The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 3 การเมืองท้องถิ่น ความร่วมมือ ปัญหา อุปสรรค และความขัดแย้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papichaya, 2022-02-09 04:37:14

125 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ.2440-2565 เล่มที่ 3

เล่มที่ 3 การเมืองท้องถิ่น ความร่วมมือ ปัญหา อุปสรรค และความขัดแย้ง

28

อาทิเชน่ การอธิบายวา่ ใน 47 ข้อนโยบาย ปัจจุบนั แต่ละขอ้ นโยบายได้มี
การดาเนนิ การไปแล้วอยา่ งไรบ้าง ยังมีข้อนโยบายไหนอยใู่ นระหว่างการ
ดาเนินงานหรือยังไม่มีการเร่ิมการดาเนินงาน ทั้งน้ี ในประเด็นของการมี
ส่วนร่วมทางการเมือง มิใช่เพียงแค่การเป็นส่วนหน่ึงในการเข้าร่วม
ประชุม หรือการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนเป็นครั้งคราว
แต่ควรมีการร่วมงานกับสภาพลเมืองเพื่อให้มีการตรวจสอบการทางาน
อยา่ งนอ้ ยในทกุ ไตรมาส

ใ น ส่ ว น ข อ ง ส ภ า พ ล เ มื อ ง ที่ มี ต้ น ก า เ นิ ด จ า ก ก า ร ร่ ว ม มื อ กั น
ระหว่างกลุ่มภาคประชาสังคมในเชียงใหม่ ถือเป็นต้นแบบของการ
ดาเนินงานผ่านรูปแบบของอาสาสมัครท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุน
การมีส่วนร่วมของประชาชนในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการพัฒนา
เมืองเชียงใหม่ ท่ีผ่านมา สภาพลเมืองได้แสดงให้เห็นถงึ ความเข้มแข็งใน
การรวมกลุ่มกันจากหลากหลายภาคส่วน และได้รับความสนใจในการ
สรา้ งความร่วมมือกบั หน่วยงานภาครัฐในจังหวัด

ข้อเสนอเพ่ือการพัฒนาสภาพลเมือง คือการปรับกระบวนการ
สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยไม่จาเป็นต้องมีสังกัดอยู่ในกลุ่ม
ภาคประชาสังคมใด ๆ และกระบวนการดาเนินงานสภาพลเมือง
เชยี งใหม่ ควรส่งเสริมให้เยาวชนได้เขา้ มามสี ่วนร่วมเป็นแกนนาสาคัญใน
การขับเคล่ือนการทางานของสภาพลเมือง เพ่ือขยายฐานมวลชนและ
เพ่ือเพ่ิมกลุ่มสมาชิกท่ีมีความหลากหลายในด้านอายุ เนื่องจากสภาพลเมือง

146 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

29

ในปจั จบุ ันมผี ู้เขา้ ร่วมอยู่ในช่วงอายุ 40 – วัยเกษยี ณเปน็ หลัก นอกจากน้ี
สภาพลเมืองควรเพ่ิมบทบาทของตนเอง จากเดิมท่ีเป็นกระบวนการต้ัง
ข้อคาถามเพ่ือตรวจสอบการทางานของภาครัฐในเบ้ืองต้น เป็นการเพิ่ม
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจโดยตรงในประเด็นการใช้งบประมาณของ
รฐั บาลทอ้ งถ่นิ

147การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณศี ึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

บรรณานกุ รม

คำ� สั่งหวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ. (2559). ประกาศรายชอ่ื เจา้
หนา้ ทข่ี องรัฐท่อี ยู่ระหวา่ งการถกู ตรวจสอบเพม่ิ เติม ครั้งท่ี ๕.
สบื คน้ เมอ่ื 29กรกฎาคมพ.ศ.2564,จากhttp://www.ratchakitcha.
soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/164/10.PDF
บุษยา คุณากรสวัสดิ์. (ม.ป.ป.). สภาพลเมืองเทศบาลนครเชียงใหม่
อำ� เภอเมือง จังหวดั เชยี งใหม.่ สบื ค้นเมอื่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.
2564, จาก https://ref.codi.or.th/attachments/article/
14309/book_25580810.pdf
ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้งประจําองค์การบริหารส่วนจังหวัด
เชียงใหม่. (2563). ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้งประจํา
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ อําเภอเมืองเชียงใหม่
จังหวดั เชียงใหม่ เรื่อง ผลการนับคะแนนเลือกตัง้ . สบื คน้ เมอื่ 3
สงิ หาคม พ.ศ. 2564, จาก http://ect.chiangmaipao.go.th/
wpcontent/uploads/2020/12/0%E0%B8%99%E0%B8%
B2%E0%B8%A2%E0%B8%815.8.pdf
ประชาชาติธรุ กิจออนไลน์. (2561). ค�ำสง่ั นายกฯ ลา้ งค�ำส่ังหน. คสช.
คนื ตำ� แหนง่ 4 นายก อบจ. สบื คน้ เมอ่ื 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2564,
จาก https://www.prachachat.net/general/news-171161

148 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

ศูนย์อ�ำนวยการการเลือกตั้งสมาชิกสภาและนายกองค์การบริหารส่วน
จังหวัดเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. (2563).
สถิติการเลือกต้ัง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่.
สบื คน้ เมอื่ 3 สงิ หาคม พ.ศ. 2564, จาก http://ect.chiangmaipao.
go.th/2020/12/24/prime63/
สำ� นักงานสถติ จิ งั หวดั เชียงใหม.่ (2559). ประชากรจากการลงทะเบยี น
อัตราการเปลี่ยนแปลง และความหนาแน่นของประชากร
เปน็ รายอำ� เภอ พ.ศ. 2555 – 2559. สบื ค้นเมอื่ 3 สงิ หาคม พ.ศ.
2564, จาก http://chiangmai.nso.go.th/index.php?option=
com_content&view=article&id=532&Itemid=632
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. (2563). รายงานผลการเลือกต้ัง
(อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ) นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เชยี งใหม.่
สบื คน้ เมอ่ื 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2564, จาก http://chiangmaipao.
go.th/voteresult.html
อิสระ ชศู ร.ี (2563). ลามะลิลาเชงิ วิพากษ.์ สบื คน้ เม่อื 29 กรกฎาคม
พ.ศ. 2564, จาก https://www.the101.world/song-against-dic
tatorship/
Banerjee, P., Iversen, V., Mitra, S., Nicolò, A., & Sen, K. (2019).
Politicians and their promises in an uncertain world.
WIDER Working Paper 2019/60, 1-45
Cho, A., Byrne, J., & Pelter, Z. (2020). Digital civic engagement
by young people. UNICEF Offices of Global insight and
Policy. Accessed on January, 5(2021), 2020-07.

149การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณศี ึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

Gonzalez, S. (2021). Three Reasons for Housing Shortage.
Planet Money [Audio podcast]. NPR. https://www.npr.
org/2021/07/30/1022642064/planet-money-why-arent-
there-enough-skilled-people-to-build-houses
Housing Affordability Public Engagement Phase 1 Report.
(2021). Retrieved August 4, 2021, from https://letstalk-
blacksburg.org/affordable-housing
Housing Affordability Public Engagement Phase 2 Report.
(2021). Retrieved August 4, 2021, from https://letstalk-
blacksburg.org/affordable-housing
Marquetti, A., Schonerwald da Silva, C. E., & Campbell, A.
(2012). Participatory economic democracy in action:
Participatory budgeting in Porto Alegre, 1989–2004.
Review of Radical Political Economics, 44(1), 62-81.
Youniss, J. (2009). Why we need to learn more about youth
civic engagement. Social Forces, 88(2), 971-975.
Zhang, X. (2015). From Government Budget to Public Budget:
Participatory Budgeting Practices in Wenling City.
In Public Budgeting Reform in China: Theory and Practice
(pp. 191-207). Springer, Berlin, Heidelberg.

150 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

1

ทุจรติ คอร์รปั ชนั่ ในองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
กับปญั หาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนย์อานาจ

ประเทือง ม่วงอ่อน1

1. ความเปน็ มา

บทความนี้ พยายามอธิบายมุมมองต่อเรื่องกล่าวหาการ
ทุจริตคอร์รัปช่ันในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ในประเทศ
ไทยทุกระดับต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยวิเคราะห์จากเร่ือง
กล่าวหาที่คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
(ป.ป.ช.) มีมติชี้มูลความผิด วิเคราะห์เฉพาะคดีดา คดีแดง ที่
เก่ียวข้องกับ อปท. ในภาพรวมทั้งประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2564
โดย ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2564 ป.ป.ช. ได้ลงประกาศเร่ือง
กล่าวหาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิด (อนึ่ง การช้ีมูล
ความผิดทางอาญาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ยังไม่ถือเป็นที่สุด

1 ดร. ประเทอื ง มว่ งออ่ น อาจารย์ประจาคณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั
อ1 บุดลรร. าปชธราะนเที ือง ม่วงอ่อน อาจารย์ประจ�ำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย
อบุ ลราชธานี

151ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

2

ผู้ถูกกล่าวหายังเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะมีคาพิพากษาของศาลอันถึง
ท่สี ดุ ) ทงั้ หมด 1,473 รายการ (จากท้งั หมด 148 หน้า) ซงึ่ มจี านวน
คดีดาคดีแดงที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชั่นใน อปท. ในไทย
ทกุ ระดับทั้งหมด 624 คดี (ถงึ วนั ท่มี ีมติ 5 พฤศจกิ ายน 2563) ทั้งน้ี
ไม่นับรวมการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ได้แก่ กทม. และเมือง
พัทยา

รวมท้ัง ปัญหาความล่าช้าของระบบการตรวจสอบแบบ
รวมศูนย์อานาจท่ีประกอบด้วย (1) คณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) (2) สานักงานการตรวจ
เงินแผ่นดิน (สตง.) (3) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริตในภาครัฐ (สานักงาน ป.ป.ท.) (4) สานักงานป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) และ (5) สานักงานผู้ตรวจการ
แผ่นดิน และผลกระทบจากการรัฐประหาร ของระบอบการ
ปราบปรามการทจุ ริตคอรร์ ปั ช่นั ในประเทศไทย ตง้ั แตป่ งี บประมาณ
พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2564 ท้ังนี้ เพ่ือนาเสนอบทเรียนระบบการ
ตรวจสอบการทุจริตคอร์รัปชั่นและข้อเสนอการแก้ไขปัญหาการ
ทุจริตคอร์รัปชั่นใน อปท. อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ผ่านองคก์ รตรวจสอบหลักของประเทศ คอื ป.ป.ช.

152 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

3

2. วัตถุประสงค์

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ
1) เพื่อศึกษาเร่ืองกล่าวหาการทุจริตคอร์รัปช่ันใน อปท.
ต้ังแต่อดีตจนถึงปจั จุบัน
2) เพื่อศึกษาปัญหาความล่าช้าของระบบการตรวจสอบ
แบบรวมศูนย์อานาจ และผลกระทบจากการรัฐประหาร ของระบอบ
การปราบปรามการทจุ รติ คอรร์ ัปชั่นในประเทศไทย

3. ระเบียบวธิ ีการวจิ ัย

การวิเคราะห์เรื่องกล่าวหาการทุจริตคอร์รัปช่ันใน อปท.
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวม
ศูนย์อานาจของระบอบการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปช่ันใน
ประเทศไทย อาศัยการรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ของสานักงาน
ป.ป.ช. (www.nacc.go.th) และรายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2543 - 2561 ของ ป.ป.ช. (ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2564 เว็บไซต์
ของสานักงาน ป.ป.ช. ได้เผยแพร่รายงานประจาปีถึงปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561 เทา่ นนั้

การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลท่ีสาคัญจากเว็บไซต์
ป.ป.ช. ได้แก่ ข้อมูลเรื่องกล่าวหาที่ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิด
วิเคราะห์เฉพาะคดีดา คดีแดง ท่ีเก่ียวข้องกับ อปท. ตั้งแต่ปี พ.ศ.
2544 - 2564 โดย ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2564 ป.ป.ช. ได้ลง

153ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

4

ประกาศเรื่องกล่าวหาท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิด
ทั้งหมด 1,473 รายการ (จากท้ังหมด 148 หน้า) ซ่ึงมีจานวนคดีดา
ท่ีเกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชั่นใน อปท. ในประเทศไทย
ทุกระดับท้ังหมด 624 คดี (ถึงวันที่มีมติ 5 พฤศจิกายน 2563)
(อนึ่ง การช้ีมูลความผิดทางอาญาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ยังไม่ถือ
เป็นที่สุด ผู้ถูกกล่าวหายังเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะมีคาพิพากษาของ
ศาลอันถึงที่สุด) และข้อมูลเรื่องกล่าวหาท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติ
วินจิ ฉัยว่าขอ้ กลา่ วหาไม่มมี ูล ให้ขอ้ กล่าวหาตกไปนัน้ แยกตาม อปท.
ในช่วงปี พ.ศ. 2546-2563 (ถึงวันที่มีมติ 5 พฤศจิกายน 2563)
ทั้งน้ีไม่นับรวมการปกครองท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ ได้แก่ กทม. และ
เมืองพทั ยา

