The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tippawan123gipza, 2019-09-16 22:26:52

รวมไฟล์

รวมไฟล์

ประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)
ช่ือวิชา คณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน รหสั วิชา 2000 – 1401 จานวนคาบ : จานวนหนว่ ยกติ (2 : 2)

ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 ผู้สอน นางสาวทพิ วรรณ ค้มุ ไพฑูรย์

จดุ ประสงค์รายวิชา เพ่ือให้
1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจ เกดิ ความคิดรวบยอดเกยี่ วกบั อัตราส่วน สัดส่วน รอ้ ยละ การแปรผัน สถิติ
เบื้องตน้ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง และการวัดการกระจายของข้อมลู
2. มที กั ษะกระบวนการคิดและนาวธิ กี ารแกป้ ญั หาเร่ือง อตั ราส่วน สัดสว่ น ร้อยละ การแปรผัน สถิติ
เบื้องตน้ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจายของข้อมลู ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั
3. มเี จตคตทิ ดี่ ีในการเรียนรู้ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแปรผัน สถติ ิเบื้องตน้ การวัดแนวโน้มเข้าสู่
ส่วนกลาง และการวัดการกระจายของข้อมลู

สมรรถนะรายวิชา
1. ดาเนินการและประยุกตใ์ ช้เก่ียวกบั อตั ราส่วน สัดส่วน และร้อยละในวิชาชีพ
2. ดาเนินการและประยุกตใ์ ช้เก่ียวกบั การแปรผันในวิชาชีพ
3. สารวจและจดหมวดหมู่ข้อมลู อย่างงา่ ย
4. เลือกใช้ค่ากลางของข้อมลู ที่เหมาะสมกบั ข้อมลู ท่ีกาหนด
5. วเิ คราะห์ตาแหน่งของข้อมูล และการวัดการกระจายของข้อมลู จากขอ้ มลู ท่ีกาหนด
6. ใช้ข้อมลู ข่าวสาร ค่าสถิติ และค่าสถิติทไ่ี ดจ้ ากการวิเคราะห์ข้อมลู ในการตัดสินใจ

คาอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาเกย่ี วกบั ทักษะการคิดคานวณ การแก้ปญั หาเรื่องอัตราส่วน สัดส่วน รอ้ ยละ การแปรผัน สถิติ

เบื้องตน้ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจายของข้อมลู และฝึกปฏิบัตใิ นการเลือกใช้ค่าสถิติท่ี
เหมาะสมกับข้อมลู

โครงการสอน
รหสั วิชา 2000 – 1401 วิชา คณิตศาสตร์พนื้ ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์
ระดบั ช้ัน ปวช. เวลา 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ จานวน 2 หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 1

หน่วยการ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้/รายการสอน สปั ดาห์ท่ี ชว่ั โมงที่
เรยี นรทู้ ่ี

1 อัตราส่วน สัดส่วน 1-3 1-8

อัตราสว่ นและการเปรยี บเทียบอัตราส่วน 1 1-2

อัตราส่วนต่อเนื่อง 2 3-4

สดั ส่วนและการหาคา่ ตัวแปรของสัดสว่ น 3 5-6

การแกโ้ จทยป์ ญั หาโดยใช้สัดส่วน 4 7-8
2 รอ้ ยละ 5-7 9-14
5 9-10
ร้อยละและการแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั รอ้ ยละ 6 11-12
ส่วนลดการคา้ และส่วนลดเงนิ สด 7 13-14
ดอกเบย้ี 8-10 15-20
3 การแปรผนั 8 15-16
การแปรผันโดยตรง

การแปรผันแบบผกผนั 9 17-18
การแปรผันเกย่ี วเนื่อง 10 19-20
4 สถติ ิเบ้อื งตน้ 11 21-22

