รายงานการพิจารณาศึกษา
เรื่อง
การจัดทำระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ของคณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต
ประพฤติมิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล
วุฒิสภา
ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธิการ
ศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต
ประพฤติมิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล
สำนักกรรมาธิการ ๒ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
(ส ำเนำ)
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ คณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเรื่องกำรทุจริต ประพฤติมิชอบและเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล วุฒิสภำ
ที่ สว (กมธ ๒) ๐๐๑๐/ วันที่ กุมภำพันธ์ ๒๕๖๕
เรื่อง รำยงำนกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเรื่องกำรทุจริต ประพฤติมิชอบ
และเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล วุฒิสภำ
กรำบเรียน ประธำนวุฒิสภำ
ด้วยในครำวประชุมวุฒิสภำ ครั้งที่ ๑๗/๒๕๖๒ (สมัยสำมัญประจ ำปีครั้งที่หนึ่ง) วันอังคำรที่
๑๐ กันยำยน ๒๕๖๒ ที่ประชุมวุฒิสภำได้ลงมติตั้งคณะกรรมำธิกำรสำมัญประจ ำสภำตำมข้อบังคับ
กำรประชุมวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๗๘ (๒๓) ซึ่งคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเรื่องกำรทุจริต
ประพฤติมิชอบและเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล วุฒิสภำ เป็นคณะกรรมำธิกำรสำมัญประจ ำวุฒิสภำ
มีหน้ำที่และอ ำนำจพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติ กระท ำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง
ศึกษำตรวจสอบเรื่องกำรกระท ำกำรทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงำนของรัฐหรือหน่วยงำนอื่น
กำรเสริมสร้ำงธรรมำภิบำลในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินตำมหลักกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
และตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษำเรื่องใด ๆ เกี่ยวกับกลไก กระบวนกำร
และมำตรกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตประพฤติมิชอบ พิจำรณำศึกษำ ติดตำม เสนอแนะ
และเร่งรัดกำรปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ที่อยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจ และอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งปัจจุบันกรรมำธิกำรคณะนี้ ประกอบด้วย
(๑) พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ ประธำนคณะกรรมำธิกำร
(๒) พลเอก ส ำเริง ศิวำด ำรงค์ รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนที่หนึ่ง
(๓) นำยธำนี อ่อนละเอียด รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนที่สอง
(๔) หม่อมหลวงสกุล มำลำกุล รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนที่สำม
(๕) นำงสำวดำวน้อย สุทธินิภำพันธ์ รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนที่สี่
(๖) นำยวิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร เลขำนุกำรคณะกรรมำธิกำร
(๗) นำยประสิทธิ์ ปทุมำรักษ์ รองเลขำนุกำรคณะกรรมำธิกำร
(๘) นำงสำววิไลลักษณ์ อรินทมะพงษ์ โฆษกคณะกรรมำธิกำร
(๙) พลเอก วิชิต ยำทิพย์ ประธำนที่ปรึกษำคณะกรรมำธิกำร
(๑๐) พลเอก เลิศฤทธิ์ เวชสวรรค์ ที่ปรึกษำคณะกรรมำธิกำร
(๑๑) พลอำกำศเอก ถำวร มณีพฤกษ์ ที่ปรึกษำคณะกรรมำธิกำร
(๑๒) พลต ำรวจโท ตรีทศ รณฤทธิวิชัย ที่ปรึกษำคณะกรรมำธิกำร
(๑๓) นำยอมร นิลเปรม ที่ปรึกษำคณะกรรมำธิกำร
(๑๔) พลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสำร กรรมำธิกำร
(๑๕) นำงวรำรัตน์ อติแพทย์ กรรมำธิกำร
(๑๖) นำยสมเดช นิลพันธุ์ กรรมำธิกำร
(๑๗) พลต ำรวจโท สมบัติ มิลินทจินดำ กรรมำธิกำร
(๑๘) นำยสัญชัย จุลมนต์ กรรมำธิกำร
(๑๙) พลเอก อำชำไนย ศรีสุข กรรมำธิกำร
บัดนี้ ...
- ๒ -
บัดนี้ คณะกรรมำธิกำรได้ด ำเนินกำรพิจำรณำศึกษำ เรื่อง กำรจัดท ำระบบกำรมีส่วนร่วม
ของประชำชนในกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ เสร็จเรียบร้อยแล้ว
จึงขอรำยงำนกำรพิจำรณำศึกษำเรื่องดังกล่ำวต่อวุฒิสภำตำมข้อบังคับกำรประชุม วุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๘
จึงกรำบเรียนมำเพื่อโปรดทรำบและน ำเสนอรำยงำนของคณะกรรมำธิกำรต่อที่ประชุม
วุฒิสภำต่อไป
(ลงชื่อ) พลเรือเอก
(ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ)
ประธำนคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเรื่องกำรทุจริต
ประพฤติมิชอบและเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล
วุฒิสภำ
ส ำเนำถูกต้อง
(นำยอุสำห์ ชูสินธ์)
ผู้ช่วยเลขำนุกำรคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเรื่องกำรทุจริต
ประพฤติมิชอบและเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล
กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบ
เรื่องกำรทุจริต และเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล
ส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๘๒ - ๓ นัยนำ พิมพ์
อุสำห์ / นัยนำ ทำน
ก
รายนามคณะกรรมาธิการ
พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ
ประธานคณะกรรมาธิการ
พลเอก ส ำเริง ศิวำด ำรงค์ นำยธำนี อ่อนละเอียด
รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง
หม่อมหลวงสกุล มำลำกุล นำงสำวดำวน้อย สุทธินิภำพันธ์
รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่
นำยวิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร นายประสิทธิ์ ปทุมารักษ์ นำงสำววิไลลักษณ์ อรินทมะพงษ์
เลขานุการคณะกรรมาธิการ รองเลขานุการคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ
ข
พลเอก วิชิต ยำทิพย์
ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
พลอำกำศเอก ถำวร มณีพฤกษ์ พลเอก เลิศฤทธิ์ เวชสวรรค์
ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
พลต ำรวจโท ตรีทศ รณฤทธิวิชัย นายอมร นิลเปรม
ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
ค
พลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสำร นำงวรำรัตน์ อติแพทย์
กรรมำธิกำร กรรมำธิกำร
นำยสมเดช นิลพันธุ์ พลต ำรวจโท สมบัติ มิลินทจินดำ
กรรมำธิกำร กรรมำธิกำร
นำยสัญชัย จุลมนต์ พลเอก อำชำไนย ศรีสุข
กรรมำธิกำร กรรมำธิกำร
ง
รายงานการพิจารณา
เรื่อง การจัดท าระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ของคณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต ประพฤติมิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล
วุฒิสภา
ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗/๒๕๖๒ (สมัยสามัญประจ าปีครั้งที่หนึ่ง) วันอังคารที่ ๑๐
กันยายน ๒๕๖๒ ที่ประชุมวุฒิสภาได้ลงมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจ าสภาตามข้อบังคับ
การประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๗๘ (๒๓) ซึ่งคณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต ประพฤติ
มิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา เป็นคณะกรรมาธิการสามัญประจ าวุฒิสภา มีหน้าที่และอ านาจ
พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ กระท ากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง ศึกษาตรวจสอบเรื่องการกระท า
การทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานอื่น การเสริมสร้างธรรมาภิบาล
ในการบริหารราชการแผ่นดินตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และศึกษาเรื่องใด ๆ เกี่ยวกับกลไก กระบวนการและมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ประพฤติมิชอบ พิจารณาศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บัดนี้ คณะกรรมาธิการได้ด าเนินการพิจารณาศึกษา เรื่อง การจัดท าระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เสร็จเรียบร้อยแล้ว
จึงขอรายงานผลการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกล่าวต่อวุฒิสภา ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๙๘ ดังนี้
๑. การด าเนินงาน
๑.๑ คณะกรรมาธิการได้มีมติเลือกต าแหน่งต่าง ๆ ดังนี้
๑.๑.๑ พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ เป็นประธานคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๒ พลเอก ส ำเริง ศิวำด ำรงค์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง
๑.๑.๓ นำยธำนี อ่อนละเอียด เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง
๑.๑.๔ หม่อมหลวงสกุล มำลำกุล เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม
๑.๑.๕ นำงสำวดำวน้อย สุทธินิภำพันธ์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่
๑.๑.๖ นำยวิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๗ นำยประสิทธิ์ ปทุมำรักษ์ เป็นรองเลขานุการคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๘ นำงสำววิไลลักษณ์ อรินทมะพงษ์ เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๙ พลเอก วิชิต ยำทิพย์ เป็นประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๑๐ พลเอก เลิศฤทธิ์ เวชสวรรค์ เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
จ
๑.๑.๑๑ พลอำกำศเอก ถำวร มณีพฤกษ์ เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๑๒ พลต ำรวจโท ตรีทศ รณฤทธิวิชัย เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๑๓ นายอมร นิลเปรม เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๑๔ พลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสำร เป็นกรรมาธิการ
๑.๑.๑๕ นำงวรำรัตน์ อติแพทย์ เป็นกรรมำธิกำร
๑.๑.๑๖ นำยสมเดช นิลพันธุ์ เป็นกรรมาธิการ
๑.๑.๑๗ พลต ำรวจโท สมบัติ มิลินทจินดำ เป็นกรรมาธิการ
๑.๑.๑๘ นำยสัญชัย จุลมนต์ เป็นกรรมาธิการ
๑.๑.๑๙ พลเอก อำชำไนย ศรีสุข เป็นกรรมาธิการ
๒. วิธีการพิจารณาศึกษา
๒.๑ คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุม จ านวน ๖ ครั้ง
๒.๒ คณะกรรมาธิการได้ด าเนินการโดยการเชิญหน่วยงานมาให้ข้อมูลข้อเท็จจริง
และประกอบการพิจารณา ดังนี้
๒.๒.๑ กระทรวงมหาดไทย
กรมการปกครอง
(๑) นายวิฑูร ทับเปนไทย ต าแหน่ง หัวหน้ากลุ่มงานพัสดุ
กองคลัง
(๒) นำงสำวศิริพร เล่ห์อิ่ม ต ำแหน่ง นักวิชำกำรพัสดุช ำนำญกำร
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
(๑) นางสาวบานชื่น วิจิตรกานต์วงศ์ ต าแหน่ง ผู้อ านวยการกองคลัง
(๒) นำยธนนิติ บุญปก ต ำแหน่ง นักจัดกำรงำนทั่วไปช ำนำญกำร
๒.๒.๒ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(๑) นางสมศรี หอกันยา ต าแหน่ง ผู้อ านวยการศูนย์เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
(๒) นำยทรงวุฒิ โชติกำญจนวิทย์ ต ำแหน่ง นักวิชำกำรคอมพิวเตอร์
ช ำนำญกำรพิเศษ
(๓) นำยรังสฤษฎ์ น้อยอุบล ต ำแหน่ง นักวิชำกำรคอมพิวเตอร์ช ำนำญกำร
๒.๒.๓ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
- นางสาวจุฑามาส อุดมสรยุทธ ต าแหน่ง ผู้ช่วยอ านวยการ สวทช.
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
- นายวสันต์ ภัทรอธิคม ต าแหน่ง นักวิจัยอาวุโส
๒.๒.๔ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ส านักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.)
