The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 1 ประวัติศาสตร์กับการเมืองการปกครองท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papichaya, 2022-02-09 03:38:34

125 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ.2440-2565 เล่มที่ 1

เล่มที่ 1 ประวัติศาสตร์กับการเมืองการปกครองท้องถิ่น

5

ก็ไม่เหมือนกัน สงฆ์จากต่างชาติพันธุ์หรือนิกายต่างก็ยอมรับซ่ึงกันและกัน
และอยู่ร่วมกันในชุมชนโดยไม่มีกลุ่มใดบังคับให้กลุ่มอื่น ๆ ปฏิบัติตาม
ธรรมเนียมทางศาสนาของตน และก็ไม่มีแนวคิดเกี่ยวกับการปกครอง
สงฆ์ด้วยอานาจแบบรวมศูนย์ (Kamala Tiyavanich, 1997, 5, 40, 43)
ในสมัยนั้นวัดซึ่งเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชุมชนยังเป็นศูนย์กลางของ
การเล่าเรียนอีกด้วย การสอนของวัดแตกต่างจากการสอนของโรงเรียน
สมยั ใหม่ทใ่ี ชต้ าราและภาษาของรฐั ไทย การเรยี นท่ีวัดนน้ั จะมแี บบเรียน
ภาษา และวิธีการสอนแตกต่างกัน ในอีสานโรงเรียนวัดส่วนใหญ่สอน
ด้วยภาษาถิ่น เช่น ลาว เขมร ขมุ (ผาสุก พงษ์ไพจิตร, และ คริส เบเกอร์,
2546, 295) และที่มาของความรู้มาจากหลายแหล่งไม่ว่าจะเป็นตารา
ใบลาน การรักษาโรค ดาราศาสตร์ ดนตรี พิธกี รรม การสวดมนตร์ และ
การทาสมาธิ (Kamala Tiyavanich, 1997, 42)

สถานะกึ่งอิสระของอีสานดังท่ีกล่าวมาน้ีค่อย ๆ ถูกทาลายไป
เพ่ือให้การปกครองมีประสิทธิภาพ ในปี พ.ศ. 2433 กรุงเทพฯ ได้จัดแบ่ง
เมอื งในอสี านออกเป็น 4 กลุ่มโดยให้ หนองคาย อบุ ล นครราชสมี า และ
จาปาสัก ซึ่งเป็นเมืองท่ีมีข้าหลวงประจาอยู่เป็นศูนย์กลางของลาวเหนือ
ลาวตะวันออกเฉียงเหนอื ลาวกลาง และลาวตะวันออกตามลาดบั ต่อมา
ในปี พ.ศ. 2434 อุบลและจาปาสักถูกจัดรวมกันเป็นลาวกาว หนองคาย
ดูแลลาวพวนซึ่งประกอบด้วยหนองคาย เชียงขวาง และคาเกิด
ส่วนลาวกลางไม่มีการเปล่ียนแปลง (Kennon Breazeale, 1975: 137)

5

34 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

6

อย่างไรก็ดี การเปล่ียนแปลงดังกล่าวยังไม่ได้ทาลายสถานะกึ่งอิสระของ
อีสานลงไป สถานะดังกล่าวสิ้นสุดลงเม่ือเกิดการปฏิรูปเพื่อรวมศูนย์
อานาจเขา้ สูส่ ว่ นกลางเพื่อสรา้ งการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ในปีพ.ศ. 2435 ในปีดังกล่าวกรุงเทพฯ ได้ตั้งกระทรวงมหาดไทยเพื่อ
ดาเนินการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีมีมาแต่โบราณมาสู่ระบบ
การบรหิ ารแบบรวมศนู ยท์ ่ีเรยี กวา่ ระบบเทศาภิบาล ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2436
เป็นต้นไปได้มีการนาเอาระบบการบริหารแบบรวมศูนย์ไปบังคับใช้ใน
หัวเมอื งตา่ ง ๆ ซึ่งถูกจัดเป็นมณฑลท่ีอยู่ภายใต้การปกครองของข้าหลวง
เทศาภิบาลท่ีแต่งต้ังโดยส่วนกลาง (Tej Bunnag, 1977, 249, 252)
ภายใต้ระบบการปกครองใหม่น้ี ผู้ปกครองไม่ได้มีฐานะเป็นเจ้าเมือง
อีกต่อไปหากแต่กลายเป็นข้าราชการที่กินเงินเดือนที่อยู่ภายใต้การ
บังคับบัญชาของกรุงเทพฯ (Fred W. Riggs, 1966, 141) การศาลและ
การคลงั ท่ีเคยเปน็ อสิ ระของหวั เมืองถูกรวมศนู ย์มาอยู่ภายใตก้ ารควบคุม
ของกระทรวงยุติธรรมและการคลัง ย่ิงไปกว่าน้ัน กระทรวงกลาโหม
ได้นาเอาระบบเกณฑ์ทหารมาใช้ด้วย (Tej Bunnag, 1977, 159-160,
181)

ภายใต้ระบบเทศาภิบาลอีสานถูกจัดแบ่งใหม่เป็น 3 มณฑล
โดยลาวกาวเปลี่ยนเป็นมณฑลอีสานมีศูนย์บัญชาการที่อุบล ลาวพวน
เปลี่ยนเป็นมณฑลอุดร และลาวกลางเปล่ียนเป็นมณฑลนครราชสีมา
(Kennon Breazeale, 1975, 150) ในเวลาต่อมาได้มีการตั้งมณฑล

6

35ท้องถ่ิน ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

7

ร้อยเอด็ ขึ้นมาอีกมณฑลหนึ่ง (ศรีศักด์ิ วลั ลโิ ภดม, 2533: 285) นอกจาก
การเปลี่ยนแปลงท่ีเกี่ยวกับการจัดแบ่งเมืองออกเป็นมณฑลแล้ว ยังมี
การเปล่ียนแปลงที่สาคัญกว่าน้ันคือการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์
ระหว่างผู้ปกครองกับประชาชน ดังที่ได้กล่าวถึงแล้วว่าระบบการ
ปกครองของอีสานโบราณเป็นแบบอาญาส่ีของลาวที่ผู้ปกครองท้องถิ่น
กับประชาชนค่อนข้างจะใกล้ชิดกัน แต่ภายใต้ระบบเทศาภิบาล
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับประชาชนได้เปล่ียนไปเป็นปกครอง
แบบรวมศูนย์ท่ีความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นความสัมพันธ์แบบบนลงล่าง
ภายใตก้ ารควบคุมของข้าราชการจากกรงุ เทพฯ (Erik Cohen, 1991, 71)

การปฏิรูปเพ่ือรวบอานาจเข้าสู่ส่วนกลางของรัฐไทยต้องเผชิญ
กับการต่อต้านจากคนกลุ่มต่าง ๆ โดยเฉพาะจากชาวนา การต่อต้านมี
สาเหตุมาจากความยากลาบากทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการรวมศูนย์
อานาจเขา้ สูส่ ่วนกลาง ร. 5 ทรงทาการปฏริ ูปเพ่อื สร้างรัฐบาลรวมศูนย์ท่ี
ทรงอานาจ แตอ่ านาจของรฐั บาลน้ันขึ้นอยู่กบั รายได้ของรฐั ซง่ึ ต้องนาไป
ซ้ืออาวุธยุทธภัณฑ์และปรับปรุงการคมนาคม (Tej Bunnag, 1977,
250) การหารายได้ของรัฐบาลน้ันไม่สามารถทาได้โดยการเก็บภาษี
การค้าชนิดใหม่หรือขึ้นอัตราภาษีเดิมเพราะสนธิสัญญาเบาว์ริ่งที่สยาม
ลงนามกับอังกฤษในปีพ.ศ. 2398 ห้ามมิให้ทาเช่นนั้น ด้วยเหตุน้ี
ช่องทางหลักในการเพิ่มรายได้ของรัฐจึงมาจากการปฏิรูปการบริหาร
และการขูดรีดภูมิภาคต่าง ๆ (Ian Brown, 1992: 3) กรุงเทพฯ ได้เพ่ิม

7

36 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

8

ส่วนแบ่งในภาษีที่เก็บได้ในภูมิภาคขึ้นสูงมากในบางคร้ังสูงถึงร้อยละ
87.5 ของภาษีท่ีเก็บได้ นอกจากนี้ กรุงเทพฯยังเรียกเก็บภาษีชนิดใหม่
ในมณฑลต่าง ๆ แล้วหักเอาสองในสามของรายได้ที่ได้จากการเก็บภาษี
(Tej Bunnag, 1977, 142-143) มาตรการดังกล่าวทาให้กรุงเทพฯ
มีรายได้จากการเก็บภาษีพุ่งสูงข้ึนอย่างรวดเร็ว กล่าวคือรายได้จากการ
เก็บภาษีของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจาก 15,378,144.91 บาทในปีพ.ศ. 2435
เป็น 28,496,029.33 บาท ในปีพ.ศ. 2441 และเพ่ิมขึ้นเป็นประมาณ
40,000,000 บาท ในปีพ.ศ. 2445 (Bruce London, 1980, 76) ตัวเลข
เหล่าน้ีเป็นเคร่ืองบ่งช้ีถึงการถ่ายโอนความม่ังคั่งจากภูมิภาคไปสู่เมืองหลวง
ซ่ึงสร้างความลาบากยากเข็ญให้แก่ชนบท กล่าวอีกในแง่หนึ่งก็คือ
การเอาชนบทเป็นอาณานิคมภายใน (internal colonial) ของเมือง
นั่นเอง (Andres Tandrup, 1982, 47)

ระหว่างปี พ.ศ. 2433 และปพี .ศ. 2434 อสี านเผชิญกับการเก็บ
เ ก่ี ย ว ไ ม่ ไ ด้ ผ ล อั น เ กิ ด จ า ก ภั ย แ ล้ ง แ ล ะ น้ า ท่ ว ม ส อ ง ปี ติ ด ต่ อ กั น
ความยากลาบากอันเกิดจากภัยธรรมชาติเลวร้ายย่ิงข้ึนเมื่อมีการนาเอา
ระบบการเก็บภาษีใหม่มาใช้ภายหลังการปฏิรูป ข้าหลวงใหญ่ของอุบล
ได้ออกประกาศให้ชายฉกรรจ์ทุกคนต้องเสียภาษีคนละ 3.5 บาท
ในปีพ.ศ. 2442 และข้ึนเป็น 4 บาท ในปีพ.ศ. 2444-2445 ในเวลานั้น
ไม่เป็นที่สงสัยเลยว่าเงินจานวนดังกล่าวเป็นเงินที่เกินความสามารถของ
ชาวนาท่ีจะจ่ายได้ นอกจากมาตรการดังกลา่ วแล้วเจา้ หน้าท่ียังได้นาเอา

8

37ท้องถ่ิน ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

9

มาตรการอื่น ๆ ที่สร้างความเดือดร้อนให้แก่ชาวนามาใช้อีก เช่น ข้าหลวง
ได้สั่งให้การขายสัตว์ขนาดใหญ่ท้ังหมดต้องทาต่อหน้าเจ้าหน้าท่ี คาส่ัง
ดังกล่าวเป็นการเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นเรียกเงินกินเปล่าจาก
ผขู้ าย เปน็ ตน้ (Charles F. Keyes, 1977, 294)

การเพ่ิมภาษีดังท่ีกล่าวมานี้ไม่เพียงแต่เป็นการสร้างความ
ลาบากแก่ชุมชนชาวนาเท่าน้ัน ที่สาคัญย่ิงกว่า มันเป็นการละเมิด
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับชาวนาที่เคยปฏิบัติสืบทอดกันมาซึ่งชาวนา
ใช้มาเป็นบรรทัดฐานวัดสิทธิและความยุติธรรม การละเมิดสิทธิที่มี
สืบทอดกันมาไม่ว่าโดยเจ้าท่ีดินหรือรัฐก็เป็นส่ิงท่ีรับไม่ได้สาหรับชาวนา
(Michael Mullett, 1987, 5) การต่อต้านได้ก่อตัวขึ้นในปี พ.ศ. 2442
มีการเผยแพร่คาทานายเก่ียวกบั ภัยพิบัติและการปรากฏตัวของผู้มีบุญที่
จะมาช่วยผู้ทุกข์ยากและลงโทษคนเลวไปเกือบท่ัวอีสาน ในสายตาของ
รัฐบาลที่กรุงเทพฯเร่ืองเก่ียวกับผู้มีบุญเป็นความโง่เขลาเบาปัญญาของ
ชาวนาอีสานที่หลงเชื่อคาทานายแบบไสยศาสตร์ (Charles F. Keyes,
1977, 300) ความจริงแล้วความเชื่อเร่ืองผู้มีบุญหรือพระศรีอาริย์
ปรากฏในคาสอนเกี่ยวกับไตรภูมิในพุทธศาสนาของราชสานักสยามด้วย
แต่ในไตรภูมิผู้มีบุญคือกษัตริย์แห่งสยามผู้ซ่ึงมีความชอบธรรม
ในการปกครองเพราะว่าบุญที่ได้สะสมมาแต่ชาติก่อน (Somboon
Suksamran, 1993, 39) นัยทางการเมืองของการตีความเช่นน้ีคือการ
เปล่ียนแปลงใด ๆ ในระบอบการปกครองแบบศักดินาที่ดารงอยู่เป็นส่ิง

9

38 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

10

ท่ีไม่จาเป็น ขณะที่การตีความเกี่ยวกับผู้มีบุญแบบชนช้ันนาของราชสานัก
เน้นการคงสถานะด้ังเดิม (status quo) ความเช่ือในเรื่องดังกล่าวท่ี
แพร่ ห ล าย ใน อีส าน กลั บมุ่งไปที่การ เป ลี่ ย น แปล งสั ง คม อย่ า งถึ ง ร า ก
ถึงโคน ผมู้ ีบุญตามความเช่ือของอีสานเป็นผู้ทจ่ี ะขจัดความทุกข์ยากของ
ชาวนาโดยการเปล่ียนแปลงสังคมท่ีเป็นอยู่ไปสู่สังคมท่ีไม่มีการกดขี่
ของรัฐ มคี วามเสมอภาคเทา่ เทยี มและความมั่งค่งั อดุ มสมบูรณ์ (Chattip
Nartsupha, 1984, 125) การเคล่ือนไหวของผู้มีบุญถูกกองกาลังท่ีติด
อาวุธทันสมัยของรัฐบาลปราบปรามลงในปี พ.ศ. 2445 มีผู้ถูกจับกุม
และเสียชีวิตเป็นจานวนมาก (Charles F.Keyes, 1977, 227-229;
Andres Tandrup, 1982, 53-54) อย่างไรกด็ ี การลุกขึ้นสู้ครัง้ น้นั ได้ทา
ใหร้ ัฐบาลสญู เสียความมั่นใจลงอยา่ งมากเพราะชัยชนะทางการทหารหา
ได้ทาให้ความไม่พอใจต่อกรุงเทพฯลดลงไม่ ในอีสานก็ยังคงมีการ
เคล่ือนไหวต่อต้านรัฐบาลอยู่ (Tej Bunnag, 1977, 154) สภาวการณ์
ดังกล่าวเป็นแรงกดดันให้กรุงเทพฯตัดสินใจชะลอการปฏิรูปในหัวเมือง
ช้ันนอกและเมืองประเทศราช กรมหลวงดารงราชานุภาพให้ความเห็น
ว่าการปฏิรูปการปกครองในอีสานต้องใช้เวลาอีกกว่าทศวรรษจึงจะ
สาเรจ็ (Tej Bunnag, 1977, 164)