สถติ ิและการนาเสนอขอ้ มูล 11 21-22
5 การวัดแนวโน้มเข้าส่สู ว่ นกลาง 12-14 23-28

การวดั แนวโน้มเข้าสสู่ ่วนกลาง และค่าเฉลย่ี เลขคณติ 12 23-24
มธั ยฐาน 13 25-26

ฐานนิยม 14 27-28

6 การวัดและการกระจายข้อมูล 15-17 29-34
การวัดตาแหน่งของข้อมูล
15 29-30
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
16 31-32
สัมประสทิ ธแ์ิ ละการแปรผนั
17 33-34
สอบปลายภาค
18 35-36
รวม
18 36
การวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
20 คะแนน
1. กจิ กรรมในช้นั เรยี น (จติ พิสัย) 5 คะแนน
 การแต่งกาย (ทรงผม , เสอ้ื ผา้ , ถงุ เท้า) 5 คะแนน
5 คะแนน
 เวลาเรยี น (ขาด , ลา , มาสาย) 5 คะแนน
40 คะแนน
 ความรบั ผดิ ชอบ (สมดุ เรียน , สง่ งาน , ทาความสะอาด) 10 คะแนน
10 คะแนน
 พฤตกิ รรมในชน้ั เรียน (ความต้ังใจ , กริยามารยาท) 20 คะแนน
2. สอบประจาหน่วยเรยี น
3. ใบงาน/แบบฝกึ ทกั ษะ
4. กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
5. ประเมินผลการเรียน

เกณฑป์ ระเมินผลการเรยี น

ระดับคะแนน เกรด

80 – 100 4

75 – 79 3.5

70 – 74 3

65 – 69 2.5

60 – 64 2

55 – 59 1.5

50 – 54 1

0 – 49 0

เอกสารประกอบการเรยี นการสอน

หนังสอื เรียนวิชาคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ( 2000-1401 )

ประมวลการสอนรายวชิ า (Course Syllabus)
ชื่อวิชา คณติ ศาสตร์พน้ื ฐานอาชีพ รหสั วิชา 20000 – 1401 จานวนคาบ : จานวนหน่วยกิต (2 : 2)

ประจาภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 ผสู้ อน นางสาวทิพวรรณ คุ้มไพฑรู ย์

จุดประสงคร์ ายวชิ า

1. เพอื่ ใหร้ ้แู ละเข้าใจเกย่ี วกับสมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตวั แปร สถติ ิเบ้ืองต้น การ
วัดแนวโน้มเขา้ สู่สว่ นกลาง การวัดตาแหนง่ และการวัดการกระจายข้อมูล

2. มีทักษะกระบวนการคดิ และแกป้ ัญหาเกย่ี วกบั สมการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดียว ระบบสมการเชิงเสน้ สองตัวแปร
สถติ เิ บอ้ื งต้น การวดั แนวโน้มเขา้ สูส่ ว่ นกลาง การวดั ตาแหน่งและการวัดการกระจายข้อมูล และนาไปประยุกต์ใชใ้ น
งานอาชพี

3. เพ่อื ให้มีเจตคตแิ ละกจิ นสิ ัยท่ดี ีในการคิด วิเคราะห์ แกป้ ัญหาในสถานการณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบและมี
ความละเอียดรอบคอบในการปฏิบตั ิงาน

สมรรถนะรายวชิ า

1. ประยกุ ตค์ วามรเู้ กี่ยวกบั สมการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดียว ระบบสมการเชงิ เสน้ สองตัวแปรไปใช้ในสถานการณ์
หรือปัญหาท่ีกาหนด

2. สรา้ งตารางแจกแจงความถี่ กราฟหรือแผนภมู ิ และตีความหมายหรือวิเคราะห์ข้อมลู จากตาราง กราฟหรือ
แผนภมู ิ

3. เลือกใช้คา่ เฉล่ยี เลขคณติ มัธยฐาน และฐานนิยมใหเ้ หมาะสมกบั ขอ้ มลู
4. วดั ตาแหนง่ ทข่ี องข้อมูลโดยใช้เปอร์เซ็นไทล์
5. วัดการกระจายขอ้ มลู โดยใช้พิสัย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิข์ องพิสยั และสัมประสทิ ธ์ิ
การแปรผัน

คาอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาและฝกึ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกย่ี วกบั สมการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดยี ว ระบบสมการเชงิ เสน้
สองตัวแปร สถิตเิ บ้ืองตน้ การวัดแนวโน้มเขา้ สสู่ ่วนกลาง การวัดตาแหน่งและการวัดการกระจายข้อมูล

โครงการสอน

รหัสวชิ า 20000 – 1401 วชิ า คณติ ศาสตร์พืน้ ฐานอาชพี กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

ระดบั ช้ัน ปวช. เวลา 2 ช่ัวโมง / สัปดาห์ จานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี 1

หนว่ ยการ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้/รายการสอน สัปดาหท์ ี่ ชว่ั โมงท่ี
เรียนรทู้ ี่

