทคโนโลยีสาคัญต่าง ๆ เช่น AI และ IoT เพ่อื ใหเ้ กิดการ
แลกเปลีย่ นข้อมลู ระหว่างหนว่ ยงานภาครัฐ และสามารถนาไปพฒั นาบรกิ ารสาธารณะได้
๕๒
๖) การพัฒนาบุคลากรท้ังในด้านทักษะและทัศนคติ โดยยกระดบั บุคลากรด้านดิจทิ ัลให้เท่าทัน
ต่อนวัตกรรมพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคขั้นสูง การแต่งตั้ง Chief Digital Strategy
Officers จากกระทรวงต่าง ๆ เพ่ือดาเนนิ การตามแผน รวมถึงส่งเสรมิ ให้บุคลากรมีทัศนคติ
ด้านดิจิทัลท่ีดีในการเสนอความคิดและรูปแบบการทางานใหม่ ๆ และสนับสนุนให้
ผู้เชี่ยวชาญท่ีไม่ใชส่ ายงานดิจิทัลเข้าใจถึงความเป็นไปได้ในการทงานในรูปแบบใหม่ หรือใน
รปู แบบท่แี ตกต่างจากเดิม ตลอดจนการปลูกฝังการเรียนรู้ best practice ของต่างประเทศ
เพ่อื นามาพฒั นาบรกิ ารภาครัฐอย่างต่อเน่อื ง
๗) การปรับปรุงเครื่องมือ กลไกและกฎหมาย โดยจัดเตรียมเครื่องมือดิจิทัลเพ่ือสนับสนุนการ
ดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการดาเนินโครงการ
ร่วมกับภาคเอกชนและสถาบันวิจัยท่ีมีศักยภาพ (Public-Private Partnerships: PPPs)
รวมถึงการให้ความสาคญั ในการปรบั ปรงุ และแก้ไขกฎหมายท่ีเปน็ อปุ สรรคในการดาเนินงาน
แบบดจิ ทิ ลั
๘) การเปิดเผยข้อมูลและการมีสว่ นร่วมของประชาชน โดยให้ความสาคญั กบั การเปิดเผยขอ้ มูล
ภาครัฐเพ่ือสร้างความโปร่งใส รวมถึงการสร้างสภาพแวดล้อม (Ecosystem) ใหม่ท่ีภาครัฐ
ภาคธุรกิจ และภาคประชาชนสามารถร่วมมือกันได้และมีการรับฟงั ความเห็นจากประชาชน
เพอื่ สร้างและพัฒนานวตั กรรมบริการทด่ี ีขึ้นร่วมกบั ภาคประชาชน (Co-creating)
โครงการเชิงบูรณาการท่ีสาคัญในต่างประเทศเก่ียวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล จานวน ๗
โครงการหลักสาคัญดังน้ี
๑) Citizen Platform แพลตฟอร์มกลางท่ีรวบรวมข้อมูลและงานบริการต่าง ๆ เพ่ือประชาชน
โดยบูรณาการระหวา่ งหน่วยงานสามารถหาขอ้ มูลสาหรับการดาเนินชีวิต รวมถงึ ทาธุรกรรม
ออนไลนไ์ วใ้ นเวบ็ ไซตเ์ ดยี วกัน เพือ่ ใหส้ ะดวกตอ่ การเขา้ ถึงข้อมูลและบรกิ ารของภาครัฐ
๒) Business Platform แพลตฟอรม์ กลางทร่ี วบรวมข้อมลู และงานบรกิ ารต่าง ๆ เพอ่ื ภาคธุรกจิ
โดยบูรณาการระหว่างหน่วยงานสามารถหาข้อมูลสาหรับการดาเนินธุรกิจ รวมถึงธุรกรรม
ออนไลนไ์ ว้ในเว็บไซต์เดียวกัน เพือ่ ให้สะดวกต่อการเข้าถึงขอ้ มูลและบริการของภาครฐั
๓) Open Data Platform แพลตฟอร์มกลางท่ีรวบรวมข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูลจากทุก
หน่วยงานภาครัฐไว้ในเว็บไซต์เดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ภาคประชาชนและภาค
ธรุ กิจนาข้อมูลไปพฒั นา หรือคิดค้นต่อยอดธรุ กิจของตน รวมทั้งเปน็ การเพ่ิมศักยภาพการใช้
ข้อมูล การเกบ็ รวบรวมข้อมูล และการแบ่งปนั ขอ้ มลู ร่วมกัน
๔) Data Exchange Platform ระบบแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อการ
แลกเปลี่ยนท่ีรวดเร็ว ถกู ต้อง และน่าเชื่อถือ โดยอาจเป็นการเกบ็ ข้อมูลไวใ้ นฐานขอ้ มูลกลาง
๕๓
หรือแลกเปล่ียนโดยตรง ซึ่งหน่วยงานสามารถนาข้อมูลที่ได้รับการอนุมัติไปใช้ต่อ เช่น
นาไปใช้กรอกขอ้ มลู อตั โนมัติหรือนาไปเผยแพร่บน Open Data Platform ได้
๕) E-Authentication ระบบการลงทะเบียน การยืนยันตัวตน และการระบุสิทธิการเข้าถึง
ข้อมูลเพ่ือต้องการใช้บริการภาครัฐผ่านระบบออนไลน์ได้ทุกบริการแทนการสร้างบัญชีใหม่
ทุกคร้ังที่ต้องการทาธุรกรรมออนไลน์กับภาครัฐทาให้เจ้าของบัญชีสามารถเพ่ิมเติม หรือ
แกไ้ ขข้อมูลสว่ นบุคคลได้ตลอดเวลา อีกท้ังระบบจะทาการอพั เดทขอ้ มูลทมี่ ีการเปล่ยี นแปลง
ไปยังหนว่ ยงานภาครัฐที่เก่ยี วขอ้ งทกุ หน่วยงาน เป็นการลดขน้ั ตอนในการทางานซา้ ซ้อน
๖) e-Procurement เวบ็ ไซตก์ ลางสาหรับรวบรวมการจดั ซอื้ จัดจ้างมีแค็ตตาล็อกสนิ ค้าและงาน
บรกิ ารใหเ้ ลือกซ้ือพร้อมให้ขอ้ มลู เกยี่ วกบั สินค้า โดยแบง่ เป็นหมวดหมู่ ได้แก่ ดา้ นเทคโนโลยี
ด้านอสังหาริมทรัพย์ ด้านการท่องเที่ยว ด้านกฎหมาย และสาหรับธุรกจิ ขนาดย่อม (SMEs)
ทาให้หน่วยงานภาครฐั สามารถค้นหาและจดั ซือ้ สินค้าและบรกิ ารท่ีมีคณุ ภาพได้อย่างสะดวก
ในราคาท่ีคมุ้ ค่า
๗) Crowdsourcing เว็บไซตก์ ลางของภาครฐั ใชเ้ ปน็ ช่องทางออนไลน์อย่างเปน็ ทางการ เพื่อการ
แลกเปล่ียน รับฟังความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะของประชาชน และภาคธุรกิจ ทั้งในมิติของ
การร่วมกนั ออกแบบบริการและการรว่ มกันจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
๓.๙ ความรู้ทว่ั ไปเก่ยี วกบั รูปแบบของ QR Code
QR Code คืออะไร
QR Code คือ สัญลักษณ์สี่เหล่ียม ท่ีเริ่มเห็นแพร่หลายในประเทศไทยมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นจาก
หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร QR Code ย่อมาจาก Quick Response เป็นบาร์โค้ด ๒ มิติ ที่มีต้นกาเนิด
มาจากประเทศญ่ีปุ่น โดยบริษัท Denso-Wave ตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๙๔ คุณสมบัติของ QR code คือ
เป็นสัญลักษณ์แทนข้อมูลต่าง ๆ ท่ีมีการตอบสนองที่รวดเร็ว ซึ่งส่วนใหญ่จะนามาใช้กับสินค้า ,
สื่อโฆษณาตา่ ง ๆ เพื่อใหข้ ้อมูลเพม่ิ เติม หรอื จะเป็น URL เวบ็ ไซต์ เม่อื นากล้องของโทรศัพท์มือถอื ไปถ่าย
QR Code ก็จะเข้าสู่เวบ็ ไซต์ได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ QR Code จะทาให้เข้าถึงการอ่านได้อยา่ ง
๕๔
งา่ ยดาย โดยใช้โทรศัพทม์ อื ถือที่มกี ลอ้ งถ่ายรปู และมโี ปรแกรมที่เรียกวา่ QR Code reader ติดตง้ั อยูใ่ น
เคร่ืองโทรศพั ท์
QR Code มีกี่ประเภท
ประเภทของ QR Code นน้ั มที ั้งหมด ๕ ประเภทหลกั ดังน้ี
๑) QR Code Model 1 เป็น QR Code แบบด้ังเดิม มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดา QR Code
ทัง้ หมด มีขนาด ๗๓*๗๓ โมดลู มีความสามารถบรรจุข้อมูลไดถ้ ึง ๑๑๖๗ ตวั และ QR Code Model 2
ซง่ึ เป็นเวอร์ชั่นทพี่ ัฒนามาจาก Model 1 มีความสามารถบรรจุข้อมูลได้ถึง ๗๐๘๙ ตัวอักษร ในปัจจุบัน
Model 2 เปน็ ที่นยิ มใชก้ ันอย่างแพรห่ ลายและสามารถพบเหน็ ไดท้ ั่วไป
๒) Micro QR Code เปน็ QR Code ทม่ี ขี นาดเลก็ กว่าแบบแรกมากเพราะแสดงผลบางจุดตรวจ
ตาแหน่ง (position detection pattern) เพียงตาแหน่งเดียว ขนาดใหญ่ท่ีสุดของแบบท่ีสองนี้ คือ M4
(๑๗*๑๗ โมดูล) บรรจุข้อมลู ได้ ๓๕ ตัวเลข
๓) IQR Code เป็น QR Code ท่ีมีขนาดเล็กกว่าแบบด้ังเดิมมากและพิมพ์ออกมาเป็นแนวนอน
(rectangular code) สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าถึง ๘๐ เปอร์เซ็นต์ ถ้าจัดเก็บข้อมูลในปริมาณที่
เท่ากันจะประหยัดพ้นื ท่ีในการแสดงผลได้ถึง ๓๐ เปอร์เซน็ ต์ เกบ็ ข้อมลู ได้ถึง ๔๐,๐๐๐ ตวั อักษร
๔) SQRC เป็น QR Code ท่ีมีคุณ ลักษะเหมือนกับ QR Code Model 1 and Model 2
ทุกประการ แต่ท่เี พิ่มเตมิ คอื สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี ป็นความลบั ได้
๕) Frame QR เป็น QR Code ที่สามารถนารูปภาพ กราฟิกมาติดบริเวณ ตรงกลางของ QR
Code ได้ ส่วนใหญ่ใชใ้ นงานประชาสัมพนั ธ์ งานอเี วนต์ นทิ รรศการ เพอื่ ใหส้ ะดดุ ตาผู้เข้าชม โดยการนา
ภาพมาตดิ จะไม่ส่งผลกระทบกบั การอ่านขอ้ มลู บน QR Code
ประโยชน์ของ QR Code
QR Code สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น แสดง URL ของเว็บไซต์ ,
ข้อความ , เบอร์โทรศัพท์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR Code ถูกนาไปใช้ใน
๕๕
หลาย ๆ ด้าน เน่ืองจากความรวดเร็ว ประโยชน์ท่ีเห็นไดช้ ัดท่ีสุดของ QR Code คอื การแสดง URL ของ
เว็บไซต์ เพราะ URL โดย ปกติแลว้ จะจดจายากเพราะยาวและบางทกี จ็ ะซบั ซอ้ นมาก แตด่ ้วย QR Code
เพียงแค่ยกมือถือมาสแกน QR Code ท่ีพบเห็นตามผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ , นามบัตร , นิตยสาร ฯลฯ แล้ว
มือถอื จะล้งิ ค์เข้าเว็บเพจท่ี QR Code น้นั ๆ บนั ทึกขอ้ มลู อยโู่ ดยอตั โนมตั ิ
วธิ ีการสร้าง QR Code มี ๒ วธิ หี ลกั ๆ ดงั นี้
สร้างผ่านเว็บทใ่ี หบ้ รกิ ารแบบออนไลน์ ซ่งึ งา่ ย สะดวก และทาทีไ่ หนก็ได้ แตต่ ้องสามารถเข้าสู่
หน้าเวบ็ ทีใ่ หบ้ ริการได้
ติดตงั้ โปรแกรม QR Code ซึ่งสามารถหา download ไดฟ้ รี เช่นกัน
สามารถสรา้ งและใช้ QR Code ได้เองหรือไม่
เราสามารถสร้าง QR Code ใช้เองได้ง่าย ๆ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ด้วยโปรแกรม AIS QR Code
Generator ที่สามารถสร้างตัว QR-Code ได้ทั้งแบบเป็น ข้อความ , URL, PIN แบล็คเบอร่ี,
เบอร์โทรศัพท์, SMS, e-mail และนามบัตร โดยเราสามารถกาหนดขนาดของ QR Code ได้ท้ังแบบ
แสตมป์, จดหมาย, กระดาษปรินท์ และเส้ือยืด อีกท้ัง ยังสามารถนาตัว QR Code ไปโพสต์ไว้ตามเว็บ
บอร์ดต่าง ๆ ด้วยการ Copy โคด้ HTML ไปใช้ไดห้ รือ Share ให้เพ่ือนท่ี Facebook และ twitter ไดอ้ ีกด้วย
๕๖
แนะนาเว็บไซต์สร้าง QR Code แบบไม่เสียเงิน
การสร้าง QR code สามารถทาได้หลายวิธี มีทั้งการสร้าง QR Code แบบอัตโนมัติผ่าน
แอปพลิเคชั่น และการสร้างผ่านเว็บไซต์สาหรับสร้าง QR cord โดยเฉพาะ สาหรับร้านค้าออนไลน์ท่ี
ต้องการสร้าง QR code เพอื่ โปรโมทรา้ นคา้ หรือเวบ็ ไซตส์ ามารถทาไดผ้ ่านเวบ็ ไซตฟ์ รี ดังน้ี
๑) เว็บไซต์ QR code Genertor เป็นเว็บที่เปิดให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปสร้าง QR Code ได้ฟรี
เพียงแค่นา URL ของเว็บไซต์หรือแฟนเพจของร้านคุณไปใส่ในช่อง เว็บไซต์ URL จากน้ันคลิกปุ่มสร้าง
รหัส QR แล้วระบบจะทาการสร้าง QR code ใหค้ ุณ และคณุ ก็สามารถดาวน์โหลดไปใช้งานไดเ้ ลย นอกจาก
URL แลว้ เว็บไซต์นยี้ ังใหค้ ุณสรา้ งนามบตั ร ข้อความ SMS ออกมาเปน็ QR code ได้อกี ดว้ ย
๒) เว็บไซต์ websiteplanet จะมีเมนูให้เลือกสร้างได้มากมายถึง ๑๕ เมนู ได้แก่ สร้าง URL
เบอร์โทรศัพท์ URL Facebook Vcard MeCard ปฏิทิน ข้อความ อีเมล สถานท่ี SMS Twitter และ
Wifi ซึง่ ข้ันตอนการสรา้ ง URL เว็บไซต์ สามารถทาไดง้ า่ ย ๆ ดังนี้
(๑) คลกิ ท่เี มนู URL
(๒) กรอก URL เว็บไซตข์ องคุณลงในช่องดานลา่ ง
(๓) เปลีย่ นสี เพิ่มโลโก้ เพม่ิ กรอบได้ตามใจชอบ
(๔) คลกิ ป่มุ สรา้ ง QR
(๕) ดาวน์โหลด QR มาใชง้ านได้เลย
๕๗
วธิ ใี ช้ QR Code
เมื่อติดต้ัง QR Code Reader เรียบรอ้ ยแล้ว หากพบเห็น QR Code และอยากรู้ว่า QR Code
นั้นคืออะไร ให้เปิดโปรแกรม QR Code Reader และถ่ายรูปสัญลักษณ์ QR Code ระบบจะแปลง
สญั ลักษณ์ ให้เปน็ ข้อมูลท่ีอ่านได้ทันที
QR Code Reader ทีใ่ ช้ได้สาหรบั โทรศัพทม์ อื ถอื จะมอี ยู่ ๒ ประเภท ได้แก่
๑. แบบ Real-Time คอื แคใ่ ช้กล้องในโทรศพั ทม์ อื ถอื ส่อง QR Code ไดท้ นั ที
๒. แบบ Snapshot/Capture คือ ต้องเปิดโปรแกรมแล้วถ่ายภาพจากกล้องมือถือ ถ่ายภาพ
Code กอ่ น แล้วจงึ ประมวล Code ออกมา
–
ตัวอยา่ งการใชง้ าน QR Code
–
บทที่ ๔
ผลการพจิ ารณาศกึ ษา
เม่ือคณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต ประพฤติมิชอบ และเสริมสร้าง
ธรรมาภิบาล วุฒิสภา ได้ดาเนินการพิจารณาศึกษาข้อมูลที่เก่ียวข้องดังได้นาเสนอมาในบทที่ ๒
และบทที่ ๓ แล้ว คณะกรรมาธิการฯ ยังศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์ กล่าวคือ การเชิญผู้แทนจากหน่วยงาน
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม รวมทั้งการลงพื้นท่ีในต่างจังหวัดเพื่อให้ข้อมูลและแลกเปล่ียน
ความคิดเห็นเก่ียวกับการศึกษาและจัดทาระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต
คอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบการนาเทคโนโลยี QR Code สาหรับเช่ือมโยงไปยัง
เว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการบริหารการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในโครงการต่าง ๆ
ที่เป็นการเปิดเผย โปร่งใส และกลไกในการป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในทุกขั้นตอน
รวมทัง้ มีกลไกในการป้องกนั และรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู ส่วนบุคคลใหก้ ับประชาชนที่แจ้งเบาะแส
หรือให้ข้อมูลการทุจริตคอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ โดยได้มีการสารวจ
ความคดิ เห็นจากหนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ งในประเดน็ สาคัญ ๆ หรอื หัวขอ้ คาถามดงั ตอ่ ไปนี้
๑. องค์กรของทา่ น มีบทบาทอานาจและหน้าทเ่ี กยี่ วกบั การจดั ซ้ือจัดจา้ งอยา่ งไร
๒. หากมีรูปแบบ QR Code ในการเผยแพร่รายละเอียดแผนงานโครงการเก่ียวกับ
การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐเพ่ือให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบการทุจริต องค์กรของท่านมีความ
พร้อมในการรับเรื่องร้องเรียน หรือสร้างเคร่ืองมือเพื่อเป็นช่องทางท่ีสะดวกและปลอดภัยในการแจ้ง
เบาะแสของประชาชนประการใด
๓. ท่านมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะประการใด เก่ียวกับหลักการพิจารณาศึกษา
เร่ือง "การจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบรามการทุจริตการจัดซ้ือ
จัดจา้ งภาครฐั " ของคณะกรรมาธกิ ารและมีขอ้ ขดั ขอ้ งประการใด
๔. องค์กรของท่านมีการอานวยความสะดวกให้กับประชาชนท่ีมีความประสงค์จะแจ้ง
เบาะแสหรอื ย่ืนเรือ่ งรอ้ งเรยี นเก่ียวกับการทจุ รติ การจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงานภาครฐั อย่างไร
๕. องค์กรของท่านมีการเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้ประชาชน
ไดเ้ ข้าไปตรวจดหู รือไม่ หากมเี ปน็ การเปิดเผยโดยวธิ ีการใดและมีขอ้ มลู ใดบ้างทีน่ าไปเปิดเผย
ซึ่งจากการรับฟังความเห็นจากหน่วยงานต่าง ๆ ในส่วนกลาง จานวน ๑๔ หน่วยงาน
รวมท้ังการรับฟังความคิดเห็นและข้อมูลของสานักงานอัยการสูงสุด ในประเด็นเก่ียวกับการกาหนด
เงื่อนไขสัญญาเพ่ือให้เอกชนท่ีเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐจัดทารหัส QR Code ท่ีเป็นข้อมูล
รายละเอียดเกี่ยวกับการดาเนินการจัดทาโครงการของรัฐตามสัญญาและติดประกาศไว้ ณ ที่ตั้งโครงการ
๕๙
ไว้ในร่างสัญญาของรัฐหรือข้อตกลงที่หน่วยงานของรัฐท่ีเป็นคู่สัญญา เพ่ือเปิดเผยให้ประชาชนได้ทราบ
และแจ้งเบาะแสการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของหน่วยงานของรัฐ และกองบังคับการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สานักงานตารวจแห่งชาติ ในประเด็นเก่ียวกับ
การดาเนินการเปิดช่องทางการแจ้งเบาะแสการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพ่ือให้
ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการแจ้งเบาะแสและมาตรการเพ่ือคุ้มครองความปลอดภัยข้อมูลของผู้แจ้ง
เบาะแสของกองบังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรค
ในการดาเนินการเร่ืองดังกล่าว และจากการลงไปศกึ ษาข้อมูลในพื้นที่ต่างจังหวัด จานวน ๓๙ หน่วยงาน
สามารถสรุปความเหน็ แตล่ ะหนว่ ยงานได้ ดังนี้
๔.๑ ผลการรบั ความเหน็ จากหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้อง
๑) กรมบญั ชกี ลาง
กรมบัญชีกลาง มีความพร้อมในการรับเรื่องร้องเรียน เนื่องจากพระราชบัญญัติ
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๓ (๒) ได้กาหนดให้คณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียนมีหน้าที่พิจารณาข้อร้องเรียนกรณีท่ีเห็นว่าหน่วยงานของรัฐมิได้ปฏิบัติ
ให้เป็นไปตามแนวทางของพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง หรือระเบียบท่ีออกตามความใน
พระราชบัญญัติฯ อยู่แล้ว ประกอบกับหมวด ๒ ว่าด้วยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและ
ผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริตแห่งพระราชบัญญัติฯ ท่ีกาหนดให้ภาคประชาชนและ
ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ โดยใช้เครื่องมือท่ีเรียกว่า
โครงการความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (Infrastructure Transparency Initiative : CoST)
และข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact : IP) มาใช้เป็นเครื่องมือตรวจสอบความโปร่งใสในกระบวนการ
จัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ ยังได้มีการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริตในภาครัฐ
และสามารถรายงานได้หากมีการพบเห็นพฤติกรรมท่ีส่อไปในทางทุจริต ดังนั้น จึงไม่ขัดข้องประการใด
สาหรับในส่วนของการสร้างเครื่องมือเพื่อเป็นช่องทางท่ีสะดวกและปลอดภัยในการแจ้งเบาะแส
ของประชาชน
ปั จ จุ บั น ก ร ม บั ญ ชี ก ล า ง ได้ มี ก า ร เปิ ด เผ ย ข้ อ มู ล ก า ร จั ด ซ้ื อ จั ด จ้ า ง ภ า ค รั ฐ ท้ั ง ห ม ด
เช่น แผนการจัดซื้อจัดจ้าง ประกาศเชิญชวน ประกาศผู้ชนะ สาระสาคัญในสัญญา ในเวบ็ ไซต์ศูนย์ข้อมูล
การจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ www.gprocurement.go.th เรียบร้อยแล้ว รวมทั้งอยู่ระหว่าง การพัฒนา
Dashboard สาหรับให้ประชาชนเข้าถึงและตรวจสอบโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว ไม่ยุ่งยาก และลงในระดับพื้นที่ ซ่ึงคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ดังนั้น
จึงอาจไม่จาเป็นต้องพัฒนารูปแบบ QR Code เพื่อการเผยแพร่แผนงานโครงการเก่ียวกับการจัดซ้ือ
จัดจ้าง หากแต่เป็นการต่อยอดจากสิ่งท่ีกาลังดาเนินการอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งจะช่วยให้การตรวจสอบข้อมูล
๖๐
จากประชาชนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งข้ึน อย่างไรก็ดี ในส่วนของความปลอดภัยในการ
แจ้งเบาะแสของประชาชนนั้น กรมบัญชีกลางได้มีการจัดทาบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือทาง
วิชาการและส่งเสริมธรรมาภิบาลต่อต้านการทุจริต ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สานักงาน ป.ป.ท.) โดยกาหนดกรอบการดาเนินการซึ่งรวมถึง
การแลกเปล่ียนข้อมูลเพื่อรับเรื่องร้องเรียนตามหมวด ๒ ว่าด้วยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและ
ผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริตแห่งพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐ ดังน้ัน จะเห็นได้ว่าประชาชนท่ีร้องเรียนการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐเข้ามาจะ
ปลอดภยั ตามมาตรฐานการดาเนนิ งานของสานกั งาน ป.ป.ท.
กรมบัญชีกลาง ไม่ขัดข้องกับการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของกรรมาธิการ เนื่องจากตามหมวด ๒
แห่งพระราชบัญญัติฯ ว่าด้วยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและผู้ประกอบการในการป้องกัน
การทุจริต ได้มีการกาหนดให้ภาคประชาชนสามารถตรวจสอบการดาเนินโครงการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ
ผ่านเคร่ืองมือท่ีเรียกว่า ข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact : IP) และโครงการความโปร่งใสในการ
ก่อสร้างภาครัฐ (Infrastructure Transparency Initiative : CoST) ดังนั้น จึงเห็นด้วยกับการท่ี
คณะกรรมาธิการจะมีการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ อย่างไรก็ดี เพ่ือไม่ให้เป็นภาระกบั หน่วยงานของรัฐตลอดจนเพื่อให้
ประชาชนเข้าถึงข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างแบบ one stop service ผู้พัฒนาระบบต้องพัฒนาเครื่องมือ
ที่ไม่ซ้าซ้อนกับเคร่ืองมือท่ีมีอยู่แล้ว รวมทั้งควรหารือในรายละเอียดกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องก่อน
ดาเนินการพัฒนาระบบใหม่ เพ่ือให้การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนมีประสิทธิภาพ
และประสิทธผิ ลมากย่งิ ข้นึ
๒) สานักงบประมาณ
สานักงบประมาณ มีข้อสังเกตเกี่ยวกับการจัดทารูปแบบ QR Code เพื่อติดตาม
ตรวจสอบและปอ้ งกันปราบปรามการทจุ รติ คอร์รปั ชนั ในการจัดซือ้ จดั จ้างของภาครัฐ ดงั นี้
๑. การเผยแพร่รายละเอยี ดแผนงานโครงการเก่ียวกบั การจดั ซอื้ จดั จา้ ง
ปัจจุบันสานักงบประมาณยังไม่มีการจัดทา QR Code ในการเผยแพร่
รายละเอียดแผนงานโครงการเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้าง แต่สานักงบประมาณได้ดาเนินการเผยแพร่
รายละเอียดแผนงานโครงการเก่ียวกับการจัดซื้อ จัดจ้าง เป็นประจาทุกปี บนเว็ปไซต์สานักงบประมาณ
www.bb.go.th และเว็บ ไซต์ กรม บั ญ ชี กลาง www.gprocurement.go.th ซ่ึงเป็ น การป ฏิ บั ติ
ตามกฎหมายและระเบียบพสั ดฯุ
๒) การรบั เรอ่ื งรอ้ งเรียนของสานักงบประมาณ
๖๑
สานักงบประมาณมีความพร้อมสาหรับการรับเรือ่ งร้องเรียน โดยปัจจุบันการรับ
เรื่องร้องเรียนเก่ียวกับการทุจริตในประเด็นของการจัดซ้ือจัดจ้าง ประชาชนสามารถร้องเรียนผ่านศูนย์
รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล ๑๑๑๑ โดยสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเป็นหน่วยงานท่ีดูแล
ระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ออนไลน์ ซ่ึงระบบดังกล่าวครอบคลุมถึงประเด็นการร้องทุกข์
เร่ืองทุจริตด้วย หน่วยงานราชการหลายแห่งรวมถึงสานักงบประมาณจะรับเรื่องราวร้องทุกข์ท่ีเก่ียวข้อง
กับหน่วยงานนั้นผ่านระบบฯ ดังกล่าว เพื่อนาไปดาเนินการต่อไป ท้ังนี้ สานักงบประมาณได้มอบหมาย
ให้เจ้าหนา้ ท่ีดาเนินการติดตามเร่ืองร้องเรียนจากระบบฯ ดงั กล่าวทกุ วนั
ในส่วนศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต สานักงบประมาณ มีช่องทางการแจ้ง
เบาะแสร้องเรยี น และเสนอแนะ ให้กับประชาชนผ่านระบบเว็บไซต์ของศูนย์ปฏิบัติการตอ่ ตา้ นการทุจริต
http://www.bb.go.th /anticrt โดยขณะน้ี สานักงบประมาณอยู่ระหว่างการวางแผนที่จะดาเนินการ
ปรบั ปรุงให้มีประสิทธภิ าพมากย่งิ ข้ึน
การจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปราม
การทุจรติ การจัดซื้อจดั จา้ งภาครฐั ของคณะกรรมาธิการฯ เป็นการเปิดกว้างใหป้ ระชาชนเขา้ มาตรวจสอบ
การทางานภาครฐั สอดคล้องกบั แนวทางตามรัฐธรรมนูญซึ่งสนบั สนุนการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการ
ดาเนินงานของรัฐ แต่อย่างไรก็ตามการจัดทาระบบดังกล่าวต้องมีมาตรการการจัดการที่ดี มีการป้องกัน
และบทลงโทษหากพบการร้องเรียนที่เป็นเท็จในประเด็นท่ีไม่มีมูลความจริง รวมถึงมาตรการคุ้มครอง
เจ้าหน้าท่ีภาครัฐผู้ปฏิบัติงานผู้ถูกกล่าวโทษ เพื่อสร้างขวัญกาลังใจให้เจ้าหน้าท่ีผู้ที่ปฏิบัติงานตามกฎ
ระเบียบ ใหไ้ ด้รับความเป็นธรรม
๓) กรมการปกครอง
กรมการปกครองมีความพร้อมในการรับเร่ืองร้องเรียน ร้องทุกข์ต่าง ๆ รวมทั้ง
ได้ดาเนินการสร้างช่องทางการร้องเรียนและแจ้งเบาะแสการทุจริต ผ่านช่องทางต่าง ๆ ที่สะดวก
และปลอดภยั ดงั นี้
๑. หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๒๒๒๖ ๐๕๓๐ (ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต)
หรอื ๐ ๒๖๒๙ ๙๑๒๓ (กองตรวจราชการและเรือ่ งราวรอ้ งทุกข์)
๒. รอ้ งเรยี น/แจง้ เบาะแสทางออนไลน์ (Online) ไดแ้ ก่
- เวบ็ ไซตก์ รมการปกครอง (หัวข้อ รอ้ งเรยี นร้องทุกข์) : www.dopa.go.th.