- นายจิรชาติ ทิพย์พงษ์จิตรา ต าแหน่ง นักกลยุทธอาวุโส
ฉ
๒.๒.๕ สภาสถาปนิก
- พลอากาศตรีหม่อมหลวงประกิตติ เกษมสันต์ ต าแหน่ง นายกสภาสถาปนิก
๒.๒.๖ สภาวิศวกร
- นางสาวพัชญา บุญกรองแก้ว ต าแหน่ง ผู้ช่วยหัวหน้าส านักกฎหมาย
และจรรยาบรรณ
๒.๒.๗ สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
(๑) นายกฤษดา จันทร์จ ารัสแดง ต าแหน่ง อุปนายกสมาคม
(๒) นางสาวผกาวดี สุนทรธรรม ต าแหน่ง ผู้จัดการสมาคม
(๓) นายศิรวัจน์ โอฬารธนสิน ต าแหน่ง กรรมการสมาคม
๒.๒.๘ กรมโยธาธิการและผังเมือง
(๑) นางภัททิรา สุริวรรณ ต าแหน่ง ผู้อ านวยการกองคลัง
(๒) นางสาวภาวิณี จูดคง ต าแหน่ง นักวิชาการพัสดุช านาญการพิเศษ
(๓) นางสาวฐิติกาญจน์ ทินอุทัย ต าแหน่ง นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ
๒.๓ อนุกรรมาธิการได้มีมติเดินทางไปศึกษาดูงาน จ านวน ๔ ครั้ง ดังนี้
๒.๓.๑ จังหวัดเชียงราย เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑ - วันเสาร์ที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๔
๒.๓.๒ จังหวัดระยอง เมื่อวันอังคารที่ ๑๔ - วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๔
๒.๓.๓ จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันพุธที่ ๑๕ - วันศุกร์ที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๔
๒.๓.๔ จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันพุธที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๔
๓. ผลการพิจารณาศึกษา
คณะกรรมาธิการขอรายงานผลการพิจารณาศึกษา เรื่อง การจัดท าระบบการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยคณะกรรมาธิการ
ซึ่งคณะกรรมาธิการได้พิจารณารายงานด้วยความละเอียดรอบคอบแล้ว และได้มีมติให้ความเห็นชอบ
กับรายงานดังกล่าว
จากการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการจึงขอเสนอรายงาน
การพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ โดยมีรายละเอียดตามรายงานท้ายนี้ เพื่อให้วุฒิสภาได้พิจารณา
หากวุฒิสภาให้ความเห็นชอบด้วยกับผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการขอให้โปรดแจ้งไปยัง
คณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาและด าเนินการตามแต่จะเห็นสมควรต่อไป ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ
และประชาชนสืบไป
(นายวิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร)
เลขานุการคณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต
ประพฤติมิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล
วุฒิสภา
ช
บทสรุปผู้บริหาร
ด้วยสถานการณ์การทุจริต (Corruption) เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ
ของภาครัฐ เป็นปัญหาส าคัญระดับประเทศ เนื่องจากเป็นการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงิน
งบประมาณแผ่นดินเป็นจ านวนมาก ซึ่งเมื่อพิจารณาข้อมูลงบประมาณเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของ
หน่วยงานภาครัฐในระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ พบว่า มีจ านวนเงินงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
และมูลค่าโครงการรวมที่มีมูลค่าสูงขึ้นทุกปี ส่วนในด้านจ านวนโครงการก็เพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน กล่าวคือ
เมื่อเปรียบเทียบงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่มีจ านวนงบประมาณ
จัดซื้อจัดจ้าง ๑,๑๒๙,๒๘๓.๐๑ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๑๑๙,๒๓๒.๓๐ ล้านบาท และจ านวน
โครงการรวม ๓,๔๗๐,๕๕๑ โครงการ กับปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่มีจ านวนงบประมาณจัดซื้อจัดจ้าง
๑,๒๑๗,๕๖๘.๔๐ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๐๙๖,๕๖๙.๕๕ ล้านบาท และจ านวนโครงการรวม
๔,๔๐๐,๗๑๗ โครงการ จะเห็นได้ว่า มีแนวโน้มงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างที่ค่อนข้างสูง ขณะเดียวกัน
จ านวนโครงการก็จะยิ่งทวีเพิ่มมากขึ้น และเมื่อพิจารณาในรายละเอียดเกี่ยวกับมูลค่าโครงการ
ซึ่งจ าแนกตามประเภทโครงการ พบว่า มูลค่าโครงการประเภทจ้างก่อสร้างเป็นโครงการที่มีมูลค่า
งบประมาณสูงที่สุดในทุกปี ประกอบกับเมื่อพิจารณาข้อมูลดัชนีชี้วัดความโกงหรือดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์
รัปชัน หรือ (Corruption Perceptions Index : CPI) ซึ่งจัดท าโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ
(Transparency International : TI) ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้ก่อตั้งขึ้นเพื่อรณรงค์แก้ไขปัญหา
การทุจริตหรือคอร์รัปชัน โดยเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔ องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติหรือ TI ได้
แถลงรายงาน ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันโลก ประจ าปี ๒๕๖๓ จาก ๑๘๐ ประเทศทั่วโลก พบว่า
ประเทศไทย มีคะแนนจ านวน ๓๖ คะแนน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) อยู่ในล าดับที่ ๑๐๔ จากประเทศที่
เข้าร่วมประเมินทั้งหมด ๑๘๐ ประเทศ และอยู่ในอันดับที่ ๕ ของกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งสะท้อน
ความหมายว่า การทุจริตหรือคอร์รัปชันในประเทศไทยยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง และมีผลกระทบโดยตรงต่อ
ประชาชนในการใช้ประโยชน์จากโครงการที่ภาครัฐด าเนินการจัดซื้อจัดจ้าง อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อ
ภาพลักษณ์ประเทศเพราะเป็นการท าลายความน่าเชื่อถือของประเทศในสายตาของนักลงทุนต่างชาติอีกด้วย
ซึ่งจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของประเทศ
ขณะที่ในปัจจุบันการแก้ปัญหาการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐจะใช้วิธีการตรวจสอบ
และป้องกันปราบปรามการทุจริตโดยการตั้งคณะบุคคลขึ้นมาตรวจสอบ หรือการให้มีการร้องเรียนผ่าน
ช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานตรวจสอบต่าง ๆ นั้น วิธีการตรวจสอบ
โดยการตั้งคณะบุคคลต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต หรือการให้มีการร้องเรียนแต่
ซ
เพียงอย่างเดียวนั้น อาจจะไม่เพียงพอต่อการสกัดกั้นหรือลดการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ
ของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง
ดังนั้น การสร้างเครื่องมือที่เป็นระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม
การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ โดยการน าเทคโนโลยีรูปแบบ QR Code มาใช้งานในการเป็นตัว
สื่อกลางในการส่งข้อมูลหรือแจ้งเบาะแสเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการติดตามตรวจสอบ ป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตจึงเป็นสิ่งส าคัญที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบและป้องกัน
การทุจริต ซึ่งเทคโนโลยีรูปแบบ QR code ย่อมาจาก Quick Response Code ที่สามารถใช้สมาร์ทโฟน
ั
เพื่ออ่านข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อความ เบอร์โทรศัพท์ URL เพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกบ
การด าเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่เป็นการเปิดเผย โปร่งใส และมีกลไกในการป้องกัน
ปราบปรามการทุจริตในทุกขั้นตอน ตลอดจนมีกลไกในการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วน
บุคคลให้กับประชาชนที่แจ้งเบาะแสหรือให้ข้อมูลการทุจริตในการจัดซื้อ จัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ
โดยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
็
ปลอดภัย และยังเปนการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ
ติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐอันจะท าให้เกิดประโยชน์
สูงสุดต่อประเทศและความผาสุกของประชาชน
โครงการศึกษาและจัดท าระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต
คอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบ QR Code ที่คณะกรรมาธิการได้ริเริ่มด าเนินการ
พิจารณาศึกษานั้น จะเป็นเครื่องมือหรือกลไกส าคัญในการเปิดโอกาสและสร้างแรงจูงใจให้เครือข่ายภาค
ประชาสังคมหรือประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมเฝ้าระวัง สอดส่อง และแจ้งเบาะแสการทุจริตในพื้นที่ของตน
เนื่องจากได้เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและตรวจสอบการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างโครงการ
ต่าง ๆ ของภาครัฐ ในรูปแบบ “๑ โครงการ ๑ QR Code” โดยมีการติดรหัส QR Code ดังกล่าวไว้ตาม
ป้ายโครงการต่าง ๆ จะท าให้สามารถตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างโครงการได้ตั้งแต่เริ่มโครงการ
ระหว่างด าเนินโครงการ และสิ้นสุดโครงการ ตลอดจนท าให้เกิดความสะดวกในการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดใน
แต่ละโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐที่มีการจัดซื้อจัดจ้างว่า มีการเปลี่ยนชื่อใช้งบประมาณด าเนินโครงการ
จ านวนเท่าไหร่ และเป็นโครงการเดิมที่เคยด าเนินโครงการนี้ไปแล้วหรือไม่ ประการใด ซึ่งหากโครงการใดที่
ด าเนินการแล้วไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและมีการทุจริตเกิดขึ้นก็สามารถที่จะร้องเรียนโครงการนี้
ได้โดยสแกนรหัส QR Code เพื่อแจ้งเบาะแสการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งจะท าให้งบประมาณที่ถูก
น าไปใช้จ่ายในแต่ละโครงการ เกิดความคุ้มค่าต่อการลงทุน และไม่เกิดความซ้ าซ้อนในการขออนุมัติงบประมาณ
ฌ
เพื่อด าเนินโครงการที่มีลักษณะเดียวกันอีก อีกทั้งการจัดท ารหัส QR Code จะท าให้ง่ายต่อการติดตาม
ตรวจสอบโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐที่มีการจัดซื้อจัดจ้างด้วย ซึ่งโครงการดังกล่าวนี้สอดคล้องกับแนวคิด
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) ที่เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ในทางการเมืองการปกครองมากยิ่งขึ้นมิใช่เพียงให้ประชาชนสามารถใช้อ านาจอธิปไตยของตนผ่านการ
เลือกตั้งเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความเคลื่อนไหว
และความคืบหน้าของการบริหารจัดการประเทศ หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบเฝ้าระวัง สอดส่อง
และแจ้งเบาะแสการทุจริต ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผน
ปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับ
สมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ข้อ ๔.๖ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต
และประพฤติมิชอบ โดยเน้นให้ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกันการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ กิจกรรมปฏิรูปที่ ๑ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้าน การทุจริต
ประกอบกับแผนย่อยการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ที่ก าหนดแนวทางการพัฒนาให้ส่งเสริมการ
ปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความใสสะอาดปราศจากพฤติกรรมที่ส่อไปในทาง
ทุจริต โดยการปฏิบัติหน้าที่ราชการอย่าเปิดเผย โปร่งใส ถูกต้องเป็นธรรม ไม่คดโกง รู้จักแยกแยะเรื่อง
ส่วนตัวออกจากหน้าที่การงาน การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน ตลอดจนการสร้างจิตส านึกและ
ค่านิยมในการต่อต้านการทุจริตให้แก่บุคคลากรขององค์กร โดยการสนับสนุนให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐ
เข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายต่อต้านการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการเฝ้า
ระวัง สอดส่อง ติดตามพฤติกรรมเสี่ยงและแจ้งเบาะแส เพื่อสกัดกั้นมิให้เกิดการทุจริต ประพฤติมิชอบได้
โดยมีมาตรการสนับสนุนและคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส และแผนย่อยการปราบปรามการทุจริต ตามแนวทาง
การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการด าเนินงานของกระบวนการและกลไกการปราบปรามการทุจริต โดยการ
ปรับกระบวนการท างานด้านการปราบปรามการทุจริตเข้าสู่ระบบดิจิทัลมาใช้ในกระบวนการท างานด้านการ
ปราบปรามการทุจริตให้ได้มาตรฐานสากลและเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงาน
ทั้งภาครัฐและเอกชนต่าง ๆ ในการตรวจสอบความถูกต้อง ปรับปรุงกระบวนการปราบปรามการทุจริตที่มี
ความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
สารบัญ
หน้า
บทที่ ๑ บทนำ................................................................................................................................... ๑
๑.๑ ความเป็นมาหรือสภาพปัญหา ..................................................................................... ๑
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ......................................................................................... ๓
๑.๓ ขอบเขตของการศึกษา ................................................................................................ ๓
๑.๔ วิธีการดำเนินการศึกษา ......................................................................................... ๔
๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ .......................................................................................... ๕
บทที่ ๒ กฎหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศและนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง
กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต ..................................................... ๗
๒.๑ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง …................................................................................................. ๗
๒.๑.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ……….................... ๗
๒.๑.๒ พระราชบัญญัติ และที่เกี่ยวข้อง ................................................................. ๑๐
๑) พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ... ๑๐
๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ...................................................................... ๑๑
๓) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ................................................................... ๑๒
๔) พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบ
ดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ .............................................................................. ๑๕
๕) พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ...................... ๑๖
๖) พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ........................ ๑๘
๒.๒ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ .......... ๒๐
๒.๒.๑ เป้าหมาย ………....................................................................................……. ๒๑
๒.๒.๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ ....…….....…...........................................................……. ๒๑
สารบัญ
หน้า
๒.๓ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) (แผนย่อยการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ) ................................. ๒๓
๒.๔ ยุทธศาสตร์ (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต)…. ๒๔
๒.๕ แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ...............………………………………………………. ๒๖
๒.๕.๑ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ...................... ๒๖
๒.๕.๒ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ..................................................................... ๒๘
๒.๖ นโยบายของรัฐบาล .............................................………………………………………………. ๒๙
บทที่ ๓ แนวคิด ทฤษฎี และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้าน
การทุจริต และรูปแบบ QR Code ................................................................................ ๓๓
๓.๑ แนวคิดการมีส่วนรวมของประชาชน …....................................................................... ๓๓
๓.๑.๑ ความหมายการมีส่วนรวมของประชาชน ............................................……. ๓๔
๓.๑.๒ รูปแบบและลักษณะการมีส่วนรวมของประชาชน ..............................……. ๓๕
๓.๒ แนวคิดการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Governance) ............... ๓๗
๓.๒.๑ ความหมายการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ................................…...…. ๓๗
๓.๒.๒ ประโยชน์ของการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ..................................…. ๓๘
๓.๓ แนวคิดหลักธรรมาภิบาล (GoodGovernance) ........................................................ ๓๙
๓.๓.๑ ความหมายของธรรมาภิบาล...............................................................……. ๔๐
ิ
๓.๓.๒ หลักการพื้นฐานของการสร้างธรรมาภบาลในองค์กร .........................……. ๔๐
๓.๔ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity
and Transparency Assessment : ITA) .................................................................................... ๔๒
๓.๕ ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) .. ๔๔
๓.๖ การเข้าถึงเทคโนโลยีของคนไทย .............................................................................. ๕๒
๓.๗ นโยบายแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ .............. ๕๕
๓.๘ การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในต่างประเทศ .................................................................... ๕๗
๓.๙ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับรูปแบบของ QR Code ………………………………………………….. ๕๙
สารบัญ
หน้า
บทที่ ๔ ผลการพิจารณาศึกษา ........................................................................................................ ๖๕
๔.๑ การรับความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง .................................................................. ๖๖
๔.๒ การเดินทางลงพื้นที่ เพื่อความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ...................................... ๘๗
๔.๓ การวิเคราะห์ผลรับความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง .............................................. ๑๐๒
บทที่ ๕ สรุปผลการพิจารณาศึกษา ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ …………………………………..…....…… ๑๐๕
๕.๑ สรุปผลการพิจารณาศึกษา ......................................................................................... ๑๐๕
๕.๒ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ........................................................................................ ๑๐๗
บรรณานุกรม ....................................................................................................................................
ภาคผนวก .........................................................................................................................................