การต่อต้านของขบวนการผู้มีบุญทาให้กรุงเทพฯ ตระหนักว่า
การรวมศูนย์อานาจเข้าสู่ส่วนกลางนนั้ ไม่สามารถทาได้โดยการปกครอง
เท่าน้ันเพราะลาพังแต่การใช้กาลังบังคับย่อมไม่สามารถเอาชนะจิตใจ

10

39ท้องถิ่น ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

11

ของผู้คนในภูมิภาคซึ่งเป็นคนต่างชาติพันธ์ุได้ การจะทาให้เกิดความ
จงรักภักดีต่อศูนย์กลางอานาจเดียวกันจึงจาต้องมีการสร้างความเชื่อ
และอัตลักษณ์ร่วมกัน แต่ก่อนที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวจาเป็นต้อง
กาจัดศูนย์รวมทางจิตใจของชุมชนท้องถิ่นก่อน ศูนย์รวมทางจิตใจของ
ชุมชนท้องถ่ินในภูมิภาคต่าง ๆ ก็คือพุทธศาสนานิกายท้องถ่ินที่ชุมชนนั้น ๆ
ถือปฏิบัติ ในปี พ.ศ. 2445 กรุงเทพฯ ได้ออกพระราชบัญญัติสงฆ์
เพ่ือท่ีจะรวมเอาสงฆ์จากทุกนิกายมาอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของ
คณะสงฆ์ระดับชาติที่กรุงเทพฯ ต้ังขึ้น ภายใต้พระราชบัญญัติ
ฉบับดังกล่าวสงฆ์ท้องถิ่นท่ัวประเทศต้องยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติทาง
พุทธศาสนาของกรุงเทพฯเป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติ (Kamala
Tiyavanich, 1997, 40) การรวมศนู ยอ์ านาจทางศาสนาเปน็ การกระทา
ที่สวนทางกับธรรมเนียมที่เคยปฏิบัติกันมา (ดูข้างบน) กล่าวคือ มีการ
จั ด ล า ดั บ ก า ร บั ง คั บ บั ญ ช า เ ป็ น แ น ว ดิ่ ง เ ร่ิ ม จ า ก พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์
พระสงั ฆราช ลงไปส่สู งฆร์ ะดับตา่ ง ๆ ในหวั เมอื ง ทอ้ งถน่ิ จนถงึ ระดบั วัด
ในอดตี การแต่งตั้งสงฆ์ให้ดารงสมณศักด์จิ ะทากันในท้องถิ่นโดยชาวบ้าน
หรือผู้นาท้องถ่ิน ภายใต้ พ.ร.บ. ใหม่ การแต่งตั้งสงฆ์ให้ดารงสมณศักด์ิ
สาคัญ ๆ ต้องได้รับความเห็นชอบหรือดาเนินการโดยพระมหากษัตริย์
การบวชพระจะทาได้เฉพาะเจ้าอาวาสท่ีทางการยอมรับเท่านั้น นอกจากน้ี
มหาเถรสมาคมยังกาหนดให้สงฆ์ต้องศึกษาและสอบผ่านหลักสูตรท่ี
สมาคมกาหนดขึ้น การไม่ปฏิบัติตามถือเป็นความผิดต้องถูกสอบสวน
ทางวินัย ผาสุก พงษ์ไพจิตร และ คริส เบเกอร์ (2546, 295) ช้ีว่า “รัฐบาลใช้

11

40 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

12

พ.ร.บ. สงฆ์ควบคุมการแต่งตั้งพระสงฆ์ เปลี่ยนแปลงตาแหน่งของพระ
ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ สลายขบวนการภายในกลุ่มสงฆ์ระดับท้องถ่ิน
และส่งเสริมตาแหน่งและสมณศักด์ิของสงฆ์ท่ีดาเนินตามกฎเกณฑ์ของ
ทางการ”

การทาลายอัตลักษณ์ของท้องถิ่นยังดาเนินการผ่านการปฏิรูป
การศกึ ษาด้วย ภายหลังการปฏิรปู การศึกษาภาษาถิ่นในอีสานซ่ึงใช้สอน
ก่อนการปฏิรูปได้กลายเป็นภาษาต้องห้ามในชั้นเรียน ทางการได้บังคับ
ใช้ภาษาไทยกลางสอนในโรงเรยี นแทนภาษาถิ่น ตาราทีเ่ รียนกเ็ ปน็ ตารา
ชุดเดียวกันท่ัวประเทศ (ผาสุก พงษ์ไพจิตร และ คริส เบเกอร์, 2546,
295) ความรู้ท้องถ่ินอันมีแหล่งที่มาหลากหลายถูกแทนที่โดยตาราท่ี
เขียนโดยคนกรุงเทพฯ ผู้แทบไม่เคยสัมผัสกับนักเรียนผู้ใช้ตาราเลย
แต่ทางการกลับเห็นว่าความรู้เช่นน้ีเหนือกว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีสะสม
มาหลายช่ัวอายุคน เจ้าหน้าที่ของทางการกรุงเทพฯต่างพร่าบอก
พระสงฆ์และชาวบ้านในท้องถิ่นถึงความสูงส่งของวัฒนธรรมกรุงเทพฯ
(Kamala Tiyavanich, 1997, 42)

มาตรการท่ีสาคัญอีกประการหนึ่งในปริมณฑลของอุดมการณ์
คือการสร้างอัตลักษณ์ไทย ผูท้ ีม่ ีบทบาทสาคัญในเรอ่ื งน้ีคือ ร.6 พระองค์
ทรงเสนอว่า ภาษาไทย พุทธศาสนา และ ความจงรักภักดีต่อกษัตริย์
เป็นลักษณะหลักสามประการของเชอื้ ชาติไทย พระองคย์ ังเพ่ิมเติมอีกว่า
ชาติเป็นสิ่งสาคัญในโลกสมัยใหม่ และมีแต่ผ่านการจงรักภักดีต่อชาติ

12

41ท้องถ่ิน ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

13

เท่าน้ันที่คนสามารถทาหน้าที่เป็นสมาชิกของสังคมการเมืองได้ (Pasuk
Pongpaichit and Chris Baker, 1995, 233-234) ร.6 ทรงเห็นว่าภายในชาติ
ประชาชนต้องการผู้นาซ่ึงสามารถป้องกันผู้ติดตามจากภยันตรายและ
สามารถแก้ไขความขัดแย้งภายในหมู่พวกเขาได้ด้วย และในทัศนะของ
พระองค์ผู้นาท่ีมีความสามารถเช่นน้ันคือกษัตริย์ ดังนั้น กษัตริย์จึงเป็น
ตัวแทนของชาติไทย ผู้ใดทาร้ายกษัตริย์ผู้น้ันย่อมเป็นบุคคลชั่วร้ายหาที่
เปรียบปานไม่ได้ และก็จะทาลายประเทศชาติ ทาลายสันติสุข ความอยู่ดี
กินดีของประชาชนด้วย (Walter F. Vella, 1978, 60, 61) การสร้าง
อุดมการณ์ชาติ-ศาสน์-กษัตริย์ที่กล่าวมานี้ดาเนินการผ่านกลไกทาง
อุดมการณ์ของรัฐ อย่างเช่น โรงเรียน และวัด จริง ๆ แล้วในอดีต
โรงเรียนและวดั มีความสัมพันธ์กนั อย่างใกลช้ ิดเพราะว่าการสอนหนังสือ
น้ันทากันที่วัดและครูส่วนใหญ่ก็คือพระนั่นเอง ด้วยเหตุน้ีการปฏิรูป
พุทธศาสนา การปฏิรูปการศึกษา และการสร้างอัตลักษณ์ไทยจึง
ดาเนินการในกระบวนการเดียวกัน การดาเนินการเหล่าน้ีมีส่วนช่วย
อย่างสาคญั ในการผนวกอีสานเขา้ กบั รัฐไทย

13

42 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

14

ระบอบประชาธิปไตยกับเสียงของคนอีสานท่ีศูนย์กลางการเมือง
ของประเทศ

หลังจากเคล่ือนไหวของขบวนการผู้มีบุญก็ไม่มีการต่อสู้เพ่ือ
สิทธิและความอยู่ดีกินดีของคนอีสานในระดับเดียวกันอีกเลย ดูเหมือนว่า
อีสานได้ตกอยู่ในการควบคุมของการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
โดยสิ้นเชิง อย่างไรก็ดี แต่เมื่อระบอบดังกล่าวถูกโค่นล้มลงในปี พ.ศ. 2475
การปิดกั้นการแสดงออกของประชาชนเป็นส่ิงท่ีทาไม่ได้อีกต่อไป
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองคณะราษฎรได้นาเอาระบอบ
รัฐสภาทีม่ ีสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรทม่ี าจากการเลอื กตั้งมาในทุกจังหวัด
มาใช้ สถาบันทางการเมืองสมัยใหม่เช่นน้ีเป็นกลไกแรกในประวัติศาสตร์ไทย
ท่ีทาให้ผลประโยชน์ของท้องถ่ินและระดับภูมิภาคได้รับการนาเสนอที่
ศูนย์กลางการเมืองของประเทศ รัฐสภาได้กลายเป็นส่ิงที่มีความสาคัญ
เป็นพิเศษสาหรับ ส.ส. อีสาน (ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์, 2552: 73) อีสาน
เป็นภูมิภาคท่ีมี ส.ส. มากที่สุดของประเทศ กล่าวคือ ในการเลือกต้ัง
ครั้งแรกปี พ.ศ. 2476 มี ส.ส. ประเภทที่ 1 ทั้งประเทศ 78 คน
เป็น ส.ส. อีสาน 19 คน ส.ส. ภาคเหนือ 12 คน ส.ส. ภาคใต้ 14 คน
ในการเลือกต้ังคร้ังน้ีไม่มี ส.ส. ท่ีมาจากตระกูลชาวนาเลย ผู้ที่ชนะการ
เลอื กตง้ั เป็นทายาทของเจ้าเมอื งเดมิ หรอื ขา้ ราชการซ่ึงเป็นคนกลุ่มใหม่ท่ี
เกิดมากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์
2546: 142, 149-150) อย่างไรก็ดี ในการเลือกตั้งครั้งที่สองซึ่งจัดขึ้น

14

43ท้องถ่ิน ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

15

เมื่อปี พ.ศ. 2480 ในบรรดา ส.ส. อีสานซึ่งมีท้ังส้ิน 25 คนมีผู้ที่มาจาก
ครอบครัวชาวนาและพ่อค้าด้วย (ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ 2546:
238-244) นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่มีคนซึ่งอยู่นอกเครือข่าย
ข อ ง ช น ชั้ น ป ก ค ร อ ง เ ดิ ม ไ ด้ เ ข้ า ไ ป ท า ห น้ า ที่ ใ น ส ถ า บั น นิ ติ บั ญ ญั ติ
ของประเทศ เม่ือหลวงพิบูลสงครามซ่ึงต่อมารู้จักกันในนามจอมพล ป.
พิบูลสงคราม ก้าวขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี มี ส.ส. อีสานสนับสนุนเขา
จานวนหน่ึงไม่มากนัก คนเหล่าน้ีมาจากครอบครัวอดีตเจ้าเมืองเก่า
พวกเขาใช้การเลือกตั้งเป็นวิธีการในการรักษาไว้ซ่ึงอิทธิพลท่ีเคยมีมา
แต่จอมพล ป. เผชิญกับการคัดค้านอย่างแข็งขันจาก ส.ส. หัวก้าวหน้า
ของอีสานที่มี เตียง ศิริขันธ์ ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ จาลอง ดาวเรือง และ
ถวลิ อุดล เปน็ ผนู้ า (ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์, 2552: 75-77)

ในช่วงปี พ.ศ. 2476-2481 อันเป็นห้าปีแรกของการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย ส.ส. อีสานมีบทบาทอย่างโดดเด่นในสภา ในปี
พ.ศ. 2478 พระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีต้องลาออกเพราะ
กระทู้ของเลียง ไชยกาล เกี่ยวกับการซื้อขายท่ีดินพระคลังข้างท่ีโดย
ไม่ได้ประกาศให้สาธารณชนได้รับรู้ จนเป็นท่ีโจษจันไปในทางที่เสียหาย
และพระยาพหลพลพยุหเสนาซึ่งได้กลับเข้ามารับตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
อีกครั้งหนึ่งต้องประกาศยุบสภาในวันที่ 11 กันยายน 2481 เพราะ
รัฐบาลแพ้การลงมติในญัตติท่ีเสนอโดยถวิล อุดล ส.ส. ร้อยเอ็ด
หากพิจารณาบทบาทในสภาผ่านการต้ังกระทู้ถาม ก็จะพบว่า ส.ส. อีสาน

15

44 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

16

มีความแข็งขันกว่า ส.ส. จากภูมิภาคอื่น ในปี พ.ศ. 2476 ส.ส. อีสาน
ต้งั กระท้ทู ัง้ หมด 17 กระทู้ ขณะที่ ส.ส. ภาคใตแ้ ละภาคเหนือมกี ารตั้ง 9
และ 4 กระทู้ตามลาดับ ในปี พ.ศ. 2477 ส.ส. อีสานต้ังกระทู้ถาม 25
กระทู้ ขณะท่ี ส.ส. ภาคใต้และภาคเหนือมีการตั้ง 6 และ 8 กระทู้
ตามลาดับ (ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ 2546, 191-192, 200-201)

การอภิปรายในสภาของ ส.ส. หัวก้าวหน้าของอีสานเป็นไป
อยา่ งเผด็ รอ้ น ซึง่ เปน็ การแสดงออกถึงความไม่พอใจต่อรฐั บาลที่เมินเฉย
ปล่อยให้ชาวอีสานเผชิญกับความแร้นแค้น และธรรมชาติอันโหดร้าย
ตามยถากรรม (ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, 2546, 227) พวกเขาได้
ต้ั ง ก ร ะทู้ ถ า ม เ ก่ี ย ว ข้ อง กั บ ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อยู่ ข อง ป ร ะช า ช น อี ส า น
ในประเดน็ ตา่ ง ๆ เชน่ การเก็บอากรคา่ นา เงินรชั ชปู การ ปัญหาอุทกภัย
ความยากจนข้นแคน้ ของประชาชน เป็นต้น การนาเสนอประเด็นเหล่านี้
ทาให้พวกเขาถูกมองว่ามีความคิดแบบ ‘ภูมิภาคนิยม’ (สุเทพ สุนทร
เภสัช, 2548, 165) แต่ในความเป็นจริง ส.ส. อีสานกลุ่มน้ีไม่ได้เคลื่อนไหว
แค่ประเด็นผลประโยชน์ของภูมิภาคเท่านั้น ประเด็นการต่อสู้ท่ีสาคัญ
ทสี่ ดุ ของพวกเขาเก่ียวกับนโยบายเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ พวกเขา
ไม่พอใจรัฐบาลท่ีจัดสรรงบประมาณโดยไม่คานึงถึงความต้องการของ
คนสว่ นใหญข่ องประเทศ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2476-2481 ส.ส. อสี านกลุ่มนี้
ได้วิจารณ์งบประมาณทางการทหารและคัดค้านนโยบายเศรษฐกิจและ
นโยบายทางการเงินที่ไม่สนใจความต้องการอันเร่งด่วนของประชาชน