1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1-2 1-4

1. ความหมายของสมการ 1 1-2
2. สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี ว
3. การแก้สมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดยี ว
4.การนาสมบัติของการเท่ากันไปใช้ในการหาคาตอบของสมการเชงิ เส้น
ตัวแปรเดียว

5. การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกับสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว 2 3-4

2 ระบบสมการเชงิ เส้นสองตัวแปร 3-4 5-8

1. ความหมายของสมการเชิงเสน้ สองตวั แปร 3 5-6
2. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

3. โจทยร์ ะบบสมการเชิงเสน้ สองตวั แปร 4 7-8

3 สถิติเบื้องต้น 5-6 9-12

1. ความหมายของสถิติ 5 9-10
2. ข้อมลู ทางสถิติ
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

4. การนาเสนอข้อมลู 6 11-12
4 การวัดแนวโนม้ เขา้ สูส่ ว่ นกลาง 7-12 13-24

1. การแจกแจงความถ่ี 7-8 13-16
9-10 17-20
2. คา่ เฉลยี่ เลขคณิต 11 21-22
12 23-24
3. มัธยฐาน
13 25-26
4. ฐานนยิ ม 13 25-26
14-17 27-34
5 การวดั ตาแหนง่ ของข้อมูล 14-15 27-30
1. เปอร์เซน็ ไทล์ 16-17 31-34
18 35-36
6 การวดั การกระจายของข้อมูล 18 36

1. การวัดการกระจายสัมบรู ณ์ 20 คะแนน
5 คะแนน
2. การวดั การกระจายสมั พัทธ์ 5 คะแนน
5 คะแนน
สอบปลายภาค 5 คะแนน
40 คะแนน
รวม 10 คะแนน
10 คะแนน
การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 20 คะแนน
1. กิจกรรมในช้นั เรียน (จิตพิสยั )
 การแต่งกาย (ทรงผม , เส้ือผ้า , ถงุ เท้า)
 เวลาเรียน (ขาด , ลา , มาสาย)
 ความรบั ผิดชอบ (สมดุ เรียน , สง่ งาน , ทาความสะอาด)
 พฤติกรรมในชนั้ เรียน (ความต้ังใจ , กริยามารยาท)
2. สอบประจาหน่วยเรียน
3. ใบงาน/แบบฝึกทกั ษะ
4. กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน
5. ประเมนิ ผลการเรยี น

เกณฑป์ ระเมนิ ผลการเรยี น

ระดบั คะแนน เกรด
80 – 100 4
75 – 79 3.5
70 – 74 3
65 – 69 2.5
60 – 64 2
55 – 59 1.5
50 – 54 1
0 – 49 0
เอกสารประกอบการเรยี นการสอน

1. หนังสอื เรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์พ้นื ฐานอาชพี ( 20000-1401 )

ประมวลการสอนรายวชิ า (Course Syllabus)
ชอ่ื วิชา คณติ ศาสตร์พน้ื ฐานอุตสาหกรรม 1 รหสั วิชา 2000 – 1403 จานวนคาบ : จานวนหนว่ ยกติ (2 : 2)

ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ผสู้ อน นางสาวทิพวรรณ คมุ้ ไพฑูรย์

จดุ ประสงคร์ ายวชิ าเพอ่ื ให้

1. มีความรู้ความเข้าใจ เกิดความคิดรวบยอดเก่ียวกบั มุมและการวดั มุม อัตราส่วนตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติ
ของวงกลมหนงึ่ หนว่ ย กฎของไซน์ กฎของโคไซน์ เมทรกิ ซ์ ดเี ทอร์มแิ นนตไ์ มเ่ กนิ อนั ดับสาม

2. มที กั ษะกระบวนการคิดและนาวธิ กี ารแก้ปญั หาเรื่องมมุ และการวดั มุม อตั ราสว่ นตรีโกณมติ ิ ตรโี กณมติ ิ
ของวงกลมหนึ่งหนว่ ย กฎของไซน์ กฎของโคไซน์ เมทรกิ ซ์ ดีเทอร์มิแนนต์ไมเ่ กนิ อนั ดับสามประยกุ ต์ใชใ้ นงาน
วิชาชพี

3. มเี จตคติที่ดใี นการเรียนรู้มมุ และการวดั มมุ อัตราสว่ นตรโี กณมิติ ตรีโกณมิติของวงกลมหนง่ึ หน่วย กฎ
ของไซน์ กฎของโคไซน์ เมทริกซ์ ดีเทอร์มิแนนต์ไม่เกินอันดับสาม

