The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 1 ประวัติศาสตร์กับการเมืองการปกครองท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papichaya, 2022-02-09 03:38:34

125 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ.2440-2565 เล่มที่ 1

เล่มที่ 1 ประวัติศาสตร์กับการเมืองการปกครองท้องถิ่น

14

และ 2 ปีหลังจำกน้ัน ก็ได้มีกำรตรำพระรำชบัญญัติจัดกำรสุขำภิบำล
ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) กำหนดให้มีกำรจัดตั้งสุขำภิบำลขึ้นในหัวเมือง
ทั่วประเทศ

พระรำชบัญญัติจัดกำรสุขำภิบำล ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) แบ่ง
สุขำภิบำลออกเป็น 2 ประเภท คือ สุขำภิบำลสำหรับหัวเมือง จัดต้ังใน
เมืองที่มีควำมเจริญมำก และสุขำภิบำลสำหรับตำบล จัดต้ังในตำบลท่ีมี
ประชำกรหนำแน่น กำรจัดตั้งสุขำภิบำลเป็นหน้ำท่ีของข้ำห ลวง
เทศำภิบำล ปรึกษำหำรือกับกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน ผู้เป็นหัวหน้ำรำษฎร
ในท้องที่น้ัน ๆ เม่ือเห็นสมควรให้มีกำรจัดตั้งสุขำภิบำลในท้องที่ใด
ให้ข้ำหลวงเทศำภิบำลมีใบออกกรำบถวำยบังคมทูล ขอพระรำชทำน
พระบรมรำชำนุญำตจัดกำรสุขำภิบำล4 ในท้องท่ีนั้น (ชูวงศ์ ฉำยะบุตร,
2539 : 88) สุขำภิบำลเมืองมีกรรมกำร 11 คน สุขำภิบำลตำบลมี
กรรมกำร 5 คน คณะกรรมกำรทั้งหมดล้วนเป็นข้ำรำชกำรส่วนภูมิภำค
ได้แก่ ผวู้ ำ่ รำชกำรเมอื ง ปลัดเมือง นำยอำเภอ ครู กำนนั และผใู้ หญบ่ ำ้ น
คณะกรรมกำรสุขำภบิ ำลทำหน้ำทีท่ ั้งดำ้ นนิตบิ ัญญัติและบริหำร ในสมัย
รัชกำลท่ี 5 ได้มีกำรจัดตั้งสุขำภิบำลเมืองกระจำยออกไปตำมหัวเมืองต่ำง ๆ
จำนวน 35 แห่ง (ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2550 : 90) ต่อมำกระทรวงมหำดไทย
ได้มอบหมำยให้รับผิดชอบด้ำนอนำมัยและกำรศึกษำข้ันต้นของรำษฎร

44 สุขำาภภิบิบำาลลเมเมือืองแงแลละสะุขสำุขภาิบภำิบลาตลำตบ�ลำบมลีอมำนีอำ�ำจนหานจ้ำหทน่ีด้าังทน่ีด้ รังักนษ้ี ำรคักวษำามคสวะาอมำสดใะนอทา้อดงในท่ี
กทำอ้ รงปท้อี่ งกกาันรปแลอ้ ะงกรันกษแลำคะรวกัำษมเาจค็บวไาขม้ใเนจบ็ทไ้อขงใ้ ทนี่ทกอ้ ำงรทบ่ี ำกราุงรบัก�ษำรำงุ ทรกำั งษไาปทมาำงใไนปทม้อาใงนทที่ แอ้ ลงทะ่ี
กแำลระศกึกาษรำศชึกั้นษตา้นชข้นัอตงรน้ ำขษอฎงรราษฎร

134 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

15

จึงได้คิดแยกสุขำภิบำลเมือง และสุขำภิบำลตำบล เป็น “กรมกำรตำบล”
และเมื่อให้ข้ำหลวงเทศำภิบำลทดลองนำไปจัด ปรำกฏว่ำมีผลดีใน
กำรศกึ ษำของรำษฎร จงึ ไดแ้ ก้ไขพระรำชบญั ญตั ิใหมเ่ ม่ือ พ.ศ. 2458

ในสมัยต่อมำรูปแบบกำรปกครองท้องถ่ินมิได้เปลี่ยนแปลงไป
จำกเดิมมำกนัก แม้ในสมัยรัชกำลท่ี 6 จะมีกำรตั้งเมืองจำลอง
“ดุสิตธำนี” ก็ไม่อำจถือว่ำเป็นกำรปกครองส่วนท้องถิ่น5 ส่วนกำร

5 ในปี พ.ศ. 2461 ในหลวงรัชกาลที่ 6 ไดม้ ีพระราชประสงคใ์ ห้ประชาชนชาวไทย
ได้รู้จักการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย จึงได้ทรงจัดต้ังสภา
กขอปอสคทดจ5ปธตธแคบเดำำลร�ว�ย�ณ�ำอสุกใราีำำยำำนนนำละนำนหคงภะู่หติงวะธี”ีมมเมปนรนาชักธานกปนรผีอฐีอสีจโ�้ำยาารับคเ็นพ่ำาดบู้ำดงะ ปหมธนใสนรนอตยย.รอรตแิปนศ็นนุขเีาะำำในกัจหิำปก้.ลูหญำเจไภนา้สเดปษ่าาตภอา2น็้ขจทะำลิมบร็นยร4างำ้ำยิบจอจักกที่ าเตานหร6กคโหำรัดษ�าชำ�อล1ำทำิตนล�วยีำนนกชณำรนมิกบิดกน่ำแาี่เกใ้ำำกาเรรยอะนเคุมลบัุสททรปวำรจะยี จกงคะหสสิรตาด่ี่ใีบยรหลำ่กำเเลนชลำะดธแทูยัพอรก“ี่นวยอั้นธกวอปาโยีลศบควา่ยยำผอา้นงำนากบวขป่าณภู่รรรทใู้น์เแด“คกหีำอัชอณรดพำทใ่ี ะลรดปบะัญยก“ูาแงนื่ะรอจอนใชใสุสำศลทสล่แัพนสกตงัดปำลควติ่ทัลยขุ วยุงสข้กาธกคทรรนะุธกา์รอเยมำิรปณพาา่ีะขกาขภกราัยดัน6ตไภรื่อำ้โกน์ำะสยตลตบิแู าสรรยปไบำริผุขย”ี่อไาำดลาคากาศชรู้บดขามงชล้มทธบัภระึจกโนลอร้กจำมแีพโาด”ึงดิหกุษาง”ำยา์ขไกรลสีแูรยรรำขษำดชกณำอโะำละทิใมรใ้ส์ทนดีรนกจษสรหเขเงีกธะรจ์ขุขรทยำสวาะอฎตข้ีถยิงัาดสอชขำคนรศงตรจนกา้อืรกนงปขุสอเณสบัดรต้วอตกจำเกกั่วรงำตำ่อาานรัดนกะเระ็งบรรธป้ัชกงลเงกกาสน“เราาำอสภิ็นจรกใอธลำมครงษรคงภนกีสายคาร�ำศรณณอสรฎำำำมษสบงร์ใกรนำกึ ทิปาระะหำรชมำนมีใปมขภษานรชธ้ปรนัน้ยัำจซนีสอะจกิคบริใุ์ิงาจรเตผึ่ิทดังชนงรูญเหระขะหารเนอ่ัำกธใู้สำกทปชลชตยีนนหลธิถคภษมวาำ็กรนมุ้นำมิปือ้รักาิญบรนำาชพวัทอฐำีกไทคททษบำน่ำสต่แภกข่ีาำยรลรำ่ีขว�ชณยาอ“นนรบิลาสำ์”งารำยมอธทงรำำะบะนิะภวงุนทโสาจลนวจงขเกดกรไแิบคริทป่ีเยดนดัหทาท้ารกัยาลณรนธุสาน็กนียครยคคำษำรใิ์ะำิตลกาา้นไงำะนภณรปรคมาธดนชรทวทิาตบิเรำทะก้อรี่กำซ้ซำกี่พทภ”รำบนิ นู้จคา�จิ่ึงึ่งัพาลำร“ำื่ีออิับกคคุมงนเกรกรักนดยดำปกรบทีกคาอาใาาุษ์สสศุสอำำำน็นกลลจ�รรงิตินภยัิตำงรำริ
ครำวยาไดม้จตำกกลกำงรทเกุกบ็ คภรำ้ังษีในนเอขตกนจคารกำนภิบี้ ำนลคซร่ึงากภำิบรกาำลหยนังดมแลีระากยำไรดเป้จลาย่ี กนกแาปรลองออตั กรใำบภำอษนจี ุญะตา้อตง
ยเราียนกพปราะหชนมุ ะทวรยา้นนำคจร�ำเหพอื่นท่าำยคสวรุำามตแกลลงะทโรุกงคลรงั้ะคนรอกอจกีำกทนงั้ ้ี ยนงัคมรำีรภาบิยำไลดยจ้ ังามกีรกำยาไรดต้จ้งัำกกิจกำกราอรอทก่ี
ทใบ�ำอกน�ำุญไรำตเยชำ่นนพธำนหานคะารร้ำนโรจงำรหับนจ่ำย�ำสนรุ �ำำ ตแลละาโดรงเลปะ็นครต้นอีก(ทน้ังันยังทมวีรัฒำยนได์ บจ้ ำรกมกาำนรตนั ั้งทก์ิจ2ก5ำร5ท2่ีทำ:
3ก0ำไ)ร กเชา่นรจธัดนตำค้ังำร“ดโรุสงิตรับธาจนำนี”ำ นตล้ียำังดมีขเป้อ็นสตง้นสัย(นวัน่าททวรัฒงตน์้อบงรกมาำรนใันหท้ม์ ีก2า5ร5ป2 ก: ค30ร)อกงำตรนจเัดอตง้ัง
ข“ดอุสงริตาธษำนฎี”รหนร้ียอืังมไมีข่้อเพสงรสาัยะวภ่ำาทยรหงตล้องั จงกาำกรตใงั้หด้มสุีกติำรธปานกคแี รลอว้ งไตมนม่ เกีอางรขปองรระำชษมุ ฎครณหระือกไรมร่ เมพกราำระ
เภลำยยหรลวังมจถำงึกไตม้ังม่ ดรีุสาิตษธำฎนรีแอลา้วศไมยั ่มอีกยำใู่ รนปพรน้ืะชทุม่ี เคปณน็ ะแกตรเ่รพมยีกำงรเมเลอื ยงตรวกุ๊ มตถาึงจไม�ำล่มอีรำงษแฎลระอไำดศย้ ัยกอเยลู่ใกิน
ไพป้ืนใทนี่ ทเป่สี ็นดุ แตโ่เดพยียไงมเม่เกืองดิ ตผุ๊กลตกำรจะำลทอบงแทลีม่ ะนี ไดยั ้ยสก�ำเคลิกัญไตปอ่ในกทาีส่ รุดปโกดคยรไมอ่เงกทิด้อผงลถก่นิระทแบลทะ่ีมกนีาัยรสำรคา้ ญัง
รตา่อกฐำราปนกขคอรงอรงทะอ้บงอถบ่ินปแรละะชกาำรธสปิ รไ้ำตงรยำแกตฐ่อำนยขา่ องงใรดะบอบประชำธิปไตยแต่อยำ่ งใด

135การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

16

ปกครองท้องถ่ินในรูปแบบเทศบำลสมัยรัชกำลที่ 7 ทรงเห็นว่ำใน
อนำคตขำ้ งหน้ำประเทศไทย จะตอ้ งมกี ำรเปลยี่ นแปลงกำรปกครองจำก
ระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ (absolute monarchy) ไปเป็นระบอบ
ประชำธปิ ไตย (democracy) และกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยจะ
เป็นผลดีก็ต่อเม่ือได้มีกำรเตรียมตัวอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปในกำรเรียนรู้
ทดลอง โดยใช้กระบวนกำรเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ เพ่อื ให้เกิดควำมเข้ำใจเกีย่ วกับ
ระบอบประชำธิปไตยอย่ำงแท้จริง จึงได้มีกำรแต่งต้ัง “คณะกรรมกำรร่ำง
พระรำชบัญญัติเทศบำล” ข้ึนเพ่ือทำหน้ำที่จัดทำร่ำงพระรำชบัญญัติ
เทศบำล และคณะกรรมกำรชุดดังกล่ำวได้เสนอร่ำงพระรำชบัญญัติ
เทศบำลให้สภำเสนำบดีพิจำรณำ เมื่อวันที่ 19 มกรำคม พ.ศ. 2473
ซ่ึงสภำเสนำบดีมีมติให้ควำมเห็นชอบในหลักกำร และในวันที่ 2 กุมภำพันธ์
พ.ศ. 2473 สภำเสนำบดีได้มอบหมำยให้กรมร่ำงกฎหมำยพิจำรณำ
หลักกำรในร่ำงกฎหมำยดังกล่ำว แต่ก็ไม่มีกำรประกำศบังคับใช้
กฎหมำยฉบับดังกล่ำว จนเกิดเหตุกำรณ์ 24 มิถุนำยน พ.ศ. 2475
ขึ้นเสยี กอ่ น

นอกจำกน้ี ในปี พ.ศ. 2475 ในหลวงรัชกำลท่ี 7 ได้จัดต้ัง
“คณะกรรมกำรจดั กำรประชำภบิ ำล” (municipality) เพอ่ื ทำกำรศึกษำ
กำรดำเนินกิจกำรท้องถิ่นในประเทศต่ำง ๆ นำโดยท่ีปรึกษำชำวต่ำงประเทศ
ช่ือ นำย ริชำร์ด ดี. เครก (Richard D. Craig) ปรำกฏผลกำรศึกษำใน
สำระสำคัญ 5 ประกำร คือ หน่งึ ควรตงั้ กรมเทศบำลอยู่ในกระทรวงมหำดไทย
สอง กำรตรำข้อบัญญัติและกำรทำงบประมำณต้องได้รับอนุมัติจำก