16

45ท้องถ่ิน ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

17

ในชนบทท่ัวประเทศ ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ ได้วิพากษ์วิจารณ์การใช้จ่าย
จานวนมหาศาลในกิจการด้านการป้องกันประเทศและความมั่นคง
เขาต้ังคาถามว่าเราควรจะเริ่มการป้องกันประเทศจากท่ีใด? เราควรจะ
เริ่มจากการสร้างบ้านหรือเริ่มจากการสร้างรั้ว (Kobkua Suwannathat-
Pian, 1995, 184) (คาขวัญของรัฐบาลในขณะน้ันคือ ประเทศเป็นบ้าน
ทหารเป็นรั้ว) ส.ส. หัวก้าวหน้าของอีสานเห็นว่าการที่รัฐบาลทุ่มงบ
ประมาณไปพัฒนากองทัพน้นั ทาใหป้ ระเทศไม่มีโอกาสทีจ่ ะยกระดับชีวิต
ความเป็นอยู่ของประชาชน ด้วยเหตุน้ี จึงถึงเวลาแล้วที่ชาวชนบทจะ
ลุกขึ้นมาต่อสู้เพ่ือชีวิตที่ดีกว่าของตนเอง การวิเคราะห์ปัญหาจาก
มุมมองดังกล่าวทาให้ ส.ส. หัวก้าวหน้าของอีสานคัดค้านงบความม่ันคง
อยู่เสมอในขณะเดียวกันก็เรียกร้องให้เพิ่มงบประมาณเพื่อการพัฒนา
ชนบทอย่างแข็งขัน นอกจากน้ี ส.ส. อีสานกลุ่มน้ียังขัดแย้งกับรัฐบาลท่ี
ไมเ่ ปดิ เผยงบประมาณของกองทพั ทั้งยังได้ทาการเปดิ โปงการคอร์รัปชั่น
ของนายทหารระดับสูงที่ทามาหากินจากการขายที่ดินสานักงาน
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ พวกเขาประณามจอมพล ป.
ว่าเป็นเผด็จการเช่นเดยี วกันกับฮิตเลอร์ มุสโสลนิ ี และขนุ ศึกญป่ี ุ่น ยง่ิ ไป
กว่าน้ัน ยังได้ร่วมมือกับ ส.ส. กลุ่มอื่นล้มรัฐบาลโดยการไม่เห็นชอบ
งบประมาณท่ีรัฐบาลเสนอในสภาด้วย (Kobkua Suwannathat-Pian,
1995, 214) จุดยืนดังกล่าวทาให้ ส.ส. หัวก้าวหน้าของอีสานกลายเป็น
กองหน้าในการคัดค้านเผด็จการทหารของไทย (Kobkua Suwannathat-
Pian, 1995, 213-214, ผาสุก พงษ์ไพจิตร และ คริส เบเกอร์, 2546, 337)

17

46 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

18

อนึ่ง การจัดสรรงบประมาณของรัฐบาลแก่ความม่ันคงและการพัฒนา
เศรษฐกจิ เปน็ ดังตารางขา้ งล่างนี้

ตารางเปรยี บเทยี บงบความม่ันคงกับงบเศรษฐกิจ (คิดเป็นรอ้ ยละ)

พ.ศ. พ.ศ. งงบบคคววามามม่ันมคน่ั งคง งบเศรงษบฐเศกรจิ ษฐกจิ
2477 2477 454.52.323 26.1726.17
3246..5345233643...537548
2478 2478 44448544...48968443..6944 33.7833.78
2479 2479
2480 33.78

2481 2480 454.583.83
ท2่ีม48า1: สรศกั ดิ์ งามขจรกุล4ก5.ิจ832532: 36

ทีม่ า: สรศกั ดิ์ งามขจรกุลกจิ 2532: 36

นอกจากการคัดค้านการจัดสรรงบประมาณที่ให้ความสาคัญ
แก่ความม่ันคงจนเกินเลยดังกล่าวแล้ว ส.ส. หัวก้าวหน้าของอีสานยังได้
เคล่ือนไหวในประเด็นสาคัญอื่น ๆ อีกที่สาคัญคือการยกเลิกข้อห้ามการต้ัง
พรรคการเมือง เตียง ศิริขันธ์ ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติยกเลกิ พ.ร.บ.
จัดการป้องกันรักษารัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2480 โดยมีหลักการและ
เหตุผลคือเพ่ือความสมบูรณ์แห่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
และเพื่อให้ความยุติธรรมอันแท้จริงแก่ผู้ท่ีจะแสดงความคิดเห็น
อันจะนามาซึ่งประโยชน์แก่รัฐบาลและชุมชน ทั้งน้ีเพื่อเป็นบันไดขั้นต้น

18

47ท้องถิ่น ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

19

ท่ีจะฝึกฝนวิธีการก่อต้ังพรรคการเมือง (ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, 2546,
248-253) สทิ ธเิ สรภี าพของส่ือมวลชนตามระบอบประชาธปิ ไตยเป็นอีก
ประเด็นหนึ่งท่ี ส.ส. อีสานออกมาปกป้อง พวกเขาคัดค้าน พ.ร.บ. การพิมพ์
ท่ีออกในสมัยจอมพล ป. ที่ควบคุมหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด นอกจากน้ี
ยังคัดค้านกฎหมายฉบับอ่ืน ๆ ท่ีให้อานาจนายกรัฐมนตรีอย่างไม่มีขอบเขต
ซ่ึงรวมถึงการให้อานาจขยายอายุของสมาชิกสภาที่มาจากการแต่งต้ัง
นอกจากนี้ พวกเขายังเรียกร้องให้รัฐบาลพิมพ์รายละเอียดเกี่ยวกับ
งบประมาณของรัฐบาลอีกด้วย (ผาสุก พงษ์ไพจิตร และ คริส เบเกอร์,
2546, 337)

ยังมีประเด็นอ่ืน ๆ อีกหลายเร่ืองที่ ส.ส. อีสานให้ความสนใจ
เช่น โรคเรื้อน การปราบฝ่ิน การประถมศึกษา การศึกษาชั้นมัธยม
การควบคุมโรคจิต การบรรจุข้าราชการทหารเข้ารับราชการพลเรือน
การปรบั ปรงุ ความเป็นอยู่ของกานัน ผ้ใู หญบ่ ้าน และปลัดอาเภอ รวมทั้ง
การเขยิบฐานะครูประชาบาล การนิสัยนักโทษ การส่งข้าราชการและ
ส.ส. ไปดูงานต่างประเทศ นโยบายการปราบปรามโจรผู้ร้าย การช่วยเหลือ
กรรมกรท่ีตกงาน ภาษีรัชชูปการ อากรค่าน้า ภาษีเงินได้ และภาษี
การค้า การจัดการรถไฟ การสารวจโลหกิจ ตลอดจนปัญหาการซ้ือขาย
ทด่ี ินของพระมหากษัตริย์ (ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, 2546, 213-216,
227-229, 236, 248-253) จะเห็นได้ว่าความสนใจของ ส.ส. อีสาน
มีความหลากหลายกว้างขวางมาก จึงเป็นส่ิงที่ไม่ถูกต้องที่จะเรียก
พวกเขาวา่ เป็นพวก “ภมู ภิ าคนยิ ม”

19

48 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

20

ในช่วงปี พ.ศ. 2487-2490 เป็นช่วงที่ดีที่สุดของ ส.ส. หัวก้าวหน้า
ของอีสาน ผู้นาของพวกเขาได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งสาคัญ
ในรัฐบาล จาลอง ดาวเรือง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
เตียง ศิริขันธ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ทองอินทร์
ภูริพัฒน์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และเลียง ไชยกาล
เป็นรัฐมนตรีลอย ส.ส. อีสานยังมีบทบาทสาคัญในการร่วมมือกับ
ขบวนการชาตินิยมในอินโดจีนและได้ร่วมกันจัดตั้งสันนิบาตแห่งเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ขึ้นมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2490 เตียง ศิริขันธ์
ได้ดารงตาแหน่งประธานของสันนิบาต โดยมีเจ้าสุภานุวงศ์ผู้นาของ
ขบวนการประเทศลาวเป็นเลขาธิการใหญ่ แต่สันนิบาตก็อยู่ได้ไม่นาน
เพราะทหารได้ทาการรัฐประหาร ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2490 และ
นาไปสู่การคืนสู่อานาจของจอมพล ป. ในปี พ.ศ. 2491 ภายหลังการ
รัฐประหาร ส.ส. จากภูมิภาคได้ตกเป็นเป้าหมายของความรุนแรงทาง
การเมืองทั้งนี้เพราะพวกเขาสนับสนุนปรีดี ระหว่างปี พ.ศ. 2488-2490
ในหมู่ ส.ส. 97 คนท่ีสนับสนุนปรีดี 96 คนมาจากภูมิภาค ส.ส. หัวก้าวหน้า
จากอีสานถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ และ พวกแบ่งแยกดินแดน
(Kobkua Suwannathat-Pian, 1995, 215) วันที่ 28 กุมภาพันธ์ุ พ.ศ. 2492
ทองอินทร์ ภูริพัฒน์, ถวิล อุดล, จาลอง ดาวเรือง พร้อมด้วยทองเปลว
ชลภูมิ เลขานุการของปรีดีถูกจับกุม และถูกตารวจนาตัวจากห้องขัง
ไปสังหารอย่างทารุณบริเวณ กม. 14-15 ถนนพหลโยธิน บางเขนใน

20

49ท้องถ่ิน ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

21

เวลา 2 นาฬิกา ของวันที่ 4 มีนาคม (ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ ธารงศักดิ์
เพชรเลิศอนันต์, 2544, 297-300) เตียง ศิริขันธ์ ได้หลบหนีการจับกุม
ไปหลบซ่อนท่ีภูพานที่ท่ีเขาเคยใช้เคล่ือนไหวเสรีไทย รัฐบาลได้ส่งกาลัง
ค้นหาแต่ไมส่ ามารถจับตวั เขาได้ จึงหันมาทารา้ ยชาวบา้ นอยา่ งทารุณแต่
ก็ไม่มีผู้ใดบอกเบาะแสของเตียง แต่สุดท้ายเตียงได้ยอมมอบตัวกับ
เจ้าหน้าท่ีเพราะเขาสงสารราษฎรท่ีถูกทารุณ เขากลับมามีบทบาททาง
การเมืองอีกคร้ังหนึ่งภายหลังการมอบตัวเพราะรัฐบาลต้องการใช้เขา
เป็นฐานทางการเมือง เตียงชนะการเลือกตั้งอีกคร้ังในการเลือกตั้ง 26
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 และในวันท่ี 12 ธันวาคมปีเดียวกันเขาถูก
สันติบาลควบคุมตัวไปสอบสวนแล้วหายตัวไปอย่างลึกลับ พล.ต.อ. เผ่า
ศรียานนท์ ได้แถลงข่าวว่าเตียงเป็นคอมมิวนิสต์ และหลบหนีทาง
ชายแดนจังหวัดกาญจนบุรีพร้อมกับคนขับรถ แต่จริง ๆ แล้วเขาและ
คนอ่ืน ๆ อีก 4 คนถูกนาตัวไปฆ่าในบ้านเช่าที่พระโขนง ก่อนท่ีศพจะ
ถูกนาไปเผาท่ีป่าจังหวัดกาญจนบุรี (ป.ทวีชาติ, 2546, 153-159) การ
สังหาร ส.ส. อีสานหัวก้าวหน้าดังกล่าวเป็นการปิดฉากการเคล่ือนไหว
ของนกั ตอ่ สู้ชาวอีสานรุ่นแรกลง

21

50 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

22

สรปุ

ประวตั ศิ าสตร์การเมืองอสี านที่กลา่ วมาน้ีแสดงใหเ้ หน็ ว่า ชมุ ชน
ต่าง ๆ ท่ีต่อมาถูกรวมกันเข้าเป็นภาคอีสานของประเทศไทยในปัจจุบัน
เคยเป็นดินแดนอิสระที่มีแบบแผนการปกครอง ธรรมเนียมปฏิบัติทาง
ศาสนา ภาษา ความเช่ือเป็นของตนเอง แต่ถูกทาลายลงโดยการปฏิรูป
การปกครอง-ศาสนา-การศึกษา และการสร้างอัตลักษณ์ความเป็นไทย
การ ‘ทาลาย’ ดงั กล่าวเปน็ การปทู างสู่การ ‘สรา้ ง’ รฐั สมยั ใหม่ (รฐั ประชาชาติ)
อย่างเช่นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์และรัฐอ่ืน ๆ ในเวลาต่อมาความสัมพันธ์
ที่ส่วนกลางครอบงาทอ้ งถน่ิ แบบที่เราเหน็ ในปัจจุบันจึงไม่ใชส่ งิ่ ที่ดารงอยู่
ตลอดมา แต่มันเป็นผลของการสร้างรัฐท่ีรวมศูนย์อานาจไว้ที่ส่วนกลาง
อย่างเบ็ดเสร็จที่กรุงเทพฯ สร้างขึ้นมา การสร้างรัฐสมัยใหม่เป็นกระบวนการ
ขูดรีดเอารัดเอาเปรียบที่สร้างความเดือดร้อนอย่างหนักหน่วงให้แก่
ท้องถิ่นซ่ึงสุดท้ายแล้วนาไปสู่ความขัดแย้งและการต่อต้านอย่างหลีกเล่ียง
ไม่ได้ ดังท่ีแสดงออกในกรณีของขบวนการผู้มีบุญ นอกจากน้ี การต่อสู้
ของผู้มีบุญยังแสดงให้เห็นว่าการต่อต้านของคนในท้องถ่ินเป็นกลไก
ในการสร้างอานาจการต่อรองทาให้อานาจรัฐส่วนกลางรับฟังเสียงของ
ทอ้ งถ่ินมากขึน้ อยา่ งไรกต็ ามการเปล่ยี นแปลงทางการเมืองในระดับชาติ
ไม่ใช่สิ่งเลวร้ายต่อท้องถ่ินเสมอไป การล่มสลายของสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ทาให้การ ‘ปิดปาก’ ท้องถิ่นด้วยอานาจที่ไร้ขอบเขตเป็นไปไม่ได้อีกต่อไป

