The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรการมีงานทำประถมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-15 10:41:19

คู่มือหลักสูตรการมีงานทำประถมศึกษา

คู่มือหลักสูตรการมีงานทำประถมศึกษา

5. ความรู้ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21
(21st Century Skills)

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 หมายถึงกลุม่ ความรู้ ทักษะ และนิสยั การทางานท่ีเชื่อวา่ มี
ความสาคัญอย่างยิ่งต่อความสาเรจ็ ในการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต ทกั ษะนีเ้ ปน็ ผลจากการพฒั นากรอบ
ความคิดการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 โดยภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (Parnership for 21st
Century Learning, 2009)

การท่จี ะประสบความสาเรจ็ ในการประกอบอาชีพและดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียน
จาเปน็ ตอ้ งได้รบั การพัฒนาและฝกึ ฝนวทิ ยาการความรแู้ ละทักษะตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ทกั ษะการใช้ชีวิตและ
อาชีพ ทกั ษะการเรียนร้แู ละนวตั กรรมทกั ษะด้านสารสนเทศ สือ่ ตา่ ง ๆ และเทคโนโลยี นอกจากน้ียงั
ตอ้ งมรี ูปแบบและวิธีการประเมินการเรยี นรู้และทักษะเหล่านีอ้ ยา่ งสอดคล้องเหมาะสม และมี
ประสทิ ธิภาพ สาหรบั การจดั การเรียนร้เู พื่อพัฒนาทกั ษะเหล่านี้สามารถทาได้โดยผสมผสานบรู ณาการ
ควบคูไ่ ปกบั การเรยี นรู้ด้านเน้ือหาและทกั ษะทจี่ าเป็นในการประกอบอาชีพ โดยสถานศึกษา
จาเปน็ ตอ้ งมีการจัดระบบตา่ ง ๆ เชน่ หลักสูตรสถานศึกษา สือ่ การจดั การเรยี นรู้ การประเมนิ การ
เรียนรู้ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศตลอดจนสภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ ให้ส่งเสรมิ สนบั สนุนการเรยี นรู้
ด้านวิชาการตา่ ง ๆใหผ้ เู้ รียนมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรียนรู้การประกอบอาชีพผา่ นการเรียนรู้อยา่ งมี
ความสุขและเหน็ ประโยชนข์ องการหม่นั เพยี รเรยี นรูแ้ ละฝึกฝนเพื่อพฒั นาสมรรถนะที่จาเปน็ เหลา่ นี้
และประสบความสาเร็จในอนาคต

ผูเ้ รยี นแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จะประสบความสาเรจ็ ในชวี ติ และอาชีพได้จาเป็นต้องร้หู นังสือ คอื
มคี วามสามารถในการอา่ นออกเขยี นได้ควบคู่ไปกับความรอบรู้ท่บี รู ณาการกันระหว่างความรู้ใน
วชิ าการและทักษะกระบวนการตา่ ง ๆ ดังนนั้ บคุ คลแห่งศตวรรษที่ 21 จะต้องเป็นผรู้ หู้ นังสือ มีทักษะ
ในการเสาะแสวงหาความรู้ได้ด้วยตัวเองอันนาไปส่กู ารเปน็ ผู้มดี า้ นความรู้ทางวชิ าการท่เี ขม้ แข็งจึงจะ
สามารถคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ สร้างสรรค์ส่อื สารและทางานรว่ มมือกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

ผลลัพธท์ ค่ี วรเกดิ กับผูเ้ รยี นแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Student Outcomes)
ผลลพั ธ์ของผเู้ รียนแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย ความรู้และเรอ่ื งราวทเ่ี กีย่ วข้องกับ
ศตวรรษ 21 ทักษะการเรยี นรู้และนวตั กรรม ทกั ษะชวี ติ และอาชีพ และทักษะสารสนเทศ สื่อมเี ดีย
และเทคโนโลยผี ลลัพธ์ที่ควรเกดิ กบั ผเู้ รยี นด้านความร้แู ละเรอื่ งราวท่เี กี่ยวข้องกับศตวรรษท่ี 21
ผ้เู รียนแห่งศตวรรษนีจ้ าเป็นต้องมีความรอบรู้ เรือ่ งราว เหตุการณ์สถานการณ์ท่เี กดิ ขึ้นในศตวรรษที่
21 ผูส้ อนจึงตอ้ งออกแบบและจัดการเรยี นรทู้ ี่มกี ารผนวกหรือบูรณาการเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ตา่ งๆ
ทีเ่ กิดขนึ้ กับศตวรรษที่ 21ไวใ้ นแผนการจดั การเรียนรู้ หรอื หลักสตู รสถานศกึ ษา เชน่ การตระหนักต่อ
โลกความรอบรู้ในเรื่องการเงิน เศรษฐกจิ ธรุ กิจและการประกอบการ ความรอบรใู้ นเรือ่ งหนา้ ท่ี
พลเมือง สุขภาพ และส่ิงแวดลอ้ ม ความร้ดู ้านศาสตรว์ ิทยาการต่างๆทีม่ีความสาคัญต่อผเู้ รยี นใน
ศตวรรษนี้ ได้แก่ ภาษาองั กฤษ ทงั้ ด้านการอ่าน และความงดงามของภาษา ศลิ ปะ
เศรษฐศาสตร์ การปกครองและหน้าทพ่ี ลเมอื ง
นอกจากผลลพั ธ์ดา้ นความรู้ พลเมอื งในศตวรรษที่ 21 ควรมีสมรรถนะท่ีจาเป็นอีก 3 ดา้ น
ได้แก่ ทกั ษะการเรยี นรู้และนวตั กรรม(Learning and Innovation Skills) ความรอบรู้และสมรรถนะ

คู่มือการใช้หลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทาจงั หวดั ชลบรุ ี ระดบั ประถมศึกษา 43
หนา้ 43

ดา้ นทกั ษะชีวติ และอาชีพ และทกั ษะสารสนเทศ สื่อมีเดยี และเทคโนโลยี ราชบัณฑิตยสถานไดร้ ะบุ
ทักษะท่ีจาเปน็ แห่งศตวรรษที่ 21 ทีส่ อดคล้องกับสมรรถนะที่ควรมีในพลเมืองยุคใหมร่ วม 7 ดา้ น
(สานักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2558;ราชบัณฑติ ยสถาน, 2557) ดงั น้ี

1. ดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปญั หา (Critical Thinking and
Problem Solving) เปน็ ความสามารถในการใชเ้ หตุผลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การคิดอย่างเป็นระบบ
การประเมินและการตดั สนิ ใจ และการแก้ปญั หาการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ (Critical Thinking)
หมายถึง การคิดโดยใช้เหตผุ ลท่หี ลากหลายเหมาะสมกับสถานการณ์มีการคิดอย่างเปน็ ระบบ
วเิ คราะห์และประเมนิ หลักฐานและข้อคิดเห็นดว้ ยมุมมองท่ีหลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย
และจดั ทาข้อสรปุ สะทอ้ นความคิดอย่างมีวจิ ารณญาณโดยใช้ประสบการณ์และกระบวนการเรยี นรู้
การแกป้ ัญหา (Problem Solving) หมายถงึ การแก้ปัญหาทไ่ี ม่ค้นุ เคยหรือปญั หาใหม่ได้ โดยอาจ
ใช้ความรู้ ทักษะ วธิ กี าร และประสบการณ์ทีเ่ คยรู้มาแล้ว หรือการสบื เสาะหาความร้วู ธิ ีการใหม่ มาใช้
แก้ปัญหากไ็ ด้ นอกจากน้ียังรวมถงึ การซักถามเพื่อทาความเขา้ ใจมุมมองทีแ่ ตกต่างหลากหลายเพือ่ ให้
ไดว้ ิธแี กป้ ญั หาท่ีดีมากข้ึน

2. ด้านการส่ือสาร สารสนเทศและการรู้เท่าทันสือ่ (Communications, Information,
and Media Literacy)หมายถึง ความสามารถในการเข้าถึง การจัดการ การประเมนิ และการใชง้ าน
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิผล (เวลาในการเข้าถงึ ส่ือ)และประสทิ ธิภาพ (การเข้าถึงและใชง้ าน
แหล่งข้อมลู ที่หลากหลาย)รวมถึงความสามารถในการผลติ และใชส้ ่ือเพอ่ื สื่อสารกบั บุคคลอื่นอยา่ ง
ถูกต้อง เหมาะสม ประกอบด้วย

2.1 สามารถเลือกใชเ้ ครื่องมือท่ีถูกต้อง เหมาะสมเพ่ือสรา้ งสอ่ื ได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์
รวมถงึ สามารถสื่อสารความคิดผ่านสือ่ ขอ้ ความหรือส่อื รปู แบบอนื่

2.2 เข้าใจวตั ถุประสงคข์ องการสรา้ งสอ่ื ข้อความรวมถึงวธิ ีการสรา้ งสือ่ น้ัน ๆ
2.3 เข้าใจอิทธพิ ลของความเชื่อและวัฒนธรรมต่อส่อื รปู แบบตา่ ง ๆ และผลกระทบของ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารต่อการดาเนินชวี ติ อาชีพ สงั คม และวฒั นธรรม
2.4 เข้าใจข้อตกลง ขอ้ กาหนด และกฎหมายในการใชส้ ื่อหรอื แหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ การใช้
ลิขสิทธิด์ ้านสารสนเทศและส่ือของผู้อืน่ โดยชอบธรรม
3. ด้านความรว่ มมือ การทางานเปน็ ทีมและภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork
and Leadership) เปน็ การแสดงความสามารถในการทางานรว่ มกบั คนกลมุ่ ตา่ ง ๆ ท่ีหลากหลาย
อยา่ งมีประสิทธภิ าพและใหเ้ กียรติ มีความยดื หยนุ่ และยินดีที่จะประนีประนอมเพอ่ื ให้บรรลุเป้าหมาย
การทางาน พรอ้ มทงั้ ยอมรับ และแสดงความรับผดิ ชอบต่องานที่ทาร่วมกนั และเหน็ คุณค่าของผลงาน
ท่ีพฒั นาข้ึนจากสมาชกิ แต่ละคนในทีม
4. ดา้ นการสร้างสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) เป็นความสามารถ
ในการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ การทางานกบั ผู้อื่นอยา่ งสรา้ งสรรค์ และการนาไปปฏบิ ัติเพื่อสร้าง
นวตั กรรมการสรา้ งสรรค์ (Creativity) หมายถึง การใช้เทคนิคทหี่ ลากหลายในการสรา้ งสรรค์
แนวคิด เชน่ การระดมพลงั สมองรวมถึงความสามารถในการพฒั นาต่อยอดแนวคดิ เดมิ หรือไดแ้ นวคดิ
ใหม่ และความสามารถในการกล่ันกรอง ทบทวนวเิ คราะห์ และประเมนิ แนวคิด เพอ่ื ปรบั ปรุงให้ได้
แนวคิดท่จี ะส่งผลให้ความพยายามอย่างสรา้ งสรรคน์ เ้ี ปน็ ไปได้มากท่สี ุดการทางานกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ ง

ค่มู ือการใช้หลักสตู รการจัดการศกึ ษาเพือ่ การมีงานทาจงั หวดั ชลบุรี ระดับประถมศึกษา 44
หนา้ 44

สรา้ งสรรค์ (Work Creativelywith Others) หมายถงึ การพัฒนาและการนาผลงานไปใชแ้ ล้ว
สอ่ื สารแนวคดิ ใหม่ๆ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพให้ผู้อนื่ เขา้ ใจการเปิดใจยอมรับและตอบสนองต่อทศั นคติ
ใหม่และหลากหลายการนาแนวคดิ และข้อสะท้อนกลบั ของกลุ่มมาใช้ในการทางานการแสดงให้เห็น
ถงึ การนาแนวคดิ แปลกใหม่ สร้างสรรคม์ าใช้ในการทางาน และการนาความเข้าใจถึงขอ้ จากดั ต่าง ๆ
มาปรบั ใชเ้ พื่อสรา้ งแนวคดิ ใหม่ ๆ การสร้างสรรค์ผลงานและการสรา้ งนวัตกรรมเปน็ เร่ืองท่ีตอ้ งใชเ้ วลา
และระหว่างกระบวนการสรา้ งผลงาน จะพบความผดิ พลาดมากกว่าความสาเรจ็ สงิ่ เหลา่ นีเ้ กิดข้ึน
เปน็ วฏั จักรการนาไปปฏิบตั ิเพอื่ สรา้ งนวัตกรรม (Implement Innovations) หมายถึง การ
ปฏิบัตติ ามแนวคดิ เพ่ือสรา้ งผลงานท่ีเปน็ ประโยชนใ์ หเ้ กิดข้ึนจริงให้ไดซ้ ่งึ จะนาไปส่ผู ลงานที่เปน็
นวัตกรรมในท่ีสดุ

5. ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT
Literacy) หมายถึงทักษะและความชานาญในการนาเคร่อื งมือ อุปกรณ์ หรือวิธกี ารทเ่ี ก่ยี วกบั ดจิ ทิ ลั
ไม่วา่ จะเปน็ ฮาร์ดแวร์ เช่น คอมพวิ เตอรโ์ ทรศัพท์ หรอื โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ สื่อออนไลน์ จนกระท่ัง
ฐานขอ้ มูลออนไลน์มาใช้ในการทางานเพ่ือการสบื คน้ การรวบรวม การจดั การ การประมวลผล การ
ประเมินความถูกต้อง และการส่ือสารและนาเสนอสารสนเทศเพ่ือพฒั นากระบวนการทางานให้
ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ ทักษะในด้านน้ยี ังรวมถึงความเข้าใจเก่ยี วกับหลักการทางานของ
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสอ่ื สาร สามารถใช้งานระบบคอมพวิ เตอร์ต้ังแต่ขั้นพนื้ ฐานจนถงึ การ
เขียนโปรแกรมเพอื่ สัง่ งานคอมพิวเตอร์ การใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ขั้นตอน

6. ดา้ นการทางาน การเรียนรู้ และการพงึ่ ตนเอง (Career and Learning Self–
Reliance) หมายถึง ทกั ษะทจี่ าเป็นสาหรับการดารงชวี ติ และทางานในยุคปจั จุบันอย่างมคี ุณภาพ
ทักษะที่สาคัญในกลุ่มนปี้ ระกอบดว้ ย

ความยดื หยุน่ และการปรบั ตัว (Flexibility and Adaptability) เพอื่ ให้เขา้ กับภาวะการ
เปล่ยี นแปลงทรี่ วดเร็ว รวมถึงภาวะทมี่ ที รัพยากรจากัดในยุคปัจจุบนั ซึง่ อาจสง่ ผลกระทบต่อแผนการ
ทางานที่วางไว้ พลเมืองในศตวรรษที่ 21 จงึ ต้องมีความยืดหยุ่นและสามารถปรบั เปลีย่ นแผนงาน
เพ่ือให้เขา้ กับบรบิ ทและเง่ือนไขของการทางานท่ีเปล่ยี นแปลง และสามารถนาความเห็นทแี่ ตกตา่ งมา
ทาความเข้าใจ และสรา้ งดลุ ยภาพเพื่อให้งานสาเรจ็ ลุล่วงได้

การรเิ ร่ิมและการกากับดแู ลตวั เอง (Initiative and Self-Direction) ทกั ษะนห้ี มายถงึ
ความสามารถในการเรยี นรู้พัฒนาทักษะทจ่ี าเป็นในการทางานได้ดว้ ยตนเองและมองเห็นโอกาสในการ
เรียนรเู้ พอ่ื เพ่มิ พนู ประสิทธิผลและขยายความเช่ยี วชาญของตนเองได้ ความสามารถในการกาหนด
เปา้ หมายจัดการเวลาและภาระงานของตนเอง และความสามารถในการช้นี าตนเองและพัฒนาตนเอง
โดยการทบทวนจากประสบการณ์ทีผ่ า่ นมา (วจิ ารณ์, 2555; เบลลนั กาและแบรนต์, 2010 / 2556)

7. ดา้ นความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross–Cultural Understanding)
ทกั ษะในด้านนี้หมายถึง ความสามารถในการทางานและดารงชวี ิตในสภาพแวดล้อมที่คนมคี วาม
คดิ เห็นและความเช่ือหลากหลายโดยไมร่ ้สู กึ แปลกแยก เคารพความแตกต่างทางวฒั นธรรม สามารถ
ยอมรับและตอบสนองความคิดเหน็ ทแ่ี ตกต่างในเชิงบวก นาไปส่กู ารสร้างแนวคิดหรือวธิ ีการทางาน
ใหมไ่ ด้

คมู่ อื การใช้หลกั สตู รการจดั การศึกษาเพอ่ื การมีงานทาจังหวดั ชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 45
หนา้ 45

สว่ นท่ี 3

แนวทางการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานศกึ ษา

การนาหลกั สูตรการจัดการศกึ ษาเพ่ือการมีงานทาระดับประถมศกึ ษาไปใช้ใน
สถานศกึ ษาสามารถดาเนินการจัดการศกึ ษาไดห้ ลากหลายรูปแบบ ตามบรบิ ทของสถานศึกษาน้นั ๆ
อย่างเหมาะสม ดังแผนภาพ

แนวการจัดการศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทาระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา การบรู ณาการหลักสูตร หลกั สตู รการจดั การศกึ ษา
ขั้นพน้ื ฐานระดับประถมศกึ ษา เพือ่ การมงี านทาจังหวดั ชลบรุ ี

- วิสยั ทัศน์ - บูรณาการในหลกั สตู ร - คุณลกั ษณะนสิ ัยเพ่ือการ

- หลกั การ สถานศกึ ษาและสาระ ประกอบอาชพี และ

- จุดหมาย ทอ้ งถ่ิน พฤตกิ รรมการทางาน

- สมรรถนะทส่ี าคัญ - บรู ณาการในกจิ กรรม อาชีพ (Attitude)

- คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ พัฒนาผู้เรยี น - ทกั ษะท่ีจาเป็นในการ

- ตัวชีว้ ัด - กาหนดเปน็ รายวิชา/ ประกอบอาชพี (Skill)

- สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมท่ีสถานศึกษาจัด - ความรทู้ ี่เกี่ยวข้องกับ

- กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น เพิ่มเติมตามความพร้อมและ การประกอบอาชพี

- การวัดและประเมนิ ผล จดุ เนน้ (Knowledge)

- ทักษะเพ่ือการสื่อสาร

แผนภาพ แนวการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทาระดบั ประถมศึกษาของจงั หวดั ชลบุรี

แนวทางการจัดการศกึ ษาเพอ่ื การมีงานทา โดยใช้ 3 รูปแบบ เพอ่ื เปน็ แนวทางให้
สถานศกึ ษานาไปประยุกตใ์ ช้ตามความเหมาะสม ดังนี้

รปู แบบที่ 1 บรู ณาการในหลักสตู รสถานศึกษาและสาระท้องถิ่น
- การวเิ คราะหค์ วามเช่ือมโยงของหลักสตู ร

รปู แบบท่ี 2 บรู ณาการในกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน
รูปแบบท่ี 3 กาหนดเป็นรายวิชา/กจิ กรรมท่ีสถานศึกษาจัดเพ่ิมเตมิ ตามความพร้อมและจุดเน้น

ค่มู ือการใชห้ ลกั สตู รการจัดการศึกษาเพ่อื การมีงานทาจงั หวัดชลบรุ ี ระดบั ประถมศึกษา 46
หนา้ 46

