The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 3 การเมืองท้องถิ่น ความร่วมมือ ปัญหา อุปสรรค และความขัดแย้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papichaya, 2022-02-09 04:37:14

125 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ.2440-2565 เล่มที่ 3

เล่มที่ 3 การเมืองท้องถิ่น ความร่วมมือ ปัญหา อุปสรรค และความขัดแย้ง

14

ลดการพ่ึงพาจากภาครัฐส่วนกลางเพียงอย่างเดียวและมีความรวดเร็ว
ในการบริหารจัดการ ท้ังนี้การพัฒนาและผลักดันการพัฒนาเมืองเชิงรุก
ของจังหวัดขอนแก่นนี้ เกิดจากการประสานกันทั้งฝ่ายวิชาการท่ีมี
หลักการ ฝ่ายผู้นาท้องถิ่นอย่างเทศบาลท่ีแข็งแกรง่ และเป็นนักประสาน
สิบทิศ ฝ่ายกลุ่มทุนนักธุรกิจท่ีมีความฉลาดเฉลียวและมีช้ันเชิง ดังนั้น
โมเดลการพัฒนาเมืองขอนแก่นจึงไม่ใช่สูตรสาเร็จให้กับเมืองอ่ืน ๆ
อย่างไรก็ดี โมเดลขอนแก่นพัฒนาเมืองจะมีการเคล่ือนไหวที่น่าสนใจ
และนับเป็นเร่ืองท่ีใหม่ล้าหน้า ในการพัฒนาเมืองของไทยที่มีการ
ขับเคลื่อนจากภูมิภาค จนสร้างแรงกระเพื่อมไปสู่เมืองหลักอื่น ๆ
ในภมู ิภาคอ่ืน ๆ

บทวิเคราะห์
การเกิดขึ้นของบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมืองเป็นการเกิดขึ้นจาก

กลุม่ นักธรุ กิจ และคหบดรี ะดับสูง ทเ่ี ปน็ ชนชน้ั นา โดยมกี ารกาหนดวงที่
แคบและมุ่งหมายท่ีจะระดมทุนเพ่ือการพัฒนาจังหวัดด้วยตนเอง ซึ่งคือ
โดยบริบทของการจัดต้ังบริษัทจากัดนั้น แม้จะไม่ได้อยู่ภายใต้เจตนารมณ์
การมีส่วนร่วมอย่างสมบูรณ์ หากแต่ยังได้รับการยอมรับและชื่นชมจาก
ชาวเมืองบางส่วนโดยเฉพาะกลุ่มชนชั้นนา ท่ีเห็นถึงความเสียสละและ
ความเป็นผู้นารวมถึงวิธีการและทักษะใหม่ ๆ ในการบริหารจัดการ
จังหวัดด้วยตนเอง ซ่ึงถือว่าเป็นประเด็นที่น่าสนใจอย่างยิ่งสาหรับการ
พัฒนาเมือง อย่างไรก็ดีจุดอ่อนของการดาเนินงานแบบบริษัท คือการ

96 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

15

มีส่วนร่วมของภาคประชาชน ท่ีจาเป็นจะต้องการส่งเสริมให้ผู้คนรับรู้
และเข้าใจถึงเจตนารมณ์ที่แท้จริงอย่างต่อเน่ือง เพ่ือลดความเสี่ยง
ในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะความกังวลและข้อกังขาเกี่ยวข้องกับการมี
ผลประโยชน์ทับซ้อนในการพัฒนา ขณะเดียวกันผู้บริหารและทีมงาน
ตลอดจนท่ีปรึกษาบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมือง จาเป็นท่ีจะต้องมีผลงาน
ที่เป็นรูปธรรม เพ่ือยืนยันเจตนารมณ์ของบริษัท ที่จะเป็นกิจการเพ่ือ
สังคม ทีส่ รา้ งผลกระทบทางสังคม ได้อย่างแท้จริง

ในปรากฏการณ์ขอนแก่นพัฒนาเมืองจะเห็นได้ชัดถึงความสัมพันธ์
และปฏิสัมพันธ์กันระหว่างโครงสร้างคือเทศบาลกับผู้กระทาการคือ
กลุ่มบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมือง มีระดับความสัมพันธ์ท่ีแนบแน่น
เป็นการต่อรองซ่ึงกันและกัน โดยเฉพาะการต่อรองเพื่อดาเนินโครงการ
รถรางเบาและการพัฒนารอบสถานีเชิงพาณิชย์ อีกทั้งยังมีการยกระดับ
การต่อรองระหว่างผู้กระทาการคือบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมืองกับ
โครงสร้างที่ใหญ่ข้ึน คือ ส่วนราชการระดับจังหวัด โดยเป็นการจัดต้ัง
คณะทางานขับเคล่ือนโครงการ นอกจากนี้ยังมีการต่อรองกับโครงสร้าง
ระดับส่วนกลาง (ในท่ีนี้ คือหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ) เพ่ือ
ออกหนงั สอื สง่ั การอนุมัติองค์การในการดาเนินโครงการขนส่งสาธารณะ
อย่างไรก็ดปี ฏิบัติการต่อรองระหวา่ งผู้กระทาการกับโครงสร้างระดับบน
ในส่วนอื่น อาทิเช่น หน่วยงานของรัฐระดับกระทรวง และกรม ยังต้อง
ดาเนินต่อไปอย่างต่อเน่ือง แม้ว่าจะประสบอุปสรรคเร่ืองระเบียบราชการ
และความคดิ แบบราชการรวมศูนย์ก็ตาม

97จากวนั นนั้ ถึงวนั นี้ อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

16

ความท้าทายของขอนแก่นพัฒนาเมือง คือ ความจาเป็นในการ
ส ร้ า ง ก ร ะ บ ว น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ร ะ ดั บ ข อ ง ก า ร รั บ รู้ ห รื อ ก า ร ส่ื อ ส า ร
ท่ีเรียกวา่ คอมมูนิเคช่นั แพลนนิ่ง ทั้งในระดับประชาชน ระดบั ข้าราชการ
ตลอดจนระดับ กลุ่มการเมือง เพื่อให้เกิดการรับรู้อย่างต่อเน่ืองและ
ท่ัวถึง อันจะทาให้โครงการดาเนินต่อไปอย่างราบร่ืนขณะเดียวกัน
หากการขับเคล่ือนโครงการขนาดใหญ่เกิดอุปสรรคหรือความล่าช้า
ไม่สามารถส่งมอบผลลัพธ์ท่ีเป็นรูปธรรมให้เป็นท่ีประจักษ์ได้ ก็จาเป็นท่ี
จะต้องดาเนินโครงการอื่น ๆ ที่เป็นรูปธรรมให้กับเมืองอย่างต่อเน่ือง
ทดแทน เพือ่ ลดแรงต้านและการทาลายภาพลกั ษณ์เชิงบวก

4. โมเดลบริษัทขอนแก่นทรานซิท ซิสเต็ม จากัด (KKTS): ตัวแบบ
แห่งความรว่ มมือของท้องถิ่น

หลงั จากที่ สนง. นโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)
ได้มีการศึกษาและจัดทาแผนแม่บทระบบขนส่งมลชนของจังหวัด
ขอนแก่น ซ่ึงได้ข้อสรุปคือ การจัดทารถโดยสารด่วนพิเศษ หรือ Bus
Rapid Transit (BRT) แล้วเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2551 ต่อมาระบบขนส่ง
มวลชนดังกล่าวไม่ตอบสนองกับรูปแบบของเมืองขอนแก่นที่มีการ
เปล่ียนแปลงไป จึงมีการศึกษาผลการศึกษาระบบขนส่งมวลชนขึ้น
อีกครั้ง โดยมีมติว่าควรจัดทาระบบขนส่งมวลชนแบบรถรางไฟฟ้าหรือ
รถไฟรางเบา ซ่ึงมีสายสีแดง สาราญ-ท่าพระ เป็นเส้นทางนาร่องเป็น
สายแรก โดยเส้นทางดังกล่าวอยู่พ้ืนท่ีในความรับผิดชอบของเทศบาล

98 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

17

ท้ัง 5 แห่ง เพื่อให้สามารถดาเนินกิจกรรมดังกล่าวในเชิงธุรกิจได้ ทั้ง 5
เทศบาลต้องจัดต้ังวิสาหกิจขึ้นเป็นบริษัทจากัด ตาม พ.ร.บ. เทศบาล
พ.ศ. 2476 ที่ได้กาหนดให้มีรูปแบบลักษณะของความร่วมมือในกิจการ
ภายในเทศบาล โดยอยู่ในรูปของสหการ เพื่อร่วมลงทุนในการประกอบ
กิจการขนส่งสาธารณะ ถือได้ว่าเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับ
ภาครัฐ ซ่ึงถือเป็นความร่วมมือระหว่าง อปท. ด้วยกันเป็นแห่งแรก
ในการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานของเมือง และจะเปน็ ประโยชน์ต่อ
ภาคประชาชน

โดยบริษัทขอนแก่นทรานซิท ซิสเต็ม (KKTS) เป็นเสมือน
ฟันเฟืองซึ่งทาหน้าท่ีหลัก ๆ ใน 2 ด้าน ได้แก่ หน้าที่ในการจัดทา
ดาเนินการบริหารจัดการโครงการก่อสร้างระบบรถไฟฟ้ารางเบา
ขอนแก่น (LRT) ตามโครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขอนแก่น (Khon
Kaen Smart City) ระยะที่ 1 และหน้าท่ีท่ีสองคือ หน้าท่ีในการระดม
เครือข่ายเพื่อสานเสวนา และต่อรองกับผู้บริหารระดับสูงของกระทรวง
ต่าง ๆ เพื่อผลักดันนโยบายพัฒนาเมืองอัจฉริยะในด้านโครงสร้าง
พ้ืนฐานและระบบขนส่งสาธารณะของเมืองให้เกิดความก้าวหน้าอย่าง
เป็นรูปธรรม จากการพัฒนาเมืองขอนแก่นที่มีกระบวนการขับเคล่ือน
ของการพัฒนาเมืองในรูปแบบของความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับ
ภาครัฐ หรือ Public-Public Partnership (PuP) และระหว่างภาครัฐ
และภาคเอกชน (Private-Public Partnership – PPP) ถือได้ว่าเป็น
การขับเคล่อื นทอ่ี ยูภ่ ายในระดบั พ้นื ท่ีทอ้ งถ่ินเองที่นา่ สนใจอย่างยงิ่

99จากวนั นนั้ ถึงวนั น้ี อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

18

บทวิเคราะห์

บริษัทที่จัดตั้งขึ้นมามีวัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการพ้ืนที่
บริหารจัดการกิจการขนส่งสาธารณะ จาเป็นจะต้องทาหน้าที่ในการ
ส่อื สารต่อสาธารณะอยา่ งสม่าเสมอตอ่ เนอ่ื งกับประชาชนทุกกลุ่ม เพอื่ ให้
เกิดความเข้าใจ เกิดความโปร่งใส มีส่วนร่วมในการรับรู้ ทั้งในเชิง
ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ และผลประโยชน์ทจ่ี ะตามมา ทงั้ ในมิตโิ ครงสรา้ งและ
ผู้ทาการ บริษัทขอนแก่นทรานซิท ซิสเต็ม หรือ เคเคทีเอส ดารงฐานะ
ทั้งเชิงโครงสร้าง คือเป็นผู้กระทาหลักในการบริหารจัดการพ้ืนท่ี ทั้งยัง
เป็นหน่วยงาน ท่ีจะต้องดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือประสานงานกับ
หน่วยงานภาครัฐ จึงทาหน้าท่ีเสมือนการเปลี่ยนผู้กระทาการไปในตัว
ถือว่าเป็นโครงสร้างที่คล่องตัว และเป็นแนวปฏิบัติใหม่ของการบริหาร
จัดการพื้นที่เมอื ง ภายใต้โครงสร้างกฎหมายท่ใี หอ้ านาจไว้

ข้อจากัดบางประการคือการรับรองสถานภาพจากหน่วยงาน
ระดับสูง ซึ่งจะต้องตีความว่าเป็นกิจการประเภทใด เนื่องจากการจัดตั้ง
ในลักษณะน้ียังไม่เกิดขึ้นมาก่อน นอกจากน้ีบทบาทและอานาจหน้าท่ี
ของบริษัทขอนแก่นทรานซิท ซิสเต็ม ในการบริหารจัดการพื้นท่ีควรตี
กรอบอยู่ในวงจากัดเฉพาะ ภารกิจด้านการบริหาร กิจการขนส่ง
สาธารณะและการพัฒนาพ้ืนที่ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความชัดเจนเป็นแนวปฏิบัติได้
ในอนาคต นอกจากน้ี โครงสร้างของบริษัทขอนแก่นทรานซิท ซิสเต็ม
ทปี่ ระกอบดว้ ยหน่วยงานภาครัฐและเทศบาลหลายแห่ง ถือเปน็ ส่งิ ดีและ

100 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

19

เปน็ ต้นแบบของการบรู ณาการข้ามเขต แต่ยงั ตอ้ งการความเป็นเอกภาพ
ซึ่งก็ยังคงมีความเส่ียงจากความไม่แน่นอนของฝ่ายการเมือง อย่างไรก็ดี
โครงสร้างเช่นน้ียืดหยุ่นพอที่จะส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการกิจกรรม
ใหม่ ๆ ข้ามเขตได้ เช่นการจัดการขยะ การจัดการด้านพลังงาน หรือ
แมก้ ระทั่งการจัดการพ้นื ท่ีสีเขียว ซ่งึ เป็นความทา้ ทายอยา่ งย่งิ

5. โมเดลรถรางสร้างเมือง: รถไฟฟ้ารางเบา (LRT) และการ
พัฒนาพนื้ ทีโ่ ดยรอบสถานี (TOD) โดยทอ้ งถิน่

รถรางหรือรถไฟฟ้ารางเบา (LRT) จะเปล่ียนแปลงภาพลักษณ์
เชิงกายภาพของเมืองอย่างก้าวกระโดด รถไฟฟ้ารางเบาจะเปล่ียนให้
ขอนแก่นกลายเป็นเมืองท่ีน่าอยู่ ผู้คนในเมืองเดินทางและใช้ชีวิตอย่าง
สะดวกสบายมากข้ึน และท่ีสาคัญคือกระตุ้นและพัฒนาเศรษฐกิจ
ท้องถิ่น สร้างและส่งเสริมผู้ประกอบการท้องถ่ิน ตามแนวคิดการปลูก
สวนเศรษฐกิจเป็นสาคัญ รวมท้ังดึงดูดการลงทุนทางเศรษฐกิจจาก
ภายนอกเมืองและตา่ งประเทศให้มาลงทนุ พฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและ
ประกอบกิจการในเมืองขอนแก่นมากขึ้น นอกจากนี้ ยังเปรียบเสมือน
กระเป๋าเงินให้กับเทศบาลนาไปใช้สาหรับพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้าน
ตา่ ง ๆ ด้วย หลงั จากท่ีเทศบาลไดน้ าบรษิ ทั จากัดเขา้ ไปจดทะเบียนจดตั้ง
กองทุนในตลาดหลักทรัพย์ จะทาให้บริษัทมีกาไรหุ้นหรือแหล่งเงินทนุ ท่ี
สามารถนาไปใช้ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองด้านต่าง ๆ โดยไม่ต้องพึ่งพา
หรือรองบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานส่วนกลางอีกต่อไป เป็นการ

101จากวนั นัน้ ถึงวนั นี้ อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

20

ลดภาระทางการคลังของประเทศ และในขณะเดียวกันก็เป็นการ
เสรมิ สรา้ งศักยภาพการทางานของเทศบาลเพ่ือตอบสนองความต้องการ
เฉพาะด้านของคนในพื้นท่ีได้อยา่ งเต็มท่ี ผ่านการใชป้ ระโยชน์จากรถราง
เพ่ือการสร้างเมอื งขอนแก่นอย่างสมบรู ณ์