บทที่ ๑
บทน ำ
๑.๑ ควำมเป็นมำและสภำพปัญหำ
ด้วยสถานการณ์การทุจริต (Corruption) เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ
ของภาครัฐ เป็นปัญหาส าคัญระดับประเทศ เนื่องจากเป็นการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงิน
งบประมาณแผ่นดินเป็นจ านวนมาก ซึ่งเมื่อพิจารณาข้อมูลงบประมาณเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของ
หน่วยงานภาครัฐในระหว่าง ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ พบว่า มีจ านวนเงินงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
และมูลค่าโครงการรวมที่มีมูลค่าสูงขึ้นทุกปี ส่วนในด้านจ านวนโครงการก็เพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน กล่าวคือ
เมื่อเปรียบเทียบงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ ปี ๒๕๕๘ ที่มีจ านวนงบประมาณ
จัดซื้อจัดจ้าง ๑,๑๒๙,๒๘๓.๐๑ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๑๑๙,๒๓๒.๓๐ ล้านบาท และจ านวน
๒
โครงการรวม ๓,๔๗๐,๕๕๑ โครงการ กับปี ๕ ๖ ๔ ที่มีจ านวนงบประมาณจัดซื้อจัดจ้าง
๑,๒๑๗,๕๖๘.๔๐ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๐๙๖,๕๖๙.๕๕ ล้านบาท และจ านวนโครงการรวม
๔,๔๐๐,๗๑๗ โครงการ จะเห็นได้ว่า มีแนวโน้มงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างที่ค่อนข้างสูง ขณะเดียวกัน
จ านวนโครงการก็จะยิ่งทวีเพิ่มมากขึ้น ดังพิจารณาได้จากตารางแสดงภาพรวมสถิติงบประมาณการจัดซื้อ
จัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ
ตำรำงแสดงภำพรวมสถิติงบประมำณกำรจัดซื้อจัดจ้ำงของหน่วยงำนภำครัฐ
๑
ปีงบประมำณ งบประมำณจัดซื้อจัดจ้ำง มูลค่ำโครงกำรรวม จ ำนวนโครงกำรรวม
(ล้ำนบำท) (ล้ำนบำท) (โครงกำร)
๒๕๕๘ ๑,๑๒๙,๒๘๓.๐๑ ๑,๑๑๙,๒๓๒.๓๐ ๓,๔๗๐,๕๕๑
๒๕๕๙ ๗๕๔,๒๒๒.๙๒ ๖๘๗,๖๘๗.๗๔ ๑,๘๕๔,๗๗๙
๒๕๖๐ ๘๓๙,๐๐๔.๔๑ ๗๔๔,๘๐๖.๑๙ ๒,๐๑๗,๕๑๒
๒๕๖๑ ๑,๐๐๐,๒๐๔.๑๖ ๙๒๑,๗๕๑.๕๓ ๓,๕๒๔,๖๕๘
๒๕๖๒ ๑,๒๑๕,๙๑๐.๓๑ ๑,๑๐๙,๕๘๑.๘๗ ๔,๐๑๐,๑๔๖
๒๕๖๓ ๑,๓๗๕,๒๖๐.๐๒ ๑,๒๑๘,๔๔๒.๐๐ ๔,๙๑๐,๙๕๗
๒๕๖๔ ๑,๒๑๗,๕๖๘.๔๐ ๑,๐๙๖,๕๖๙.๕๕ ๔,๔๐๐,๗๑๗
๑ สืบค้นจาก https://govspending.data.go.th/dashboard/๑ .เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๔.
๒
และเมื่อพิจารณาในรายละเอียดเกี่ยวกับมูลค่าโครงการ ซึ่งจ าแนกตามประเภทโครงการ พบว่า
มูลค่าโครงการประเภทจ้างก่อสร้างเป็นโครงการที่มีมูลค่างบประมาณสูงที่สุดในทุกปี ประกอบกับ
เมื่อพิจารณาข้อมูลดัชนีชี้วัดความโกงหรือดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน หรือ “CPI” (Corruption
Perceptions Index) ซึ่งจัดท าโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International:
TI) ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้ก่อตั้งขึ้น เพื่อรณรงค์แก้ไขปัญหาการทุจริตหรือคอร์รัปชัน
โดยเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔ องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติหรือ TI ได้แถลงรายงาน ดัชนีชี้วัด
ภาพลักษณ์คอร์รัปชันโลก ประจ าปี ๒๕๖๓ จาก ๑๘๐ ประเทศทั่วโลก พบว่า ประเทศไทย มีคะแนน
จ านวน ๓๖ คะแนน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) อยู่ในล าดับที่ ๑๐๔ จากประเทศที่เข้าร่วมประเมิน
ทั้งหมด ๑๘๐ ประเทศ และอยู่ในอันดับที่ ๕ ของกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งสะท้อนความหมายว่า
การทุจริตหรือคอร์รัปชันในประเทศไทยยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง และมีผลกระทบโดยตรงต่อประชาชน
๒
ในการใช้ประโยชน์จากโครงการที่ภาครัฐด าเนินการจัดซื้อจัดจ้าง อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์
ประเทศเพราะเป็นการท าลายความน่าเชื่อถือของประเทศในสายตาของนักลงทุนต่างชาติอีกด้วย
ซึ่งจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของประเทศ
ขณะที่ในปัจจุบันการแก้ปัญหาการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐจะใช้วิธีการ
ตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตโดยการตั้งคณะบุคคลขึ้นมาตรวจสอบ หรือการให้มี
การร้องเรียนผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานตรวจสอบต่าง ๆ นั้น
วิธีการตรวจสอบโดยการตั้งคณะบุคคลต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต
หรือการให้มีการร้องเรียนแต่เพียงอย่างเดียวนั้น อาจจะไม่เพียงพอต่อการสกัดกั้นหรือลดการทุจริต
ในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เป็นรูปธรรม
อย่างแท้จริง
ดังนั้น การสร้างเครื่องมือที่เป็นระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม
การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐจึงเป็นสิ่งที่ส าคัญยิ่ง เช่น การน าเทคโนโลยี QR Code
มาใช้งานในการเป็นตัวสื่อกลางในการส่งข้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการติดตามตรวจสอบ ป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR code) ย่อมาจาก Quick
Response Code ที่สามารถใช้สมาร์ทโฟนเพื่ออ่านข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อความ เบอร์โทรศัพท์ URL
เพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับการด าเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ
ที่เป็นการเปิดเผย โปร่งใส และกลไกในการป้องกันปราบปรามการทุจริตในทุกขั้นตอน ตลอดจนมีกลไก
๒ ค ะ แ น น ดั ช นี ก า ร รั บ รู้ ก า ร ทุ จ ริ ต ( CPI) ๒ ๐ ๒ ๐ สื บ ค้ น จ า ก
https://www.nacc.go.th/files/article/attachments/26809121fcc59b165111ad494e9b86f2f5b8f4f.pdf?fbclid=I
wAR25yhFi4tJQ7gE_9zFIC7smUoNJPfa-lPQbRmjNaNlUbFTmONyvBSzqFSU.เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๔.
๓
ในการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้กับประชาชนที่แจ้งเบาะแสหรือให้ข้อมูล
การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ โดยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล
การจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย อีกทั้งยังเป็น
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนที่เป็นการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อ
จัดจ้างของภาครัฐอันจะท าให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและความผาสุกของประชาชน เกิดความคุ้ม
ค่าสูงสุดของเงินงบประมาณแผ่นดิน ประชาชนได้รับบริการจากการลงทุนโครงการต่าง ๆ ภาครัฐ
ที่มีคุณภาพ ซึ่งสอดรับกับแผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องการทุจริตประพฤติมิชอบ
และเสริมสร้างธรรมาภิบาล จึงเห็นควรด าเนินการศึกษาเพื่อหาวิธีการจัดท าระบบการติดตามตรวจสอบ
และป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและ
ตรวจสอบการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ตามกรอบ
หน้าที่และอ านาจของคณะกรรมาธิการฯ ในรูปแบบการน าเทคโนโลยี QR Code มาใช้ให้เป็นรูปธรรม
และมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นเครื่องมือให้แก่ประชาชนส าหรับใช้ในการติดตาม ตรวจสอบและป้องกัน
ปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นต่อไป
๑.๒ วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ
๑.๒.๑ เพื่อด าเนินการศึกษาเรื่องใด ๆ ตามหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมาธิการ
ศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต ประพฤติมิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล ตามข้อ ๗๘ วรรคสอง (๒๓)
ของข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
๑.๒.๑ เพื่อเป็นการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการมีส่วนร่วม
การตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต ตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตและยุทธศาสตร์ชาติ
๑.๒.๓. เพื่อสร้างระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริ ในการจัดซื้อ
จัดจ้างของภาครัฐในการน าเทคโนโลยี QR Code ส าหรับเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูล
เกี่ยวกับการด าเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐในทุกขั้นตอน
เพื่อที่จะให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก รวดเร็ว และเป็นรูปธรรม
๔
๑.๓ ขอบเขตของกำรศึกษำ
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการจัดท าระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม
การทุจริตคอร์รัปชั่นในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบการน าเทคโนโลยี QR Code ส าหรับ
เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับการด าเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่เป็น
การเปิดเผย โปร่งใส และกลไกในการป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในทุกขั้นตอน รวมทั้ง
มีกลไกในการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้กับประชาชนที่แจ้งเบาะแสหรือ
ให้ข้อมูลการทุจริตคอร์รัปชันในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ
๑.๔ วิธีกำรด ำเนินกำรศึกษำ
ึ
ด าเนินการพิจารณาศึกษาโดยคณะกรรมาธิการศกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต ประพฤติ
มิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล ตามหน้าที่และอ านาจ ตามข้อ ๗๘ วรรคสอง (๒๓) ของข้อบังคับ
การประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยเชิญผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมเพื่อให้
ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะกรรมาธิการ รวมตลอดจนเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ จังหวัด
เชียงราย จังหวัดระยอง จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ
หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งการศึกษาจากเอกสารข้อมูลด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
นอกจากนี้ ยังมีการพิจารณาศึกษากฎหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ
ที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต และนโยบายของรัฐบาล ตลอดจน
แนวคิด ที่มา สภาพปัญหาและผลกระทบจากสถานการณ์การทุจริตคอร์รัปชันเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง
ในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ รวมทั้งเอกสารงานวิจัย บทความ กฎหมาย บทความทางวิชาการ
และบทวิเคราะห์เกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชันเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ
รวมทั้งระเบียบ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อน าข้อมูลที่ได้มาศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อหา
แนวทางในการจัดท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายอันน าไปสู่การแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันเกี่ยวกับ
การจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐที่เหมาะสมกับสังคมไทย เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อขับเคลื่อน และด าเนินการให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
๕
๑.๕ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
๑.๕.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต
คอร์รัปชั่น และภาครัฐมีการด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างในการโครงการต่าง ๆ โดยเปิดเผยข้อมูล
อย่างโปร่งใส
๑.๕.๒ ระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน
ในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่จัดท าในรูปแบบการน าเทคโนโลยี QR Code ส าหรับเชื่อมโยงไปยัง
เว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับการด าเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในโครงการต่าง ๆ
ในทุกขั้นตอน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ข้อมูลโดยสะดวก รวดเร็ว และเป็นรูปธรรม
บทที่ ๒
กฎหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ
และนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต
๒.๑ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๒.๑.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายแม่บทหลักเพื่อใช้เป็นหลัก
ในการปกครอง และเป็นแนวทางในการจัดท ากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่น ซึ่งในเรื่อง
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริตนั้น ถือเป็นกลไกหนึ่งที่รัฐธรรมนูญก าหนดไว้
โดยปรากฏอยู่ในบทบัญญัติต่าง ๆ ของรัฐธรรมนูญ ดังนี้
ค าปรารภของรัฐธรรมนูญ
“...การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด
เด็ดขาด เพื่อมิให้ผู้บริหารที่ปราศจากคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลเข้ามามีอ านาจ
ในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อ านาจตามอ าเภอใจ และการก าหนดมาตรการป้องกันและบริหาร
จัดการวิกฤติการณ์ของประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น...การจะด าเนินการในเรื่องเหล่านี้ให้ลุล่วงไปได้
จ าต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของรัฐตามแนวทาง
ประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครอง
ที่เหมาะสมกับสถานการณ์และลักษณะสังคมไทย หลักความสุจริต หลักสิทธิมนุษยชน และหลักธรรมาภิบาล
อันจะท าให้สามารถขับเคลื่อนประเทศให้พัฒนาไปข้างหน้าได้อย่างเป็นขั้นตอนจนเกิดความมั่นคง มั่งคั่ง
และยั่งยืน ทั้งในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”
มาตรา ๕๐ (๑๐) บุคคลมีหน้าที่ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ
รัฐธรรมนูญแห่งราชการอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติเพิ่มหน้าที่ของ
ปวงชนชาวไทยหลายประการ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรา ๓๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งก าหนดให้ปวงชนชาวไทยมีหน้าที่ต่อประเทศชาติประการต่าง ๆ
โดยการเพิ่มหน้าที่ตามอนุมาตรา (๑๐) ก าหนดหลักการเกี่ยวกับหน้าที่ปวงชนชาวไทยในเรื่องการป้องกัน
และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการต่อต้าน
การทุจริตทุกรูปแบบ
๘
มาตรา ๖๓ รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจาก
การทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มี
ประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกใน
การส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส
โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรานี้เป็นบทบัญญัติใหม่ซึ่งมีความสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ (มาตรา ๓๕ (๓)) เพื่อให้การขจัดการทุจริตเกิดผลอย่างจริงจัง
โดยต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนและประชาชนในการร่วมมือกัน แต่การที่
ประชาชนจะตื่นตัว เพื่อให้ความร่วมมือนั้น รัฐจ าเป็นต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชน
ก่อนเป็นเบื้องต้น เมื่อประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายอันเกิดจากการทุจริตแล้ว จึงจะให้ความร่วมมือ
เพื่อขจัดหรือต่อต้านการทุจริตอย่างได้ผล ในขณะเดียวกันก็ต้องมีหลักประกันว่าประชาชนที่ให้ความ
ร่วมมือแล้วจะได้รับความคุ้มครองจากรัฐไม่ให้ถูกรังแกหรือกลั่นแกล้งได้
มาตรา ๗๘ รัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนา
ประเทศด้านต่าง ๆ การจัดท าบริการสาธารณะทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น การตรวจสอบการใช้
อ านาจรัฐ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดทั้งการตัดสินใจทางการเมือง
และการอื่นใดบรรดาที่อาจมีผลกระทบต่อประชาชนหรือชุมชน
บทบัญญัติแห่งมาตรานี้เป็นบทบัญญัติใหม่ เป็นบทบัญญัติที่ก าหนดให้รัฐส่งเสริม
ให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
โดยก าหนดเป็นนโยบายส าคัญให้รัฐพึงมีแนวนโยบายในการส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้
ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. การจัดท าบริการสาธารณะทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ๒. การตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ
๓. การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๔. การตัดสินใจทางการเมือง และ ๕. การอื่นใดบรรดาที่
อาจมีผลกระทบต่อประชาชนหรือชุมชน
มาตรา ๒๕๘ ให้ด าเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล ดังต่อไปนี้
ฯลฯ ฯลฯ
ข. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
ฯลฯ ฯลฯ
๙
(๕) ให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย
ตรวจสอบได้ และมีกลไกในการป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน
ฯลฯ ฯลฯ
ค. ด้านกฎหมาย
(๑) มีกลไกให้ด าเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับ
อยู่ก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับ
หลักสากล โดยให้มีการใช้ระบบอนุญาตและระบบการด าเนินการโดยคณะกรรมการเพียงเท่าที่จ าเป็น
เพื่อให้การท างานเกิดความคล่องตัว โดยมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และไม่สร้างภาระแก่ประชาชนเกินความ
จ าเป็น เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ฯลฯ ฯลฯ
กล่าวโดยสรุป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ถือเป็นกฎหมายแม่บทที่วางหลักการ
เกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ในการปกครองประเทศ ซึ่งในเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้าน
การทุจริตนั้น ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ บัญญัติไว้ทั้งในค าปรารภของรัฐธรรมนูญที่ก าหนดให้มีการวางกลไก
ป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือ
ระหว่างประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของรัฐตามแนวทางประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์
ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์
และลักษณะสังคมไทย หลักความสุจริต หลักสิทธิมนุษยชน และหลักธรรมาภิบาล โดยรัฐธรรมนูญยัง
ก าหนดให้ประชาชนมีหน้าที่ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ขณะที่
รัฐเองก็มีหน้าที่รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริต
และประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้
ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส โดยได้รับ
ความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ และรัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้
ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบด้วย นอกจากนี้ ในส่วนของ
บทบัญญัติเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศยังมีเน้นให้ด าเนินการปฏิรูปประเทศในด้านการบริหารราชการ
แผ่นดินโดยเฉพาะการให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย
ตรวจสอบได้ และมีกลไกในการป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน รวมถึงด้านกฎหมายที่จะต้องมีกลไก
ให้ด าเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับอยู่ก่อนวันประกาศใช้
รัฐธรรมนูญนี้ให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยให้มี
การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบด้วย
๑๐
๒.๑.๒ พระราชบัญญัติ และที่เกี่ยวข้อง
๑) พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
ส าหรับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ นี้
ได้ตราขึ้นตามความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญที่ต้องการให้มีการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
และเพื่อให้การด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐมีกรอบการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐาน
เดียวกัน โดยการก าหนดเกณฑ์มาตรฐานกลาง เพื่อให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่งน าไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ
โดยมุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนให้มากที่สุด เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเปิดโอกาสให้มี
การแข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างที่ค านึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็นส าคัญ
ซึ่งจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน มีการวางแผนการด าเนินงานและมีการประเมินผล
การปฏิบัติงานซึ่งจะท าให้การจัดซื้อจัดจ้างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งเพื่อให้เป็นไปตามหลัก
ธรรมาภิบาล มีการส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ซึ่งเป็นมาตรการหนึ่งเพื่อป้องกันปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ประกอบกับมาตรการอื่น ๆ เช่น การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะท าให้เกิด
ความโปร่งใสในการด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ อันจะเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับสาธารณชน
และก่อให้เกิดผลดีกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป โดยมีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับ
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการป้องกันการทุจริต ดังนี้
มาตรา ๑๖ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ให้หน่วยงานของรัฐจัด
ให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการสังเกตการณ์ขั้นตอนหนึ่งขั้นตอนใดของการจัดซื้อจัดจ้าง
ของหน่วยงานของรัฐตามที่ก าหนดไว้ในหมวดนี้
มาตรา ๑๗ ในการด าเนินการตามมาตรา ๑๖ คณะกรรมการความร่วมมือป้องกัน
การทุจริต อาจก าหนดให้มีการจัดท าข้อตกลงคุณธรรมตามโครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
ในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐตามมาตรา ๑๘ ก็ได้ ทั้งนี้ การจัดซื้อจัดจ้างที่ต้องจัดท าข้อตกลงคุณธรรม
ดังกล่าวให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต ประกาศก าหนดในราชกิจจา
นุเบกษา โดยอย่างน้อยให้ค านึงถึงวงเงินของการจัดซื้อจัดจ้าง มาตรการป้องกันการทุจริต การจัดซื้อ
จัดจ้างที่มีความเสี่ยงต่อการทุจริต และความคล่องตัวในการด าเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย
คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริตอาจก าหนดวิธีการนอกเหนือจากวรรคหนึ่ง
เพื่ออ านวยความสะดวกให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐก็ได้ ทั้งนี้ ตามที่
คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต ประกาศก าหนดในราชกิจจานุเบกษา
๑๑
มาตรา ๘ ข้อตกลงคุณธรรมตามโครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
๑
ในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ให้จัดท าเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการ
และผู้ประกอบการที่จะเข้ายื่นข้อเสนอ โดยฝ่ายหน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการและฝ่ายผู้ประกอบการ
ที่จะเข้ายื่นข้อเสนอต้องตกลงกันว่าจะไม่กระท าการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง และให้มีผู้สังเกตการณ์
ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ ที่จ าเป็นต่อโครงการจัดซื้อจัดจ้างนั้น ๆ เข้าร่วม
สังเกตการณ์ในการจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่ขั้นตอนการจัดท าร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดของพัสดุ
ที่จะท าการจัดซื้อจัดจ้างและร่างเอกสารเชิญชวนจนถึงขั้นตอนสิ้นสุดโครงการ โดยผู้สังเกตการณ์ต้องมี
ความเป็นกลางและไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียในโครงการการจัดซื้อจัดจ้างนั้น แล้วให้รายงานความเห็นพร้อม
ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริตทราบด้วย
แนวทางและวิธีการในการด าเนินงานโครงการ แบบของข้อตกลงคุณธรรม
การคัดเลือกผู้สังเกตการณ์ และการจัดท ารายงานตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ
ความร่วมมือป้องกันการทุจริต ประกาศก าหนดในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๑๙ ผู้ประกอบการที่อยู่ในประเภทหรือมีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างตามที่
คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริตประกาศก าหนดในราชกิจจานุเบกษา หากประสงค์จะเข้า
ยื่นข้อเสนอกับหน่วยงานของรัฐในการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องจัดให้มีนโยบาย
ในการป้องกันการทุจริตและมีแนวทางป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างที่เหมาะสม
มาตรฐานขั้นต่ าของนโยบายและแนวทางป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง
ที่ผู้ประกอบการต้องจัดให้มีตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
ประกาศก าหนดในราชกิจจานุเบกษา
๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ตราขึ้นเพื่อปรับปรุงระบบ
บริหารราชการเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการแก่ประชาชน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นโดยก าหนดให้การบริหารราชการแนวทางใหม่ต้องมีการก าหนดนโยบาย
เป้าหมาย และแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละระดับ
ได้อย่างชัดเจน มีกรอบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการก ากับการก าหนดนโยบายและ
การปฏิบัติราชการ และเพื่อให้กระทรวงสามารถจัดการบริหารงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้
จึงก าหนดให้มีรูปแบบการบริหารใหม่ โดยกระทรวงสามารถแยกส่วนราชการจัดตั้งเป็นหน่วยงานตาม
ภาระหน้าที่ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและสอดคล้องกับเป้าหมายของงานที่จะต้องปฏิบัติ และก าหนดให้
มีกลุ่มภารกิจของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มีงานสัมพันธ์กัน เพื่อที่จะสามารถก าหนดเป้าหมายการท างาน
๑๒
ร่วมกันได้ และมีผู้รับผิดชอบก ากับการบริหารงานของกลุ่มภารกิจนั้นโดยตรงเพื่อให้งานเป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว รวมทั้งให้มีการประสานการปฏิบัติงาน และการใช้งบประมาณเพื่อที่จะให้
การบริหารงานของทุกส่วนราชการบรรลุเป้าหมายของกระทรวงได้อย่างมีประสิทธิภาพและลด
ความซ้ าซ้อน มีการมอบหมายงานเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ และสมควรก าหนดการบริหาร
ราชการในต่างประเทศให้เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติหน้าที่และสามารถปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็ว
และมีเอกภาพ โดยมีหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการ นอกจากนี้ สมควรให้มี
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเพื่อเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลการจัดส่วนราชการและ
การปรับปรุงระบบการท างานของภาคราชการให้มีการจัดระบบราชการอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
โดยมีการหลักการส าคัญในการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติฉบับนี้ นอกจากการปรับปรุงองค์ประกอบ
ขององค์กรการบริหารราชการแผ่นดินแล้ว ยังมีการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการท างานของ
ภาคราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนในบทบัญญัติ ดังนี้
มาตรา ๓/๑ วรรคสาม และวรรคสี่
ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ค านึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผย
ข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ
เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกาก าหนด
หลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติ
ก็ได้
๓) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. ๒๕๔๖
ส าหรับพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ เป็นการตราขึ้นสืบเนื่องจากที่มีการปฏิรูประบบราชการ
เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและให้บริการแก่ประชาชน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งการบริหารราชการและการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการนี้ ต้องใช้
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจ าเป็น และประชาชนได้รับการอ านวยความสะดวกและได้รับ
การตอบสนองความต้องการ รวมทั้งมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ าเสมอ และเนื่องจาก
มาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติให้การก าหนด
หลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติราชการ
๑๓
เพื่อให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีกระท าโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา จึงมีการตรา
พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ขึ้น โดยหลักการส าคัญของกฎหมายฉบับนี้ ปรากฏในบทบัญญัติดังต่อไปนี้
มาตรา ๖ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุ
เป้าหมาย ดังต่อไปนี้
(๑) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
(๒) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
(๓) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
(๔) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจ าเป็น
(๕) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
(๖) ประชาชนได้รับการอ านวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
(๗) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ าเสมอ
มาตรา ๘ ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ส่วนราชการจะต้อง
ด าเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็นศูนย์กลางที่จะได้รับการบริการจากรัฐ และจะต้องมีแนวทาง
การบริหารราชการ ดังต่อไปนี้
(๑) การก าหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์
ตามมาตรา ๗ และสอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา
(๒) การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดยซื่อสัตย์สุจริต สามารถ
ตรวจสอบได้ และมุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
(๓) ก่อนเริ่มด าเนินการ ส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสียให้
ครบถ้วนทุกด้าน ก าหนดขั้นตอนการด าเนินการที่โปร่งใส มีกลไกตรวจสอบการด าเนินการในแต่ละ
ขั้นตอน ในกรณีที่ภารกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องด าเนินการรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชนหรือชี้แจงท าความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับ
จากภารกิจนั้น
(๔) ให้เป็นหน้าที่ของข้าราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจ
ของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้มี
การปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้เหมาะสม
(๕) ในกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการด าเนินการ ให้ส่วนราชการด าเนินการ
แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหาหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจากส่วนราชการอื่นหรือ
ระเบียบข้อบังคับที่ออกโดยส่วนราชการอื่น ให้ส่วนราชการแจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
เพื่อด าเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป และให้แจ้ง ก.พ.ร. ทราบด้วย
๑๔
การด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการก าหนดวิธีปฏิบัติให้เหมาะสมกับภารกิจ
แต่ละเรื่อง ทั้งนี้ ก.พ.ร. จะก าหนดแนวทางการด าเนินการทั่วไปให้ส่วนราชการปฏิบัติให้เป็นไป
ตามมาตรานี้ด้วยก็ได้
มาตรา ๒๓ ในการจัดซื้อหรือจัดจ้าง ให้ส่วนราชการด าเนินการโดยเปิดเผยและ
เที่ยงธรรม โดยพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์
ที่จะใช้ ราคา และประโยชน์ระยะยาวของส่วนราชการที่จะได้รับประกอบกัน
ในกรณีที่วัตถุประสงค์ในการใช้เป็นเหตุให้ต้องค านึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษา
เป็นส าคัญ ให้สามารถกระท าได้โดยไม่ต้องถือราคาต่ าสุดในการเสนอซื้อหรือจ้างเสมอไป