136 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

17

รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย สาม ควรแบ่งเทศบำลออกเป็น
3 ชั้น โดยอำศัยหลักรำยได้และจำนวนรำษฎร และให้มีบทบัญญัติยก
ฐำนะหรือลดฐำนะของเทศบำลได้ เมื่อรำยได้และจำนวนรำษฎรใน
เทศบำลเพิ่มขึ้นหรือลดลง ส่ี ควรมีสมำชิกสภำเทศบำลท่ีไม่ได้เป็น
ขำ้ รำชกำร และเป็นผู้ท่ีมำจำกกำรเลือกตั้ง โดยกำหนดคณุ สมบตั ขิ องผู้ท่ี
มสี ทิ ธอิ อกเสียงเลือกต้งั ให้ต้องเป็นผู้ท่ีอยู่ในเขตเทศบำลไม่น้อยกว่ำ 1 ปี
และเสียภำษีถึงจำนวนที่กำหนด ห้า ให้สภำเทศบำลมีผู้ว่ำรำชกำร
จังหวัดเป็นประธำน ปลัดจังหวัด สำธำรณสุขจังหวัด นำยอำเภอ กำนัน
และสมำชิกอีก 4 คน ที่มำจำกกำรเลือกตั้งเป็นกรรมกำร (นันทวัฒน์
บรมำนนั ท์, 2552 : 31)

อำจกล่ำวได้ว่ำกำรปกครองส่วนท้องถ่ินของไทยในอดีตมี
วัตถุประสงค์เพ่ือต้องกำรรวมอำนำจเข้ำสู่ศูนย์กลำง มิใช่มุ่งหวังให้เกิด
กำรกระจำยอำนำจให้ท้องถ่ินได้มีส่วนร่วมในกำรปกครองตนเอง ส่งผล
ให้กำรกระจำยอำนำจในระยะแรกไม่ก้ำวหน้ำเท่ำที่ควร อย่ำงไรก็ตำม
กำรกระจำยอำนำจก็ถือเป็นผลพลอยไดจ้ ำกควำมพยำยำมในกำรพัฒนำ
ระบบกำรปกครองส่วนท้องถ่ิน ท่ีจุดประกำยให้องค์กรต่ำง ๆ ให้ควำม
สนใจที่จะพัฒนำรูปแบบตอ่ มำในภำยหลัง

137การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

18

การก่อตัวของอานาจท้องถิ่นภายใต้การขยายตัวของอาณานิคม
ภายใน

กำรสถำปนำอำนำจรัฐเหนือพื้นที่มิได้เป็นไปโดยง่ำย หรือไร้
กำรต่อต้ำน ในทำงตรงกันข้ำมกำรขยำยอำนำจรัฐส่วนกลำง ก่อให้เกิด
กำรปะทะกบั อำนำจท้องถิ่นที่มีแตเ่ ดิม (Turton, 1976; 1991) ทำให้รัฐ
สว่ นกลำงตอ้ งใช้ท้ังวธิ ีกำรประนีประนอมกบั อำนำจท้องถน่ิ (Tej, 1977;
Chaiyan, 1994; Keyes, 1967) บำงคร้ังก็ใช้กำรปรำบปรำมอย่ำงรุนแรง
อย่ำงกรณีของกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ กบฏแขกเจ็ดหัวเมือง กบฏผีบุญ
ภำคอีสำน6 (Tej, 1977; ทำนำเบ, 2555) แสดงให้เห็นว่ำอำนำจรัฐ
ที่ขยำยพรมแดนออกไป ได้ทำให้พรมแดนของอำนำจรัฐส่วนกลำงและ
ท้องถ่ินเกิดกำรปะทะเหล่ือมซ้อนกัน ท่ำมกลำงกลุ่มอำนำจที่กระจัด
กระจำยมิใช่พ้ืนท่ีท่ีว่ำงเปล่ำ แต่อำนำจท้องถิ่นนั้น ๆ จะก่อตัว (emergent)
ข้ึนเมื่อมีอำนำจอ่ืนเข้ำมำปะทะก่อกวน ภำยใต้ควำมสัมพันธ์ท่ีหลำกหลำย
ทั้งอำนำจตำมประเพณี ควำมเช่ือ และวิกฤติต่ำง ๆ ที่ทำให้เกิดกำร
รวมตัวของผู้คน และอำจเรียกควำมสัมพันธ์น้ันว่ำเป็นควำมสัมพันธ์ใน
แนวระนำบ (Potter 1976)

จะเห็นได้ว่ำกำรเข้ำมำปรับปรุงกำรปกครอง หรือเข้ำมำ
ครอบงำเมืองที่เป็นประเทศรำชเดิมมีกำรให้ควำมหมำยวำ่ เปน็ กำรสร้ำง

66 กกำารรกกบบฏฏเกเกิดิดขขึ้นึ้นอยอ่ำยง่ากงวก้ำวง้าขงวขำวงทางุกทภุกูมภิภำูมคิภทาี่รคัฐทขี่รยัฐำขยอยำานยำอจ�ำอนอากจไอปอในกชไป่วงในพช.ศ่ว.ง24พ4.4ศ-.
24464-2446

138 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

19

“อำณำนิคมภำยใน”7 คือ กำรเข้ำมำแย่งยึดเมืองท่ีเดิมเคยเป็นอิสระใน
ระดับหนึ่งให้เข้ำมำเป็นส่วนหนึ่งของรัฐประชำชำติ ท่ำมกลำง
กระบวนกำรทำให้เป็นสมัยใหม่ เช่น โดยกำรสถำปนำระบบรำชกำร
สมัยใหม่ ระบบกำรเก็บภำษี สร้ำงกองทัพสมัยใหม่เพื่อปรำบปรำมกำร
ต่อต้ำนจำกภำยใน ฯลฯ กระบวนกำรต่ำง ๆ เป็นควำมพยำยำมของ
รัชกำลท่ี 5 ที่จะดึงอำนำจจำกท้องถ่ินทั้งจำกหัวเมืองฝ่ำยทำงเหนือ
อีสำน และใต้ ให้เขำ้ สู่ศูนย์กลำงเพื่อสรำ้ งควำมเป็นเอกภำพเหนืออำณำ
เขต โดยกำรสถำปนำรัฐท่ีมีศูนย์กลำงหนึ่งเดียวอยู่ท่ีสถำบันกษัตริย์
จำกเดิมท่ีรัฐสยำมเป็น “รัฐแบบรำชำธิรำช” ที่มีหลำยศูนย์อำนำจ และ
“เจ้ำ” ท้องถ่ินเป็นผู้ท่ีมีอิทธิพล สิทธิอำนำจในเมืองของตน กำรเข้ำมำ
ปรับปรุงกำรปกครองของสยำมกระทำภำยใต้กำรเปลีย่ นแปลงควำมคิด
ในเร่ืองเขตแดน อำนำจอธิปไตย ท่ำมกลำงกำรคุกคำมจำกชำติ
มหำอำนำจตะวันตกทั้งจำกอังกฤษท่เี ข้ำมำทำงทิศตะวันตกและใต้ และ
ฝรั่งเศสที่เข้ำมำทำงทิศตะวันออก ( Tej, 1977; Chaiyan, 1994;
Keyes, 1967; สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548) ซ่ึงเป็นแรงขับเคล่ือนให้
รัชกำลท่ี 5 ทำกำรปรับปรุงกำรปกครอง เพ่ือให้รอดพ้นจำกกำรตกเป็น
อำณำนิคมของชำตติ ะวนั ตก รัฐสว่ นกลำงไดเ้ ขำ้ มำปรบั ปรงุ กำรปกครอง
หัวเมืองทำงเหนือที่เคยเป็นเมืองประเทศรำชเดิม ท้ังทำงด้ำนกำรเมือง

77ออาำณณาำนนิิคคมมภภำายยใในนคคืออื กกำารรแแยย่งย่งยึดึดเเมมืออื งงทท่ีม่ีมีอีอิสสิระรแะตแ่เตด่เิมดเิมขเ้ำขมา้ ำมราวรมวไวม้เไปว็นเ้ ปส็น่วนสห่วนนึ่งหขนอ่งึง
ขสยอำงมสย(สาุเมทพ(สสุเทุนทพรเสภุนสัชท.รเมภาสนัชุษ.ยวมิทายนาุษกับยปวริทะยวาัตกิศับาสปตรระ์. วกัตริศุงาเทสพตฯร์.: กเมรือุงเงทโบพรฯำณ:,
เ2ม5อื 4ง8โ,บหรนาณำ้ 2, 3225-4283,7ห).นา้ 232-237).

139การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

20

เศรษฐกิจ ป่ำไม้ มีกำรลิดรอนอำนำจของกลุ่มเจ้ำนำยเดิม โดยกำรส่ง
ข้ำรำชกำรจำกส่วนกลำงเข้ำมำร่วมปกครอง และในทำ้ ยทสี่ ดุ ทำให้เมือง
กลุ่มเจ้ำนำยเดิมหมดอำนำจในกำรปกครอง ทั้งทำงกำรเมือง และ
เศรษฐกิจ และจำกฐำนะ “เมืองประเทศรำช” ก็กลำยมำเป็นเพียง
“หัวเมอื ง” หรือ “ภูมภิ ำค” หนึง่ ของสยำม

จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้น กำรปรับปรุงกำรปกครองในสมัยรัชกำล
ที่ 5 เกิดจำกปัจจยั ในหลำยด้ำน อำทิเช่น

ประการแรก เกิดจำกควำมพร้อมของชนชน้ั นำสยำม เนอ่ื งจำก
กำรเปล่ียนแปลงในกลุ่มเจ้ำนำย โดยเฉพำะกำรพิรำลัยของสมเด็จ
เจำ้ พระยำบรมมหำศรสี ุรยิ วงศ์ และกำรสวรรคตของกรมพระรำชวังบวร
สถำนมงคล (กรมพระรำชวังบวรวิไชยชำญ) ในปี พ.ศ. 2425 และ
พ.ศ. 2427 ตำมลำดับ ทำให้รัชกำลท่ี 5 สถำปนำอำนำจนำ และปรับปรุง
กำรปกครองไดอ้ ยำ่ งเต็มที่

ประการที่สอง เกิดจำกควำมเปล่ียนแปลงทำงด้ำนเศรษฐกิจ
และสังคม ในด้ำนกำรค้ำได้พัฒนำเป็นกำรค้ำในระบบเงินตรำ ที่ระบบ
เศรษฐกิจได้ผูกโยงกับระบบเศรษฐกิจโลก รวมถึงมีกำรขยำยตัวของ
เศรษฐกิจแบบเงินตรำอย่ำงกว้ำงขวำง ทำให้เกิดควำมเปลี่ยนแปลงโลก
ทัศน์ของชนชั้นนำ และกำรขยำยตัวของชนช้ันกระฎุมพี ที่มีวิธีกำรมอง
โลกแบบสัจนิยม และมนุษยนิยม ท่ีเชื่อมั่นต่อกำรเปล่ียนแปลงโดย
มนุษย์ไม่พึ่งพำอำนำจศักด์ิสิทธ์ิ และเช่ือในควำมจริง มีควำมคิดเร่ือง
เวลำแบบประจักษ์นิยม (นิธิ เอียวศรีวงศ์ 2538: 242-262) เป็นวิธีกำร

140 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

21

มองโลกคนละแบบกับ “ระบบจำรีต” ท่ีมองโลกในกรอบควำมคิด
เกี่ยวกับจักรวำลวิทยำแบบไตรภูมิ รวมถึงเช่ือในอิทธิปำฏิหำริย์
โลกทศั น์แบบใหม่น้ีนำมำสกู่ ำรปรบั เปลย่ี นกำรปกครองในเวลำตอ่ มำ

ประการที่สาม กำรเข้ำมำขยำยอิทธิพลของชำติมหำอำนำจ
ตะวันตกในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ยึดประเทศต่ำง ๆ เป็น
อำณำนิคม เช่น อังกฤษในพม่ำ ฝรั่งเศสในเวียดนำม เป็นต้น เป็นตัว
ขับเคลื่อนที่ทำให้เกิดกำรปรับปรุงกำรปกครองเพื่อท่ีจะได้รักษำเมืองท่ี
เป็นเมอื งประเทศรำชเดมิ ของสยำมไว้ (Tej, 1977)

กำรปรับปรุงกำรปกครองของรัชกำลที่ 5 ในหัวเมืองทำงเหนือ
ที่ถือวำ่ เปน็ เมอื งประเทศรำช เร่ิมขน้ึ ในปี พ.ศ. 2427 โดยเรมิ่ ดำเนนิ กำร
ที่เชียงใหม่ที่เป็นเมืองศูนย์กลำงของภูมิภำค หลังกำรทำสนธิสัญญำกับ
อังกฤษ มีกำรส่งกรมหม่ืนพิชิตปรีชำกรข้ึนมำทำกำรปฏิรูปท้ังทำงด้ำน
กำรเมือง และเศรษฐกิจ แต่งต้ัง “เสนำ” หรือ “พระยำผู้ช่วยไทย”
6 ตำแหน่ง ประกอบดว้ ย เสนำกรมมหำดไทย เสนำกรมกำรทหำร เสนำ
กรมคลัง เสนำกรมยตุ ธิ รรม เสนำกรมวงั และเสนำกรมนำ โดยเสนำกรม
ต่ำงๆ มีหน้ำที่ในกำรให้คำปรึกษำกรมกำรเมือง (สรัสวดี อ๋องสกุล,
2539: 372) หรือ เจ้ำขันห้ำใบ อันประกอบด้วย เจ้ำหลวง (เจ้ำเมือง)
เจ้ำอุปรำช เจ้ำรำชวงศ์ เจ้ำรำชบุตร เจ้ำบุรีรัตน์ (เจ้ำหอหน้ำ) ท่ีเป็น
ตำแหน่งในกำรปกครองระบบเดมิ ของหวั เมืองในลำ้ นนำ