- เว็บไซตศ์ ูนย์ดารงธรรมอาเภอ : https://damrongdhama.dopa.go.th
- Facebook กรมการปกครอง fanpage
- Line official (แจง้ เบาะแสทุจรติ ปค.)
๓. ยืน่ เร่ืองร้องเรียน/แจง้ เบาะแสดว้ ยตนเองไดท้ ี่ :
- ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารตอ่ ตา้ นการทจุ รติ กรมการปกครอง
๖๒
- ศนู ยด์ ารงธรรมอาเภอ ณ ทว่ี า่ การอาเภอทกุ แหง่ ท่วั ประเทศ
กรมการปกครองมีความเห็นว่า การจัดทารหัส QR Code สาหรับเป็นฐานข้อมูล
เกี่ยวกับการดาเนินการบริหารการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐน้ัน ถือว่าเป็นเคร่ืองมือที่มุ่งเน้นให้เกิด
ความเปิดเผย โปร่งใส ในกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐและถือเป็นการเพิ่มช่องทางและอานวย
ความสะดวกให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบข้อมูลท่ีเก่ียวข้องได้อย่าง รวดเร็ว
และเฝ้าระวงั การทุจรติ ได้อย่างเปน็ รปู ธรรมได้
อย่างไรก็ตาม การจัดทาระบบดังกล่าว ผู้ท่ีเก่ียวข้องในการจัดทาระบบจะต้อง
ออกแบบระบบให้มีความสะดวก ไม่ซับซ้อนและมีขั้นตอนที่ง่ายต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี
ในแต่ละหน่วยงาน เพื่ออานวยความสะดวกและไม่ถือว่าเป็นการสร้างภาระงานหรือการเพิ่มขั้นตอน
การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งต้องคานึงถึงความง่าย ความรวดเร็ว ความสะดวกของระบบในการ
เข้าใชข้ องประชาชนอีกทางหนึง่ ดว้ ย
ดังนั้น หากมีการจัดทาระบบดังกล่าวขึ้น กรมการปกครองเห็นด้วยและพร้อมที่จะ
ปฏบิ ตั ิตามแนวทางทก่ี าหนด รวมท้ังพรอ้ มให้ความร่วมมือในทกุ มติ ิทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
๔) กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถนิ่
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้มอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
ดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างในราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภมู ิภาค โดยดาเนินการตามข้ันตอนจัดซ้ือ
จดั จ้างตามกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี
๑) พระราชบัญญัติการจดั ซอื้ จดั จา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐
๓) กฎกระทรวงที่เกย่ี วข้องกับการจดั ซือ้ จดั จ้างและการบริหารพสั ดภุ าครฐั
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น มีความพร้อมในการรับเรื่องร้องเรียนจาก
ประชาชนทุกภาคส่วนในการตรวจสอบการทุจริต และเห็นด้วยในการจัดทาระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ การจดั ซื้อจัดจา้ งภาครฐั
๕) สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ (ป.ป.ช.)
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
เป็นสานักงานเลขานุการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็นหน่วยงาน
ที่เป็นอิสระ มีฐานะเทียบเท่ากรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และถือเป็น
“หน่วยงานภาครัฐ” ตามมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐ ดังนั้น การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐภายในสานักงานจะต้อง
ปฏบิ ัติตามพระราชบญั ญัตดิ ังกล่าวและระเบียบทเี่ กี่ยวขอ้ งด้วย
๖๓
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
มีช่องทางรับเร่ืองร้องเรียนและมีระบบติดตามเร่ืองกล่าวหาร้องเรียน ผ่านทางเว็บไซต์ของสานักงาน
ซ่งึ เปน็ ช่องทางทีส่ ะดวกรวดเรว็ อานวยความสะดวกใหก้ บั ผรู้ บั บริการ
ดังนั้น จึงเห็นด้วยกับคณะกรรมาธิการท่ีจะดาเนินการจัดทาระบบการมีส่วนร่วม
ดังกล่าว เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการติดตามตรวจสอบและป้องกัน
ปราบปรามการทุจรติ ในการจดั ซอ้ื จดั จ้างภาครัฐ อยา่ งเป็นรูปธรรม
๖) สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ในภาครัฐ (ป.ป.ท.)
สานักงาน ป.ป.ท. ในฐานะเป็นกลไกของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตในภาครัฐ และมีบทบาทอานาจและหน้าท่ีเกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้างให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัติการจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบยี บกระทรวงการคลัง
วา่ ด้วยการจัดซ้อื จัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยดาเนนิ การผ่านระบบจดั ซ้ือจดั จ้าง
ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government Procurement : e-GP) ของกรมบัญชีกลางทุกขั้นตอน
โดยยึดหลักการคือต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อราชการ มีความคุ้มค่า โปร่งใส มีประสิทธิภาพ
และตรวจสอบได้
สานักงาน ป.ป.ท. เห็นว่า หากมีรูปแบบ QR Code สาหรับเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับ
การดาเนินการบริหาร การจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐท่ีเปิดเผยจะเป็นการส่งเสริมและสนับสนุน
ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกากับ ติดตาม ตรวจสอบดาเนินการโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ
เพ่ือป้องกันการทุจรติ การจัดซื้อจดั จ้างในการดาเนินโครงการ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และหากการศึกษา
ดังกล่าวสามารถดาเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม จะทาให้มีฐานข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการบริหาร
การจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐท่ีเปิดเผยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก รวดเร็ว และประชาชน
ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุจริตในการดาเนินการจัดซ้ือ
จดั จ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครฐั
ดังน้นั สานักงาน ป.ป.ท. เห็นด้วยกับการดาเนินโครงการดงั กล่าว
๗) สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ (สตง.)
การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐภายในสานักงานได้ปฏิบัติ
ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบียบ
กระทรวงการคลังวา่ ด้วยการจดั ซือ้ จดั จา้ งและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
สานักงาน สตง.มีช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียน/แจ้งเบาะแสหลายช่องทาง
ได้แก่ ร้องเรียนเป็นหนังสือ ร้องเรียนผ่านช่องทางเว็บไซต์ หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ของสานักงาน
และร้องเรียนด้วยตนเอง อีกท้ัง ให้ความสาคัญในการรักษาความลับในเร่ืองเก่ียวกับการตรวจสอบ
โดยการตรวจสอบเรื่องท่ีได้รับการร้องเรียนเป็นการปฏิบัติงานตรวจสอบหนึ่งของ สตง. ซ่ึงผู้ตรวจสอบ
๖๔
ต้องปฏิ บัติงานตรวจสอบภายใต้หน้าที่และอา นาจตามพ ระราชบัญ ญั ติประกอบรัฐธรรมนู ญ ว่าด้วย
การตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยเฉพาะในเรื่องของการรักษาความลับ ข้อความ ข้อเท็จจริง
หรือข้อมูลท่ีได้มาเน่ืองจากการปฏิบัติหน้าที่ ซ่ึงกาหนดไว้ใน มาตรา ๑๐๔ อย่างชัดเจน ดังนั้น สตง.
จึงมีความพร้อมในการรับและดาเนินการตรวจสอบเรื่องร้องเรียน โดยคานึงถึงความปลอดภัย
ของประชาชนผูแ้ จ้งเบาะแสเปน็ สาคัญ
สานักงาน สตง. ยินดีสนับสนุนการดาเนินการของคณะกรรมาธิการท่ีจะกาหนดให้
มกี ารพิจารณาศึกษาเรอ่ื งดงั กล่าว และมคี วามเหน็ เพม่ิ เตมิ ดงั นี้
๑) ควรกาหนดรูปแบบหรือมาตรฐานของข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
เพือ่ ให้ประชาชนเขา้ ใจและเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้ง่าย
๒) ส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐจัดทาและเผยแพร่การจัดซ้ือจัดจ้างทั้งปี เพื่อให้การ
จัดซื้อจัดจ้างเป็นไปอย่างต่อเน่ือง มีกาหนดเวลาที่เหมาะสม รอบคอบ เป็นการดาเนินการตาม
วตั ถุประสงคใ์ นการใชง้ านของหนว่ ยงาน ภายใต้แผนการบริหารพสั ดทุ เ่ี หมาะสมและชดั เจน
๓) ส่งเสริมให้มีการใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐเกี่ยวกับการ
ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ เพ่ือประโยชน์ในการพิจารณาคัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอ
ท่จี ะเขา้ มาเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรฐั ให้เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๔) ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติใหเ้ ป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่ต้องการให้การจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหาร
พัสดุภาครัฐเป็นมาตรฐานเดียวกัน เน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน เพื่อให้เกิดความโปร่งใส
และเกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม คานึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานท่ีจะก่อให้เกิดความคุ้มค่า
มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซ้ือจัดจ้าง
ภาครฐั เพื่อประโยชน์สูงสดุ แก่ประชาชนและประเทศชาติอย่างยง่ั ยนื
๕) ระบบฐานข้อมูลควรมีรายละเอียดข้อมูลสาคัญอย่างเพียงพอให้กับภาค
ประชาชนในการตรวจสอบและป้องกันการทุจริต เช่น ช่ือโครงการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ สถานที่
ดาเนินการ ช่วงระยะเวลาที่ดาเนินการ เพื่อให้การแจ้งเบาะแสของประชาชนเกิดความชัดเจนเพียงพอ
ทีห่ น่วยงานจะสามารถดาเนินการตามเรือ่ งร้องเรยี น/การแจ้งเบาะแสได้
๘) สานกั งานปลดั กระทรวงดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม
สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมมีการจัดซ้ือจัดจ้าง
ตามแผนงานโครงการของสานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และกองบังคับการ
ปราบปรามการกระทาความผิดเก่ียวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี และมีหน้าที่ให้ความเห็น
ประกอบการพิจารณาของปลัด หรือรฐั มนตรี กรณีท่ีมกี ารจัดซอ้ื จัดจ้างของหน่วยงานในสงั กัด
๖๕
ก า ร ด า เนิ น ก า ร จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร พั ส ดุ ภ า ค รั ฐ ภ า ย ใ น ส า นั ก ง า น
ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมได้ปฏิบัติตามและดาเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้ อจัดจ้าง
และการบริหารพัดสุภาครัฐของหน่วยงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐ กฎกระทรวง ประกาศ หนงั สือเวยี น และระเบียบอ่นื ๆ ที่เก่ยี วข้อง
สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เห็นด้วยกับการพิจารณา
ศกึ ษาของคณะกรรมาธกิ าร เพื่อใหม้ ีระบบตดิ ตามตรวจสอบที่เหมาะสม
๙) ศูนย์เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ (NECTEC)
การจัดทาระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน
ในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐท่ีเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและตรวจสอบการบริหาร
การจัดซ้ือจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ในรูปแบบหน่ึงโครงการหนึ่ง QR Code โดยมีการติดรหัส
ดังกล่าวไว้ตามป้ายโครงการต่าง ๆ จะทาให้สามารถตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างโครงการได้
ตั้งแต่เร่ิมโครงการ ระหว่างดาเนินโครงการ และสิ้นสุดโครงการ ตลอดจนทาให้เกิดความสะดวก
ในการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดในแต่ละโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐที่มีการจัดซื้อจัดจ้างว่า มกี ารเปลี่ยนช่ือ
ใช้งบประมาณดาเนินโครงการจานวนเท่าไหร่ และเป็นโครงการเดิมที่เคยดาเนินโครงการนี้ไปแลว้ หรอื ไม่
ดังนั้น หากโครงการใดท่ีดาเนินการแล้วไม่เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและมีการทุจริตเกิดขึ้นก็สามารถ
ที่จะร้องเรียนโครงการนี้ได้โดยสแกนรหัส QR Code เพื่อแจ้งเบาะแสการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง
ซงึ่ จะทาให้งบประมาณท่ีถูกนาไปใช้จ่ายในแต่ละโครงการ เกิดความค้มุ ค่าต่อการลงทุน และไม่เกดิ ความ
ซ้าซ้อนในการขออนุมัติงบประมาณเพ่ือดาเนินโครงการที่มีลักษณะเดียวกันอีก อีกทั้งการจัดทารูปแบบ
QR Code จะทาให้งา่ ยตอ่ การตดิ ตามตรวจสอบโครงการตา่ ง ๆ ของภาครัฐทีม่ ีการจัดซื้อจัดจ้างด้วย
การจัดทารูปแบบ QR Code ควรมีกฎหมายและระเบียบรองรับในการจัดทา
รูปแบบ QR Code ด้วย เพื่อให้เกิดความชัดเจนทางกฎหมาย เนื่องจากรหัส QR Code ที่ติดตามป้าย
โครงการต่าง ๆ และอุปกรณ์ของสานักงานท่ีมีการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างเป็นรูปแบบ QR Code ที่
จะต้องมีการส่ือสารไปถึงประชาชนในฐานะผู้ท่ีใช้บริการ จึงต้องมีกฎและระเบียบรองรับในการ
ดาเนินการดังกล่าว ท้ังนี้ รูปแบบ QR Code เป็นระบบท่ีมีรูปแบบตอบกลับการสนทนาผ่านข้อความ
และเสียงแบบอัตโนมัติ (Chatbot) ประชาชนท่ีร้องเรียนจึงสามารถท่ีจะพูดคุยโต้ตอบกับเจ้าหน้าท่ี
เกี่ยวกับรายละเอียดในแต่ละโครงการว่าการดาเนินโครงการอยู่ในข้ันตอนใดตลอดจนสามารถที่จะ
ร้องเรียนเจ้าของโครงการได้อีกด้วยและควรเป็นมติจากคณะรัฐมนตรีที่บังคับให้ทุกหน่วยงานท่ี
ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างในระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government
Procurement: e-GP) ของกรมบัญชีกลาง ต้องดาเนินการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เก่ียวข้อง
เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐท่ีมีการจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่เริ่ม
๖๖
โครงการ ระหว่างดาเนินการ และสิ้นสุดโครงการอีกท้ัง ในปัจจุบันศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้ใช้ระบบดังกล่าวดาเนินการรับเรื่องร้องเรียนท่ัวไปของเมือง ซึ่งมี
หลายหน่วยงานที่ใช้ระบบนี้ จึงเห็นว่า ควรนารูปแบบ QR Code ในการรับเรื่องรอ้ งเรียนท่ัวไปของเมือง
มาเชื่อมโยงในระบบการรับเร่อื งร้องเรียนเกี่ยวกบั โครงการต่าง ๆ ของภาครฐั ท่มี ีการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดทารูปแบบ QR Code ดังกล่าวเป็นระบบที่ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูล
ต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เช่น การร้องเรียน หรือการแจ้งเบาะแสเร่ืองการทุจริต
การเข้าถึงข้อมูลเก่ียวกับคณะกรรมการจัดซ้ือจัดจ้าง เน่ืองจากระบบดังกล่าวเป็นระบบท่ีมีรูปแบบตอบ
กลับการสนทนาผ่านข้อความและเสียงแบบอัตโนมัติ (Chatbot) จึงสามารถที่จะพูดคุยโต้ตอบกับ
ประชาชนได้ในเรื่องต่าง ๆ โดยผู้ท่ีร้องเรียน หรือแจ้งเบาะแสเรื่องการทุจริต เพียงแค่สแกน QR Code
ตามป้ายโครงการก็จะมีการเช่ือมโยงข้อมูลเข้าสู่ Applications LINE เพื่อส่งข้อมูลไปยังเจ้าหน้าที่
ที่เก่ียวข้อง ดังนั้น ประชาชนจึงสามารถพูดคุยกับเจ้าหน้าที่และสามารถตรวจสอบโครงการต่าง ๆ
ที่ดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างได้ อีกทั้ง กรมบัญชีกลางมีฐานข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของ
ภาครัฐ ซึ่งอยู่ในระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government
Procurement: e-GP) จงึ เห็นวา่ ควรมีการเชือ่ มตอ่ ฐานข้อมลู ดงั กล่าวกบั กรมบญั ชกี ลาง
๑๐) สานกั งานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน)
สพร. เป็นหน่วยงานกลางของระบบรัฐบาลดิจิทัลทีให้บริการส่งเสริม
และสนับสนุน การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอ่ืนเกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
โดยการจัดให้มีการพัฒนาศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open Government Data) ภายใต้ช่ือ
“data.go.th” ด้วยแนวคิดการเป็นศูนย์กลางกาเข้าถึงข้อมูลเปิดภาครัฐของประเทศ เพ่ือให้ประชาชน
สามารถเข้าถึงข้อมูลภาครัฐได้สะดวก รวดเร็ว ตลอดเวลา พร้อมทั้งบริการให้คาปรึกษาในด้านการทา
Data Government Framework หรอื ธรรมาภิบาลข้อมูล เพื่อให้มีการจาแนกประเภท และการจัดกลุ่ม
ความสาคัญของขอ้ มลู กอ่ นการเปดิ เผยข้อมลู ของภาครัฐ
สพร. มีช่องทางในการรับข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียนโดยข้อมูลดังกล่าว
จะถูกส่งถึงเฉพาะผู้เก่ียวข้องเท่าน้ันและมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลผู้ร้องเรียนให้มีความปลอดภัย
โดยมีช่องทาง ดงั นี้
๑. ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ท่ี URL:http://dga.or.th/th/contact
๒. ผา่ นทาง DGA Contact Center: (+๖๖) ๐ ๒๖๑๒ ๖๐๖๐ ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
๓. ผ่านทางอีเมล์ : [email protected]
การส่งเสริมและสนับสนุนการบูรณาการและแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน
ของรัฐมีช่องทางและมาตรฐานในการเช่ือมโยงข้อมูลผ่าน API คณะกรรมาธิการ สามารถประสาน
ขอคาปรกึ ษาเพม่ิ เตมิ ได้เพื่อนาไปต่อยอดโครงการตอ่ ไป
๖๗
๑๑) สภาสถาปนกิ
การจัดทาระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัป
ชันในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐท่ีเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและตรวจสอบการ
บริหารการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ในรูปแบบหนึ่งโครงการหนึ่ง QR Code
ในส่วนของข้อมูลรูปแบบ QR Code ควรมีข้อมูลพ้ืนฐานสาคัญไว้ในรหัส QR Code เพื่อประโยชน์ต่อ
การติดตามและตรวจสอบการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของประชาชน เช่น ข้อกาหนดของผู้ว่าจ้าง
(TOR) วัตถุประสงค์ ขอบเขตงาน งบประมาณ วงเงินตามสัญญาจ้าง รายช่ือกรรมการ หลักเกณฑ์
การพจิ ารณา และผลการพจิ ารณาคดั เลอื ก เป็นต้น
ผู้รับจ้างมีข้อมูลเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทางานเท่าน้ัน ดังน้ัน การให้ข้อมูล
เพื่อประชาชนสามารถเข้าเกี่ยวกับการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างน่าจะเป็นหน้าที่ของหน่วยงาน
ที่ดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้าง เนื่องจากมีข้อมูลครบถ้วนอยู่แล้ว อีกท้ัง เพื่อให้ความโปร่งใสเก่ียวกับการ
ดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ จึงควรหารือไปยังคณะกรรมการความร่วมมอื ป้องกันการทุจริต (ค.ป.ท.)