22

51ท้องถิ่น ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

23
คนอีสานซึ่งทนเงียบมาร่วมสามทศวรรษหลังความพ่ายแพ้ของผู้มีบุญ
ได้ใช้ช่องทางรัฐสภาในการแสดงออกถึงปัญหา ความเดือดร้อน และ
ความเรยี กร้องตอ้ งการของพวกเขา ประชาธปิ ไตยไดส้ ร้างอานาจต่อรอง
ให้แก่ท้องถิ่นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน การต่อสู้เพ่ือชีวิตท่ีดีกว่าของ
ท้องถ่ินจาเป็นต้องอาศัยประชาธิปไตยทั้งในระดับท้องถิ่นและ
ระดบั ประเทศ

23

52 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

บรรณานกุ รม

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, และ ธ�ำรงค์ศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. (2544). ปรีดี
พนมยงค์ และ4 รฐั มนตรีอีสาน+1. กรงุ เทพฯ: มลู นธิ โิ ครงการ
ต�ำราฯ.
ชารล์ ส์ เอฟ คายส.์ 2552. แนวคดิ ทอ้ งถน่ิ ภาคอสี านนยิ มในประเทศไทย.
อบุ ลราชธาน:ี ศนู ยว์ จิ ยั สงั คมอนภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ้� โขง คณะศลิ ปศาสตร์
มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธาน.ี
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2546). การเมืองสองฝั่งโขง. กรุงเทพฯ:
ศลิ ปวัฒนธรรม.
ป.ทวีชาต.ิ (2546). ขุนพลภพู าน เตียง ศิริขนั ธ.์ กรงุ เทพฯ: วันชนะ.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร, และ คริส เบเคอร.์ (2546). เศรษฐกจิ การเมอื งไทย
สมยั กรงุ เทพฯ. กรงุ เทพฯ: ซลิ ค์เวอรม์ .
ศรศี ักร วัลลโิ ภดม. (2533). แอ่งอารยธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: มตชิ น.
สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั . (2548). หมู่บ้านอีสานยุค ‘สงครามเยน็ ’. กรุงเทพฯ:
มตชิ น.
Breazeal, K. (1975). The integration of the Lao states into
the Thai kingdom, PhD. Thesis, Oxford University.

53ท้องถิ่น ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

Brown, I. (1992). The creation of modern ministry of finance
in Siam, 1885-1910. London: Macmillan.
Bruce, L. (1980). Metropolis and nation in Thailand:
The political economy of uneven development.
Boulder: Westview Press.
Bunnag, T. (1977). The provincial administration of
Siam1892–1915. London: Oxford University Press.
Chaloemtiarana, T. (1979). Thailand: The politics of despotic
paternalism. Bangkok: Thammasat University Press.
Cohen, E. (1991). Thai society in comparative perspective.
Bangkok: White Lotus.
Keyes, Charles F. (1967). Isan: Regionalism in northeast
Thailand. Ithaca, NY: Cornell University.
_____. (1977). Millennialism, Theravada Buddhism, and Thai
society, Journal of Asian Studies, vol. 36, no. 2, February,
pp. 283–302
Mikusol, P. (1995). Administrative reforms and national
integration: The case of the northeast. In Grabowsky,
V (ed). “Regions and national integration in Thailand
1892-1992”. Germany: Harrassowitz Verlag.

54 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

Mullett, M (1987). Popular Culture and Popular Protest in
Late Medieval and Early Modern Europe. London:
Croom Helm.
Nartsupha, C. (1984). The ideology of holy men revolts in
northeast Thailand. In Turton, A and Tanabe, S (eds).
“History and peasant consciousness in south east Asia”.
Senri Ethnological Studies, 13, pp. 111–134.
Phongpaichit, P, and Baker, C. (1995). Thailand: Economy and
Politics. Oxford: Oxford University Press.
Riggs, F (1966). Thailand: the Modernization of a Bureaucratic
Polity. Honolulu: East-West Center Press.
Siffin, W. (1966). The Thai bureaucracy: Institutional change
and development. Honolulu: East-West Center Press.
Suksamran, S. (1993). Buddhism and political legitimacy.
Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Suthiragsa, N. (1979). The Ban Chieng Culture. In Smith, R.B.,
and Watson, W. “Early southeast asia”. Oxford: Oxford
University Press.

55ท้องถ่ิน ชาติ ในประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งอีสาน

Suwannathat-Pian, K (1995), Thailand’s durable premier:
Phibun through three decades, 1932–1957. Kuala
Lumpur: Oxford University Press.
Tandrup, A. (1982). Thailand: Internal colonialism and
revolutionary War. Copenhagen: University of
Copenhagen Press.
Tiyavanich, K. (1997). Forest recollections: Wandering monks
in twentieth-century Thailand. Chiang Mai: Silkworms
Book.
Vella, W. (1978). Chaiyo: king Vajiravudh and the development
of Thai nationalism. Honolulu: the University Press of
Hawaii.

56 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

1

การรวมศนู ยด์ ้านทรัพยากรป่าไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5
กับผลกระทบตอ่ ล้านนา1

อารยา ฟา้ รุ่งสาง2

บทความนี้ศึกษาประวัติศาสตร์ป่าไม้ในยุคสัมปทานและ
ความสัมพันธ์ระหว่างล้านนา-สยาม-อังกฤษในประเด็นป่าไม้ที่แตกต่าง
ไปจากงานศึกษาส่วนใหญ่ในอดีตท่ีเน้นเพียงปัจจัยภายนอก คือ
ภัยคุกคามจากอังกฤษที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นเอกราชของสยาม
และปัญหาภายใน คือ การบริหารป่าไม้ของเจ้านายท้องถิ่นอันเป็นเหตุ
ให้สยามต้องผนวกล้านนา โดยเสนอมุมมองอีกด้านหน่ึงของประวัติศาสตร์
ส่วนนี้ นั่นคือ ความร่วมมือระหว่างสยามและอังกฤษในการเข้ายึดกิจการ
ไม้สักล้านนา และการใช้วิทยาศาสตร์ป่าไม้อันเป็นมรดกจากอาณานิคม
ตะวันตกเพ่ือการรวมศูนย์อานาจด้านทรัพยากรท่ีส่งผลกระทบต่อ
ทิศทางความสัมพันธ์รัฐ-ท้องถ่ินในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ของไทย
ในเวลาตอ่ มา

1 บทความชิ้นน้ีเป็นส่วนหนึ่งและปรบั ปรงุ จากวทิ ยานพิ นธ์ เรือ่ ง ไม้สัก: พฒั นาการ
1ขบอทงรคปูวาแมบชบิน้ คนว้ีเปา็นมสส่วมั นพหนันึ่ธงแเ์ ชลงิะอป�รำนับปาจรุงรจะาหกววา่ิทงยาลนา้ ิพนนนธา์ เสรื่อยงามไมแส้ ลัก:ะพอัฒงั กนฤาษกาพรข.ศอ.งร2ูป4แ1บ7บ-
ค2ว5า0ม3สมั พันธ์เชิงอานาจระหวา่ ง ลา้ นนา สยาม และองั กฤษ พ.ศ. 2417-2503
22 รัฐฐศศาาสสตตร์มรห์มาหบาัณบฑัณิตฑสิตาขาสกาาขราเมกือางรแเลมะือกงาแรปลกะคกราอรงปคกณคะรรอัฐงศาคสตณระ์แลรัะฐศราัฐสปตระรศ์แาลสะน
ศราัฐสปตรระ์ มศหาาสวนทิ ศยาลสยั ตเรช์ียมงใหหามว่ ทิemยาaลil:ัยaเrชaียyaง.ใfหrsม@่ gemmaail.icl:[email protected]

1 57

การรวมศูนยด์ า้ นทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

2

แนวคิดหลงั อาณานคิ มและสภาวะก่ึงอาณานคิ มของสยาม

แนวคิดหลังอาณานิคม (Post-Colonialism) มีคุณูปการสาคัญ
ตอ่ การทาความเขา้ ใจในประเด็นทางประวัติศาสตร์ การเมือง เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม ฯลฯ ในมติ ิใหม่ ๆ ด้วยการวพิ ากษ์กรอบมโนทัศนเ์ ดิม
ที่ถูกผลิตโดยเจ้าอาณานิคมตะวันตก กล่าวคือ แนวคิดหลังอาณานิคม
เป็นเครื่องมือให้ผู้ศกึ ษาผลติ ความรู้ทต่ี อบโต้ / วิพากษ์อานาจท่ีครอบงา
โดยชาวตะวันตกในช่วงอาณานิคมได้อย่างดี นิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง
และหลากหลายในแวดวงวิชาการตะวันตกสมัยใหม่ เช่น ซาอิด
(Edward Said) ที่โด่งดังในงานศึกษาเรื่อง Orientalism (ลัทธิบูรพาคดี
ศึกษา) วิพากษ์วาทกรรมของตะวันตกท่ีสร้างความรู้และการบิดเบือน
โลกตะวันออกผ่านทางวัฒนธรรมอันได้แก่ภูมิปัญญาและวรรณกรรม
เป็นสาคัญ หรือสปิวัค (Gayatri Chakravorty Spivak) ที่ใช้แนวคิดหลัง
อาณานิคมร้ือสร้างกระบวนการทาให้เป็นเมืองข้ึนด้วยอานาจและพลัง
ของลัทธอิ าณานิคมตะวันตกทก่ี ดทับผู้ไร้เสียง คือ ผู้หญิง และความเป็น
เพศหญิง รวมถึงผู้คนในโลกตะวันออกท่ีถูกเปรียบให้มีคุณลักษณะของ
ความออ่ นแอ และไร้เหตุผล

เช่นเดียวกัน แนวคิดหลังอาณานิคมสามารถวิพากษ์ประวัติศาสตร์
ไทยกระแสหลัก พบว่า ชนช้ันนาไทยผลิตวาทกรรมเร่ืองประเทศไทย
ไม่เคยตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกซ้า ๆ จนวาทกรรมดังกล่าวได้ฝัง
รากลึกในสังคมไทยมายาวนาน อันเป็นผลพวงของลัทธิราชาชาตินิยมที่

2

58 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

3

กอ่ ตัวเปน็ อุดมการณ์ทางสังคม (ธงชัย วินิจจะกูล, 2559) และก่อให้เกิด
การถกเถียงกรณีของสยามอยู่ในสภาวะก่ึงอาณานิคม (semi-colonialism)
ช้ีให้เห็นถึงการอาพรางความสัมพันธ์ระหว่างสยามกับมหาอานาจ
ตะวันตกร่วมมือกันในหลายระดับ ตลอดจนสยามเป็นเจ้าอาณานิคม
ระดับภูมิภาคเพ่ือรักษาอานาจเดิมไว้ การกระทาลักษณะน้ีถูกเรียกไว้
หลากหลายทัง้ cooperative colonialism หรือ crypto-colonialism
หรือ internal colonialism เพราะการเข้ายึดครองและใช้อานาจ
ครอบงาทุก ๆ ด้านของประเทศราชให้เป็นตามที่สยามต้องการ จนทาให้
มุมมองเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตะวันตกกับชนชั้นนาสยามท่ีท้ัง
สองรว่ มมอื กนั ถกู ละเลยไป

ดังนั้น การทาความเข้าใจความขัดแย้งระหว่างรัฐ-ท้องถิ่นไทย
ต่อการเข้าถึงการจัดการป่าไม้ มีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องออกจาก
กรอบความคิดเดิม ๆ ท่ีว่า ฝ่ายหน่ึงพยายามปกปักรักษา ในขณะที่อีก
ฝ่ายมุ่งบุกรุกเพื่อทาลายป่า หรือความเชื่อท่ีว่าเป็นความขัดแย้งระหว่าง
ค ว า ม รู้ ส า ก ล จ า ก โ ล ก ต ะ วั น ต ก เพ่ื อ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ช า ติ เ ป็ น ส า คั ญ
กับความรู้เรื่องไม้ที่เป็นเอกลักษณ์ในแต่ละท้องที่ เป็นผลประโยชน์
เฉพาะกลุ่ม ความเข้าใจดังกล่าวยังถูกบิดเบือน และระบุไว้ใน
ประวัติศาสตร์ป่าไม้มายาวนาน แนวคิดหลังอาณานิคมกับข้อถกเถียง
เก่ี ย ว กั บ ส ภ า ว ะ ก่ึ งอ า ณ านิ ค ม ข อ งส ย าม จ ะ ช่ ว ย ร้ื อ ส ร้ าง ว าท ก ร ร ม
ดังกล่าวท่ีได้ปิดบังปัญหาการแย่งชิงป่าไม้ อันเป็นเงื่อนไขสาคัญของ
ความขดั แยง้ ทีเ่ กดิ ข้ึนระหวา่ งสยามและลา้ นนา

3 59

การรวมศูนยด์ า้ นทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

4

ความสัมพันธ์ระหว่างสยามและอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ 5 กับ
ประเด็นปา่ ไมใ้ นลา้ นนา

การเสด็จประพาสต่างประเทศท่ีเก่ียวข้องกับการเปล่ียนแปลง
หวั เมอื งล้านนาทสี่ าคัญท่ีสุด คือ การเสดจ็ ประพาสอนิ เดียและพม่า เมื่อ
ปี พ.ศ. 2414-2415 ท่ีขณะน้ันเป็นอาณานิคมของอังกฤษ จุดประสงค์
ที่นอกจากเข้าไปเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหาข้อพิพาทและการทาสนธิสัญญา
เชียงใหม่ ดังในพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ ฯ
(รัชกาลที่ 5) ทรงมีไปถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาบาราบ
ปรปักษ์ ถึงคุณประโยชน์ของการเสด็จประพาสคร้ังน้ีว่าช่วยทาให้การ
ทาสนธิสัญญาเชียงใหม่ พ.ศ. 2417 ระหว่างสยามและอังกฤษเป็นไป
อย่างราบร่ืน การเสด็จคร้ังน้ียังเก่ียวโยงกับการจัดระเบียบป่าไม้ใน
ล้านนาและการตั้งกรมป่าไม้ พ.ศ. 2439 ในเวลาต่อมา กล่าวคือ
มีเอกสารจานวนหน่ึงต้ังข้อสังเกตว่า รัชกาลที่ 5 ทรงกระตือรือร้นที่จะ
ท อ ด พ ระเน ต รก ารจั ด ก ารป่ าไม้ ข อ งอั งก ฤ ษ ทั้ งใน อิ น เดี ย แล ะพ ม่ า
ดังกรณี เม่ือเสด็จไปถึงเมืองบอมเบย์ ประเทศอินเดีย ทรงให้ความ
สนพระทัยกับอู่ต่อเรือ ดังปรากฏในหนังสือพิมพ์บอมเบย์ กาเซ็ท
(Bombay Gazette) ที่รายงานพระราชกรณียกิจของรัชกาลที่ 5
ขณะเสด็จประพาสอู่ต่อเรือว่าทรงซักถามมากเป็นพิเศษเกี่ยวกับไม้สัก
(ชัย เรืองศิลป์, 2522, น. 196-197 อ้างถึงใน เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว,
2553, น. 71) และการเสด็จเมืองมะละแหม่ง ประเทศพม่า เป็นความจงใจ