อย่างไรก็ดี สาหรับเมืองที่ภาคเอกชนยังไม่มีความพร้อมด้าน
เงินทุน ส่ิงที่ต้องได้รับการสนับสนนุ จากภาครฐั คือ ความช่วยเหลือดา้ น
ตัวเงินผ่านการร่วมลงทุน (PPP) การมีมาตรการจูงใจหรือการให้ความ
ช่วยเหลือเพ่ิมเติมจากภาครัฐจะเป็นแรงสนับสนุนสาคัญให้ภาคเอกชน
เข้ามามีบทบาทในการลงทุนได้มากข้ึน ซ่ึงบทเรียนของขอนแก่นแสดง
ให้เห็นแล้วว่า ภาครัฐยังจาเป็นต้องเร่งสร้างแรงจูงใจเพิ่มเติมในอีก
2 มาตรการ คือ การให้แรงจูงใจที่ไม่เป็นตัวเงิน เช่น การมีกฎหมายที่
เอื้อต่อการพัฒนาท่ีดินเชิงพาณิชย์รอบสถานี (TOD) เพ่ือที่จะนารายได้
จากส่วนนี้มาสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเดินรถไฟฟ้า LRT และทาให้
สามารถคดิ คา่ โดยสารได้ถูกลง (Cross Subsidy) เช่น กรณีขอนแก่นท่ีมี
แผนพัฒนารถไฟฟ้า LRT ควบคู่ไปกับ TOD การรับรองสถานะให้
รัฐบาลท้องถิ่นโดยรัฐบาลกลาง ภาครัฐสามารถเปิดช่องทางให้เมืองที่มี
ความพร้อมเข้ามาพัฒนาเมืองเองได้ โดยการรับรองสถานะโครงการ
ให้กับท้องถนิ่ เพ่ือเพิ่มความน่าเช่ือถือของโครงการ และยงั ชว่ ยลดต้นทุน
ในการระดมทุน หากเทศบาลท้องถิ่นได้รับสถานะที่ชัดเจนในการ
ดาเนินโครงการ จะทาให้มีช่องทางในการระดมทุนท่ีเพิ่มข้ึน เช่น หุ้นกู้
พันธบัตร กองทุน เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้คนในท้องถ่ิน

102 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

21

ได้มีสว่ นรว่ มผ่านการระดมทนุ สาธารณะ หรอื ผ่านกองทุนรวมโครงสร้าง
พ้ืนฐาน (IFF) ก่อนที่จะระดมทุนผ่านตลาดหลักทรัพย์ต่อไป นอกจากนี้
การสนบั สนุนในด้านอืน่ ๆ จากภาครัฐ อาทิ ระบบโครงสร้างพืน้ ฐานท่ีดี
และการช่วยเหลือทางด้านเทคนิค ก็จะช่วยสร้างบรรยากาศในการ
ลงทนุ ใหด้ มี ากขน้ึ (ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, 2562 )

บทวเิ คราะห์
มุมมองการมีส่วนร่วมเกิดกระบวนการมีส่วนร่วมหลายคร้ังใน

กระบวนการศกึ ษาออกแบบ ย่อมแสดงใหเ้ หน็ ว่าเกิดการมีสว่ นรว่ ม รับรู้
ตลอดจนการต่อรองของภาคประชาชนกับโครงการ อย่างไรก็ดี ระดับ
ของการมสี ่วนร่วมยังคงเป็นเพียงการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ต่อผลการศึกษา
ยังไม่พัฒนาไปถึงข้ันการออกแบบร่วม ประเด็นเร่ืองของโครงสร้างและ
ผ้กู ระทาการโครงการดงั กล่าว อยภู่ ายใต้โครงสรา้ งอานาจและการกากับ
ดูแลของ สนง. นโยบายและแผนขนส่ง กระทรวงคมนาคม ตลอดจนมติ ิ
เรอื่ งของที่ดิน ซง่ึ คาบเก่ียวกบั ของโครงสรา้ งของกรมธนารักษ์ กระทรวง
การคลัง กรมทางหลวงกระทรวงคมนาคมและผู้ใช้ประโยชน์เดิม คือ
กรมข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งจะเห็นได้ชัดว่ามีความซ้าซ้อน
และซับซ้อน ผู้กระทาการหลัก คือ บริษัทขอนแก่นทรานซิท ซิสเต็ม
5 เทศบาลจะตอ้ งประสานงานกับหลายหนว่ ยงาน ท่เี กี่ยวข้อง เพื่อดาเนนิ การ
ให้ลุล่วง รวมไปถึงต้องจัดสรรผลประโยชน์ให้ลงตัว ซ่ึงล้วนแล้วแต่
กระทบกับต้นทุนของการพัฒนาโครงการ รวมไปถึงระยะเวลาในการ
ดาเนนิ การ

103จากวนั นนั้ ถึงวนั น้ี อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

22

6. โมเดลเครือขา่ ยการพัฒนาเมืองอจั ฉริยะ Smart city network

เมื่อรัฐบาลได้กาหนดนโยบายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart
City) ให้เป็นวาระแห่งชาติ มุ่งหวังให้เป็นกลไกในการกระจายความ
เจริญอย่างเท่าเทียมและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วทุก
ภูมิภาคให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี อีกทั้งยังสอดคล้องตามโมเดลประเทศไทย
4.0 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 13 รวมถึงแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย
6 ด้าน คือ ขนส่งอัจฉริยะ (smart mobility) การใช้ชีวิตอัจฉริยะ (smart
living) พลเมืองอัจฉริยะ (smart people) เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart
economy) ส่ิงแวดล้อมอัจฉริยะ (smart environment) การจัดการ
ภาครัฐอัจฉริยะ (smart governance) จึงเกิดการรวมกนั เปน็ เครือข่าย
เมืองอจั ฉรยิ ะ Smart city network ในจังหวัดขอนแก่นขึน้

เครือข่ายเมืองอัจฉริยะ ประกอบด้วยหน่วยงานราชการส่วน
ภูมิภาคในจังหวัดขอนแก่น โดยนาประเดน็ ด้านการพัฒนาขอนแก่นเพือ่
เป็นเมืองอัจฉริยะ (Khon Kaen Smart City) มาขับเคล่ือนให้เกิดการ
ปฏิบัติอย่างจริงจัง รวมทั้งได้กาหนดให้เป็นพันธกิจหลักในการทางาน
ของจังหวัด ด้านที่ 3 และยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 โดยขอนแกน่ เป็นจังหวัดเดียว
ของประเทศไทยที่ได้จัดทาแผนแม่บทพัฒนาเมืองอัจฉริยะขอนแก่น
(Khon Kaen Smart City 2029) และนาไปบรรจุเป็นวาระยุทธศาสตร์
สาคัญของจังหวัด (จังหวัดขอนแก่น, 2562) ตามแผนพัฒนาจังหวัด

104 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

23

ท่ีประกาศใช้เมื่อวันท่ี 25 พฤษภาคม 2561 เครือข่ายเมืองอัจฉริยะ
ประกอบด้วยหน่วยงานได้แก่ สนง. ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA)
สาขาภาคอีสาน ตอนกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น บริษัทขอนแก่นพัฒนาเมือง
KKTT คณะแพทยศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อุทยานวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่น สนง. นโยบายและแผน
พลังงาน สนง. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น (สปสช.)
โรงพยาบาลขอนแก่น สนง. สาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น เทศบาลนคร
ขอนแก่น สมาคมเฮลท์เทคประเทศไทย สมาคมการค้าซอฟต์แวร์และ
ธุรกิจนวัตกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์ปฏิบัติการเมืองอัจฉริยะ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชมรมขอนแก่นเมกเกอร์คลับ กลุ่มบ้านปู กลุ่ม
มิตรผล เครือซีเมนต์ไทย ตลอดจนองค์กรภาคประชาสังคม คือ มูลนิธิ
ชุมชนขอนแก่นทศวรรษหน้า (Khon Kaen Community for the Future
Foundation) ท่ีมีบทบาทสาคัญอย่างมากต่อการระดมทรัพยากรและ
ประสานเครือข่ายเพื่อก่อให้เกิดการทางานกับสมัชชาใหญ่จังหวัดของ
ภาคพลเมือง เพื่อผลักดันแผนยุทธศาสตร์ “ขอนแก่นจังหวัดอัจฉริยะ
(smart province)” ร่วมกับ อบจ. ขอนแก่น โดยจังหวัดขอนแก่นอยู่
ระหว่างดาเนินแผนการลงทุนและย่ืนขอสิทธิประโยชน์ทางภาษีจาก
สนง. คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) เพื่อสร้างระบบนิเวศ
นวตั กรรมและส่งเสรมิ ผู้ประกอบการเมอื งอัจฉรยิ ะในกลุ่มตา่ ง ๆ

105จากวนั นัน้ ถึงวนั น้ี อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

24

อย่างไรก็ดี ประเด็นที่ท้าทายคือ การสร้างความเข้าใจกับประชาชนใน
กลุ่มต่าง ๆ ให้เห็นประโยชน์ท่ีจะได้รับ โดยมุ่งตอบสนองต่อความ
ต้องการของประชาชน ยกระดับคุณภาพชีวิตและก่อให้เกิดรายได้
สง่ เสริมให้เอกชนเปน็ ผูด้ าเนินการโดยมภี าครัฐเป็นหน่วยงานสนบั สนนุ

บทวิเคราะห์

ประเด็นเรื่องการมีส่วนร่วมโครงการสมาร์ทซิตี้เป็นโครงการท่ี
มีขอบเขตกว้างขวางเก่ียวพันกับกลุ่มก้อนหลายส่วน กลุ่มบริษัท
ขอนแก่นพัฒนาเมืองเป็นหน่วยขับเคล่ือนหลัก เช่ือมโยงกับองค์กร
การศึกษา ระดับสูงในจังหวัด ผ่านกลไกการกากับดูแลของผู้ว่าราชการ
จังหวัดขอนแก่น ซึ่งกาหนดเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด และจะ
เห็นว่ากระบวนการดังกล่าว ได้สร้างการมีส่วนร่วมทั้งในระดับ
ข้าราชการที่เกี่ยวข้องและระดับภาคประชาชน ผ่านเวทีสาธารณะ
ตลอดจนมีการสือ่ สารไปยังสาธารณะ หากแต่องค์ประกอบของโครงการ
มีความหลากหลายและกว้างขวาง มิติโครงสร้างและผู้กระทาการ
โครงการสมาร์ทซิต้ีขอนแก่นมีความชัดเจนในมิติเชิงโครงสร้าง แต่มี
ผู้กระทาการประกอบไปด้วยกลุ่มคนหลายกลุ่ม จึงจาเป็นที่ต้องมีการ
สื่อสารสาธารณะและสร้างการรับรู้อย่างต่อเนื่อง และต้องมีวิธีการ
สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโครงสร้างและผู้กระทาการ และ
ภาคเอกชนประชาชนเกิดการรับรู้และเป็นเจ้าของโครงการ และได้รับ
ประโยชนจ์ ากโครงการ

106 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

25

7. โมเดลย่านศรีจนั ทร์สร้างสรรค์: เครือขา่ ยผ้กู ระทาการใหม่

หลาย ๆ เมือง มักประสบปัญหาย่านการค้าเก่าเร่ิมมีบทบาท
เส่ือมถอยลง เส่ียงต่อการเกิดย่านเส่ือมโทรมใจกลางเมืองในอนาคต
กระแสการฟ้ืนฟูย่านเมืองเก่า จึงถูกหยิบยกมาเป็นวาระหนึ่งของการ
พัฒนาเมือง สาหรับขอนแก่น ย่านการค้าเก่าบรเิ วณถนนศรีจันทร์กเ็ ป็น
พ้ืนที่ท่ีกาลังประสบปัญหาแบบเดียวกัน จึงเป็นที่มาของโครงการ
ยกระดับย่านศรีจันทร์สร้างสรรค์ให้กลายเป็น “ย่านสร้างสรรค์” ขึ้น
เ พ ร า ะ เ ชื ่อ ว ่า ห า ก เ กิด ย ่า น ที่ด ีแ ล ้ว จ ะ ส า ม า ร ถ เ ป ็น ก ล ไ ก ขับ เ ค ลื ่อ น
เศรษฐกิจได้ กลายเป็นต้นแบบการพัฒนาพื้นที่ด้วยต้นทุนต่าแต่ได้
ประโยชน์ย่ังยืน

แรกเริ่มการขับเคลื่อนเรื่องการฟื้นฟูย่าน เกิดขึ้นโดยเทศบาล
นครขอนแก่นร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ริเริ่มทากิจกรรมต่าง ๆ
เพื่อจุดกระแสเกี่ยวกับการพัฒนาย่านสร้างสรรค์ขึ้น ประกอบกับ
กรมธนารักษ์ ที่ได้นาอาคารธนาคารแห่งประเทศไทยหลังเดิม ซึ่งตั้งอยู่
ในบริเวณย่าน มาพัฒนาเป็นพื้นที่สาธารณะ ทาให้เริ่มเห็นภาพของ
แนวทางการพัฒนารวมถึงผู้เล่นหลักชัดเจนขึ้น กระทั่งในปี 2563 มี
การจัดตั้งศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ หรือ TCDC ขึ้นที่จังหวัด
ขอนแก่น ซึ่งปัจจุบันคือ สนง. ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยเป็น
องค์การมหาชนภายใต้กากับของสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งมีความรู้ด้าน
การพัฒนาย่านสร้างสรรค์ รวมถึงมีเครื่องมือต่าง ๆ ในการทา
กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา เช่น การนาเอาการออกแบบทาง

107จากวนั นนั้ ถึงวนั นี้ อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

26

ความคิด Design thinking มาใช้ในกระบวนการมีส่วนร่วมกับภาค
ประชาชนในการพัฒนาเมือง เทศบาลฯ จึงได้ดึงให้ทีซีดีซี ในฐานะ
ผู้กระทาการเมืองสร้างสรรค์ ให้เป็นเจ้าภาพร่วมในการฟื้นฟูย่านศรีจันทร์
โดยได้ดาเนินการจัดตั้งองค์กรภาคประชาชน เพ่ือเป็นกลไกใหม่ ๆ
ในการสร้างการมีส่วนรว่ มโดยจดั ต้ังกลุ่ม Srichan Club ขึ้น ซึ่งปัจจุบัน
มีสมาชิกกว่า 120 คน จากกว่า 36 หน่วยงาน/กลุ่ม ท้ังจากหน่วยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม ชมรม สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจ และ
ภาคประชาชน เพ่ือเป็นพ้ืนที่และช่องทางในการขับเคลื่อนโครงการ
ตลอดจนแลกเปลี่ยนและต่อยอดแนวคิดโครงการต่าง ๆ ที่ผลักดันให้
ย่านพัฒนาอย่างยั่งยืนจากทุกภาคส่วนด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วม
และดึงดูดคนรนุ่ ใหม่และนเิ วศสรา้ งสรรคใ์ ห้เขา้ มาทากจิ กรรมในย่านตอ่ ไป