กำรปรับปรุงกำรปกครองในครั้งน้ีมุ่งปรับปรุงกำรปกครองใน
เมืองเชียงใหม่ก่อน เนื่องจำกเป็นเมืองใหญ่ มีชำยแดนติดกับดินแดน

141การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

22

อำณำนิคมของอังกฤษ และมีปัญหำเร่ืองคนในบังคับของตะวันตก
รวมถึงเป็นเมืองท่ีมีผลประโยชน์มำก โดยเฉพำะป่ำไม้ จึงนำมำสู่กำร
ปฏริ ปู กำรปกครองในเมอื งเชียงใหม่ก่อนเมืองอนื่ ๆ ในภำคเหนอื

ในด้ำนเศรษฐกิจ ไดม้ กี ำรจัดระบบกำรผูกขำดภำษีโดยให้มีกำร
ประมูลเป็น “เจ้ำภำษีนำยอำกร” เพอ่ื ให้เป็นกำรสะดวกในกำรเก็บภำษี
ของรัฐบำล และในกำรปรับปรุงกำรเก็บภำษีคร้ังน้ีได้มีกำรเก็บภำษีเป็น
ตัวเงิน แทนกำรเก็บเป็นส่ิงของ (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2539: 374)
แต่เนื่องจำกระบบเศรษฐกิจของหัวเมืองเหนือเป็นระบบเศรษฐกิจแบบ
ยังชีพ (ยอดยิ่ง รักสัตย์, 2532: 58-59) ยังไม่ได้เข้ำสู่ระบบเศรษฐกิจ
แบบเงินตรำเหมือนสยำม (นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2538) ประกอบกับกำรที่
ทำงรำชกำรได้เข้ำมำจัดเก็บภำษีท่ีแต่เดิมเป็นของเจ้ำเมืองนำมำสู่ควำม
ไม่พอใจ รวมถึงรำษฎรที่ได้รับควำมเดือดร้อนจำกกำรเก็บภำษีเป็น
อย่ำงมำก นำมำสู่กำรต่อต้ำน เช่น กบฏพญำผำบ (ชูสิทธิ์ ชูชำติ, 2524)
กำรเปล่ียนแปลงระบบกำรจัดเก็บภำษีจึงเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีทำให้
เจ้ำหลวง และรำษฎรเขำ้ เป็นแนวร่วมของผกู้ ่อกำรกบฏ (Tej, 1977)

ในปี พ.ศ. 2431 กลุ่มเจ้ำนำยภำคเหนือเร่ิมไม่พอใจต่อกำร
เข้ำมำของสยำม ปฏิกิริยำเร่ิมท่ีเมืองเชียงใหม่ เจ้ำอินทวิชยำนนท์ได้ทำ
พิธีเขำ้ ทรงผเี มือง และใหผ้ ีเมอื งเป็นปำกเสยี งในกำรเรียกรอ้ งใหห้ ันมำใช้
กำรปกครองระบบเดิม ให้ยกเลิกเสนำ 6 ตำแหน่งและกลับมำใช้ระบบ
เคำ้ สนำมหลวง (สรสั วดี อ๋องสกลุ , 2539: 377)

142 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

23
สำหรับกรณีกบฏพญำผำบ ในปี พ.ศ. 2432 เกิดกำรลุกขึ้น
ต่อต้ำนอำนำจรัฐของชำวบ้ำนหนองจ๊อม เขตสันทรำย กว่ำ 300 คน
ท่ีได้รับผลกระทบจำกกำรเปล่ียนแปลงกำรเก็บภำษีอำกร โดยมีพระยำ
ปรำบสงครำม หรือ พญำผำบ เป็นผู้นำกำรต่อต้ำน มีกำรสันนิษฐำนว่ำ
เจ้ำนำยเมืองเชียงใหม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรกบฏคร้ังน้ีด้วย (เร่ือง
เดียวกัน: 378-382) กำรต่อต้ำนครั้งนั้นอำศัยควำมเชื่อเร่ือง “ข่ำม”
(ทำนำเบ, 2555) หรือคงกระพันฟันแทงไม่เข้ำ โดยกำรทำพิธีกรรมท่ีให้
ชำวบ้ำน “อำบน้ำยำ” ที่เช่ือว่ำทำให้เกิดควำมคงกระพันหนังเหนียว
ฟันแทงไม่เข้ำ แล้วเดินผ่ำนดำบ 7 เล่ม บนขั้นบันได 7 ขั้น เพื่อทดสอบ
ควำมคงกระพัน รวมถึงมีกำรนิมนต์พระมำทำพิธีด่ืมน้ำร่วมสำบำน เป็น
กำรยืนยันแนวร่วมกำรต่อต้ำน โดยมีพญำผำบเป็นผู้ทำพิธีในฐำนะ
“คนข่ำม” ซ่งึ หมำยถึง ผมู้ ีฐำนะเป็นผวู้ เิ ศษ มคี ำถำอำคม ถอื วำ่ ได้ส่ังสม
บุญญำบำรมี (charisma) เป็นที่เคำรพนับถือในหมู่บ้ำน และกลำยเป็น
ผูน้ ำชำวบำ้ นในช่วงวิกฤติ แมว้ ่ำท้ำยทีส่ ุดกบฏพญำผำบจะถูกปรำบและ
พ่ำยแพ้ไปกต็ ำม (ทำนำเบ, 2555: 80-81) กลำ่ วไดว้ ำ่ กำรเคลอ่ื นไหวใน
คร้ังนั้นเกิดจำกควำมเดือดร้อนจำกกำรขูดรีดจำกรัฐส่วนกลำง และ
ควำมเชอ่ื มั่นในตวั ผ้นู ำท่มี ฤี ทธ์เิ หมือนผวู้ เิ ศษ
ในกรณีของครูบำศรีวิชัย ในช่วงทศวรรษท่ี 2470 ก็อำศัยควำมคิด
เร่ือง “ตนบุญ” เป็นพระโพธิสัตว์ท่ีถือว่ำเป็นอำญำบำรมีอีกแบบหนึ่ง
ในกำรสร้ำงขบวนกำรเคลื่อนไหว สร้ำงถำวรวัตถุต่ำง ๆ ท่ัวภำคเหนือ
จนครูบำศรีวิชัยต้องอธิกรณ์ และถูกยับย้ังควำมเคลื่อนไหวจำกรัฐ (โสภำ
ชำนะมลู 2534)

143การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

24

กรณีของเมืองเชียงใหม่ข้ำงต้น ชี้ให้เห็นว่ำในท้องถิ่นมีอำนำจ
บำงอย่ำงทจี่ ะกอ่ ตัวขน้ึ ในช่วงทส่ี ังคมวิกฤติ เป็นศีลธรรม ควำมเช่อื หรอื
พิธีกรรมผ่ำนผู้นำที่มีบุญญำบำรมีเพ่ือหยุดยุคเข็ญ หรืออำจเรียกว่ำ
อำนำจท้องถิ่น (Turton, 1976; 1991) ที่แฝงฝงั อยใู่ นสังคมชำวนำ

ยังมีกรณีของพื้นท่ีอื่น ๆ ทำงเหนือ อำทิ กรณีของผู้มีบุญหนอง
หมำกแก้ว ปัจจัยของกำรก่อกบฏของชำวบ้ำนกำรนำเรื่องชนชำติท่ี
แตกต่ำง กดข่ีเชิงเชื้อชำติ หรือพูดภำษำสมัยใหม่ก็คือ “วำทกรรม”
ระหว่ำงเชื้อชำติไทยกับเชื้อชำติลำวผู้ถูกกดขี่ กำรปลูกสำนึกเรื่องชำติ
รวมถึงปัจจัยทำงเศรษฐกิจคือ กำรเก็บส่วย ทั้งท่ีเศรษฐกิจของชำวบ้ำน
ยังเป็นเศรษฐกิจเพ่ือเล้ียงชีพ แต่ภำครัฐเก็บภำษีเป็นตัวเงิน ซึ่งนำควำม
เดือดร้อนสู่ชำวนำ8 (วุฒิชัย มูลศิลป์ และธรรมนิตย์ วรำภรณ์, 2525)
ประกอบกับควำมเช่ือในพุทธศำสนำเร่ืองพระศรีอริยเมตไตรยซ่ึงจะ
นำไปสู่ชีวิตใหม่ที่ไม่ถูกกดข่ี กำรกดขี่เร่ืองเช้ือชำติยังเป็นสำเหตุสำคัญ

88หหรรอืือกกรรณณีกีกบบฏฏชชำาววนนำาใในนญญ่ีปป่ี ุ่นนุ่ ใในนสสมมัยยั โโตตกกุกกุ ำาววะะ สสำาเเหหตตุขขุ อองงกกำารรกกบบฏฏ คคืออื สสาำเเหหตตุททุ ำางง
เเศศรรษษฐฐกกิจิจแแลละะกกำารรเงเินงินซึ่งซใงึ่นใสนมสัยมโยัตโกตุกกำกุ วาะวมะีกมำรีกขาูดรรขีดดู ภรำดี ษภีจาำษกีจชาำกวชนาำวเปน็นาจเปำ็นวจน�ำนมวำกน
รมะาบกบรกะำบรบรกิหาำรรบงรำิหนาขรองงาศนักขดอินงำศญกั ่ีปดุ่นิ าทญี่รปี่วมุ่นศทูน่ีรยว์อมำศนนูำจย์อแ�ลำนะากจำรแนลอะกกลาู่นรอนกอทกำลงนู่ ขอกง
ขท้ำารงำขชอกงำขรา้ คราือชกกำารรกดคขอื ่ี แกลาะรขกูดดรขีด่ี แควลำะมขอดู ดรอดี ยำคกวจาำมกอภดัยอธยรารกมจชาำกติภเยัช่นธรนรม้ำทช่วามติ แเชห่น้ง
แนล�้ำ้งทภ่วมูเขำแไหฟ้งรแะเลบ้งิดภแูเลขะากไฟลุ่รมะโรเบนิดนทแี่ไมล่มะีทกี่ดลินุ่มโรชนำวินนทำ่ีไจมึง่มรวีทม่ีดกินลุ่มชกาันวตน่อาตจ้ำึงนรวรมัฐบกำลลุ่มกซัน่ึง
จตำอ่ กตกา้ ำนรรยฐั กบการลณซีขงึ่ อจงากกบกฏาชรยำวกนกำรใณนขีทอ้ งกถบิ่นฏต่ำชงาๆวนมาักใมนีปทรอ้ ะงเถดน่ิ ็นตเรา่ ่ืองๆงชมนกั ชมั้นปี รร่วะมเดด้วน็ ยเรคอ่ื ือง
กชำนรชท้ันี่ชำรว่ นมำดร้วยมตคัวกือันกต่อารตท้ำน่ีชกาำวรนกาดรขวี่ขมูดตรัวีดกจันำกตอ่อำตน้าำนจกรัฐารผกลดกข็ค่ีขือูดชรำีดวจนาำกแอพ�้ำแนลาะจถรูกัฐ
ปผรลำกบ็คอือย่ำชงารวุนนแารแงพแ้ และลระัฐถกูก็ไปมร่แากบ้ไอขเยชา่ ิงงโรคุนรแงสรงร้ำแงลทะำรใัฐหก้เ็ไกมิด่แกกบ้ไฏขเชชำงิ วโนคำรใงนสอรีก้างหลทำ�ำยใหๆ้
คเกรง้ัิดตกอ่ บมฏำชซาึง่ วกนบาฏใเนงอีย้ วีกกห็มลีสาว่ ยนๆ คร้งั ต่อมา ซ่ึงกบฏเงีย้ วก็มสี ่วน

144 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

25

ของกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ ในปี พ.ศ. 2445 ท่ีมีสำเหตุจำกรัฐเข้ำมำบังคับ
เรื่องกำรเข้ำออกเขตแดนรัฐชำติ กำรเก็บภำษี กีดกันคนเง้ียว หรือ
ไทใหญ่สร้ำงวัด หรือซื้อทรัพย์สิน ทำให้เกิดกำรต่อต้ำนทั่วภำคเหนือ
(ยอดย่ิง รักสัตย์, 2532) นอกจำกเรื่องผลประโยชน์ กบฏเง้ียวเมืองแพร่
ยังมีกำรก่อตัวของสำนึกทำงชำติพันธุ์ โดยกบฏเง้ียวได้ประกำศจะ
ทำร้ำยเฉพำะ “คนไทย”9 เท่ำนั้น ไม่ทำร้ำย “คนเมือง”10 ทำให้กำร
กบฏครั้งน้ันได้รับควำมร่วมมือจำกคนเมืองท่ีได้รับผลกระทบจำกกำร
เข้ำมำปฏิรูปของสยำมเข้ำเป็นแนวร่วม รวมถึงเจ้ำหลวงเมืองแพร่ด้วย
(ชัยพงษ์ สำเนยี ง 2551)