4

60 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

5

เพื่อไปศึกษาวิธีการจัดการป่าไม้ของอังกฤษโดยเฉพาะ เพราะเมือง
มะละแหม่งขณะนั้นมีความโดดเด่นด้านเมืองท่าส่งออกไม้สักและการ
ต่ อ เรื อ สิ น ค้ า ที่ มี ช่ื อ เสี ย ง ท่ี สุ ด ใน ภู มิ ภ า ค เอ เชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้
ประจวบกับช่วงเวลาการเสด็จเยือนเมืองมะละแหม่งตรงกับช่วงเวลาท่ี
อังกฤษกาลังพั ฒ นาธุรกิจการส่งออกไม้สักอย่างต่อเนื่องจนสามาร ถ
กอบโกยรายได้อย่างมหาศาล (เสด็จอินเดีย 2415, น. 63 อ้างถึงใน
สเุ นตร ชตุ ินธรานนท์, 2547, น. 417)

ต่ อ ม า ภ า ย ห ลั ง ก ลั บ จ า ก ก า ร เส ด็ จ ป ร ะ พ า ส อิ น เดี ย ค รั้ ง น้ี
พระองค์สนพระทัยการจัดทากิจการป่าไม้แบบตะวันตกมาตลอด
ดังในหลาย ๆ เหตุการณ์ เช่น ปีพ.ศ. 2432 มีการขอเข้าพบของ
พระยาดารงราชพลขันธ์ ราชทูตสยามประจากรุงเบอร์ลิน เพื่อรายงาน
เกี่ยวกับกิจการป่าไม้ในประเทศเยอรมัน และใน ปีพ.ศ. 2435 มีการ
แต่งตั้งคณะข้าหลวงสยามเพื่อไปศึกษาการทาไม้ ที่โรงเรียนป่าไม้
ในประเทศอนิ เดยี และพม่า เป็นระยะเวลา 1 ปี เพอ่ื นามาปรบั ปรงุ ปา่ ไม้
ในสยามต่อไป (อานวย คอวนิช, 2528, น. 12-13) หลังจากน้ันไม่นาน
ได้มีการดึงตัวมิสเตอร์แคสเตนโจลด์ (Mr. Castenjold) ซ่ึงเคย
รับราชการเป็นครูในกองล้อมพระราชวังในสยาม แต่มีประสบการณ์
ด้านการทาไม้มาก คือ เคยสารวจเส้นทางล่องไม้ตามแม่น้าโขงต้ังแต่
เชียงแสนถึงไซ่ง่อน และช่วยจัดเก็บไม้พร้อมตรวจตราการทาไม้ของ
ดร. ชี้ค (Dr. Marion Alonzo Cheek) (อานวย คอวนิช, 2528, น. 14)

5 61

การรวมศูนยด์ ้านทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

6

แต่ท้ายท่ีสุดได้ยืมตัวมิสเตอร์ เอช. สเลด (Mr. H. Slade) ชาวอังกฤษ
ท่ีขณะนั้นเป็นรองเจ้ากรมป่าในพม่ามาวางรากฐานกิจการไม้สักใน
ล้านนาและแต่งต้ังใหเ้ ปน็ เจ้ากรมป่าไม้คนแรกของสยามในเวลาต่อมา

แม้ว่า มิสเตอร์ เอช. สเลด (Mr. H. Slade) จะเคยเป็นรอง
เจ้ากรมป่าไม้ของรัฐบาลอังกฤษในพม่ามาก่อน แต่ท่าทีของรัชกาลที่ 5
ต่อนายสเลดเป็นความสัมพันธ์ท่ีค่อนข้างดี สังเกตได้จากความไว้ใจ
วางใจและยงั ทรงกล่าวถึงมสิ เตอร์สเลด วา่

“…ถ้ามิสเตอสะเลดเป็นคนอังกฤษ เมื่อมารับ
ราชการของเราก็นับว่าเป็นข้าราชการไทย ทาการตามคา
ฉนั สง่ั ถ้าไม่ทาตามฉนั สั่งเมือ่ ใด ไลเ่ สยี ได้ ไมไ่ ด้ฟงั คาส่งั คอ
เวอนเมนต์อังกฤษ ที่จะสงไสยว่าเปนคนของอังกฤษไม่
ถูกต้อง อีกประการหนงึ่ ตง้ั แต่มสิ เตอสะเลดคนนเ้ี ข้ามารับ
ราชการ สังเกตดูอัชฌาไสรยก็เรียบร้อย ทาการซื่อตรงยัง
ไม่เห็นเหตุท่ีต้องสงไสยกินใจอย่างใด…” (หจช.ร.5ม.
16.3/5 เรื่อง เรอ่ื งคิดจะเก็บค่าตอไมใ้ นแขวงเชยี งใหม่และ
พระเจ้าเชียงใหม่มีหนังสือกราบบังคมทูลยังไม่ยอมตกลง
ในเรอื่ งนี้ (19 ธ.ค. ร.ศ. 115-9 เม.ย. ร.ศ. 116))

อย่างไรก็ตาม ชาวต่างชาติที่เป็นท่ีปรึกษาราชการแผ่นดินใน
สมัยรัชกาลที่ 5 มีบทบาทมากอยู่หลายคน พบว่า เป็นชาวยุโรปมากถึง
102 คน ประกอบด้วย ชาวอังกฤษ 46 คน รองลงมาเป็นชาวเยอรมัน
เดนมาร์ก โปรตุเกส อเมริกัน ฝร่ังเศสและอิตาลี ตามลาดับ (สัจฉิทานันท
สหาย, 2559, น. 295) ดังนั้น การครอบงาด้านการบริหารราชการแผ่นดิน

6

62 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

7

สยามโดยชาวอังกฤษดังปรากฏในตาแหน่งสาคัญ ๆ ถูกเชื่อมโยงเข้ากับ
การแบ่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การค้าไม้สักของอังกฤษท่ีมีมากกว่า
ชาติอ่ืน แสดงให้เห็นถงึ ผลประโยชน์ของสยามและอังกฤษสอดคล้องกัน
มากกว่าขัดแย้งกัน และประเด็นน้ียิง่ ตอกย้าว่า อังกฤษไม่มคี วามจาเป็น
ใด ๆ ท่จี ะเข้ายึดครองสยามอยา่ งท่ีเข้าใจกันทัว่ ไป

การประเมินคณุ ค่าและฐานะของไม้สกั ในลา้ นนา

เป็นท่ีทราบกันว่า ไม้สักล้านนาจานวนมากถูกส่งไปยังมะละแหม่ง
ดังปรากฏในหลักฐานว่า สินค้าไม้สักทั้งหมดในเมืองมะละแหม่ง
95 เปอร์เซ็นต์มาจากล้านนา โดยเฉพาะเมืองเชียงใหม่ (Nigel J. Brailey,
1968 อ้างใน เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว, 2560, น.11) ประกอบกับ
ชนช้ันนาสยามศึกษาดูรูปแบบและวิธีการจัดการป่าไม้จากประเทศ
อาณานิคมของอังกฤษในก่อนหน้าน้ี โดยสยามสามารถประเมินคุณค่า
และฐานะที่สาคัญย่ิงของไม้สักในทางเศรษฐกิจและจัดทาเป็นธุรกิจไม้
ขนาดใหญ่ ไว้อย่างน้อย 3 ประการ ประการแรก ล้านนามีแม่น้า
ที่ไหลลงสู่แม่น้าใหญ่ท่ีสาคัญถึง 3 สาย คือ แม่น้าสาละวิน แม่น้าเจ้าพระยา
และแม่น้าโขง ซ่ึงในเวลาต่อมากลายเป็นแม่น้าสาคัญในการทาธุรกิจไม้
สักของสยามและบริษัทค้าไม้ ประการท่ีสอง มีภูมิศาสตร์ท่ีเอื้อต่อการ
เติบโตของต้นสัก เช่ือกันว่า ป่าไม้สักของล้านนามีความอุดมสมบูรณ์
ไม่แพ้ประเทศอื่น ทั้งอินเดีย พม่า ลาว (เฉพาะส่วนที่ติดกับล้านนา)

7 63

การรวมศูนยด์ ้านทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลท่ี 5

8

อินโดนีเซีย (ในภาคกลางและภาคตะวันออกของเกาะชวา) (เจริญ
ตันมหาพราน, 2554, น. 80) และประการที่สาม มีความเหมาะสม
ในการลงทุนทาธุรกิจไม้ครบวงจรและมีความพร้อมด้านตลาดช้าง
โดยเฉพาะเมืองลาปาง แพร่ และน่าน ที่มีช้างมากเป็นพิเศษ ช้างถือเป็น
พาหนะสาคัญที่พ่อค้าและนายห้างป่าไม้ต้องลงทุน ต้องใช้เป็นพาหนะ
ในการลากไม้ซุงลงนา้

การเข้ายดึ กจิ การปา่ ไมท้ ีละข้ันของสยาม

สยามทาการเข้ายึดกิจการไม้สักของเจา้ นายลา้ นนาทลี ะขั้นโดย
ใช้ระยะเวลาเพียง 26 ปี (พ.ศ.2417-2443) ในการยึดกิจการป่าไม้ได้
อย่างเตม็ รูปแบบ โดยมขี น้ั ตอนดังตอ่ ไปนี้

ขั้นแรก สยามและอังกฤษร่วมกันลงนามใน “สนธิสัญญา
เชียงใหม่” (The Treaty of Chiangmai) สองฉบับ ฉบับแรก พ.ศ.
2417 / ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2426 สนธิสัญญาดังกล่าวมีสาระสาคัญ คือ
เข้าควบคุมกิจการไม้สักและจัดการปัญหาระหว่างเจ้านายล้านนาและ
คนในบังคับอังกฤษอย่างเข้มงวดและเด็ดขาด ที่สาคัญเป็นครั้งแรกที่
สยามเข้าไปมีอานาจด้านกิจการไม้สักล้านนา โดยผลของสนธิสัญญา
เชยี งใหม่ ฉบับที่ 1 สยามส่งข้าหลวงคณะแรกประจาหัวเมืองเหนือทันที
เพื่อแก้ปัญหาเรื่องต่าง ๆ ทั้งหมดท่ีเกิดขึ้นในล้านนา โดยมีพระนรินทร
ราชเสนี (พุ่ม ศรีไชยยันต์) เป็นข้าหลวง 3 หัวเมือง (เชียงใหม่ ลาพูน
และลาปาง) ประจาอยู่ท่ีเชียงใหม่ ทาหน้าที่ควบคุมดูแลและแนะนา

8

64 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

9

เจ้านายใหป้ ฏิบตั ติ ามสนธิสัญญาฯ รวมทั้งประสานงานระหว่างสยามกับ
หัวเมืองประเทศราช (เจริญ ตันมหาพราน, 2554, น. 88) พร้อมคณะ
ขา้ หลวงประกอบด้วย ทหาร เสมียน ล่าม ไพร่ พ่อครัว ฯลฯ รวมทั้งหมดราว
70 คน (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2561, น. 318) อย่างไรก็ตาม ในการส่ง
ขา้ หลวงชุดแรกเข้ามาประจา 3 หัวเมือง แม้ว่าสยามยังไมด่ าเนินการถึง
ข้ันยกเลิกประเทศราช แต่ได้ควบคุมโดยใช้อานาจอย่างเต็มท่ีตามที่
สนธสิ ัญญาฯ ระบุไว้อย่างไม่เคยมมี ากอ่ น

ขั้นที่สอง สยามแต่งตั้งมิสเตอร์สเลดให้เป็นเจ้ากรมป่าไม้เพื่อ
วางรากฐานป่าไม้ในล้านนาเสียใหม่ นายสเลดไม่เห็นด้วยกับการให้
เจ้านายถือสิทธขิ องตนเป็นเจ้าของป่า เพราะเกรงวา่ จะมีการใชแ้ ละขาย
ไม้ท่ีก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าเกิดประโยชน์ เช่น ใช้อานาจทาลายป่า
หรือทาให้ผลประโยชน์จากป่าลดน้อยลง (หจช.ร.5ม.16.1/27 เรื่อง
มิสเตอร์ เอช. สะเลด รายงานเร่ืองกรมป่าไม้ (26 มิ.ย. – 3 ธ.ค. 115))
จึงนามาสู่มาตรการข้ันเด็ดขาดในการจัดระเบียบกิจการไม้สักในล้านนา
คือ ต้องดาเนินการให้กิจการไม้สักให้อยู่ภายใต้ความดูแลของสยาม
โดยการต้ังกรมป่าไม้ พ.ศ. 2439 พร้อมดาเนินการออกข้อบังคับและ
กฎหมายอย่างเข้มงวดเพ่ือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เช่น พระราชบัญญัติ
คุ้มครองและรักษาป่าไม้ พ.ศ. 2440 เพ่ือห้ามมิให้ผู้ใดเช่าทาการกานไม้
ที่ยังไม่ได้ขนาดหรือตัดฟันไม้ โดยมิได้อนุญาตจากเจ้าพนักงานป่า
(สานักงานป่าไม้จังหวัดเชียงใหม่, 2439) และพระราชบัญญัติป้องกัน

9 65

การรวมศูนยด์ ้านทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

10

การลักลอบตีตราไม้ พ.ศ. 2441 เพื่อห้ามมิให้ชักลากไม้สักไปจาหน่าย
ก่อนเสียค่าตอไม้และค่าภาษีไม้ ผู้ใดฝ่าฝืนให้รับผลตามบทลงโทษ
(หจช.ร.5ม.16.1/13 เรื่อง ประกาศพระราชบัญญัติ ข้อบังคับต่าง ๆ
เร่ืองไม้สักดวงตราลบเลือน (1 พ.ค ร.ศ.115-6 ม.ค. ร.ศ.119)) เป็นต้น
ซึง่ มาตรการเหล่านี้แตกต่างจากมาตรการแกไ้ ขปัญหาป่าไม้ทีเ่ คยระบุใน
สนธสิ ญั ญาเชียงใหม่ ท่ีเน้นแกป้ ญั หาระยะส้นั มากกวา่