ให้ส่วนราชการที่มีหน้าที่ดูแลระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุปรับปรุงระเบียบที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้ส่วนราชการด าเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชนหรือการติดต่อ
ประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ให้ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดท าแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลา
การด าเนินการ รวมทั้งรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนเปิดเผยไว้ ณ ที่ท าการของ
ส่วนราชการและในระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
เข้าตรวจดูได้
มาตรา ๓๙ ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ
เพื่ออ านวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะสามารถติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ระบบเครือข่ายสารสนเทศตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดท าในระบบเดียวกับที่กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจัดให้มีขึ้นตามมาตรา ๔๐
มาตรา ๔๐ เพื่ออ านวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชนในการติดต่อกับ
ส่วนราชการทุกแห่ง ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศ
กลางขึ้น
ในกรณีที่ส่วนราชการใดไม่อาจจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการได้
อาจร้องขอให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด าเนินการจัดท าระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ของส่วนราชการดังกล่าวก็ได้ ในการนี้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะขอให้
ส่วนราชการให้ความช่วยเหลือด้านบุคลากร ค่าใช้จ่าย และข้อมูลในการด าเนินการก็ได้
มาตรา ๔๑ ในกรณีที่ส่วนราชการได้รับค าร้องเรียน เสนอแนะ หรือความคิดเห็น
เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติราชการ อุปสรรค ความยุ่งยาก หรือปัญหาอื่นใดจากบุคคลใด โดยมีข้อมูลและสาระ
ตามสมควร ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้นที่จะต้องพิจารณาด าเนินการให้ลุล่วงไป และในกรณีที่มี
๑๕
ที่อยู่ของบุคคลนั้น ให้แจ้งให้บุคคลนั้นทราบผลการด าเนินการด้วย ทั้งนี้ อาจแจ้งให้ทราบผ่านทางระบบ
เครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการด้วยก็ได้
ในกรณีการแจ้งผ่านทางระบบเครือข่ายสารสนเทศ มิให้เปิดเผยชื่อหรือที่อยู่ของ
ผู้ร้องเรียน เสนอแนะ หรือแสดงความคิดเห็น
กล่าวโดยสรุป กฎหมายในระดับพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง
ได้บัญญัติหลักการที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต โดยเฉพาะส่วนที่
เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างได้มีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ในเรื่องส าคัญ ๆ หลายประการ อาทิ การจัดให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วม
ในการสังเกตการณ์ขั้นตอนหนึ่งขั้นตอนใดของการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ และการจัดระบบ
บริหารราชการแผ่นดินเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการ
แก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ค านึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของ
ประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมีการตราพระราชกฤษฎีกาก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
ในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติ กล่าวคือ พระราชกฤษฎีกาว่า
ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งทุกส่วนราชการยังคงใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัติราชการตลอดมา
๔) พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒
พระราชบัญญัติฉบับนี้เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีความก้าวหน้า
และเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตและการประกอบธุรกิจของประชาชน ซึ่งในการบริหารงานและการให้บริการ
ภาครัฐที่ผ่านมายังมิได้น าเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพและอ านวยความสะดวก
แก่ประชาชนได้อย่างเต็มที่ และโดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้มีการปฏิรูปประเทศ
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยให้มีการน าเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหาร
ราชการแผ่นดินและการจัดท าบริการสาธารณะ และให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐ
ทุกหน่วยงานเข้าด้วยกันเพื่อให้เป็นระบบข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดินและเพื่อ
อ านวยความสะดวกให้แก่ประชาชน สมควรให้มีกฎหมายในการขับเคลื่อนให้เกิดการปฏิรูปการบริหาร
ราชการแผ่นดินและการบริการประชาชนตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และเพื่อยกระดับ
การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐให้อยู่ในระบบดิจิทัล อันจะน าไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล
ที่มีระบบการท างานและข้อมูลเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานของรัฐอย่างมั่นคงปลอดภัย มีประสิทธิภาพ
รวดเร็ว เปิดเผยและโปร่งใส รวมทั้งประชาชนได้รับความสะดวกในการรับบริการและสามารถตรวจสอบ
๑๖
การด าเนินงานของหน่วยงานของรัฐได้ ซึ่งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการจัดท าระบบติดตามตรวจสอบ
และป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบการจัดท า
QR Code มีดังนี้
มาตรา ๔ เพื่อให้การบริหารงานภาครัฐและการจัดท าบริการสาธารณะเป็นไปด้วย
ความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการให้บริการและการอ านวยความสะดวกแก่
ประชาชน ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการบริหารงานและการจัดท าบริการสาธารณะในรูปแบบ
และช่องทางดิจิทัล โดยมีการบริหารจัดการและการบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการท างานให้มี
ความสอดคล้องกันและเชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล โดยมุ่งหมายในการ
เพิ่มประสิทธิภาพและอ านวยความสะดวกในการให้บริการและการเข้าถึงของประชาชน และในการ
เปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อสาธารณะและสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
(๔) การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะที่หน่วยงานของรัฐจัดท าและครอบครองใน
รูปแบบและช่องทางดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยสะดวก มีส่วนร่วมและตรวจสอบ
การด าเนินงานของรัฐ และสามารถน าข้อมูลไปพัฒนาบริการและนวัตกรรมที่จะเป็นประโยชน์ต่อ
ประเทศในด้านต่าง ๆ
มาตรา ๑๗ ให้หน่วยงานของรัฐจัดท าข้อมูลที่ต้องเปิดเผยตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูล
ข่าวสารของราชการในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ โดยต้องให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้
อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และสามารถน าไปเผยแพร่ ใช้ประโยชน์ หรือพัฒนาบริการและนวัตกรรม
ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้ มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ
พัฒนารัฐบาลดิจิทัลก าหนด ซึ่งต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการอ านวยความสะดวกแก่ประชาชนในการ
เข้าถึงข้อมูล
๕) พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
พระราชบัญญัติฉบับนี้เกิดขึ้นเนื่องจากในระบอบประชาธิปไตยการให้ประชาชนมีโอกาส
กว้างขวางในการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการด าเนินการต่าง ๆ ของรัฐเป็นสิ่งจ าเป็น เพื่อที่ประชาชน
จะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง อันเป็นการส่งเสริม
ให้มีความเป็นรัฐบาลโดยประชาชนมากยิ่งขึ้น สมควรก าหนดให้ประชาชนมีสิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสาร
ของราชการ โดยมีข้อยกเว้นอันไม่ต้องเปิดเผยที่แจ้งชัดและจ ากัดเฉพาะข้อมูลข่าวสารที่หากเปิดเผยแล้ว
จะเกิดความเสียหายต่อประเทศชาติหรือต่อประโยน์ที่ส าคัญของเอกชน ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาระบอบ
ประชาธิปไตยให้มั่นคงและจะยังผลให้ประชาชนมีโอกาสรู้ถึงสิทธิหน้าทที่ของตนอย่างเต็มที่ เพื่อที่จะ
ปกปักรักษาประโยชน์ของตนได้อีกประการหนึ่งด้วย ประกอบกับสมควรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการไปพร้อมกัน ซึ่งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการจัดท าระบบติดตาม
๑๗
ตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบ
การจัดท า QR Code มีดังนี้
มาตรา ๗ หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้
ลงพิพม์ในราชกิจจานุเกศา
(๑) โครงสร้างและการจัดองค์กรในการด าเนินงาน
(๒) สรุปอ านาจหน้าที่ที่ส าคัญและวิธีการด าเนินงาน
(๓) สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสาร หรือค าแนะน าในการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ
(๔) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ ค าสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย
หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎ เพื่อให้มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนที่
เกี่ยวข้อง
(๕) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการก าหนด
ข้อมูลข่าวสารใดที่ได้มีการจัดพิมพ์เพื่อให้แพร่หลายตามจ านวนพอสมควรแล้ว ถ้ามีการลง
พิมพ์ในราชกิจจานุเบิกษาโดยอ้างอิงถึงสิ่งพิมพ์นั้นก็ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติตามบทบัญญัติวรรคหนึ่งแล้ว
ให้หน่วยงานของรัฐรวบรวมและจัดให้มีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เผยแพร่เพื่อขาย
หรือจ าหน่าย จ่ายแจก ณ ที่ท าการของหน่วยของรัฐแห่งนั้นตามที่เห็นสมควร
มาตรา ๙ ภายใตบังคับมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ หน่วยงานของรัฐตองจัดใหมีข้อมูล
ข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังตอไปนี้ไวใหประชาชนเขาตรวจดูได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่
คณะกรรมการก าหนด
(๑) ผลการพิจารณาหรือค าวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงตอเอกชน รวมทั้งความเห็นแย้งและ
ค าสั่งที่เกี่ยวของในการพิจารณาวินิจฉัยดังกล่าว
(๒) นโยบายหรือการตีความที่ไม่เขาข่ายตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา ตามมาตรา ๗ (๔)
(๓) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจ าปของปที่ก าลังด าเนินการ
(๔) คูมือหรือค าสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิ หน
าที่ของเอกชน
(๕) สิ่งพิมพที่ได้มีการอ้างอิงถึงมาตรา ๗ วรรคสอง
(๖) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับ
เอกชนในการจัดท าบริการสาธารณะ
(๗) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติ
คณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ใหระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลข่าวสารที่น ามาใช
ในการพิจารณาไวด้วย
(๘) ขอมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการก าหนด
๑๘
ข้อมูลข่าวสารที่จัดใหประชาชนเขาตรวจดูได้ตามวรรคหนึ่ง ถามีสวนที่ตองห้ามมิให
เปิดเผยตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ อยู่ด้วย ใหลบหรือตัดทอนหรือท าโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็น
การเปิดเผยขอมูลข่าวสารสวนนั้น
บุคคลไม่วาจะมีสวนได้เสียเกี่ยวของหรือไม่ก็ตาม ยอมมีสิทธิเขาตรวจดู ขอส าเนาหรือ
ขอส าเนาที่มีค ารับรองถูกตองของขอมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งได้ ในกรณีที่สมควรหน่วยงานของรัฐโดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑเรียกคาธรรมเนียมในการนั้นก็ได้ ในการนี้ใหค านึง
ถึงการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยประกอบด้วย ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไวเป็นอย่างอื่น
คนต่างด้าวจะมีสิทธิตามมาตรานี้เพียงใดให้เป็นไปตามที่ก าหนดโดยกฎกระทรวง
๖) พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
พระราชบัญญัติฉบับนี้เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจุบันมีการล่วงละเมิด สิทธิความเป็นส่วนตัว
ของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจ านวนมากจนสร้างความเดือดร้อนร าคาญหรือความเสียหาย ให้แก่เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีท าให้การเก็บรวบรวม ใช้ หรือ เปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคลอันเป็นการล่วงละเมิดดังกล่าว ท าได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็ว ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
เศรษฐกิจโดยรวม สมควรก าหนดให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นการทั่วไปขึ้น
เพื่อก าหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรือมาตรการก ากับดูแลเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่
เป็นหลักการทั่วไป ซึ่งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการจัดท าระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม
การทุจริตคอร์รัปชั่นในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบการจัดท า QR Code มีดังนี้
มาตรา ๖ ในพระราชบัญญัตินี้
“ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งท าให้สามารถระบุตัวบุคคล
นั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรมโดยเฉพาะ
มาตรา ๑๙ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะกระท าการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคลไม่ได้หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะนั้น เว้นแต่
บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้กระท าได้
การขอความยินยอมต้องท าโดยชัดแจ้ง เป็นหนังสือหรือท าโดยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
เว้นแต่ โดยสภาพไม่อาจขอความยินยอมด้วยวิธีการดังกล่าวได้
ในการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้ง
วัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลไปด้วย และการขอความยินยอมนั้น
ต้องแยกส่วนออกจากข้อความอื่นอย่างชัดเจน มีแบบหรือข้อความที่เข้าถึงได้ง่ายและเข้าใจได้ รวมทั้ง ใช้
ภาษาที่อ่านง่าย และไม่เป็นการหลอกลวงหรือท าให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเข้าใจผิดในวัตถุประสงค์
ดังกล่าว ทั้งนี้ คณะกรรมการจะให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วน
บุคคล ตามแบบและข้อความที่คณะกรรมการประกาศก าหนดก็ได้
๑๙
ในการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องค านึง
อย่างถึงที่สุดในความเป็นอิสระของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในการให้ความยินยอม ทั้งนี้ ในการเข้าท า
สัญญา ซึ่งรวมถึงการให้บริการใด ๆ ต้องไม่มีเงื่อนไขในการให้ความยินยอมเพื่อเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่มีความจ าเป็นหรือเกี่ยวข้องส าหรับการเข้าท าสัญญาซึ่งรวมถึงการ
ให้บริการนั้น ๆ
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจะถอนความยินยอมเสียเมื่อใดก็ได้โดยจะต้องถอนความยินยอม
ได้ง่าย เช่นเดียวกับการให้ความยินยอม เว้นแต่มีข้อจ ากัดสิทธิในการถอนความยินยอมโดยกฎหมายหรือ
สัญญาที่ให้ประโยชน์แก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ การถอนความยินยอมย่อมไม่ส่งผลกระทบต่อ
การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ให้ความยินยอมไปแล้ว
โดยชอบตามที่ก าหนดไว้ในหมวดนี้
ในกรณีที่การถอนความยินยอมส่งผลกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในเรื่องใด
ผู้ควบคุม ข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบถึงผลกระทบจากการถอน
ความยินยอมนั้น
การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่เป็นไปตามที่ก าหนดไว้ในหมวดนี้
ไม่มีผลผูกพันเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และไม่ท าให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสามารถท าการเก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลได้
มาตรา ๗ ห้ามมิให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
๒
โดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่เป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวมได้โดย
ได้รับยกเว้น ไม่ต้องขอความยินยอมตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๖
บุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับข้อมูลส่วนบุคคลมาจากการเปิดเผยตามวรรคหนึ่ง จะต้องไม่
ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อวัตถุประสงค์อื่นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ที่ได้แจ้งไว้กับผู้ควบคุม
ข้อมูลส่วนบุคคลในการขอรับข้อมูลส่วนบุคคลนั้น
ในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้อง
ขอความยินยอมตามวรรคหนึ่ง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องบันทึกการใช้หรือเปิดเผยนั้นไว้ในรายการ
ตามมาตรา ๓๙
๒๐
๒.๒ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
๑
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ เป็นแผนการพัฒนาประเทศที่ก าหนด
กรอบและแนวทางการพัฒนาให้หน่วยงานของรัฐทุกภาคส่วนต้องท าตาม เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์
ประเทศไทยที่ว่า”ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจ าชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
เพื่อสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๕ ก าหนดให้
รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล
เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดท าแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพื่อให้เกิดพลังผลักดันร่วมกัน
ไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ยุทธศาสตร์ชาติเป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องน าไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ข้างต้น
ทั้งนี้ เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน เพื่อให้ประเทศสามารถยกระดับการพัฒนาให้บรรลุวิสัยทัศน์
และเป้าหมายการพัฒนาประเทศ จึงจ าเป็นต้องก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาวที่มุ่งเน้น
การสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย
๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่
๑. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๓. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๕. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๖. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ส าหรับยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตนั้น ปรากฏ
ในข้อ ๔.๖ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ที่มีเป้าหมาย การพัฒนาที่ส าคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน
และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท
๑ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ .สืบค้นจาก
http://plan.bru.ac.th/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B
8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4-20-
%E0%B8%9B%E0%B8%B5-%E0%B8%9E-%E0%B8%A8-2561-2580/.เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔
๒๑
หน่วยงานของรัฐที่ท าหน้าที่ ในการก ากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน
มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการท างานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม
มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัว ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการน านวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการท างานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้
อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้ง มีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและ
เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยม ความซื่อสัตย์สุจริต
ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตส านึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ อย่างสิ้นเชิง
นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จ าเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล
มีประสิทธิภาพ และน าไปสู่การลดความเหลื่อมล้ าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรม
มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการอ านวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงมีเป้าหมายส าคัญในภาพรวมระยะ ๒๐ ปีที่เป็นรูปธรรม
ชัดเจน คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข” โดยเร่งเสริมสร้างความเข้มแข็งและความรัก
ความสามัคคีปรองดอง ของคนในชาติ ตลอดถึงการปลุกจิตส านึกด้านความมั่นคงให้เกิดขึ้นในประชาชน
ทุกระดับ การพัฒนาระบบงาน ด้านการข่าวให้มุ่งเน้นการบูรณาการข้อมูลข่าวสารด้านความมั่นคงอย่าง
เป็นระบบ การพัฒนาปรับปรุงกลไก การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง และกลไกในการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงให้มีเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และมีการบูรณาการการด าเนินงาน
อย่างแท้จริง โดยปัญหาความมั่นคงเร่งด่วน ที่จะต้อง ด าเนินการแก้ไข ประกอบด้วย ปัญหาความมั่นคง
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหายาเสพติด ปัญหา ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ปัญหาอาชญากรรมทางไซเบอร์ และปัญหาการทุจริตในระบบราชการ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณายุทธศาสตร์
ชาติดังกล่าวแล้ว มียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องส าคัญ ๆ ดังนี้
๒.๒.๑ เป้าหมาย (เฉพาะที่เกี่ยวข้อง)
ข้อ ๒.๓ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
๒.๒.๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ (เฉพาะที่เกี่ยวข้อง)
ข้อ ๔.๑.๔ การพัฒนาและเสริมสร้างกลไกที่สามารถป้องกันและขจัดสาเหตุ
ของประเด็นปัญหา ความมั่นคงที่ส าคัญ เพื่อให้ประเทศชาติมีกลไกเฉพาะเจาะจงที่มีประสิทธิภาพ
สามารถแก้ไขต้นเหตุที่เป็น รากเหง้าของปัญหาภายในประเทศทั้งปวงให้หมดไป มีการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง และท าให้เกิดความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม
โดยพัฒนาปรับปรุงกลไกและหน่วยงาน ด้านความมั่นคงที่มีอยู่เดิม เช่น กองอ านวยการรักษา
ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ศูนย์ประสานการปฏิบัติ ในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
เป็นต้น หรือที่ต้องออกแบบใหม่ให้มีประสิทธิภาพ พร้อมรองรับ ปัญหาความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิม
๒๒
และรูปแบบใหม่ได้ทุกมิติ ก าหนดและเสริมสร้างบทบาทของหน่วยงาน องค์กร หรือคณะกรรมการ
ที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบวิธีการด าเนินงาน การบูรณาการการปฏิบัติ ให้สอดคล้อง
เกื้อกูล และต่อเนื่องกัน ตลอดไปจนถึงสามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่สาเหตุได้อย่างแท้จริง
ข้อ ๔.๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม เพื่อให้กลไก
ส าคัญต่าง ๆ ท างาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารและพัฒนา
ประเทศได้อย่างแท้จริงเป็นรูปธรรม มีการใช้หลักธรรมาภิบาล และการบังคับใช้กฎหมายอย่าง
เคร่งครัดและมีประสิทธิภาพ สามารถขจัดปัญหา การทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง
เกิดความมั่นใจได้ว่าหน่วยงานรับผิดชอบทั้งหลักและรองพร้อมรับมือ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบทั้ง
ในปัจจุบันและอนาคต
ข้อ ๔.๖ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทุกภาคส่วน
ร่วมต่อต้านการทุจริตภาครัฐมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสร้างวัฒนธรรมแยกแยะประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม
ของบุคลากรภาครัฐให้เกิดขึ้น รวมทั้งสร้างจิตส านึกและค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตื่นตัวและละอาย
ต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ พร้อมทั้งส่งเสริม สนับสนุน ให้ภาคีองค์กรภาคเอกชน
ภาคประชาสังคม ชุมชน ประชาชน และภาคีต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการสอดส่อง เฝ้าระวัง ให้ข้อมูล
แจ้งเบาะแสการทุจริต และตรวจสอบการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคส่วนอื่น ๆ โดยได้รับ
ความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ
๔.๖.๑ ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกัน
การทุจริตและประพฤติมิชอบ รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิด
จากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน จัดให้มีมาตรการและกลไกที่มี
ประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้ง ส่งเสริม
และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยเฉพาะการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การรณรงค์ให้ความรู้
ต่อต้าน หรือชี้เบาะแสการทุจริต โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ พร้อมทั้ง มีระบบ
การรับเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบที่มีประสิทธิภาพ
๔.๖.๒ บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความ
ซื่อสัตย์สุจริต ก าหนดให้เจ้าพนักงานของรัฐต้องยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลีกเลี่ยงการขัดกันระหว่างประโยชน์บุคคลและประโยชน์
ส่วนรวม รวมทั้งยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
โดยเฉพาะผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ด ารงต าแหน่งในองค์กรอิสระ
ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ด ารงต าแหน่งระดับสูงตามที่กฎหมายก าหนดจะต้องเปิดเผยบัญชีแสดง
รายการทรัพย์สินและหนี้สินให้ประชาชนทราบ
๒๓
๔.๖.๓ การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบมีประสิทธิภาพ
มีความเด็ดขาด เป็นธรรม และตรวจสอบได้ จัดการกับผู้กระท าความผิดทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในทุกระดับอย่างตรงไปตรงมา เป็นธรรม และตรวจสอบได้ พร้อมทั้งให้การด าเนินการตามกระบวนการ
ยุติธรรมปราศจากการแทรกแซงของนักการเมืองและผู้มีอิทธิพล ตลอดจนวางมาตรการคุ้มครองพยาน
และผู้ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ต้องก าหนดให้มีการลงโทษผู้กระท าผิดกรณีทุจริตและประพฤติมิชอบ
อย่างจริงจังและรวดเร็ว
๔.๖.๔ การบริหารจัดการการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
อย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ จัดให้มีกลไกการประสานงานการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ทั้งในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพ
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยการพัฒนาระบบงานและโครงสร้างองค์กร
ที่เอื้อต่อการดาเนินงานแบบบูรณาการและมุ่งผลสัมฤทธิ์
๒.๓ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) (แผนย่อยการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ)
กระบวนการด าเนินงานด้านการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มีการก าหนดยุทธศาสตร์การด าเนินงาน อาทิ “สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต” โดยยุทธศาสตร์
ดังกล่าวมีแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑) ปลูกและปลุกจิตส านึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรม สุจริต และการปลูกฝัง
และหล่อหลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนทุกช่วงวัย ทุกระดับ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม
“คน” โดยการ “ปลูก” และ “ปลุก” จิตส านึกความเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรมสุจริต สามารถแยกแยะ
ได้ว่าสิ่งใด เป็นประโยชน์ส่วนตน สิ่งใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายต่อการกระท าความผิด
ไม่เพิกเฉยอดทน ต่อการทุจริต และเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ รวมถึง
การส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรม และค่านิยมสุจริตในระดับชุมชนเพื่อน าไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ค่านิยมที่ยึดประโยชน์สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการส่งเสริมวัฒนธรรมสุจริตผ่านหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับที่เด็กไทยทุกคน
ต้องเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา เพื่อปฏิรูป “พลเมือง
ไทยในอนาคต” ให้มีความเป็นพลเมืองเต็มขั้น สามารถท าหน้าที่ความเป็นพลเมืองที่ดี มีจิตส านึกยึดมั่น
ในความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีระเบียบวินัย และเคารพกฎหมาย
๔) ปรับ “ระบบ” เพื่อลดจ านวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ
มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการทุจริตอย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนให้การด าเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอนการด าเนินงาน และมีความเท่าทัน
๒๔
ต่อพลวัตของการทุจริต โดยการพัฒนาเครื่องมือ เพื่อสร้างความโปร่งใส มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรม
และมาตรการในการต่อต้านการทุจริตที่มีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต รวมถึงการ
ประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบ หรือแนวทางในบริหาร
จัดการความเสี่ยงของการด าเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต และการบูรณาการติดตามประเมินผล
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐและรัฐวิสาหกิจตั้งแต่
ขั้นวางแผนก่อนด าเนินงาน ขั้นระหว่างการด าเนินงาน และขั้นสรุปผลหลังการด าเนินโครงการ
๕) ปรับระบบงานและโครงสร้างองค์กรที่เอื้อต่อการลดการใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติงาน
ของเจ้าหน้าที่ เช่น การน าระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้แทนการใช้ดุลพินิจเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
การสร้างมาตรฐานที่โปร่งใสในกระบวนการบริการของภาครัฐ ลดขั้นตอนกระบวนการและระยะเวลา
ในการปฏิบัติงานด้วยวิธีปฏิบัติที่ชัดเจนตรวจสอบได้ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
เพื่อลดการใช้ดุลพินิจ ของผู้มีอ านาจในการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต รวมถึงการสร้างความโปร่งใสในการ
บริการข้อมูลภาครัฐทั้งระบบ โดยการพัฒนาระบบข้อมูลดิจิทัลที่มีการ าหนดกฎเกณฑ์ กติกา
กระบวนการ ขั้นตอนการดาเนินงาน การเข้าถึงข้อมูล รวมถึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการใช้
งบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อส่งเสริม การเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ สร้างความโปร่งใส และ
ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการบริหารจัดการของภาครัฐ โดยสาธารณชน ซึ่งรวมถึงการมีกลไกที่เปิด
โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซื้อ จัดจ้างและการดาเนินการภาครัฐ
เพื่อบูรณาการการทางานของรัฐและประชาชน รวมถึงส่งเสริมสนับสนุน การตื่นตัวและเพิ่มขีด
ความสามารถของประชาชนในการร่วมเฝ้าระวัง และป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น ที่มีอยู่ใกล้ตัว
โดยมีมาตรการสนับสนุนและคุ้มครองผู้ชี้เบาะแสที่สามารถสร้างความเชื่อมั่นและมั่นใจให้กับผู้ให้เบาะแส