กิจกรรมของ TCDC เป็นกิจกรรมท่ีเน้นความคิดสร้างสรรค์
ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่ สร้างระบบนิเวศสร้างสรรค์ให้กับเมือง เป็น
แรงจูงใจให้เกิดกลุ่มขับเคลื่อนพื้นท่ีอย่างไม่เป็นทางการ เกิดนัก
ออกแบบจิตอาสา เกิดความร่วมมือจากคนในย่าน ที่หลากหลายกลุ่ม
เข้ามาร่วมทางานร่วมกัน เป็นการเติมเต็มความต้องการของผู้คนท่ี
หลากหลาย เป็นหน่ึงในกระบวนการพัฒนาเมืองขอนแก่นท่ีประสบ
ความสาเร็จในการสร้างการมีส่วนร่วมของผู้คน อย่างไรก็ดีประเด็นท่ี
ท้าทาย คือ การสร้างความร่วมมือกับท้องถ่ินที่ชัดเจน ต่อเนื่องและ
ได้รับการสนับสนุนทุนและงบประมาณจากภาคส่วนต่าง ๆ ตลอดจน
การสร้างการเปน็ เจ้าของรว่ มกับชมุ ชน

108 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

27

บทวิเคราะห์
ประเด็นเร่ืองการมีส่วนร่วม หลักปรัชญาของโครงสร้างองค์กร

TCDC ที่มุ่งเน้นการออกแบบร่วมระหว่างชุมชนและองค์กร เป็นส่ิงยืนยัน
ถึงความสาเร็จ และการเป็นเจ้าของร่วม จะเห็นได้ว่าภารกิจของทีซีดีซี
มีขอบเขตแค่เฉพาะด้าน ทาให้มีความซับซ้อนน้อยกว่าหน่วยงานอ่ืน
กิจกรรมมักมีลักษณะอาศัยโครงสร้างเป็นฐาน ประเด็นเร่ืองโครงสร้าง
และผู้กระทาการ TCDC เป็นท้ังโครงสร้างและผู้ทาการ ทาการโดย
เชื่อมโยงผู้กระทาการใหม่ ๆ ผ่านกระบวนการออกแบบทางความคิด
และการร่วมออกแบบ จะเห็นได้ว่ากิจกรรมของทีซีดีซี ค่อนข้างสร้าง
ผลกระทบต่อการพัฒนาเมืองท่ีเห็นเป็นรูปธรรม จับต้องได้ มีการใช้
กลไกการมีส่วนร่วม เม่ือมองในมุมมองผู้กระทาการหลัก องค์กรการ
พัฒนาเมืองเฉพาะทางในลักษณะดังกลา่ ว ถือเป็นฟันเฟืองสาคัญในการ
พัฒนาพื้นที่เมือง แต่เพราะการพัฒนาย่านสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นต้นแบบ
ของการจัดตั้งองค์กรท่ีเรียกว่า เอเจนซี่ กับหลาย ๆ เมือง ซ่ึงในทาง
ปฏบิ ัติแล้วสามารถจัดตงั้ องคก์ รลักษณะเดยี วกันให้อยู่ภายใต้โครงสร้าง
ของ อปท. ได้ อันจะช่วยส่งเสรมิ การพฒั นาเมือง และเปน็ แหล่งบม่ เพาะ
สร้างการรับรู้ สร้างการวางแผนแบบรวมพลังเชิงปฏิบัติการ ตลอดจน
เป็นพื้นที่ฝึกปฏิบัติการของผู้กระทาการ การพัฒนาเมือง และเชื่อมโยง
เครอื ขา่ ยการพฒั นาเมอื งได้อยา่ งดี

109จากวนั นนั้ ถึงวนั นี้ อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

28

8. สรุปและข้อเสนอแนะ

บทความนี้ต้องการวิเคราะห์การพัฒนาเมืองขอนแก่นจากมุมมอง
ของการวางแผนแบบรวมพลังผ่านกรณีศึกษาต่าง ๆ ผลการวิเคราะห์
ชี้ว่าในข้ันตอนล่าสุดของการพัฒนาเมืองได้เกิดโครงการและโมเดลการ
พัฒนาเมืองท่ีได้รับการผลักดันจากกระบวนการก่อตัวทางสังคม ซ่ึงมี
จุดเด่นต่างกันออกไป เช่น โมเดลบริษัทขอนแก่นพัฒนาเมืองสะท้อน
ถึงบทบาทของการพัฒนาเมืองท่ีไม่ใช่ถูกส่ังการโดยรัฐ แต่ภาคเอกชน
สามารถเข้าไปร่วมกาหนดทิศทางที่ต้องการได้ โมเดลขอนแก่นทรานซิท
ซิสเตม็ ถอื วา่ เปน็ ตวั แบบทโี่ ครงสร้างภายในท้องถน่ิ ได้ปรับตวั เพือ่ ให้เกิด
การรว่ มมอื เพ่อื การพฒั นามากขึน้ กรณีของโมเดลรถรางสร้างเมืองแม้ว่า
ยังอิงกับอานาจส่วนกลางแต่ก็ถือเป็นโอกาสอันดีที่จะใช้ประโยชน์จาก
การเชอ่ื มโยงนไ้ี ปสูก่ ารปรับกระบวนการต่าง ๆ ท้ังการระดมทนุ และการ
ทาประชาพิจารณ์ โมเดลเครอื ขา่ ยเมืองอัจฉรยิ ะทาหน้าทเ่ี หมือนกับเป็น
“จุดเชื่อม” นาการปฏิบัติและผู้กระทาการให้เช่ือมต่อกับองค์กรทั้งดา้ น
การศึกษาและการปกครองในจังหวัด และโมเดลย่านศรีจันทร์ได้ทา
ให้เห็นถงึ ความเปน็ ไปได้ในการสร้างผู้กระทาการท่ีมีความคิดสร้างสรรค์
สดใหม่

อย่างไรก็ตาม ตัวอย่างของการวางแผนแบบรวมพลงั น้ีคงกล่าว
ไม่ได้ว่าเสร็จส้ินแล้ว เพราะเป็นปฏิบัติการท่ีต้องดาเนินต่อเนื่องไป ซึ่ง
ณ ท่ีน้ีขอเสนอนัยเชิงปฏิบัติการในอนาคตต่อภาคส่วนต่าง ๆ (ตามภาพ
ด้านลา่ ง) ดังนี้

110 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

29

บริษัทพัฒนาเมืองขอนแก่น KKTT จาเป็นต้องส่งต่อความคิด
ไปยังผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่เป็นคนในพื้นท่ีที่จะเข้ามาเป็นคนรุ่น 2 รุ่น
3 เพ่ือดาเนินกิจการในลักษณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องการพัฒนาเมืองให้
เด่นชัดขึ้น และด้วยการเร่ิมต้นจากภาคเอกชน ดังนั้น การเสริมภาพลักษณ์
ของบริษัทให้เข้าสู่การเป็นกิจการเพื่อสังคม (city startup) ต้องกระทา
ควบคู่กันไปด้วยการเชื่อมโยงคนผู้กระทาการท่ีหลากหลาย ท้ังคนรุ่นใหม่
คนช้ันกลางและช้ันล่างที่ไม่ได้มีโอกาสเข้าถึงเข้ามามีส่วนร่วมกับการ
คิดแนวทางดังกล่าวตั้งแต่แรก เพ่ือสร้างต้นแบบให้เกิดเป็นรูปธรรมของ
โครงการท่สี ามารถตอบสนองต่อวิถชี วี ิตประจาวันของประชาชนในพื้นที่
อีกทั้งยังสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้การบริหารอานาจ
ในเชิงรุกย่อมจาเป็น บริหารงานเชิงรุก การเคลื่อนไหวต่าง ๆ ที่ปรากฏ
ออกมาตามสื่อประชาสัมพันธ์ มิใช่การมุ่งหวังเพียงแค่ให้โครงการ
ประสบผลสาเร็จเท่าน้ัน แต่ยังคงสร้างการต่อรองเชิงอานาจของท้ัง
ภาครัฐโครงสร้างและผกู้ ระทาการภาคเอกชนและชุมชนด้วย

เครือข่ายการพัฒนาเมืองขอนแก่น Collective City Actor
Networking การขยายวง ยกระดับให้ความสาคัญและสร้างความ
ต่อเน่ือง เช่ือมโยงทั้งผู้กระทาการเดิม ผู้กระทาการใหม่และโครงสร้าง
เดิมและโครงสร้างใหม่ ทาให้เกิดกระแสกิจกรรมใหม่ ๆ เช่น การฟื้นฟูย่าน
การสร้างเมืองสีเขียว การสร้างเครือข่ายครีเอทีฟ การต้ังอาสาสมัคร
ยกระดับขนส่งสาธารณะ รวมไปถึงสตาร์ทอัพในด้านต่าง ๆ เหล่านี้
ล้วนทาให้เกิดกระบวนการพัฒนาเมืองแบบจิตอาสา แบบกึ่งทางการ

111จากวนั นนั้ ถึงวนั นี้ อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

30

ไม่เป็นทางการผ่านการเชื่อมโยงประสานของ KKTT ที่หน้าท่ีประสานงาน
คัดกรองส่งต่อ เปิดวงสนทนา ส่งต่อไปยังกลุ่มต่าง ๆ ให้มีความเป็น
เจ้าของโครงการพัฒนา เพื่อให้ดึงดูดคนนอก, เกิดการยอมรับจากภายใน
เกิดสานึกร่วม (Collectivism), เกิดความเป็นเจ้าของร่วมเกิดระบบนิเวศ
ในการพัฒนาเมอื ง (Ecosystem) พร้อม ๆ กบั มแี ผนงานที่ชัดเจน

รปู ที่ 2 นเิ วศของเครือขา่ ยการพฒั นาเมือง
Collective City Actor Networking

112 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

31

ท้องถ่ินเทศบาลนครขอนแก่น ควรยกระดับกลไกที่มีอยู่แล้ว
เพื่อเป็นส่วนร่วมสนับสนุนการพัฒนาต่าง ๆ ทะลายการบริหารแบบ
ล้าหลังให้เป็นแบบสร้างสรรค์ (รูปท่ี 3) สนับสนุนให้เกิดผู้นาทางความคิด
และผู้กระทาการ พัฒนางานเดิมให้มีการกระจายอานาจแบบมีโมเดล
ธุรกิจ ลงพ้ืนท่ีระดับชุมชน สร้างความเช่ือใจ เพิ่มเติม จริงใจ ให้ความรู้
เปดิ โอกาสใหเ้ กิดการต่อรองระหวา่ งโครงสรา้ งเดิมและผู้กระทาการใหม่
อย่างสร้างสรรค์ ส่งเสริมสร้างเครือข่ายผู้กระทาการ โดยท้องถิ่นต้อง
พัฒนาตนเองให้มีบทบาทไม่เพียงแต่เป็นผู้ได้รับประโยชน์ แต่ต้องสร้าง
กลไกสนับสนุนให้เกิดความย่ังยืน เช่น การต้ังงบประมาณ หรือใช้กลไก
ของตนเองในการสนับสนุนให้ความรู้อาจจะต้องมีสภาพัฒนาเมือง
ให้ประชาชนเป็นเจา้ ของร่วมทางตรงหรือทางอ้อม

กรณีความสาเร็จของ KKTS คือ กระบวนการกระจายอานาจ
ในรอบที่ 3 เกิดขึ้นท่ีขอนแก่นผ่านการกระจายโอกาสให้เอกชนได้มี
โอกาสได้ร่วมลงทุนในการพัฒนาเมืองซึ่งมีโมเดลธุรกิจต้องยกเครดิต
ให้กับเทศบาลท่ีเปิดโอกาสให้เปิดการให้ KKTS เกิดขึ้น อย่างไรก็ดี
เทศบาลนครขอนแก่น ควรกล้าหาญท่ีจะทดลองโครงการใหม่ ๆ ต่าง ๆ
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือกับประชาชนเมือง เช่น การสร้างโมเดล
ธุรกิจกับโครงการพัฒนาเมือง การหารายได้ในทางเลือกใหม่ ๆ ที่หลากหลาย
และก้าวหน้า ในเรื่องของการจัดเก็บรายได้และการแสวงหารายได้
ในบรกิ ารสาธารณะในรูปแบบอน่ื ๆ

113จากวนั นนั้ ถึงวนั น้ี อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

32

การสร้างโครงการนาร่อง ต้นแบบพัฒนาเมืองตามโมเดลการ
พัฒนาของขอนแกน่ ทอ้ งถนิ่ ควรเช่อื มโยงผู้กระทาการ พร้อม ๆ กบั การ
ส่งเสริมองค์กรไม่แสวงหาผลกาไร องค์กรเอกชนและสถาบันสาธารณะ
ในการพัฒนาเมือง สร้างเป็นเครือข่ายการพัฒนาเรื่องต่าง ๆ ตามความถนัด
สามารถแลกเปล่ียน สร้างแรงบันดาลใจ และเรียนรู้จากกันและกัน
เพื่อค้นหาวิธีแก้ปัญหาที่สร้างสรรค์ร่วมกัน ส่งเสริมให้ผู้กระทาการ
เปลี่ยนแปลงเมืองทางานร่วมกันในรูปแบบท่ีเป็นนวัตกรรมเพ่ือเมือง
ที่ยั่งยืน อปท. ซึ่งมีความพร้อมจัดต้ังหน่วยงานหรือสร้างความร่วมมือ
กับภาคเอกชนท่ีมีความสนใจ และมีการขับเคลื่อนอยู่แล้วในปัจจุบัน
เช่น บริษทั พัฒนาเมอื งต่าง ๆ หรือจัดตั้งองคก์ รพฒั นาเมืองเป็นวสิ าหกิจ
ขององค์กร การสร้างท้ังรูปแบบขององค์กรใหม่ ๆ เพ่ือสร้างความคล่องตัว
และยังเกี่ยวข้องกับการจัดตั้งโครงสร้างข้ามพรมแดนอีกท้ังยังมีจุดหลัก
สาคัญคือการใช้ทุนในการพัฒนาเมือง นักการเมืองท้องถ่ิน ข้าราชการ
ประจาที่ยังยึดถือรูปแบบของการทางานในแบบส่ังการ, คานึงถึงกฎระเบียบ
เป็นผู้ให้มากกว่าผู้สนับสนุน ท้ังในเชิงอานาจและกฎหมาย เทศบาล
สามารถให้โอกาสท้องถิ่นสามารถจัดตั้งองค์กรในรูปแบบของธุรกิจได้
ก็ตามแต่ยังขาดความหลากหลาย ขาดมุมมองในการบริหารรูปแบบอ่ืน ๆ
เชน่ การใหส้ ัมปทานการจดั ตงั้ องคก์ รอสิ ระข้นึ มาเพื่อบริหารกิจการแทน
สิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ียังขาดต้นแบบ เช่น กิจการบางประเภทที่ไม่แสวงหากาไร
เกิดขึ้นน้อยมากในการให้สัมปทานหรือในการจัดต้ังองค์กรลักษณะ
พิเศษเพื่อความคล่องตัวและบริการกิจการสาธารณะให้กับเมืองไม่ว่า
จะเป็นในเรื่องของการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้การบริหารจัดการ
พ้นื ที่สวนสาธารณะ

114 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

33

รปู ท่ี 3 รฐั สรา้ งสรรค์ (Creative Governance)

บทส่งทา้ ย ผกู้ ระทาการและโครงสร้างต่าง ๆ

หน่วยงานของรัฐในการพัฒนาเมือง เทศบาล อบจ. หน่วยงาน
ของรัฐ เช่น สนง. โยธาธิการและผังเมืองจังหวดั คณะกรรมการผังเมือง
จังหวัด ตามบทบัญญัติ พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2562 ควรกาหนด
บทบาทการส่งเสริมการพัฒนาเมืองมากข้ึน หากใช้โอกาสของต้นแบบ
ขอนแก่นโมเดลในการยกระดับภารกิจขององค์กร ย่อมสามารถสร้าง
บริการสาธารณะในรูปแบบใหม่ ๆ ให้กับพ้ืนท่ีได้เป็นอย่างดี โครงสร้าง
หนว่ ยงานของรฐั อืน่ ๆ และเทศบาลควรยกระดับสกู่ ารเป็นรัฐสรา้ งสรรค์
สร้างวิธีการทางานให้มีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ยึดถือผลลัพธ์มากกว่า