รปู แบบที่ 1 บรู ณาการในหลักสตู รสถานศกึ ษาและสาระท้องถิน่

ตัวอยา่ งการวิเคราะหเ์ ชื่อมโยงหลักสตู รการจดั การศกึ ษาเพ่ือการมีงานทากับหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 โรงเรยี นบา้ นทา่ จาม สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
ประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1

คมู่ อื การใช้หลกั สตู รการจดั การศึกษาเพอ่ื การมงี านทาจงั หวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 47
หนา้ 47

ตวั อยา่ งรปู แบบท่ี 1 บูรณาการในหลักสตู รสถานศึกษาและสาระทอ้ งถ่ิน
โรงเรียนบา้ นทา่ จาม

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1

สาระการเรยี นรู้ที่ 1 คุณลกั ษณะนิสยั เพ่ือการประกอบอาชีพและพฤติกรรมการทางานอาชีพ

สาระการเรียนรู้ กิจกรรมทีด่ าเนนิ การ การวัดและ ส่อื /อุปกรณ์ เวลาเรยี น
ประเมินผล (ช่วั โมง)

1.1 คุณลกั ษณะทพ่ี ึง 1. เรยี นรูท้ ักษะพืน้ ฐาน 1. การสงั เกต 1. ใบความรู้ 10

ประสงคข์ อง อาชพี เบ้อื งตน้ ตาม พฤตกิ รรม 2. สอ่ื ICT, VDO

พลเมืองไทยและ หลักสูตรแกนกลาง 2. การสมั ภาษณ์ 3. แหล่งเรยี นรู้

พลโลกและ การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 3. การทดสอบ (สถาน

ค่านยิ มหลกั 12 2. ฝึกปฏิบตั ทิ ักษะ 4. การตรวจ ประกอบการ)

ประการสาหรับ พน้ื ฐานอาชพี ทัง้ ใน ผลงาน/ 4. เอกสาร

คนไทย สถานศึกษาและ ชิน้ งาน ส่ิงพิมพ์

คณุ ธรรมพ้ืนฐาน สถานประกอบการ 5. สือ่ ออนไลน์

และคุณลักษณะ 3. ศึกษาแหลง่ เรียนรู้ และสือ่

ทพี่ งึ ประสงค์ สถานประกอบการ ทางไกลผา่ น

ตามหลกั สูตร ในชมุ ชน ดาวเทยี ม

1.2 คณุ ลกั ษณะ บูรณาการใน กอท. 6. วสั ดุ

ตามมาตรฐาน สาระที่ 1 อุปกรณ์

วิชาชพี มาตรฐาน ง 1.1 ตา่ งๆ

1.3 นสิ ยั เพื่อการ ป.1/1,1/2,1/3

ประกอบอาชีพ ป.2/1,2/2,2/3

และพฤติกรรม ป.3/1,3/2,3/3

การทางานอาชีพ ป.4/1,4/2,4/3,4/4

ป.5/1,5/2,5/3,5/4

ป.6/1,6/2,6/3

รวมเวลาเรยี น 10

คู่มอื การใช้หลักสูตรการจัดการศึกษาเพอื่ การมงี านทาจังหวดั ชลบุรี ระดับประถมศึกษา 48
หน้า 48

สาระการเรยี นรู้ท่ี 2 งานอาชีพในจงั หวัดชลบุรแี ละทักษะการทางานอาชีพ

สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมทดี่ าเนินการ การวัดและ สือ่ /อปุ กรณ์ เวลาเรียน
2.1 งานอาชพี ประเมินผล (ช่วั โมง)
1. ใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั
ในจังหวัดชลบรุ ี งานอาชีพต่างๆใน 1. การสงั เกต 1. ใบความรู้ 6
2.2 สมรรถนะผ้เู รยี น จังหวดั ชลบุรี พฤตกิ รรม
2. ส่อื ICT,
ตามหลักสตู ร 2. จดั กจิ กรรมเสริม 2. การสัมภาษณ์
การศกึ ษา ประสบการณ์งาน 3. การทดสอบ VDO
อาชีพ 4. การตรวจ
2.3 ทักษะการใช้ 3. แหล่งเรียนรู้
เทคโนโลยี 3. เชิญวิทยากรท่ีเปน็ ผลงาน/
สารสนเทศและ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ มา ชิน้ งาน (สถาน
การสอื่ สาร ให้ความรเู้ กีย่ วกบั
อาชพี ประกอบการ)

บูรณาการใน กอท. 4. เอกสาร
สาระที่ 1 มฐ.ง 1.1
สาระที่ 4 มฐ.ง 4.1 ส่งิ พมิ พ์
ป.4/1
ป.5/1 ,5/2 5. โทรทัศน์
ป.6/1 ,6/2
ทางไกลผ่าน
1. ให้ความร้แู ละฝึก
ทกั ษะพ้นื ฐานการใช้ ดาวเทียม
เทคโนโลยใี นการ
ทางานอาชีพ และ 6. วสั ดุ
คน้ หาข้อมูลเก่ียวกับ
อาชพี อุปกรณ์

บูรณาการใน กอท. ตา่ ง ๆ
สาระที่ 3 มฐ. ง 3.1
ป.1/1,1/2
ป.2/1,2/2,2/3
ป.3/1,3/2
ป./1,4/2,4/3,4/4,4/5
ป.5/1,5/2
ป./1,6/2,6/3,6/4,6/5

ค่มู อื การใชห้ ลักสตู รการจัดการศกึ ษาเพ่อื การมงี านทาจงั หวัดชลบุรี ระดับประถมศึกษา 49
หนา้ 49

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมทดี่ าเนนิ การ การวดั และ สอื่ /อปุ กรณ์ เวลาเรยี น
ประเมนิ ผล (ชั่วโมง)
2.4 ทกั ษะการใช้ 1. ใหเ้ รยี นรู้คาศพั ท์
ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษเก่ยี วกบั
เพื่อการสอื่ สาร งานอาชพี
ในงานอาชพี
2. ฝึกทักษะการใช้
ภาษาองั กฤษเพ่ือการ
สื่อสารการทางาน
อาชีพ

ภาษาองั กฤษ สาระท่ี 1
มฐ. ต 1.1
มฐ. ต 1.2
มฐ. ต 1.3

รวมเวลาเรยี น 6

สาระการเรียนรู้ท่ี 3 ความรู้ที่ใช้ในการทางานอาชีพ

สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมที่ดาเนินการ การวดั และ ส่ือ/อุปกรณ์ เวลาเรยี น
ประเมนิ ผล (ชั่วโมง)