จำกปรำกฏกำรณข์ องประวัตศิ ำสตร์ไทยขำ้ งต้น อำจกล่ำวได้ว่ำ
ลักษณะหรือปัจจัยกำรก่อตัวของกบฏและกำรเคลื่อนไหวของประชำชน
มีหลำยประกำรด้วยกัน ประการแรก เป็นปฏิกิริยำของผู้นำท้องถ่ินใน
ระบบกำรเมืองเก่ำท่ีต้องกำรตอบโต้กำรปฏิรูปทำงกำรเมืองที่ดึงศูนย์
อำนำจสู่ส่วนกลำง ส่งผลให้ผู้นำท้องถ่ินสูญเสียอำนำจทำงกำรเมือง
เศรษฐกิจ ประการท่ีสอง ชนกลุ่มน้อยในท้องถิ่นที่ตกอยู่ภำยใต้สถำนกำรณ์
ของกำรขยำยอำนำจทำงกำรเมืองกำรปกครอง ควำมเปลี่ยนแปลง
ทำงกำรเมืองในท้องถ่ิน ทำให้เกิดควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐกับชนกลุ่มน้อย
(พ้ืนเมือง) ในท้องถ่ินกบั ผ้ปู กครองที่เข้ำมำ ประการทสี่ าม ปรำกฏกำรณ์

99 คคอื ือคคนนสสยำยมาจมำจกาภกำภคากคลกำลง าตงงั้ แตต้ัง่อแุตตร่อดตุ ติ รถดล์ ิตงถไปล์ งไป
1100 คือ คคนนใในน88จังจหังวหัดวภัดำภคาเคหเนหือนในือปในัจปจุบัจันจุบนี้ันทนี่ถ้ี ือทวี่ถำเือปว็น่าคเปน็นละคกนลลุ่มะกกับลคุ่มนกไับทคยนซไึ่งทใยน
ซอดง่ึ ใตี นถอกู ดเรตี ียถกกู วเำ่ รยี“กลำวว่า”“มลำากวอ่ ”นมากอ่ น

145การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

26

ทำงศำสนำที่เกดิ เป็นครงั้ ครำว ผ่ำนกำรเปล่ยี นทำงโครงสรำ้ งของอำนำจ
ท่ีมีผลกระทบต่อวัฒนธรรมท้องถิ่น ประการท่ีสี่ เป็นเร่ืองของจิตสำนึก
และควำมสัมพันธ์กับระบบกำรผลิตของสังคม โดยมองว่ำชุมชนยังมี
จิตสำนึกในรูปของชุมชนบุพกำล ซ่ึงปรำกฏในงำนของ ฉัตรทิพย์ นำถสุภำ
และประนชุ ทรพั ยสำร (2527) ซง่ึ ถือว่ำอุดมกำรณ์พระศรีอริยเมตไตรย
ของวัฒนธรรมของชำวนำในกำรต่อต้ำนอำนำจรัฐ ประการที่ห้า กำร
ต่อสู้ของชนชั้นชำวนำ โดยละทิ้งอุดมกำรณ์ทำงศำสนำ แต่ต่อสู้ต่อกำร
เปล่ียนแปลงทำงเศรษฐกิจและกำรเมือง เป็นกำรรวมตัวของผู้ผลิตทำง
กำรเกษตรทั้งหมด และสุดท้ำย ประการท่ีหก เร่ืองเฉพำะกรณีใน
ประวัติศำสตร์ รูปแบบของกำรจัดตั้งขบวนกำร และเป้ำหมำยของ
ขบวนกำรเคลือ่ นไหว (พรเพญ็ ฮนั่ ตระกูล และอจั ฉรำพร กมุทพิสมัย, 2527)

หรืออีกนัยหนึ่ง อำจสำมำรถสรุปลักษณะหรือปัจจัยกำรก่อ
กบฏได้ 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ หนึ่ง เป็นกบฏชนกลุ่มน้อย หรือกบฏ
ท้องถิ่นที่ถูกบังคับให้มีกำรเปล่ียนแปลงโดยอีกสังคมหนึ่ง สอง อุดมกำรณ์
ของชำวนำท่ีมีจิตสำนึกของอุดมกำรณ์ของชำวนำ เม่ือถูกกดข่ี ขูดรีด
ในทำงเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม (พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล และอัจฉรำพร
กมทุ พสิ มยั , 2527)

ไม่ว่ำจะเป็นกำรก่อตัวของกลุ่มคนที่มีอุดมกำรณ์เร่ืองโลกใหม่
หรือโลกของพระศรอี รยิ เมตไตรยจนกลำยเปน็ กบฏ ที่อำจมคี วำมรุนแรง
หรือกำรรวมตัวอย่ำงสงบ ดังเช่น กรณีครูบำศรีวิชัย (โสภำ ชำนะมูล,
2534) ควำมเช่ือเหล่ำนี้มิได้ก่อตัวเฉพำะในกลุ่มคนไทยเท่ำน้ัน ยังมีอยู่

146 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

27

ในกลุ่มกะเหร่ียง ลำว (ทำนำเบ, 2555) นอกจำกนี้ ยังพบว่ำมีกำรเกิด
กบฏและต่อต้ำนหลำยครั้งในภำคอีสำนท่ีมีควำมแห้งแล้ง และได้รับ
ผลกระทบจำกกำรปฏิรูปและขูดรีด เน่ืองจำกภำคอีสำนมีกำรขยำยตัว
ทำงเศรษฐกิจเพื่อขำยและกำรขยำยตวั ทำงกำรเงนิ น้อยกว่ำภำคอ่ืน เชน่
กบฏผมู้ ีบุญ กบฏบุญกวำ้ ง กบฏเชยี งแกว้ กบฏนำยศลิ ำ วงค์สิน เป็นต้น
(พรเพญ็ ฮน่ั ตระกลู และอจั ฉรำพร กมทุ พิสมยั , 2527)

กำรเคล่ือนไหวของชำวนำหรือกำรเกิดกบฏของผู้ถูกปกครอง
ท้ังในเอเชียและไทย กบฏชำวนำมักมีควำมเช่ือทำงศำสนำเข้ำมำเก่ียว
เชน่ เร่อื งพระศรอี ริยเมตไตรย หรอื เช่อื ในกำรสร้ำงสงั คมใหม่ เป็นสังคม
ที่ปรำศจำกกำรกดข่ี เป็นโลกที่ทุกคนเท่ำเทียมกัน โดยเฉพำะแนวคิด
เก่ียวกับวันสิ้นสุดของโลก (ทำนำเบ, 2555) ในกรณีท่ียกมำคือปฏิกิริยำ
กำรต่อตำ้ นอำนำจของกรุงเทพฯ ของกลุ่มเจำ้ นำยในภำคเหนือ เจำ้ แจก
เจ็ดหัวเมืองภำคใต้ กบฏพญำผำบ กบฏผู้มีบุญหนองหมำกแก้ว และ
กบฏผีบุญ (ผู้มีบุญ) ในอีสำน เกิดขึ้นภำยใต้กำรขยำยอำนำจของรัฐไทย
ที่เข้ำไปผนวกพื้นที่โดยรอบซึ่งแต่เดิมเป็นพ้ืนท่ีที่มีอิสระโดยสัมพัทธ์กับ
อำนำจส่วนกลำง กำรปฏิรูปของรัชกำรที่ 5 ทำให้พ้ืนท่ีส่วนต่ำง ๆ เข้ำมำ
เป็นส่วนหน่ึงของรัฐไทย มีกำรสร้ำงหน่วยกำรปกครองในระดับต่ำง ๆ
และส่งข้ำรำชกำรกำรส่วนกลำงเข้ำไปปกครอง (Tej, 1977; Chaiyan,
1994) เป็นกำรสร้ำงอำณำนิคมภำยในเหนือพ้ืนที่ที่เคยเป็นอิสระ ทำให้
เกดิ กำรตอ่ ตำ้ นในรปู แบบกบฏในทุกภูมภิ ำค (สุเทพ สุนทรเภสชั , 2548;
Keyes, 1967) ขณะเดียวกัน คนในท้องถ่ินก็มีกำรใช้อำนำจท้องถิ่น

147การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

28

(Local power) ผ่ำนพิธีกรรมควำมเชื่อเป็นเคร่ืองมือในกำรต่อสู้
(Turton, 1976; 1991) เป็นเหมือนหน่ออ่อนของกำรเคล่ือนไหวใน
รูปแบบอื่น ๆ ที่อำศัยควำมสัมพันธแ์ นวนอนหลำยรูปแบบ ท้ังควำมเชือ่
กล่มุ ชำตพิ นั ธุ์ ผลกระทบรว่ ม กลุม่ หนมุ่ สำว กล่มุ เหมืองฝำย กลุ่มหวั วัด ฯลฯ
(Potter, 1976) ซ่งึ จะมีควำมสำคญั ในกำรเคลื่อนไหวในชว่ งหลังต่อมำ

อำจกล่ำวได้ว่ำภำยใต้กำรสร้ำงควำมชอบธรรมของรัฐสมัยใหม่
ผ่ำนกำรใช้อำนำจท่ีหลำกหลำย กำรสถำปนำควำมจริง หรือกำรสร้ำง
เทคโนโลยีของอำนำจจงึ มคี วำมสำคัญในกำรควบคุมผู้คน และเทคโนโลยีหน่ึง
คือ กำรกระจำยอำนำจ และกำรเลือกต้ัง ท่ีจะทวีควำมหมำยมำกขึ้น
ในปัจจุบัน

สรุป

รัฐไทยได้พยำยำมเสำะแสวงหำหนทำงเข้ำมำควบคุมพื้นที่ผ่ำน
กระบวนกำรปกครองและสร้ำงเทคโนโลยีแห่งอำนำจในหลำยรูปแบบ
เช่น กำรสร้ำงมำตรฐำนใช้กันอย่ำงเป็นสำกล กำรสร้ำงระบบกรรมสิทธิ์
ที่ดิน เพ่ือเข้ำมำควบคุมพ้ืนท่ีอย่ำงเป็นทำงกำร ซ่ึงกลวิธีกำรควบคุม
เหล่ำนี้ในด้ำนหนึ่งก็ดำเนินไปเพื่อแสวงหำผลประโยชน์และควำมมั่นคง
เข้ำสู่รัฐ ขณะที่อีกด้ำนหนึ่งกลวิธีท้ังหลำยก็เป็นเครื่องมือสำหรับทำให้
รัฐสมยั ใหม่สำมำรถเขำ้ มำควบคุมสงั คมและผู้คนได้อย่ำงมีประสทิ ธิภำพ
กำรสร้ำงมำตรฐำนกำรวัดควำมเป็นพลเมืองข้ึน โดยอำศัยแนวคิดควำม
เป็นพลเมืองของชำติ ท่ีต้องมีกำรสำรวจพลเมืองในอำณำจักร ท่ีอยู่ภำยใต้

148 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

29

กฎเกณฑ์เดียวกัน มีประเพณีและควำมเชื่อท่ีเหมือนกัน ผ่ำนวำทกรรม
กำรกระจำยอำนำจที่เป็นส่วนของกระบวนกำรท่ีทำให้รัฐมีอำนำจเหนอื
ท้องถน่ิ พื้นท่ี (Chaiyan, 1994 ; ไชยนั ต์ รัชชกูล, 2560)

กำรขยำยอำนำจรัฐเหนือพ้ืนท่ี โดยกำรเพ่ิมขอบข่ำยของระบบ
รำชกำร และออกกฎหมำยมำบังคับ เหนือพน้ื ทเ่ี พอื่ สถำปนำอำนำจผ่ำน
ระบบรำชกำรในระดับต่ำง ๆ อำจกล่ำวได้ว่ำเป็นเทคโนโลยขี องอำนำจ
ในกำรกำรจัดกำรควบคุมทรัพยำกร ผู้คน ในกรณขี องประเทศไทยมีกำร
สร้ำงระบบกำรปกครองที่เรียกว่ำระบอบเทศำภิบำล ซ่ึงดูเหมือนว่ำเป็น
กำรสร้ำงระบบกำรปกครองในภูมิภำค แต่ในอีกนัยหนึ่งคือกำรส่ง
ข้ำรำชกำรส่วนกลำงเข้ำไปสถำปนำอำนำจในภูมิภำค ที่รัฐไม่เคยมี
อำนำจมำก่อนหน้ำนี้ รวมถึงกำรส่งเสริมกำรพัฒนำรูปแบบต่ำง ๆ เพ่ือ
สนับสนุนกำรขยำยตัวของตลำด นำมำสู่กำรแย่งชิงทรัพยำกรส่วนรวม
จนรฐั ตอ้ งขยำยอำนำจเขำ้ ไปควบคมุ ทรัพยำกร

รัฐได้เขำ้ มำเปลย่ี นพืน้ ท่ี สร้ำงควำมหมำยของพ้ืนท่ีเพื่อทจี่ ะเข้ำ
ไปควบคุมบงกำร ซ่ึงกำรเมืองของกำรควบคุมเป็นตัวอย่ำงหนึ่งท่ีชว่ ยทำ
ควำมเข้ำใจต่อเรื่องอำนำจ และควำมสัมพันธ์ทำงอำนำจในเร่ืองรัฐกับ
ประชำชน

กำรปกครองส่วนท้องถิ่นแม้จะเป็นรำกฐำนของกำรสถำปนำ
อำนำจรัฐเหนือท้องถ่ินต่ำง ๆ ผ่ำนกระบวนกำรสร้ำงระบบรำชกำรใน
กำรปกครองคนในพ้ืนที่ กำรสร้ำง อปท. ในเบื้องต้นน้ีจึงไม่ได้มีแนวคิด
เร่ืองกำรให้ท้องถิ่นปกครองตนเอง ซ่ึงจะเห็นได้จำกภำรกิจของ อปท.

149การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

30

คือ กำรบริกำรสำธำรณะประเภทต่ำง ๆ มิใช่กำรสร้ำงอำนำจในกำร
จัดกำรตนเองในพื้นที่ ด้วยลักษณะรำกฐำนของกำรสร้ำง อปท. ข้ำงต้น
ทำให้ท้องถ่ินเป็นแต่เพียงเคร่ืองมือในกำรสร้ำงอำนำจของรัฐส่วนกลำง
ในหลำกหลำยรูปแบบ เช่น เทศบำล องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด และ
องค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบล

แต่กระน้ัน ก็ไม่ได้หมำยควำมว่ำจะสำมำรถสถำปนำอำนำจ
ท้องถิ่นได้อย่ำงรำบร่ืน พบว่ำมีกำรต่อต้ำนในรูปแบบต่ำง ๆ ที่อำศัย
ควำมสัมพันธ์และอำนำจในท้องถิ่น ผ่ำนพิธีกรรม ควำมเช่ือ ผู้นำ เช่น
ควำมเชอื่ เรอ่ื งพระศรีอริยเมตไตรย ตนบุญ ขำ่ ม และเชื้อชำติ ซง่ึ นำมำสู่
กำรเกิดกบฏชำวนำหลำยครั้ง กบฏเหล่ำน้ันเป็นเสมือนหน่ออ่อน และ
ควำมสัมพันธ์แนวนอนท่ีถักทอข้ึนในท้องถ่ิน และจะกลำยเป็นพลังที่
สำคัญของกำรเคล่ือนไหวของภำคส่วนต่อไป แสดงให้เห็นว่ำภำยใน
สงั คมมพี ลังบำงอย่ำงท่ีกอ่ ตัวและเคลื่อนไหวอยู่ จะแสดงออกมำเม่ือเกิด
วกิ ฤติหรือควำมไม่ปกติของสงั คม

กำรขยำยอำนำจของรัฐส่วนกลำง ในระยะเร่ิมต้นใช้กำรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในฐำนะวำทกรรมเพ่ือสร้ำงควำมชอบธรรมให้รัฐส่วนกลำง
อปท. จงึ เปน็ “ส่วนย่อ” “ส่วนยอ่ ย” ของกำรบรหิ ำรส่วนภมู ิภำค มกี ำร
ส่งข้ำรำชกำร เช่น ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด นำยอำเภอ ปลัดอำเภอ ปลัดจังหวัด
เข้ำมำเป็นผู้บริหำร เป็นกำรกระชับอำนำจของส่วนกลำงโดยประชำชน
ในท้องถ่ินไม่มีอำนำจแต่อย่ำงใด แม้ว่ำกำรปกครองท้องถ่ินแม้จะเป็น
องค์กรที่มีสทิ ธติ ำมกฎหมำย มพี ื้นที่และประชำกรเป็นของตนเอง และมี

150 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

31

อิสระในกำรดำเนินกิจกำรต่ำง ๆ เพ่ือให้ประชำชนในท้องถิ่นได้เข้ำมี
ส่วนร่วมในกำรปกครองตนเองตำมเจตนำรมณ์ของกำรปกครองใน
ระบอบประชำธิปไตย ในกำรเสนอปัญหำ ตัดสินใจ กำรตรวจสอบกำร
ทำงำนและร่วมรับบริกำรสำธำรณะต่ำง ๆ แต่กำรปกครองส่วนท้องถิ่น
ยังอยูภ่ ำยใต้กำรกำกบั ดูแลของรัฐบำลกลำง

อปท. ของไทย และของต่ำงประเทศเกอื บท่วั โลก อยู่ในช่วงกำร
เปล่ียนแปลงอย่ำงสำคัญอีกท้ังมีกำรปรับตัวจำกรูปแบบองค์กรเช่น
สขุ ำภบิ ำล เทศบำล อปท. หรอื องคก์ รปกครองรูปแบบพเิ ศษ ซ่งึ เกดิ จำก
สำเหตุ และปัจจัยของแรงผลักดันหลำยประกำร อำทิเช่น ประการที่
หนึ่ง เกิดมำจำกแรงผลักดันของกระแสกำรปกครองแบบประชำธิปไตย
และกระบวนกำรทำให้กำรเมืองกำรปกครองเป็นประชำธิปไตย
ท่ีเกิดข้ึนอย่ำงกว้ำงขวำงท่ัวโลก ส่งผลให้กำรปกครองในแบบที่ไม่เป็น
ประชำธิปไตย ต้องปรับไปเป็นกึ่งประชำธิปไตย ประเทศท่ีปกครองใน
ระบอบกง่ึ ประชำธปิ ไตยต้องปรับไปเป็นประชำธิปไตยในระดับที่มำกข้ึน
มกี ำรปรับแนวคิดของประชำธิปไตยทำงตรง เชน่ ปรบั ใช้ระบบถอดถอน
ผู้แทน ระบบเสนอกฎหมำยโดยประชำชน กำรลงประชำมติ เป็นต้น
ประการท่สี อง อทิ ธพิ ลของกระแสควำมคิดแบบเสรีนยิ มใหม่มีเป้ำหมำย
ในกำรลดทอนบทบำทของรัฐ ลดขนำดกำลังคนของภำครัฐ รวมท้ัง
ต้องกำรลดข้ันตอนกำรปฏิบัติงำนของระบบรำชกำรประเภทต่ำง ๆ
โดยส่งเสริมให้สังคม ประชำชน องค์กรเอกชน องค์กำรมหำชน

151การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

บรรณานุกรม

ฉตั รทพิ ย์ นาถสภุ า และประนชุ ทรพั ยสาร. (2527). อดุ มการขบถผมู้ บี ญุ อสี าน
ใน พรเพญ็ ฮนั่ ตระกลู และอัจฉราพร กมทุ พสิ มยั (บรรณาธกิ าร)
ความเชอ่ื พระศรอี ารยิ แ์ ละกบฏผมู้ บี ญุ ในสงั คมไทย (หนา้ 224-
253) กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพส์ ร้างสรรค.์
ชัยพงษ์ ส�ำเนียง. (2551). พลวัตการสร้างและการรับรู้ประวัติศาสตร์
เมืองแพร่ 2445-2550. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,
ภาควิชาประวตั ศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชยั พงษ์ สำ� เนยี ง. (2562). พนื้ ทก่ี ารเมอื งในชวี ติ ประจำ� วนั และการตอ่ รอง
ธรรมาภิบาลท้องถ่ิน: กรณีศึกษาการจัดการทรัพยากรของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคเหนือ. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญา
ดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่.
ชยั อนันต์ สมุทวณชิ . (2523). การเมือง-การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ไทย 2411-2475. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
ชวู งศ์ ฉายะบตุ ร. (2539). การปกครองทอ้ งถนิ่ ไทย. กรุงเทพฯ: สมาคม
นสิ ิตเก่ารฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
ชูสทิ ธ์ิ ชชู าต.ิ (2524). วิวัฒนาการเศรษฐกิจหมบู่ ้านในภาคเหนอื ของ
ประเทศไทย พ.ศ. 2394-2475. วทิ ยานพิ นธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑติ
สาขาประวัตศิ าสตร์ มหาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร.
ไชยันต์ รชั ชกูล. (2560). อาณานิคมสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย:์ การกอ่ รูป
รัฐไทยสมยั ใหมจ่ ากศักดินานิยมสู่ทุนนิยมรอบนอก. กรุงเทพฯ:
อา่ น.

152 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

ทานาเบ ชิเกฮารุ. (2555). พิธีกรรมและปฏิบัติการ ในสังคมชาวนา
ภาคเหนือของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: ศนู ยศ์ กึ ษาชาติพันธแุ์ ละ
การพฒั นา คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่
ธงชยั วนิ จิ จะกลู . (2530). ประวตั ศิ าสตรก์ ารสรา้ ง “ตวั ตน” ใน อยเู่ มอื งไทย
กรุงเทพฯ: ธรรมศาสตร.์
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2550). 100 ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ.
2440-2540 พมิ พ์ครง้ั ที่ 6 กรุงเทพฯ: โครงการจดั พิมพ์คบไฟ.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2553). การปฏิวัตสิ ยาม พ.ศ. 2475. กรุงเทพฯ:
ฟ้าเดียวกนั .
นครินทร์ เมฆไตรรตั น์ และคณะ. (2552). รายงานผลการศกึ ษาความ
กา้ วหน้าของการกระจายอำ� นาจในประเทศไทย โครงการเสรมิ
ขดี ความสามารถขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เพอ่ื สนบั สนนุ
การกระจายอ�ำนาจและธรรมาภิบาลท้องถ่ิน. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิจัยและใหค้ �ำปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์
นนั ทวฒั น์ บรมานนั ท.์ (2549). การปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ตามรฐั ธรรมนญู
แห่งราชอาณาจักรไทย (2540). กรุงเทพฯ: วญิ ญชู น.
นนั ทวฒั น์ บรมานนั ท.์ (2552). การปกครองทอ้ งถน่ิ . กรงุ เทพฯ: วญิ ญชู น.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2543). ปากไก่และใบเรือ: ว่าด้วยการศึกษา
ประวัติศาสตร์-วรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์. พิมพ์คร้ังท่ี 3
กรุงเทพฯ: แพรวส�ำนักพมิ พ์.
นธิ ิ เอยี วศรีวงศ์. (2520). การปกครองท้องถ่นิ ไทย. กรงุ เทพฯ: สมาคม
สังคมศาสตร์แหง่ ประเทศไทย.

153การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

พรเพ็ญ ฮ่ันตระกูล, อัจฉราพร กมุทพิสมัย, บรรณาธิการ. (2527).
ความเชอื่ พระศรอี ารยิ ์ และกบฏผมู้ บี ญุ ในสงั คมไทย. กรงุ เทพฯ:
สรา้ งสรรค.์
ยอดย่ิง รกั สตั ย.์ (2532). การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกจิ
ในภาคเหนือของประเทศไทยกับกบฏเงี้ยว พ.ศ. 2445.
วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
วุฒิชัย มูลศิลป์ และธรรมนิตย์ วราภรณ์ บรรณาธิการ. (2525). กบฏ
ชาวนา. กรุงเทพฯ: สมาคมสงั คมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
สมคิด เลศิ ไพฑรู ย์. (2549). กฎหมายการปกครองท้องถิ่น. กรงุ เทพฯ:
ส�ำนกั พิมพ์คณะรัฐมนตรแี ละราชกิจจานุเบกษา.
สรสั วดี ออ๋ งสกลุ . (2539). ประวตั ิศาสตร์ลา้ นนา. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร.์
สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั . (2548). มานษุ ยวทิ ยากบั ประวตั ศิ าสตร์ : รวมความ
เรียงว่าด้วยการประยุกต์ใช้แนวความคิดและทฤษฎีทาง
มานุษยวทิ ยาในการศึกษาขอ้ มลู ทางประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ:
เมืองโบราณ.
โสภา ชานะมลู . (2534). ครบู าศรีวชิ ัย “ตนบุญ” แห่งลา้ นนา (พ.ศ.
2421-2481). กรงุ เทพฯ: คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลธั รรมศาสตร.์
อัญชลี สุสายัณห์. (2552). ความเปลี่ยนแปลงของระบบไพร่และผล
กระทบตอ่ สงั คมไทยในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้
เจ้าอย่หู วั . กรงุ เทพฯ: สรา้ งสรรคบ์ ุ๊คส์.

154 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

แอนเดอร์สัน, เบน. (2552). ชมุ ชนจินตกรรม บทสะท้อนวา่ ด้วยกำ� เนิด
และการแพรข่ ยายของชาตินยิ ม =Imagined communities
reflections on the origin and spread of Nationalism.
กรงุ เทพฯ: มลู นิธิ โครงการตำ� ราสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร.์
Chaiyan Rajchagool. (1994). The Rise and fall of the Thai
absolute monarchy: foundations of the modern
Thai state from feudalism to peripheral capitalism.
Bangkok: White Lotus.
Foucault, Michel. (1972). The Archaeology of Knowledge.
translated by Trans A.M. Sheridan Smith. London:
Tavistock.
Herzfeld, Michael. (2005). Cultural Intimacy: Social Poetics
in the Nation-State. New York: Routledge.
Keyes, Charles F. (1967). Isan: regionalism in Northeastern
Thailand. Ithaca, N.Y : Cornell University.
Keyes, Charles F. (2014). Finding their voice: Northeastern
villagers and the Thai state. Chiang Mai, Thailand:
Silkworm Books.
Potter, Jack M. (1976). Thai peasant social structure. Chicago:
University of Chicago Press.
Scott, James C. (1998). Seeing like a state: how certain
schemes to improve the human condition have
failed. New Haven [Conn.]: Yale University Press.

155การขยายอ�ำนาจของรฐั ไทยในการกระจายอ�ำนาจ

Tej Bunnag. (1977). The Provincial administration of Siam,
1892-1915: the Ministry of Interior under Prince Damrong
Rajanubhab. Kuala Lumpur: Oxford University Press.
Thongchai Winichakul. (1994). Siam Mapped: A History of
the Geo-Body of a Nation. Honolulu: University of
Hawaii Press.
Thongchai Winichakul. (2004). Siam Mapped: A History of
the Geo-Body of the Nation. Chiang Mai: Silkworm
Books.
Turton, Andrew. (1976). “Northern Thai Peasant Society:
Twentieth Century Transformations in Political and
Jural Structures.” The Journal of Peasant Studies. 3(3):
267-298.
Turton, Andrew. (1991). Invulnerability and local knowledge
in Manas Chitakasem and Andrew Turton (eds.) Thai
Constructions of Knowledge (pp. 155-182). London:
School of Oriental and African Studies, University of
London.
Vandergeest, Peter., and Peluso, Nancy Lee. (1995).
Territorialization and state power in Thailand.
Modern Asian Studies 24(3): 385-426.