ท่ีมีอานาจหน้าท่ีในการสว่ นที่เก่ียวข้องซ่ึงอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ในส่วนของสภาสถาปนิกยังไม่พบร้องเรียนเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงาน
ภาครฐั และภาคเอกชนแตอ่ ยา่ งใด
๑๒) สภาวิศวกร
สภาวิศวกรเห็นด้วยกับการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือ จัดจ้างภาครัฐการเข้าถึงข้อมูลการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐ
ได้สะดวก รวดเร็วและปลอดภัยเป็นการเพิ่มช่องทางการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้เข้าถึงข้อมูล
และอานวยความสะดวกในการร้องเรียนเม่ือพบเหตุการณ์ทุจริต ยังผลให้หน่วยงานของรัฐกระทาการ
จัดซ้ือจัดจ้างด้วยความรัดกุม และประชาชนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐได้สะดวก
มากขึ้น
๑๓) สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
กรมบัญชีกลางอยู่ระหว่างดาเนินการโครงการความโปร่งใสในการกอ่ สร้างภาครัฐ
(Infrastructure Transparency Initiative : CoST) ซึ่งเป็นโครงการที่หน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการ
ก่อสร้างจะต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างสู่สาธารณชนตลอดระยะเวลาที่ดาเนินการ
โครงการก่อสร้าง โดยเบ้ืองต้นกาหนดให้จังหวัดนาโครงการก่อสร้างที่ใช้งบประมาณมากที่สุดมาหนึ่ง
โครงการเพ่ือทดลองนาขอ้ มูลการจัดซือ้ จดั จ้างดงั กลา่ วเขา้ สรู่ ะบบ CoST ซ่ึงผู้ท่นี าเขา้ ข้อมูลคือหน่วยงาน
เจ้าของโครงการ ท้ังน้ี มีประเด็นคาถามว่าโครงการดังกล่าวจะมีลักษณะเช่นเดียวกับโครงการ
ของคณะกรรมาธิการศกึ ษาตรวจสอบเรอื่ งการทจุ ริต ประพฤติมชิ อบและเสริมสรา้ งธรรมาภิบาล วุฒสิ ภา
หรือไม่
๖๘
ประเด็นข้อสังเกตของสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ดังน้ี
๑) งานก่อสร้างมีหลายขนาด โดยหลักจะแบ่งเป็น โครงการขนาดใหญ่
ขนาดกลาง ขนาดเล็ก และขนาดจิ๋ว แต่ละประเภทจะพบปัญหาต่างกัน และปัญหาอาจเร่ิมต้ังแต่
การได้มาของโครงการ วิธีการและนโยบาย โดยยอมรับว่าในวงการก่อสร้างย่อมต้องมีเรื่องของการทุจริต
แต่เห็นว่าควรพิจารณาว่าหากมีการทุจริตแล้วจะต้องดาเนินการอย่างไรเพ่ือเป็นการป้องกันมิให้เกิด
ความเสยี หายแกป่ ระเทศชาติ หรือเกิดความเสียหายนอ้ ยทส่ี ดุ
๒) ประเด็นปัญหาราคากลาง ปัจจุบันคณะกรรมการราคากลางจะพิจารณาราคา
ต่อหน่วย แต่มิได้พิจารณาถึงความเหมาะสมและความคุ้มค่าของโครงการ ปริมาณ หรือความเหมาะสม
ของการใช้วัสดุแต่ละประเภท ตัวอย่างเช่น การก่อสร้างถนนส่ีเลนในพ้ืนท่ีชนบทที่ไม่ค่อยมีการสัญจร
มีความคุ้มค่าเพียงใด ในส่วนของรูปแบบ QR Code และระบบ CoST เห็นว่าระบบดังกล่าวเป็นเพียง
การประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงข้อมูลของโครงการเท่านั้น แต่จะไม่ทราบถึงกระบวนการของการทุจริต
จึงเสนอความเห็นว่า ภาครัฐควรหาแนวทางแก้ไขปัญหาว่าจะทาอย่างไรให้ราคากลางมีความเหมาะสม
และควรพิจารณาถึงความจาเป็นของโครงการดังกล่าวด้วย อีกทั้งในความเป็นจริง ราคากลางที่กาหนด
ขึ้นไม่สามารถใช้ได้จริง เนื่องจากพ้ืนท่ีแต่ละแห่งมีความแตกต่างกัน เช่น การจัดซ้ือหินในพ้ืนท่ีท่ีอยู่ใกล้
ภูเขาก็จะสามารถจัดซ้ือหินในราคาถูกได้ แต่สาหรับพื้นที่ท่ีไม่มีภูเขา และอยู่ไกลออกไปก็จะทาให้ราคา
หินย่อมมีความแตกตา่ งกนั ออกไปได้
๓) เร่ืองของการให้ภาคเอกชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ ติดตาม
และประเมินผลโครงการ โดยกาหนดให้ภาคเอกชนที่ไม่มีส่วนได้เสียเข้าร่วมเป็นผู้ตรวจสอบโครงการ
ดังน้ัน จึงเห็นว่า รูปแบบ QR Code และระบบ CoST ไม่สามารถแก้ไขปัญหาการทุจริตในโครงการต่าง
ๆ เนือ่ งจากขอ้ มลู ในระบบจะไมส่ ามารถตรวจสอบถงึ กระบวนการท่มี ีการทจุ รติ ได้
๔) ปัญหาเรือ่ งการเจาะ (Hack) ระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์
(e – GP) ของกรมบัญชีกลาง เพ่ือให้ได้มาซ่ึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง เช่น ชื่อผู้ซื้อ ราคา ที่เสนอ บุคคล
ท่ปี ระมูลได้ เร่ืองดงั กลา่ วกรมบัญชกี ลางอยู่ระหว่างการหาแนวทางการแกไ้ ข
๑๔) สานักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.)
สวทช. เห็นด้วยในหลักการการเปิดเผยให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบ
การทุจริต และได้จัดให้มีช่องทางรับเร่ืองร้องเรียนผ่านเว็บไซต์ของ สวทช. ซึ่งข้อมูลที่ได้รับจะถือเป็น
ความลับ จะไม่มีการเปิดเผยข้อมูลและตัวตนของผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียน และผู้ถูกร้องเรียน
ตอ่ สาธารณชน
สวทช. เห็นว่า การจัดทาระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม
การทุจริตคอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและ
๖๙
ตรวจสอบการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ในรูปแบบหนึ่งโครงการหน่ึง QR
Code น้ัน กรมบัญชีกลางได้จัดให้มีระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ที่เปิดเผยให้ประชาชน
ทุกภาคส่วนสามารถเข้าตรวจสอบได้ทุกขั้นตอนอยู่แล้ว นอกจากน้ี ตามหมวด ๒ ของพระราชบัญญัติ
การจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กล่าวถึงกระบวนการมีส่วนร่วมของภาค
ประชาชนและผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริตไว้ด้วยแล้ว ซึ่งน่าจะสอดคล้องกับแนวคิด
ของคณะกรรมาธิการ จึงอาจไม่จาเป็นต้องเพ่ิมกระบวนการในการจัดทา QR Code ดังกล่าว เพื่อมิให้
เป็นภาระแก่ผู้ปฏิบัติงานพัสดุมากจนเกินสมควร ในส่วนของช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียน สวทช.
เสนอให้หน่วยงานของรัฐทุกหนว่ ยงานจัดใหม้ ชี อ่ งทางรบั เร่ืองร้องเรยี นในลักษณะดังกลา่ ว เพือ่ ประโยชน์
ในการตรวจสอบและปอ้ งกนั ปราบปรามการทจุ รติ คอรร์ ัปชนั
๑๕) สานกั งานอยั การสูงสุด
สานักงานอัยการสูงสุดมีอานาจหน้าท่ีให้คาปรึกษาและตรวจร่างสัญญาหรือ
เอกสารทางกฎหมายให้แก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐตามกฎหมาย ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีท่ี
เกี่ยวข้องก่อนการลงนามในสัญญา ตามมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงาน
อยั การ พ.ศ. ๒๕๕๓
คณะกรรมาธิการได้ขอความอนุเคราะห์ข้อมูล ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก
สานกั งานอัยการสูงสดุ ดงั นี้
๑. ข้อมูลบทบาทอานาจหน้าท่ีของสานักงานอัยการสูงสุดในการให้คาปรึกษา
และตรวจร่างสัญญาของรัฐหรือข้อตกลงที่หน่วยงานของรัฐท่ีเป็นคู่สัญญา รวมทั้งเอกสารทางกฎหมาย
ให้แก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ ซึ่งก่อให้เกิดความผูกพันในรายละเอียดและเงื่อนไขในข้อตกลงหรือ
ก่อให้เกิดความผูกพันทางกฎหมาย ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐส่งร่างสัญญาประเภทต่าง ๆ ให้ตรวจ
พิจารณาตามกฎหมาย ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีก่อนการลงนามในสัญญา ในประเด็นเก่ียวกับการ
กาหนดเง่อื นไขสัญญาเพื่อให้เอกชนท่ีเปน็ คู่สัญญากับหน่วยงานของรฐั จัดทารหสั QR Code ท่ีเปน็ ขอ้ มลู
รายละเอียดเก่ียวกับการดาเนินการจัดทาโครงการของรัฐตามสัญญาและติดประกาศไว้ ณ ท่ีตั้งโครงการ
ไว้ในร่างสัญญาของรัฐหรือข้อตกลงที่หน่วยงานของรัฐที่เป็นคู่สัญญา เพื่อเปิดเผยให้ประชาชนได้ทราบ
และแจ้งเบาะแสการทจุ รติ การจัดซอ้ื จัดจ้างโครงการตา่ ง ๆ ของหนว่ ยงานของรัฐ
๒. ปัญหาและอุปสรรคของสานักงานอัยการสูงสุดในการตรวจร่างสัญญาของรัฐ
หรือข้อตกลงทุกประเภทท่ีหน่วยงานของรัฐเป็นคู่สัญญาให้แก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ และการ
กาหนดเง่ือนไขสัญญาเพ่ือให้เอกชนท่ีเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐจัดทารูปแบบ QR Code และติด
ประกาศไว้ ณ ทตี่ งั้ โครงการ ไวใ้ นรา่ งสญั ญาของรัฐหรอื ข้อตกลงที่หนว่ ยงานของรัฐที่เปน็ คู่สญั ญา
๗๐
๑๖) กองบังคับการป้องกนั ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ (ปปป.)
กองบังคับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ปปป.)