115จากวนั นนั้ ถึงวนั น้ี อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

34

กฎระเบียบและปรับทัศนคติจากการเป็นเจ้าของโครงการ สู่การเป็น
ผู้สนับสนุนการทางานของภาคีเครือข่ายผู้กระทาการต่าง ๆ ขณะเดียวกัน
ผู้กระทาการและโครงสร้างต่าง ๆ ที่มีอยู่ ท้ัง KKTT KKTS TCDC
สถาบันการศึกษา องค์กรภาคีเครือข่ายการพัฒนาเมืองต่าง ๆ ทั้งใน
พนื้ ทแี่ ละนอกพนื้ ที่ ควรมีการเชื่อมโยงรวมตัวกัน เพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรู้
ขับเคล่ือน การขยายผลการพัฒนา ย่อมจะนาไปสู่การวางแผนแบบรวม
พลงั และการปฏบิ ตั ิการแบบรวมพลงั ทีย่ ั่งยนื ยง่ิ ข้ึน

116 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

บรรณานุกรม

ขวัญชนก อ�ำภา. (2561). การวางแผนพัฒนาเมอื งโดยใชก้ ระบวนการ
วางแผนแบบรวมพลังในมิติของการปฏิสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง
และผกู้ ระทำ� การ กรณศี กึ ษาเมอื งขอนแกน่ . วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญา
ปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าการวางแผนภาคและเมอื ง บัณฑติ
วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
บัวพันธ์ พรหมพักพิง, ยรรยง อินทร์ม่วง, มนต์ชัย ผ่องศิริ. (2562).
เมืองขอนแกน่ การเติบโต ความท้าทาย และโอกาส. นนทบุร:ี
บรษิ ัท ส�ำนักพิมพส์ ่ือตะวนั จ�ำกดั .
ลทั ธกติ ต์ิ ลาภอดุ มการณ.์ (2564). เจาะลกึ ความเหลอื่ มลำ�้ ไทย แกไ้ ดไ้ หม
แกอ้ ย่างไร. KKP Research โดยกล่มุ ธุรกจิ การเงินเกยี รตินาคนิ ,
Retrieved from https://mail.google.com/mail/u/0/?tab
=rm&ogbl#inbox/FMfcgzGljlrvPNnhWdcMNHfNJNJmCVjr?
projector=1&messagePartId=0.1
ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, (2562). SMART CITY มติ ใิ หมข่ องการพฒั นา
เมือง Case Study: ขอนแก่นโมเดล สืบค้น 9 สิงหาคม.
จากเวป็ ไซต์ https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/
RegionalEconomy/EducationPaper/smart_city_KhonKaen
Model.pdf
เทศบาลนครขอนแกน่ และมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . (2559). รายงานฉบบั
สมบรู ณโ์ ครงการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม เมอื งพเิ ศษ
เทศบาลนครขอนแก่นระยะที่ 1-3. ขอนแกน่
Antony, G. (1971). Capitalism and Modern Social Theory.
Cambridge: Cambridge University Press.

117จากวนั นัน้ ถึงวนั นี้ อนาคตของโมเดลการพฒั นาเมอื งขอนแก่น

Davidoff, P. (1965). Advocacy and Pluralism in Planning. AIP
Journal, November: pp.331-338.
Foucault, M. (1982). Discipline and Punish: The Birth or Prison.
Harmundsworth: Penguin Books Ltd..
Habermas J. (1979). Communication and the Evolution of
Society. (T.Mc Carthy,Trans.). Canada: Beacon Press.
(Original work published 1976).
Kevin Hewison. (2019). Crazy Rich Thais: Thailand’s Capitalist
Class, 1980-2019, Journal of Contemporary Asia.
https://doi.org/10.1080/00472336.2019.1647942
Kanchoochat, V., Aiyara, T., & Ngamaruchot, B. (2021).
Sick Tiger: Social Conflict, State-Business Relations
and Exclusive Growth in Thailand, Journal of
Contemporary Asia. https://doi.org/10.1080/00472336.
2020.1869997
Kevin Hewison. (2019). Crazy Rich Thais: Thailand’s Capitalist
Class, 1980-2019. Journal of Contemporary Asia.
https://doi.org/10.1080/00472336.2019.1647942
Somboon Siriprachai. (2012). Industrialization with a weak
state Thailand’s Development in Historical Perspective.
Singapore: National University of Singapore Press.
Manzini, E. (2014). “Making Things Happen: Social Innovation
and Design,” Design Issue 30, no.1

118 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

1

การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณศี ึกษานโยบายของ
นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั เชียงใหม่และบทบาท

ของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

ชนนิ ทร เพญ็ สูตร1

เกร่ินนา

นับตั้งแต่รัฐประหารปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา ประเทศไทย
ปราศจากการเลือกตั้งทั้งในระดับชาติและระดับท้องถ่ิน จนกระท่ังปี
พ.ศ. 2562 ได้กลับมามีการเลือกต้ังระดับชาติอีกคร้ังหนึ่ง ท้ังน้ี การเลือกต้ัง
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ในประเทศไทย มีข้ึนพร้อมกัน
ท่วั ประเทศในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ในส่วนของจงั หวัดเชียงใหม่
การเลือกต้ังนายก อบจ. มีผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นจานวนทั้งสิ้น 6 ราย2
โดยมีผู้สมัครที่ได้รับคะแนนเลือกต้ังเป็นจานวนหลัก 1 แสนคนขึ้นไป

1ม1 ผหผศาศว..ดดิทรรย..าชชลนนัยินนิ เชททยี รรงใเเพพห็ญม็ญ่สสูตตู รร ออาาจจาารรยยป์์ปรระะจจ�ำาคคณณะะรรัฐัฐศศาาสสตตรร์แแ์ ลละะรรัฐัฐปปรระะศศาาสสนนศศาาสสตตรร์์
2 มผหสู้ ามวคัิทรยทาลงั้ ัย6เชรยี างยใไหดมแ้ ่ ก่ นายพชิ ยั เลศิ พงศอ์ ดศิ ร (ผสู้ มคั รหมายเลข 1) นายบญุ เลศิ
2บผรู ณู้สมปุ ัคกรรทณ้ัง์ (6ผสู้รามยคั ไรดห้แมกา่ นยเาลยขพิ2ช)ัยนเาลยิศวพนิ งจิศ์อจดนิ ิศใจร ((ผผสูู้้สมมคััครรหหมมาายยเเลลขข 31))นนาายยบบดุญนิ เทลิศร์
กบินูราณวปุงศก์รณ(ผ์ู้ส(ผมสู้ ัคมรคั หรมหามยายเลเลขข 42) นาายยววินสจิ ันจตนิ ์ ใวจัช(วผงสู้ ษม์ัค(รผหู้สมมาัคยเรลหขม3า)ยนเลาขยบ5ด)นิ ทแรล์ ะกิ
นนาายวเงฉศล์ ิม(ผศู้สกั มดัคิ์ สรหุรนมนัายทเ์ล(ผขู้ส4ม)ัคนราหยมวาสยันเตล์ ขวัช6ว)ง(ษอ์ง(คผ์กู้สามรัคบรรหหิ มารยสเลว่ ขนจ5งั)หแวลัดะเนชายี ยงเใฉหลมิม่,
2ศ5ัก6ด3ิ์)สุรนันท์ (ผู้สมัครหมายเลข 6) (องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดเชยี งใหม่, 2563)

119การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

2

2 ราย ได้แก่ นายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร ผู้สมัครหมายเลข 1 ผู้แทนจาก
พรรคเพอื่ ไทย และนายบญุ เลิศ บูรณปุ กรณ์ ผสู้ มัครหมายเลข 2 ผูส้ มัคร
อิสระในนามกลุ่มเชียงใหม่คุณธรรมและเคยดารงตาแหน่งนายก อบจ.
เชียงใหม่ระหว่างปี พ.ศ. 2551 – 25633 (อบจ. เชียงใหม,่ 2563; คาสั่ง
หัวหน้าคสช., 26 กรกฎาคม 2559; ประชาชาติธุรกิจออนไลน์, 7 มิถุนายน
2561) การเลือกตั้งนายก อบจ. เชียงใหม่ มีผู้มาใช้สิทธิจานวนทั้งส้ิน
936,036 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 71.95 ของจานวนผ้มู สี ทิ ธเิ ลอื กตั้งท้งั หมด4
ผลปรากฏว่าผู้ท่ีได้รับการเลือกต้ังให้ดารงตาแหน่งนายก อบจ. คือ
นายพชิ ยั เลิศพงศ์อดิศร5

หลงั จากได้รับการรับรองใหด้ ารงตาแหนง่ นายก อบจ. เชยี งใหม่
อย่างเป็นทางการ นายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร ได้แถลงนโยบายของตนเอง
ต่อสภา อบจ. เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โดยแบ่ง
นโยบายออกเป็น 8 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

33 บบญุ ุญเลเลิศิศบูรบณูรปุ ณกรุปณก์ รไดณร้ บั์ คไดาส้ร่งัับจคาก�ำหสวัั่งหจนาา้กรหักษัวหาคนว้าามรสักงษบาแคหว่งชาามตสใิ หงบย้ ตุแกิ หา่งรชปฏาตบิ ิใัตหหิ ้ยน้าุตทิก่ใี านร
ปฐฏาินบะัตนิหานยก้าอทง่ีใคนก์ ฐาารบนระิหนาารสย่วกนอจงงั คห์กวัดาเรชบียรงใิหหามร่ รสะ่วหนวจา่ งังวหันวทัด่ี 2เช6ียกงรใกหฎมาค่ มระพห.ศว.่า2ง5ว5ัน9ท–่ี 236
กมรถิกุนฎาายคนมพพ.ศ..ศ2.526515(9คา–สง่ั3หมวั หถิ นุน้าาคยณนะรพกั .ษศา. ค2ว5า6ม1สง(บคแ�ำหส่งงั่ ชหาวัตห,ิ 2น6้าคกรณกะฎราคกั มษา2ค55ว9า;มสงบ
แปหร่งะชชาาตชาิ, ต2ธิ 6รุ กกิจรอกอฎนไาลคนม์, 725มิถ5ุน9า;ยปนร2ะ5ช6า1ช)าตธิ รุ กิจออนไลน,์ 7 มิถุนายน 2561)
44 ขข้อ้อมมลู ูลจาจกาศกนู ศยูนอ์ ยาน์อว�ำยนกวายรกกาารรเลกอืากรตเลง้ั สือมกาตชั้งกิ สสมภาาแชลิกะสนภายากแอลงะคนก์ าารยบกรอิหงาครส์กว่ านรจบังรหิหวัดารส่วน
เจชงั ียหงใวหัดมเ่ชอยี งคงใ์กหารมบ่ รอิหงาครก์ สา่วรนบจงัรหหิ วาดั รเชสยีว่ งนใหจมัง่หวัดเชยี งใหม่
55 ผผ้ใู ู้ใชช้ส้สิทิทธเิ ธลิอืเลกือตงั้กทตา้ังกทาร�ำเกลอืากรนเลายือพกชิ นยั าพยงพศิชเ์ ลัยิศอพดศิงรศจ์เลานิศวอนด4ิศ2ร1,6จ7�ำ9นควนนใน4ข2ณ1ะ,6ทผ่ี7้ใู9ชส้ คิทนธิ
เใลนอื ขกณตั้งะเลทือ่ีผกู้ในชา้สยบิทญุ ธิเเลลิศือกบูรตณั้งเุปลกือรณกน์ จาายนบวนุญ3เ5ล3ิศ,18บ9ูรคณนุป(กปรระณก์าศจค�ำณนะวกนรรม3ก5า3ร,ก1า8ร9 คน
เ(ลปือรกะตกง้ั าปศรคะณจาะอกงครรก์ มารกบารรหิ กาารรสเว่ลนอื จกงั ตหงั้วปดั เรชะยี จงาํใหอมงค่, ก์25า6ร3บ)รหิ ารสว่ นจงั หวดั เชยี งใหม,่ 2563)

120 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

3

การมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารราชการ 2) การเดินทาง
และการคมนาคมขนส่ง 3) สุขภาพและอนามัยของประชาชน
4) การศึกษา 5) การเกษตรและอาหารปลอดภัย 6) SMEs OTOP
7) การทอ่ งเทีย่ ว กฬี า วัฒนธรรม และ 8) การบริหารทรัพยากรบุคคล6

ในประเด็นการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการ
ระบุไว้อย่างชัดเจนในนโยบายด้านที่ 1 โดยก่อนหน้านี้ ในปี 2556 คน
เชยี งใหม่กลุม่ หนึ่งได้จัดตงั้ สภาพลเมือง โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ สนับสนุน
ความเข้มแข็งของภาคประชาชน มีกิจกรรมท่ีสนับสนุนการสร้างความ
ร่วมมือระหว่างองค์กรภาคประชาสังคม กิจกรรมสภาพลเมืองเชียงใหม่
เกิดข้ึนคร้ังแรกเมื่อวันท่ี 27 มกราคม พ.ศ. 2556 คือ การเสวนาปัญหา
การจราจรในพืน้ ท่ีบริเวณนิมมานเหมินท์ (บษุ ยา คณุ ากรสวสั ด์ิ, ม.ป.ป.,
น. 25)

หลังการเลือกตั้งนายก อบจ. เชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2563
สภาพลเมืองเชียงใหม่ได้จัดการพบกันระหว่างนายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร
และสมาชิกและผู้สนใจเป็นครั้งแรกเม่ือวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
หรือ 5 เดือนหลังจากการแถลงนโยบายของนายพิชัยต่อสภา อบจ.
เชยี งใหม่

6 เอกสารนโยบายของนายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
6เชเอียกงสใหารมน่โยเอบากยสขาอรงปนารยะพกชิ อยั บเลทศิ ่ีใพชง้แศจ์อกดใศิ หร้แนกา่ผยกู้มอางรค่ว์กมารงบารนหิ เาวรทสีสว่ นภจาังพหวลัดเมเชือียงใเหชมีย่งใหม่
เ“อวกสิ สยัารทปศั รนะก์ แอลบะทน่ใี ชโ้แยจบกาใยห้แขกอผ่ งู้มอารบว่ จม.งาเชนยีเวงทใีสหภมา่ พตลอเบมโอื จงทเชยี ป์งใรหะมช่ "าวชสิ นัยทหศั รนอื ์ ไแมล่ะอนยโา่ยงบไารย?”
ขวอนั งทอ่ี บ26จ. กเชรยี กงฎใหามค่ มตอพบโ.ศจท. ย2์ป5ร6ะ4ชาชนหรือไม่ อยา่ งไร?" วนั ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

121การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

4

บทความนี้ ผู้เขียนได้ทาการเก็บข้อมูลจากการเข้าร่วมกิจกรรม
สภาพลเมืองเชียงใหม่และรับฟังการตอบข้อคาถามและการแถลงการณ์
ของนายพิชัย เลศิ พงศ์อดิศร ต่อสภาพลเมืองเชียงใหม่ ไดเ้ ก็บข้อมูลการ
ทางานของนายก อบจ. เชียงใหม่ผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย ได้แก่
เฟสบุ๊กเพจ: พิชัย เลิศพงศ์อดิศร พรรคเพื่อไทย เชียงใหม่ เฟสบุ๊กเพจ:
อบจ. เชียงใหม่ และบัญชีเฟสบุ๊ก: ประชาสัมพันธ์ อบจ. เชียงใหม่7
ในส่วนของกิจกรรมสภาพลเมือง ผูเ้ ขียนเก็บขอ้ มูลจากเฟสบุ๊กเพจ: สภา
ลมหายใจเชียงใหม่ เฟสบุ๊กเพจ: We Love CNX : เจียงใหม่บ้านของเฮา
กลุ่มเฟสบุ๊ก: สภาพลเมืองเชียงใหม่8 และทาการเก็บข้อมูลผ่านการ
สัมภาษณ์ ฟังการบรรยายและซักถามข้อสงสัยจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
กับการขบั เคลือ่ นการทางานของสภาพลเมืองเชยี งใหม่จานวน 3 ราย9