4. บทวิเคราะห์เรื่องกล่าวหาการทุจริตคอร์รัปช่ันใน อปท.
ต้งั แตอ่ ดตี จนถึงปจั จบุ ัน

การนาเสนอบทวเิ คราะหเ์ รื่องกลา่ วหาการทจุ ริตคอร์รัปชั่น
ใน อปท. ต้ังแตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจุบนั แยกเปน็ 2 ประเดน็ คอื (1) เร่ือง
กล่าวหา (คดีดา) ท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิด
(คดีแดง) แยกตามประเภท อปท. ภาพรวมท้ังประเทศ ต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2544-2563 (ถึงวันท่ีมีมติ 5 พฤศจิกายน 2563) วิเคราะห์
จากจานวนคดีดาที่เก่ียวข้องกับ อปท. ท้ังหมด 624 คดี และ
(2) เรื่องกล่าวหาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวินิจฉัยว่าข้อกล่าวหา

154 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

5

ไม่มีมูล ให้ข้อกล่าวหาตกไป แยกตามประเภท อปท. ภาพรวม
ทั้งประเทศ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2546-2563 (ถึงวันท่ีมีมติ 5 พฤศจิกายน
2563) โดยมรี ายละเอยี ดตามลาดับ ดังตอ่ ไปน้ี

4.1 เร่ืองกล่าวหา (คดีดา) ท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มี
มติช้ีมูลความผิด (คดีแดง) แยกตามประเภท อปท. ภาพรวมท้ัง
ประเทศ ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2544 - 2563 (ถึงวันทม่ี มี ติ 5 พฤศจกิ ายน
2563) วิเคราะห์จากจานวนคดีดาที่เก่ียวข้องกับ อปท. ทั้งหมด
624 คดี

ข้อมูลเรื่องกล่าวหาที่ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิด ต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2544 - 2564 โดย ณ เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2564 ป.ป.ช. ได้ลง
ประกาศเรื่องกล่าวหาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิด
ท้ังหมด 1,473 รายการ ซึ่งมีจานวนคดีดาที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต
คอร์รัปช่ันใน อปท. ในประเทศไทยทุกระดับทั้งหมด 624 คดี
(ถึงวนั ทมี่ มี ติ 5 พฤศจิกายน 2563) แยกเป็นเร่ือง (1) เรอื่ งกลา่ วหา
ท่ีเก่ียวกับองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) จานวน 391 เรื่อง
(2) เร่ืองกล่าวหาที่เก่ียวกับเทศบาลตาบล (ทต.) จานวน 151 เร่ือง
(3) เรื่องกล่าวหาที่เก่ียวกับเทศบาลเมือง (ทม.) จานวน 41 เรื่อง
(3) เรื่องกล่าวหาท่ีเกี่ยวกับเทศบาลนคร (ทน.) จานวน 16 เรื่อง
และ (4) เรื่องกล่าวหาที่เกี่ยวกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
จานวน 25 เรื่อง รวมจานวนคดีดาเร่ืองกล่าวหาที่คณะกรรมการ
ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิดที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปช่ันใน อปท.

155ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

6

ของไทยทุกระดับ ท้ังหมด 624 คดี ท้ังน้ีไม่นับรวมการปกครอง
ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ได้แก่ กทม. และเมืองพัทยา รายละเอียด
ดังแผนภูมิท่ี 1 (คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แหง่ ชาติ, 2564 (ก))

แผนภูมิที่ 1 เรื่องกล่าวหา (คดีดา) ท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูล
ความผิด (คดีแดง) แยกตามประเภท อปท. ภาพรวมท้ังประเทศ ตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2544 - 2563 (จากทงั้ หมด 624 คด)ี

ทม่ี า: ผู้เขยี น

156 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

7

แผนภูมิท่ี 2 ลักษณะผู้ถูกกล่าวหา (แยกเป็นประเภทเด่ียว หรือกลุ่ม)
(วิเคราะห์จากจานวนคดีดาท่ีเกี่ยวข้องกับ อปท. ท้ังหมด 624 คดี (ต้ังแต่

ปี พ.ศ. 2544 - 2563))

ถูกกลา่ วหาเป็น ลักษณะผูถ้ กู กลา่ วหา (เดยี่ วหรอื กล่มุ )
กลุม่ ถกู กล่าวหาคนเดยี ว 42%
58%

ถูกกลา่ วหาคนเดียว ถูกกล่าวหาเปน็ กลุม่ ไม่ระบุ

ท่มี า: ผเู้ ขียน

แผนภมู ิท่ี 3 ประเภทตาแหนง่ ของผถู้ ูกกล่าวหา ฝ่ายการเมือง

ประเภทตาแหน่งของผถู้ กู กลา่ วหา (นายกฯ หรอื
สมาชกิ สภา)
ท้งั สองฝา่ ย
43% 33%

ฝ่ายขา้ ราชการ

พนักงาน ลกู จ้าง
24%

ทม่ี า: ผเู้ ขียน

157ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

8

ในด้านลักษณะผู้ถูกกล่าวหา (แยกเป็นประเภทเด่ียว หรือ
กลุ่ม) ข้อมูลจากการวิเคราะห์จานวนคดีดาท่ีเกี่ยวข้องกับ อปท.
ทั้งหมด 624 คดี (ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2544-2563) รวม อปท. ในไทย
ทุกระดับ (ไมน่ บั รวมการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ไดแ้ ก่ กทม.
และเมืองพัทยา) พบว่า ส่วนมากผู้ถูกกล่าวหา จะถูกกล่าวหาเป็น
กลุ่มหรือร่วมกระทาความผิดเป็นกลุ่ม ร้อยละ 58 และถูกกล่าวหา
คนเดียว หรือกระทาความผิดคนเดียว ร้อยละ 42 ตามลาดับ
รายละเอียดดงั แผนภูมิท่ี 2

ในด้านลักษณะประเภทตาแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา ข้อมูล
จากการวิเคราะห์จานวนคดีดาท่ีเก่ียวข้องกับ อปท. ท้ังหมด 624 คดี
(ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2563) รวม อปท. ในประเทศไทยทุกระดับ
(ไม่นับรวมการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ได้แก่ กทม. และ
เมืองพัทยา) พบว่า ประเภทตาแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา ส่วนมาก
เป็นการร่วมมือระหว่างฝ่ายการเมือง (นายก อปท. หรือสมาชิก
สภา) และฝ่ายข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ของ อปท. ร้อยละ 43
รองลงมา ผู้ถูกกล่าวหาเป็นฝา่ ยการเมือง (นายก อปท. หรือสมาชิกสภา)
ร้อยละ 33 และผู้ถูกกล่าวหาเป็นฝ่ายข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของ
อปท. ร้อยละ 24 ตามลาดับ รายละเอียดดังแผนภูมิที่ 3 (คณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ, 2564 (ก))

158 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

9

แผนภูมิที่ 4 จานวนเรื่องกล่าวหาที่ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิด (ตั้งแต่ ปี
พ.ศ. 2544 - 2563) ความถสี่ ะสมแยกรายจังหวดั

ทีม่ า: ผู้เขยี น
159ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

10

ข้อมูลเร่ืองกล่าวหาที่ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิด ต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2544 - 2563 ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2564 มีเร่ืองกล่าวหา
ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิดท่ีเกี่ยวข้องกับ อปท.
ได้แก่ อบต., ทต., ทม., ทน., และอบจ. ท้งั หมด 624 คดี (ถงึ วันท่ีมี
มติ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563) เม่ือนามาวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ความถ่ีสะสม โดยแยกรายจังหวัด ค้นพบว่า จังหวัดท่ีมีจานวนคดี
สะสมมากเป็นอันดับ 1 คือ จ.กาฬสินธ์ุ มีจานวนความถ่ีสะสม 30 คดี
อันดับ 2 จ. นครราชสีมา มีจานวนความถ่ีสะสม 29 คดี อันดับ 3
จ. ร้อยเอ็ด และ จ. อุบลราชธานี มีจานวนความถ่ีสะสม 24 คดี
อันดับ 4 จ. ขอนแก่น มีจานวนความถ่ีสะสม 23 คดี อันดับ 5
จ. ศรีสะเกษ มีจานวนความถ่ีสะสม 21 คดี อันดับ 6 จ. เชียงใหม่
มีจานวนความถี่สะสม 19 คดี อันดับ 7 จ. นครสวรรค์ และ
จ. สุรินทร์ มีจานวนความถ่ีสะสม 15 คดี อันดับ 8 จ. บุรีรัมย์ และ
จ. มหาสารคาม มีจานวนความถ่ีสะสม 14 คดี อันดับ 9 จ. กาญจนบุรี
มีจานวนความถี่สะสม 13 คดี อันดับ 10 จ. เชียงราย จ. ตาก
จ. พระนครศรีอยุธยา และ จ. มุกดาหาร มีจานวนความถ่ีสะสม
เท่ากัน 12 คดี อันดับ 11 จ. ชัยภูมิ จ. นครปฐม จ. นครศรีธรรมราช
จ. ภูเก็ต และ จ. ราชบุรี มจี านวนความถี่สะสมเท่ากัน 11 คดี และ
อันดับ 12 จ. ปทุมธานี จ. ลาปาง จ. สกลนคร และ จ. สุราษฎร์ธานี
มีจานวนความถี่สะสมเท่ากัน 10 คดี เป็นต้น รายละเอียด
ดังแผนภมู ทิ ่ี 4

160 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

11

4.2 เร่ืองกล่าวหาท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวินิจฉัย
ว่าข้อกล่าวหาไม่มีมูล ให้ข้อกล่าวหาตกไปน้ัน แยกตามประเภท
อปท. ภาพรวมทั้งประเทศ ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2546 - 2563 (ถงึ วนั ท่ีมี
มติ 5 พฤศจิกายน 2563)

ข้อมูลจากการวิเคราะห์เรื่องกล่าวหาที่คณะกรรมการ
ป.ป.ช. มีมติวินิจฉัยว่าข้อกล่าวหาไม่มีมูล ให้ข้อกล่าวหาตกไปน้ัน
แยกตาม อปท. ในช่วงปี พ.ศ. 2546-2563 (ถึงวันที่มีมติ 5
พฤศจิกายน พ.ศ. 2563) โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงปี พ.ศ.
2546-2550 ช่วงปี พ.ศ. 2551-2557 และช่วงปี พ.ศ. 2557
(นับตั้งแต่รัฐประหารเม่ือวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) ถึงปี
พ.ศ. 2563 รวมจานวนเรื่องกล่าวหาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติ
วินจิ ฉัยวา่ ขอ้ กล่าวหาไม่มมี ลู ใหข้ ้อกลา่ วหาตกไป จานวนรวมทง้ั สนิ้
35 เรื่อง โดยแยกเป็น ช่วงปี พ.ศ. 2546-2550 มีเร่ืองกล่าวหาที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวินิจฉัยว่าข้อกล่าวหาไม่มีมูล ให้ข้อ
กล่าวหาตกไป จานวน 1 เรื่อง เป็นกรณี อบต. จานวน 1 เรื่อง
(คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, 2564 (ข))

ช่วงปี พ.ศ. 2551-2557 มีเร่ืองกล่าวหาท่ีคณะกรรมการ
ป.ป.ช. มีมติวินิจฉัยว่าข้อกล่าวหาไม่มีมูล ให้ข้อกล่าวหาตกไป
จานวน 14 เรือ่ ง โดยแยกเป็นกรณี อบต. จานวน 7 เร่อื ง กรณี ทต.
จานวน 4 เรอื่ ง และกรณี ทม. จานวน 3 เรอื่ ง

161ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

12

ช่วงปี พ.ศ. 2557 (นับต้ังแต่ รัฐประหารเม่ือวันที่ 22
พฤษภาคม พ.ศ. 2557) ถึงปี พ.ศ. 2563 มีเรื่องกล่าวหาท่ี
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวินิจฉัยว่าข้อกล่าวหาไม่มีมูล ให้ข้อ
กล่าวหาตกไป จานวน 20 เร่ือง โดยแยกเป็นกรณี อบต. จานวน
19 เรอ่ื ง และกรณี ทม. จานวน 1 เรอื่ ง ตามลาดบั

ตารางท่ี 1 เรอ่ื งกล่าวหาท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมตวิ ินจิ ฉัยว่าขอ้ กล่าวหา
ไม่มมี ูล ในช่วงปี พ.ศ. 2546 - 2563 (ถึงวันทม่ี ีมติ 5 พฤศจกิ ายน 2563)

เรอื่ งกลา่ วหาทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวินิจฉยั วา่