มคี วามเห็นเกี่ยวกับการจดั ทาระบบการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
การจดั ซอื้ จดั จา้ งภาครัฐในประเดน็ ที่ใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ ม ดงั นี้
(๑) การเปดิ ชอ่ งทางการแจง้ เบาะแสการทุจริต
(๒) มาตรการคุม้ ครองความปลอดภัยข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแส
(๓) ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนินการ
และมีข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะ ว่า สถานการณ์ในปัจจุบันการทุจริตมีปรากฏให้
เห็นอยู่อย่างต่อเนื่อง ในทางสื่อโซเชียลและจะปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ยังมีอีกจานวนมากท่ีไม่ปรากฏ ปัญหา
หลัก ๆ คอื ไม่มีผู้แจ้งเบาะแส ร้องเรียน หรือมีการกระทาการทุจริตท่ีเปน็ กระบวนการ มีอิทธิพลในพ้ืนท่ี
ทาให้การตรวจสอบเข้าไม่ถึง
ดังน้ัน ตามที่คณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเร่ืองการทุจริต ประพฤติมิชอบ
และเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา จะดาเนินการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ น้ัน เป็นส่ิงที่ดีอย่างยิ่ง ประเด็นการเปิด
ช่องทางการแจ้งเบาะแสการทุจริตนั้น ปัจจุบันกองบังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติ
มิชอบ มีช่องทางเว็บไซต์ของหน่วยงานและเพจเฟชบุ๊คของหน่วยงาน ที่ยังขาดคือ หมายเลขโทรด่วน
แจ้งเหตุ หรือหากคณะกรรมาธกิ ารจะมีชอ่ งทางอน่ื ใดก็เปน็ สิง่ ท่ดี ที ั้งสิ้น
ในประเด็นมาตรการคุ้มครองปัจจุบัน ช่องทางของกองบังคับการป้องกัน
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ จะปิดบังข้อมูลของผู้แจ้งเหตุทุกราย และการลงพื้นท่ี
ตรวจสอบจะเป็นเจ้าหน้าที่ตารวจลงไปสืบสวนหาข้อมูลจากหลายฝ่ายจนแน่ชัด จึงจะสรุปสานวน
สืบสวนของหน่วยงานเอง เน่ืองด้วยข้ันตอนสืบสวนเป็นการสืบสวนจากพยานหลักฐานจึงไม่จาเป็นต้อง
อ้างถงึ ผแู้ จง้ เบาะแสเปน็ พยาน
สาหรับปัญหาอุปสรรค เนื่องจาก บุคลากรของกองบังคับการป้องกันปราบปราม
การทุจริตและประพฤติมิชอบ ไม่เพียงพอ ต่อการแจ้งเบาะแสจากเพจท่ีเปิดไว้ได้ครบทุกราย
และไมส่ ามารถท่ีจะลงไปตรวจสอบไดท้ ุกเบาะแสที่มผี ูแ้ จ้ง ยกเว้น เดินทางมาร้องทกุ ขห์ รือมีการรอ้ งทกุ ข์
เป็นเอกสารลงนามมายังพนักงานสอบสวนของกองบังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติ
มิชอบ และหากการตรวจสอบข้อมูลหรือการสืบสวนเป็นไปอย่างไม่รัดกุม กองบังคับการป้องกัน
ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ ก็จะถูกใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื ในเร่ืองร้องเรียนน้นั ได้
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการดาเนินการเปิดช่องทางการแจ้งเบาะแส
การทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าท่ีรัฐ เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการแจ้งเบาะแส และ
๗๑
มาตรการเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแส รวมท้ังปัญหาอุปสรรคในการดาเนินการ
เรือ่ งดงั กล่าว ดังน้ี
๑) ต้องประชาสัมพันธ์ผ่านทางระบบช่องทางการสื่อสาร โทรทัศน์ วิทยุ
อินเตอร์เน็ต โซเชียลมิเดีย หรือ ทางระบบการสื่อสารอื่น ๆ เพ่ือให้ประชาชนท่ัวไป ได้เข้าใจถึงกฎหมาย
ของนยิ ามคาวา่ “ทจุ รติ ” และ “เจา้ หน้าทีข่ องรัฐ” ว่ามรี ายละเอียดเปน็ อย่างไร
๒) ต้องเพิ่มช่องทาง การแจ้ง ร้องเรียน เม่ือประชาชนพบเห็นความผิดให้ง่าย
สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น พร้อมท้ังเพ่ิมช่องทางการติดตาม การร้องเรียนดังกล่าว พร้อมข้อมูลการ
ติดตอ่ กบั เจา้ หนา้ ที่รฐั ผรู้ บั การร้องเรยี นให้เป็นรปู ธรรม
๓) เพ่ิมจานวนเจา้ หน้าท่ีประจาแตล่ ะหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องกับการรับข้อร้องเรียน
ทางทุจรติ ให้เพิม่ มากขึ้น และง่ายตอ่ การเขา้ ถงึ ของประชาชน
๔) เสริมสร้างแรงจูงใจในการแจ้งเบาะแส ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ
เจ้าหน้าท่ีรัฐ โดยเพ่ิมเติมกฎหมายในประเด็น “ค่าสินบนแห่งคดี” หากพบว่า คดีที่ผู้ร้องเรียนสามารถ
สบื สวน สอบสวน จนสามารถตดิ ตามจับกุม เจา้ หน้าที่ของรฐั ผู้กระทาความผิดมาดาเนินคดี และตรวจยึด
ทรัพย์สินท่ีเชื่อว่าหรือได้มาจากการกระทาความผิด ขายทอดตลาด หรือตกเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน
โดยเทียบเคยี งกับรางวัลสนิ บนนาจับตามประมวลศุลกากร
๕) สร้างเครือข่ายคนดีมีคุณธรรมต่อต้านการทุจริตให้เพ่ิมมากข้ึน เพ่ือเพิ่ม
ช่องทางในการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ข่าวสารในทางทุจริตในแต่ละกลมุ่
๖) ควรมีการจัดมอบรางวัลประจาปีในการต่อต้านการทุจริตซ่ึงท่าน
นายกรฐั มนตรีจะเปน็ ผมู้ อบให้กบั ประชาชนผู้ได้รับการคัดเลอื ก
๗) เพ่ิมหลักสูตรการเรียนรู้ในการต่อต้านการทุจริตให้กับเยาวชนของชาติต้ังแต่
ในระดบั อนุบาล
๑๗) คณะกรรมการเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (CoST
Committee)
โครงการความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (Infrastructure Transparency
Initiative : CoST) เป็นโครงการที่ริเร่ิมโดย Department for International ของประเทศอังกฤษ
ภายใต้การสนับสนุนจากธนาคารโลกในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ปัจจุบันมี ๑๙ สมาชิก ได้แก่ กานา
(เมืองเซกันดี-ตาโกราดี) กัวเตมาลา คอสตาริกา โคลัมเบีย (กรุงโบโกตา) แทนซาเนีย ติมอร์-เลสเต
ปานามา มาลาวี เมก็ ซิโก (รัฐฮาลิสโก) โมซมั บิก ยูกนั ดา ยเู ครน อารเ์ จนตินา อินโดนีเซีย (เขตลอมบ็อก
ตะวนั ตก) เอกวาดอร์ เอลซลั วาดอร์ เอธโิ อเปีย ฮอนดรู ัส และไทย
๗๒
โครงการ CoST มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความโปร่งใสในโครงการก่อสร้างภาครัฐ
ผ่านการส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชน โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างภาครฐั ในระบบโครงสร้าง
พื้นฐานของประเทศ โดยหลกั การของ CoST ประกอบดว้ ย ๔ องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่
(๑) การเปิดเผยขอ้ มลู โครงการกอ่ สร้างภาครัฐ (Disclosure)
หน่วยงานเจ้าของโครงการจะต้องเปิดเผยข้อมูลตลอดระยะเวลาของ
โครงการตามแนวทางที่ CoST กาหนด โดยแบง่ การเปิดเผยขอ้ มูลเปน็ ๒ ลกั ษณะ ได้แก่
(๑.๑) การเปิดเผยข้อมูลโครงการต่อสาธารณะหรือข้อมลู เชิงรุก (Proactive
Disclosure) หน่วยงานเจ้าของโครงการจะต้องเปิดเผยข้อมูลตลอดระยะเวลาของโครงการก่อสร้าง
ตั้งแต่กระบวนการจัดทาและนาเสนอโครงการ การเตรียมความพร้อมของโครงการ การจัดซื้อจัดจ้าง
ช่วงการดาเนินการโครงการและหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ มที ้งั สิน้ ๔๐ รายการ
(๑.๒) การเปิดเผยข้อมูลเม่ือมีการร้องขอหรือข้อมูลเชิงรับ (Reactive
Disclosure) เป็นข้อมูลทห่ี นว่ ยงานเจ้าของโครงการจะเปดิ เผยเมื่อมีการ้องขอ
ท้ังนี้ โครงการ CoST ประเทศไทยได้กาหนดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเชิงรุกท่ี
เก่ยี วกับโครงการก่อสร้างสู่สาธารณชนในทุก ๆ ระยะของการดาเนินการ โดยจัดให้มชี ่องทางการเปิดเผย
ข้อมูลได้แก่ เว็บไซต์ CoSTThailandของกรมบัญชีกลาง(http://process3.gprocurement.go.th/eGPCostWeb/home)
และ Facebook CoST Thailand (http://www.facebook.com/CoSTThailand)
(๒) กลุ่มผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี (Multi-Stakeholder Group : MSG)
MSG ประกอบด้วย ผู้แทนภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
เพ่ือร่วมกันขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการ CoST สาหรับประเทศไทย คือ คณะอนุกรรมการเพ่ือ
ส่งเสริมความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ (คณะอนุกรรมการ CoST) ซ่ึงจัดต้ังข้ึนตามประกาศ
คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริตภายใต้พระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหาร
พัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๗ วรรคสอง โดยมีอธิบดีกรมบัญชีกลาง เป็นประธานอนุกรรมการ
ที่ปรึกษาหรือรองอธิบดีกรมบัญชีกลางท่ีกากับดูแล กองความร่วมมือและความโปร่งใสในการจัดซ้ือ
จัดจ้างภาครัฐ ผู้แทนสานักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนสานัก
งบประมาณ ผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ผู้แทนสานกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
ผแู้ ทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผู้แทนสภาวิศวกรรมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผู้แทนสมาคม
อุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้แทนวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม
ราชูปถมั ภ์ ผู้แทนองค์กรต่อตา้ นคอร์รปั ชัน (ประเทศไทย) ผ้แู ทนองค์กรเพอ่ื ความโปรง่ ใสในประเทศไทย
ผู้แทนสถาบันธรรมรัฐเพ่ือการพัฒนาสังคมและส่ิงแวดล้อม ผู้แทนมูลนิธิต่อต้านการทุจริต เป็น
อนกุ รรมการและมผี ูแ้ ทนกรมบญั ชกี ลางเปน็ ฝา่ ยเลขานุการคณะอนกุ รรมการ CoST
๗๓
(๓) กระบวนการตรวจสอบข้อมลู (Assurance)
เปน็ กระบวนการตรวจสอบความครบถ้วนและถูกต้องของขอ้ มูลโครงการ
ก่อสร้างท่ีเข้าร่วมโครงการ CoST โดยคณะทางานตรวจสอบข้อมูล (Assurance Team) และจัดทา
รายงานผลการตรวจสอบข้อมูล (Assurance Report) ใหอ้ ยู่ในรปู ของภาษาที่เข้าใจได้งา่ ย และเผยแพร่
ให้สาธารณชนได้รับทราบ และหากตรวจพบความไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนของข้อมูลจะดาเนินการ
รายงานให้คณะอนุกรรมการ CoST พิจารณาให้ความเห็น และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ
ตามกฎหมายและกฎระเบยี บทเี่ กี่ยวขอ้ งต่อไป
(๔) การสง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มของภาคประชาชน (Social Accountability)
เป็นองค์ประกอบสาคัญในการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนเกิดการ
ตระหนักรู้ในความสาคัญของการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความโปร่งใสในโครงการก่อสร้างภาครัฐ เช่น
การให้ความรู้เร่ืองการนาข้อมูลไปใช้การจัดเวทีภาคประชาชนเพ่ือรับฟังความคิดเห็น และกระบวนการ
รบั เรอ่ื งร้องเรยี น เปน็ ตน้
คณ ะรัฐมนตรีได้มีมติให้ สานักงานคณ ะกรรมการนโยบายรัฐวิส าหกิจและ
กรมบัญชีกลางดาเนินการโครงการ CoST โดยได้เริ่มนาร่องโครงการต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
จนกระทั่งปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ จึงได้ขยายการดาเนินให้ครอบคลุมส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ต่อมาในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อให้การดาเนินโครงการ CoST
มีสภาพบังคับทางกฎหมายและครอบคลุมหน่วยงานของรัฐทุกประเภท คณะกรรมการความร่วมมือ
ป้องกันการทุจริตจึงได้นาโครงการ Cost เข้าดาเนินการภายใต้พระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และได้ออกประกาศคณะกรรมการความร่วมมือป้องกัน
การทุจริต เร่ือง โครงการความโปร่งใสในการกอ่ สร้างภาครัฐ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยมีผล
บังคับใช้เม่ือวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ เป็นต้นไป ปัจจุบันมีโครงการก่อสร้างเข้าร่วมโครงการ CoST
จานวน ๑,๕๒๗ โครงการ แบ่งเป็นส่วนราชการ จานวน ๒๕๙ โครงการ รัฐวิสาหกิจ จานวน
๓๑ โครงการ และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน จานวน ๑,๒๓๗ โครงการ
ตามประกาศคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต เรื่อง โครงการความ
โปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ ข้อ ๕ กาหนดให้คณะอนุกรรมการ CoST พิจารณาคัดเลือกโครงการ
ก่อสร้างโครงการหน่งึ โครงการใดทอี่ ยู่ในหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนใี้ หเ้ ขา้ ร่วมโครงการ CoST
(๑) โครงการกอ่ สร้างที่จะดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างในระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ของกรมบญั ชกี ลาง ที่มีลักษณะ ดงั น้ี
(๑.๑) เป็นโครงการก่อสร้างที่มีงบประมาณสูงสุดของหน่วยงานราชการ
ระดับกรมหรือเทียบเท่า
๗๔
(๑.๒) ในกรณีที่เป็นโครงการก่อสร้างของหน่วยงานราชการส่วนท้องถ่ิน
ต้องมีลกั ษณะ ดงั น้ี
(๑.๒.๑) เป็นโครงการก่อสร้างที่มีงบประมาณสูงสุดขององค์การ
บริหารส่วนจงั หวัด
(๑.๒.๒) เป็นโครงการก่อสร้างที่มีงบประมาณตั้งแต่เจ็ดล้านบาท
ขึ้นไปของเทศบาล
(๑.๒.๓) เป็นโครงการก่อสร้างที่มีงบประมาณตั้งแต่เจ็ดล้านบาท
ขึ้นไปขององค์การบริหารส่วนตาบล
(๑.๒.๔) เป็นโครงการก่อสร้างที่มีงบประมาณสูงสุดขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ รูปแบบพิเศษ
(๑.๓) เป็นโครงการก่อสร้างที่มีงบประมาณต้ังแต่ห้าร้อยล้านบาทข้ึนไป
ของรัฐวิสาหกิจ
(๑.๔) เป็นโครงการก่อสร้างท่ีมีงบประมาณสูงสุดของหน่วยงานอื่น
นอกเหนอื จาก (๑.๑) – (๑.๓)
(๒) โครงการก่อสรา้ งท่ีมีผลกระทบต่อสาธารณชน
(๓) โครงการกอ่ สร้างทค่ี าดวา่ จะมกี ารดาเนินการแน่นอน
(๔) โครงการก่อสร้างที่หน่วยงานเจ้าของโครงการพิจารณาเสนอให้เข้าร่วม