77 เเฟฟสสบบกุ๊ เกุ๊พเจพ: จพ:ชิ พัย ชิเลยั ศิ พเลงศศิ ์อพดงศิ ศรอ์ พดรศิรครเพพอื่ รไรทคยเเพชยีอ่ื งไใทหมย่ เชยี งใหม่ https://www.facebook.
hctotpms:///pwicwhwa.if.alceerbtpoookn.cgoamd/ispoicrhnaเi.ฟleสrtบpกoุ๊ nเพgaจd:isอoบrnจ.เชยี งใหม่ https://www.facebook.
เcฟoสmบุ๊ก/เcพhจ:iaอnบจg.mเชยีaงipใหaมo่ hบttญpั sช://ผี wใู้ ชwเ้wฟ.fสacบeกุ๊ b:oปokร.ะcoชmาส/cมั hพianนั gธm์ อaiงpคaoก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั
บเชญั ียชงีผใู้ หช้เมฟ่สhบtุก๊ t:pปsร:ะ/ช/าwสัมwพwนั ธ.f์ aอcงคeก์ bารoบoรkหิ .าcรoสว่mนจ/ังpหrว.cัดmเชpียงaใหoม่
h8 tเtpฟsส:/บ/wุ๊กwเพw.จfa:ceสbภoาoลk.มcoหmา/ยpใr.จcmเชpียaงoใหม่ https://www.facebook.com/breath-
8cเoฟuสnบกุ๊cเiพl.จo:rสgภเาฟลมสหบาุ๊กยใเจพเชจีย:ง:ใหWมe่ htLtopsv:/e/wCwNwX.fa:cเeจbยี oงoใkห.cมomบ่ า้/bนreขaอthงcเฮouาnhctilt.oprsg://www.
hกตเอ9fhค9ฟฟa tลราผtณังผtสนมีcมุู่้วtpกบูร้ววpeิจเะsฟรกุ๊ยาัย:ิจbsก/คสกเรฟ/:ัยพoารบ/าwบงั จฟร/รoุก๊กแwร:สwม:าลังk:ภรwรสะกก.wWยบาcภ.สfลาารoาaมัwาeมรรรcพยภmยหLอeบ.ลาจfาobาำ�aษเร/ยายมvoนCcณรแใeกอืoจeลยวh์คงkคCเะเbยณชุ.าiชcNุณaซยียกooียลกัXnง งmแักาoถใgใ :หขราลหk/mเ มณมสCจม.ะ cข่hยีภา่aวซอh้oสiงนัaiาศักสtใCmุรnทtหรลงpถiีรgีหี่สมtม1sm/ัตาiงยั่บ:z3gห/สมจนa้า/er์ากiนwาขoผC์nกมุยขู้แwi้อตuคtCภอทใiwุณzสรpจางoนeเีมพ.งชsเฮfจunชaนส/ััชราาCnc1ียวธกรัยoeา์c6เงคพจbuคลiใ5lาonร.ยาหศ/7อื์coก.ทมขiกแ4kl2คอ/่า.่ล8ลc5ยงุณวo6ม4ุ่ดะเันชm4เีช5สเลียทฟ/ฟ6ัชัมิศงgี่สใัง4วrภห1ปกoบ5ามราา3uล7ก๊ะุร่เษpขบธ9ยก:sยีณาร/ส6์มุนวร10ภ์คทย6คภสา35ณุณาอวาย7พยะพงจ4ลกดาลห8ันักรก4อีเเรธคขมล5มมุณ์6ณิศอืกพว4างนั5า.รเศปท7ชส9.่ีศรยีรุ26ะ2รีร6ง0ัตีหธ5ใ3นหา6ง์ นมส4่์
กผรู้แกทฎานคจมาพก.เศค. ร25อื 6ข4่ายเชยี งใหม่เขยี ว สวย หอม วันท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

122 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

5

นโยบายของนายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัดเชียงใหม่

นโยบายของนายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร ประกอบไปด้วย 47
นโยบาย โดยนโยบายหลักท่ีเก่ียวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชน
ได้แก1่ 0

1. “ให้ประชาชนชาวเชียงใหม่ มีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
ของ อบจ. ท้ังการเสนอปัญหา การตรวจสอบการบริหารราชการ
การร่วมกิจกรรมหรือพัฒนาพ้ืนที่ที่อยู่ในอานาจหน้าท่ีของ
อบจ. ภายใต้กรอบของรัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระเบียบและ
ขอ้ บัญญตั ทิ เ่ี ก่ยี วข้อง”

2. “ส่งเสริม สนับสนุนการกระจายอานาจให้ประชาชนได้มี
ส่วนร่วมในการปกครองตนเอง และพัฒนาท้องถิ่นให้มากข้ึน
ตามหลกั การปกครองตนเอง”

นับตั้งแต่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติรับรองให้
นายพิชัย เลิศพงศ์อดิศรดารงตาแหน่งนายก อบจ. เชียงใหม่ เมื่อวันที่
3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 256411 พบว่าเฟสบุ๊กเพจ: พิชัย เลิศพงศ์อดิศร

10 เอกสารนโยบายของนายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
1เ0ชีเยองกใสหามรน่ โเยอบกาสยขาอรงปนราะยกพอชิ ยับทเลี่ใิศชพ้แงจศกอ์ ดใหศิ ร้แนกา่ผยู้มกาอรงค่วก์มางราบนรหิเวาทรสีส่วภนาจพังหลวเัดมเชือียงงเใชหียมง่ ใหม่
เ“อวกสิ สยัารทปศั รนะก์ แอลบะทนใี่ ชโแ้ยจบกาใยห้แขกอผ่ งู้มอารบ่วจม.งาเชนยีเวงทใีสหภมา่ พตลอเบมโอื จงทเชยี ป์งใรหะมช่ "าวชิสนยั ทหัศรนอื ์ ไแมล่ะอนยโา่ยงบไารย?”
ขวอนั งทอ่ี บ26จ. กเชรยี กงฎใหามค่ มตอพบโ.ศจท. ย2์ป5ร6ะ4ชาชนหรือไม่ อยา่ งไร?" วนั ท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
1111 ททีม่ ่มี าาเฟเฟสบสกุ๊บเกุ๊พจเพ: พจ:ชิ ัยพเิชลัยิศพเงลศิศอ์ พดงิศศร์อพดริศรครเพพ่ือรไทรคยเเพช่ือยี งไใทหยม่ เชียงใหม่ https://www.
hfattcpesb:/o/wowk.wc.ofamce/bpoicohk.acio.lme/rptpicohnaig.laedrtipsoonrngadisorn

123การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

6

พรรคเพอื่ ไทย เชยี งใหม่ มกี ารโพสตร์ ะหว่าง 3 กมุ ภาพันธ์ – 2 สิงหาคม
พ.ศ. 2564 จานวน 14 ครั้ง โดยเปน็ การโพสต์ในประเดน็ ทเ่ี ก่ียวข้องกับ
การรับรองโดย กกต. ให้ดารงตาแหน่งนายกฯ การพิจารณาซ้ือวัคซีน
ในกรณีของโควิด - 19 การทาบุญ - แสดงความยินดี เปล่ียนรูปโปรไฟล์
และพ้ืนหลังของเพจ การมอบเงินเพ่ือช่วยเหลือในประเด็นไฟป่า-หมอกควนั
โพสต์คลิปการแถลงนโยบาย - เปิดตัวคณะทางานของ อบจ. และการ
ประมูลภาพและนาภาพมอบให้กับ อบจ. เชียงใหม่ ในส่วนของเฟสบุ๊ก
เพจ: พชิ ัย เลศิ พงศ์อดศิ ร พรรคเพอื่ ไทย เชียงใหม่ แตไ่ ม่ปรากฏวา่ มีการ
โพสต์ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการบริหาร อบจ.

ในส่วนของเฟสบุ๊กเพจ: อบจ. เชียงใหม่ นับต้ังแต่วันท่ี 3
กุมภาพันธ์ – 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 พบว่าเพจมีการโพสต์ข้อความ
รวมไปถึงแชร์ข้อความจากเพจอื่น ๆ ปรากฏบนหน้าเพจจานวนทั้งสิ้น
93 คร้ัง12 โดยเป็นการโพสต์ในประเด็นท่ีหลากหลาย เช่น การเปิดงาน
โดยผู้บริหาร อบจ. การประชุมภายในและภายนอกองค์กร การเข้าร่วม
กิจกรรมทางศาสนา เช่น ทาบุญ ฯลฯ ทั้งนี้พบว่าจาก 93 โพสต์ มี 2
โพสต์ท่ีมีความเกี่ยวข้องกับการหารือแลกเปล่ียนความคิดเห็นของ
ภาคธุรกจิ ได้แก่ กิจกรรมวนั ท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ ซ่งึ เปน็ การประชมุ ร่วมกัน
ระหว่างนายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง ในฐานะ

1122 ไไมม่น่นบั ับกการาโรพโสพตส์คตอค์นเอทนนเตทซ์ น้าจตา์ซน�้ำวจน�ำ1นวคนร้งั 1 ครงั้

124 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

7

ประธานคณะทางานด้านเศรษฐกิจ การท่องเท่ียวและกีฬา นายแพทย์
ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ ในฐานะประธานคณะทางานด้าน
การศึกษาและการสาธารณสุข และองค์กรภาคเอกชน โดยเป็นการ
ประชุมแลกเปล่ียนความคิดเห็นในประเด็นด้าน เศรษฐกิจ ท่องเที่ยว
กีฬา และการสาธารณสุข และกิจกรรมวันท่ี 8 และ 9 มีนาคม ซ่ึงเป็น
การประชุมระหว่างนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง ฝ่ายบริหารของ อบจ.
เชียงใหม่ ร่วมกับเครือข่ายด้านธุรกิจการท่องเท่ียวในจังหวัดเชียงใหม่
เช่น สภาอุตสาหกรรมท่องเท่ียวเชียงใหม่ สมาคมไทยล้านนาสปา
สมาคมมัคคุเทศก์เชียงใหม่ ฯลฯ โดยเป็นการประชุมเกี่ยวกับแนว
ทางการพัฒนาจังหวัดในด้านการท่องเที่ยว ทั้งน้ี หากพิจารณาตาม
นโยบายของการมีส่วนร่วมของประชาชนของนายก อบจ. เชียงใหม่
พบว่ามีกิจกรรมในลักษณะท่ีใกล้เคียงกับนโยบายร้อยละ 2.15 ของการ
โพสต์ที่ปรากฏในหน้าเพจ: อบจ. เชียงใหม่ และถ้าหากนับว่าเป็น
กิจกรรมที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างแท้จริง ท่ีไม่ใช่
การมีส่วนร่วมในฐานะองค์กรเอกชน ผู้บริหารองค์กร พบว่า หาก
พิจารณาจากเพจ อบจ. เชียงใหม่ ไม่ปรากฏว่ามีการเปิดโอกาสให้
ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารราชการของ อบจ. หรือมีส่วนร่วม
ในการปกครองตนเอง13

1133 นนบั บั สสถถิตติ าิตมาขมอ้ ขม้อลู มทลูี่ปทราี่ปกรฏาบกนฏเพบจนอเบพจจ.เชอียบงใจห.มเ่ ชระียหงวใหา่ งมว่ันรทะ่ี 3หวก่ามุ งภวานัพทันธ่ี ์3– 2กมุสงิภหาาพคนัมธ์
พ–.ศ2. 2ส5งิ 6ห4าคม พ.ศ. 2564

125การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

8

จากการสารวจการโพสต์ของเฟสบุ๊กเพจ: พิชัย เลิศพงศ์อดิศร
พรรคเพื่อไทย เชียงใหม่ เฟสบุ๊กเพจ: อบจ. เชียงใหม่ และบัญชีผู้ใช้
เฟสบุ๊กในนามประชาสัมพันธ์ อบจ.เชียงใหม่ พบว่า บัญชีผู้ใช้เฟสบุ๊กใน
นามประชาสัมพนั ธ์ อบจ. เชยี งใหม่ มีจานวนการโพสต์ท่ีมากทส่ี ุด บัญชี
เฟสบุ๊กน้ีเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2564 โดยในระหว่างวันท่ี
2 มีนาคม – 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 มีการโพสต์เป็นจานวนท้ังส้ิน 252
คร้งั 14 โดยประเดน็ ของการโพสต์มีความหลากหลาย เช่น การแชร์โพสต์
ของเฟสบุ๊กเพจอ่ืน ๆ การรับสมัครงาน งานเข้าร่วมงานด้านวัฒนธรรม
– ประเพณี การโพสต์ประเด็นที่เก่ียวข้องกับโควิด – 19 การโพสต์ใน
ประเดน็ ท่ีเก่ยี วข้องกบั ปัญหาฝนุ่ ควนั PM 2.5 หรอื การเผาปา่ ฯลฯ

ในชว่ งเดอื นมีนาคม – เมษายน พ.ศ. 2564 บญั ชผี ูใ้ ช้เฟสบุก๊ ใน
นามประชาสัมพันธ์ อบจ. เชียงใหม่ มีการโพสต์ในประเด็นปัญหาฝุ่น
ควัน PM 2.5 จานวน 16 คร้ัง คิดเป็นร้อยละ 6.35 ของการโพสต์
ท้ังหมด และตั้งแต่เดือนมีนาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2564 มีการโพสต์ใน
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโควิด-19 จานวน 42 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.67
ของการโพสต์ทง้ั หมด ในสว่ นของการโพสต์ในประเดน็ ท่มี คี วามใกล้เคียง
กับนโยบาย “ให้ประชาชนชาวเชียงใหม่ มีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
ของ อบจ. ท้ังการเสนอปัญหา การตรวจสอบการบริหารราชการ
การรว่ มกจิ กรรมหรือพัฒนาพ้ืนที่ท่ีอยู่ในอานาจหน้าท่ีของ อบจ. ภายใต้

1144 ไไมม่นน่ ับบั กการาโรพโสพตสค์ ตอค์นเอทนนเตทซ์ น้าจตา์ซน�้ำวจน�ำ3นวคนร้ัง3 ครง้ั

126 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

9

กรอบของรัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระเบียบและข้อบัญญัติท่ีเก่ียวข้อง”
มีจานวนทั้งสิ้น 7 ครงั้ คิดเปน็ ร้อยละ 2.78 ของการโพสต์ท้ังหมด ได้แก่
การประชุมหารือในประเด็นด้านเศรษฐกิจ จานวน 2 คร้ัง การประชุม
หารือในประเด็นปัญหาฝุ่นควัน การสร้างความร่วมมือทางด้านการศึกษา
การร่วมกิจกรรมสภากาแฟกับหลากหลายองค์กรรวมไปถึงภาค
ประชาชน การร่วมประชุมกับสภาลมหายใจเชียงใหม่ และการเข้าร่วม
เวทีสภาพลเมือง และหากนับเฉพาะประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับการร่วม
กิจกรรมกับภาคประชาชน พบว่ามีการโพสต์จานวนท้ังหมด 4 ครั้ง
คิดเป็นร้อยละ 1.59 ของการโพสต์ท้ังหมด ได้แก่ การร่วมกิจกรรมสภา
กาแฟ การร่วมประชุมกับสภาลมหายใจเชียงใหม่ การประชุมหารือใน
ประเดน็ ปญั หาฝนุ่ ควัน และการเขา้ ร่วมเวทีสภาพลเมือง