156 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

ลำดับเหตุกำรณ์: รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2417 รัฐบาลอังกฤษและรัฐบาลสยามร่วมทาสนธิสัญญา
เชียงใหม่ฉบับที่ 1 รัฐบาลสยามส่งข้าราชการมาประจาการ
ในล้านนาเป็นคร้ังแรก ได้แก่ตาแหน่ง ข้าหลวงสามหัวเมือง
ดแู ลเมืองเชียงใหม่ ลาปาง และลาพนู มีอานาจในการตัดสนิ คดี
ข้อพิพาท ภายใต้พระราชบัญญัติสาหรับข้าหลวงชาระความ
หวั เมือง

ออกพระราชบัญญัติ 2 ฉบับ คือ 1. พระราชบัญญัติสาหรับ
ผู้รักษาเมือง บัญญัติให้เจ้าหลวงเป็นผู้แทนรัฐบาล มีอานาจในการทา
สัญญากับคนในบังคับอังกฤษที่ขอสัมปทานป่าไม้ แต่ต้องให้รัฐบาล
สยามเป็นผู้ประทับ สัตยาบันก่อนถึงมีผลบังคับใช้ได้ และ 2. พระบรม
ราชโองการว่าด้วยการเก็บภาษีไม้ขอนสักและไม้กระยาเลย ให้มีการ
ควบคุมการให้อนญุ าตสมั ปทานป่าไม้ และการจดั เก็บภาษีให้มีมาตรฐาน
เดยี วกัน

 2422 มิชชันนารีอเมริกันก่อตั้งโรงเรียนสาหรับเด็กผู้หญิง
ในเมืองเชียงใหม่ (Chiengmai Girl’s School) โรงเรียนสาหรับ
ผู้หญิงพัฒนาเป็นโรงเรียนสตรีแห่งแรกในเมืองใหม่ ปัจจุบันคือ
โรงเรยี นดาราวิทยาลัย

157ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2426 รัฐบาลอังกฤษและสยามร่วมทาสนธิสัญญาเชียงใหม่
ฉบับท่ี 2

ปฏิรูปประเทศราชล้านนา สู่การเป็นหน่วยการปกครองหน่ึง
ของสยาม นามว่า “หัวเมืองลาวเฉียง” ขยายพ้ืนท่ีหัวเมืองเป็น 5 เมือง
ไดแ้ ก่ เชยี งใหม่ ลาปาง ลาพูน แพร่ และนา่ น

ประกาศพระราชโองการ เก่ียวกับจัดระเบียบป่าไม้ในล้านนา
เพ่ิมขึ้น เช่น การทาหนังสือสัญญาที่รัฐบาลให้สัตยาบันเพื่อป้องกัน
การให้สัมปทานซ้าซ้อน, การประกาศห้ามมิให้ผู้ใดตัดไม้ในเขต
เมืองเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน นอกจากได้รับอนุญาตประทับ
สัตยาบันจากรัฐบาล เพ่ือป้องกันการลักลอบตัดไม้ออกจากป่า, รวมถึง
กฎหมายว่าด้วยการใช้ดวงตรากรรมสิทธ์ิที่ประทับไม้สักและการเก็บไม้
ไหลลอย เป็นตน้

 2427 กรมหม่ืนพิชิตปรีชากร ข้าหลวงพิเศษต่างพระองค์
ขึ้นไปรับราชการในล้านนา และส่งสามเณรคาปิงมาศึกษา
ศาสนาพทุ ธแบบธรรมยตุ ิทีก่ รงุ เทพฯ

 2430 รัฐบาลสยามก่อตั้งกรมศึกษาธิการ เพื่อดูแลโรงเรียน
ในเขตกรุงเทพฯ โรงเรียนสาหรับผู้ชายถูกจัดต้ังขึ้นท่ีตาบล
วังสิงห์คาและย้ายมาอยู่ที่ตาบลฟ้าฮ่าม ใช้ชื่อว่าโรงเรียนชาย
วงั สิงห์คา

158 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

 2432 เกิดกบฏพญาผาบ กลุ่มก่อการนาโดยพญาผาบ
(ปราบสงคราม) ระดมชาวบ้านในเขตอาเภอสันทราย สันกาแพง
และดอยสะเก็ด ต่อต้านนายภาษีอากรชาวจีนและข้าราชการ
สยามในเมืองเชียงใหม่ จากความไม่พอใจด้านการจัดเก็บภาษี
อยา่ งเขม้ งวด

พระเจ้าน้องยาเธอพระองค์เจ้าโสณบัณฑิตย์ ข้าหลวงพิเศษ
รับนโยบายจัดตั้งโรงเรียนในหัวเมือง โดยต้ังโรงเรียนในเมืองเชียงใหม่
ใชช้ ื่อว่า โรงเรยี นเมอื งนครเชียงใหม่

 2433 คณะเดินทางของพระวิภาคภูวดล (James McCarthy)
เดนิ ทางมายังเชยี งใหมเ่ พ่อื สารวจเส้นทางการทาแผนทสี่ ยาม

คณะมิชชันนารีอเมริกัน ก่อตั้งโรงเรียนสาหรับเด็กผู้หญิงใน
เมืองลาปาง

 2435 รัฐบาลสยามประกาศก่อตั้งกรมใหม่ท้ังหมด 12 กรม
(ก่อนเปล่ียนเป็นกระทรวงในภายหลัง) โดยให้มีหน้าท่ีเฉพาะ
แต่ละด้าน ได้แก่ 1. กรมมหาดไทย 2. กรมพระกลาโหม
3. กรมท่า 4. กรมวัง 5. กรมเมือง 6. กรมนา 7. กรมพระคลัง
8. กรมยุติธรรม 9. กรมยุทธนาธิการ 10. กรมธรรมการ
11. กรมโยธาธกิ าร และ 12. กรมมรุ ธาธิการ

159ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

เมืองเถินถูกรวมเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงของหน่วยการปกครอง
“หวั เมอื งลาวเฉียง”

 2436 ปฏิรูปการปกครองบริหารของสงฆ์แบบใหม่ จัดตั้ง
มหามกุฏราชวิทยาลัย ในวัดบวรนิเวศวิหาร เพ่ือดาเนินการศึกษา
ปริยัติธรรมควบคู่กับการศึกษาวิชาการระดับสูงสมัยใหม่แก่
พระสงฆ์ และกุลบุตรไทย โดยมีมหามกุฏราชวิทยาลัยน้ันเป็น
ศูนย์กลาง จัดการเรยี นการสอนแบบใหมค่ วบค่กู บั มหาธาตวุ ทิ ยาลัย
ซึ่งต่อมาเรียกว่า มหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายหลังได้รับ
สถาปนาเปน็ มหาวทิ ยาลัย มหาจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

 2437 ยกระดับให้ “หัวเมืองลาวเฉียง” กลายเป็นหน่วยการ
ปกครองหน่ึงของสยามในรูปแบบมณฑล โดยใช้ชื่อว่า “มณฑล
ลาวเฉียง”ก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดข้าราชการ ขึ้นในที่ว่าการหลวง
เพ่ือฝกึ หัดข้าราชการในมณฑลลาวเฉียง

 2438 พระอุ่นเรือนได้เป็นเจ้าอาวาสวัดฝายหินและได้รับ
การเลื่อนสมณศักดิ์เป็นปฐมสังฆนายะกะโสกา หรือ สังฆนายก
ของเชยี งใหม่

ประกาศใชห้ ลักสตู รการศึกษาปี พ.ศ. 2438 เพิม่ เตมิ วิชาสาคัญ
เช่น 1. วชิ าภาษาไทย 2. วิชาน่ารเู้ รอ่ื งร่างกายของเรา 3. วิชาภูมิศาสตร์
4. วิชาพงศาวดาร

160 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

 2439 พระมหาคาปิง เมื่อศึกษาเล่าเรียนสอบได้เหรียญ 4
ประโยค และเดินทางกลับเชียงใหม่ ประจาอยู่ที่วัดเจดีย์หลวง
ซ่ึงต่อมาวัดดังกล่าวกลายเป็นศูนย์กลางการเผยแพร่ของ
พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติ และการเรียนการสอนภาษาไทย
นับตัง้ แตน่ ั้น

สถาปนากรมป่าไม้ข้ึนที่เชียงใหม่ ให้มีอานาจควบคุม
และบริหารกิจการไม้สักโดยตรง โดยมี Mr. H. Slade เป็น
เจ้ากรมป่าไมค้ นแรก

 2440 จัดต้ังสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ตราพระราชกาหนด
สุขาภิบาลกรุงเทพ รัฐบาลสยามประกาศใช้พระราชบัญญัติ
ลักษณะการปกครองทอ้ งที่

รัฐบาลร่างแผนการศึกษา มีการจัดตั้งโรงเรียนในมณฑลต่าง ๆ
(10 มณฑล) รวม 41 โรง

 2440-2443 พระราชบัญญัติเคร่ืองแต่งตัวข้าราชการฝ่าย
พลเรอื นหัวเมือง

 2441 ประกาศโครงการศึกษา ร.ศ. 117 ให้จัดลาดับการศึกษา
แต่ละช่วงวัย ภายในกรุงเทพฯ, ประกาศจัดการเล่าเรียนใน
หัวเมือง, จัดต้ังโรงเรียนในมณ ฑลต่าง ๆ (14 มณ ฑล)
รวมท้ังสนิ้ 178 โรง

161ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2442 หม่อมเจ้าอุดมพงษ์เพ็ญสวัสดิ์ ข้าหลวงเมืองเชียงใหม่
จัดประชุมเพ่ือจัดต้ังโรงเรียนสอนภาษาไทย โดยใช้วัดเจดีย์
หลวงเป็นโรงเรยี น เปน็ จุดเริม่ ตน้ ของโรงเรียนวดั เจดีย์หลวง

ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ป ก ค ร อ ง ด้ ว ย ก า ร จั ด ต้ั ง ม ณ ฑ ล เท ศ า ภิ บ า ล
ในล้านนา ได้มีการเปลี่ยนแปลงจาก “มณฑลลาวเฉียง” ไปสู่ “มณฑล
พายัพ” ยกเลิกระบบเจ้าเมืองและแทนที่ด้วยระบบราชการจาก
ส่วนกลาง ทท่ี าหน้าทป่ี กครองและบรหิ ารจดั การมณฑลท้งั หมด

หม่อมเจ้าอุดมพงศ์เพ็ญสวัสด์ิ ข้าหลวงเมืองเชียงใหม่ จึงเริ่ม
จัดต้ังโรงเรียนสอนภาษาไทยอย่างจริงจัง โรงเรียนวัดเจดีย์หลวง
เปิดสอนคร้ังแรกมีนักเรียน 73 คน ครู 2 คน คือ พระครูสังฆปริคุต
(พระมหาคาปิง) เป็นครูใหญ่และผู้อานวยการศึกษา และพระม่วง
อรินทโมเป็นครูรอง ขึ้นตรงต่อกองบัญชาการศึกษาหัวเมืองภายใต้
การดูแลของกรมหมนื่ วชริ ญาณวโรรส

 2443 เจรจาขอโอนกรรมสิทธ์ิในพื้นที่ป่าไม้ของล้านนาให้
เป็นสมบัติของสยามท้ังหมด โดยการเจรจาเริ่มจากเมืองแพร่
และน่านกอ่ น ตามดว้ ย ลาปาง ลาพูน และเชยี งใหม่ ตามลาดบั

162 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

ส่งนักเรียนป่าไม้ชุดแรกไปศึกษาวิชาการป่าไม้ที่วิทยาลัยอิมพีเรียล
ฟอเรสต์ (Imperial Forest College) ณ เมืองเดระดูน ประเทศอินเดีย
และส่งนกั เรียนชดุ ท่ี 2 พ.ศ. 2451 เพ่ือกลับมารบั ราชการในกรมป่าไม้

ข้าหลวงเมืองเชียงใหม่จัดทาบัญชีจานวนวัด พระและเณร เพื่อ
วางแผนจัดการศึกษา

เปลี่ยนคุ้ม (วัง) ของเจ้าเลาแก้ว เจ้าราชบุตรของเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์
เปน็ เคา้ สนามหลวง หรอื ท่วี า่ การเมืองของรัฐบาลสยาม

เจ้าอินทวิชยานนท์ ยกท่ีดินในคุ้มหลวงต้ังโรงเรียนสอนภาษาไทย
ได้แก่ โรงเรียนในคุม้ พระเจา้ เชยี งใหม่

 2444 เปล่ียนชื่อ โรงเรียนในคุ้มพระเจ้าเชียงใหม่ เป็นโรงเรียน
คมุ้ หลวงนครเชียงใหม่

 2445 พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองพระสงฆ์ ร.ศ. 121
นั บ เป็ น พ ระร าช บั ญ ญั ติ ฉ บั บ แ รก ที่ จัด รูป ก ารป ก ค รองส งฆ์
ให้เป็นแบบแผน และประกาศราชกิจจานุเบกษาวันที่ 20 กรกฎาคม
ร.ศ. 121 ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง
พระสงฆ์ ร.ศ. 121 นั้น ใน 14 มณฑล แต่ยังไม่มีการบังคับใช้
ในมณฑลลาวเฉียงหรือล้านนา โดยกาหนดให้มีมหาเถรสมาคม
คุมส่วนกลางและสว่ นภูมิภาค มีเจ้าคณะตามลาดับข้ันจนถงึ เจ้า
อาวาสปกครองบงั คับบญั ชากันเป็นช้นั ๆ

163ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส (พระอนุชา รัชกาลที่ 5) เป็น
ประมุขสงฆ์ไทย ปกครองและบริหารการพระศาสนาและคณะสงฆ์
ไทยทุกนิกายท่ัวสังฆมณฑล ซ่ึงขัดกับสถาบันพระสงฆ์ในล้านนาท่ี
เป็นผู้นาชุมชนและจิตวิญญาณรวมทั้งถ่ายทอดความรู้ท้ังโลกและ
ธรรมอย่างอิสระภายใต้ระบบ “หัวหมวดวัด” และ “หัวหมวด
อุโบสถ” มีการจัดต้ังเจ้าคณะจังหวัดขึ้นมาและข้ึนตรงต่อกรุงเทพฯ
ก็คือ ผู้ว่าราชการจังหวัดฝ่ายสงฆ์นั่นเอง ส่งผลให้วัดทาหน้าที่ใหม่
คือ ผลิตสงฆ์ให้มีความรู้แบบสยาม อ่านเขียนภาษาไทยและมี
หลายรปู ลาสิกขาไปเป็นขา้ ราชการทัง้ ในเมืองและหัวเมือง

เกิดกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ เป็นการก่อจลาจลโดยการนาของ
กลุ่มชาวไทใหญ่และเจ้าเมืองแพร่ ซ่ึงไม่พอใจการปกครองโดย
ข้าราชการส่วนกลางของสยาม กินพ้ืนท่ีในเขตเมืองแพร่ ลาปาง
เชียงใหม่ เชียงแสน พะเยา เชียงคา และเชียงของ ในกาลต่อมา
ถูกปราบลงโดยรัฐบาลสยาม

เร่ิมมกี ารวางแผนสรา้ งทางรถไฟสายเหนือจากกรุงเทพฯ

 2446 จัดตง้ั โรงเรยี นการปกครอง ในเมอื งเชยี งใหม่

รัฐบาลสยามจัดวางกองกาลังในมณฑลพายัพเป็นคร้ังแรก
โดยการสร้างค่ายทหารในแขวงกาวลิ ะ โดยใช้ช่ือว่า กรมบัญชาการ
มณฑลพายพั ตะวันตก (ต่อมาใชช้ ่อื ว่า คา่ ยกาวิละ)

164 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

 2447 จัดตัง้ โรงเรยี นฝึกหัดครวู ัดชา้ งคา้ ในเมอื งแพร่
 2448 จัดต้งั สุขาภบิ าลทา่ ฉลอม

เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธเสด็จตรวจราชการในมณฑลพายัพ คือ
พระราชทานนามโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
และสถาปนาโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัยหลักสูตรการศึกษา ร.ศ. 124
(สาหรับสามัญศึกษา) ตั้งส่วนราชการป่าไม้เพ่ือดูแลพ้ืนที่ในแต่ละภูมิภาค
ประกอบด้วย ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคใต้

 2449 กรมหม่ืนวชิรญาณวโรรสทรงแต่งตั้งให้พระธรรม
วโรดม เจ้าคณะรองใต้ วัดเบญจมบพิตร ซึ่งเป็นนิกายเป็นเจ้า
ค ณ ะ ม ณ ฑ ล พ า ยั พ เพ่ื อ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ค ณ ะ ส ง ฆ์ ก่ อ ตั้ ง
โรงเรยี นฝกึ หัดครูวัดปนั เตา

 2450 แผนการศกึ ษา พ.ศ. 2450
พระจากมณฑลพายัพได้รับการแต่งต้ังสมณศักด์ิจาก

กรุงเทพฯ และได้รับพระราชทานค่านิตยภัตตามบรรดาศักด์ิ
การน้ีเจ้าเมืองเชยี งใหม่เสนอตัวเป็นผอู้ อกเงนิ ใหด้ ว้ ยความเต็มใจ
 2451 พระราชบัญญัติสุขาภิบาล ร.ศ.127 มีการตั้งสุขาภิบาล
ตามหวั เมอื งตา่ ง ๆ
 2452 แผนการศึกษา พ.ศ. 2452

165ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2453 ลดบทบาทของสถาบนั สงฆ์ในการจัดการศกึ ษา ใหย้ ้าย
โอนไปเป็นหนา้ ที่ของกระทรวงมหาดไทย โดยให้เป็นหน้าท่ีของ
การปกครองทอ้ งที่

 2454 กระทรวงธรรมการออกแบบหลกั สูตรและตีพิมพ์แบบเรียน
ชั้นมูลศึกษา ใหบ้ ังคับใชท้ ัว่ ราชอาณาจักร เป็นมาตรฐาเดยี วกัน

 2455 กาหนดให้สามเณรผู้บวชใหม่สอบธรรมวิภาค แต่งความ
แก้กระทู้ธรรม และแปลภาษามคธ โดยใช้ข้อสอบของส่วนกลาง
เป็นครั้งแรก

ปรับปรุงหลักสูตรนักธรรมครั้งท่ี 1 ให้เหมาะสมกับภิกษุสงฆ์
ทว่ั ไป

 2456 ขยายการควบคุมการทาไม้กระยาเลยและไม้อ่ืน ๆ
ตลอดจนเริม่ เก็บภาษีของป่า

ในเดือนสิงหาคม กรมหมื่นวชิรญาวโรรสขอพระราชทานเล่ือน
บรรดาศักด์ิให้พระนพีสีพิศาลคุณ เน่ืองจากจัดการเรียนพระธรรมวินัย
ของภิกษุสามเณรและสอบไล่ประจาปีโดยขยายไปเมืองแพร่และเมือง
น่านจนสามารถต้ังนักธรรมของมณฑลพายัพได้จึงขอพระบรมราชา
อนุญาตยกพระนพีสีพิศาลคุณขึ้นเป็นพระอาจารย์โทในทางคันถะธุระ
มีตาแหนง่ เทียบเจา้ คณะเมอื ง

166 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

มกี ารปรบั ปรุงหลกั สตู รนักธรรมครัง้ ท่ี 2

 2457 รัฐบาลประกาศพระราชกาหนดเครื่องแต่งตัวเสือป่า
แลลกู เสอื

 2458 รฐั บาลอนมุ ตั ทิ าไมใ้ นปา่ แมแ่ จ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่
ตั้งโรงเรียนป่าไม้ท่ีแผนกยันตรศึกษา โรงเรียนข้าราชการ

พลเรือน วังใหม่สระปทุม ต่อมาต้ังโรงเรียนป่าไม้ครั้งท่ีสองใน
จังหวัดแพร่ ชื่อโรงเรียนวนศาสตร์ พ.ศ.2478 (คณะวนศาสตร์
ม. เกษตรศาสตร์ ในปจั จบุ นั )

 2459 จดั ต้งั โรงเรียนมหาดเล็กหลวงในเมืองเชียงใหม่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกล้าฯ ให้แบ่งหน้าที่ในราชการกระทรวงธรรมการเป็น 2 ภาค
คือ การพระศาสนาและการศึกษา จัดเป็นกรมใหญ่ 2 กรมเรียกว่า
กรมธรรมการและกรมศึกษาธิการ
พระครูบาที่ 1 (พระครูบาฝาหิน) วัดเชียงยืน และพระครูบาท่ี 5
วดั เชตุพน เข้าร่วมสวดมนต์ในพิธีฉัตรมงคล ซ่ึงปกติแล้วจะมีแต่พระช้ัน
ผู้ใหญ่จากกรุงเทพฯ เท่าน้ัน การกระทาดังกล่าวจึงเป็นไปเพื่อลดการ
ต่อตา้ นจากคณะสงฆม์ หานิกายเมืองเชยี งใหม่

167ล�ำดบั เหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2461 ประกาศใช้พระราชบญั ญตั โิ รงเรยี นราษฎร์

 2464 ประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา จุดเริ่มของ
การศึกษาภาคบังคับของเด็กอายุตั้งแต่ 7-14 ปี, หลักสูตร
สามญั ศึกษา พ.ศ. 2464

 2465 รัฐบาลอนุมตั ิทาไมใ้ นปา่ แม่สลดิ จังหวัดตาก

 2467 พระราชบญั ญัตกิ ารปกครองสงฆ์ ประกาศใช้ในมณฑล
พายพั อยา่ งเปน็ ทางการ

 2468 กระทรวงธรรมการตพี ิมพแ์ บบเรยี นภูมศิ าสตรป์ ระเทศ
สยาม

 2470 ตั้งคณะกรรมการข้นึ ทาการศกึ ษาบทเรียนจากตา่ งประเทศ
เรียกว่า คณะกรรมการจัดการประชาภิบาล นาโดยท่ีปรึกษา
ชาวต่างชาติช่ือ Richard D. Craig ผลการศึกษาพบว่าควรจัดต้ัง
เทศบาลขึ้นมาและมีการเสนอให้จัดตั้งเทศบาลข้ึนมาใหม่ โดย
เสนอให้เทศบาลประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน
แตม่ ไิ ดต้ ราเป็นกฎหมาย

 2471 หลกั สูตรมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พ.ศ. 2471

 2473 ร่างพระราชบัญญัติเทศบาลเห็นชอบโดยสภาเสนาบดี
แต่ไม่ทนั ประกาศใชเ้ นอื่ งจากเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
2475

168 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

 2474 ในหลวงรชั กาลท่ี 7 พระราชทานสัมภาษณ์แก่หนังสือพิมพ์
ต่างประเทศว่า “ข้าพเจ้าเห็นเป็นการผิดพลาดถ้าเราจะมี
ระบอบการปกครองรัฐสภาก่อนท่ีประชาชนจะมีโอกาสเรียนรู้
และและมีประสบการณ์อย่างดีเก่ียวกับการใช้สิทธิ์เลือกต้ัง
ในกจิ การปกครองท้องถิ่น”

 2475 พระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์แก้ไข
เพมิ่ เติม พ.ศ. 2475

ปรับปรุงส่วนราชการในกรมป่าไม้ โดยยกเลิกระบบแขวงและ
ประจาป่ามาเป็นสาขา ทาให้กิจการป่าไม้ได้ขยายไปท่ัวประเทศเป็น
ครั้งแรก พร้อมจัดต้ังกองปราบปรามพิเศษด้านป่าไม้ ประกอบด้วย
พนกั งานป่าไม้ ตารวจ และเจ้าหน้าที่อาเภอ รวม 216 แห่ง

 2476 พระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่ง
ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 จัดระเบียบบริหารราชการ
ออกเป็น 3 ส่วน คือ ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหาร
ส่วนภูมภิ าค ราชการบรหิ ารส่วนท้องถน่ิ

พระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล 3 รูปแบบ คือ เทศบาลนคร
เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล ยกฐานะสขุ าภิบาลเดิมให้เป็นเทศบาลแล้ว
จัดต้งั เพิ่มจัดตง้ั สภาจังหวัด ในการใหค้ าปรกึ ษาแกจ่ งั หวดั

 2477 พระราชบญั ญัติว่าดว้ ยราชบณั ฑิตยสถาน

169ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2478 พระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์แก้ไข
เพิ่มเติม พ.ศ. 2477

พระราชบัญญตั ปิ ระถมศึกษา พ.ศ. 2478

 2480 หลักสูตรชั้นประถมศึกษา มัธยมต้นและมัธยมปลาย
พ.ศ. 2480

 2481 พระราชบัญญตั ิควบคุมเดก็ และนักเรยี น พ.ศ. 2481

พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองและสงวนปา่ พ.ศ. 2481

พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. 2481

พระราชบัญญัติสภาจังหวัด พ.ศ. 2481 โดยแยกสภาจังหวัด
ออกจากกฎหมายเทศบาล

 2482 พระราชบญั ญัตเิ ครอ่ื งแบบนักเรยี น พ.ศ. 2482

พระราชบญั ญัตโิ รงเรียนราษฎร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2482

พระราชบญั ญัติลูกเสือ พ.ศ. 2482

 2483 พระราชบัญญัตบิ ารุงวฒั นธรรมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2483
 2484 พระราชบญั ญตั ิประถมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2483

พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. 2484

170 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

 2486 พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกาหนดส่งเสริมการรู้
หนังสือ พ.ศ. 2486

พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. 2486

 2488 พระราชบัญญัติยกเลกิ กฎหมายว่าด้วยการส่งเสรมิ การ
รู้หนงั สือ พ.ศ. 2488

 2490 จัดตง้ั องคก์ ารอตุ สาหกรรมป่าไมข้ ึน้ แทนบรษิ ัทไม้ไทย
 2491 หลักสูตรประถมศกึ ษา และหลักสูตรเตรียมอุดมศึกษา

พ.ศ. 2491
 2493 หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น และหลักสูตรมัธยมศึกษา

ตอนปลาย พ.ศ. 2493
 2494 แผนการศกึ ษาชาติ พ.ศ. 2494

จัดต้ังบริษัทไม้อัดไทยจากัด โดยอนุมัติให้สัมปทานป่าบ้านไร่-
ทับทัน จงั หวัดอุทัยธานี และค่อย ๆ เพิกถอนการทาสัมปทานแก่บริษัท
ต่างชาติ

กาหนดใหไ้ มส้ ักทว่ั ราชอาณาจักรเป็นไมห้ วงห้าม

 2495 ยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหาร
แห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 และประกาศใช้ พ.ร.บ.

171ล�ำดบั เหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2495 แทน เป็นการ
ปรบั ปรงุ การบริหารราชการส่วนท้องถนิ่ อกี ครง้ั

พระราชบญั ญตั สิ ุขาภิบาล พ.ศ. 2595

 2496 เทศบาลจัดต้ังขึ้นตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
มีมติคณะรัฐมนตรี 3 ข้อ คือ 1. ทรัพยากรธรรมชาติในไทย
ให้เฉพาะคนไทยในท้องถ่ินดาเนินการได้ 2. หากไม่สามารถ
ดาเนินการได้ให้พิจารณาแก่ท้องถิ่นอื่น 3. ต่างชาติพิจารณา
เมื่อมเี หตผุ ลพิเศษเท่านน้ั

 2497 การสัมปทานป่าไม้สักให้แก่ชาวต่างชาติสิ้นสุดลงและ
ไม่มีการต่ออายสุ ัมปทาน

 2498 จัดตั้งบริษัทป่าไม้ประจาจังหวัดเพ่ือส่งเสริมให้เอกชน
รบั ทาสัมปทานป่าไม้สกั มากขน้ึ

หลกั สตู รประถมศึกษา และหลกั สตู รเตรียมอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2498

พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการส่วนจังหวดั จัดตงั้ อบจ.