โครงการ CoST
(๕) โครงการก่อสร้างท่ีคณะอนุกรรมการ CoST เห็นสมควรให้เข้าร่วม
โครงการ CoST
การดาเนินการโครงการ CoST ที่ผา่ นมา มีอปุ สรรคท่สี าคัญ ๓ ประการ ได้แก่
๑) การเปิดเผยข้อมูลของหน่วยงานเจ้าของโครงการ พบว่า หน่วยงานเจ้าของ
โครงการยังให้ความร่วมมือในระดับที่ต่า โดยจากจานวนข้อมูลที่ต้องเปิดเผยท้ังส้ิน ๔๐ รายการ
จะมีการเช่ือมโยงมาจากระบบจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) โดยอัตโนมัติ จานวน
๒๕ รายการ (คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๕) และบันทึกเพิ่มเติม จานวน ๑๕ รายการ (คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๕)
แต่ข้อมูลในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ พบว่า ค่าเฉล่ียการเปิดเผยข้อมูลอยู่ท่ีร้อยละ ๘๑.๓๕
แสดงให้เห็นว่า หน่วยงานเจ้าของโครงการมีการบันทึกข้อมูลโครงการเพ่ิมเติมโดยเฉล่ียประมาณ
๗ รายการเท่านนั้
๒) ปัจจุบันระบบ CoST ถูกวางอยู่บนระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย
อิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) จึงมีข้อจากัดในการใช้งาน เช่น จานวนโครงการที่เข้าโครงการ CoST และ
รปู แบบการแสดงผล เป็นต้น อย่างไรก็ตาม กรมบัญชีกลางได้ขอรับจัดสรรงบประมาณเพ่ือพัฒนาระบบ
๗๕
CoST เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการดาเนินงานแลว้ ขณะน้ีอยรู่ ะหว่างการดาเนินงานพัฒนาระบบ CoST
คาดว่าจะสามารถรองรับจานวนโครงการที่เข้าร่วมโครงการ CoST ได้เพ่ิมมากขึ้น และจะอานวย
ความสะดวกให้กับหน่วยงานเจ้าของโครงการในการเข้ามาใช้งานระบบ รวมถึงภาคประชาชนที่จะเข้า
มาใช้งานเวบ็ ไซต์ CoST ด้วย
๓) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชน ที่ผ่านมากรมบัญชีกลางได้พัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานของโครงการ CoST เพ่ือรองรับการดาเนินงาน เช่น การนาโครงการ CoST
เข้าดาเนนิ งานตามพระราชบญั ญตั ิการจัดซื้อจดั จ้างและการบริหารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ การพัฒนา
ระบบ CoST การจัดเวทีภาคประชาชน และการจัดให้มีคณะทางานตรวจสอบข้อมูล (Assurance
Team) เป็นต้น ซึ่งถือว่าการดาเนินการดังกล่าวครอบคลุมตามหลักการของ CoST ได้อย่างครบถ้วน
อย่างไรก็ตามยังพบว่า ภาคประชาชนยังเข้ามาใช้ข้อมลู จากโครงการ CoST ไม่มากนัก ดังนั้น เป้าหมาย
ในการขับเคล่ือนโครงการในระยะต่อไปจะมุ่งเน้นการเข้ามามีส่วนร่วมของภาคประชาชน เพ่ือให้
สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ รวมถงึ สามารถพัฒนาไปสู่การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมได้
อย่างแทจ้ รงิ
๔) ข้อจากัดด้านงบประมาณ เน่ืองจากโครงการ CoST จาเป็นต้องมีคณะทางาน
ตรวจสอบข้อมูลตามแนวทางท่ี CoST กาหนดซึ่งกรมบัญชีกลางได้ขอรับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
ประจาปี เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายใน ๒ ส่วน ได้แก่ (๑) เพื่อจ้างที่ปรึกษามาทาหน้าท่ีเป็นคณะทางาน
ตรวจสอบข้อมูล และ (๒) เพ่ือให้สานักงานคลังจังหวัดในการทาหน้าท่ีผู้ช่วยคณะทางานตรวจสอบ
ข้อมูล และดาเนินการสุ่มตรวจโครงการในพื้นท่ี โดยท่ีผ่านมากรมบัญชีกลางได้รับจัดสรรงบประมาณ
เฉพาะในส่วนของค่าจ้างที่ปรึกษาและได้รับจัดสรรในวงเงินที่ลดลงซึ่งไม่สอดคล้องกับจานวนโครงการ
ก่อสรา้ งภาครฐั ทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ CoST ท่เี พิม่ สงู ขึ้นทุกปี
ประกาศคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต เรื่อง โครงการความ
โปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ ครอบคลุมเฉพาะที่เป็นโครงการก่อสร้างของหน่วยงานของรัฐ
ทุกประเภทตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ หากจะขยาย
โครงการ CoST ให้ครอบคลุมการจัดซ้ือจัดจ้างประเภทอื่น อาจต้องปรับปรุงรายการข้อมูลที่เปิดเผย
ให้สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของการจัดซ้ือจัดจ้างแต่ละประเภท รวมถึงจะต้องปรับปรุงระบบ CoST
ให้รองรบั การดาเนินการดงั กลา่ วดว้ ย
หน่วยงานเจ้าของโครงการก่อสร้างและภาคประชาชน สามารถติดตามข้อมูล
โครงการก่อสร้างท่ีเข้าร่วมโครงการ CoST ได้ทางเว็บไซต์ CoST Thailand ของกรมบัญชีกลาง
(http://process3.gprocurement.go.th/eGPCostWeb/home) และ Facebook CoST Thailand
(https://www.facebook.com/CoSTThailand) ซึ่งมีความสะดวกและรวดเร็วอยู่แล้ว แต่อย่างไรก็ดี
หากจะเพม่ิ เติมใหเ้ ชอ่ื มโยงในรปู แบบของ QR Code ก็สามารถเป็นไปได้
๗๖
ในส่วนของการรับเรื่องร้องเรียนกรมบัญชีกลางขอเรียนว่า เว็บไซต์ใหม่ของ
โครงการ CoST ที่อยู่ระหว่างการพัฒนาจะมีระบบการรับเรื่องร้องเรียน และการติดตามเรื่องร้องเรียน
เพ่ืออานวยความสะดวกให้กับหน่วยงานเจ้าของโครงการและภาคประชาชนในการจัดการเรื่องร้องเรียน
ต่าง ๆ หากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องการเช่ือมโยงข้อมูลอาจพิจารณาดาเนินการขอเชื่อมโยงข้อมูลที่
ต้องการผ่านระบบ CoST ได้ในระยะตอ่ ไป
หากลักษณะของการดาเนินงานโครงการทั้ง ๓ โครงการมีความคล้ายคลึงกัน
อาจบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนของโครงการ CoST ปัจจุบันมีการ
เปิดเผยข้อมูลโครงการก่อสร้างที่เป็นมาตรฐานสากล มีระบบสารสนเทศท่ีรองรับการเปิดเผยข้อมูล
ดังกล่าว รวมถึงมีเว็บไซต์ท่ีเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณชน หากโครงการ “การจัดทาระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้าง” และแนวคิด “๑ โครงการ ๑
QR Code” จะพิจารณาใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มีอยู่บนระบบ CoST อาจเป็นประโยชน์ในการ
ดาเนนิ งานของทัง้ สองโครงการตอ่ ไปในอนาคต
สาหรับการส่งเสริมการดาเนินงานของท้ัง ๓ โครงการ อาจพัฒนาในส่วนของการ
ประชาสัมพันธ์ เพ่ือกระตุ้นให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากย่ิงข้ึน เน่ืองจากการดาเนินการท่ีมี
ลักษณะเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนมีอุปสรรคท่ีสาคัญประการหนึ่ง คือ ระดับการเข้ามา
มีส่วนร่วมของภาคประชาชนซึ่งยังอยู่ในระดับต่า ทั้งที่หน่วยงานของรัฐหลายหน่วยงานได้จัดให้มีระบบ
รวมถึงช่องทางต่าง ๆ เพื่ออานวยความสะดวกให้ภาคประชาชนเข้ามาใช้บริการอยู่แล้ว ดังน้ัน
หากการดาเนินงานท้ัง ๓ โครงการ สามารถกระตุ้นให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากย่ิงขึ้น
จะเปน็ ประโยชนแ์ ละโอกาสสาคัญในการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมตอ่ ไปในอนาคต
๔.๒ การเดินทางลงพื้นท่ี เพือ่ ความเห็นจากหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง
๑) เทศบาลตาบลบ้านเหลา่
เทศบาลตาบลบ้านเหล่ามีการเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้
ป ร ะ ช า ช น ได้ เข้ า ไป ต ร ว จ ดู โด ย เปิ ด เผ ย ข้ อ มู ล จั ด ซ้ื อ จั ด จ้ า ง ให้ ป ร ะ ช า ช น ส า ม า ร ถ เข้ า ต ร ว จ ดู ได้
ทางเว็บไซต์ www.tbl.go.th และเว็บไซต์ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ www.gprocurement.go.th
และปิดประกาศท่ีหน่วยงาน โดยเผยแพร่ข้อมูล ประกาศเชิญชวน ประกาศผู้ชนะการเสนอราคาสัญญา
ซื้อขาย สัญญาจ้าง และประชาชนสามารถแจ้งเบาะแสหรือยื่นข้อร้องเรียนด้วยตนเองท่ีสานักงาน
เทศบาลตาบลบ้านเหล่า ๒๕๙ หมู่ ๔ ตาบลทุ่งถ่อ อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย ๕๗๓๕๐ หรือโทรศัพท์
สายด่วนผู้บริหาร ปลัดเทศบาล ๐๙๗ ๙๒๑ ๒๒๔๔ หรือทางเว็บไซต์ www.tbl.go.th และ E-mail :
[email protected]
๗๗
เทศบาลตาบลบ้านเหล่า มีบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในการจัดทาและควบคุม
ช่องทางการติดต่อระบบจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ โดยการกาหนดรหัสและข้อมูลส่วนบุคคล
ในการขอตรวจสอบและยื่นข้อร้องเรียน จึงมีความพร้อมดาเนินการจัดทาระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ” ของคณะกรรมาธิการ
หากมีการใช้รูปแบบ QR Code ในการจัดซ้ือจัดจ้างของเทศบาลตาบลบ้านเหล่าได้ให้ประชาชน
เข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
และประชาสัมพันธ์การตรวจรับงานจา้ งให้ประชาชนในพ้นื ทีเ่ ข้าสังเกตการณแ์ ละร่วมแสดงความคดิ เห็น
และควรประชาสัมพันธ์วิธีการดังกล่าวตามสื่อหลักให้กว้างขวางและทั่วถึงเพ่ือให้การมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกนั ปราบปรามการทจุ รติ การจดั ซอื้ จดั จา้ งภาครัฐให้มากขน้ึ
๒) สถานีตารวจภูธรจงั หวัดเชยี งราย
สถานีตารวจภูธรจังหวัดเชียงรายมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการจัดซ้ือ
จัดจ้างให้ประชาชนได้เข้าไปตรวจดูโดยการเปิดเผยโดยวิธีติดประกาศ ซึ่งเป็นข้อมูลในการจัดซ้ือจัดจ้าง
ท่ัวไปและข้อมูลในการก่อสร้าง และได้มีการอานวยความสะดวกให้กับประชาชนท่ีมีความประสงค์
จ ะ แ จ้ งเบ า ะ แ ส ห รื อ ย่ื น เร่ื อ งร้ อ งเรี ย น เก่ี ย ว กั บ ก า ร ทุ จ ริ ต ก าร จั ด ซ้ื อ จั ด จ้ า งข อ งห น่ ว ย งา น ภ า ค รั ฐ
โดยโทรสายด่วน ๑๕๙๙ สง่ หนงั สอื มาทางหน่วยงาน หรอื ยืน่ ดว้ ยตวั เอง
หากมีรูปแบบ QR Code ในการเผยแพร่รายละเอียดแผนงานโครงการเกี่ยวกับ
การจดั ซื้อจัดจ้างของภาครฐั เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทกุ ภาคสว่ นได้ตรวจสอบการทุจริต สถานตี ารวจภูธรจังหวัด
เชยี งรายมีความพรอ้ มในการรับเรอ่ื งร้องเรยี น หรือสร้างเครอ่ื งมอื เพื่อเป็นช่องทางทีส่ ะดวกและปลอดภัย
ในการแจง้ เบาะแสของประชาชน
๓) เทศบาลตาบลท่าสุด
เทศบาลตาบลท่าสุดมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างให้
ประชาชนได้เข้าไปตรวจดูโดยมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างให้ประชาชน
ได้เข้าตรวจสอบดูผ่านทางเว็บไซต์และเฟสบุ๊กของเทศบาลตาบลท่าสุด เป็นการเปิดเผยการจัดซ้ือจัดจ้าง
ของโครงการต่าง ๆ ทุกโครงการให้ประชาชนสามารถตรวจสอบได้ และได้มีการอานวยความสะดวก
ให้กับประชาชน ที่มีความประสงค์จะแจ้งเบาะแสหรือยื่นเร่ืองร้องเรียนเก่ียวกับการทุจริตจัดซื้อจัดจ้าง
ของหนว่ ยงานภาครัฐ ผา่ นทางช่องทาง ดงั นี้
๑) แจ้งผ่านทางเว็บไซตข์ องหน่วยงาน www.tasud.co.th
๒ ) แ จ้ ง ผ่ า น ท า ง เฟ ส บุ๊ ก ข อ ง ห น่ ว ย ง า น http://www.facebook.com
/tasud.subdistrict.municipality/
๓) แจง้ ตแู้ ดง ตู้ของเทศบาล ท่ปี ระจาในแต่ละหมู่บา้ น เปน็ ตน้
๗๘
เทศบาลตาบลทา่ สดุ เหน็ ดว้ ยกบั หลักการการมีส่วนรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั
และปราบปรามการทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้าง เพราะเป็นไปตามหลักความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
ตรวจสอบได้ และไม่มีข้อขัดข้องประการใด และหากมีการดาเนินการตามแผนงานโครงการเกี่ยวกับ
การจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐฯ เทศบาลตาบลท่าสุดมีความพร้อมในการรับเรื่องราวร้องเรียนร้องทุกข์
หรือช่องทางในการแจ้งเบาะแสของประชาชนอยู่แล้ว โดยสามารถแจ้งผ่านทางเว็บไซต์ของเทศบาล
ตาบลท่าสุดหรือทางเฟซบุ๊คของเทศบาลตาบลท่าสุดท่ีสะดวกและปลอดภัยเพราะเจ้าหน้าที่รับเร่ืองไว้
จะไม่นาข้อมูลท่ีได้รับมาเปิดเผยแต่จะนาไปสอบสวนเพื่อดาเนินการตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ต่อไป
๔) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลแม่สลองใน
องค์การบริหารส่วนตาบลแม่สลองใน ยึดหลักการ “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิด
เป็นข้อยกเว้น” อบต.แม่สลองใน ได้มีการเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้างให้ประชาชนได้เข้าไป
ตรวจดู ซึ่งข้อมูลต่าง ๆ ประกอบด้วย แผนการจัดซ้ือจัดจ้าง เอกสารประกอบการจัดซ้ือจัดจ้าง/ราคา
กลาง ผลการจัดซ้ือจัดจ้าง และสัญญา โดยอาศัยการประชาสัมพันธ์หรือเปิดเผยผ่านช่องทางส่ือสังคม
ออนไลน์ต่าง ๆ ได้แก่ เว็บไซต์ทางการของ อบต. เฟซบุ๊ค ไลน์ทางการ จดหมายถึงผู้นาชุมชน/หมู่บ้าน
และหนังสือถึงบริษัทห้างร้านท่ัวไปท่ีเกี่ยวข้อง และได้มีการอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน
ที่มีความประสงค์จะแจ้งเบาะแสและย่ืนข้อร้องเรียนเก่ียวกับการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง ได้แก่
การส่งเสริมกระบวนการแลกเปล่ียนความรู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ภายในองค์กรจากผู้มีประสบการณ์
เกี่ยวกับงานพัสดุให้แก่บุคลากรผ่านการฝึกอบรม สัมมนาและศึกษาดูงาน และรณรงค์เสริมสร้างจิตอา
สานึกและความตระหนักในหลักธรรมาภิบาลเพ่ือผลประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก โดยการจัดขบวน
เดินรณรงค์ภายในพ้ืนที่ตาบลแม่สลองใน รวมไปถึงการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผ่านสื่อโซเชียล
มเี ดียในรปู แบบต่าง ๆ เป็นต้น
ในปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ัวประเทศยังไม่มีความเป็นมาตรฐาน