สมรรถนะรายวิชา

1. คาดคะเนระยะทางและความสงู โดยใชอ้ ัตราสว่ นตรโี กณมติ ขิ องมุมที่กาหนด
2. ประยุกต์การวดั โดยใชค้ วามรเู้ รื่อง อัตราสว่ นตรีโกณมิติ
3. ดาเนินการและคานวณเก่ียวกับฟังก์ชันตรีโกณมติ ิ
4. ประยกุ ต์ใช้ความรูเ้ กีย่ วกับเมทริกซ์ และการคานวณค่าดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์
5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับดีเทอรม์ แิ นนตห์ าคาตอบของระบบสมการเชิงเส้น

คาอธบิ ายรายวชิ า

ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการคิดคานวณ แกป้ ัญหาเร่ืองมุมและการวัดมุม อัตราสว่ นตรโี กณมิติ ตรโี กณมิตขิ อง
วงกลมหนึ่งหนว่ ย กฎของไซน์ กฎของโคไซน์ เมทรกิ ซ์ ดีเทอร์มิแนนต์ไมเ่ กินอันดับสาม
และประยุกตใ์ ชด้ ีเทอร์มิแนนต์หาผลเฉลยของระบบสมการเชงิ เส้น

โครงการสอน

รหสั วิชา 2000 – 1403 วิชา คณิตศาสตร์พ้ืนฐานอุตสาหกรรม1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์

ระดับชน้ั ปวช. เวลา 2 ช่ัวโมง / สัปดาห์ จานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี 1

หนว่ ยการ ชอ่ื หน่วยการเรยี นร/ู้ รายการสอน สปั ดาห์ท่ี ชว่ั โมงท่ี
เรียนรู้ท่ี

1 มมุ และการวัดมุม 1 1-2

2 อัตราสว่ นตรโี กณมติ ิ 2 3-4

3 ตรโี กณมติ ิของวงกลมหน่งึ หน่วย 3-4 5-8

1.ฟังกช์ ันตรโี กณมิตขิ องวงกลมหนงึ่ หน่วย 3 5-6
2.การเขียนกราฟของฟังกช์ ันไซน์และโคไซน์ 4 7-8
4 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ 5-7 9-14

1. กฎของไซน์ 5 9-10

2. กฎของโคไซน์ 6 11-12

3. การประยกุ ต์ใชต้ รีโกณมติ ิแกป้ ญั หาโจทย์ 7 13-14

5 เมทรกิ ซ์ 8-12 15-24
1. ความหมายและชนดิ ของเมทริกซ์ 8 15-16
2. การเทา่ กนั การคณู จานวนคงที่กบั เมทริกซ์ 9 17-18
3. การบวกและการลบเมทริกซ์ 10 19-20
4. การคูณเมทรกิ ซ์กบั เมทรกิ ซ์ 11 21-22
5. เมทรกิ ซส์ ลบั เปล่ียน 12 23-24

6 ดเี ทอร์มิแนนต์ 13-17 25-34

1. ความหมายและสมบตั ดิ ีเทอร์มแิ นนต์ 13 25-26

2. ดเี ทอร์มแิ นนตอ์ นั ดบั สอง 14 27-28

3. ดีเทอร์มแิ นนต์อนั ดับสาม 15 29-30

4. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใชด้ เี ทอรม์ ิแนนต์ 16-17 30-34

สอบปลายภาค 18 35-36

รวม 18 36

การวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 20 คะแนน
5 คะแนน
1. กิจกรรมในชัน้ เรียน (จิตพิสยั ) 5 คะแนน
 การแตง่ กาย (ทรงผม , เสือ้ ผา้ , ถุงเทา้ ) 5 คะแนน
5 คะแนน
 เวลาเรยี น (ขาด , ลา , มาสาย) 40 คะแนน
10 คะแนน
 ความรับผดิ ชอบ (สมดุ เรียน , สง่ งาน , ทาความสะอาด) 10 คะแนน
20 คะแนน
 พฤตกิ รรมในช้ันเรยี น (ความต้งั ใจ , กรยิ ามารยาท)
2. สอบประจาหนว่ ยเรยี น
3. ใบงาน/แบบฝกึ ทกั ษะ
4. กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
5. ประเมนิ ผลการเรยี น

เกณฑป์ ระเมินผลการเรยี น

ระดับคะแนน เกรด
80 – 100 4
75 – 79 3.5
70 – 74 3
65 – 69 2.5
60 – 64 2
55 – 59 1.5
50 – 54 1
0 – 49 0
เอกสารประกอบการเรียนการสอน

1. หนังสือเรียนวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอุตสาหกรรม 1 ( 2000-1403 )

ประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)
ช่ือวิชา คณิตศาสตร์อุตสาหกรรม 2 รหัสวิชา 2000 – 1404 จานวนคาบ : จานวนหน่วยกิต (2 : 2)

ประจาภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ผูส้ อน นางสาวทพิ วรรณ คุ้มไพฑรู ย์

จดุ ประสงคร์ ายวิชา
1. เพื่อใหม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจ เกิดความคดิ รวบยอดเกยี่ วกบั มุมและการวัดมุม อตั ราส่วนตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติ

ของวงกลมหน่ึงหน่วย กฎของไซน์ กฎของโคไซน์ จานวนเชิงซ้อน เมทริกซ์ ดีเทอร์มิแนนต์ไม่เกินอันดับสาม และ
ประยกุ ต์ใชด้ ีเทอร์มิแนนต์หาผลเฉลยของระบบสมการเชงิ เส้น

2. เพื่อให้มีทักษะกระบวนการคิดและนาวิธีการแก้ปัญหาเร่ือง มุมและการวัดมุม อัตราส่วนตรีโกณมิติ
ตรโี กณมติ ขิ องวงกลมหนง่ึ หน่วย กฎของไซน์ กฎของโคไซน์ จานวนเชิงซ้อน เมทริกซ์ ดีเทอร์มิแนนต์ไม่เกินอันดับสาม
และประยุกตใ์ ช้ดีเทอรม์ แิ นนต์หาผลเฉลยของระบบสมการเชงิ เสน้ ในงานอาชพี

3. มีเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ มุมและการวัดมุมอัตราส่วนตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติของวงกลมหน่ึงหน่วย กฎของ
ไซน์ กฎของโคไซน์ จานวนเชิงซ้อน เมทริกซ์ ดีเทอร์มิแนนต์ไม่เกินอันดับสาม และประยุกต์ใช้ดีเทอร์มิแนนต์หาผล
เฉลยของระบบสมการเชิงเสน้

สมรรถนะรายวิชา
1. คาดคะเนระยะทางและความสงู โดยใชอ้ ัตราสว่ นตรโี กณมิตขิ องมุมท่กี าหนด
2. ประยกุ ตก์ ารวัดโดยใช้ความร้เู รอ่ื ง อัตราส่วนตรีโกณมิติ
3. ดาเนินการและคานวณเกี่ยวกบั ฟงั กช์ ันตรีโกณมติ ิ
4. ประยกุ ต์ใช้ความรู้เกยี่ วกับเมทริกซ์ และการคานวณค่าดเี ทอรม์ แิ นนต์ของเมทริกซ์
5. ใชค้ วามรูแ้ ละทกั ษะเก่ยี วกบั ดเี ทอร์มิแนนตห์ าคาตอบของระบบสมการเชิงเส้น
6. ดาเนนิ การ และประยกุ ต์ใชจ้ านวนเชงิ ซ้อนในรูปพิกดั ฉาก และพกิ ดั เชงิ ขั้วในงานอาชีพ
7. ประยุกต์ใชจ้ านวนเชงิ ซ้อนทอ่ี ยใู่ นรูปเลขยกกาลังและรูปกรณฑ์ในงานอาชีพ

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศกึ ษาเกี่ยวกับ ทักษะการคดิ คานวณ การแก้ปัญหาเรือ่ งมุมและการวดั มุม อตั ราสว่ นตรีโกณมิติ

ตรโี กณมติ ขิ องวงกลมหนงึ่ หน่วย กฎของไซน์ กฎของโคไซน์ จานวนเชงิ ซ้อน เมทริกซ์ ดเี ทอรม์ แิ นนต์ไม่เกินอนั ดบั สาม
และประยุกต์ใช้ดีเทอร์มิแนนตห์ าผลเฉลยของระบบสมการเชงิ เส้น

โครงการสอน

รหสั วิชา 2000 – 1404 วิชา คณติ ศาสตร์อุตสาหกรรม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์

ระดับชน้ั ปวช. เวลา 2 ช่ัวโมง / สัปดาห์ จานวน 2 หน่วยกติ ภาคเรยี นที่ 1

หนว่ ยการ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู/้ รายการสอน สัปดาหท์ ี่ ช่ัวโมงท่ี
เรียนรูท้ ่ี