3.1 ระเบยี บและ 1. ให้ความร้เู ก่ยี วกับ 1. การสงั เกต 1. ใบความรู้ 6
พฤติกรรม
กฎหมายที่ เรือ่ งกฎหมาย 2. ส่ือ ICT,
2. การสมั ภาษณ์
เกยี่ วข้องกับ แรงงานเดก็ 3. การทดสอบ VDO

การทางานอาชพี พระราชบญั ญัติ 3. แหลง่ เรียนรู้

3.2 กฎหมายแรงงาน คมุ้ ครองแรงงาน (สถาน

การประกันตน 2. ใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั ประกอบการ)

และความ กฎหมายท่เี กี่ยวข้อง 4. เอกสาร

ปลอดภัยในงาน กบั แรงงาน สิ่งพมิ พ์

- กรณีศึกษา 5. สื่อออนไลน์

สงั คมศึกษาฯมฐ.ส 3.2 และสื่อ

ทางไกลผ่าน

ดาวเทียม

6. วสั ดุ

อุปกรณ์

ตา่ ง ๆ

คูม่ อื การใช้หลักสูตรการจดั การศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทาจังหวัดชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 50
หน้า 50

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมที่ดาเนนิ การ การวัดและ สื่อ/อุปกรณ์ เวลาเรยี น
3.3 พลงั งาน ประเมินผล (ชั่วโมง)
1. ให้ความรเู้ ร่ือง
สภาพแวดล้อม เกี่ยวกบั พลงั งาน
กับสขุ ภาพ สิ่งแวดลอ้ ม
อนามัย ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดลอ้ ม
3.4 การเป็น การอนุรักษ์
ผู้ประกอบการ ทรพั ยากรและ
ส่งิ แวดลอ้ ม หลกั การ
3.5 ความรตู้ าม อาชวี อนามัยและ
สมรรถนะ ความปลอดภยั
วชิ าชพี
บูรณาการใน -วิทยฯ์
สาระที่ 5 มฐ. ว 5.1
-สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
สาระท่ี 4 มฐ. พ 4.1
1. เชญิ ผูป้ ระกอบการมา

ให้ความรเู้ กี่ยวกับการ
เป็นผูป้ ระกอบการ
2. นกั เรยี นศกึ ษาดูงานใน
สถานประกอบการ
3. นักเรยี นเสนอผลงานท่ี
ไปศึกษาดูงาน แสดง
ความรเู้ กย่ี วกบั การ
งานอาชพี
บูรณาการใน กอท.
สาระท่ี 4 มฐ.ง 4.1

รวมเวลาเรยี น 6

คู่มือการใชห้ ลักสูตรการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทาจังหวัดชลบุรี ระดับประถมศึกษา 51
หน้า 51

สาระการเรียนรู้ที่ 4 โครงงานอาชพี
(จัดการเรียนการสอนบูรณาการในกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น (กิจกรรมชมุ นุม)

สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ การวัดและ สื่อ/อุปกรณ์ เวลาเรยี น
ประเมนิ ผล (ชัว่ โมง)
4.1 การคิดและ
เลอื กหัวขอ้ - ใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั 1. การสังเกต 1. ใบความรู้ 2
โครงงาน
การทาโครงงานอาชพี พฤติกรรม 2. สื่อ ICT,
4.2 ศกึ ษาเอกสาร
ท่เี ก่ียวขอ้ ง - การศึกษาในสิ่งที่ 2. การสมั ภาษณ์ VDO

4.3 การเขียน ตนเองต้องการรู้ 3. การตรวจ 3. แหลง่ เรยี นรู้
เคา้ โครง
ของโครงงาน (การตั้งปญั หา) ผลงาน/ชิน้ งาน (สถาน

4.4 การปฏิบตั ิ - การคาดคะเนคาตอบ ประกอบการ)
โครงงาน
(สมมตฐิ าน) 4. เอกสาร
4.5 การเขยี น
รายงาน - วธิ กี ารหาคาตอบของ ส่ิงพมิ พ์
โครงงาน
สิง่ ทีต่ นเองอยากรู้ 5. วัสดุ
4.6 การนาเสนอ
โครงงาน (การออกแบบวธิ ี อปุ กรณ์

การศึกษา ตา่ ง ๆ

ใหน้ กั เรยี นทาโครงงาน 6

ป.1 ประดษิ ฐส์ งิ่ ของ

จากเศษวสั ดุ

ป.2 ขนมไทย

ป.3 ดอกไมป้ ระดิษฐจ์ าก

กระดาษ

ป.4 เครอื่ งประดับ

ศิราภรณไ์ ทย

ป.5 ประดษิ ฐ์ของใชจ้ าก

กล่องนม

ป.6 ดอกไม้ประดิษฐ์

จากผ้า

รวมเวลาเรยี น 8

คู่มอื การใชห้ ลักสูตรการจัดการศกึ ษาเพ่อื การมีงานทาจังหวดั ชลบุรี ระดับประถมศึกษา 52
หน้า 52

สาระการเรียนรู้ที่ 5 ศกึ ษาดูงาน
จดั การเรียนการสอนบรู ณาการในกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (กิจกรรมชุมนุม)

สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมท่ดี าเนนิ การ การวดั และ ส่ือ/อุปกรณ์ เวลาเรยี น
ประเมินผล - สถาน (ช่ัวโมง)
5.1 ศกึ ษาดูงาน - ให้นักเรียนไปศึกษา ประกอบการ
แหลง่ เรียนรู้ ดงู านเกี่ยวกบั งาน 1. การสังเกต - แหลง่ เรยี นรู้ 2
สถานประกอบการ อาชีพต่าง ๆ ยังแหล่ง พฤตกิ รรม ภายนอก 8
อุตสาหกรรม เรยี นรแู้ ละสถาน - ใบความรู้
ประกอบการในชุมชน 2. การสมั ภาษณ์ - ส่อื ออนไลน์ 10
5.2 ฝกึ งานหรอื ฝกึ 3. รายงาน - อุปกรณฝ์ ึก
ประสบการณ์ - จัดกิจกรรมชมุ นมุ
งานอาชพี ป.1 ประดษิ ฐส์ ิง่ ของ การศกึ ษาดูงาน รวมเวลาเรียน

จากเศษวสั ดุ
ป.2 ขนมไทย
ป.3 ดอกไมป้ ระดิษฐ์

จากกระดาษ
ป.4 เครอื่ งประดบั

ศิราภรณไ์ ทย
ป.5 ประดิษฐข์ องใช้

จากกล่องนม
ป.6 ดอกไมป้ ระดิษฐ์

จากผา้

คู่มือการใชห้ ลักสตู รการจดั การศึกษาเพอ่ื การมีงานทาจังหวัดชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 53
หน้า 53

ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ รปู แบบท่ี 1
โรงเรียนบ้านท่าจาม

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรยี นรกู้ ารทางาน ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1
เรื่อง งานประดิษฐ์ เวลา 6 ชว่ั โมง

1. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือในการทางานประดิษฐ์มีหลายชนิดเราควรใชใ้ ห้ถูกต้องและ

เหมาะสมกบั งาน เพ่ือใหง้ านประสบผลสาเรจ็ และมคี วามปลอดภยั ในการทางาน

2. ตวั ช้ีวัด/จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
2.1 ตัวช้ีวดั
ง 1.1 ป.1/2 ใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมือง่ายๆ ในการทางานอย่างปลอดภัย
2.2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1) รจู้ กั วสั ดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมอื ในการทางานประดิษฐ์
2) ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือในการพบั กระดาษเปน็ ของเลน่ ไดอ้ ย่างถูกต้อง
3) ใชเ้ ศษวสั ดมุ าประดิษฐเ์ ป็นของเล่นและของตกแตง่ ได้

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- การใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือง่ายๆ ในการทางานอย่างปลอดภัย เช่น
1) วัสดุและเศษวสั ดทุ ่ใี ช้ในงานประดษิ ฐ์
2) อุปกรณ์ที่ใช้ในงานประดิษฐ์
3) การพับกระดาษเปน็ ของเล่น
4) การประดษิ ฐข์ องเลน่ และของใชจ้ ากเศษวัสดุ
3.2 สาระการเรยี นรูบ้ รู ณาการการศึกษาเพ่อื การมีงานทา
- คุณลกั ษณะนสิ ัยเพ่ือการประกอบอาชีพและพฤติกรรมการทางานอาชีพ

4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สารเพื่อการทางานอาชีพ
4.2 ความสามารถในการคิดท่ีสามารถนาไปสู่การทางานอาชพี
- ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์
4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ การทางานอาชีพ
- กระบวนการปฏิบัติ

คมู่ อื การใชห้ ลักสูตรการจดั การศึกษาเพอื่ การมีงานทาจังหวัดชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 54
หนา้ 54

5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์/คณุ ลกั ษณะนิสัยเพื่อการประกอบอาชีพ

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะนสิ ยั เพือ่ การประกอบอาชพี

1. ซ่ือสัตยส์ จุ รติ 1. ซ่อื สตั ย์ 6. ประหยัด
2. มีวนิ ยั
3. ใฝเ่ รียนรู้ 2. ระเบียบวินยั และตรงต่อเวลา 7. ความปลอดภัย
4. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
5. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 3. รบั ผดิ ชอบ 8. ความคดิ สรา้ งสรรค์
6. มจี ติ สาธารณะ
4. ใฝ่เรยี นรู้ 9. การทางานเป็นทมี

5. ขยันและอดทน 10. จติ สาธารณะ

6. ภาระงาน/ช้นิ งาน
- ของเล่นจากกระดาษ
- ของเล่น ของใช้ หรือของตกแต่งจากเศษวัสดุ

7. กิจกรรมการเรยี นรู้ (วธิ สี อนโดยเนน้ กระบวนการ: กระบวนการกลุ่ม, กระบวนการปฏิบัติ
และวธิ สี อนแบบสาธติ )

ชวั่ โมงท่ี 1

1. ครูนาสงิ่ ของทเี่ ป็นงานประดิษฐ์ต่างๆ มาใหน้ กั เรียนดู แล้วครูสนทนาซกั ถามนักเรียนว่า
ส่ิงท่คี รูนามาให้นักเรียนดเู รียกวา่ อะไร

2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่าสิ่งที่ครูนามาให้นักเรียนดูเรียกว่า ส่ิงของที่เกิดจากการ
ทางานประดิษฐ์ จากนน้ั ครูสนทนาซักถามนักเรียนว่าใครเคยประดิษฐข์ องเล่นหรือ ของใช้ด้วยตนเอง
บา้ ง แล้วครูใหน้ ักเรยี นทเ่ี คยประดิษฐอ์ อกมาเล่าประสบการณ์ให้เพื่อนฟังว่าเคยประดิษฐ์อะไรบ้าง ใช้
อะไรประดิษฐแ์ ละผลงานที่ไดเ้ ป็นอย่างไร (ครูแนะนาว่าเปน็ ของเล่นที่นกั เรียนเคยเลน่ ที่บา้ น)

3. ให้นักเรียนดูภาพวัสดุและเศษวัสดุจากหนังสือเรียน แล้วบอกว่า เป็นวัสดุและเศษวัสดุ
ชนิดใดบ้าง

4. ให้นักเรียนช่วยกันบอกความหมายของงานประดิษฐ์ พร้อมกับร่วมกันแสดงความ
คิดเห็นวา่ งานประดษิ ฐม์ คี วามสาคญั ต่อคนเราอย่างไรบา้ ง โดยครูช่วยอธิบายเพม่ิ เตมิ

5. ให้นักเรียนดูงานประดิษฐ์ต่างๆ ท่ีครูนามาอีกครั้ง แล้วร่วมกันสังเกตและคิดวิเคราะห์ว่า
งานประดิษฐ์ท่ีครูนามาให้ดูทามาจากอะไรบ้าง เช่น โมบายเปลือกหอย ทามาจากกิ่งไม้ เปลือกหอย
เชอื ก สี เป็นตน้

6. ครูอธิบายใหน้ ักเรยี นฟงั ว่า สิ่งที่ใชท้ างานประดิษฐเ์ รียกว่า วัสดุ และเศษวัสดุ ซ่ึงเป็นวตั ถุ
หรือสิ่งของต่างๆ โดยเศษวัสดุ เป็นส่ิงของที่เหลือใช้แล้ว จากน้ันครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปประเภท
ของวัสดุและเศษวัสดแุ ละวธิ เี ก็บท่ีเหมาะสม โดยมแี นวสรุป ดงั นี้

- วสั ดุประเภทกระดาษและวิธเี ก็บ
- วสั ดปุ ระเภทแกว้ และวธิ เี กบ็
- วัสดุประเภทโลหะและวธิ เี กบ็

คู่มือการใช้หลักสตู รการจดั การศกึ ษาเพ่อื การมงี านทาจงั หวดั ชลบรุ ี ระดบั ประถมศึกษา 55
หนา้ 55