ขอ้ กล่าวหาไม่มมี ูล ให้ขอ้ กลา่ วหาตกไป

ประเภทของ อปท. เลขคดีดา เลขคดดี า เลขคดีดา

องค์การบริหารส่วน ปี 2546- ปี 2551- ปี 2557 (นับตั้งแตร่ ฐั ประหาร รวม
ตาบล
2550 2557 เมอ่ื วนั ที่ 22 พฤษภาคม
เทศบาลตาบล
เทศบาลเมือง 2557) ถึงปี 2563
เทศบาลนคร
องคก์ ารบริหารส่วน 17 19 27

จงั หวดั 04 04
รวม 03 14
00 00
00 00

1 14 20 35

162 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

13

5. ปัญหาความล่าช้าของระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนย์
อานาจ และผลกระทบจากรัฐประหาร ของระบอบการ
ปราบปรามการทุจริตคอร์รปั ชั่นในประเทศไทย

การนาเสนอ ปัญหาความล่าช้าของระบบการตรวจสอบ
แบบรวมศูนย์อานาจ และผลกระทบจากการรัฐประหาร ของ
ระบอบการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นในประเทศไทย ซ่ึงมี
ความสัมพันธ์กับเร่ืองกล่าวหาการทุจริตคอร์รัปช่ันใน อปท. ต้ังแต่
อดีตจนถึงปัจจุบัน แยกเป็น 2 ประเด็น คือ (1) ความล่าช้าของ
ระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนย์อานาจ และ (2) ผลกระทบจาก
การรัฐประหารและการถูกแทรกแซงโดยฝ่ายการเมือง โดยมี
รายละเอียดตามลาดบั ดงั ต่อไปน้ี

5.1 ความล่าช้าของระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนย์
อานาจ

องค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ อปท. ท้ัง 5 แห่ง
ประกอบด้วย (1) ป.ป.ช. (2) ส.ต.ง. (3) สานักงาน ป.ป.ท. (4) ปปง.
และ (5) สานกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ การวิเคราะหค์ วามล่าช้าของ
ระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนย์อานาจเลือกวิเคราะห์ผ่านกรณี
ของ ป.ป.ช. ซ่ึงมีบทบาทสาคัญที่สุดในการปราบปรามการทุจริต
คอร์รปั ชั่นในประเทศไทย

163ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

14

โดยพบว่า ระบอบการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปช่ันใน
ประเทศไทยมลี กั ษณะสาคัญ คือ (1) องคก์ รตรวจสอบโดยส่วนใหญ่
รวมศนู ย์อานาจอยู่ทีส่ ว่ นกลาง โดยเฉพาะ ป.ป.ช. ซ่งึ ถือเป็นองค์กร
หลักในการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น (2) องค์กรที่ปฏิบัติ
หน้าที่ตรวจสอบบางองค์กรถูกตั้งข้ึนมาเพื่อเป็น “เคร่ืองมือ” สร้าง
ความชอบธรรมให้กับรัฐบาล โดยเฉพาะรัฐบาลที่มาจากการปฏิวัติ
รัฐประหาร แล้วพยายามรณรงค์ “ระบบคุณธรรม” และ “ความ
เป็นคนด”ี ของรัฐบาลและชนช้ันนาของประเทศ พรอ้ มทง้ั เรยี กร้อง
ให้มีการแก้ไขปัญหาการทุจริต โดยออกมาตรการและสร้างองค์กร
ใหม่ๆ เสริมกับองค์กรและมาตรการอ่ืนๆ ท่ีมีอยู่แล้ว อาทิ การต้ัง
คณะกรรมการ ป.ป.ท. ในสมัยรัฐบาลพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์
(3) องค์กรตรวจสอบบางหนว่ ยงาน มบี ทบาทหนา้ ทีท่ เี่ ปน็ นามธรรม
มากเกินไป เช่น ผู้ตรวจการแผ่นดิน (4) องค์กรตรวจสอบท่ีปฏิบัติ
หนา้ ทป่ี ราบปรามและแก้ไขปัญหาการคอร์รปั ชัน่ ของประเทศไทยมี
ความซ้าซ้อน เทอะทะ โดยเฉพาะ คณะกรรมการ ป.ป.ช. กับการ
ตั้งคณะกรรมการ ป.ป.ท. (5) งบประมาณรายจ่ายของระบบการ
ปราบปรามการทุจริตของประเทศไทยได้รับการจัดสรรรวมกันมี
จานวนมากกว่างบประมาณที่กระทรวงขนาดเล็กได้รับ โดยองค์กร
ท่ีปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบทั้งหมดได้รับการจัดสรรงบประมาณเพ่ิม
สงู ขึน้ ทกุ ปี

164 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

15

จากการวิเคราะห์ ข้อมูลเร่ืองกล่าวหาท่ี ป.ป.ช. มีมติชี้มูล
ความผิด ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2544-2563 ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2564
มีเรื่องกล่าวหาท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิดท่ีเกี่ยวข้อง
กับ อปท. ท้ังหมด 624 คดี (ถึงวันที่มีมติ 5 พฤศจิกายน 2563)
เมื่อนามาวิเคราะห์ข้อมูลสถิติจานวนปีที่ ป.ป.ช. ใช้วินิจฉัยเพื่อลง
มตชิ ีม้ ลู ความผดิ ของคดที ่เี ก่ยี วขอ้ งกับ อปท. ทกุ ระดบั ตัง้ แตป่ ี พ.ศ.
2544-2563 ค้นพบว่า ป.ป.ช. ใช้ระยะเวลากว่าจะลงมติชี้มูล
ความผิด โดยเฉล่ียประมาณ 5.014 ปี/คดี (หาค่าเฉล่ียจาก
จานวนคดีท้ังหมด 624 คดี) โดยจานวนปีท่ี ป.ป.ช. นิยมใช้
พิจารณาเพื่อลงมติช้ีมูลความผิดเร่ืองกล่าวหาของ อปท. มากท่ีสุด
คือ จานวน 3 ปี มีจานวนเร่ืองกล่าวหาที่ใช้ระยะเวลาดังกล่าว
จานวน 127 คดี รองลงมา ใช้ระยะเวลา 4 ปี มีจานวนเรื่อง
กล่าวหาท่ีใช้ระยะเวลาดังกล่าวจานวน 108 คดี ใช้ระยะเวลา 2 ปี
มีจานวนเร่ืองกล่าวหาท่ีใช้ระยะเวลาดังกล่าวจานวน 74 คดี
ใช้ระยะเวลา 5 ปี มีจานวนเร่ืองกล่าวหาที่ใช้ระยะเวลาดังกล่าว
จานวน 68 คดี ใช้ระยะเวลา 6 ปี มีจานวนเร่ืองกล่าวหาท่ีใช้
ระยะเวลาดงั กล่าวจานวน 65 คดี ใช้ระยะเวลา 8 ปี มจี านวนเรื่อง
กล่าวหาท่ีใช้ระยะเวลาดังกล่าวจานวน 49 คดี ใช้ระยะเวลา 7 ปี
มีจานวนเร่ืองกล่าวหาท่ีใช้ระยะเวลาดังกล่าวจานวน 41 คดี
ใช้ระยะเวลา 9 ปี มีจานวนเรื่องกล่าวหาที่ใช้ระยะเวลาดังกล่าว
จานวน 26 คดี ใช้ระยะเวลา 10 ปี มีจานวนเร่ืองกล่าวหาที่ใช้

165ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

16

ระยะเวลาดังกล่าวจานวน 24 คดี ใชร้ ะยะเวลา 1 ปี มจี านวนเรื่อง
กล่าวหาที่ใช้ระยะเวลาดังกล่าวจานวน 17 คดี ใช้ระยะเวลา 11 ปี
มีจานวนเรื่องกล่าวหาท่ีใช้ระยะเวลาดังกล่าวจานวน 15 คดี
ใช้ระยะเวลา 12 ปี มีจานวนเรื่องกล่าวหาที่ใช้ระยะเวลาดังกล่าว
จานวน 4 คดี ใช้ระยะเวลา 13 ปี มีจานวนเรื่องกล่าวหาที่ใช้
ระยะเวลาดงั กล่าวจานวน 2 คดี และใชร้ ะยะเวลา 14 ปี มจี านวน
เร่ืองกลา่ วหาทีใ่ ชร้ ะยะเวลาดังกลา่ วจานวน 1 คดี ตามลาดับ

แผนภูมิที่ 5 จานวนปีที่ ป.ป.ช. ใช้พิจารณาเพื่อลงมติช้ีมูลความผิดเร่ือง
กลา่ วหาของ อปท. (1-14 ปี)

166 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

17

แผนภูมิท่ี 6 จานวนปีท่ี ป.ป.ช. ใช้พิจารณาเพ่ือลงมติช้ีมูลความผิดเร่ือง
กลา่ วหาของ อปท. (1-14 ป)ี

167ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

18

5.2 ผลกระทบจากการรัฐประหารและการถกู แทรกแซง
โดยฝา่ ยการเมือง

จากการวิเคราะห์ ข้อมูลเรื่องกล่าวหาที่ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูล
ความผิด ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2544-2563 ค้นพบว่า ภายหลังจากการ
รัฐประหาร อาทิ กรณีรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 นาโดย
พล.อ. สนธิ บุญยรตั กลนิ หรือ กรณรี ฐั ประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ.
2557 นาโดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ส่งผลให้ระบบการ
ตรวจสอบหยุดชะงักทั้งระบบ โดยภายหลังการรัฐประหาร
พบข้อมูลสถิติว่า ป.ป.ช. มีคดีค้างสะสมเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ
ยิ่งกว่าน้ัน นับตั้งแต่รัฐบาล พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา อยู่ใน
ตาแหน่ง พบว่า อัตราเร่ืองคงค้างสะสมยิ่งสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์
สวนทางกับจานวนงบประมาณขององค์กรตรวจสอบท่ีได้รับเพ่ิม
สงู ข้ึนทุกปี

จ า ก ข้ อ มู ล ส ถิ ติ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น ด้ า น
ปราบปรามการทุจริตของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2543-พ.ศ. 2561 ค้นพบความสัมพันธ์ทางสถิติของตัวแปร
ระหว่างการก่อรัฐประหารกับอัตราคดีค้างสะสม ซึ่งพบว่าภายหลัง
การรฐั ประหาร คา่ แนวโน้มสถิตอิ ัตราคดีค้างสะสมเพมิ่ สูงขน้ึ อย่างมี
นัยสาคัญ กล่าวคือ การก่อรัฐประหารส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ
ระบบการตรวจสอบท้ังระบบ เช่น กรณีรัฐประหาร 19 กันยายน
พ.ศ. 2549 นาโดย พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลิน พบว่า จากเดิมก่อน

168 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

19

การรัฐประหาร ปี พ.ศ. 2548 ป.ป.ช. มคี ดีคา้ งสะสม จานวน 8,598
คดี ภายหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ในปี พ.ศ.
2549 ป.ป.ช. มคี ดคี ้างสะสม จานวน 11,578 คดี

หรือกรณีรัฐประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 นาโดย
พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา พบว่า จากเดิมก่อนการรัฐประหาร
ปี พ.ศ. 2556 ป.ป.ช. มีคดีค้างสะสม จานวน 8,484 คดี ภายหลัง
การรัฐประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ในปี พ.ศ. 2557 ป.ป.ช.
มีคดีค้างสะสม จานวน 9,478 คดี ปี พ.ศ. 2558 เพ่ิมสูงขึ้นเป็น
10,954 คดี ปี พ.ศ. 2559 เพิ่มสูงขึน้ เป็น 13,925 คดี ปี พ.ศ. 2560
เพิ่มสูงขึ้นเป็น 15,362 คดี และ ปี พ.ศ. 2561 มีจานวนอัตราเร่ือง
คงค้างสะสมย่ิงสูงข้ึนเป็นประวัติการณ์ จานวน 16,232 คดี
(รายละเอยี ดในแผนภมู ิท่ี 7 ในหน้าถดั ไป)

ป.ป.ช. ซ่ึงถือเป็นองค์กรหลักในการปราบปรามการทุจริต
คอร์รัปช่ันท้ังประเทศ แต่กลับรวมศูนย์อานาจไว้ท่ีส่วนกลาง ส่งผล
ให้เกิดความล่าช้าในการดาเนินการไต่สวนข้อร้องเรียนต่าง ๆ
โดยเฉพาะคดีท่ีเกี่ยวข้องกับนักการเมืองท้ังในระดับชาติและระดับ
ท้องถิ่นซึ่งอยู่ในตาแหน่งหน้าที่วาระละ 4 ปี แต่กระบวนการ
สอบสวน ไต่สวนของ ป.ป.ช. ส่วนมากใช้เวลานานกว่านั้น โดย
ผู้กระทาความผิดก็ยังสามารถลงสมัครรับเลือกต้ังได้อีกถ้าหากว่า
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ยงั ไม่ชีม้ ลู ความผิด

169ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

20

ในแต่ละปี พบว่า ป.ป.ช. มีเรื่องค้างดาเนินการสะสมเป็น
จานวนมาก โดยข้อมูลในปี พ.ศ. 2561 มีจานวนอัตราเร่ืองคงค้าง
สะสม จานวน 16,232 คดี โดยมีเร่ืองที่ดาเนินการแล้วเสร็จเพียง
3,752 คดี (เร่ืองที่ดาเนินการแล้วเสร็จ คือ ชี้มูลความผิด ให้ข้อ
กล่าวหาตกไป ไม่รับ/ไม่ยกข้ึนพิจารณา ไม่รับไว้ไต่สวนข้อเท็จจริง
สง่ ให้พนักงานสอบสวน หรอื ส่งหน่วยงานอนื่ เป็นต้น)

แผนภูมิท่ี 7 ข้อมูลสถิติเปรียบเทียบผลการดาเนินงานด้านปราบปรามการ
ทุจรติ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตง้ั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2543-พ.ศ. 2561

ทม่ี า : รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่
พร้อมขอ้ สังเกตของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจาปี 2543-2561

170 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

21

6. บทสรุปและขอ้ เสนอ

6.1 บทสรุป

บทวิเคราะห์เรื่องกล่าวหาการทุจริตคอร์รัปชั่นใน อปท.
จากอดีตจนถึงปัจจุบันกับปัญหาของระบบการตรวจสอบแบบรวม
ศูนย์อานาจของระบอบการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นในไทย
ผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติจากเรื่องกล่าวหาท่ี ป.ป.ช. มีมติชี้มูล
ความผิด วิเคราะห์เฉพาะคดีดา คดีแดง ท่ีเก่ียวข้องกับ อปท.
ในภาพรวมท้ังประเทศ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2544 - 2564 จากจานวนคดี
ท้ังหมด 1,473 รายการ ซึ่งมีจานวนคดีดา คดีแดง ท่ีเก่ียวข้องกับ
การทุจริตคอร์รัปชั่นใน อปท. ในไทยทุกระดับท้ังหมด 624 คดี
(ถึงวนั ที่มีมติ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563) โดยมขี ้อค้นพบทส่ี รุปได้ดังน้ี

1) บทวิเคราะหเ์ รื่องกล่าวหาการทุจรติ คอร์รัปช่ันใน อปท.
จากอดีตจนถึงปัจจุบัน พบว่า เร่ืองกล่าวหา (คดีดา) ที่คณะกรรมการ
ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิด (คดีแดง) แยกตามประเภท อปท.
ภาพรวมท้ังประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 - 2563 (ถึงวันท่ีมีมติ 5
พฤศจกิ ายน 2563) สรุปได้วา่ (1) เปน็ เร่อื งกลา่ วหาท่เี ก่ยี วกับ อบต.
มากที่สุด จานวน 391 เร่ือง (2) เรื่องกล่าวหาท่ีเกี่ยวกับ ทต. จานวน
151 เรื่อง (3) เร่ืองกล่าวหาที่เกี่ยวกับ ทม. จานวน 41 เรื่อง
(3) เรื่องกล่าวหาที่เกี่ยวกับ ทน. จานวน 16 เร่ือง และ (4) เร่ือง
กล่าวหาท่ีเกี่ยวกับ อบจ. จานวน 25 เรื่อง ด้านผู้ถูกกล่าวหา

171ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

22

ส่วนมากจะถูกกล่าวหาเป็นกลุ่มหรือร่วมกระทาความผิดเป็นกลุ่ม
ร้อยละ 58 ประเภทตาแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา ส่วนมากเป็นการ
ร่วมมือระหว่างฝ่ายการเมือง (นายก อปท. หรือสมาชิกสภา) และ
ฝ่ายข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ของ อปท. ร้อยละ 43 รองลงมา
ผู้ถูกกล่าวหาเป็นฝ่ายการเมือง (นายก อปท. หรือสมาชิกสภา)
ร้อยละ 33 และผู้ถูกกล่าวหาเป็นฝ่ายข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง
ของ อปท. ร้อยละ 24 ตามลาดับ และเมื่อนามาวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติความถ่ีสะสม โดยแยกรายจังหวัด ค้นพบว่า จังหวัดที่มีจานวน
คดีสะสมมากเป็นอันดับ 1 คือ จ. กาฬสินธุ์ มีจานวนความถี่สะสม
30 คดี อันดับ 2 จ. นครราชสีมา มีจานวนความถ่ีสะสม 29 คดี
อันดับ 3 จ. ร้อยเอ็ด และ จ. อุบลราชธานี มีจานวนความถ่ีสะสม
24 คดี เป็นตน้

2) ปัญหาความล่าช้าของระบบการตรวจสอบแบบรวม
ศูนย์อานาจ และผลกระทบจากการรัฐประหาร ของระบอบการ
ปราบปรามการทจุ ริตคอรร์ ปั ชนั่ ในประเทศไทย

ด้านความล่าช้าของระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนย์
อานาจ พบว่า ป.ป.ช. ใช้ระยะเวลากว่าจะลงมติชี้มูลความผิด
โดยเฉลยี่ ประมาณ 5.014 ป/ี คดี (หาค่าเฉลยี่ จากจานวนคดีทั้งหมด
624 คดี) และผลกระทบจากการรัฐประหารและการถูกแทรกแซง
โดยฝ่ายการเมือง ค้นพบว่า ภายหลังจากการรัฐประหาร อาทิ
กรณีรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 หรือ กรณีรัฐประหาร

172 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

23

22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จะส่งผลให้ระบบการตรวจสอบ
หยุดชะงักทั้งระบบ โดยภายหลังการรัฐประหาร พบข้อมูลสถิติว่า
ป.ป.ช. มีคดีค้างสะสมเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ยิ่งกว่านั้น
นับตั้งแต่รัฐบาล พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา อยู่ในตาแหน่ง พบว่า
อัตราเร่ืองคงค้างสะสมย่ิงสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ สวนทางกับ
จานวนงบประมาณขององคก์ รตรวจสอบที่ไดร้ ับเพม่ิ สงู ขึน้ ทุกปี

6.2 ขอ้ เสนอ
ต้องปฏิรูประบบการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นใน
ประเทศไทย โดยกระจายอานาจจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใน
ส่วนกลางไปให้องค์กรต่าง ๆ ที่อยู่ในระดับพื้นที่ ส่วนองค์กร
ตรวจสอบที่มีอานาจหน้าที่ทับซ้อนกัน ควรจัดให้อยู่ในองค์กร
เดียวกัน เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติหน้าที่
ไมเ่ กดิ ความซ้าซอ้ น ลา่ ชา้ และส้ินเปลืองทรัพยากร
โดยผวู้ ิจัยเสนอใหย้ ุบสานักงาน ป.ป.ท ไปรวมกับสานกั งาน
คณะกรรมการ ป.ป.ช. เช่นเดิม โดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้อง
กระจายอานาจในการไต่สวนความผิดคดีทุจริตให้หน่วยงานต่าง ๆ
ในระดับพ้ืนท่ี เช่น สตง. ในแต่ละจังหวัด ป.ป.ช. จังหวัด ตารวจ
อยั การ ศาล หรือหน่วยตรวจสอบตา่ งๆ ในระดับพืน้ ท่ี มิใชร่ วมศูนย์
อานาจอยู่ท่ี ป.ป.ช. ในส่วนกลาง กระจายอานาจให้ภาคประชาชน

173ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

24

และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการตรวจสอบ
ป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในพนื้ ท่ี

ควรเปิดโอกาสให้ประชาชน ได้มีส่วนร่วมในการตรวจสอบ
วิพากษ์วจิ ารณอ์ งคก์ รท่ปี ฏบิ ัตหิ นา้ ที่ตรวจสอบองค์กรหรอื บุคคลอ่ืน
ด้วย โดยเฉพาะ ป.ป.ช., ส.ต.ง., ป.ป.ท., ปปง. และผู้ตรวจการ
แผ่นดิน โดยต้องตรวจสอบการพิจารณาวินิจฉัยคดีต่าง ๆ การ
บรหิ ารจดั การ การใช้งบประมาณ เงินค่าตอบแทนในรูปแบบต่าง ๆ
ว่ามีความถูกต้องตามเจตนารมณ์ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ มีความ
โปรง่ ใส เปน็ ธรรม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม หรอื ไม่ อยา่ งไร

174 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

บรรณานกุ รม

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. 2564 (ก).
เรอื่ งกลา่ วหาทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ตชิ มี้ ลู ความผดิ . สบื คน้
เมือ่ วันที่ 1 กันยายน 2564. จาก https://www.nacc.go.th/
naccCulIncul/naccCulpability.php
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. 2564 (ข).
เรอ่ื งกลา่ วหาทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ตวิ นิ จิ ฉยั วา่ ขอ้ กลา่ วหา
ไม่มีมูล ให้ข้อกล่าวหาตกไปน้ัน. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน
2564. จาก https://www.nacc.go.th/naccCulIncul/
naccInculpability.php
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2544. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี พรอ้ มขอ้ สงั เกตของ
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจำ� ปี 2543. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ศรเี มอื ง
การพมิ พ์ จ�ำกัด.
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2545. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี พรอ้ มขอ้ สงั เกตของ
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจำ� ปี 2544. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ศรเี มอื ง
การพิมพ์ จ�ำกดั .
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2546. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ พรอ้ มขอ้ สงั เกตของ
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประจ�ำปี 2545. กรุงเทพฯ: บริษัท
อมรินทร์พรนิ้ ติง้ แอนดพ์ บั ลิซซง่ิ จำ� กัด (มหาชน).

175ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2547. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมข้อสังเกต
ประจ�ำปี 2546. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์
พบั ลซิ ซ่งิ จำ� กัด (มหาชน).
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2548. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าท่ี ประจ�ำปี 2547.
กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทจุ รติ แห่งชาต.ิ
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2549. รายงาน
ผลการปฏิบัติหน้าท่ีของ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำปี 2548.
กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริตแหง่ ชาติ.
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2550. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าท่ี ประจ�ำปี 2549.
กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2551. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ ประจ�ำปี 2550.
กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทจุ รติ แหง่ ชาติ.

176 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2552. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าท่ี ประจ�ำปี 2551.
กรุงเทพฯ: บริษัท รุ่งศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (1997) จ�ำกัด.
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2553. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ ประจ�ำปี 2552.
กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริตแห่งชาต.ิ
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2556. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าท่ี ประจ�ำปี 2553.
กรงุ เทพฯ: บริษทั สยามคลั เลอร์พริน จำ� กดั .
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2556. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ ประจ�ำปี 2554.
กรุงเทพฯ: บรษิ ัท แอคมี พรนิ ติ้ง จำ� กดั .
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2558. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ ประจ�ำปี 2555.
กรุงเทพฯ: บรษิ ทั สยามคลั เลอร์พริน จำ� กดั .
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2558. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ ประจ�ำปี 2556.
กรุงเทพฯ: บริษัท รุง่ ศิลป์การพมิ พ์ (1997) จ�ำกัด.

177ทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ใน อปท. กับปัญหาระบบการตรวจสอบแบบรวมศูนยอ์ �ำนาจ

คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2559. รายงาน
ผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าท่ี ประจ�ำปี 2557.
กรุงเทพฯ: บรษิ ทั สหมติ รพรน้ิ ตงิ้ แอนด์พบั ลิสช่ิง จำ� กัด.
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2561. รายงาน
ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั นโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ สำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการ
ทุจริตแหง่ ชาต.ิ
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2560. รายงาน
ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2559. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั นโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ สำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการ
ทจุ ริตแห่งชาติ.
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2561. รายงาน
ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั นโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ สำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการ
ทจุ ริตแห่งชาติ.
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ 2562. รายงาน
ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั นโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ สำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการ
ทจุ รติ แหง่ ชาติ.