หรือแนวทางเดียวกันในการจัดหาพัสดุ แม้ว่าจะมี พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยกรมบัญชีกลางวางไว้แล้วก็ตาม ทั้งน้ี ยังพบว่ากระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ยังมีจุดอ่อนที่ทาให้เกิดการคอรัปช่ัน มีช่องทางการทุจริตอ่ืน ๆ ถูกมองว่าไม่เป็นธรรมและประชาชน
เห็นว่ายังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้จริง รวมทั้งประชาชนยังไมไ่ ด้มีเข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริงและการ
เปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนก็ยังน้อยอยู่ จึงต้องจัดการปัญหาเหล่านี้ให้ได้ ดังนั้น อบต.แม่สลองใน
จึงเห็นด้วยในการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และมีความพร้อมในการรับเรื่องร้องเรียน หรือสร้างเครื่องมือเพื่อเป็นช่องทาง
ท่ีสะดวกและปลอดภัยในการแจ้งเบาะแสของประชาชนในระดับดีมาก ซ่ึงในปัจจุบัน อบต.แม่สลองใน
๗๙
ไดเ้ ริม่ มกี ารนาเทคโนโลยีสมัยใหมเ่ ข้ามาปรบั ใช้ในกระบวนการจดั ซ้อื จัดจ้างพัสดภุ าครฐั เช่น การกาหนด
วิธีการและขั้นตอนในการจัดหา การควบคุม และการจาหน่ายพัสดุ เพ่ือลดปัญหาในการจัดหาพัสดุ
โดยคาดหวังวา่ จะเปน็ การประหยัดงบประมาณ ลดระยะเวลาในการจดั ซ้ือจัดจ้าง ทาให้เกิดประสทิ ธิภาพ
และความโปร่งใสในกระบวนการจดั ซอื้ จัดจา้ งมากข้นึ
๕) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลเวียงหา้ ว
องค์การบริหารส่วนตาบลเวียงห้าวมีการเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการ
จัดซ้ือจัดจ้างให้ประชาชนได้เข้าไปตรวจดูผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน ข้อมูลที่เปิดเผย เช่น วงเงิน
งบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรและราคากลางในงานก่อสร้าง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา คาส่ังแต่งต้ัง
คณะกรรมการ แผนการจัดซ้ือจัดจ้าง สรุปผลการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้าง และได้มีการอานวย
ความสะดวกให้กับประชาชนที่มีความประสงค์จะแจ้งเบาะแสหรือย่ืนเรื่องร้องเรียนเก่ียวกับการทุจริต
การจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐผ่านทาง Facebookา เว็บไซต์ โทรศัพท์ หรือเดินทางมาด้วย
ตนเอง
การจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการ
ทจุ ริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐหรือรูปแบบ QR Code เป็นการเพ่ิมช่องทางการเข้าถงึ ข้อมลู แก่ประชาชน
อีกชอ่ งทางหน่ึง
๖) เทศบาลตาบลบา้ นหว้า
เทศบาลตาบลบ้านหว้ามีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างให้
ประชาชนได้เข้าไปตรวจดูผ่านศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ/เว็บไซต์ของเทศบาลตาบลบ้านหว้า
/บอร์ดประชาสัมพันธ์/เสียงตามสายภายในชุมชนเขตเทศบาลตาบลบ้านหว้า และได้มีการอานวย
ความสะดวกให้กับประชาชนท่ีมีความประสงค์จะแจ้งเบาะแสหรือย่ืนเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต
การจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐโดยติดต่อเทศบาลตาบลบ้านหว้าโดยตรง หรือผ่านทางโทรศัพท์
หรอื ผา่ นทางเว็บไซต์ และเว็บไซตข์ องเทศบาล
เทศบาลตาบลบ้านหว้ามีความพร้อมในการเผยแพร่รายละเอียดแผนงานโครงการ
เกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐเพ่ือให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบการทุจริตเนื่องจากเป็น
หน่วยงานของรัฐมีบุคลากรและงบประมาณเพียงพอต่อการดาเนินการในเร่ืองดังกล่าวและต้องใช้อานาจ
หน้าที่ในการจดั ทาบริการสาธารณะให้แกป่ ระชาชน
๗) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลแม่จัน
องค์การบริหารส่วนตาบลแม่จันมีการเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการจัดซื้อ
จัดจ้างให้ประชาชนทราบ โดยประชาชนสามารถเข้าไปตรวจดูได้ทางเว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตาบล
ทางระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และบอร์ดประชาสัมพันธ์ขององค์การบริหารส่วนตาบล และส่ง
ประกาศการจัดซื้อจัดจ้างให้กับผู้นาชุมชนเพื่อประชาสัมพันธ์ทางเสียงตามสาย ประกอบด้วย ข้อมูลการ
๘๐
จัดซ้ือจัดจ้าง วงเงินงบประมาณ ราคากลาง เกณฑ์การพิจารณาตัดสิน ประกาศรายช่ือผู้ชนะการจัดซื้อ
จัดจ้าง เป็นต้น และมีช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ในหน้าเว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตาบล
แม่จัน maechansao.go.th เพ่ืออานวยความสะดวกให้กับประชาชนที่มีความประสงค์แจ้งเบาะแส
ร้องเรียนเกยี่ วกบั การทจุ รติ
องค์การบริหารส่วนตาบลแม่จันเห็นด้วยการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐของคณะกรรมาธิการเพ่ือเป็น
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และมีความพร้อมในการรับเรื่องร้องเรียน
แ ล ะ ไ ด้ ส ร้ า ง เค ร่ื อ ง มื อ คื อ ช่ อ ง ท า ง ก า ร รั บ เรื่ อ ง ร้ อ ง เรี ย น ใน เว็ บ ไ ซ ต์ อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล
โดยผู้ร้องเรียนสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนในทางลับโดยไม่ระบุตัวตนได้เพ่ือความสะดวกและปลอดภัย
ในการแจง้ เบาะแสของประชาชน
๘) องค์การบริหารส่วนตาบลสนั ทราย
องค์การบริหารส่วนตาบลสันทรายมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการ
จัดซ้ือจัดจ้างให้ประชาชนทราบ โดยติดประกาศบอร์ดประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน / ทางเว็บไซต์ของ
องค์การบริหารส่วนตาบล / ระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง / ข้อมูลท่ีนาไปลง ข้อมูล
เก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้าง แผนการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง ประกาศประกวดราคา ประกาศผู้ชนะ
ประกาศผู้ชนะรายไตรมาส เป็นต้น และมีการจัดทาเว็บบอร์ด แลกเปล่ียนความคิดเห็น ทางเว็บไซต์ของ
องค์การบรหิ ารส่วนตาบลซึง่ สามารถเข้าแจ้งเบาะแสทจุ รติ เข้ามาได้
องค์การบริหารส่วนตาบลสันทรายเห็นด้วยการจัดทาระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐของคณะกรรมาธิการ
เนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนจะได้ตรวจสอบการทางานของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และมีความ
พร้อมในการเผยแพร่รายละเอียดแผนงานโครงการเกย่ี วกับการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐเพ่ือให้ประชาชน
ทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบการทุจริต และรับเร่ืองร้องเรียนเน่ืองจากปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตาบล
สามารถเผยแพร่ไดห้ ลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นทางไลน์ เฟสบ๊คุ ทางเวบ็ ไซต์ของหน่วยงาน
๙) เทศบาลนครเชียงราย
เทศบาลนครเชียงรายมีการเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้าง
ให้ประชาชนทราบอย่างเปิดเผย และโปร่งใสเพ่ือให้ประชาชนได้สามารถเข้ามาตรวจสอบ ผ่านทาง
เว็บไซต์ และบอร์ดประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ให้ได้รับทราบ ทั้งกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและบริการ
กระบวนการจัดจ้างก่อสร้าง และการกาหนดราคากลางพัสดุ การจัดทาสัญญาและบริหารสัญญา
หรือ website : Chiengraicity.go.th และสามารถแจ้งเบาะแสหรือย่ืนเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต
การจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐผ่านช่องทางหลากหลาย เช่น เดินทางมาด้วยตนเองท่ีสานักงาน
เทศบาล หรือ ผา่ นช่องทาง Online ต่าง ๆ
๘๑
เทศบาลนครเชียงรายเห็นด้วยการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ หรือรูปแบบ QR Code เน่ืองจาก
ประชาชนสามารถเข้าถึงการตรวจสอบของภาครัฐได้ง่ายข้ึน สะดวก รวดเร็ว นอกเหนือจากการเข้า
ระบบผ่านทางเว็บไซต์ อีกทั้งเพิ่มช่องทางการตรวจสอบได้หลากหลายช่องทางมากขึ้น และเทศบาล
นครเชียงรายมีความพร้อมในการเผยแพร่รายละเอียดแผนงานโครงการเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้าง
ของภาครัฐเพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบการทุจริต และรับเร่ืองร้องเรียนผ่านช่องทาง
ที่สะดวก ปลอดภัย ได้แก่ ช่องทาง online ผ่านเว็บไซต์ หรือ Facebook ที่สามารถสร้าง QR Code
ใช้สาหรับเผยแพร่ใหป้ ระชาชนทว่ั ไปสามารถใชง้ านได้
๑๐) องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดเชยี งราย
องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดเชยี งราย มีการเปดิ เผยข้อมูลเกีย่ วกับการดาเนินการ
จัดซื้อจัดจ้างให้ประชาชนทราบอย่างเปิดเผยผ่านทางเว็บไซต์การจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) เว็บไซต์
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย จัดส่งประกาศเผยแพร่ศูนย์ข้อมูลข่าวสารองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดเชียงราย และติดประกาศ ณ บอร์ดประชาสัมพันธ์องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
โดยประชาชนสามารถรอ้ งเรยี น/แจง้ เบาะแสการทจุ รติ ได้ดังนี้
๑) ร้องเรียนด้วยตนเอง
๒) ตู้รับเร่ืองรอ้ งเรียน/ร้องทกุ ข์
๓) ทางไปรษณีย์ ที่อยู่ เลขที่ ๕๒๑ หมู่ท่ี ๖ ถนนศนู ย์ราชการฝั่งหม่ิน ตาบลริม
กก อาเภอเมอื งเชียงราย จังหวัดเชียงราย รหสั ไปรษณีย์ ๕๗๑๐๐
๔) รอ้ งเรียนทางโทรศพั ท์ หมายเลข ๐๕๓ ๑๗๕ ๓๕๑ หมายเลขโทรสาร ๐๕๓
๑๗๕ ๓๑๙
๕) เวบ็ ไซต์ www.chiangraipao.go.th
๖) Facebook องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั เชยี งราย
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย มีความยินดีที่จะเป็นส่วนหน่ึงในการ
เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตการจัดซ้ือจัดจ้าง
ภาครัฐ ซึ่งองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการในรูปแบบต่าง ๆ เช่น มีตัวแทนประชาคม
หมู่บ้านจากทุกอาเภอในจังหวัดเชียงราย เข้ามาเป็นคณะกรรมการตรวจรับพัสดุร่วมกับหน่วยงาน
มีศูนย์ดารงธรรม ศูนย์ข้อมูลข่าวสารและศูนย์ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ดังน้ัน จึงมีความ
พรอ้ มในการเผยแพร่รายละเอียดแผนงานโครงการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของภาครฐั เพ่ือใหป้ ระชาชน
ทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบการทุจริต และพร้อมรับเร่ืองร้องเรียนหรือสร้างเครื่องมือเพื่อเป็นช่องทาง
ทส่ี ะดวกและปลอดภยั ในการแจง้ เบาะแสของประชาชน
๘๒
๑๑) สานกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวัดเชียงราย
สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงรายมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการ
ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้ประชาชนทราบอย่างเปิดเผยผ่านเว็บไซต์ของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
เชียงราย ในหัวข้อการจัดซื้อจัดจ้าง โดยมีการจัดทารายงานแสดงผลการจัดซ้ือจัดจ้างทุกเดือน
มีการสรุปผลการจัดซ้ือจัดจ้างรายปีงบประมาณ และรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างประจาปี
โดยประชาชนสามารถแจ้งเบาะแสหรือย่ืนเร่ืองร้องเรียนเก่ียวกบั การทุจริตผ่านช่องทางการแจ้งเบาะแส
การพบเห็นเจ้าหน้าท่ีทุจริตหรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ในเว็บไซต์สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
เชียงราย หัวข้อแบบฟอร์มร้องทุกข์ www.industry.go.th/cheangrai/index.php หรือโทรศัพท์
๐๕๓-๗๑๑๖๖๖ โทรสาร ๐๕๓-๗๑๗๗๐๖
สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงรายเห็นดว้ ยการจัดทาระบบการมสี ่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ หรือรูปแบบ QR Code
เพื่อให้การจัดซ้ือจัดจ้างมีความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้มากขึ้น ลดการทุจริตและป้องกันการเปิด
ผลประโยชน์ทับซ้อนในการจัดซื้อจัดจ้างได้ และมีความพร้อมในการเผยแพร่รายละเอียดแผนงาน
โครงการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐเพ่ือให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบการทุจริต
และรับเรื่องร้องเรียนผ่านช่องทางท่ีสะดวก ปลอดภัย ในเว็บไซต์ของสานักงานอุตสาหกรรมฯ
www.industry.go.th/cheangrai/index.php หัวข้อแบบฟอร์มร้องทุกข์ หรือโทร ๐๕๓-๗๑๑๖๖๖
โทรสาร ๐๕๓-๗๑๗๗๐๖
๑๒) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลดอยงาม
องค์การบริหารส่วนตาบลดอยงามได้มีการเปิดเผยข้อมลู การดาเนินการจัดซื้อ
จัดจ้างเพ่ือให้ประชาชนได้เข้าไปตรวจดูผ่านทาง เว็บไซต์ อบต.ดอยงาม ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
(e-GP) โดยเจ้าหน้าที่พัสดุผู้รับผิดชอบเป็นผู้บันทึกข้อมูลตามกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้าง ตามระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ เช่น ประกาศ
เชิญชวน ประกาศราคากลาง ประกาศผลผู้ชนะ เป็นต้น และมีการดาเนินการให้ความรู้แก่เครือข่าย
ป้องกันการทุจริตประจาปีทุกปี การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการร่วมเป็นคณะกรรมการจัดซื้อ
จัดจ้างและมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนพบเห็นการทุจริต สามารถร้องเรียนได้ที่ สานักงาน อบต.