ข้ันท่ีสาม ในช่วงท่ีสเลดบริหารงานในกรมป่าไม้ (พ.ศ.2439-
2444) ในฐานะเจ้ากรมป่าไม้คนแรก ได้มีการดาเนินการเจรจาขอโอน
กรรมสทิ ธ์ิในพ้ืนที่ป่าไม้ของล้านนาให้เป็นสมบัตขิ องสยาม ในปี พ.ศ.
2443 (ขณะนั้น ล้านนาถูกผนวกเป็นส่วนหน่ึงของสยามแล้ว เม่ือพ.ศ.
2442) อน่ึง การโอนกรรมสิทธ์ิคร้ังนี้รวมถึงกิจการไม้สักท้ังหมด พื้นท่ี
ป่าและไม้ชนิดต่าง ๆ นอกเหนือจากไม้สัก รายได้และกาไรจากการเก็บ
คา่ ตอไม้ ซง่ึ เคยเปน็ รายไดห้ ลักของเจา้ นายลา้ นนา (ตอ่ มารายได้เจ้านาย
ได้ถูกเปลี่ยนเป็นการรับเงินรายเดือนแทน) การเจรจาครั้งนี้ มีพระยา
มหาอามาตยาธิบดี ท่ีขณะน้ันดารงตาแหน่งเป็นพระยาศรีสหเทพ
เป็นผู้ดาเนินการเจรจากับเจ้านายล้านนา โดยการเจรจาเริ่มจากแพร่
และน่านก่อน และตามด้วย ลาปาง ลาพูน และเชียงใหม่ ตามลาดับ
(ชมัยโฉม สุนทรสวัสด์ิ, 2521, น. 21) ผลของการเจรจาได้ทาให้
เจ้านายล้านนาส้ินสดุ บทบาทในส่วนเก่ยี วข้องกับป่าไม้ท่เี คยมีมาท้งั หมด
หากเจ้านายท้องถิ่นต้องการทาไม้ ต้องได้การอนุญาตจากสยามเสียก่อน

10

66 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

11

เฉกเช่นเดียวกับบริษัททาไม้ และพ่อค้าไม้ต่างชาติที่เข้ามารับทาไม้
ในลา้ นนา

วิทยาศาสตร์การป่าไม้ การรวมศูนย์ด้านทรัพยากรป่าไม้ตาม
ฉบับอาณานิคมตะวันตก

หลังการอ้างสิทธิเข้ายึดพ้ืนท่ีป่าในท้องท่ีและแปลงทรัพยากร
ป่าไม้ให้เป็นผลกาไรในเวลาต่อมา เกิดข้ึนหลายครั้งในประเทศอาณา
นิคมหรอื ดินแดนที่เคยอยู่ภายใตก้ ารปกครองของอาณานิคมตะวันตกมา
ก่อน ดังกรณี องั กฤษเข้ายดึ ปา่ ไม้ในเมืองสารวดี แปร ตองอู และต้ังกรม
ปา่ ไม้ ในระหว่าง พ.ศ. 2462-2467 หลังจากน้ันไม่นาน กท็ าการผลติ ไม้
ให้เป็นสินค้าส่งออกในทุก ๆ ปี มากกว่า 500,000 ต้น ประมาณกันว่า
อังกฤษสามารถทากาไรจากธุรกิจป่าไม้หลังการตั้งกรมป่าไม้ในปีแรก ๆ
เป็นจานวนร้อยละ 20 ของรายได้ในประเทศ และเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ
(ฮอลล์, ด.ี จี.อ.ี , 2557, น. 1160) หรือหลังจากท่ีองั กฤษต้ังกรมปา่ ไมใ้ น
อินเดีย ปี พ.ศ. 2403 หลังจากน้ัน เกิด พ.ร.บ. ป่าไม้ พ.ศ. 2408 ที่ไม่
ยอมรับสิทธิประชาชนในพ้ืนท่ีป่าและเมื่อหลังจากอินเดียได้รับเอกราช
จากอังกฤษ รฐั ส่วนกลางอินเดียใช้โอกาสรวมศูนย์การจัดการทรัพยากร
ที่เน้นป่าเศรษฐกิจ พร้อมยึดที่ดินตามนโยบายป่าไม้แห่งชาติในเวลา
ตอ่ มา (กฤษฎา บญุ ชยั , 2562)

11 67

การรวมศูนยด์ ้านทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

12

อย่างไรก็ตาม เคร่ืองมือที่ช่วยให้รัฐเข้ายึดพ้ืนท่ีป่าไม้ได้อย่าง
ช อ บ ธ ร ร ม แ ล ะ แ ป ล ง ท รั พ ย า ก ร ป่ า ไม้ ให้ เป็ น ผ ล ก า ไร สู งสุ ด ใน ท า ง
เศรษฐกิจนับต้ังแต่ยุคอาณานิคมจนสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน คือ
วิทยาศาสตร์การป่าไม้ (Scientific Forestry) ซ่ึงเป็นศาสตร์แขนง
หนึ่งของรัฐ (Cameral Science) ที่ช่วยในการจัดการวางแผนทาง
เศรษฐกิจและการเงิน นิยมนามาใช้ในบริบทการสร้างรัฐแบบรวมศูนย์
(Centralized State-making) เพ่ื อดึงฐาน ท รัพ ยากรป่ าไม้ ให้ ก่อ
ผลประโยชน์สูงสุดและสร้างรายได้ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (ป่ินแก้ว เหลืองอร่ามศรี, 2548, น. 14-15) หลักการ
สาคัญมีอย่างน้อย 3 ประการ คือ (1) ทาให้ป่าไม้มีความหลากหลาย
น้อยที่สุด โดยการผลิตแต่เนื้อไม้บางชนิดที่ทารายได้ให้แก่รัฐเท่าน้ัน
(2) ใช้วิธีการคานวณทางคณิตศาสตร์เพ่ือประเมินผลผลิตจากป่าไม้ให้
ได้มากที่สุด และ(3) วางผังแปลงในการตัดไม้เพื่อให้ได้ผลผลิตอย่าง
ต่อเนื่อง (Henry E. Lowood, 1990 อ้างถึงใน ป่ินแก้ว เหลืองอร่ามศรี,
2548, น. 17) จึงทาให้ในเวลาต่อมา หลักการดังกล่าวได้รับความนิยม
อย่างแพรห่ ลายและกลายเป็นบรรทัดฐานของความรู้ในเรือ่ งป่าไม้ทสี่ อน
กนั ในประเทศเจ้าอาณานคิ ม

จากหลักการสาคัญของวิทยาศาสตร์การป่าไม้ท่ีได้กล่าวไป
ข้างต้น นั่นคือ การทาให้ธรรมชาติกลายเป็นวัตถุท่ีสร้างขึ้นเพ่ือการพาณิชย์
ผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การลดทอนย่อส่วน (reductionism) ที่ส่งผลให้
ความสามารถของมนุษย์ในการรู้จักธรรมชาติลดลงและลดทอนความสามารถ

12

68 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

13

ในการเตบิ โตขนึ้ ตามธรรมชาติ กระบวนการน้ีถูกผลติ ภายใตค้ วามรู้แบบ
วทิ ยาศาสตร์สมัยใหม่เพ่ือตอบสนองความต้องการในทางเศรษฐกิจแบบ
ทุนนิยมและสร้างความชอบธรรมให้แก่ผู้ที่ถือความรู้วิทยาศาสตร์ป่าไม้
ในการยึดทรัพยากรธรรมชาติ และการกีดกันผู้ที่ถูกกล่าวหาว่ามีความรู้
ประเภทอ่ืนให้กลายเป็นความล้าหลัง (ป่ินแก้ว เหลืองอร่ามศรี, 2548,
น. 22-26)

ในกรณีประเทศไทย แม้ไม่เคยตกเป็นอาณานิคมอย่างเป็น
ทางการ วิทยาศาสตร์การป่าไม้ในประเทศไทย ถูกสถาปนาขึ้นคร้ังแรก
ในสมัยรัชกาลท่ี 5 หลังการต้ังกรมป่าไม้ พ.ศ. 2439 และถูกใช้เป็น
เครื่องมือในการรวมศูนย์ป่าไม้เรื่อยมาเช่นเดียวกับเจ้าอาณานิคม
ตะวันตกกระทากับประเทศในอาณานิคม วิทยาศาสตร์ป่าไม้ในประเทศ
ไทยก่อตัวขึ้นและรับอิทธิพลมาตั้งแต่ชนชั้นนาสยามไปศึกษาวิธีการ
จัดการป่าไม้ของอังกฤษ ช่วงการเสด็จเยือนอินเดียและพม่า พ.ศ.
2414-2415 การส่งข้าหลวงไปศึกษาโรงเรียนป่าไม้ในอินเดียและพม่า
พ.ศ. 2435-2436 และคาแนะนาจากมิสเตอร์สเลด ท่ีมีบทบาทสาคัญ
ต่อการวางระบบและรากฐานให้กับกรมป่าไม้ไทย ในปี พ.ศ. 2439
วิทยาศาสตร์ป่าไม้เอ้ือให้สยามเข้าครอบครองทรัพยากรป่าไม้ท้องถ่ิน
โดยเจ้านายท้องถิ่นมิอาจโต้แย้งได้ด้วยเหตุผลอยา่ งน้อยสองประการ คือ
(1) ช่วยแก้ปัญหาความขัดแย้งในกิจการป่าไม้ระหว่างเจ้านายล้านนา
และบริษัทต่างชาติที่เข้ามาทาไม้มากข้ึนเป็นลาดับ และ (2) ช่วยสร้าง
ความทันสมัยใหก้ ับการบรหิ ารและการจดั การป่าไม้

13 69

การรวมศูนยด์ า้ นทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลท่ี 5

14

ผลผลิตอันเป็นรูปธรรมของวิทยาศาสตร์การป่าไม้ ได้แก่ นักป่า
ไม้และกฎหมายป่าไม้

นกั ป่าไม้ เปรียบเสมือนผเู้ ช่ียวชาญท่ีมีหน้าที่ส่งเสริมและรักษา
ผลประโยชน์จากป่าไม้เพื่อสร้างรายได้ให้แก่รัฐ นักป่าไม้หรือข้าราชการ
ในกรมป่าไม้ของสยามยุคแรกถูกสร้างข้ึนเพ่ือทาหน้าท่ีเหล่านี้ ท้ังยัง
ทางานสอดรับกับระบบราชการขณะน้ันได้อย่างดี กล่าวคือ มีความ
ชานาญเฉพาะทาง ช่วยจัดระเบียบและหารายได้ให้แก่สยาม ดังท่ีนาย
สเลดได้นิยามถึงความสาคัญและหน้าท่ีของนักป่าไม้ว่า “…การป่าไม้
เปนวิชาอย่างหนึ่ง ปัญหาเกี่ยวกับวิชาการในป่าไม้ย่อมมีทุกป่า ปัญหา
เหล่าน้ันจะพาให้ป่าเจริญหรือเปนอันตรายไปก็ได้และต้องให้เจ้า
พนักงานป่าไม้ที่ชานาญในวิชาเปนผู้ตัดสิน…” (หจช.ร.5ม.16.1/27
เร่ือง มิสเตอร์ เอช. สะเลด รายงานเรื่องกรมป่าไม้ (26 มิ.ย. – 3 ธ.ค.
ร.ศ. 115)) หรือ “…กรมป่าไม้มีหน้าที่รับผิดชอบเก็บภาษีผลประโยชน์
แผ่นดินในการป่าไม้ และเจ้าพนักงานผู้ใหญ่ ซึ่งควรเรียกตาม
ภาษาอังกฤษว่า “คอนเซิฟเวเตอร์” คือเจ้ากรมป่าไม้…อย่างไรก็ดีพอ
จวนส้ินปีต้องให้เจ้ากรมป่าไม้ทางบประมาณ รายได้รายจ่ายยื่นเสมอ
ทุกปี…” (หจช.ร.5ม.16.1/27 เร่ือง มิสเตอร์ เอช. สะเลด รายงานเร่ือง
กรมป่าไม้ (26 ม.ิ ย. – 3 ธ.ค. ร.ศ. 115))

ขณะเดียวกัน นักป่าไม้คือผู้ใช้ กฎหมายป่าไม้ ซ่ึงมีลักษณะล้อ
กับพฤติกรรมของนักป่าไม้ คือ เน้นการจัดการป่าไม้ที่คานึงถึงผลผลิต
ในทางเศรษฐกิจและช่วยรัฐยึดทรัพยากรป่าไม้ในแบบรวมศูนย์ ในระยะแรก
หลังการต้ังกรมป่าไม้ รัฐเริ่มเก็บค่าตอไม้ ค่าภาษีไม้ และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ

14

70 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

15

จากผู้รับทาสัมปทานผ่านการออกพระราชบัญญัติการเก็บภาษีไม้ต่าง ๆ
ดังในปี 2439-2453 มีรายได้จากป่าไมอ้ ยู่ราว ๆ 3-6 ลา้ นบาท (ไศลรตั น์
ดลอารมณ์, 2528, น. 106) ต่อมาเมอื่ รัฐสยามมีโครงการสัมปทานไมส้ ัก
พ.ศ. 2455-2470 ประกอบด้วย ป่าแม่แฮค จังหวัดแพร่ พ.ศ. 2455
ป่าแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2456, พ.ศ. 2458 ป่าแม่สลิด แม่ระกา
จังหวัดตาก พ.ศ. 2465 และป่าแม่ต้า เมืองลอง จงั หวัดแพร่ พ.ศ. 2470
(ชมัยโฉม สุนทรสวัสดิ์, 2521, น. 40,49) พบว่า รายรับจากป่าไม้เพิ่มขึ้น
เป็นลาดับจาก 6 ล้านบาท ขึ้นมาเป็น 13 ล้านบาท ภายในระยะเวลา
15 ปี (ไศลรัตน์ ดลอารมณ์, 2528, น. 126) ดังตารางข้างตน้

ตารางแสดงรายรับของรัฐบาลก่อนและหลังการรับสมั ปทาน
(พ.ศ. 2439-2473)3

รายรับของรัฐบาลกอ่ นการรับ รายรับของรฐั บาลหลงั การรับ
สมั ปทาน สมั ปทาน

พ.ศ รายรบั (บาท) พ.ศ. รายรับ (บาท)
2439-2443 3,430,950
2444-2448 6,340,755 2454-2458 6,559,180
2449-2453 6,960,915
2459-2463 8,953,790

2464-2468 9,633,790

2469-2473 13,140,183

33 ปปา่่าไไมม้ใ้ในนปปรระะเเททศศไไททยย,, มม..ปป..ปป..,, นน.. 9977 ออา้า้ งงถถึงึงใในน ไไศศลลรรตััตนน์์ ดดลลออาารรมมณณ,์์, พพัฒัฒนนาาขขอองง
กกาารรทท�าำปปา่ ่าไมไมส้ ้สกั ัใกนใปนรปะรเทะศเทไทศยไทพย.ศพ. 2.ศ43.294-23590-235ว0ทิ 3ยวาินทพิยนานธป์ิพรนญิ ธญ์ปารอิญกั ญษราศอาักสษตรร์
ศมาหสาตบรณั ม์ ฑหติาบสณัาขฑาติวชิ สาาปขราะววิชตั าศิ ปารสะตวรตั เ์ อิศเาชสยี ตตระ์เวอนั เชอียอตกะเฉวยีันงอใอตก้ มเหฉียาวงทิใตย้ ามลหยั าศวลิ ทิ ปยาากลรัย,
ศ25ลิ 2ป8า,กนร,. 2152268, น. 126