178 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

1

ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งทอ้ งถ่นิ ไทย*

ณัฐกร วิทิตานนท์**

“…อนาคตแนวโนม้ เหตุในลักษณะฆ่านกั การเมืองผสู้ นบั สนนุ จะรุนแรงมาก
ขึ้น... ตั้งแต่มีการกระจายอานาจไปสู่นักการเมืองท้องถ่ินก็เกิดความ
แตกแยกระหว่างคนในท้องถิ่น เมื่อมีอานาจก็ไปสร้างเงิน มีเงินก็กลับมา
สร้างอานาจ รูปแบบปัจจุบัน ผู้มีอานาจมีเงินพัฒนาฐานะทางสังคม
ในรปู แบบต่าง ๆ มกี ารใช้อาวุธทารา้ ยกัน…”

พลตํารวจเอกวิเชยี ร พจน์โพธ์ิศรี ผบู้ ญั ชาการตาํ รวจแห่งชาติ
(สยามรฐั , 2554)

* บทความเร่ืองน้ีพัฒนาตอ่ ยอดจากดุษฎนี ิพนธข์ องผเู้ ขยี นเองในชอื่ “ความขัดแย้งและ

ค*วบาทมรคุนวแารมงเขรออื่ งงกนาี้พรฒัเมนอื งาทตอ้่องยถอิ่นดไทจายกในดภษุ าฎคีนเหพิ นนือธต์ขออนงบผนู้เขพีย.นศเ.อ2ง5ใ4น3ช-่ือ25“5ค2ว”าหมลขักดั สแตู ยรง้
ปแรลชั ะญคาวดาุษมฎรนุบี ณัแรฑงติขอสงากขาารวเชิ มาอืสงังทคม้อศงถาสนิ่ ตไรท์ ยสใํานนภักวาิชคาเหศิลนปือศตาอสนตบร์นมหพา.ศวิท. ย2า5ล4ยั 3แ-2ม5ฟ่ 5้า2”
หหลลวักงสขูต้อรมปูลทรัี่ปชรญาากดฏุใษนฎบีบทัณควฑามิตชนิ้ สนา้กี ข่อานวหิชนาา้ สปังี ค25ม5ศ4าจสึงตมรา์จาสก�ำกนาักรววจิิชัยาดศังิลกลปา่ ศวาเปสน็ ตร์
สมว่ หนาใวหทิ ญย่ ขาลณัยะแทมขี่ ่ฟอ้ ม้าหูลตลัง้วแงตข่ป้อี 2ม5ลู 5ท4ป่ี เปรา็นกตฏ้นใมนาบคือทผคลวผาลมิตชจิน้ านกก้ีกาอ่ รนคห้นนคา้วป้าเีพ2ิม่ 5เ5ต4ิม จงึ มา
ภจาายกหกลางัรวจิ ยั ดงั กลา่ วเปน็ สว่ นใหญ่ ขณะทขี่ อ้ มลู ตงั้ แตป่ ี 2554 เปน็ ตน้ มาคอื ผลผลติ
*จ* าดกรก. าณรัฐคกน้ รคววิทา้ ิตเพานมิ่ นเตทิม์ อภาาจยาหรยลป์งั ระจาํ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
ม**หาดวริท.ยณาลัฐัยกรราชภวิทฏั เิตชาียนงในหทม์่ จอังาหจวาัดรเชยยี์ปงรใหะมจ่�ำ5ค0ณ30ะ0มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
อมเี หมาลว: ทิviยtiาtaลnยั oรnาช@ภhฏัoเtชmยี aงiใlห.cมo่mจงั,หnวuดั ttเชakยี oงrใnห_มv่ i5t@03c0m0ruอ.เีaมcล.t:hv,ititanon@hotmail.
ncuotmta,[email protected][email protected], [email protected]

179ความขดั แยง้ และความรนุ แรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

2

เกรน่ิ นา

การปกครองท้องถ่ินของไทยในความรู้สึกนึกคิดของผู้คน
โดยทั่วไปมักติดภาพเชิงลบ โดยเฉพาะจากข่าวความขัดแย้งรุนแรงท่ี
ปรากฏให้เห็นบนหน้าหนังสือพิมพ์ไม่เคยว่างเว้น1 ฐานคิดที่เชื่อว่า
การกระจายอานาจนาไปสู่ความรุนแรง คอยฉุดรั้งการกระจาย
อํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) มาโดยตลอด ภายใต้
“วาทกรรม” เดิม ๆ ที่ถูกใช้เป็นเหตุผลคัดค้าน ไม่ว่าจะนํามาซึ่งความ
แตกแยกในท้องถิ่น ประชาชนยังไมพ่ ร้อม กลัวว่าเจ้าพ่อจะชนะเลือกตง้ั
และมีการโกงกินมโหฬาร

บทความขนาดส้ันช้ินน้ีต้ังใจจะทบทวนงานศึกษาทางวิชาการ
เกี่ยวกับประเด็นเหล่านี้ท่ีมีท้ังหมด พยายามทําความเข้าใจเหตุปัจจัย
ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อนําไปสู่ข้อสรุปในภาพรวม หวังนําไปใช้ถกเถียง
สนทนากับฟากฝ่ังนิยมการรวมศูนย์อํานาจได้บ้าง ซ่ึงแน่นอนท่ีสุดว่า
ย่อมต้องมีข้อจํากัดในการนําไปใช้อธิบายปรากฏการณ์การเมืองท้องถิ่น
ของแตล่ ะพน้ื ท่ซี ึง่ มีความหลายหลากและมีบรบิ ทแตกตา่ งกัน

1 ตัวอย่างพาดหัวข่าวการลอบสังหารนักการเมืองท้องถิ่นท่ีปรากฏอยู่บนหน้าหนึ่ง
1หตนัวงั อสยือา่ พงพิมาพดห์ เชวั ขน่ า่ วรกวั าฆร่าลคอบาหสัง้อหงาปรนระกั กชาุมรนเมาอื ยงกท-อ้ ปงถลนิ่ดั ท(่ีปขร่าาวกสฏดอ,ย2บู่ 5น4ห8น)้า,หปนธงึ่ .หสนภังสาือคพลิมงั่ พย์ ิง
เนชาน่ ยรกัวเฆล่าก็ คคาหาอโ้ ตงป๊ะรปะรชะมุ ชนุมาย(กไ-ทปยลรดั ัฐ(,ข2า่ ว5ส4ด9,)2,5ก4า8ร),เมปือธ.งสแภปาคดลรั่งิว้ ยรงิ ้อนนายรกะเอลก็ุฆค่าานโตา๊ะยปกระอชบมุ ต.-
(หไทวั ยคระฐั แ, น25น4พ9)ป, ชก.าร(เคมมืองชแดั ปลดกึรวิ้,ร2อ้ 5น5ระ0อ),ุฆา่ ตนรา.ยกพอทั บลตงุ.-เหควั น้ ค3ะแผนตู้ นอ้ พงปหชา.ส(งคสมยัชดัสลากึว,ป2ม5ส50งั )ห, าร
ต“รน.พายัทลกุงหเคนน้ นุ 3”ผูต้(มอ้ ตงหชิ านส,งส2ยั5ส5า2ว)ป, มรสวั งัโหหาดรน“นายายกกสหงนขนุ ล”าด(มบั ตสิชยนอ, 2ง5ค5า2บ),า้ รนัวปโหมดกนาารยเกมสอื งงขรลอ้ าน
ด(เับดสลยินอวิงคสา,์ บ2้า5น5ป5ม)ก, าโรจเรมใือตงร้ อ้วั นปืน(เถดลลินม่ วิ รสอ์,ง2น5า5ย5)ก, อโจบรตใต.ร้ วัา่ ปงพนื ถรลุน่มคราอรงถนา(ยสกยอาบมตร.รฐั า่ ,ง2พ5รนุ5ค6า),
รเวถีย(งสปยาา่ มเปรฐั า้ ,ด2ุ-5ย5ิง6ด),ับเนวียางยปก่าเปลา้็กดป-ุ ย่างิงดิ้วบั (นขาา่ ยวกสเลด็ก,ป2่า5ง้ิว59(ข)่าฯวสลดฯ, 2559) ฯลฯ

180 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

3

ความขดั แย้งในการเมอื งทอ้ งถน่ิ ไทย

จากการสํารวจฐานข้อมูลต่าง ๆ ซ่ึงเคยมีการรวบรวมไว้แล้ว
อยา่ งเปน็ ระบบโดยละเอยี ด พบวา่ เคยมีงานวจิ ัย วทิ ยานพิ นธ์2 ตลอดจน
บทความในวารสารวิชาการ3 เก่ียวกับประเด็นเรื่อง “ความขัดแย้ง”
(conflict) ในบริบทการเมืองการปกครองท้องถ่ินของไทยเป็นจํานวนมาก
ประมาณ 60 หัวข้อเรื่อง ซ่ึงก็พบท้ังงานศึกษาในเชิงปริมาณและ
คุณภาพ แตกต่างกับงานศึกษาในมิติด้าน “ความรุนแรง” (violence)
ท่ีมอี ยู่น้อยชนิ้

งานศึกษาเกี่ยวกับ “ความขัดแย้ง” ในการเมืองการปกครอง
ระดับทอ้ งถิน่ ของไทยแบง่ ออกได้เปน็ 4 กลุ่มใหญ่ กล่าวคอื

2 ส่วนที่เป็นงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ประมวลจาก ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บก.),
2รวสมว่ นบทท่เี ปคน็ัดงยา่อนววิจิทยั ยแาลนะิพวทิ นยธา์ทนพิ่ีเกน่ียธวป์ กระับมกวาลรจเามกือชงากญาวริทปยก์ เคกรษอตงรใศนริ ิร(บะกบ.อ),บรวปมรบะทชคาดั ธยิป่อไตย
วขิทอยงาไนทพิ ยน,ธ(ท์ ก่ีเกรยุงี่ เวทกพบั กฯา:รเสมำ� อื นงกักาพริมปกพค์มรหองาใวนทิ ระยบาอลบยั ปธรระรชมาศธปิาสไตตยรข,์ อ2งไ5ท3ย6, )(;กรตุงรเทะพกฯลู : มีชัย,
สรําานยกั งพาิมนพฉม์ บหับาวสิทมยบาูลรยัณธ์โรครมรศงากสาตรรศ์,ึก2ษ53า6ร)ว; ตบรระวกมูลขม้อีชมัยูล, รดา้ายนงากนาฉรบเมับสือมงบกรูาณรป์โคกรคงกราอรงศไึกทษยา
รเรวบื่อรงวมกขา้อรมเลูมดือา้ งนกกาารรเปมกือคงกราอรงปทกค้อรงอถง่ินไทไยทยเร,่อื ง(นกนารทเมบอื ุรงี:กาสรถปากบครันอพงทระอ้ งปถกน่ิ เไกทลย,้า(,น2น5ท4บรุ6:ี )
สโดถายบเฉนั พพราะะปอกยเก่าลงา้ย,ง่ิ 2จ5า4ก6ฐ)าโดนยขเอ้ฉพมาูละอTยD่างCย่งิ หจารกือฐาTนhขaอ้ iมูลDiTgDitCalหCรือoTllheacitDioignitaสl ่วนหนึง่
Cขoอlงleโคctรioงnกาสร่วนTหhนa่งึiLขIอSงโซคง่ึ รใงหกบ้ารรกิTาhรaสiLบืISคซน้ ง่ึ ฐใหาบ้นรขิกอ้ ามรสลู ืบเอคก้นฐสาานรขฉ้อบมบั ูลเเอตกม็ สทารงั้ ฉวบทิ บั ยเาตนม็ พิ ทน้ังธ์
วขทิ อยงานนักพิ ศนึกธ์ขษอางนแกั ลศกึะษราายแงลาะนรากยางราวนิจกัยารขวอจิ งยั อขอางจอาารจยา์รยร์วรบวบรวรวมมจจาากกมมหหาาววทิ ิทยยาลายัลตัยา่ ตง่าๆงทๆว่ั
ปทร่ัวะปเทรศะเผทา่ ศนทผาา่งนhทttาpงs:httdtpc.st:h/a/itldis.co.rt.hthaitldisc.or.th/tdc/
33 สสว่ ว่นนนนอี้ าอี้ ศายั ศเวยั ็บเวไซบ็ ตไ์ซhตtt์ phst:tpws:w//ww.twci-wth.tacijoi-.tohragijoห.รoือrgT/haหiรJอืouTrnhaalisJOonulrinneal(sThOaniJlOin) e
ใ(นTกhาaรiสJOบื ค)้นในใกนฐาารนสะบื รคะบน้ บใฐนาฐนาขน้อะมรูละวาบรบสาฐราอนเิ ลขก็อ้ ทมรลู อวนากิ รสสก์ าลราองเิ ซล่งึ ก็ เปทน็ รแอหนลกิ ่งรสวก์ มลาง ซง่ึ เปน็
วแาหรสลา่งรรววิชมากวารรทส่ีสาาํ รควัญชิ ขาอกงาปรรทะเี่สท�ำศคญั ของประเทศ

181ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

4

กลุ่มแรก ให้ความสําคัญไปท่ี “คู่ขัดแย้ง” แยกย่อยลงได้อีก 3
กล่มุ คือ

(1) เน้นมุ่งศึกษาความขัดแย้งระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายสภา
พบมูลเหตุหลักมาจากความต้องการช่วงชิงอํานาจจากฝ่ายบริหารโดย
ฝ่ายคา้ น เช่น งานของจงศกั ด์ิ สุวรรณประดษิ ฐ์ (2520)

(2) ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายการเมืองกับฝ่ายประจํา เนื่องจาก
มีปรัชญาเป้าหมายการทาํ งานที่แตกต่างกัน ฝ่ายแรกกําหนดนโยบายให้
ฝ่ายหลังรับไปปฏิบัติ ข้าราชการเคร่งครัดระเบียบ ยึดกฎหมายเป็นตัวต้ัง
ขณะที่ผู้บริหารท้องถ่ินต้องการทําตามนโยบายหาเสียง เพื่อสนองตอบ
ความต้องการของประชาชน โดยไม่คํานึงวิธีการขั้นตอน เช่นงานของ
สมเจตน์ พันธุโฆษิต (2520) พงศ์ สุภาวสิทธ์ิ (2536) สุวรรณ พฤคณา
(2548) เบญจรัส ศรปี ระดู่ (2551) ปิยาณีย์ จว๋ งพานชิ (2552) สุประวณี ์
เปรมปรีดี (2553) โดยเฉพาะงานศึกษาล่าสุดของสุทธิเกียรติ อังกาบูรณะ
(2564) ซงึ่ เห็นวา่ ปัญหาความขัดแย้งระหว่างข้าราชการการเมืองท้องถิ่น
กับข้าราชการประจําของ อปท. มีสาเหตุมาจากเรื่องการบริหารงาน
บคุ คลเปน็ สําคญั