- วัสดปุ ระเภทพลาสตกิ และวธิ ีเกบ็
- วสั ดุประเภทผ้าและวธิ เี กบ็
- วัสดปุ ระเภทอืน่ ๆ และวธิ ีเกบ็
7. ครูนาตัวอย่างวัสดุและเศษวัสดุชนิดต่างๆมาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันจาแนก
หรือจัดกลุ่ม และบอกวิธีเก็บรักษาวัสดุและเศษวัสดุดังกล่าวให้ถูกต้องตามข้อมูลในหนังสือเรียนท่ีได้
ศกึ ษา
8. ครูแบ่งนักเรียนเป็น 6 กลุ่มเท่าๆ กัน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาวิธี การเก็บ
สะสมวัสดแุ ละเศษวัสดุประเภทตา่ งๆ กลุ่มละ 1 ประเภท แล้วสง่ ตัวแทนออกมารายงานผลทีห่ น้าช้นั

ช่วั โมงท่ี 2

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเก่ียวกับการทางานประดิษฐ์ว่า นอกจากจะใช้วัสดุและเศษวัสดุ
ตา่ งๆ ในการทาแล้ว ยังต้องใช้อุปกรณ์อะไรอีกหรือไม่ เพ่ือให้งานประดิษฐ์สาเร็จออกมาเป็นชิน้ งานท่ี
สวยงาม

2. ครูนาอุปกรณ์ท่ีใช้ในงานประดิษฐ์มาวางไว้บนโต๊ะครู เช่น กรรไกร เข็มและด้าย คัตเตอร์
ไม้บรรทัดหรอื ดินสอและกาว มาแสดงให้นักเรียนดู จากน้ันครสู มุ่ เรยี กนักเรียน ออกมาแสดงวิธกี ารใช้
และเก็บรักษาอุปกรณ์ต่างๆ คนละ 1 ชนิด โดยให้เพื่อนท่ีไม่ถูกเรียกช่วยกันตรวจสอบและประเมินผล
ว่าเพ่ือนใช้และเก็บรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ถูกต้องหรือไม่ ถ้าเห็นว่าไม่ถูกต้องให้ช่วยกันชี้แนะให้เพื่อน
แก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง

3. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับเรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในงานประดิษฐ์จาก
หนงั สือเรยี น

4. ครูให้นักเรียนทาใบงาน เร่ืองอุปกรณ์ที่ใช้ในงานประดิษฐ์ เสร็จแล้วครูและนักเรียน
ช่วยกนั เฉลยคาตอบในใบงาน

5. ครูสนทนาซักถามนักเรียนว่าการใช้อุปกรณ์ในการทางานประดิษฐ์ให้ถูกวิธี มีผลดี
อยา่ งไร แลว้ ครูให้นกั เรียนร่วมกันอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ โดยครูช่วยสรปุ เพ่ิมเติม

6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ท่ีได้จากการเรียนเร่ือง อุปกรณ์ท่ีใช้ในงานประดิษฐ์
โดยมแี นวทางในการสรุป ดังน้ี

- ชนิดของอุปกรณ์
- วิธีการใช้
- การเก็บรักษา

ช่ัวโมงท่ี 3

1. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างว่านักเรียนมีของเล่นอะไรบ้าง และนักเรียนได้ของเล่น
ช้นิ น้นั มาไดอ้ ยา่ งไร เช่น หน้ากากกระดาษ ว่าว ต๊กุ ตาเศษผา้ รถกระดาษ เป็นตน้

2. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบวา่ ของเล่นต่างๆ ที่นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างนั้น บางอย่าง
นักเรียนก็สามารถทาเองได้ เป็นการช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย โดยการนาเศษวัสดุต่างๆ ท่ีเหลือใช้มา
ประดษิ ฐ์เป็นของเลน่

คมู่ อื การใช้หลกั สูตรการจดั การศึกษาเพ่ือการมงี านทาจังหวัดชลบรุ ี ระดบั ประถมศึกษา 56
หน้า 56

3. ครูให้นักเรียนดูภาพของเล่นท่ีประดิษฐ์จากเศษวัสดุประเภทกระดาษ แล้วครูบอก
นักเรยี นว่าของเล่นแบบง่ายๆ ที่ทาจากกระดาษท่ีนักเรียนสามารถประดิษฐ์ได้มีหลายอย่าง เช่น ว่าว
จรวด หนา้ กาก รถลาก เป็นตน้

4. ครใู หน้ ักเรียนศกึ ษาตวั อย่าง การพับหนา้ กากแมวเหมียว จากใบงาน
5. ครูอธบิ ายวิธีการพับหนา้ กากแมวเหมียว ให้นักเรียนเข้าใจตามข้ันตอน โดยใหน้ ักเรียนดู
วธิ กี ารทาในใบงานประกอบ
6. ครูให้นักเรียนจัดเตรียมอปุ กรณ์และเร่ิมปฏิบัติกิจกรรมจากการพับหน้ากากแมวเหมียว
และทาตุ๊กตาสัตวน์ อ้ ย โดยใหน้ กั เรียนดวู ธิ ีการทาในใบงานประกอบด้วย
7. เม่ือนักเรียนทาเสร็จแล้วให้ตกแต่งผลงานของตนเองให้สวยงาม แล้วผลัดกันนาเสนอ
ผลงานท่ีหน้าชั้นเรียนทีละคนจนครบทุกคน หรือขออาสมัครนักเรียน 4 – 5 คน จากนั้นให้นาผลงาน
ออกมาวางบนโต๊ะหน้าชั้นเรียนเพื่อประกวด โดยให้นักเรียนช่วยกันตัดสินร่วมกันโดยการยกมือให้
คะแนน ผลงานละ 1 คะแนนเทา่ นน้ั
8. ครูอธิบายเกณฑ์การให้คะแนนผลงาน เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบการพิจารณา
ของนักเรียน ผลงานท่ีได้คะแนนสูงสุด 1 – 3 ของแต่ละประเภท จะได้รับรางวัล ที่ครูเตรียมไวแ้ ละได้
รบั คาชมเชยจากเพอื่ นๆ และจัดใหม้ กี ารแสดงผลงานนักเรียนในหอ้ ง
9. ครูให้นักเรียนร่วมกันบอกถึงประโยชน์ของการพับกระดาษเป็นของเล่นแล้วให้นักเรียน
ร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการประดิษฐ์ของเล่นต่างๆ ที่ได้เรียนมา จากน้ันครูบอก
นักเรียนวา่ นอกจากประดิษฐ์ของเล่นที่เรียนไปแลว้ นักเรยี นสามารถคิดค้นประดิษฐ์ของเล่นแบบอ่ืนๆ
ไดอ้ ีกมากมาย โดยอาศัยความรทู้ ี่เรยี นมาประกอบ
10. ครูให้นักเรียนทาช้ินงาน/ภาระงานท่ี 2.3 เรื่องการประดิษฐ์ของเล่น โดยให้พับกระดาษ
เปน็ รปู ต่างๆ (นอกเหนือจากท่ีเรยี นมา) แล้วนามาติดบนกระดาษวาดเขยี นและตกแต่งให้เป็นเรอื่ งราว
จากนน้ั ออกมาเลา่ เรอื่ งราวประกอบผลงานทหี่ น้าช้นั เรียน