1 มุมและการวดั มุม 1 1-2

2 อัตราสว่ นตรโี กณมิติ 2 3-4

3 ตรโี กณมิติของวงกลมหนง่ึ หน่วย 3-4 5-8
1.ฟงั ก์ชันตรีโกณมิติของวงกลมหนง่ึ หนว่ ย 3 5-6

2.การเขยี นกราฟของฟงั กช์ ันไซน์และโคไซน์ 4 7-8
4 กฎของไซนแ์ ละกฎของโคไซน์ 5-6 9-12

1. กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ 5 9-10

2. การประยกุ ต์ใช้ตรีโกณมติ ิแกป้ ัญหาโจทย์ 6 11-12

5 จานวนเชิงซ้อน 7-10 13-20

1. ความหมาย และการเขยี นกราฟของจานวนเชิงซ้อน 7 13-14

2. การเท่ากนั และการบวกลบจานวนเชงิ ซ้อน 8 15-16

3. จานวนเชงิ ซ้อนสงั ยคุ 9 17-18

4. การประยกุ ต์ใช้จานวนเชงิ ซอ้ นในงานชา่ ง 10 19-20

6 เมทรกิ ซ์ 11-14 21--28
1. ความหมายและชนดิ ของเมทรกิ ซ์ 8 21-22
2. การเท่ากัน การคูณจานวนคงท่ีกบั เมทริกซ์ 9 23-24
3. การบวกและการลบเมทริกซ์ 10 25-26
4. การคณู เมทริกซ์กบั เมทรกิ ซ์ และ เมทริกซ์สลบั เปลีย่ น 11 27-28

7 ดเี ทอร์มิแนนต์ 15-17 29-34

1. ความหมายและสมบตั ิดีเทอรม์ แิ นนต์ ดีเทอร์มิแนนต์อันดบั สอง 15 29-30

2. ดีเทอร์มแิ นนต์อนั ดับสาม 16 31-32

3. การแก้ระบบสมการเชงิ เส้นโดยใชด้ ีเทอรม์ ิแนนต์ 17 33-34

สอบปลายภาค 18 35-36

รวม 18 36

การวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น

1. กจิ กรรมในชน้ั เรียน (จติ พสิ ยั ) 20 คะแนน

 การแตง่ กาย (ทรงผม , เส้อื ผ้า , ถุงเทา้ ) 5 คะแนน

 เวลาเรยี น (ขาด , ลา , มาสาย) 5 คะแนน

 ความรบั ผดิ ชอบ (สมดุ เรียน , สง่ งาน , ทาความสะอาด) 5 คะแนน

 พฤตกิ รรมในชั้นเรยี น (ความตงั้ ใจ , กรยิ ามารยาท) 5 คะแนน
2. สอบประจาหน่วยเรยี น 40 คะแนน
3. ใบงาน/แบบฝึกทักษะ 10 คะแนน
4. กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 10 คะแนน
5. ประเมนิ ผลการเรียน 20 คะแนน

เกณฑป์ ระเมนิ ผลการเรยี น

ระดบั คะแนน เกรด
80 – 100 4
75 – 79 3.5
70 – 74 3
65 – 69 2.5
60 – 64 2
55 – 59 1.5
50 – 54 1
0 – 49 0
เอกสารประกอบการเรยี นการสอน

หนังสอื เรยี นวิชาคณติ ศาสตร์อตุ สาหกรรม 2 ( 2000-1404 )

แผนการจัดการเรยี นรู้บรู ณาการ
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
หลักสูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556

รายวิชา
คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน
รหสั วิชา 2000-1401

จัดทาโดย
นางสาวทิพวรรณ คุม้ ไพฑรู ย์
สาขาวชิ าสามญั สมั พนั ธ์ (หมวดคณิตศาสตร์)

วิทยาลัยเทคนิคระยอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

ลกั ษณะรายวชิ า
รหสั 2000-1404 วชิ าคณติ ศาสตรอ์ ตุ สาหกกรม 2
หนว่ ยกิต (ช่ัวโมง) 2 (2) เวลาเรยี นตอ่ ภาค 36 ชั่วโมง

รายวชิ าตามหลกั สตู ร
จุดประสงค์รายวิชา เพ่ือให้

1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ เกดิ ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั อตั ราส่วน สดั ส่วน รอ้ ยละ การแปรผัน สถติ ิ
เบอ้ื งตน้ การวัดแนวโนม้ เข้าสู่สว่ นกลาง และการวัดการกระจายของข้อมูล