การทางานในฐานะนายก อบจ. ของนายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร
ในระยะเวลา 6 เดือนคิดเป็นระยะเวลาร้อยละ 12.5 ของการดารง
ตาแหน่งวาระ 4 ปี พบว่า มีการดาเนินการหรือเข้าร่วมในกิจกรรม
ท่ีเก่ียวข้องกับนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนจานวนทั้งส้ิน
4 ครั้ง ซึ่งถือว่ามีกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในระดบั นอ้ ย

ในห้วงระยะเวลา 6 เดือนแรกของการทางานของนายก อบจ.
เชียงใหม่ ต้องเผชิญกับความท้าทายที่สาคัญ 2 ประการหลัก ได้แก่
การจัดการปญั หาฝุ่นหมอกควนั PM 2.5 และการจัดการในประเด็นการ

127การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

10

แพร่ระบาดของโควิด-19 โดยหากนับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
พบว่า นายก อบจ. ให้ความสาคัญในการดาเนินการแก้ไขปัญหาใน
ประเด็นปัญหาฝุ่นหมอกควัน PM 2.5 ในช่วงเดือนมีนาคม – ต้นเดือน
เมษายน และต้งั แต่ชว่ งกลางเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 เป็นตน้ มา อบจ.
ได้ให้ความสาคัญกับการจัดการในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับโควิด - 19
เป็นกรณีเร่งด่วน ทาให้ในภาพรวม กระบวนการริเริ่มนโยบายจานวน
47 ข้อของนายก อบจ. เชียงใหม่ ให้เกิดข้ึนจริงเป็นไปได้อย่างยากลาบาก
อย่างไรก็ตาม ปฏิเสธไม่ได้ว่า นโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
ควรมีการดาเนินการให้เกิดข้ึนได้จริงและมีความต่อเนื่อง โดยได้รับการ
สนับสนุนทรพั ยากรดา้ นต่าง ๆ จาก อบจ. ใหม้ ากขน้ึ

งานวิจัยของ Thomson et al. (2017) ได้ทาการสารวจการ
เลือกตั้งจานวน 57 คร้ังใน 12 ประเทศ ในช่วงการหาเสียงและได้ทา
การสารวจคาม่ันสัญญาของนักการเมืองหลังจากฤดูการหาเสียงสิ้นสุด
ลง พบว่า นกั การเมอื งยังคงรกั ษาคาม่นั สญั ญาที่ได้กล่าวไว้ในชว่ งการหา
เสียงเลือกต้ัง ตั้งแต่อัตราร้อยละ 60 – 80 ท้ังนี้ พบว่าหากพรรค
การเมืองชนะการเลือกต้ังในแบบเสียงข้างมากพรรคเดียว จะมีการ
รักษาคามั่นสัญญาในอัตราที่สูงกว่า รัฐบาลท่ีมาจากการร่วมกันของ
พรรคการเมืองหลายพรรค (Thomson et al., 2017 as cited in
Banerjee et al., 2019, p. 25) เม่ือเปรียบเทียบกับจานวนของสมาชิก
สภา อบจ. เชียงใหม่มีท้ังหมด 42 คน จาก 25 อาเภอ พบข้อสังเกตที่
น่าสนใจคือสมาชิกสภา อบจ. เชียงใหม่ท่ีได้รับการเลือกต้ังมาจาก

128 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

11

พรรคเพื่อไทยจานวน 21 ท่ีนั่ง และสมาชิกสภาฯท่ีอยู่ในกลุ่มเชียงใหม่
คุณธรรมจานวน 21 ที่น่ัง เท่ากันกบั พรรคเพ่ือไทย15 หมายความว่าไม่มี
พรรคใดพรรคหนึ่งชนะเสียงข้างมากในสภาท้องถนิ่ ท้งั นี้ การไม่สามารถ
ผูกขาดท่ีน่ังสมาชิกสภาฯ อาจทาให้กระบวนการลงมติเห็นชอบใน
นโยบายของนายก อบจ. เชียงใหม่ มิอาจดาเนินไปโดยปราศจากการ
คัดค้าน และด้วยจานวนสมาชิกของท้ังสองกลุ่มการเมืองท่ีมีจานวน
เท่ากันอาจส่งผลให้เกดิ สภาวะตดิ ขัดในกระบวนการทางานและส่งผลต่อ
ความสามารถในการรักษาคามั่นสัญญาด้านนโยบายของนายก อบจ.
ในทีส่ ุด

ในภาพรวม ตั้งแต่การดารงตาแหน่งของนายก อบจ. เชียงใหม่
นายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร ในช่วงการดารงตาแหน่ง 6 เดือนแรก พบว่า
การผลักดันนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน สามารถทาได้ใน
ระดับน้อย หลายกิจกรรมที่ อบจ. เชียงใหม่ ได้เข้าไปเก่ียวข้องกับการ
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ไม่ได้เป็นกิจกรรมที่มีการริเริ่ม
มาจาก อบจ. เชียงใหม่ หากแต่เป็นการริเร่ิมโดยภาคประชาสังคม โดย
อบจ. เป็นส่วนหน่ึงในการเข้าร่วมกิจกรรม – สนับสนุนการจัดกิจกรรม
ความท้าทายสาคัญท่ีเกิดข้ึนในช่วงระยะเวลา 6 เดือนแรกของการดารง
ตาแหน่งที่อาจส่งผลต่อการเกิดข้ึนของนโยบายนายกฯ คือปัญหา

1155 ผผศศ.ด.ดรร. .ไพไพลนิลนิ ภู่จภีนจู่ านีพาันพธุ์นั อธาจ์ุ อารายจ์ปารระยจป์ ารคะณจะำ�รคฐั ศณาะสตรรฐั แ์ศลาะสรตฐั ปรแ์ระลศะารสฐั นปศราสะตศรา์ สนศาสตร์
มมหหาาววทิ ิทยายลาัยลเัยชยีเชงใียหงมใ่หผมู้ทา่ วผิจู้ทัย�ำในวปิจรัยะใเนดน็ปดรา้ ะนเกดา็นรดเล้าือนกกตงั้านราเยลกืออกงตค้ั์กงนาราบยรกหิ อารงสคว่ ์กนาจรังบหวรดัิหาร
พส.ว่ ศน. จ25งั 6ห3ว,ัดสัมพภ.าศษ.ณ2์ส5ว่6น3บ,คุ สคมั ลภวานั ษทณ่ี 6ส์ สว่ ิงนหบาคคุ มคพล.ศว.นั 2ท56่ี 64 สงิ หาคม พ.ศ. 2564

129การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณศี ึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

12

หมอกควันที่เกิดขึ้นในทุก ๆ ปีในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นปัญหาเร้ือรังที่
ยงั ไม่สามารถแก้ไขได้ และการแพร่ระบาดของโควดิ -19 นอกจากน้ี ยงั มี
ความท้าทายในประเด็นทางการเมืองของสมาชิกสภา อบจ. เชียงใหม่
ท่ีมาจากกลุ่มคู่แข่ง – เชียงใหม่คุณธรรมท่ีมีจานวนก่ึงหน่ึงของสมาชิก
สภาฯ ผู้ได้รับเลือกต้ัง ซ่ึงอาจส่งผลให้นโยบายท่ีฝ่ายบริหารต้องการ
ทาใหเ้ กิดขนึ้ จริง ไม่ได้รบั การเห็นชอบจากสมาชกิ สภาฯ ฝ่ายคา้ น

สภาพลเมืองเชียงใหม่

สภาพลเมืองเชียงใหม่ คือองค์กรที่ไม่เป็นทางการท่ีทาการ
ขับเคล่ือนและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคประชา
สังคมผ่านกระบวนวิธีการจัดการประชุมเม่ือมีการขอเปิดสภาพลเมือง
เปิดรับฟังข้อคิดเห็น ไขข้อสงสัยผ่านผู้เช่ียวชาญหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ที่มีความเชีย่ วชาญหรือเกีย่ วข้องโดยตรงในประเด็นของการประชมุ และ
ติดตามสรุปผลของการประชมุ

ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธานคณะกรรมการอานวยการสภาลม
หายใจเชยี งใหม่ ผู้เข้าร่วมในกิจกรรมสภาพลเมืองเชยี งใหม่ ได้อธิบายถึง
สภาพลเมืองว่าเป็นพื้นท่ีที่ทาให้ผู้คนท่ีมีความคิดเห็นท่ีหลากหลาย
ได้เข้ามาฟังความคิดเห็นระหว่างกัน ท้ังน้ีในสังคมหน่ึง ๆ อาจมีข้อคิดเห็น
ท่ีแตกต่างกันในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง เช่น กรณีของข่วงหลวงเวียงแก้ว
พ้ืนที่ทางประวัติศาสตร์ของเชียงใหม่ ในกรณีนี้มีความคิดเห็นต่อการใช้
ประโยชนใ์ นพ้ืนท่หี ลากหลายทไ่ี ม่ตรงกันในภาคประชาชน สภาพลเมือง

130 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

13

จึงเป็นศูนย์กลางเปิดรับฟังข้อคาถามและความเห็นของภาคประชาชน
และมีการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้ในมิติต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องเพื่อให้
ความเข้าใจในสถานการณ์ของข่วงหลวงเวียงแก้วมากย่ิงขึ้น โดยสรุป
ในสังคมที่มีกลุ่มหลากหลาย ก็ย่อมมีความเห็นแตกต่างและอาจ
ก่อให้เกิดการขัดแย้งระหว่างบุคคล – กลุ่มคน พ้ืนที่ในการแสดงออก
ของผู้เห็นต่างสามารถกระทาผ่านการประท้วง ซ่ึงเสียงของผู้ประท้วง
อาจไปไม่ถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผเู้ ห็นต่าง หรอื ผูท้ ม่ี ีอานาจในการจัดการ
ในประเด็นที่เป็นข้อขัดแย้ง กระบวนการของสภาพลเมืองทาให้ผู้ที่มี
ความเห็นแตกต่าง สามารถใช้พ้ืนท่ีร่วมกัน เพื่อรับฟังความคิดเห็นจาก
ผู้เช่ียวชาญ และรับฟังความคิดเห็นของผู้ท่ีเห็นต่าง ถึงแม้ว่าผู้เห็นต่าง
จะยังคงมีความคิดเห็นไม่ตรงกัน แต่อย่างน้อยการรับฟังข้อคิดเห็น
ระหว่างกันจะทาให้เข้าใจในวัตถุประสงค์และเหตุผลของการสนับสนุน
หรือคัดค้านในประเด็นที่เกิดขึ้น (ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ, 13 กุมภาพันธ์
2564)16

การเปิดสภาพลเมืองเชียงใหม่ เร่ิมต้นจากการขอเปิดสภา
พลเมืองโดยประชาชน สุรีรัตน์ ตรีมรรคา อธิบายว่าหน่วยงานภายใต้
สภาพลเมืองท่ีทาหน้าท่ีในการจัดกิจกรรมสภาพลเมือง คือกอง
เลขานุการสภาพลเมือง ซึ่งเป็นตาแหน่งที่มาจากการอาสาสมัคร โดย
หลังจากการขอเปดิ สภาพลเมอื ง กองเลขานุการสภาพลเมอื งจะเป็นผู้ทา

1166 ผผู้ววู้ จิ จิ ยั ยั ไดได้เขเ้ ขา้ ฟา้ งัฟกงั ากราบรบรยรารยยโาดยชโดัชยวาชลชั ยว์ ทาลองยด์ ทีเลอิศงวดนั เี ลทศิ่ี 1ว3นั กทุม่ีภ1า3พกนั มุธ์ภพา.ศพ.นั25ธ6์ พ4.ศณ. 2ฉา5ฉ6า4
Mณarฉk�ำeฉt าจงั Mหวaัดrเkชeียtงใจหังมห่ วดั เชยี งใหม่

131การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณศี ึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

14

หน้าท่ีในการพิจารณาประเด็นท่ีมีการขอให้เปิดสภาพลเมือง โดยจะมี
การวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ของประเด็นที่มีการขอให้เปิดสภาฯ
เช่น ความเป็นไปได้ท่ีจะมีผู้ดาเนินการในประเด็นดังกล่าวหลังการจัด
กิจกรรมสภาพลเมือง ประเด็นดังกล่าวมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นน้ัน
หลังจากผ่านกระบวนการพิจารณา กองเลขานุการสภาพลเมืองจะทา
การเชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้ามาร่วมกิจกรรม
ของสภาพลเมือง หลังจากกิจกรรมสภาพลเมืองได้ดาเนินการเสร็จสิ้น
ในแต่ละคร้ัง จะมีกระบวนการติดตามผล เช่น ประเด็นท่ีถูกต้ังเป็นข้อ
คาถามหรือปญั หาโดยประชาชน ไดม้ ีกระบวนการแกไ้ ขอย่างไร (สรุ ีรัตน์
ตรีมรรคา, 26 กรกฎาคม 2564; ลักขณา ศรีหงส์, 26 กรกฎาคม 2564)17
ทั้งนี้ ประเด็นท่ีน่าสนใจเกี่ยวกับสภาพลเมืองคือการทาหน้าที่ประธาน
การประชุมของสภาพลเมือง จะมีผู้ทาหน้าท่ีหมุนเวียนเปลี่ยนกันไป
นั่นหมายความว่า สภาพลเมืองทาการขับเคล่ือนในประเด็นต่าง ๆ
โดยไม่มีผู้นาองค์กรถาวร หากแต่รูปแบบการขับเคล่ือนองค์กรมุ่ง
ประเด็นไปที่การสนับสนุนให้ประชาชนทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม
ในกจิ กรรมสภาพลเมอื ง

1177 สสุรุรีรีรตั ัตนน์ ต์ รตีมรรรีมครารอคธาิบาอยกธริบะาบยวนกกราะรบทวางนากนขาอรงทส�ำภงาาพนลขเมอืองงสณภางาพนลเวเทมสี ือภงาพณลเมงอื างนเวที
เสชภียงาใพหมล่ เคมรื้ังอทงี่ เ1ช/ี6ย4งในหหมัว่ ขคอ้ ร“้ังวทสิ ยัี่ ท1ศั /น6์ 4และในนโหยับวาขย้อขอ“งอวบิสจัย.เทชยี ัศงนให์ มแ่ ตลอะบนโจโทยยบ์ ายของ
ปอรบะจช.าชเชนียหงรใือหไมม่ ่อตยอ่างบไรโจ?”ทย26ป์ รกะรกชฎาาชคนมหพร.ือศ.ไม25่ อ64ย;า่ ลงกัไรข?ณ”า2ศ6รีหกงรสก,์ สฎัมาภคามษณพ์ส.ศว่ น. บ2ุค5ค6ล4;
วลันกั ทขี่ ณ26ากศรกรฎหี างคสม์, พส.มั ศภ. 2า5ษ6ณ4ส์ ่วนบคุ คล วันท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

132 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

15

สภาพลเมอื งเชียงใหม่เกิดจากการรวมกลุ่มของกลมุ่ ภาคประชา
สังคมที่มคี วามสนใจในประเดน็ ท่ีหลากหลาย เช่น กลมุ่ ภาคประชาสังคม
ท่ีสนใจในประเด็นผู้พิการ, ส่ิงแวดล้อม, สุขภาพ, ชาติพันธุ์, วัฒนธรรม ฯลฯ
ท้ังนี้ การจัดกิจกรรมสภาพลเมืองในแต่ละคร้ังถูกจัดทาโดยอาสาสมัคร
โดยค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนในการจัดงาน มีท่ีมาจากการสนับสนุนจาก
หลากหลายภาคส่วน (ลักขณา ศรหี งส์, 26 กรกฎาคม 2564)