 2499 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนตาบล
จัดตงั้ อบต.

พระราชบญั ญตั สิ ภามหาวิทยาลัยแห่งชาติ พ.ศ. 2499

172 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

จัดต้ังองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ให้เป็นรัฐวิสาหกิจประเภท
นิติบุคคล สังกัดกระทรวงเกษตร เพ่ือรับหน้าท่ีทาป่าไม้แทนบริษัท
ต่างชาติทไี่ ด้ยุบไปแล้ว

 2500 ยกสุขาภิบาลจานวน 3 แห่งเป็นเทศบาลตาบล คือ
สุขาภิบาลโคกสาโรง สุขาภิบาลกบินทร์บุรีและสุขาภิบาลบัว
ใหญ่ รวมเป็นจานวนเทศบาลทงั้ สิ้นในขณะน้ัน 120 เทศบาล

 2502 แต่งต้ังคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ เพื่อจัดทา
โครงการและดาเนินงานเกี่ยวกับการสงวนและคุ้มครอง
ทรัพยากรธรรมชาติ และตั้งสานักกฎหมายขึ้นในกรมป่าไม้
โดยมีหน้าที่ดาเนินงานเกี่ยวกับคดีแพ่งและอาญา รวมท้ัง
ปัญหาทางกฎหมายต่าง ๆ ของกรมปา่ ไม้

พระราชบัญญัติสภาการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2502

 2503 คณะรัฐมนตรีมีมติ เร่ืองการทาไม้สักและการออก
ใบอนุญาตตั้งโรงงานแปรรูปไม้ ความว่า “การทาไม้สักมอบให้
องค์การอตุ สาหกรรมป่าไม้ทาแต่ผเู้ ดียว การตั้งโรงงาน แปรรูป
ไม้เพ่ิมข้ึนใหม่นั้น ให้ระงับเสียโดยเด็ดขาด” และจัดต้ังกอง
ตารวจป่าไม้เป็นคร้ังแรก พร้อมประกาศใช้พระราชบัญญัติ
สงวนและคุ้มครองสตั วป์ า่

173ล�ำดบั เหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

แผนพัฒนาการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2503 (2504-2509) ขยาย
การศกึ ษาภาคบังคับจาก 4 ปี เป็น 7 ปี

 2504 หลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนต้น หลักสูตร
ประโยคประถมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษา
ตอนต้นและหลกั สตู รประโยคมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พ.ศ. 2503

พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ
พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2504 ออกมา เพราะบทบญั ญตั ิก่อนหน้า
ไม่เพยี งพอในการคุม้ ครองจงึ มีการแก้ไขและให้เพ่มิ โทษ

 2505 พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ที่รวมศูนย์
อานาจท้ังหมดไว้ท่ีพระสงฆ์การระดับเจ้าอาวาส เจา้ คณะตาบล
เจ้าคณะอาเภอ เจ้าคณะจังหวัดและเจ้าคณะภาค และใน
มาตรา 7 พระมหากษัตรยิ ท์ รงสถาปนาสมเดจ็ พระสงั ฆราช

 2507 พระราชบัญญัติประถมศึกษา (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2505
โอนการศกึ ษาประชาบาลไปสังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด

 2509 ยุบสภาตาบลและคณะกรรมการตาบล โดยจัดต้ัง
คณะกรรมการสภาตาบลขึ้นแทน ทาให้กลายเป็นหน่วยงาน
รูปแบบหน่ึงของราชการสว่ นภูมิภาค

พระราชบญั ญตั ิครู (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2509

 2510 แผนพฒั นาการศกึ ษาฉบับที่ 2 (2510-2514)

174 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

 2514 ประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 24 และ 25 ลงวันที่ 21
ธันวาคม พ.ศ. 2514 รวมจังหวัดพระนครและธนบุรีเข้าเป็น
จงั หวัดเดียวกัน จัดระเบียบบริหารราชการรูปแบบเฉพาะเรียก
นครหลวงกรุงเทพธนบุรี ยุบรวมเทศบาลนครกรุงเทพ กับ
เทศบาลนครธนบุรี เปน็ เทศบาลนครหลวง

 2515 รวมพื้นที่เขตนครหลวงกรุงธนบุรีท้ังหมดเข้าด้วยกัน
รวมเป็นกรุงเทพมหานคร (กทม.) ผู้ว่าราชการมาจากการ
แต่งตั้งและถอดถอนโดยคณะรัฐมนตรีและประกาศคณะปฏิวัติ
ฉบบั ที่ 326 และยกเลกิ พระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหารราชการ
ส่วนตาบล พ.ศ. 2499 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการส่วนตาบล (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2511)

แผนพัฒนาการศกึ ษาแห่งชาตฉิ บบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2515 – 2519)

 2517 พระราชบัญญัติโอนกิจการบริหารของสานักงาน
เยาวชนแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรีไปเป็นของสานักงาน
ส่งเสรมิ เยาวชน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2517

 2518 มหานคร อันได้แก่กรุงเทพมหานคร จัดต้ังขึ้นตาม
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518
โดยปรับปรงุ จากประกาศคณะปฏวิ ัติ ฉบับที่ 335

 2520 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2520 –
2524)

175ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2521 ตราพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา
เกิดเมืองพทั ยา

 2525 ยกฐานะสุขาภิบาลข้ึนเป็นเทศบาลตาบลเพ่ิมเติมอีก
4 แห่ง คือ เทศบาลตาบลบ้านไผ่ จ.ขอนแก่น เทศบาลตาบล
ปากช่อง จ.นครราชสิมา เทศบาลตาบลตาคลี จ.นครสวรรค์
เทศบาลตาบลทางเกวียน จ.ระยอง

แผนพฒั นาการศกึ ษาแห่งชาติฉบบั ที่ 5 (พ.ศ. 2525 – 2529)

 2527 พระราชบญั ญัตปิ ระถมศกึ ษา (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2509
 2528 เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ โดยตรงจากประชาชน

ครงั้ แรก

ประกาศนโยบายป่าไม้แห่งชาติกาหนดให้มีพ้ืนท่ีป่าไม้อย่าง
นอ้ ย 40% (ให้เป็นป่าอนรุ กั ษ์ 15% และปา่ เศรษฐกจิ 25%)

 2530 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2530 –
2534)

 2532 หลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น
พ.ศ. 2521 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2533)

 2534 นายอานันท์ ปันยารชุน ประกาศใช้ พ.ร.บ. ระเบียบ
บรหิ ารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 เพอื่ แบ่งส่ ว น ราช ก ารให้
ชดั เจนและยังคงใช้มาจนถึงปัจจบุ นั

176 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

 2535 พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2535 กฎเกณฑ์ของมหาเถรสมาคม ตามมาตรา 19 ระบุ
ว่า “พระสังฆาธิการท่ีมีตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่งที่ดารงตาแหน่ง
ทางการปกครองคณะสงฆ์มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี พระสังฆาธิการ
ท่ี มี คุ ณ ส ม บั ติ ต า ม ที่ ร ะ บุ บ ไว้ ต้ อ ง จั ด ท า ป ร ะ วั ติ ต น เอ ง โด ย
ละเอียดตามฟอร์มที่คณะสงฆ์กาหนดไว้” ซ่ึงข้ันตอนการ
พิจารณานั้นต้องส่งข้ึนไปตามลาดับสายบังคับบัญชาทางการ
ปกครองคณะสงฆ์

 2535-2539 เลือกตงั้ ทั่วไปเร่ิมมีการให้ความสาคัญท้องถิ่น
จากพรรคการเมืองโดยการชูนโยบายเลือกต้ังผู้ว่าราชการจังหวัด
ในการหาเสียงเลือกตั้ง และกาหนดให้นายก อบจ. มาจาก
การเลอื กตงั้ ยกเลกิ ไมใ่ ห้ ผู้ว่าราชการจงั หวัดเปน็ นายก อบจ.

 2535 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับท่ี 7 (พ.ศ. 2535 –
2539)

 2537 พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล
พ.ศ. 2537

 2538 บังคับใช้พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหาร
ส่วนตาบล เกิด อบต. 617 แห่ง และเพ่ิมอย่างต่อเน่ืองจนถึง
2,760 แหง่ ในเดือนเมษายน 2539

พระราชบญั ญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538

177ล�ำดบั เหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2539 คาส่ังมหาเถรสมาคม เรื่อง ควบคุมการเร่ียไร พ.ศ.
2539

 2540 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 –
2544)

พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. 2540 ยกระดับสถาบันการศึกษาของสงฆ์ให้เทียบเท่ากับของ
มหาวทิ ยาลยั

พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 ทาให้
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ระดับจงั หวดั

 2541-2542 ยกฐานะสุขาภิบาลท้ังหมดจานวน 981 แห่ง
เป็นเทศบาลตาบล พ.ร.บ. เปล่ียนแปลงฐานะของสุขาภิบาล
เป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 มผี ลบังคบั ใช้ 25 พฤษภาคม 2542

แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ร.บ. สภาตาบลและองค์การบริหาร
ส่วนตาบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2542
ทสี่ าคัญคอื การให้สมาชกิ สภา อบต. มาจากการเลือกต้งั ท้งั หมด

แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
พ.ศ. 2540 เพ่มิ อานาจหนา้ ทใ่ี ห้ อบจ.

178 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496 และมีการ
ออก พ.ร.บ. เทศบาล (ฉบับท่ี 10) พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้
11 มีนาคม 2542 และ พ.ร.บ. เทศบาล (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2543
ให้เทศบาลเมืองและเทศบาลนคร เลือกตั้งนายกเทศมนตรี
โดยตรงหลงั ครบวาระของสมาชิกสภาเทศบาล

ออก พ.ร.บ. ระเบยี บบรหิ ารราชการเมืองพทั ยา 2542
ให้สมาชิกสภาเมืองพัทยามาจากการเลือกตั้งของประชาชน
โดยตรง กับให้มีนายกเมืองพัทยามาจากการเลือกต้ังของ
ประชาชนโดยตรง

 2542 พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542
 2543 ได้กาหนดกฎหมายเก่ียวกบั ทอ้ งถน่ิ ดังน้ี

พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้
วนั ท่ี 18 พฤศจกิ ายน 2542

พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลท้องถ่ิน พ.ศ. 2542
มีผลบังคบั ใช้วนั ท่ี 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542

พ.ร.บ. ว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอข้อบัญญัติท้องถ่ิน
พ.ศ. 2542 มีผลบงั คบั ใชว้ นั ท่ี 27 ตลุ าคม พ.ศ. 2543

179ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

พ.ร.บ. วา่ ด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิก
สภาท้องถิ่นหรือผบู้ ริหารท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใชว้ ันที่
27 ตุลาคม 2542

 2544 หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2544
 2545 พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545

แผนพัฒนาการศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 9 (พ.ศ. 2545 – 2549)

ประกาศใช้พระราชบัญญัติการเลือกต้ังสมาชิกสภาท้องถิ่น
พ.ศ. 2545 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เป็นผลทาให้การจัดให้มี
การเลือกต้ังสมาชิกสภาท้องถ่ินเป็นหน้าที่ของคณ ะกรรมการ
การเลอื กตงั้ ซ่ึงเดมิ เปน็ หน้าทขี่ องกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย

 2546 พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล
พ.ศ. 2537 แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2546

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546

พระราชบญั ญัตสิ ภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546

 2547 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547

180 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น

 2551 พระราชบญั ญัติเคร่ืองแบบนักเรยี น พ.ศ. 2551

พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551

 2552 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2552
– 2559)

 2553 พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553

พระราชบัญญัติวฒั นธรรมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2553

แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 11 ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.
2552 – 2559)

 2557 มีการยึดอานาจการปกครองนาโดยพลเอกประยุทธ์
จันทร์โอชา และออกคาสั่ง คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ ที่ 1/2557 ให้งดการจัดการเลือกต้ังสมาชิกสภาและ
นายกองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินท่วั ประเทศ

 2560 แผนการศึกษาแห่งชาติฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2579)

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560)

 2561 ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 –
2580)

181ล�ำดับเหตกุ ารณ์ : รฐั และท้องถิ่นไทย (พ.ศ. 2417-2564)

 2562 พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562

พระราชบัญญัตกิ ารอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2562

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตรว์ จิ ยั และนวตั กรรม พ.ศ. 2562

 2562 พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือ
ผบู้ ริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2562

 2563 เลอื กตงั้ สมาชิกสภา อบจ. ผู้บริหาร อบจ. หลังจากถูก
ระงบั ไป 6 ปี

 2564 เลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี
หลงั จากถกู ระงบั ไป 7 ปี

โครงสร้างคณะสงฆ์ในปัจจุบันแบ่งการปกครองคณะสงฆ์
ส่วนกลางและการปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค มีมหาเถรสมาคมเป็น
องค์กรที่มีอานาจสูงสดุ และมีเจ้าคณะใหญ่ซึ่งมี 5 เจ้าคณะเป็นผู้ควบคุม
เขตปกครองสงฆ์แต่ละคณะ ส่วนในภูมิภาคน้ันแบ่งเขตการปกครอง
ออกเป็น 18 ภาคมีเจ้าคณะภาคแต่ละภาคเป็นผู้รับผิดชอบและมีส่วนท่ี
รับผดิ ชอบอยภู่ ายใต้อกี 3 ชน้ั คอื จงั หวดั อาเภอ และตาบล

เรียบเรียงโดย
นรเศษรฐ ช่มุ ถนอม, สัพพญั ญู วงศ์ชัย และหฤทัยชนก คำใส

182 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ประวตั ิศาสตรก์ ับการเมอื งการปกครองท้องถิ่น


Click to View FlipBook Version