15 71

การรวมศูนยด์ ้านทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

16

ขณะเดียวกัน ราษฎรท้องถิ่นกลับถูกกีดกันในการเข้าถึงแหล่ง
ทรัพยากรป่าไม้จากผลกระทบของข้อกฎหมายป่าไม้ และพ้ืนท่ีป่าไม้
ส่วนใหญ่ถูกบริษัททาไม้เข้ายึดทาสัมปทานไม้สัก ดังกรณีตัวอย่างเช่น
ครูบาอภิชัยขาวปีถูกจับสึกเป็นคร้ังที่ 2 ในปี พ.ศ. 2474 เพราะผิด
ระเบียบคณะสงฆ์ โดยการละเมิดเข้าไปตัดไม้ในป่าแถบแม่ระมาด
เพื่อนาไปสร้างอุโบสถ และวิหารให้แก่พุทธศาสนิกชนชาวกะเหรี่ยง
ในถ่ินทุรกันดาร โดยไม่ทราบมาก่อนว่าป่าไม้บริเวณน้ันเป็นเขตสัมปทาน
ไม้สักของบริษัทต่างชาติแล้ว จึงถูกคาดโทษห้ามกลับไปบวชและห้าม
ตัดไม้อีก อีกทั้งเป็นช่วงที่ครูบาอภิชัยขาวปีกาลังช่วยครูบาศรีวิชัย
ก่อสร้างวัดท่ัวล้านนา ส่งผลให้ไม้ท่ีครูบาทั้งสองนามาใช้สร้างวิหาร
ไม่สามารถตัดไม้สักจากป่าใกล้ ๆ วัดแต่ละแห่งได้อีกต่อไป (เพ็ญสุภา
สขุ คตะ, 2562) ดังนั้น การเติบโตของกิจการไม้สักท่ีรัฐส่งเสริมกลับมิได้
สร้างผลประโยชน์แก่ราษฎรท้องถิ่นแม้แต่น้อย แต่กลับเป็นบริษัท
ต่างชาตแิ ละเจา้ นายท้องถ่ินที่ยงั คงได้รับประโยชนจ์ ากการทาไม้

สถานะท่ีเปล่ียนไปของบรษิ ทั คา้ ไม้ต่างชาตแิ ละคนท้องถน่ิ ในการ
เข้าถึงทรพั ยากรปา่ ไม้

หลังจากสยามผนวกล้านนา ในปี พ.ศ. 2442 และยึดกิจการ
ป่าไม้ล้านนาโดยสมบูรณ์ ในปีถัดมา พร้อมทั้งใช้วิทยาศาสตร์การป่าไม้
พบว่า สถานะของบริษัทค้าไม้ต่างชาติและท้องถ่ินเปล่ียนไป คนใน
ท้องถ่ินในท่ีน้ีหมายถึง เจ้านาย และราษฎรในท้องถ่ินล้านนาที่ได้รับ
ผลกระทบโดยตรง

16

72 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

17

(1) สถานะของบริษัทค้าไม้ต่างชาติ โดยเฉพาะบริษัททาไม้
ชาวอังกฤษ พบว่า ผูกขาดการทาสัมปทานไม้สักมากถึงร้อยละ 80 ของ
บริษัททาไมท้ ี่เขา้ มาทาสัมปทานไม้สักในลา้ นนา (ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ,
2522, น. 10 อ้างถึงใน ไศลรัตน์ ดลอารมณ์, 2528, น. 80) หลักการ
เพิ่มมูลค่าให้กับป่า คือ การทาให้ปา่ น้ันสร้างผลกาไร และรายได้เพิ่มข้ึน
ด้วยการส่งเสริมให้นายทุนและพ่อค้าป่าไม้ เข้ามารับทาสัมปทาน
โดยเฉพาะบริษัททุนขนาดใหญ่ ป่าสักในพ้ืนที่ใดมีความอุดมสมบูรณ์ก็
จะยิ่งมีการแข่งขันกันเพื่อขอรับทาสัมปทานไม้สักมากขึ้น ดังจะเห็นได้
จากภาพการทาสัมปทานไม้สักในช่วงทศวรรษ 2440-2450 ที่ทุกพ้ืนท่ี
ของป่าสักเต็มไปด้วยการเข้าทาสัมปทานไม้สักของบริษัทต่างชาติเป็น
จานวนมาก โดยเฉพาะบริษัทที่มีทุนทรัพย์มาก ได้แก่ บริษัทบอมเบย์
เบอรม์ า มีทุน 10 ล้านบาท บริษัทบอร์เนียว 5 ลา้ นบาท บริษัทแองโกล
สยาม 5 ล้านบาท และบริษัทหลุยส์ ทีเลียวโนเวนส์ 1 ล้านบาท
(ไศลรัตน์ ดลอารมณ์, 2528, น. 101) บริษัทเหล่าน้ี มีอิทธิพลสูงสุดใน
เขตของการทาสัมปทานไม้สัก ดังน้ัน การท่ีบริษัททาไม้ยุโรปซ่ึงเป็นทุน
ใหญ่อย่างบริษัทอังกฤษเข้ามาผูกขาดการทาสัมปทานไม้สักในล้านนา
ผลรายได้และกาไรจึงกระจุกอยู่ท่ีบริษัทเหล่าน้ีเป็นจานวนมหาศาล
ขณะเดยี วกัน รฐั สยามกม็ ีรายไดจ้ ากป่าไมเ้ พมิ่ มากขึน้ เชน่ กัน

17 73

การรวมศูนยด์ า้ นทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

18

(2) สถานะของเจ้านายท้องถิ่น ด้วยทุนขนาดเล็กส่วนใหญ่ผัน
ตัวมาเป็นนายทุนขนาดเล็กและรับทาป่าไม้ต่อ เนื่องจากสยามอนุญาต
ให้บรรดาเจ้านายและบริษัททาไม้ได้สิทธิในการทาไม้ภายใต้ข้อบังคับ
ของกรมป่าไม้ เจ้านายท้องถิ่นท่ียังคงทาป่าไม้ต่อด้วยหลายสาเหตุ
ทั้งแรงบีบคั้นทางเศรษฐกิจ ความคุ้นชินกับกิจการป่าไม้ อย่างไรก็ตาม
หากเจ้านายองค์ใดทาป่าไม้ตามข้อบังคับจะได้รับการอุปถัมภ์ต่อ
เช่น เจ้าราชวงศ์และเจ้าประพันธ์พงษ์ ได้กรรมสิทธ์ิทาป่าไม้ที่ตาบล
ห้วยแม่แตะและห้วยโก่โก๊ะ แขวงเมืองยวม ตั้งแต่ พ.ศ. 2456-2462
และรัฐได้ต่อสัญญาให้อีกจนถึง พ.ศ. 2468 เน่ืองจากทาป่าไม้เรียบร้อย
และไม่มีหนี้สิน (หจช.ร.6.ม.14/12 เรื่อง เจ้าราชวงษ์ เจ้าประพันธ์
นายน้อยเมืองชื่นและนายจันทรังษี ขอเช่าทาป่าไม้ ต. ห้วยแม่แตะและ
ห้วยโก่โก๊ะ แขวงเมืองยวม (16 พ.ค. พ.ศ.2456-27 พ.ค. พ.ศ.2462)
แต่หลายรายก็ไม่มีทุนทรัพย์ทาต่อและมีประสบการณ์ทาไม้ไม่เท่ากับ
บรษิ ทั ทุนใหญ่ จงึ สรา้ งหนี้สินจากการกู้ยมื เงินบริษัทตา่ งชาติเป็นจานวนมาก
(เน้ืออ่อน ขรัวทองเขียว, 2560, น. 240-241) และโดนยึดสัมปทานในท่ีสุด

(3) สถานะของราษฎรในท้องถิ่น การที่รัฐสยามได้หันไป
จดั ระบบการเก็บภาษีค่าแรงแทนการเกณฑ์แรงงาน และการเสยี ภาษียัง
จะช่วยกระตุ้นให้ราษฎรในล้านนาเข้ารับจ้างทางานแทนแรงงานขมุ
หลวงพระบางที่ผูกขาดตลาดแรงงานของล้านนามานาน ปรากฏว่า
นอกจากราษฎรจะไม่ได้เสรีภาพเป็นแรงงานอิสระ รัฐยังคงเรียกเกณฑ์

18

74 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

19

แรงงานในกรณีต่าง ๆ เช่น การสร้างถนน เส้นทางบกทางน้า สาธารณูปโภค
ต่าง ๆ และท่ีสาคัญ การดาเนินชีวิตของราษฎรท้องถ่ินในพ้ืนท่ีห่างไกล
กลับไม่สอดรับกับการเปล่ียนมาเป็นแรงงานรับจ้าง (รัตนาพร เศรษฐกุล,
2552, น. 279-281) ทาให้แรงงานชาวขมุยังคงผูกขาดตลาดแรงงาน
ล้านนา ขณะที่ พวกเงี้ยว พม่า และไทใหญ่ ส่วนมากเป็นคนในบังคับ
ของอังกฤษมีหน้าท่ีคุมแรงงานขมุอีกทีและต่อมาคนกลุ่มนี้ได้ทาการ
สะสมทุน และกลายเป็นนายทุนรับทาสัมปทานเอง โดยเฉพาะช่วงหลัง
ทศวรรษ 2480 เป็นตน้ ไป

ดังนั้น ต้ังแต่สยามยึดกิจการป่าไม้ในล้านนา พ.ศ. 2443
เป็นต้นมา การบริหาร และการจัดกิจการป่าไม้ถูกผูกขาดโดยรัฐสยาม
และชาวอังกฤษ กิจการไม้สักและป่าไม้ถูกทาให้กลายเป็นแหล่งสร้าง
รายได้ให้แก่สยาม และอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบภายใต้การจัดการของ
วิทยาศาสตร์การป่าไม้ ขณะที่ เจ้านายล้านนาและราษฎรในท้องถ่ิน
ได้รับผลกระทบจากการถูกเปล่ียนสถานภาพ กล่าวคือ เจ้านายถูกลด
สถานภาพเหลือเพียงข้าราชการรับเงินเดอื นจากสยาม และบางส่วนต้อง
ดิน้ รนผนั ตัวมาเป็นนายทุนขนาดเล็กเข้ารับทาสมั ปทานป่าไม้หาเลี้ยงชีพ
และกลุ่มประสบปัญหามากท่ีสุด คือ ราษฎรในท้องถิ่น ท่ีต้องเสียภาษี
และถูกเกณฑ์แรงงาน

19 75

การรวมศูนยด์ า้ นทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

20

สรุป

(1) สยามในสภาวะก่ึงอาณานิคม ได้อาศัยอังกฤษอย่างน้อย
2 ด้าน คือ ด้านหนึ่ง เชิญผู้เช่ียวชาญชาวอังกฤษมาเป็นที่ปรึกษาด้าน
การจัดในกิจการป่าไม้ พร้อมท้ังยุติบทบาทเจ้านายในล้านนา ขณะเดียวกัน
อีกด้านหน่ึง รัฐสยาม (รวมถึงบริษัทค้าไม้ของชาติตะวันตก โดยเฉพาะ
อังกฤษ) สามารถสร้างรายได้มหาศาล จากการนาแนวคิดวิทยาศาสตร์
การปา่ ไมม้ าใชเ้ พ่อื หาผลกาไรสงู สดุ จากทรัพยากรธรรมชาติ

(2) แม้จะได้จัดการปกครองท้องถิ่นในทุก ๆ ระดับ เร่ิมตั้งแต่
พ.ศ. 2440 เป็นต้นมา ระบบการรวมศูนย์อานาจมากเกินไปของรัฐไทย
ที่ยังคงดารงอย่ยู าวนาน ทา่ มกลางการต่อสู้ทางอุดมการณ์ในยุคสงคราม
เย็นและการต่อส้ทู ี่ยงั ไมย่ ุติระหว่างระบอบเก่าและระบอบประชาธิปไตย
สิ่งที่ยงั คงดารงอยู่ในระยะเวลาต่อมา กค็ ือ อานาจและระบบการบริหาร
จัดการทรัพยากรป่าไม้ก็ยังคงอยู่ในการควบคุมของระบบราชการ
ส่วนการปกครองท้องถิ่นและการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่นใน
การบรหิ ารจัดการทรัพยากรในทอ้ งถน่ิ กลับมนี ้อยมาก

20

76 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

บรรณานุกรม

เอกสารหอจดหมายเหตุ
หจช.ร.5ม.16.1/13 เรอ่ื ง ประกาศพระราชบัญญตั ิ ขอ้ บังคบั ต่าง ๆ เรือ่ ง
ไม้สกั ดวงตราลบเลือน (1 พ.ค ร.ศ.115-6 ม.ค. ร.ศ.119)
หจช.ร.5ม.16.1/27 เรื่อง มิสเตอร์ เอช. สะเลด รายงานเร่อื งกรมป่าไม้
(26 มิ.ย. - 3 ธ.ค. 115)
หจช.ร.5ม.16.3/5 เร่ือง เรื่องคิดจะเก็บค่าตอไม้ในแขวงเชียงใหม่และ
พระเจ้าเชียงใหม่มีหนังสือกราบบังคมทูลยังไม่ยอมตกลงใน
เรอ่ื งนี้ (19 ธ.ค. ร.ศ. 115 - 9 เม.ย. ร.ศ. 116)
หจช.ร.6.ม.14/12 เรือ่ ง เจา้ ราชวงษ์ เจา้ ประพันธ์พงษ์ นายน้อยเมอื งชนื่
และนายจนั ทรงั ษขี อเชา่ ท�ำปา่ ไม้ ต. ห้วยแมแ่ ตะและหว้ ยโกโ่ กะ๊
แขวงเมอื งยวม (16 พ.ค. พ.ศ. 2456 - 27 พ.ค. พ.ศ. 2462)
หนังสอื
กฤษฎา บุญชัย. (2561). สภาวะหลังอาณานิคมท่ีไม่หลุดพ้นของการ
ป่าไม้ไทย. ค้นจาก https://thaipublica.org/2019/07/
kritsada-boonchai-06/

77การรวมศูนยด์ า้ นทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

เจริญ ตนั มหาพราน. (2554). 3 เจา้ สัวปางไม้. กรุงเทพฯ: ปราชญ์.
ชมัยโฉม สุนทรสวัสดิ์. (2521). การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับ
กจิ การป่าไมท้ างภาคเหนอื ของไทย ต้งั แต่ พ.ศ. 2439-2475.
วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
ประวัตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธงชยั วนิ ิจจะกูล. (2559). โฉมหนา้ ราชาชาตินิยม. นนทบุร:ี ฟา้ เดยี วกัน.
เนอื้ ออ่ น ขรวั ทองเขียว. (2553). รัฐสยามกบั ลา้ นนา พ.ศ. 2417-247.
วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. (2560). เปิดแผนยึดล้านนา (พิมพ์คร้ังที่ 2).
กรงุ เทพฯ: มตชิ น.
ปน่ิ แกว้ เหลอื งอร่ามศรี. (2548). ความจริง วฒั นธรรม และความเชอ่ื :
การเมืองและการผลิตความรู้ป่าไม้ในไทย. กรุงเทพฯ:
ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสิรินธร.
เพญ็ สภุ า สขุ คตะ. (2562). เมอื่ พระสงฆถ์ กู จบั สกึ กรณตี ดั ไมไ้ ปสรา้ งวดั
กรณีครูบาอภชิ ยั ขาวปี. มตชิ นสุดสัปดาห์ (20 - 26 ธนั วาคม).
ค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/
article_259409