(3) ความขัดแย้งฝ่ายท้องถิ่นกับฝ่ายท้องท่ี (หรือจะเรียกว่า
ระหว่างฝ่ายการเมืองกับฝ่ายปกครองก็ได้) เกิดจากความทับซ้อนในเชิง
บทบาทของท้งั สองฝา่ ย ซึ่งมีความเป็นผนู้ าํ ทอ้ งถ่นิ ด้วยกัน เพราะมาจาก
การเลือกต้ังทั้งคู่ ความขัดแย้งเกิดจากการชิงดีชิงเด่น และเกี่ยวพันกับ

182 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

5

เรื่องผลประโยชน์ในท้องถ่ิน เช่น งานของเกรียงศักดิ์ ชูดอกไม้ (2549)
ศริ วิ รรณ วรี ะกุล (2550)

สรุปได้ว่าความขัดแย้งท้ัง 3 ลักษณะข้างต้นคือความขัดแย้ง
หลกั ที่พบไดเ้ สมอ ๆ ในระดับทอ้ งถิน่ ทว่ายังมีความขดั แย้งปรากฏข้นึ ใน
อีกหลายลักษณะท่ีไม่ได้ถูกหยิบยกขึ้นมาศึกษา ท้ังความขัดแย้งภายใน
ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายประจําด้วยกันเอง ความขัดแย้งระหว่างสมาชิก
สังกัดกลุ่มการเมืองท้องถิ่นเดียวกัน หรือระหว่างกลุ่มการเมืองในสภา
กบั กลมุ่ การเมอื งนอกสภา เป็นอาทิ

กลุ่มท่ีสอง ทําการศึกษา “ประเด็นขัดแย้ง” ใจกลางของกรณี
ปญั หาตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเปน็

(1) ความขัดแย้งกรณีท้องถ่ินขอขยายเขตรับผิดชอบเพิ่มเติม
การศึกษาของประดิษฐ์ ทิพย์สุมาลัย (2531) และชวลิต ศิริศักดิ์วัฒนา
(2538) พบเกิดการขัดขวางต่อต้านจากฝ่ายท่ีไม่เห็นด้วยซ่ึงสูญเสีย
ประโยชน์ด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะไปกระทบต่อสถานะของผู้นําทอ้ งถิ่นคือ
กํานันผู้ใหญบ่ า้ นที่มีแตเ่ ดิม

(2) ความขัดแย้งกรณีถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาให้แก่ท้องถ่ิน
จากการศึกษาของนนท์ นนท์พะยอม (2545) รัตนาภรณ์ นันทะเรือน
(2551) และวีระวัฒน์ พัฒนกุลชัย (2554) ช้ีว่าเป็นความขัดแย้งเชิง
โครงสร้าง มีสาเหตุมาจากการท่ีบุคลากรฝ่ายการศึกษาไม่เช่ือม่ันใน
ความพร้อมของ อปท. ในการจัดการศึกษา รวมถึงยังกังวลใจเรื่อง

183ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

6

ผลกระทบของการกระจายอาํ นาจท่มี ตี ่อระบบการบริหารการศึกษาและ
ตอ่ บุคคล รวมถึงสถานะศกั ดศ์ิ รีของครทู อ่ี าจเปลยี่ นแปลงไป

(3) ความขัดแย้งระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม ได้แก่งานของมานัส เสนานุช (2558) ศึกษาผ่านข้าราชการ
พนักงาน ลูกจ้างของ อปท. ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ซ่ึงพบว่ามีความ
ขัดแย้งในภาพรวมอยู่ระดบั ปานกลาง

(4) ความขัดแย้งอันเน่ืองมาจากปัญหาเฉพาะพื้นท่ีต่าง ๆ เช่น
ปัญหาจัดเก็บขยะ จากการศึกษาของ ธรรมศักด์ิ สุเมตติกุล (2544)
พบสาเหตุมาจากความขัดแย้งทางการเมืองภายในองค์กรท้องถิ่นนั้น ๆ
สืบเนื่องจากการจัดสรรผลประโยชน์ไม่ลงตัว และมีการแย่งชิงตําแหน่ง
ในฝ่ายบริหารเกิดข้ึน ผลคือได้นําไปสู่การเปลี่ยนตัวผู้บริหาร ปัญหา
จัดการน้ํา งานวิจัยโดย ธนัน อนุมานราชธน, จันทนา สุทธิจารี และ
ไพสฐิ พาณิชยกุล (2545) พบขอบเขตและลกั ษณะของปัญหากวา้ งขวาง
และสลับซับซ้อนเกินกว่าโครงสร้างและอํานาจหน้าที่ของอบต. จะแก้ไขได้

กลุ่มที่สาม เจาะจงศึกษา “เชิงพื้นท่ี” เพื่อคน้ หาภาพรวมท่ัวไป
ของความขัดแยง้ เช่น รปู แบบ สาเหตุ และผลกระทบ เปา้ หมายต้องการ
ศกึ ษาเฉพาะทอ้ งถนิ่ ใดท้องถิ่นหนึ่งเปน็ หลัก

ความขัดแย้งของหลาย ๆ พื้นที่ สาเหตุคล้ายกัน คือเกิดจาก
ความไม่ลงตัวเร่ืองอํานาจซึ่งเก่ียวพันกับตําแหน่งฝ่ายบริหารหรือความ
ไม่ลงรอยกันในผลประโยชน์ โดยมากมักไม่พ้นผลประโยชน์ส่วนตัว
งานท่ีสนับสนุนแนวคิดน้ี เช่น งานของศิริศักดิ์ ศิริมังคะลา (2533)

184 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

7

ศึกษาเทศบาลเมืองอุทัยธานี ไพฑูรย์ คล้ายมั่ง (2543) ศึกษา อบต.
ในอําเภอราศีไศล จ. ศรีสะเกษ อดุลย์ รสศิริ (2548) ศึกษา อบต.
ในอําเภอเมือง จ. ระยอง สมหวัง บุญลา (2551) ศึกษา อบต. พะลาน
อําเภอนาตาล จ. อุบลราชธานี ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม (2552) ศึกษา
อบต. 4 แห่ง ใน จ. ยโสธร พงษ์ศักด์ิ สิงห์โต (2550) ศึกษา อบต.
ในอาํ เภอเมอื ง จ. ระยอง จรญู ศรี ตงั้ เสถียร (2553) ศึกษา อบต. ในเขต
อาํ เภอทา่ หลวง จ. ลพบรุ ี

รวมทั้งงานของผู้เขียนเอง 2 ชิน้ ก็จัดอยใู่ นกลุ่มน้ี
ชิ้นแรก ศึกษากรณีเทศบาลนครเชียงใหม่ พบลักษณะของ
ความขัดแย้งที่เกิดข้ึนจําแนกออกได้ 2 แบบ หน่ึง เป็นความขัดแย้ง
ภายในกลุ่มเดียวกัน ระหว่างผู้นํากลุ่มกับสมาชิกคนสําคัญ สาเหตุหลัก
มาจากเรื่องตําแหน่ง เพราะสมาชิกเหล่านั้นไม่เห็นโอกาสก้าวหน้า
ในทางการเมืองถ้ายังอยู่รว่ มกลุ่มเดิมต่อไป จึงขอแยกตัวออกมาเป็นฝ่าย
ตรงข้าม เป็นคู่แข่งในการเลือกต้ัง สอง เป็นความขัดแย้งภายในสภา
ระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายสภา เนื่องจากเป็นคนละกลุ่มการเมือง
ข้อสังเกตคือความขัดแย้งจะรุนแรงถ้ามีสภาวะแบ่งขั้วข้ึนในสภา (มีสอง
กลุ่มท่ีเสียงก้ํากึ่งกัน) ไม่ได้ข้ึนอยู่กับจํานวนที่นั่งของฝ่ายค้านในสภา
ส่วนความขัดแย้งลักษณะอ่ืน โดยเฉพาะความขัดแย้งระหว่างฝ่าย
การเมอื งกับฝ่ายประจําท่ีถือเป็นความขัดแย้งหลกั ในบริบทการปกครอง
ท้องถิ่นไทยมาช้านานน้ัน กลับไม่พบแต่อย่างใด (ณัฐกร วิทิตานนท์,
2555)

185ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

8

ช้ินที่สอง ศึกษากรณีเทศบาลตําบลบ้านดู่ จ. เชียงราย ท้องถ่ิน
เพยี งไมก่ ่ีแห่งในกลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนบนที่มีข่าวคราวความขัดแย้ง
ปรากฏให้เห็นบนหน้าหนังสือพิมพ์ส่วนกลางอยู่เนือง ๆ โดยเฉพาะจาก
เหตุการณ์ชาวบ้านชุมนุมปิดล้อมสํานักงานและปิดถนนขับไล่ปลัดเทศบาล
ผลการศึกษาบ่งชี้ว่าความขัดแย้งเกิดขึ้นในหลายลักษณะ บางช่วงเป็น
ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายสภา บางช่วงเป็นความขัดแย้ง
ระหว่างฝ่ายการเมืองกับฝ่ายประจํา สาเหตุมาจากทั้งปัจจัยส่วนบุคคล
ปัจจัยเชิงโครงสร้าง การแข่งขันระหว่างกลุ่มการเมืองในการเลือกต้ัง
รวมถึงอาจมีเรื่องของผลประโยชน์เข้ามาเก่ียวข้องด้วย ความขัดแย้ง
สะท้อนถึงภาวะการเมืองที่ขาดเอกภาพ ทําให้มีการเปล่ียนแปลง
ผู้บริหารบ่อยคร้ัง และส่งผลกระทบต่อการทําหน้าท่ีของฝ่ายประจํา
อยา่ งมาก (ณฐั กร วิทติ านนท์, 2559)

อย่างไรก็ตาม การศึกษาหลายเรื่องก็ได้ข้อสังเกตท่ีน่าสนใจ
แตกต่างออกไป เช่น กฤชวรรธน์ โล่วัชรินทร์ (2552) ศึกษา อบต.
4 แห่งของ จ. ขอนแก่น กบั จ. หนองคาย พบวา่ ความขดั แย้งในปัจจุบัน
ลดน้อยลงกว่าในช่วงรอยต่อของการยกฐานะจากสภาตําบลเป็น อบต.
อย่างมาก สุธน ชุ่มช่ืน (2552) ศึกษาความขัดแย้งทางการเมืองท้องถ่ิน
ใน จ. กาญจนบุรี พบสาเหตุหลักเกิดจากความแตกต่างทางความคิด
และบทบาทของแต่ละฝ่าย โดยการท่ีผู้บริหารมักเป็นผู้ยึดเอาความคิด
ของตนเองเปน็ ใหญ่

186 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

9

กลุ่มที่ส่ี ให้ความสําคัญกับเร่ือง “การจัดการความขัดแย้ง”
(conflict management) และ “การแกป้ ัญหาความขดั แย้ง” (conflict
resolution) ที่ถือเป็นกระแสหลักในการศึกษาการบริหารจัดการ
ทอ้ งถนิ่ ในระยะหลงั ขอ้ ค้นพบหลัก ๆ คือ

(1) ผู้บริหารท้องถิ่นส่วนใหญ่ใช้วิธีการประนีประนอม ในการ
จัดการความขัดแย้งโดยอาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัวในการประสาน
ผลประโยชน์ให้ลงตัว หรือใช้คนกลางเข้ามาช่วยเจรจาต่อรอง ข้อสรุป
จากงานของสิทธิกร อ้วนศิริ (2546) ชูชาติ จันทร์แก้ว (2550)
พรรณเพ็ญ ฟั่นจักรสาย (2551) คนึงนิจ ธรรมทิ (2553) อธิญา งามภักดิ์
(2558) ทศั นยี ์ ปิ่นสวัสดิ์ (2561) ยืนยันทาํ นองนี้

ขณะที่ผู้บริหารท้องถ่ินบางส่วนเลือกใช้พฤติกรรมเอาชนะ
ยึดแนวทางของตนโดยไม่ฟังเหตุผลผู้อื่น เช่นงานศึกษาของธีรภัทร์
เลศิ วรสิรกิ ลุ (2551)

(2) ความขัดแย้งในภาพรวมก่อให้เกิดผลดีมากกว่าผลเสีย
โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ย่ิ ง ใ น แ ง่ ข อ ง ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ แ ต่ ล ะ ฝ่ า ย ต ร ว จ ส อ บ
ซ่ึงกันและกัน จากการศึกษาของณัฐฐินีย์ เรียงจันทร์ (2550) อมรศักดิ์
สอนวงศา (2551)