ดอยงาม เว็บไซต์ อบต.ดอยงาม และทาง Facebook อบต.ดอยงาม อ.พาน
ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตาบลดอยงาม มีเว็บไซต์ และ Facebook
และศูนย์ข้อมูลข่าวสารทางราชการ ซ่ึงมีความพร้อมในการเผยแพร่รายละเอียดแผนงานโครงการ
เกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐเพ่ือให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบการทุจริต และรับเรื่อง
ร้องเรียน เพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบการทุจริต และเจ้งเบาะแสได้อย่างท่ัวถึง แต่การ
๘๓
จัดทารูปแบบ QR Code ดังกล่าวอาจมีข้อจากัดกับประชาชนในช่วงวัยผู้สูงอายุ ที่ไม่สามารถเข้าถึง
เทคโนโลยไี ด้
๑๓) เทศบาลตาบลแมจ่ ัน
เทศบาลตาบลแม่จันได้มีการเปิดเผยข้อมลู การดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างเพ่ือให้
ประชาชนได้เข้าไปตรวจดูผ่านทางเว็บไซต์เทศบาล เว็บไซต์ระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ (e-GP)
ข้อมูลที่เปิดเผย เช่น แผนการจัดซ้ือจัดจ้าง ประกาศผู้ชนะ ประกาศประมูลการจัดซื้อจัดจ้างโดยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) และหากประชาชนพบเห็นการทุจริตสามารถร้องเรียนผ่านเฟซบุ๊คของ
เทศบาล ส่งเรอื่ งท่ตี ู้ ปณ. ๗๗ สายตรงผบู้ รหิ าร และผา่ นทางเว็บไซต์ของเทศบาล
เทศบาลตาบลแม่จัน เห็นว่าการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ หรือรูปแบบ QR Code เป็นเรื่องท่ีดี
ในการส่งเสริมระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การจัดซ้ือจัด
จ้างภาครัฐ ซ่ึงจะทาให้การทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างน้อยลง และมีความพร้อมในการรับเรื่องร้องเรียน
และสร้างเคร่ืองมือเพ่ือเป็นช่องทางที่สะดวกและปลอดภัยในการแจ้งเบาะแสของประชากร มีบุคลากร
ทม่ี ีความพรอ้ ม มีงบประมาณ มีวสั ดุอุปกรณ์ มีการบรหิ ารจัดการ จึงไมม่ ีขอ้ ขดั ขอ้ งในการดาเนินการ
๑๔) การทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย ประจาจงั หวดั เชียงราย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาจังหวัดเชียงราย ได้มีการเปิดเผยข้อมูล
การจัดซ้ือจัดจ้างในเว็บไซต์ ระบบข่าวการจัดซื้อจัดจ้างของ ททท. และประกาศในระบบการจัดซื้อ
จัดจ้างภาครัฐ (e-GP) ของกรมบัญชีกลาง โดยการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ประจาจังหวัดเชียงราย
มีหน้าที่ในการส่งเสริมการตลาดการท่องเท่ียวของประเทศ มีบริการให้ข้อมูลข่าวสารด้านการท่องเที่ยว
และรบั เรอื่ งร้องเรยี นจากนักท่องเท่ยี ว ประสานไปยงั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องโดยตรงดาเนินการตอ่ ไป
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาจังหวัดเชียงราย เห็นด้วยที่จะมีการ
จดั ทาระบบการมีส่วนรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
หรือรูปแบบ QR Code และไม่มีขอ้ ขดั ขอ้ งประการใด
๑๕) องค์การบริหารสว่ นตาบลบัวคลี
องค์การบริหารส่วนตาบลบัวคลีได้มีการเปิดเผยข้อมูลการดาเนินการจัดซ้ือ
จัดจ้างโดยสามารถตรวจดูได้ท่ีเว็บไซต์ของ อบต. และเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง และบอร์ด
ประชาสัมพันธ์ของ อบต. และหากประชาชนพบเห็นการทุจริตสามารถแจ้งเบาะแสหรือย่ืนข้อร้องเรียน
เก่ยี วกับการทจุ ริตในการจัดซื้อจดั จ้างได้ที่ทีท่ าการองค์การบริหารสว่ นตาบลบัวคล่แี ละเวบ็ ไซต์ของ อบต.
องค์การบริหารส่วนตาบลบัวมีความพร้อมในการเผยแพร่รายละเอียด
แผนงานโครงการเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐเพ่ือให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้ตรวจสอบ
๘๔
การทุจริต และรับเร่ืองร้องเรียนเพราะปัจจุบันมีส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีทันสมัย และเป็นการอานวยความ
สะดวกให้แก่ประชาชน
๑๖) สานกั งานจงั หวดั ระยอง
สานักงานจังหวัดระยองมีการจัดทาระบบแจ้งเร่ืองการร้องเรียนการทุจริต
ผ่านทางหน้าเว็บไซต์จังหวัดระยอง www.rayong.go.th โทรศัพท์ ๐ ๓๘๖๙ ๔๐๐๐ ซ่ึงสามารถเข้าไป
ตรวจดูได้จากเว็บไซต์จังหวัด www.rayong.go.th และสามารถติดต่อขอข้อมูลได้ท่ีสานักงานจังหวัด
ระยองได้โดยตรงและปัจจุบันมกี ารกาหนดใหเ้ ผยแพร่ข้อมลู เก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างท้ังผ่านทางเว็บไซต์
ของจังหวัดและเวบ็ ไซต์ของกรมบัญชีกลาง
เห็นด้วยกับการจัดทาระบบ QR Code ถ้าหากมีการจัดทาระบบควรใช้
ฐานข้อมูลชุดเดิมท่ีเจ้าหน้าท่ีบันทึกข้อมูลไว้แล้วเพื่อลดความซ้าซ้อนและไม่เป็นการเพ่ิมภาระงานให้
เจ้าหนา้ ท่ี
๑๗) สานักงาน ป.ป.ช. ประจาจงั หวัดระยอง
สานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัดระยองมีการรับเร่ืองกล่าวหาและทาการ
ไต่สวนกรณีเจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีโดยทุจริตหรือโดยมิชอบ หรือเจ้าหน้าที่
ของรัฐกระทาความผิดฐานทุจริตต่อตาแหน่งหน้าท่รี าชการ หรือร่ารวยผิดปกติ ทง้ั น้ี รวมทง้ั การจดั ซอื้ จัด
จ้างของหน่วยงานภาครัฐด้วย เพราะเป็นส่วนหนึ่งของการทุจริตต่อหน้าที่หรือการปฏิบัติหรือละเว้นการ
ปฏิบัติหนา้ ที่โดยมิชอบ
สานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัดระยอง มีความพร้อมในการรับเร่ืองร้องเรียน
โดยปัจจุบันทางสานักงาน ป.ป.ช. มีสายด่วน ๑๒๐๕ เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ผู้แจ้งเบาะแสเพ่ือ
ความปลอดภัยของผู้เจาะเบาะแส ต่าง ๆ ที่มีมายังสานักงาน ป.ป.ช. นอกจากนี้ยังมีช่องทาง Facebook
(สานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัดระยอง) และ หมายเลขโทรศัพท์ ๐๓๘-๖๒๓๒๐๗ ซ่ึงอานวยความ
สะดวกให้แก่ประชาชนผู้ประสงค์จะแจ้งเบาะแสการทุจริตต่าง ๆ รวมทั้งร้องเรียนเก่ียวกับการทุจริตการ
จดั ซ้ือจัดจา้ งของหน่วยงานภาครัฐด้วย
สานักงาน ป.ป.ช. ประจาจังหวัดระยองเห็นด้วยกับการจัดทาระบบ QR Code
เพราะการเข้ามามีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเฝ้าระวังการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงาน
ภาครัฐ จักส่งผลให้การดาเนินงานของภาครัฐเกดิ ความโปร่งใสมากยง่ิ ข้ึน การทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างของ
หน่วยงานภาครัฐลดนอ้ ยลง
๑๘) สานักงานการท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวดั ระยอง
สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดระยอง มีความพร้อมในการรับเร่ือง
ร้องเรียน โดยปัจจุบันทางสานักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดระยอง มีหลายช่องทางในการติดต่อ
เพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ผู้แจ้งเบาะแสการทุจริต เช่น ทางเว็บไซต์สานักงานฯ Facebook
๘๕
สานักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดระยอง และ E-mail : [email protected] และหมายเลข
โทรศัพท์ ๐๓๘ - ๖๑๘๙๖๘ โดยมีการปกปิดข้อมูลผู้แจ้งเบาะแสเพื่อความปลอดภัยของผู้แจ้งเบาะแส
ต่าง ๆ ท่มี มี ายังสานกั งานฯ
สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดระยอง มีการเปิดเผยการดาเนินงาน
เกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจ้างให้กับประชาชนได้เข้าไปตรวจสอบได้ โดยการลงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างทุก
อยา่ งในระบบ e-GP และประกาศผล ให้ประชาชนโดยท่วั ไปทราบในเวบ็ ไซต์ของสานักงานฯ
สานักงานการท่องเท่ียวเห็นด้วยกับการจัดทาระบบ QR Code เพราะการ
เข้ามามีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเฝ้าระวังการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ
จักส่งผลให้การดาเนินงานของภาครัฐเกิดความโปร่งใส และเกิดความยุติธรรมมากย่ิงข้ึน การทุจริต
การจัดซื้อจดั จา้ งของหน่วยงานภาครฐั ลดนอ้ ยลง
๑๙) สานักงานพาณิชย์จงั หวดั ระยอง
สานักงานพาณิชย์จังหวัดระยองมีบทบาทเป็นผู้ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง อาทิ
จ้างเหมาบริการบุคคล จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สานักงานฯ ดาเนินการจัดจ้างดาเนินโครงการ เป็นต้น
ซ่ึงสานักงานฯ มีความพร้อมในการรับเรื่องร้องเรียน และมีระบบ QR Code ในการสอบถามความพึง
พอใจ สานักงานฯ ไดจ้ ัดทาช่องทางอานวยความสะดวกในการแจ้งเบาะแสหรือยืน่ เรอื่ งร้องเรียนได้หลาย
ช่องทางทั้งผ่านระบบ Online และ Walk in สานักงานฯ เห็นด้วยกับการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
การตรวจสอบ
๒๐) สานกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมอื งจงั หวัดระยอง
สานักงานโยธาธิการและผังเมอื งจังหวัดระยอง เป็นหน่วยงานรับงบประมาณของ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และจังหวัดระยอง ในการดาเนินการตามแผนงานโครงการต่าง ๆ ที่จะต้อง
ดาเนินการเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้างด้วย ในปัจจุบันในการจัดซ้ือจัดจ้างมีการประกาศแผน
การดาเนินงานแต่ละแผนงานและโครงการอยู่แล้ว ท้ังเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลางและของสานักงาน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดระยอง
สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดระยองไม่มีข้อโต้แย้งประการใดต่อ
การจัดทาระบบ QR Code และเห็นว่าเป็นเร่ืองที่ดีท่ีให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจรติ ในการจดั ซอ้ื จดั จ้างภาครัฐ
๒๑) สานกั งานอุตสาหกรรมจงั หวัดระยอง
สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดระยองมีความพร้อมในการจัดทา QR Code
แบบฟอร์มชอ่ งทางการรับเร่ืองร้องเรียนในรูปแบบ google form ปัจจุบันสานกั งานอุตสาหกรรมจังหวัด
ระยอง มี ๘ ช่องทางการรอ้ งเรยี น ไดแ้ ก่
๘๖
(๑) การยนื่ เร่ืองดว้ ยตนเองท่ี สอจ.ระยอง
(๒) ทางไปรษณีย์ ๑๔๐/๒๐ หมู่ ๒ ต.เนนิ พระ อ.เมืองระยอง จ.ระยอง ๒๑๐๐๐
(๓) ทาง E-mail : [email protected]
(๔) ทางเวบ็ ไซต์สานักงาน www.rayong.industry.go.th
(๕) Facebook : สานักงานอตุ สาหกรรมจังหวัดระยอง
(๖) ทางโทรศพั ท์ ๐๓๘-๘๐๘๑๗๖-๘
(๗) ทางโทรสาร ๐๓๘-๖๑๒๐๓๘
(๘) กล่องแสดงความคดิ เหน็
และมีการประชาสัมพันธ์สื่อเรื่อง “๘ ช่องทางการร้องเรียน เจ้าหน้าที่ทุจริตหรือ
ประพฤติมิชอบ” ของสานักงานเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์สานักงาน และบอร์ดประชาสัมพันธ์หน้า
สานกั งาน
สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดระยองเหน็ ด้วยกับระบบ QR Code สาหรบั การจัด
ให้มีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เนื่องจาก
สะดวก ง่าย และรวดเร็ว แต่ประชาชนส่วนหน่ึงของประเทศไม่สามารถเข้าถึงระบบออนไลน์ต่าง ๆ ได้
เน่ืองจากขาดความรู้และอุปกรณ์ทาให้เสียโอกาสในการเข้าถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน จึงเสนอว่า
ควรจัดทาช่องทางการร้องเรียนหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบรหัส QR Code และแบบแสดงความคิดเห็นใน
รูปแบบอนื่ ๆ
๒๒) องค์การบริหารส่วนจังหวดั ระยอง
องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดระยอง มีความพรอ้ มในการจัดทาระบบ QR Code ใน
การเผยแพร่รายละเอียดแผนงานโครงการเกีย่ วกับการจดั ซือ้ จดั จ้างของภาครฐั เน่ืองจากมีความพร้อมใน
ทุก ๆ ด้าน และสามารถตรวจสอบได้ทุกช่องทาง ปัจจุบัน ประชาชนสามารถแจ้งเบาะแสหรือยื่นเร่ือง
ร้องเรียนได้ในหลายช่องทาง เช่น แจ้งเรื่องร้องเรียนผ่านช่องทางเว็บไซต์ขององคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด
ระยอง , Facebook องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง และ E-mail ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
ระยอง เป็นต้น
องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยองเห็นด้วยกับการจัดทาระบบการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยการจัดทารหัส QR
Code เพ่ือให้ประชาชนสามารถตรวจสอบรายละเอียดแผนงานโครงการเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างของ
ภาครัฐ เพ่ือความโปร่งใสและตรวจสอบได้ และเสนอว่าในการแจ้งข้อมูลเบาะแสของประชาชนน้ันต้อง
ให้ความเชอื่ มั่นว่าประชาชนผแู้ จ้งขอ้ มูลต้องมคี วามปลอดภยั และข้อมลู ทแี่ จง้ มีความถกู ต้องและเชือ่ ถือได้