๒.๔ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๕ ๖ ๐
๒
– ๒๕๖๔)
๒.๔.๑ วิสัยทัศน์
“ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean
Thailand)”
ประเทศไทยในระยะ 5 ปีข้างหน้า จะมุ่งสู่การเป็นประเทศที่มีมาตรฐาน
ทางคุณธรรมจริยธรรม เป็นสังคมมิติใหม่ที่ประชาชนไม่เพิกเฉยต่อการทุจริตทุกรูปแบบ โดยได้รับความ
ร่วมมือจากฝ่ายการเมือง หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนประชาชน ในการพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของชาติ
และประชาชนเพื่อให้ประเทศไทยมีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิในด้านความโปร่งใสทัดเทียมนานา
อารยประเทศ
๒๕
๒.๔.๒ พันธกิจ
“สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
ทุกภาคส่วนแบบบูรณาการและปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ
ให้มีมาตรฐานสากล”
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในระยะ 5 ปีข้างหน้า จะเป็นการปฏิรูป
กระบวนการด าเนินงานจากเดิม ไปสู่กระบวนการท างานแบบบูรณาการทั้งระบบ โดยเริ่มจากการ
วางรากฐานทางความคิดของประชาชนที่นอกจากตนเองจะไม่กระทาการทุจริตแล้ว จะต้องไม่อดทน
ต่อการทุจริตที่เกิดขึ้นในสังคมไทยอีกต่อไป ประชาชนไทยต้องก้าวข้ามค่านิยมอุปถัมภ์และความเพิกเฉย
ต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ เจตจ านงทางการเมืองของประชาชนที่ต้องการสร้างชาติที่สะอาดปราศจาก
การทุจริต จะต้องได้รับการสานต่อจากฝ่ายการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ การขับเคลื่อนนโยบายที่มีความ
โปร่งใสตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันกลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริตต้องเป็นที่ได้รับ
ความไว้วางใจ และความเชื่อมั่นจากประชาชนว่าจะสามารถเป็นผู้ปกป้องผลประโยชน์ของชาติ
และประชาชนได้อย่างรวดเร็ว เป็นธรรม และเท่าเทียม ทั้งนี้ เพื่อยกระดับมาตรฐานจริยธรรม คุณธรรม
และความโปร่งใสของประเทศไทยในทุกมิติให้มีมาตรฐานตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้าน
การทุจริต ค.ศ. ๒๐๐๓ (United Nations Convention against Corruption : UNCAC) ภายในปี
พ.ศ. ๒๕๖๔
๒.๔.๓ ยุทธศาสตร์ (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนรวมของประชาชนในการต่อต้าน
การทุจริต)
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ “พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก”
มุ่งเน้นการพัฒนากลไกและกระบวนงานด้านการป้องกันการทุจริตของประเทศไทย
ให้มีความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อลดโอกาสการทุจริตหรือท าให้การทุจริตเกิดยากขึ้น
หรือไม่เกิดขึ้น โดยอาศัยทั้งการก าหนดกลไกด้านกฎหมาย กลไกทางการบริหาร และกลไกอื่น ๆ
ตลอดจนเสริมสร้างการปฏิบัติงานของหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนให้มีธรรมาภิบาลมากยิ่งขึ้น
โดยมีกลยุทธ์เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนรวมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต ดังนี้
กลยุทธ์ที่ ๑ เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต
แนวทางตามกลยุทธ์
๑. พัฒนามาตรการเชิงรุกที่สามารถแก้ไขปญหาการทุจริตในแต่ละระดับ
ั
๒. พัฒนาระบบการท างานแบบบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาสังคม
๓. เพิ่มบทบาทของภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการเข้ามามีส่วนร่วมกับ
ระบบการป้องกันการทุจริต
๒๖
๔. ยกระดับกลไกการก ากับ ติดตาม และประเมินผลการป้องกันการทุจริต
๒.๕ แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง)
นอกจากยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทดังกล่าวแล้ว แผนการปฏิรูปประเทศยังเป็นหนึ่ง
ในแผนที่รัฐธรรมนูญก าหนดไว้ ซึ่งแผนการปฏิรูปประเทศมีสาระส าคัญที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดังนี้
๒.๕.๑ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในการจัดท าแผนการปฏิรูปฉบับปรับปรุงในเดือนกันยายน ๒๕๖๓ ได้ให้
ความส าคัญกับกิจกรรมปฏิรูปที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยส าคัญ
(Big Rock) จ านวน ๕ กิจกรรม โดยมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการ
ต่อต้านการทุจริต จ านวน ๒ กิจกรรม ได้แก่
กิจกรรมปฏิรูปที่ ๑ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้าน
การทุจริต
ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐที่มีอ านาจหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมิชอบมีกิจกรรมที่หน่วยงานสามารถด าเนินการได้ด้วยตนเองและกิจกรรมที่ต้องอาศัย
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อช่วยสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน ซึ่งจะช่วยให้การ
ด าเนินภารกิจของหน่วยงานมีประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์มากขึ้น โดยการส่งเสริมให้ภาคประชาชน
มีส่วนร่วมในการต้านภัยทุจริตนี้สามารถด าเนินการผ่านภาคีการพัฒนาต่าง ๆ ทั้งภาคประชาชน
เครือข่ายภาคประชาชน องค์กรชุมชน เครือข่ายภาคีประชาชน และองค์กรสาธารณประโยชน์
โดยเฉพาะที่อยู่ในจังหวัดต่าง ๆ และมีประสบการณ์ในการพัฒนาชุมชนในท้องถิ่นของตน ตลอดจนมีการ
รวมกลุ่มและด าเนินกิจกรรมในการป้องกันการทุจริตในพื้นที่ของตัวเองผ่านกิจกรรมโครงการต่าง ๆ อาทิ
โครงการส่งเสริมธรรมาภิบาลขององค์กรชุมชน โครงการพัฒนาหมู่บ้านช่อสะอาด โครงการหมู่บ้าน
ศีลห้า โครงการ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต โครงการเครือข่าย ป.ป.ท. เฝ้าระวังการทุจริต (PACC
Connect) และโครงการหมาเฝ้าบ้าน ซึ่งเป็นการร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
ในการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบในระดับท้องถิ่น ทั้งนี้ การป้องกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมิชอบโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนนี้จะมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลมากขึ้น
หากมีการส่งเสริมความร่วมมืออย่างเป็นระบบ (People Engagement) โดยก าหนดบทบาทของรัฐ
ให้เป็นผู้สนับสนุนและอ านวยความสะดวก มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพิ่มขึ้น ตลอดจนให้ความส าคัญกับ
การส่งเสริมเครือข่ายภาคประชาชนและองค์กรชุมชนให้มีบทบาทและเป็นแกนนาในการด าเนินกิจกรรม
การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบควบคู่ไปกับพัฒนาชุมชนและสังคม ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้าง
ความมั่นคงทางสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น การส่งเสริมให้เครือข่ายภาคประชาชน
๒๗
สภาองค์กรชุมชน และภาคีที่เกี่ยวข้องของภาคประชาชนทั้งจากมูลนิธิ องค์กรสาธารณประโยชน์
รัฐและเอกชน มีการบูรณาการด าเนินการตามบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกันในแต่ละจังหวัดแต่ละท้องที่
และร่วมกันเป็นแกนกลางในการตรวจสอบ ป้องกัน ปัญหาจากการทุจริตและประพฤติมิชอบที่ส่งผล
กระทบต่อผลประโยชน์ของชาวบ้านในพื้นที่โดยตรงจึงเป็นหัวใจส าคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ
การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบของประเทศอย่างมีนัยส าคัญ โดยมีเป้าหมาย ดังนี้
๑) ส่งเสริมให้เครือข่ายภาคประชาชนสามารถมีบทบาทในการเสนอแนะแนวทาง
ที่เหมาะสมและมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยเฉพาะในท้องที่ของตน
อย่างมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย
๒) สนับสนุนให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้และมีความซื่อสัตย์สุจริตตามรอย
เบื้องพระยุคลบาท
กิจกรรมปฏิรูปที่ ๒ การพัฒนาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและพัฒนาระบบ
คุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสการทุจริตที่มีประสิทธิภาพ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้ความส าคัญกับ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต โดยบัญญัติไว้ใน มาตรา ๖๓
รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการ
ทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมี
ส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมาย
บัญญัติ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐมีส่วนร่วมในการป้องกันและเฝ้า
ระวังการทุจริต จึงต้องมีมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสาร
สาธารณะเพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารโดยไม่ต้องร้องขอและได้มาตรฐานสากล ควบคู่กับ
การเตรียมช่องทางให้ผู้มีเบาะแส ข้อมูลเชิงลึก สามารถแจ้งข้อมูลได้อย่างสะดวกและปลอดภัย รวมทั้งมี
ระบบการแจ้งผลการติดตามให้กับผู้ร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสได้รับทราบตลอดจนต้องจัดให้มีกฎหมาย
เพื่อปกป้องคุ้มครองและเยียวยาผู้ให้เบาะแสอย่างเหมาะสม โดยมีกิจกรรมหลักที่ส าคัญเฉพาะ
ที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้านการทุจริต ดังนี้
๑. การพัฒนาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนผ่านการผลักดันการออก
กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารสาธารณะที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารโดยไม่ต้องร้องขอ
และหน่วยงานภาครัฐต้องเปิดเผยข้อมูลในครอบครองผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์ม เว้นแต่ข้อมูลที่เป็น
ความลับหรือกระทบต่อความมั่นคง เพื่อให้ประชาชนในวงกว้างสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าว
ได้โดยสะดวก
๒๘
๒. การพัฒนาช่องทางการแจ้งเบาะแสและข้อมูลเชิงลึกในรูปแบบที่หลากหลาย
และมีระบบปกปิดตัวตนที่มีประสิทธิภาพและการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสอย่างครบวงจร ให้ผู้แจ้งเบาะแส
สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก มีความเชื่อมั่นในเรื่องการเก็บรักษาความลับ และความปลอดภัย ตลอดจน
การจัดทาระบบแจ้งผลการติดตามให้กับผู้ร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสได้รับทราบ
กิจกรรมปฏิรูปดังกล่าวมีเป้าหมาย ดังนี้
๑. กฎหมายที่เกี่ยวข้องมีผลบังคับใช้ในทางปฏิบัติ (กฎหมายป้องกันการฟ้อง
ปิดปาก กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารสาธารณะ)
๒. พัฒนาระบบการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสอย่างครบวงจร
๒.๕.๒ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับปรับปรุง ได้ให้
ความส าคัญในการเตรียมความพร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ และรองรับผลกระทบของ
สถานการณ์ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และทิศทางที่ก าหนดไว้ตามยุทธศาสตร์ชาติ มีวัตถุประสงค์หลัก
เพื่อสร้างภาครัฐให้มีความโปร่งใส เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจของประชาชนในความซื่อตรง และมาตรฐาน
การท างานที่มีคุณภาพสูงในระดับสากล มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจน
ส าหรับกิจกรรมการปฏิรูปเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้านการทุจริต
อันจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาครัฐและเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างมีนัยส าคัญภายใต้
แผนปฏิรูปฯ ฉบับปรับปรุงนี้ ได้แก่
กิจกรรมปฏิรูปที่ ๕ ขจัดอุปสรรคในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และการเบิกจ่ายเงิน
เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว คุ้มค่า โปร่งใส ปราศจากการทุจริต
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เป็นกระบวนการที่ส าคัญของการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ
ซึ่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่
๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ มีเจตนารมณ์เพื่อให้การด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
มีกรอบการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน หน่วยงานของรัฐทุกแห่งสามารถน าไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ
โดยมุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนให้มากที่สุด เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเปิดโอกาสให้มีการ
แข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างที่ค านึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็นส าคัญ
ซึ่งจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงินมีการวางแผนการด าเนินงานและมีการประเมินผลการ
ปฏิบัติงาน ซึ่งจะท าให้การจัดซื้อจัดจ้างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งเพื่อให้เป็นไปตามหลัก
ธรรมาภิบาล มีการส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ซึ่งเป็นมาตรการหนึ่งเพื่อป้องกันปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
๒๙
โดยที่ผ่านมาคดีการทุจริตที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลความผิดในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๕๔) เกิดจากการทุจริตด้านการจัดซื้อจัดจ้าง
อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติยังพบปัญหาในการดาเนินการหลายด้าน อาทิ ระบบ
การตรวจสอบที่มีความเข้มข้นมากเกินไป จนกระทั่งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานพัสดุมีความเกรงกลัวโทษ
ทางอาญาจนท าให้การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างเป็นไปด้วยความล่าช้า ยากลาบาก และอาจจ าเป็นต้อง
จัดซื้อสิ่งของที่มีราคาถูกแต่ไม่มีคุณภาพ เพื่อความถูกต้องและตามกฎหมาย ประกอบกับหน่วยงาน
ของรัฐบางแห่งยังไม่ค่อยให้ความส าคัญกับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานพัสดุเท่าที่ควร ท าให้บุคลากร
เหล่านี้ขาดความก้าวหน้าในสายงาน
นอกจากนี้ การน าระบบดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐยังไม่สามารถ
ท าได้ครบวงจร จากสาเหตุหลายประการ อาทิ งบประมาณในการพัฒนาระบบ กฎระเบียบราชการ
บางเรื่องไม่เอื้อต่อระบบดิจิทัล รวมทั้งขาดการบูรณาการข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างระหว่างหน่วยงาน
การปฏิรูประบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ควรจะมุ่งเน้นการวางระบบที่รวดเร็ว และโปร่งใสด้วยการใช้
เทคโนโลยีเข้ามาจัดการแทนบุคคล และควรให้ความส าคัญกับเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลด้านการจัดซื้อ
จัดจ้าง และบูรณาการท างานร่วมกันระหว่างกรมบัญชีกลางและหน่วยงานตรวจสอบการทุจริต
เพื่อให้มีแนวทางการป้องกันการทุจริตที่ชัดเจน มีมาตรฐาน สร้างความเชื่อมั่นต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ
บุคลากรด้านพัสดุมีความรู้ ความสามารถ มีความภาคภูมิใจในวิชาชีพและมีเส้นทางความก้าวหน้า
ในสายงาน รวมทั้งส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน และภาคประชาชนในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของกลไกการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตประพฤติมิชอบในภาค
ราชการได้อย่างครบวงจร
กิจกรรมปฏิรูปดังกล่าวมีเป้าหมาย ดังนี้
๑. หน่วยงานภาครัฐสามารถด าเนิน การจัดซื้อจัดจ้างได้โดยรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
มีความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผ่านระบบสนับสนุนจัดซื้อจัดจ้างเป็นแบบดิจิทัลในทุกขั้นตอน
มีการบูรณาการ และเชื่อมโยงข้อมูลด้านการจัดซื้อจัดจ้างกับระบบอื่น ๆ อย่างเต็มรูปแบบ
๒. มีระบบในการติดตามและป้องกันการทุจริตที่รวดเร็ว มีมาตรฐาน ส่งเสริม
บทบาทภาคเอกชน ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมตรวจสอบป้องกันการทุจริต เพื่อสร้างความโปร่งใส
และการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างลดลง
๒.๖ นโยบายของรัฐบาล
คณะรัฐมนตรีที่มีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบาย
ต่อรัฐสภา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โดยมีนโยบายหลัก ๑๒ ด้าน โดยด้านการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตนั้น ปรากฏอยู่ในนโยบาย ดังนี้
๓๐
ข้อ ๑๒. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการ
ยุติธรรม
ข้อ ๑๒.๑ แก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยจัดให้มีมาตรการและระบบ
เทคโนโลยี นวัตกรรมที่ช่วยป้องกันและลดการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างจริงจังและเข้มงวด รวมทั้งเป็น
เครื่องมือ ในการติดตามการแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งเร่งสร้าง
จิตส านึกของคนในสังคมให้ยึดมั่นในความซื่อสัตย์ สุจริต ถูกต้อง ชอบธรรม และสนับสนุนทุกภาคส่วน
ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและเฝ้าระวังการทุจริตประพฤติมิชอบ
ข้อ ๑๒.๒ ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดยส่งเสริมให้มีรูปแบบการลงโทษอื่นที่ไม่ใช่
โทษอาญาตามหลักสากล มุ่งเน้นยกระดับการพัฒนาระบบ แก้ไข บ าบัด ฟื้นฟูผู้กระท าผิด ส่งเสริม
ปกป้อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน พัฒนาประสิทธิภาพระบบการสืบสวนสอบสวนด้านการปราบปราม
อาชญากรรมพิเศษ ก าหนดมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรมให้สามารถปฏิบัติ
หน้าที่โดยปราศจากการแทรกแซงหรือครอบง าใด ๆ พร้อมทั้งบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในกระบวนการยุติธรรม ให้ด าเนินงานสอดประสานกันอย่างเป็นองคาพยพ เพื่อให้สามารถจัดการกับ
ข้อขัดแย้งและกรณีพิพาท ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการท างานเชิงรุก รวมทั้งพัฒนาบุคลากร
ในกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถอ านวยความยุติธรรมยุติธรรมได้อย่างเป็นธรรม เสมอภาค โปร่งใส
รวดเร็ว ทั่วถึง และปราศจากการเลือกปฏิบัติ สร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมได้
และสร้างสังคมที่พัฒนาอย่างเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ า เกิดความเสมอภาคและเท่าเทียม
พร้อมทั้งผลักดันให้เกิดการน าเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลกฎหมาย พัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ และเป็นธรรม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย
ที่จ าเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก
และรวดเร็ว
นโยบายเร่งด่วน ๑๒ เรื่อง โดยปรากฏอยู่ในเรื่องที่ ๘ ดังนี้
๘
ข้อ . การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั้งฝ่ายการเมือง
และฝ่ายราชการประจ า โดยเร่งรัดการด าเนินมาตรการทางการเมืองควบคู่ไปกับมาตรการทางกฎหมาย
เมื่อพบผู้กระท าผิดอย่างเคร่งครัด น าเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการเฝ้าระวังการทุจริตประพฤติมิชอบ
อย่างจริงจัง และเข้มงวด และเร่งรัดด าเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายเมื่อพบผู้กระท าผิดอย่าง
เคร่งครัด เพื่อให้ภาครัฐปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยเร็วที่สุด พร้อมทั้งให้ภาคสังคม
ภาคเอกชน และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและเฝ้าระวังการทุจริตประพฤติมิชอบ
กล่าวโดยสรุป ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท และแผนการปฏิรูปประเทศเกี่ยวกับ
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้มีการก าหนดไว้อย่างเป็นระบบ
๓๑
และมีแนวทางที่จะน าไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน ซึ่งมุ่งไปสู่เป้าหมายที่ท าให้ภาครัฐมีความโปร่งใส
ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ นอกจากนี้ ในด้านนโยบายของรัฐบาลซึ่งจะต้องด าเนินการ
ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท และแผนการปฏิรูปประเทศดังกล่าว
ก็ได้มีการแถลงต่อรัฐสภา ทั้งที่เป็นนโยบายเรื่องปกติและเรื่องเร่งด่วนอันเกี่ยวกับการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบไว้เช่นเดียวกัน
บทที่ ๓
แนวคิด ทฤษฎี และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต และรูปแบบ QR Code
๓.๑ แนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy)
แนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) เริ่มตั้งแต่ปี
ค.ศ. ๑๙๖๐ เมื่อสังคมมีความซับช้อนมากขึ้น และตัวแทนที่ได้รับเลือกตั้งไม่ได้ทำหน้าที่ในการตัดสินใจ
เรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินหลัก ๆ เนื่องจากการบริหารราชการแผ่นดินเป็นหน้าที่
ของระบบราชการและหน่วยงานฝ่ายบริหารต่าง ๆ และโดยที่การตัดสินใจสำคัญต่าง ๆ ในเบื้องต้น
เกิดขึ้นภายนอกรัฐสภาและฝ่ายนิติบัญญัติ ทำให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานอยู่ในหน่วยงานของรัฐ
กลับมีบทบาทในการตัดสินใจสำคัญ ๆ และใช้ผลจากการตัดสินใจนั้นไปดำเนินการ โดยการเห็นชอบของ
ผู้นำหน่วยงานซึ่งไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง โดยประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้
ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมืองการปกครอง และในการตัดสินใจระดับต่าง ๆ มากขึ้น มิใช่เพียงให้
ประชาชนสามารถใช้อำนาจของตนผ่านการเลือกตั้งเพียงอย่างเดียว แต่ยังเปิดช่องทางให้ประชาชน
มีส่วนร่วมรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความเคลื่อนไหว และความคืบหน้าของการบริหารจัดการประเทศ โดยผู้ที่
ทำหน้าที่แทนประชาชน หรือเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อมูลแก่ผู้ที่ทำหน้าที่
แทนตน เพื่อประกอบการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ รวมทั้งการที่ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ
และถอดถอนผู้ที่ทำหน้าที่แทนประชาชนที่ขาดประสิทธิภาพ บกพร่องต่อหน้าที่หรือไม่สุจริตแล้วแต่กรณี
ในบทนี้ จึงเป็นการนำเสนอสาระสำคัญของแนวคิดการมีส่วนรวมของประชาชน แนวคิด
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม และหลักธรรมาภิบาล
การมีส่วนร่วมของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางสังคมและการเมืองในอดีต
ี
ี
การมส่วนร่วมของประชาชนจะมีความหมายเพียงกระบวนการมส่วนร่วมของประชาชนในทางการเมืองที่
ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งที่เป็นไปตามหลักการของประชาธิปไตยแบบ
ตัวแทน แต่กระแสสังคมในปัจจุบันให้ความสำคัญกับประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ที่ประชาชนเข้ามา
มีส่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการตัดสินใจของภาครัฐซึ่งมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
นอกเหนือจากมีสิทธิ์เพียงการเลือกผู้แทนเข้าไปทำหน้าที่ปกครองและบริหารประเทศ
๓๔
๓.๑.๑ ความหมายการมีส่วนรวมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน (Citizen Participation) มีความหมายหลากหลาย
และใช้คำภาษาอังกฤษแตกต่างกัน เช่น Popular Participation, People Participation และ Public
Participation ซึ่งต่างก็มีเป้าประสงค์และเนื้อหาสาระไปในทางเดียวกัน การมีส่วนร่วม (Participation)
เป็นคำที่เกิดและอยู่เคียงคู่กับการปกครองระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากระบบการปกครองนี้ถือว่า
อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศนั้นมาจากประชาชน ดังนั้นการมีส่วนร่วม
จึงนำมาใช้ในการบริหารงานแบบประชาธิปไตยและเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของหลักธรรมภิบาล
การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมหรือการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน (Participate Management)
จะเป็นการที่บุคคลได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานทั้งในด้านการแสดงความคิดเห็นและการ
ปฏิบัติการมีส่วนร่วมและช่วยสร้างพลังจิตให้ร่วมกันปฏิบัติงานอย่างเต็มที่มีประสิทธิภาพมากกว่าการ
ยินยอมปฏิบัติตามคำสั่งการมีส่วนร่วมจะช่วยกระตุ้นให้บุคคลนั้นสนับสนุนเป้าหมายของกลุ่มตลอดจน
วัตถุประสงค์รวมขององค์กร
๑
ยุวัฒน์ วุฒิเมธี ได้อธิบายการมีส่วนร่วมของประชาชนว่า หมายถึงการเปิดโอกาสให้
ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการคิดริเริ่มการพิจารณาตัดสินใจการปฏิบัติและรับผิดชอบในเรื่องต่าง ๆ อันมี
ผลกระทบถึงตัวประชาชนเอง การที่จะสามารถทาให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อ
แก้ไขปัญหาและนามาซึ่งสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนที่ดีขึ้นได้นั้น ผู้นาการเปลี่ยนแปลงต้องยอมรับ
ปรัชญาพัฒนาชุมชนที่ว่ามนุษย์ทุกคนมีความปรารถนาที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเป็นสุขได้รับการปฏิบัติ
อย่างเป็นธรรมและเป็นที่ยอมรับของผู้อื่นและพร้อมที่จะอุทิศตนเพื่อกิจกรรมของชุมชน ขณะเดียวกัน
ต้องยอมรับความบริสุทธิ์ใจด้วยว่ามนุษย์นั้นสามารถพัฒนาได้ถ้ามีโอกาสและได้รับการชี้แนะอย่าง
ถูกต้อง
สิริพัฒน์ ลาภจิตร อธิบายว่า การมีส่วนร่วม (participation) เป็นกระบวนการสื่อสาร
๒
ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล ชุมชน หรือองค์กร ในการดาเนินกิจกรรมใด กิจกรรมหนึ่งหรือหลายกิจกรรม
ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซึ่งการมีส่วนร่วมจะเกี่ยวข้องกับกระบวนการให้ประชาชนเข้ามามี
ส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงาน พัฒนา ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมการดำเนินการและร่วมรับ
๑ ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน. วารสารพัฒนาชุมชน. ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔: หน้า ๓๒.
ั
๒ สิริพัฒน์ ลาภจิตร. (๒๕๕๐). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงาน
องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐), หน้า ๒๖.
๓๕
ผลประโยชน์ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกันของกลุ่ม และเป็นการเสริมสร้างความ
ี
สามัคค ความรู้สึกร่วมรับผิดชอบกับกลุ่มด้วย
ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ ให้ความหมายการมีส่วนร่วมของประชาชน ว่าเป็นการให้
๓
โอกาสประชาชนเข้าร่วมดำเนินงานตั้งแต่กระบวนการเบื้องต้นจนถึงกระบวนการสิ้นสุด โดยที่การเข้า
ร่วมอาจร่วมในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งหรือครบวงจรก็ได้ การเข้าร่วมมีทั้งรายบุคคล กลุ่ม หรือองค์กรที่มี
ความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน การรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อดำเนินการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทาง
ที่ต้องการ โดยการกระทาผ่านกลุ่มหรือองค์กร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
กล่าวโดยสรุป คือ การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่บุคคล กลุ่มคน หรือองค์กรภาค
ประชาชนเข้ามาร่วมกันดำเนินงานกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีการรับรู้ในขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่การ
คิด การตัดสินใจการกำหนดแนวทาง การวางแผน การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลของกิจกรรมนั้น ๆ
โดยคนที่เข้ามาร่วมนั้นต่างได้รับผลของการดำเนินการโดยเฉพาะการได้รับประโยชน์ร่วมกัน
๓.๑.๒ รูปแบบและลักษณะการมีส่วนรวมของประชาชน
๔
รูปแบบของการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนที่ดำเนินการอยู่โดยทั่วไป สามารถสรุปได้ 5
รูปแบบ คือ
๑) การรับรู้ข่าวสาร (public information) การมีส่วนร่วมในรูปแบบนี้ ประชาชนผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย และบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องได้รับการแจ้งให้ทราบถึงรายละเอียด
ของโครงการที่จะดำเนินการ รวมทั้งผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ทั้งนี้ การได้รับแจ้งข่าวสารดังกล่าว
จะต้องเป็นการแจ้งก่อนที่จะมีการตัดสินใจดำเนินโครงการ
๒) การปรึกษาหารือ (public consultation) เป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมที่มีการจัดการ
หารือระหว่างผู้ดำเนินโครงการกับประชาชนที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบเพื่อที่จะรับฟังความคิดเห็น
และตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมหรือประกอบการจัดทำรายงาน การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้
๓ ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (๒๕๓๕). การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในงานวนศาสตร์ชุมชน : กรณีชุมชนห้วยม่วง. ขอนแก่น:
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, หน้า ๗.
๔ ประพันธ์ วรรณบวร. (๒๕๔๓). การมีส่วนร่วมของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลในการดำเนินงานองค์การ
บริหารส่วนตำบล: กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมา, (โครงการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ศศ.ม.), บัณฑิตวิทยาลัย) ขอนแก่น:
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, หน้า ๔๒.
๓๖
การปรึกษาหารือยังเป็นอีกช่องทางหนึ่ง ในการกระจายข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนทั่วไปและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเข้าใจในโครงการและกิจกรรมมากขึ้น เพื่อให้มีข้อเสนอแนะ
เพื่อประกอบทางเลือกในการตัดสินใจ
๓) การประชุมรับฟังความคิดเห็น (public meeting) การประชุมรับฟังความคิดเห็นมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนและฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับโครงการหรือกิจกรรม และผู้มีอำนาจตัดสินใจใน
การทำโครงการหรือกิจกรรมนั้น ได้ใช้เวทีสาธารณะในการทำความเข้าใจ และค้นหาเหตุผลที่จะดำเนิน
โครงการหรือกิจกรรมในพื้นที่นั้นหรือไม่ การประชุมรับฟังความคิดเห็นมีหลายรูปแบบ ดังนี้
(๑) การประชุมในระดับชุมชน (community meeting) การประชุมลักษณะนี้ ต้อง
จัดขึ้นในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการโดยเจ้าของโครงการหรือกิจกรรมต้องส่งตัวแทนเข้าร่วม
เพื่ออธิบายให้ที่ประชุมทราบถึงลักษณะโครงการและผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและตอบข้อคาถาม
การประชุมในระดับนี้อาจจะจัดในระดับที่กว้างขึ้นได้ เพื่อรวมหลาย ๆ ชุมชนในคราวเดียวกันในกรณีที่มี
หลายชุมชนได้รับผลกระทบ
(๒) การประชุมรับฟังความคิดเห็นในเชิงวิชาการ (technical hearing) สำหรับ
โครงการที่มีข้อโต้แย้งในเชิงวิชาการจำเป็นจะต้องมีการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นในเชิงวิชาการ
โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาจากภายนอกมาช่วยอธิบายซักถาม และให้ความเห็นต่อโครงการประชุม
อาจจะจัดในที่สาธารณะทั่วไป ผลการประชุมจะต้องนำเสนอต่อสาธารณะ และผู้เข้าร่วมประชุมต้อง
ได้รับทราบผลดังกล่าวด้วย
(๓) การประชาพิจารณ์ (public hearing) เป็นการประชุมที่มีขั้นตอนการดำเนินการ
ที่ชัดเจนมากขึ้น เป็นเวทีในการเสนอข้อมูลอย่างเปิดเผยที่ไม่มีการปิดบัง ทั้งฝ่ายเจ้าของโครงการ และผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียจากโครงการ และคณะกรรมการจัดการประชุมจะต้องมีองค์ประกอบของผู้เข้าร่วมที่เป็น
ที่ยอมรับมีหลักเกณฑ์และประเด็นในการพิจารณาที่ชัดเจนและแจ้งให้ทุกฝ่ายทราบทั่วกัน ซึ่งมาจากการ
ร่วมกันกำหนดขึ้น ทั้งนี้ รูปแบบการประชุมไม่ควรจะเป็นทางการมากนัก และไม่เกี่ยวข้องกับนัยของ
กฎหมายมาก การจัดประชุมจึงอาจจัดในหลายวันและไม่จาเป็นจะต้องจัดเพียงครั้งเดียวหรือสถานที่
เดียวตลอดไป
(๔) การร่วมในการตัดสินใจ (decision making) เป็นเป้าหมายสูงสุดของการมีส่วน
ร่วมของประชาชน ซึ่งในทางปฏิบัติที่จะให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจในประเด็นปัญหาเหล่านั้นไม่สามารถ
ดำเนินการให้เกิดขึ้นได้ง่าย ๆ อาจจะดำเนินการให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ เลือกตัวแทนของคนเข้า
ไปนั่งในคณะกรรมการใดคณะหนึ่งที่มีอำนาจตัดสินใจ ในฐานะที่เป็นตัวแทนขององค์กรที่ทาหน้าที่เป็น
ผู้แทนประชาชนในพื้นที่มีบทบาทชี้นำการตัดสินใจได้