ในกรณีของการเข้ารับตาแหน่งนายก อบจ. เชียงใหม่ ของ
พิชัย เลิศพงศ์อดิศร ผู้แทนเครือข่ายเชียงใหม่ เขียว สวย หอม –
ลักขณา ศรีหงส์ มองว่าถึงแม้จะมีกระบวนการที่เป็นทางการให้นายกฯ
แถลงนโยบายต่อสภา อบจ. เชียงใหม่ แต่กระบวนการน้ีอาจไม่ได้เป็นท่ี
รับรู้ของประชาชน ทางสภาพลเมืองเชียงใหม่เล็งเห็นว่าการจัดกิจกรรม
เวทีสภาพลเมืองจะส่งผลให้คนเชียงใหม่เข้าใจบทบาทหน้าท่ีของ อบจ.
มากขน้ึ นาไปสู่การสร้างความร่วมมือระหวา่ งภาคประชาชนและองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่นิ รวมไปถึงการตั้งคาถามและติดตามการทางานของ
อบจ. ในภาพรวม การจัดงานเวทีสภาพลเมืองเชียงใหม่ ถือเป็นพ้ืนที่
ที่ทาให้คนเชียงใหม่ได้รับรู้เก่ียวกับการทางานของท้องถิ่นมากข้ึน
(ลกั ขณา ศรีหงส์, 26 กรกฎาคม 2564)18

18 หมายถึงการจดั งานเวทสี ภาพลเมอื งเชียงใหม่ คร้ังที่ 1/64 ในหวั ข้อ “วสิ ยั ทัศน์
1แ8ลหะมนาโยยถบงึ กาายรขจัดองงาอนบเวจท.ีสเชภียางพใลหเมมอื ่ งตเชอยี บงใโหจมท่ ยคร์ปั้งรทะี่ 1ช/า6ช4นในหหรวัือขไ้อม่“อวิสยัย่าทงัศไรน?์ ”และวนันโทยบ่ี 2าย6
ขกอรงกอฎบาจค.เชมยี พงใ.หศม.่ ต2อ5บ6โ4จทยป์ ระชาชนหรอื ไม่ อยา่ งไร?” วนั ท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

133การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณศี ึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

16

กิจกรรมสภาพลเมอื งเชียงใหม่ครั้งที่ 1/6419

กิจกรรมสภาพลเมืองเชยี งใหม่ครั้งที่ 1/2564 มีผู้ทาการขอเปิด
สภาจานวน 3 ราย ภายในการประชุมถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่
ช่วงการแถลงของผู้ขอเปิดสภาพลเมือง 3 ราย ช่วงตอบข้อคาถามของ
สภาพลเมือง โดยผตู้ อบคาถามคือผบู้ ริหาร อบจ. และ ช่วงการสอบถาม
ผู้บริหาร อบจ. โดยผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมสภาพลเมืองท้ังในรูปแบบออนไลน์
และออฟไลน์

ผู้ขอเปิดสภาทั้ง 3 รายได้แก่ ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธานสภา
ลมหายใจเชียงใหม่ วีระยุทธ เทพนันท์ เลขานุการเครือข่ายโรงเรียน
ผู้สูงอายุ 8 จังหวัดภาคเหนือ และพัลลภ แซ่จิว ประธานสภาอุตสาหกรรม
ทอ่ งเที่ยว จ. เชียงใหม่

ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธานสภาลมหายใจเชียงใหม่ เสนอ
แนวทางในการแก้ไขปัญหาฝุ่นควัน PM 2.5 ในท่ีประชุม โดยเสนอ
แนวทางในระดับกว้าง เช่น ขอเสนอให้เปลี่ยนกระบวนการแก้ไขปัญหา
จากปลายเหตุเป็นการแก้ไขปญั หาเพื่อความต่อเนื่องและยง่ั ยนื ขอเสนอ
ให้เปลี่ยนการทางานอย่างมีลาดับข้ันที่แต่เดิมเป็นการทางานจากบนลง
ล่างใหเ้ ป็นการทางานร่วมกันในทุกภาคส่วน เปลีย่ นกระบวนการทางาน

19 ข้อมูลจากการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ณ งานเวทีสภาพลเมืองเชียงใหม่
1ค9รขั้งอ้ ทม่ีลู 1จา/ก6ก4ารใสนงั เหกัวตกขา้อรณ“์แวบิสบัยไมท่มัศีสนว่ น์ รแ่วลมะณนโงยานบเาวทยีสขภอางพอลบเมจือ.งเชเชียยี งใใหหมม่ ค่ รต้งั อทบี่ 1โ/จ64ทย์
ใปนรหะัวชขาอ้ ช“นวหิสัยรทือศัไมน์่ แอลยะ่านงโไยรบ?า”ยขวอนั งทอ่ีบ2จ6.เชกียรงกใหฎมา่ คตอมบพโจ.ทศย.ป์ 2ร5ะ6ช4าชแนลหะรือเอไมก่ สอยาา่รงสไรร?ปุ ”งาน
วโดนั ทยี่ก2อ6งกเลรกขฎาานคกุ มาพรส.ศภ. 2า5พ6ล4เมแลือะงเอกสารสรปุ งานโดยกองเลขานุการสภาพลเมอื ง

134 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

17

จากเชิงรับเป็นเชิงรุกให้มากข้ึน ไม่ได้ห้ามไม่ให้เผาป่าแต่เน้นการให้
ความรู้ในการจัดการเชื้อเพลิงและที่ดิน ชัชวาลย์ยังนาเสนอแผนการ
ดาเนินการของสภาลมหายใจเชียงใหม่และอภิปรายในประเด็นของ
ความสาเร็จรวมไปถงึ ปญั หาและอปุ สรรคในการดาเนินงาน หลงั จากการ
นาเสนอในประเด็นดังกล่าว ชัชวาลย์มีข้อคาถามต่อ ผู้บริหาร อบจ.
ในประเดน็ ดา้ นคมนาคม สขุ ภาพ พ้ืนและอนามัย พ้นื ท่ีสเี ขียว เศรษฐกจิ
และเกษตรยั่งยนื

วีระยุทธ เทพนันท์ เลขานุการเครือข่ายโรงเรียนผู้สูงอายุ 8
จังหวัดภาคเหนือ เสนอให้ อบจ. สนบั สนนุ ในประเด็นงบประมาณด้านท่ี
เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ เป็นผู้แทนขับเคลื่อนกองทุนฟ้ืนฟูสมรรถภาพ
ทางการแพทย์ เป็นผู้ประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือนาไปสู่การ
ขับเคลื่อนชุมชนจัดการตนเองเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในทุกด้าน
สนับสนุนการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพ สร้างนักสุขภาวะชุมชนขับเคล่ือน
การทางานในประเด็นผู้สูงอายุ และสนับสนุนพ้ืนท่ีสาหรับผู้สูงอายุใน
การทากิจกรรมพัฒนาศกั ยภาพ

พัลลภ แซ่จิว ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชียงใหม่
ถามข้อคาถามต่อผู้บริหาร อบจ. ในประเด็นแนวทางการฟ้ืนฟูการ
ท่องเท่ียว การสร้างความเชื่อม่ันให้กับนักท่องเที่ยว การเชื่อมโยงและ
ต่อยอดในหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเท่ียวเพื่อให้

135การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

18

นักท่องเที่ยวได้เข้ามาอยู่อาศัยในจังหวัดเชียงใหม่ยาวนานข้ึนและมีการ
ใชง้ บประมาณมากข้ึนในจบั จา่ ยใชส้ อย

หลังจากผู้ขอเปิดสภาได้นาเสนอประเด็นต่าง ๆ และถามข้อ
คาถามต่อผู้บริหาร อบจ. ผู้แทน อบจ. ประกอบด้วย พิชัย เลิศพงศ์อดิศร
นายก อบจ. วิภาวัลย์ วรพุฒิพงศ์ รองนายก อบจ. และธัชพล อภิรติมยั
ปลัด อบจ. เป็นผแู้ ทนตอบคาถาม โดยลกั ษณะการตอบคาถาม เนน้ ไปท่ี
การอธิบายถึงผลของการทางานตั้งแต่หลังการแถลงการณ์นโยบายต่อ
สภาฯ เมื่อวันท่ี 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เป็นต้นมา โดยในช่วงก่อน
ตอบขอ้ คาถาม พชิ ัย เลิศพงศ์อดศิ ร ได้แนะนาคณะผเู้ ขา้ รว่ มประชุมจาก
อบจ. ในส่วนของการตอบคาถามโดยนายกและรองนายก อบจ. เป็น
การตอบคาถามโดยการกล่าวถึงแผนพัฒนาท้องถิ่น การให้ความสาคัญ
ของ อบจ. ต่อประเด็นปัญหาหมอกควัน โดยมีการสนับสนุนด้าน
งบประมาณให้แก่ท้องถิ่นเพ่ือแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น ส่วนประเด็น
ทางด้านสุขภาพ นายก อบจ. เน้นไปที่การอธิบายถึงการจัดการโควิด-19
ของ อบจ. โดยเน้นไปท่ีการแก้ปัญหาโดยการจัดหาวัคซีนให้แก่ประชาชน
โดยธัชพล อภิรติมัย ปลัด อบจ. ได้เน้นถึงความสาเร็จของนายก อบจ.
ท่ีสามารถนาเอาวัคซีนโมเดอร์นาจากสภากาชาดไทยมาได้ 100,000 โดส
ซึ่งนายก อบจ. ใช้งบประมาณเบ้ืองต้นไปทั้งสิ้นเป็นจานวนเงิน 110
ลา้ นบาท

136 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

19

ข้อสังเกตท่มี ีต่อการตอบขอ้ คาถามของผู้เปิดสภาโดยนายกและ
รองนายก อบจ. คือการตอบคาถามอาจไม่ตรงกับข้อคาถามของผู้ถาม
แต่เป็นการตอบคาถามที่เน้นไปที่ผลงานที่ผู้บริหาร อบจ. ได้ทาการ
ขับเคล่ือนแล้ว เช่น ในด้านการท่องเท่ียว ได้ตอบคาถามในประเด็นท่ี
เกี่ยวกับกลุ่มผู้เล้ียงช้างที่ อบจ. ได้ให้การช่วยเหลือ ในประเด็นปัญหาไฟป่า
ได้อธิบายว่ามีการทาถนนเพ่ือตัดทางเพื่ออานวยความสะดวกในการ
ดับไฟป่า ตามท่ีได้รับการร้องขอจากนายอาเภอหางดงและเทศบาลบ้านปง
ในอาเภอหางดง ส่วนรองนายกฯ ได้กล่าวว่าหลายโครงการได้ทาการ
ชะลอไว้ก่อน เช่น โครงการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านงาน Lanna Expo
เนื่องด้วยปัญหาโควิด-19 ทั้งน้ี รองนายก อบจ. เน้นย้าว่าผ้บู รหิ ารไดใ้ ห้
ความสาคัญกับการทางานร่วมกันระหว่าง อบจ. กับภาคธุรกิจ ภาคประชา
สงั คม และประชาชน

ขอ้ สงั เกตทผี่ ู้ศึกษามีต่อสภาพลเมืองเชียงใหม่และกิจกรรมที่จัด
โดยสภาพลเมืองเชียงใหม่ ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นด้วยกัน ได้แก่
ประเด็นการมีส่วนร่วมของประชาชน และประเด็นการพัฒนาสภา
พลเมืองในอนาคต

ประเด็นการมสี ว่ นร่วมของประชาชน พบวา่ ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม
สภาพลเมืองเชียงใหม่ เป็นผู้ที่มีสังกัดในกลุ่มภาคประชาสังคม กล่าวคือ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นพลเมืองผู้มีความกระตือรือร้น มีความสนใจใน
ประเด็นสังคม ผู้ท่ีเข้าร่วมการประชุมคร้ังท่ี 1/64 มักเป็นผู้ที่เข้าร่วม

137การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณศี ึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

20

กิจกรรมสภาพลเมืองมาอย่างต่อเนื่อง เช่น ในวันที่ 26 กรกฎาคม
พ.ศ. 2564 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธาน
คณะกรรมการอานวยการสภาลมหายใจเชียงใหม่ ชานาญ จันทร์เรือง
อดีต ส.ส. พรรคอนาคตใหม่ และเป็นผู้ขอเปิดสภาพลเมืองในคร้ังท่ี 2
ในปี พ.ศ. 2556 และ ครั้งท่ี 3 ในปี พ.ศ. 2558 ในประเด็นข่วงหลวง
เวียงแก้ว (บุษยา คุณากรสวัสดิ์, ม.ป.ป., น. 25) จุดเด่นของกลุ่ม
สภาพลเมืองคือความต่อเน่ืองของสมาชิกในการเข้าร่วมกิจกรรม
อย่างไรก็ตาม พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุต้ังแต่
40 ปีข้ึนไปจนถึงวัยเกษียณ กลุ่มช่วงอายุที่ไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมใน
กิจกรรมคือกลุ่มเยาวชนโดยเฉพาะเยาวชนที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี และ
ในภาพรวมของการมีส่วนร่วมในกิจกรรม พบว่ามีผู้สนใจเข้าร่วม
กิจกรรมเวทีสภาพลเมืองในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 จานวนไม่มาก
โดยยอดการเข้าชมการถ่ายทอดสดผ่านเฟสบุ๊กมีจานวนทั้งสนิ้ 227 ครั้ง
ในขณะท่ีการเข้าร่วมผ่านแอปฟลิเคชัน Zoom ในช่วงเริ่มงานมีจานวน
7 ราย20 ในขณะท่ีจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งแรกของสภาพลเมือง
ในปี พ.ศ. 2556 มีจานวนผู้เข้าร่วมสูงถึง 250 คน (บษุ ยา คุณากรสวัสด์ิ
ม.ป.ป., น. 25)

ปรากฏการณ์การมีส่วนร่วมในฐานะพลเมืองในระดับน้อยของ
เยาวชนอาจมีท่ีมาจากการเปลี่ยนผ่านในวงจรชีวิต กล่าวคือ เยาวชน

2200 ยยออดดกการาเรขเา้ขชา้ มชผมา่ ผนเ่าฟนสเบฟกุ๊ สเพบจ๊กุ เWพeจLWovee LCoNvXe: เจCียNงXให:มเบ่จ้าียนงขใหองมเฮบ่ า้าวนันขทอ่ี 3งเ1ฮการวกฎันาทคี่ ม31
พก.รศก. ฎ25า6ค4ม พ.ศ. 2564

138 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

21

จนถึงยุคกลางศตวรรษท่ี 20 จะมีการเติบโตในลักษณะรูปแบบที่
คล้ายคลึงกัน เช่น เม่ือเรียนจบการศึกษาก็เข้าสู่การทางาน แต่งงาน
และหาที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง แต่เม่ือสภาวะทางเศรษฐกิจและวิถี
การจ้างงานท่ีเปล่ียนไป ส่งผลต่อลักษณะการดารงชีวิตซึ่งท้ายท่ีสุด
จะส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในฐานะพลเมือง (Modell, 1989 as cited
in Youniss, 2009, p. 972; Youniss, 2009, p. 972) นอกจากน้ี การ
มีส่วนร่วมของเยาวชนในปัจจุบัน มีลักษณะในการมีส่วนร่วมท่ีเป็นการ
ทาหน้าที่น้อยลง เช่น การไปเลือกต้ัง และไปมีส่วนร่วมในรูปแบบอ่ืน ๆ
เช่น การแสดงออกโดยผา่ นช่องทางออนไลน์ (Cho et al., 2020, p. 8).
อย่างไรก็ตาม งานของ Youniss (2009) ถือเป็นงานเขียนที่อิงบริบท
สังคมตะวันตกเป็นหลักในขณะที่งานของ Cho et al. (2020) ไม่สอดคล้อง
กับปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนกับกิจกรรมของสภาพลเมือง เพราะเวทีสภา
พลเมืองครงั้ ท่ี 1/64 นอกจากจะจัดงานในรปู แบบออฟไลน์