78 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

รัตนาพร เศรษฐกุล. (2552). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจวัฒนธรรม
แอง่ เชยี งใหม่-ลำ� พนู . เชยี งใหม่: ซลิ คเ์ วอร์ม.
ไศลรตั น์ ดลอารมณ.์ (2528). พฒั นาของการทำ� ปา่ ไมส้ กั ในประเทศไทย
พ.ศ.2439-2503. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาอกั ษรศาสตร์ มหาบณั ฑติ
สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัย
ศิลปากร.
สัจฉิทานันท สหาย. (2559). ยุวกษัตริย์ รัชกาลที่ 5 เสด็จอินเดีย.
(แปลโดย กัณฐิกา ศรีอดุ ม). กรงุ เทพฯ: มติชน.
สรัสวดี อ๋องสกุล. (2561). ประวัติศาสตร์ล้านนา: ฉบับสมบูรณ์
(พิมพค์ รัง้ ท่ี 12). กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์.
สุเนตร ชุตินธรานนท์. (2547). รัชกาลที่ 5 กับอังกฤษและพม่า ร. 5
เสดจ็ พมา่ พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1872). กรุงเทพฯ: มลู นธิ โิ ครงการ
ตำ� ราสงั คมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์.
ส�ำนักงานป่าไม้จังหวัดเชียงใหม่. (2439). ส�ำนักงานป่าไม้จังหวัด
เชยี งใหมเ่ มือ่ 100 ปี กรมป่าไม.้ เชียงใหม:่ สำ� นักงาน.
อำ� นวย คอวนชิ . (2528). วนศาสตรช์ ุมชน. กรงุ เทพฯ: ลิฟวงิ่ .

79การรวมศูนยด์ ้านทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นสมยั รชั กาลที่ 5

ฮอลล์, ดี.จี.อี. (2557). ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้:
สวุ รรณภูม-ิ อุษาคเนยภ์ าคพิสดาร เล่มที่ 2, แปลโดย ชาญวทิ ย์
เกษตรศิริ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และ
มนษุ ยศาสตร์.

80 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

1

การเมอื งการปกครองในจังหวัดชายแดนภาคใต้
และการกระจายอานาจในรปู แบบใหม่

ศรีสมภพ จิตร์ภริ มย์ศรี1

ความสาคัญของปญั หา

บทความน้ีจะพูดถึงปัญหาใจกลางของการเมืองการปกครอง
ในจังหวัดชายแดนใต้ก็คือ ปฏิสัมพันธ์ของกลุ่ม และเครือข่ายทางสังคม
ผ่านกลไกการเมืองของชุมชนเพ่ือสร้าง “อานาจการควบคุมทางสังคม”
สิ่งท่ีพึงปรารถนาคือ โครงสร้างอานาจ และการใช้อานาจในระดับ
ท้องถิ่นท่ีมีความชอบธรรมซึ่งต้ังอยู่บนฐานคติที่ว่าในสังคมทุกแห่ง
จะต้องมีอานาจการควบคุมทางสังคมที่ได้รับการยอมรับเช่ือถือ อานาจ
ถูกนามาใช้ประโยชน์ในกระบวนการแยง่ ชิงทรัพยากรของกลุ่มคนตา่ ง ๆ
ในกิจกรรมทางการเมือง ในการพัฒนาท้องถิ่นและในเรื่องอ่ืน ๆ ที่มี
ความสาคัญต่อวิถีชีวิตของชุมชน แบบแผนหรือลักษณะของการใช้
อานาจจะเกี่ยวข้องกับตัวแปรสาคัญสองสามเรื่องในประเด็นเก่ียวกับ

11 ผผศศ..ดดรร.. ศศรรีสสี มมภภพพ จจิติตรร์ภภ์ ริริ มมยย์ศศ์ รรีี ออาาจจาารรยย์ปป์ รระะจจา�สำสถถาานนววจิ จิ ัยัยคคววาามมขขัดัดแแยย้งง้ แแลละะความ
คหวลามกหลายกทหาลงาวยัฒทนาธงรวรัฒมภนาธครใรตม้ สภถาาคบใันตส้ ันสตถิศาบึกษันาสมันหตาิศวึกทิ ษยาลมัยหสางวขิทลยานาลคัยรนิ ทร์
สแงลขะลผาู้อนาคนรวนิยทกรา์รแดลพี ะเผซ้อูาท�ำนว์ อวยชการดพี เซาท์วอช

81การเมอื งการปกครองในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

2

การเมืองการปกครอง คือ รูปแบบอานาจรัฐ โครงสร้างอานาจของชน
ช้นั นาในทอ้ งถิน่ และกระบวนการประชาธปิ ไตย2

ในการสังเคราะห์ตัวแบบการจัดการดังกล่าว ความสานึกใน
ภมู หิ ลังทางประวัติศาสตร์ของท้องถิน่ เป็นอีกตวั แปรหน่งึ ทมี่ ีความสาคัญ
ผลท่ีตามมาจากอทิ ธพิ ลของสานึกในบรบิ ทดังกลา่ วคือ ไดเ้ กิดพฒั นาการ
ชุดความคิดและบทสนทนา (Narratives) จนกลายเป็น “ความรู้สึก
อ่อนไหวในทางประวัติศาสตร์” และ “อัตลักษณ์” ของท้องถิ่น ซ่ึงกลายเป็น
ตัวการผลักดันกระบวนการทางการเมืองต่าง ๆ ท่ีก่อรูปข้ึนมา รวมทั้ง
ความขัดแย้งที่กลายเป็นการต่อสู้ทางเมือง และรุนแรงต่าง ๆ อันเป็น
เอกลักษณ์ของพื้นที่แห่งนี้ พลวัตของเหตุการณ์ได้พัฒนามาจนถึงจุด
ท่ีวา่ สานึกในอัตลักษณ์ทางชาติพันธ์ และศาสนาในพื้นที่ท่ีมีประวตั ิศาสตร์

ทสก2กสก2 รแาาราาแ้าร้รงารนนกงแงแเววมเเายยคคคคือร่ง่งิดรริดเชงชมือือเเองิริงรอืขขอื่อยอ่ือง่า่าาง่า�องยยนำโงนโยคททไาคาา่รมาจารงจงง่งเขงไสทสขสอสมรัง่อาังงรเ่้าคคทเงช้างทมชม่างนอียอเทนทช�ทำมาั้งนชั้งั้นยีนกออ้ันานมัยนายจนากจ่า่ าใซ�นันง งำ่ึงซเเใ(แ(ปเPปนึ่งPปต็นoเ็นแoน็ป่ลwทตทwผะ็น่ลาeาลeสผงะงrมrังกกลสคาSSาามังจttมรรคาrrาแแuuมจกปลลccากะปัญttะกาuuไญัไกหรมrrมeeกาหา่เ่เป)ร)ปรอากะ็นอม็นามจรน�ทอทอำาะนงาางายจกาจงกงอาจกากยาายยรารัางนเอรังเเรมมกเาซ�ซกำือจือ่ียึ่งน่ึงี่ยงทเงวเาควเคเกรปจปกรรัพับท็ืนอ็นับอื ยเขรเเเขรรรารัพ่า่า่ือ่ือื่กอ่ือยยยงงงรงนนาขกกขที้จกอี้จาาอาะรระงรงง
เเปป็็นนเเคครร่ื่ือองงมมืืออทท่ีี่ทท�าำใใหห้้ออ�าำนนาาจจกกรระะจจุุกกตตััววแแลละะกกลลาายยเเปป็น็นรรูปูปขขอองงสสถถาาบบันัน ดดูแูแนนววคคิดิด
โครงสรรา้ ้างงออ�ำานนาาจจในในNeNlesolsnonWW. .PPoolslbsby,y,CCoommmmuunnitiytyPPoowweerraanndd PPoolliittiiccaall
Theory (Second ed.). New Haven, CT: Yale University Press, 1980

82 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

3

ทางการเมืองเฉพาะแห่งน้ี3 เป็นตัวการที่สาคัญในการผลักดันความ
ขัดแย้ง คาถามที่ตามมาก็คือถ้าหากการจัดการพัฒนา การสร้างสถาบัน
และกระบวนการการเมืองในท้องถิ่นไม่ว่าจะเป็นไปในลักษณะใดก็ตาม
สามารถแก้ปัญหา “ความรู้สึก” ในอัตลักษณ์ดังกล่าวได้ มันก็ควรจะทา
ให้ระบบการพัฒนามีความสามารถในการแก้ปัญหาอ่ืนได้เช่นเดียวกัน
เพราะสิ่งน้ีจะทาให้ระบบสามารถท่ีจะเป็นแกนกลางในกระบวนการ
จัดสรรแจกแจงอานาจ และส่ิงท่ีมีคุณค่าในสังคม รวมทั้งจัดการกับ
ความขัดแย้ง ความรนุ แรง และสนั ตภิ าพทีม่ คี วามถูกต้อง และชอบธรรม4

3ชดุ ของค�ำอธบิ ายทางประวตั ศิ าสตรถ์ กู น�ำมาใชใ้ นค�ำพดู ทางการเมอื งวา่ ดว้ ย “กบฏ
แแสป““3 บอบพกรชงงะ่่งบุดลดแแวัฏขงยา้ัตยแอนแกกิศหงดใบดานค่งนิส่งินสปาแแตแว่อดรยรดนธะน์”กนขิบวใด”อนัตาซินงภยิ่ึงศซวแเาทาาป่ึงคดสทาถ็นในงตูกกตวป”ไอร้ราทรร์้”าทซมยะงกึ่ง,โซรวดโรถฐััึ่ตงครยูกเิดศรมปรองใูาัฐข็นนก้าสไอาวงทตธงรโาเยรปตดนท์แถลรยศกลูกาะรอะรดนชัฐกราวาาไภชมิาชมทรารขนายมตณอใใแห่อนชส์งลสา้ใดปวุ วะนู้เรินรพทิกรคะแ่ือยณาาชดาอรพ,ลานิสตคูดชยัปร่อวชทนภัตาสาาใามตู้เวนงพพเาบกปดนหื่อา้ าน็ินีนรอรมืคอแิเสชา�มดำดุรขอ“ือนภอ3พธงปงาิบลวจทพัต่าางังั ฤตหหยแดษทหาว้วรฎดนัืยอั้่งงีี
ชคายอแธดิบนาภยาทคั้งใสตอ้ โงคดร้งากนาใรนเอสเ่วชนยี ขตอะวงวนั าอทอกรเฉรยีมงรใัฐตศ้ ดกึ ูใษนาธคเณนะศศอลิ ปาภศราสณต์สรุว์ มรหราณวท,ิ ยคาวลายัม
ธเปรร็นมมศาาขสอตงรทแ์ ฤละษคฎณแี ะบท่งแ�ำงยากนดวนิารแะดทนาใงนสภงั คามคใสตถไ้าทบยนั ,วจิ โยัคสรงั คกมารจตฬุ ลาาลดงกวริชณาม์ หาวทิ ยาลยัย
กใมคชนาหาณสรวาจะ่วบวนัดศทิ้ากวินลยาาปาทรชลศุกด“ยั ารคธสรรว3มตรากจมรม์ัางศจมหรารตหวสงิ อ่”ัดตาส:ชรวปู้ข,์ิาทอยัต2ยงแ5ตาท5ดาลอ้น1นัย.งีใภธนถาร่ินรครอใมดบตใูศก้นางึ่ โศสคชตตรัยวงรวรก์แฒั ราลษนระ,เ์ อคกสเณรถชงุาียะเอทตทาพะนาวมงนั ันหาทอนา,์ อนวคกคาวเรรฉา:ะมียสทรง�ำาุนในตงแกั ส้ศรพัึงกงมิกคษพับมา์
4สถแานบวนั ควิดิจเยั กส่างั ทค่ีนมักจรฬุ ัฐาศลางสกตรรณ์ม์มักหกาลว่าทิ วยถาึงลใยั นเใรน่ือสง่วรนะวบาบทกรารมเมกือารงตเป่อ็นส้ขูแอนงวทค้อิดงเถช่ินง
พดูใฤนตกิ ชรัยรวมัฒศานส์ ตสรถท์ าน่ีอกัารนฐั ันศทา์ส, ตครวอ์าเมมรรุนกิ แนั รองยกา่ ับงเกชนา่ รDจัดavกiาdรE“aคstวoาnมจอรธิงบ”า:ยปในัตตDาaนvีใidน
เEเ4รชปอaอแื่น็sบมนtแกoโวนยงึ่nควงศ,กคิดตนัAดิเวกกเรกFนั่ารา่rกทษaแถ็ี่นmต,กู กั่กกนeารร�wรำุงัฐมมเoศาทอใrาพชkงสใป้มนfตญัoหอรrหากี์มนคาPักอวคoกายรlมลาi่:tหง่iาสcเมวปาaาถนน็lยึงักรใAในะพnนบกมิaเาบรพlรyท่ือจ์มsกี่ดังหisรรก,าะะาวบPรบทิคrวบeยวนnาากกมลtาาiขยัcรรดัeภธเแม-ราHยรือยง้มaใงแนlศเลlปม,าะค็สีน1สวตร9แาา้ร6นงม์,5สวเ2.กนัค5ย่ีแติด5วมภิ เ1พจ้าช.พนัะิง
ดพใู ฤนติJกoรhรnมศPาaสuตl รL์ทeี่dนeักrรaัฐcศh,าสBตuiรld์อiเnมgริกPัeนaอcยe่า:งSเuชs่นtaDibaavbidleERasetcoonnsอtธruิบcาtยioใnน
iDnaDvidvidEeadstoSonc, iAetFiersa,mWeawsohrinkgftoornPDo.lCit.i:cUalnAitendalySstiast,ePsreInnstictuet-eHaolfl,P1e9a6c5e.
Pจแาrมeก้จsปะsร,เะปpเ็นดpแน็. นป5ว5ัญค-ห6ิด1าเขกแ้า่าลมแะไตป่ก7ส3าู่รร-ะ8มบ5อบงโแดปลยัญะเมฉหอพางาอปะยญัใ่านหงกเาปรเอป็นบน็รกะอาบงรคบว์รทเิ วค่ีกมรราะะบหด์วน้วยกกาารรภมาอยงใเนรม่ิมี

83การเมอื งการปกครองในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้


Click to View FlipBook Version