2. มีทกั ษะกระบวนการคดิ และนาวิธกี ารแกป้ ัญหาเร่ือง อตั ราส่วน สัดสว่ น ร้อยละ การแปรผนั สถติ ิ
เบอ้ื งต้น การวัดแนวโนม้ เข้าส่สู ่วนกลาง การวัดการกระจายของขอ้ มูล ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

3. มเี จตคติทีด่ ีในการเรยี นรู้ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแปรผนั สถิตเิ บ้อื งต้น การวัดแนวโน้มเขา้
สูส่ ่วนกลาง และการวัดการกระจายของข้อมูล

สมรรถนะรายวิชา
1. ดาเนินการและประยุกต์ใชเ้ ก่ียวกบั อัตราสว่ น สดั สว่ น และร้อยละในวชิ าชีพ
2. ดาเนินการและประยุกตใ์ ชเ้ ก่ียวกบั การแปรผนั ในวิชาชีพ
3. สารวจและจดหมวดหมขู่ ้อมลู อยา่ งง่าย
4. เลอื กใชค้ ่ากลางของขอ้ มลู ท่เี หมาะสมกับข้อมลู ท่ีกาหนด
5. วเิ คราะห์ตาแหน่งของข้อมลู และการวัดการกระจายของข้อมลู จากข้อมูลทีก่ าหนด
6. ใช้ขอ้ มูลข่าวสาร คา่ สถิติ และคา่ สถติ ิท่ไี ดจ้ ากการวิเคราะห์ข้อมลู ในการตัดสนิ ใจ

คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาเก่ยี วกับ ทักษะการคิดคานวณ การแก้ปญั หาเร่ืองอัตราสว่ น สัดสว่ น ร้อยละ การแปรผัน

สถิตเิ บ้ืองต้น การวดั แนวโนม้ เขา้ สสู่ ว่ นกลาง การวัดการกระจายของข้อมูล และฝึกปฏิบตั ใิ นการเลอื กใช้
ค่าสถิตทิ ่ีเหมาะสมกบั ข้อมลู

ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู ร
รหัส 2000 – 1401 วชิ า คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน
ช้นั ปวช.1 สาขา/กลมุ่ วิชา สาขาวิชาพืน้ ฐานท่ัวไป

พฤตกิ รรม พุทธิพสิ ัย (50%)
ความรู้
ชอื่ หน่วย ความเ ้ขาใจ
1. อัตราส่วน สดั ส่วน การนาไปใ ้ช
2. ร้อยละ
3. การแปรผนั การ
4. สถติ เิ บอ้ื งต้น ิวเคกราาระ ์ห
ัสงเคราะห์
การประเ ิมน
ทักษะ ิพ ัสย

(30%)
ิจตพิ ัสย (20%)

รวม
ลา ัดบ
ความสาคัญ
จานวน ั่ชวโมง

2 2 3 2 1 2 7 5 24 3 8
2 2 3 2 3 2 8 5 27 1 6
2 2 2 2 1 2 7 5 23 4 6
2 2 3 2 2 2 8 5 26 2 14

สอบปลายภาค 8 8 11 8 7 8 30 20 10 2
รวม 0 36

ลาดบั ความสาคญั 44345412

หนว่ ยการจัดการเรียนรู้
รหัส 2000 1401 คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน

จานวน 2 หนว่ ยกติ 2 ชวั่ โมง

หนว่ ยการ ชือ่ หน่วยการเรยี นร/ู้ รายการสอน สัปดาห์ที่ ชว่ั โมงที่
เรยี นรู้ที่
1-3 1-8
1 อตั ราส่วน สดั ส่วน 1 1-2
อัตราสว่ นและการเปรียบเทยี บอตั ราส่วน 2 3-4
อัตราสว่ นต่อเนื่อง 3 5-6
สัดส่วนและการหาคา่ ตวั แปรของสดั ส่วน 4 7-8
การแกโ้ จทย์ปัญหาโดยใชส้ ัดส่วน 5-7 9-14
5 9-10
2 ร้อยละ 6 11-12
รอ้ ยละและการแกโ้ จทย์ปญั หาเกีย่ วกบั รอ้ ยละ 7 13-14
ส่วนลดการค้าและสว่ นลดเงินสด 8-10 15-20
ดอกเบีย้ 8 15-16