งานยังมีจุดประสงค์ในการสนับสนุนการรับรู้ของประชาชน
เชียงใหม่ในวงกว้าง ผู้จัดงานเปิดโอกาสให้มีการใช้แอปพลิเคชัน Zoom
และมกี ารถา่ ยทอดสดผ่านเฟสบุ๊กเพจ We Love CNX: เจียงใหม่บ้านของเฮา

ถงึ แม้ว่าจะมีการจดั งานเวทสี ภาพลเมืองท้ังในรูปแบบออนไลน์
และออฟไลน์ พบว่าวิธีการจัดงาน เป็นไปในลักษณะที่มีความเป็นทางการ
สถานที่จัดงานคือ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อบจ. เชียงใหม่
กระบวนการถามตอบข้อซักถาม วิธีการตอบคาถาม และการดาเนินรายการ

139การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

22

เป็นไปในลักษณะท่ีมีความเป็นทางการสูง ในภาพรวมของการจัดงาน
เสวนาจึงเป็นเสมือนงานเสวนาวิชาการซึ่งอาจส่งผลให้ไม่สามารถดึงให้
เยาวชนเกดิ ความสนใจในการเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมสภาพลเมือง

เมือ่ เปรียบเทียบกับกิจกรรมที่เยาวชนไทยได้ให้ความสนใจและ
เข้าไปมีส่วนร่วมทั้งรูปแบบออฟไลน์และออนไลน์ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้อง
สังคมและการเมืองเป็นจานวนมาก พบว่าแกนนาในการจัดกิจกรรมคือ
กลุ่มเยาวชน ซ่ึงอยู่ในช่วงวัยเดียวกันหรือใกล้เคียงกันกับผู้เข้าร่วม
กิจกรรมทางการเมือง ในแต่ละกิจกรรมทางการเมืองล้วนมีลักษณะที่มี
ความคิดสร้างสรรค์และมีความแปลกใหม่ กิจกรรมรวมมวลชนเหล่านีม้ ี
ความแตกต่างเม่ือเปรียบเทียบกับกิจกรรมทางการเมืองและสังคม
ในอดตี อาทเิ ช่น กจิ กรรมทเ่ี ลียนแบบงานกีฬาสโี รงเรียนท่ีมีการใช้กลอง
และเพลงลามะลิลา กิจกรรมการว่ิงแฮมทาโร่ ซ่ึงอิสระ ชูศรี (2563)
ได้อธิบายว่าความแปลกใหม่ของกิจกรรมทางการเมืองดังกล่าวมีความ
แตกต่างจากกิจกรรมในอดีต เช่น ไม่มีการใช้เพลงเพื่อชีวิตขับเคล่ือนใน
เวทที างการเมือง

กิจกรรมท่ีจัดข้ึนโดยสภาพลเมืองเชียงใหม่ ถือเป็นการสนับสนุน
ให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมกับประเด็นที่เก่ียวข้องกับจังหวัด
เชียงใหมโ่ ดยตรง อย่างไรกต็ าม กิจกรรมเวทีสภาพลเมืองคร้ังท่ี 1/2564
ถอื ว่ามปี ระชาชนผู้ให้ความสนใจในระดบั ต่า เมอ่ื เปรียบเทียบกับจานวน

140 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

23

ประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ที่มีประชากรประมาณ 1.7 ล้านคน21
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์มีเพียงร้อยละ
0.01 ของจานวนประชากรท้ังหมด ทงั้ น้ี เม่ือเปรียบเทียบกับเฟสบุ๊กเพจ
“พิชัย เลิศพงศ์อดิศร พรรคเพื่อไทย เชียงใหม่” ท่ีมีการแถลงนโยบาย
เม่ือวันท่ี 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 พบว่ามีผู้เข้าชมการแถลงนโยบาย
เป็นจานวนประมาณ 7,000 ครง้ั และมคี อมเมนตจ์ านวน 81 ขอ้ ความ22
ถึงแม้การเข้าถึงข้อมูลการแถลงนโยบายของนายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร
ผ่านแฟนเพจเฟสบุ๊กส่วนตัวจะได้รับความสนใจมากกว่าเม่ือเปรียบเทียบ
กับการเข้าถึงผ่านเพจ We Love CNX: เจียงใหม่บ้านของเฮา รวมกับ
การเข้าถึงผ่านแอปพลิเคชัน Zoom ในภาพรวม จานวนประชากรท่ีมี
ส่วนร่วมในการรับฟังการแถลงนโยบายของนายพิชัย เลิศพงศ์อดิศรถือ
ว่าอยู่ในระดับต่าเมื่อเทียบกับทั้งจานวนประชากร (ร้อยละ 0.4) และ
คะแนนการเลอื กต้งั ทีไ่ ด้รบั (ร้อยละ 1.66)

ในประเด็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถ่ินของคนเชียงใหม่
สามารถสรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของคนในระดับ
จังหวัดภายหลังจากการเลือกตั้งลดลงอย่างเห็นได้ชัด มีเพียงคนบาง
กลุม่ ที่ใหค้ วามสนใจและติดตามการทางานของนายก อบจ. เชยี งใหม่

21 ข้อมลู จ�ำนวนประชากรจากส�ำนักงานสถติ จิ ังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2559
2212 ขยอ้ อมดลู กจาานรวเขน้าปชระมชผา่ากนรจเฟากสสบานุ๊กกัเพงาจนสพถิติชิจัยงั หเวลัดิศเชพยี งงศให์อมด่ ปิศี รพ.ศพ.ร2ร5ค5เ9พ่ือไทย เชียงใหม่
2ว2นั ยอทด่ี ก3ารสเขงิ้าหชมาผคา่ นมเฟพสบ.ศุก๊ เ.พ2จ 5พ6ิชัย4เลศิ พงศอ์ ดิศร พรรคเพ่อื ไทย เชยี งใหม่ วันท่ี 3 สงิ หาคม พ.ศ. 2564

141การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

24

ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาสภาพลเมืองในอนาคต:
เปรียบเทียบกรณีของเมืองในต่างประเทศ สภาพลเมืองเชียงใหม่ใน
ปัจจุบันทาหน้าท่ีเป็นพ้ืนที่สาหรับประชาชนในการซักถามข้อสงสัยท่ี
เก่ียวข้องกับเมืองเชียงใหม่ โดยนับตั้งแต่การเปิดสภาพลเมืองเป็นคร้ังแรก
ในปี พ.ศ. 2556 เป็นต้นมา พบว่าการมีส่วนร่วมของคนเชียงใหม่ผ่าน
สภาพลเมอื งยงั คงเปน็ การมีส่วนรว่ มในฐานะผรู้ บั ผลจากนโยบายของรัฐ
เป็นหลัก กล่าวคือ หากประชาชนต้องการมีส่วนร่วมหรือผลักดันนโยบาย
สาธารณะให้เกิดข้ึนจริง จะต้องกระทาผ่านข้ันตอนและกระบวนการท่ี
อยู่นอกเหนือไปจากการรับผิดชอบของสภาพลเมือง นอกจากน้ีสภา
พลเมืองเชียงใหม่ยังไม่มีบทบาทโดยตรงในประเด็นทเ่ี กี่ยวข้องกบั การใช้
งบประมาณของรัฐบาลท้องถ่ิน

ในกรณีของต่างประเทศ มีต้นแบบท่ีทาให้ประชาชนสามารถ
เขา้ มามีสว่ นร่วมในการพัฒนาเมืองและมสี ิทธิในการตัดสนิ ใจในประเด็น
ท่ีเก่ียวข้องกับเมืองที่ตนเองอยู่อาศัยไดโ้ ดยตรง อาทิเช่น Porto Alegre
ในบราซิล เมือง Zeguo และ Ruoheng ในจีน และเมือง Blacksburg
รัฐเวอรจ์ เิ นยี สหรัฐอเมริกา

กรณีของ Porto Alegre เรม่ิ ตน้ ในปี ค.ศ. 1989 Porto Alegre
ถอื เป็นเมอื งตน้ แบบทใ่ี ห้ประชาชนได้มสี ว่ นร่วมในการจัดทางบประมาณ
ของรัฐบาลท้องถิ่น โดยกระบวนการเร่ิมต้นจากการพบปะกันในแต่ละ
ภูมิภาคของ Porto Alegre โดยการพบปะน้ันจะประกอบไปด้วยกระบวนการ

142 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

25

หารือข้อคาถามของประชาชน และตัดสินใจในประเด็นของการใช้
งบประมาณการลงทุนของรัฐบาลท้องถิ่น โดยจะต้องมีการจัดลาดับ
ความสาคัญ 3 อันดับแรกของหมวดหมู่ในการจัดสรรงบประมาณ
เช่น สุขาภิบาลข้ันพื้นฐาน ที่ดิน ระเบียบการต้ังถ่ินฐาน การศึกษา
การช่วยเหลือทางสังคม กีฬาและนันทนาการ สุขภาพ ระบบภาษี
สิ่งแวดล้อม ฯลฯ กระบวนการของการมีส่วนร่วมทางด้านการจัดทา
งบประมาณรัฐบาลท้องถิ่นถือเป็นการให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการพจิ ารณาการใช้งบประมาณของภาครัฐอย่างแทจ้ ริง กระบวนการ
ดังกล่าวส่งผลให้ผู้มีรายได้น้อยตอ้ งการจะเข้ามามีบทบาทในการจัดสรร
งบประมาณท้องถิ่น เพราะเป็นหน่ึงในผู้ได้รับผลกระทบและได้รับ
ประโยชน์โดยตรง ซึ่งในประเด็นน้ีถือว่าเป็นประเด็นท่ีเมือง Porto
Alegre ประสบความสาเร็จในการขยายพ้ืนที่การมีส่วนร่วมของ
ประชาชน (Marquetti et al., 2012, p. 67-68)

เฉกเช่นเดียวกันกับ Porto Alegre เมือง Zeguo และ Ruoheng
ในประเทศจีน มีนโยบายให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทา
งบประมาณรัฐบาลท้องถิ่น โดยเมืองจะมีการจัดตั้งสภาประชาชน
(People’s Congress) ในกรณที ีร่ ัฐบาลทอ้ งถ่ินมีการใชง้ บประมาณเกิน
กว่า 3 ล้านหยวนจากงบประมาณท่ีต้ังไว้ จะต้องมีการนาเสนอประเด็น
ดังกล่าวเพื่อให้สภาพลเมืองได้รับทราบและทาการลงมติรับรองหรือ
ไม่รับรองในการใช้งบประมาณ (Zhang, 2015, p. 196)

143การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่

26

กรณีของเมือง Blacksburg ในรัฐเวอร์จิเนีย รัฐบาลท้องถ่ิน
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของพลเมืองในประเด็นที่เก่ียวข้องโดยตรงคือ
ประเด็นเรื่องท่ีอยู่อาศัย โดย Blacksburg ถือเป็นเมืองท่ีมีนักศึกษาจาก
มหาวิทยาลัย Virginia Tech อาศัยอยู่ ซ่ึงผลจากการรับฟังเสียงของ
พลเมือง Blacksburg พบว่าจานวนนักศึกษาของ Virginia Tech ที่
เพิ่มข้ึนส่งผลในเชิงลบในด้านที่อยู่อาศัย กล่าวคือ การขยายตัวของ
นักศึกษาทาให้ราคาบ้านสูงข้ึน นอกจากน้ีผลสารวจยังพบว่าพลเมือง
ยอมรับให้มีการเพิ่มความหนาแน่นของประชากรโดยผลของการเพิ่ม
ความหนาแน่นจะต้องนามาซ่ึงท่ีอยู่อาศัยในราคาที่พลเมืองมีกาลังใน
การจ่ายได้ และรัฐบาลท้องถิ่นจะต้องให้ความสาคัญกับประชากรผู้อยู่
อาศัยถาวร ไม่ใช่นักศึกษาหรือนักลงทุน (Housing Affordability Public
Engagement Phase 1 Report, 2021, p. 7; Housing Affordability
Public Engagement Phase 1 Report, 2021, p. 26) ผลจากการรบั ฟัง
ข้อเสนอแนะจากพลเมืองผู้เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัย ทาให้โครงการก่อสร้าง
ท่ีถูกนาเสนอโดยนักลงทุนในหลายกรณีไม่ได้ถูกอนุมัติ เน่ืองมาจากพลเมือง
ผอู้ ยู่อาศัยถาวรไม่เหน็ ด้วยกบั โครงการก่อสร้าง (Gonzalez, 2021)

เม่ือเปรียบเทียบกรณศี ึกษาของเมืองตวั อยา่ งในต่างประเทศกับ
กรณีของเชียงใหม่ พบว่า สภาพลเมืองยังไม่มีมิติในการมีส่วนร่วมที่
เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาลท้องถิ่น
โดยตรง ซ่ึงหากมีการสร้างกระบวนการมีส่วนรว่ มดังกล่าว อาจส่งผลให้
เป็นการเพ่ิมจานวนสมาชิกที่เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมสภาพลเมือง

144 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

27

เชียงใหม่ นอกจากน้ี หากสภาพลเมืองริเริ่มกิจกรรมการรับฟังเสียงจาก
ภาคประชาชนในประเด็นต่าง ๆ และจัดทาเป็นรายงานเผยแพร่สู่
สาธารณะ อาจเป็นอีกช่องทางหน่ึงในการกระตุ้นการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนและกระตุ้นให้รัฐบาลท้องถ่ินจัดทานโยบายท่ีตอบสนองต่อ
ความต้องการของประชาชนอย่างแท้จรงิ

สรุป

นับตั้งแต่การดารงตาแหน่งนายก อบจ. เชียงใหม่ในวาระของ
นายพิชัย เลิศพงศ์อดิศร ในรอบ 6 เดือนแรกของการเข้ารับตาแหน่ง
พบวา่ นโยบายที่เน้นไปที่การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ได้ถูกนามาปฏิบัติ
จริงในระดับน้อย อย่างไรก็ตาม ต้องทาความเข้าใจว่าในระยะเวลาการ
ดารงตาแหน่ง 6 เดือนแรก ฝ่ายบริหารเผชิญกับประเด็นปัญหาสาคัญ
2 ประการ ได้แก่ ประเด็นการจัดการปัญหาหมอกควันและ PM 2.5
และประเด็นด้านการจัดการโควิด-19 ซ่ึงส่งผลให้กระบวนการปฏิบัติงาน
ในหลายกรณตี ้องชะลอไปจากกาหนดการเดิม

ข้อเสนอแนะสาหรบั ฝา่ ยบรหิ าร อบจ. ฝ่ายบรหิ ารควรพจิ ารณา
ในการดาเนินงานตามนโยบายที่ได้ให้คาม่ันสัญญาไว้กับประชาชน โดย
เพิม่ ช่องทางให้แก่ประชาชนในการตรวจสอบการทางานของฝา่ ยบริหาร
หรือมีการแถลงผลความคืบหน้าในการดาเนินงานผ่านส่ือออนไลน์
เพ่ือให้ประชาชนสามารถติดตามการทางานตามนโยบายได้โดยสะดวก

145การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน: กรณีศึกษานโยบายของ

นายก อบจ. เชยี งใหม่ และบทบาทของสภาพลเมอื งเชยี งใหม่


Click to View FlipBook Version