นอกเหนือจากน้ียังมีงานวิจัยอีกจํานวนมากที่เน้นไปที่เร่ืองการ
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน เช่น นักรบ เถียรอํ่า (2556) บทบาท
ของผู้นําท้องถิ่น (ในความหมายกว้าง) กับการจัดการความขัดแย้ง
เช่น วินิจ โพธ์ิเวียง (2553) ใบบุญ อุปถัมภ์ (2558) งานที่น่าสนใจคือ

187ความขดั แยง้ และความรนุ แรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

10

เทิดทูน แพทย์หลักฟ้า (2556) เจาะจงศึกษาการจัดการความขัดแย้ง
ระหว่างกํานันผู้ใหญ่บ้านกับ อปท. และอดิศร ภู่สาระ (2564) ศึกษา
การจัดการความขัดแย้งในการปฏิบัติงานของปลัด อปท. โดยเฉพาะ
พบว่ามักขัดแย้งกับนายก อปท. และสมาชิกสภา อปท. โดยปลัด อปท.
ทเ่ี ป็นผู้หญงิ มีแนวโน้มใช้วิธีการหลีกเลีย่ ง ปลัดที่มีอายุราชการมากมักใช้
วิธีการประนีประนอม และย่ิงคุณวุฒิการศึกษาสูงก็ยิ่งนิยมใช้วิธีการ
เอาชนะ ความขัดแย้งในระดับหน่วยงานย่อยภายใต้ อปท. เช่นกรณี
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประเด็นที่ศิริญา น่วมตาล (2557) สนใจศึกษา
รวมไปถึงการศึ กษ าก ารบ ริหารจั ด การ แก้ ปัญห าคว าม ขัด แย้ ง โ ด ย
ผู้บริหารท้องถิ่นที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ซ่ึงในบางกรณีได้มีการนําเอา
วัฒนธรรมลีซูมาใช้ในการบริหารงานของ อปท. ด้วย (อาเบ เปียะผะ,
2556) กระท่ังความขัดแย้งกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders)
ภายนอกองค์กร เช่น ผู้รับเหมา เคยมีผลการศึกษาออกมาว่าผู้บริหาร
ท้องถิ่นยังคํานึงถึงผลประโยชน์ส่วนตนมากกว่าผลประโยชน์ของ
ประชาชน (กําพล ติบ๊ เหล็ก, 2556)

จากการทบทวนวรรณกรรมขา้ งต้นจึงยากทจี่ ะหาข้อค้นพบสูตร
สํ า เ ร็ จ สํ า ห รั บ ใ ช้ อ ธิ บ า ย ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ใ น ก า ร เ มื อ ง ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถ่ิ น ที่ มี
ลักษณะเป็นการทั่วไปได้ สาเหตุสําคัญของความขัดแย้งแตกต่างกัน
ออกไปตามลักษณะของคู่ขัดแย้ง เป็นต้นว่าความขัดแย้งระหว่างฝ่าย
บริหารกับฝ่ายสภา สาเหตุมักมาจากการช่วงชิงอํานาจบริหาร
โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้โครงสร้างแบบเดิมซึ่งคณะผู้บริหารมาจาก

188 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

11

ความเห็นชอบของสภา และฝ่ายสภาสามารถล้มฝ่ายบริหารได้โดยง่าย
ฝ่ายการเมืองกับฝ่ายประจํา มาจากเป้าหมายในการทํางานซ่ึงแตกต่างกัน
ฝ่ายหน่ึงเอาประชาชนเป็นตัวต้ัง ขณะท่ีอีกฝ่ายหน่ึงยึดถือระเบียบ
กฎเกณฑ์เป็นหลัก ฝ่ายท้องถิ่นกับฝ่ายท้องที่ เน่ืองจากบทบาทท่ีคาบ
เก่ียวกันของกํานันผู้ใหญ่บ้านกับสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ทอ้ งถ่ินทต่ี า่ งกอ็ า้ งความเป็นตวั แทนของประชาชนได้เช่นเดียวกนั

ความรุนแรงในการเมืองทอ้ งถิ่นไทย

ปัญหาการใช้ความรุนแรงในการเมืองระดับท้องถ่ินมีหลาย
รูปแบบลักษณะ ท้ังการใช้กําลังทําร้ายร่างกายกัน การข่มขู่คุกคามด้วย
วิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าหนักหรือเบา เช่น ใช้อาวุธปืนข่มขู่ ปาระเบิดหรือยิง
ข่มขู่ที่บ้านหรือสํานักงาน ส่งจดหมายข่มขู่เอาชีวิต ออกใบปลิวโจมตี
และการประทุษร้ายต่อทรัพย์สิน เช่น เผารถ แต่ลักษณะท่ีร้ายแรง และ
สร้างผลกระทบต่อท้องถ่ินมากท่ีสุด คือ การลอบสังหารนักการเมือง
ท้องถ่ิน ซ่ึงนาํ ไปสู่ความเปลี่ยนแปลงในตวั ผ้บู รหิ ารหรือสมาชิกสภา ตอ้ ง
จัดให้มีการเลือกต้ังซ่อม ขาดความต่อเนื่องในการทํางาน รวมถึงยังทํา
ให้ประชาชนเกิดทัศนคติด้านลบต่อการปกครองท้องถิ่นโดยรวม ซึ่งก็
ไม่ได้หมายความว่ามีแต่นักการเมืองท้องถ่ินเท่าน้ันท่ีถูกกระทํา หากแต่
ยงั รวมถงึ ฝ่ายประจาํ อกี ด้วย

ถึงกระน้ัน ท่ามกลางงานศึกษาเกี่ยวกับความขัดแย้งที่มี
มากมายหลากมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนับแต่ปี 2540 ซึ่งถูกกล่าวถึงว่า

189ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

12

เป็นทศวรรษแห่งการกระจายอํานาจเป็นต้นมานั้น งานศึกษาเกี่ยวกับ
ความรุนแรงกลับมีปรากฏเพียงช้ินเดียวคือ งานของสุชาติ ช่วยรักษ์
(2553) เรื่อง “ความรุนแรงทางการเมืองของ อปท. ในจังหวัด
นครศรีธรรมราช” ซ่ึงเนื้อในนําเสนอสถิติการเสียชีวิตของนักการเมือง
ท้องถ่ินนครศรีธรรมราชท่ีมาจากเหตรุ ุนแรง ระหว่าง พ.ศ. 2540-2552
พบว่ามีทั้งสิ้น 8 ราย มี 5 รายด้วยกันท่ีเป็นนายก อปท. เช่น นายก
เทศมนตรตี าํ บลทา่ ศาลา นายก อบต.ปากนคร (สชุ าติ ช่วยรักษ์, 35-36)
ความขัดแย้งซึ่งเป็นสาเหตุท่ีนําไปสู่ความรุนแรงมีหลายประการ ได้แก่
การขัดแย้งทางด้านการเมืองท้องถิ่น ความขัดแย้งกันในทางผลประโยชน์
และความขดั แย้งส่วนตัวเฉพาะบคุ คล (สชุ าติ ชว่ ยรักษ์, 40-43)

ด้วยความขาดแคลนงานวิชาการท่ีจะใช้อธิบายประเด็น
ดังกล่าวอย่างเป็นระบบ กระตุ้นผู้เขียนให้ริเร่ิมบุกเบิกงานศึกษา
ความรุนแรงในการเมืองท้องถิ่นของไทยข้ึนในห้วงเวลาคาบเก่ียวกัน
โดยเริ่มต้นท่ีการสํารวจสถิติการลอบสังหารนักการเมืองท้องถิ่นที่เป็น
ภาพรวมของทั่วทั้งประเทศในรอบทศวรรษ ช่วงปี 2543 - 2552
(ณัฐกร วิทิตานนท์, 2553)

ผลการศึกษาคร้ังน้ันสะท้อนข้อค้นพบสําคัญ หน่ึง การลอบ
สังหารนักการเมืองท้องถิ่น (ท้ังฝ่ายบริหารและสมาชิกสภา ตลอดจน
ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง และปลัดท้องถิ่น)4 อันที่จริงแล้วไม่ได้มากมายนัก

4 นักการเมืองท้องถ่นิ ในทท่นี นไี้ ี้ไมม่ร่รววมมถถงึ ึงออดดตี ีตผผูด้ ู้ดาํ �ำรรงงตตาํ �ำแแหหนนง่ ่งททาางงกกาารรเเมมอื ืองงแแลละะผผู้ทู้ทเี่ ค่ีเคยย
ลงสมัครรบั เลอื กตั้งระดบั ท้องถน่ิ ตลอดจนกาํ�ำนันผู้ใหญบ่ า้ นแตอ่ ยา่ งใด

190 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

13

รวมทั้งสิ้น 481 ครั้ง (100%) หรือ 459 คดี เพราะในบางคดีมีเหย่ือถูก
ทําร้ายมากกว่าหน่ึงคนในเหตุการณ์ลอบสังหารเดียวกัน จากตัวเลขน้ี
มีผู้เสียชวี ิต 362 ราย (75.3%) จัดวา่ เป็นตัวเลขท่ีสูงทีเดียวและเป็นเรอ่ื ง
น่าเศร้า ทว่าเมื่อเปรียบเทียบกับคดีฆ่าผู้อ่ืนโดยเจตนาท่ัวประเทศ
(โดยเฉล่ยี ปลี ะเกือบ 4,700 คดี) และจํานวนนักการเมืองท้องถ่นิ ท้ังหมด
(ประมาณ 160,000 คน) ก็ต้องถือว่าตัวเลขน้ีอยู่ในระดับต่ํา กล่าวคือ
น้อยกว่า 1% ทั้งในสองแง่มุม สอง อปท. ขนาดเล็กมักมีปัญหาการใช้
ความรุนแรงมากกว่าขนาดใหญ่ ใน อบต. พบมากถึง 349 ราย (72.6%)
ตามด้วยเทศบาล 83 ราย (17.3%)5 สาม ความรุนแรงเกิดขึ้นอย่าง
กระจัดกระจาย แต่มีแค่บางพื้นท่ีที่เข้าขั้นวิกฤต โดยเฉพาะในภาคใต้
(42.2%) ที่มาเป็นอับดับแรก ตามด้วยภาคกลาง (26.4%) อันดับท่ี 3
คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (10.8%) อันดับ 4 ภาคเหนือ (8.3%)
อันดับ 5 ภาคตะวันตก (6.2%) และอันดับสุดท้าย ภาคตะวันออก
(6.0%) (ดูแผนภาพที่ 1 ประกอบ) ท้ังนี้จาก 11 จังหวัดแรก เป็น 4 จังหวัด

5 ในจํานวนน้ีเปน็ นายกเทศบาลเมอื งหรอื นครเพียง 3 ราย ไดแ้ ก่ 1. นายวรี ะวฒั น์
น5 วใลนมจณ�ำนี รวักนษนาเี้ ปกน็ารนนาายยกกเทเทศศบมานลตเมรือีเมงอืหงรสือกนลคนรคเพรีย(ง7 3มกรราายคไมด้แ2ก54่ 13.) น2า. ยนวารี ยะพวงัฒษน์ ์
เศอปสยนชภกั่งิงัวี่นชข2ดลิชเ5นาิ์มาดยช5ตมณียิ่งา3์เวชสีจตรกนซรงัิกั ับนขญิ่งึมษหกาา์เาจชนยพ็ลกรากางับาญิตปยเรอทิกีนนกี2นศเาทา5ามย2ย5ยศนกก3กมรเตเทาเนทซรทยศีเตึ่งศศมแมกรมมคือนีน็พนนงน่ตคบคตตั้นรรอรลรเีคยมีเกีอีนมะืออืงคลอื2งแนรางสหรยคาก(าะย2ลล(ยลโ17อนแกา6งกคควแ(รรทิ่นพ2หกย(ั้นฤ77ฎ์(ษค1กเามจือภ6ครกรากมนริญพคฎาา2ฤมนคาย5ษนมคโ25ภกมท251วาส55)2ิทคทิ42แ5มย3ธ)ล5์)์ิะเ21เนจช25)3.รน่า5แน.ญิยเ2ลดนากน)ะยียาเนทพยว3ทศกอง.ษสมับภนิทศ์นหชิ ากัธตาลยิ์ตดรงั ิ์ี
นเมาือยกงบเทาศงบมนัวทตรอเีงมอื (2งบมางีนบาัวคทมอง25(254ม)ีนากคับมน2าย55พ4ีร)ะกบัตันาตยิเศพรี ณะ ีตนนั าตยิเศกรเทณศี มนตรี
นาคยรกสเงทขศลมาน(ต7รพีนฤคศรจสกิงขายลนา (275พ55ฤ)ศจิกายน 2555)

191ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

14

ในกลมุ่ “จงั หวดั ชายแดนภาคใต้” นั่นคอื นราธวิ าส ปัตตานี ยะลา และ
สงขลา (บางอําเภอ) ท่ีตกอยู่ในสถานการณ์ไม่สงบมาเป็นเวลานาน
(ดูตารางที่ 1) ในทางกลับกัน มีเพียง 5 จังหวัดเท่านั้นที่ไม่มีสถิติการ
พยายามลอบฆ่าเลย ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (กทม.) แม่ฮ่องสอน
มุกดาหาร ยโสธร และร้อยเอ็ด โดยเป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ถึง 3 จังหวัด ส่ี ปัญหาในช่วงต้นมีลักษณะไม่คงท่ีและคาดทํานายไม่ได้
ซึ่งต้องพิจารณาสถานการณ์ทางการเมืองในระดับชาติควบคู่ไปด้วย
ไม่ว่านโยบายทําสงครามกับยาเสพติดในปี 2546 หรือสถานการณ์
รุนแรงในสามจังหวดั ชายแดนใต้ช่วงปี 2548 ซ่ึงในสองปีนี้สถิติพุ่งสูงขน้ึ
เป็นอันมาก ก่อนท่ีช่วงปี 2551-2552 ตัวเลขมีแนวโน้มลดลงในทุกภาค
ของประเทศ (ณัฐกร วทิ ิตานนท์, 2553, 46-53)

จากนนั้ จึงเจาะจงลงไปศึกษาวิจัยระดับพน้ื ท่ี เพอ่ื หาคําอรรถาธิบาย
ในเชงิ ลกึ โดยเลอื ก อปท. 2 แห่งในจงั หวัดแพร่ จงั หวดั หน่งึ ในภาคเหนอื
ท่ขี ึ้นชอื่ ในเรื่องความรุนแรงทเ่ี กีย่ วข้องกับการเมืองมาชา้ นาน

กรณีศึกษาแห่งแรกคือ อบต. แม่ยางตาล อําเภอร้องกวาง
จังหวัดแพร่ (ณฐั กร วทิ ติ านนท์, 2557) ซึง่ ถือเป็นท้องถ่ินท่ีมีการลอบยิง
นักการเมืองท้องถ่ินบังเกิดข้ึนซํ้าแล้วซ้ําเล่า สูงที่สุดในบรรดา 8 จังหวัด
ภาคเหนอื ตอนบน

กรณีศึกษาอีกแห่งหน่ึงคือ อบจ. จังหวัดแพร่ (Nuttakorn
Vititanon, 2017) ซึ่งตกเป็นข่าวใหญ่ระดับชาติสืบเนื่องจากคดี
ฆาตกรรมนายแพทย์ชาญชัย ศิลปอวยชัย เม่ือวันที่ 24 ตุลาคม 2550

192 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

15

เขาเป็นนายก อบจ. เพียงคนเดียวใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนที่ถูก
ลอบสังหารจนเสยี ชวี ิต6

จากทั้งสองกรณีข้างต้นมีจุดร่วมที่ช่วยให้ได้บทสรุปถึงสาเหตุที่
ก่อให้เกิดความรุนแรงว่าข้ึนอยู่กับเงื่อนไขปัจจัยใด กลุ่มใดที่เป็นคู่
ขัดแย้งหลัก และส่งผลกระทบต่อความเปล่ียนแปลงทางการเมือง
ในพืน้ ทีห่ รือไม่ อย่างไรบ้าง ดังน้ี

ประการที่หน่ึง เป้าหมายที่ถูกลอบยิงถึงแก่ชีวิตเป็นผู้บริหาร
ท้องถ่ินซึ่งมีประสบการณ์การเมืองสูง และมีทีท่าว่าจะกุมอํานาจไปอีก
ยาวนาน

ประการที่สอง ลักษณะความขัดแย้งท่ีอาจนําไปสู่เหตุการณ์
รุนแรงได้มากที่สุดคือ ความขัดแย้งภายใน “กลุ่มการเมืองเดียวกัน”
ท่ตี ่อมาไดก้ ลายไปเปน็ “คูแ่ ขง่ ทางการเมอื ง”

6 จากขอ้ มูลเคยมผี ทู้ ี่เป็นถงึ นายก อบจ.ถกู ยิงเสยี ชีวติ ขณะดํารงตาํ แหน่งรวมท้งั สิ้น
86 จคานกกขร้อะมจูลายเคไปยแมตีผล่ ู้ทะ่ีเหป้ว็นงเถวึงลนาาแยลกะพอบบไดจ้เ.กือถบูกคยริงบเสทียุกชภีวาิคตขขอณงะปดระ�ำเรทงศต�ำไดแแ้หกน่ ่ง
1รว. มนทายง้ั สปน้ิ ระ8เสครนิฐกวริบะูลจยายร์ ไตั ปนแ์ ตนล่ายะหกว้ องบเวจล.านคแลรสะพวรบรไคด์ เ้ (ก2อื9บมคกรรบาทคกุ มภ2า5ค4ข3อ)งป2.ระนเาทยศ
อไดํา้แนกว่ย1.แชน่มาชยป้อยระนเสารยฐิก วอบิ บูลจย.ก์ราตั ญนจ์ นาบยรุ กี (1อ7บจก.ุมนภคาพรสนั วธร์ ร2ค5์4(32)93ม. กนราายคพมิเช2ษ5ฐ4์ 3)
ฉ2ตั. รนรตาั ยนอศ�ำกั นดวิ์ นยายแกช่มอบชจ้อ.ยเพชนราบยรู กณ์อ(1บ2จ.สงิ กหาาญคมจน2บ5ุร4ี6()147. นกาุมยภอานพันันต์ธบ์ ุญ25รกั4ษ3์)
นอก4ศ3น.รบ.าลิคกนยปจรนฎกา.อสแายาววอพยอคยรบพรนมชร่จิเนั ัย(คช2.2ตพ์ษ5น2์ ัง(บ5ฐา1งต3ยญุ์า1ุล)กฉรา(7ัตก2ัอกค.3ษรบรมนร์กจธนาัต2.ฎนัยาน5แวยาส5ศพาคกุบ0ักครมร)อ่มด(ร6บ2์ิณ2.22จน55น.ตาจ54พายิรลุ 73ยงัะกา)อ)งพคา5ํา7มอันน.(.2บธนา23ุว์จจ5นาาย.5ธาณศนัแ0ยเิรชิ)พพวสิช6าทชุบยันค.ยรรานมนบ์ชยราา2าูรณกยยญ5ณอกอ4ชำ�์จ7บนอัย(ิร)จ1บาะ5ศ.2จลจพ.ลิ พ.ศนนัปนสบิราคอิธงชิยรุรหุ์ววยัแีสย(าาพ1วนชณค6ทรายัมิชรยยคนช์ก2์นาา(5อญย1า4บ1กยช6จกยั ).
มอถิบนุจา. ยลนพบ25ุรี5(41)6แมลถิะนุ 8า.ยนนาย2อ5ุด5ร4)ไกแรลวะตั 8น.สุ นสราณยอ์ ดุนรายไกรอวบัตจน.ุสสมรทุ ณรส์ นาคารยก(2อ5บจ.
ธสนัมวทุ ารคสมาค2ร55(245) ธันวาคม 2554)

193ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

16

ประการท่ีสาม ปมขัดแย้งหลักแตกต่างกันไปตามแต่กรณี ทว่า
บ่อเกิดของความขัดแย้งไม่พ้นมีจุดเร่ิมต้นมาจากความกลัวการสูญเสีย
ผลประโยชน์ แต่ก็มิใช่สาเหตุเชิงเด่ียว มักมีสาเหตุอ่ืนผสมผสานปนเป
เชน่ การแขง่ ขันในการเลอื กตัง้ เป็นเรื่องศักดศ์ิ รี

ประการที่สี่ ประเภทของ อปท. ตลอดจนความเป็นเมืองหรือ
ชนบท ไม่มีผลต่อระดับความขัดแย้งหรือความรุนแรงที่เกิดขึ้น ทว่า
‘ก่อน’ เกิดความรุนแรง ในกรณีที่เป็นท้องถ่ินขนาดใหญ่มักอาศัยกลไก
ทางการเมืองต่อสู้กัน ผิดกับท้องถิ่นขนาดเล็กที่มักใช้การพูดคุยเจรจา
ตกลงกันในแบบสว่ นตวั ไม่นยิ มใช้วิธกี ารทเ่ี ป็นลกั ษณะทางการ

ประการที่ห้า เหตุรุนแรงเกิดข้ึนภายในห้วงก่อนที่จะมีการ
เลือกตั้งใหญ่ระดับชาติท้ังส้ิน โดยท่ีไม่ได้มีประเด็นท่ีสามารถเช่ือมโยง
เข้ากับการเมอื งระดับชาติไดอ้ ยา่ งชัดแจง้ นัก

ประการที่หก ความรุนแรงมักเกิดในระยะ ‘เปลี่ยนผ่าน’ ทาง
การเมือง เช่น เปล่ียนแปลงระบบการเลือกต้ังผู้บริหารท้องถิ่นจากแบบ
โดยอ้อมไปเป็นแบบโดยตรง เป็นการเลือกตั้งครั้งแรกที่เกิดข้ึนภายหลัง
จากการรัฐประหาร

ประการท่ีเจ็ด ความขัดแย้งที่มีคนวง ‘นอก’ เข้ามาเก่ียวพัน
ด้วย มักชักนําไปสู่รูปแบบการใช้ความรนุ แรงท่ีเป็นระบบ และใช่ว่าเหตุ
รุนแรงจะเกิดขึ้นทันใดภายหลังจากท่ีมีความขัดแย้ง หากแต่ทอด
เวลานาน บางครั้งกินเวลาหลายปีกว่าท่ีความขัดแย้งจะแปรเปลี่ยนเปน็
ความรุนแรงที่เปน็ รูปธรรม

194 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

17

ประการที่แปด ปัจจัยหลักท่ีเอ้ืออํานวยให้ความรุนแรงเกิดขึ้น
ได้ย่อมไม่พ้นเกี่ยวกับค่านิยมของวัฒนธรรมท้องถิ่น บุคลิกภาพส่วน
บุคคลของผู้ก่อความรุนแรง และระบบงานยุติธรรมของแต่ละพ้ืนที่
โดยทแี่ ตล่ ะปัจจยั ตา่ งผสมผสานและเช่ือมรอ้ ยถึงกนั ท้ังสน้ิ

ประการท่ีเก้า ผลกระทบทางการเมืองต่อฝ่ายท่ีถูกตั้งข้อสงสัย
วา่ อยู่เบ้อื งหลงั การก่อเหตุรุนแรงคือ ฝา่ ยนัน้ จะไมป่ ระสบความสําเร็จใน
การเลอื กตง้ั อกี เลย ไม่วา่ ในระยะสั้นหรือระยะยาวออกไป

ข้อค้นพบประการสุดท้ายได้ท้าทายแนวคิดหลักในอดีตของ
นักวิชาการหลายท่าน7 โดยเฉพาะกับเจมส์ โอคกีย์ (James Ockey,
2000) ท่ีเสนอคล้ายกันทํานองว่า ภายใต้บริบทการเมืองไทย อํานาจมา
จากความสามารถในการใช้ความรุนแรง เฉกเช่นในอดีตทเ่ี จ้าพ่อ นักเลง
เคยใช้อย่างได้ผลและปลอดภัย แน่นอน แม้ว่าประชาธิปไตยจะไม่
สามารถหยุดย้ังความรุนแรงในท้องถ่ินได้ แต่ภายใต้กระบวนการ
ประชาธิปไตยก็ให้โอกาสประชาชนสามารถท่ีจะ ‘จบ’ อนาคตทาง
การเมืองของฝ่ายที่ถูกต้ังข้อสงสัยจากสังคมว่าอยู่เบื้องหลังการใช้
ความรุนแรงออกจากตําแหน่งผ่านการเลือกต้ังได้ ผู้เขียนจึงกําลัง
ช้ีให้เห็นว่าการฆ่าหาใช่เคร่ืองมือในการปกป้องหรือแย่งชิงอํานาจทาง
การเมอื งทีใ่ ชไ้ ดผ้ ลอีกต่อไป อยา่ งน้อยกใ็ นทางการปกครองท้องถิ่น

77 พพบบแแนนวควดิคเิดชน่เชน่นไ้ี ดนจ้ ไ้ี าดก้จงานกขงอานงเขบอเนงดเกิบตเน์ แดอิกนตเด์ อแรอส์ นั เ(ดBอenรe์สdนั ict(BAennderdsoicnt, 1A9n9d0e),rผsาoสnุก,
พ1ง9ษ9ไ0พ)จ, ิตผราแสลุกะสพงั งศษติ ไพพริ จยิ ิตะรรงั สแรลระคส์ (งัPศasิตukพPิรhยิ oะnรgังpสaรicรhคit์ (aPnadsuSuknPgshidohngPpiriayiacrhanitgsaand,
1S9u9n6g),sโidยชhิฟPมู iิ rทiyาaมrาaดnะg(s2a5n43,)1เ9ป9น็ 6ตน้), โยชิฟูมิ ทามาดะ (2543) เป็นต้น

195ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย


Click to View FlipBook Version