3 การแปรผนั 9 17-18
การแปรผันโดยตรง 10 19-20
11 21-22
การแปรผันแบบผกผัน 11 21-22
การแปรผันเกยี่ วเนื่อง 12-14 23-28
4 สถิติเบือ้ งตน้ 12 23-24
สถติ แิ ละการนาเสนอข้อมลู 13 25-26
5 การวดั แนวโน้มเขา้ สสู่ ว่ นกลาง 14 27-28
การวดั แนวโน้มเข้าสู่สว่ นกลาง และคา่ เฉล่ยี เลขคณติ 15-17 29-34
มัธยฐาน 15 29-30
16 31-32
ฐานนิยม 17 33-34
6 การวัดและการกระจายข้อมูล 18 35-36
18 36
การวัดตาแหน่งของขอ้ มลู
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
สมั ประสทิ ธิแ์ ละการแปรผนั

สอบปลายภาค
รวม

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 ระดับช้ัน ปวช.
ช่ือวิชา คณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหสั วชิ า 2000 – 1401 เวลารวม 8 ชั่วโมง
ชอื่ หน่วย อตั ราส่วน สัดส่วน จานวน 2 ชวั่ โมง
หนว่ ยที่ 1 อัตราส่วนและการเปรยี บเทียบอตั ราสว่ น

1. สาระสาคัญ
อตั ราสว่ น เปน็ การเปรียบเทียบจานวนตัง้ แต่สองจานวนข้ึนไป ใช้แกป้ ัญหาโจทย์ ซง่ึ มีการเปรยี บเทียบจานวน

2. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้
ดาเนนิ การและประยุกตใ์ ชเ้ ก่ียวกบั อตั ราส่วน สดั สว่ นในวชิ าชพี

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 จดุ ประสงค์ท่ัวไป
(1) ผู้เรียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเรื่องอตั ราส่วนและนาไปใช้ได้
3.2 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
(1) เปรยี บเทียบความหมายของอัตราสว่ นกบั เศษส่วนได้
(2) หาอัตราสว่ นทีเ่ ท่ากับอตั ราสว่ นท่ีกาหนดให้ได้
(3) หาอตั ราสว่ นอยา่ งต่าของอตั ราส่วนทกี่ าหนดใหไ้ ด้

4. เนอ้ื หาสาระ
อตั ราส่วน คือ จานวนท่ีแสดงการเปรยี บเทยี บระหว่างจานวนสองจานวนใด ๆ

อตั ราสว่ น “a ต่อ b” เขียนแทนดว้ ย a  b หรอื เขยี นใหอ้ ย่ใู นรูปเศษสวนไดเ้ ป็น เรยี ก “a” วา่ จานวนแรก

หรือจานวนทหี่ นึ่ง และ “b” เปน็ จานวนหลัง หรอื จานวนท่สี อง โดยที่ b  0
ขอ้ สงั เกต
(1) ตวั เลขท่ีแสดงอตั ราสว่ น อาจไมใ่ ชต่ ัวเลขท่ีแสดงปริมาณจริง ๆ ของสิง่ ทีต่ ้องการเปรียบเทียบ
(2) ตาแหน่งของแต่ละจานวนในอัตราส่วนมีความสาคัญและเขยี นสลับกันไมไ่ ด้
(3) ในการเขียนอัตราส่วนนิยมเขยี นให้อยใู่ นรปู อตั ราสว่ นอยา่ งตา่
(4) การเปรียบเทียบจานวนทมี่ ีหนว่ ยตา่ งกัน ต้องเขียนหนว่ ยกากับไว้เสมอ
อตั ราส่วนท่ีเท่ากัน คอื อัตราสว่ นใด ๆ ท่ที าให้เปน็ อัตราส่วนอยา่ งตา่ หรือเศษสว่ นอยา่ งตา่ แลว้ จะได้อัตราส่วนหรอื
เศษส่วนทีเ่ ท่ากนั
5. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ขัน้ นา

ครสู นทนากบั นักเรียนในวันเปิดเรยี นวันแรก เกย่ี วกบั ความรตู้ ่าง ๆ ที่นักเรียนได้เคยเรียนมาแลว้ ในระดับมัธยมตน้
ครถู ามนักเรียนเก่ยี วกบั อัตราส่วนมีความเกี่ยวข้องกบั เศษส่วนอยา่ งไร และมวี ิธีการใดที่จะทาให้อตั ราสว่ นนัน้ เทา่ กัน
ขนั้ สอน






















































Click to View FlipBook Version