ช่ัวโมงที่ 4-6

1. ครูต้ังคาถามกับนกั เรียนว่านอกจากการใช้กระดาษแล้วเศษวัสดุที่นักเรียนพบได้บ่อยคือ
อะไร และจะสามารถนามาประดษิ ฐเ์ ปน็ ของเล่น ของใช้ หรือของตกแต่งได้หรือไมอ่ ย่างไร

2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4 คน ให้นักเรียนช่วยกันเลือกเศษวัสดุท่ีสามารถหาได้ง่ายใน
โรงเรยี น บ้าน ใหแ้ ต่ละกลุม่ ระดมความคดิ เพื่อเลอื กประดิษฐ์ของเล่นหรือของใช้

3. แต่ละกลมุ่ ศึกษาวิธกี ารประดษิ ฐโ์ ดยอาจสอบถามจากผู้ปกครองและบันทึกวสั ดุ อปุ กรณ์
และขนั้ ตอนการทา

4. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มเตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ และลงมือทาตามทก่ี ล่มุ ตนเองวางแผนไว้
5. นักเรียนนาเสนอผลงานที่กลุ่มตนเองประดิษฐ์

คูม่ ือการใชห้ ลักสตู รการจัดการศึกษาเพื่อการมงี านทาจงั หวัดชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 57
หน้า 57

8. การวัดและประเมินผล

วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์
ตรวจใบงาน
ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน เรือ่ ง ใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
การประดิษฐข์ องเล่น
ประเมินการนาเสนอผลงาน ประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน เรื่อง ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน การประดิษฐข์ องเล่น
รายบคุ คล
ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

รายบุคคล

แบบทดสอบหลงั เรียน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้
9.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนังสือเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.1
2) ตวั อยา่ งวสั ดุและเศษวัสดุ อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นงานประดิษฐ์
3) ของเล่นจากงานประดิษฐ์
4) ใบงาน เรอ่ื ง อุปกรณ์ที่ใชใ้ นงานประดษิ ฐ์
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ผูป้ กครอง / ผ้รู ู้
2) ห้องสมุด

10. ขอ้ เสนอแนะ
การนาเสนอทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน

11. บันทกึ ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ าร
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................. ...................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงชื่อ ...........................................................
(นางสาวสมพศิ ใชเ้ ฮ็ง)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นทา่ จาม

คู่มอื การใชห้ ลกั สูตรการจัดการศึกษาเพอ่ื การมงี านทาจงั หวัดชลบุรี ระดับประถมศึกษา 58
หน้า 58

12. บันทกึ ผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรทู้ ่ีเกิดขนึ้ กบั ผูเ้ รียน

................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
........................................................................................................................................ ........................

ปัญหา/อุปสรรค
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
...................................................................................................................................... ..........................
......................................................................................................... .......................................................

ลงชอื่ ...........................................................
(นางทวี วงษบ์ ุญจันทร)์

ตาแหน่งครชู านาญการ โรงเรียนบา้ นทา่ จาม
วันท่ี.................เดือน........................................พ.ศ...........

คู่มอื การใชห้ ลกั สูตรการจดั การศึกษาเพอ่ื การมงี านทาจังหวัดชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 59
หนา้ 59

บตั รภาพวสั ดุและเศษวัสดุทใี่ ช้ในงาน
ประดิษฐ์

ค่มู ือการใชห้ ลักสตู รการจัดการศกึ ษาเพื่อการมงี านทาจังหวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 60
หนา้ 60

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน เร่ือง การประดิษฐข์ องเล่น

ช่อื – นามสกลุ .................................................................................................................... ................

ลาดบั ที่ รายการประเมนิ คุณภาพผลงาน
321

1 วสั ดแุ ละเศษวัสดุในการประดิษฐ์ของเล่น
2 อปุ กรณ์ท่ีใช้ในการประดิษฐข์ องเล่น
3 การประดิษฐ์ของเล่น
4 ความประณตี สวยงาม

รวม

ลงชือ่ ......................................................................................ผ้ปู ระเมนิ
/ /...................... ........................... ........................

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ดี = 3
พอใช้ = 2
ปรบั ปรงุ = 1

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
9 - 12 ดี
5-8
1-4 พอใช้
ปรบั ปรงุ

ค่มู ือการใชห้ ลักสตู รการจดั การศึกษาเพือ่ การมีงานทาจังหวัดชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 61
หน้า 61

ใบงาน เรอ่ื ง อุปกรณท์ ี่ใช้ในงานประดิษฐ์

ช่ือ ............................................................................ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 เลขท่ี .........

คาช้ีแจง ดภู าพ แลว้ เขียนชอ่ื วธิ ีใช้และวธิ ีการเก็บรกั ษาอปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในงานประดิษฐใ์ หถ้ ูกต้อง

1)
ชื่อ ............................................................................
วิธใี ช้ .........................................................................
การเก็บรักษา ............................................................
..................................................................................

2)
ชื่อ ............................................................................
วิธใี ช้ .........................................................................
การเกบ็ รักษา ............................................................
..................................................................................

3)
ช่ือ ............................................................................
วธิ ีใช้ .........................................................................
การเกบ็ รักษา ............................................................
..................................................................................

4)
ช่ือ ............................................................................
วิธใี ช้ .........................................................................
การเก็บรักษา ............................................................
..................................................................................

คมู่ อื การใช้หลกั สตู รการจดั การศึกษาเพ่ือการมงี านทาจงั หวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 62
หน้า 62

ใบงาน เรอ่ื ง อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในงานประดิษฐ์

ชอ่ื ............................................................................ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 เลขท่ี .........

คาชีแ้ จง ดูภาพ แลว้ เขียนชื่อ วิธใี ชแ้ ละวิธกี ารเก็บรักษาอุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นงานประดิษฐ์ใหถ้ ูกตอ้ ง
1) ชอ่ื .........ก...า..ว..............................................................

วิธใี ช้ .....ต...ดิ..ว...ัส..ด...ุใ.ห...้ต...ิด..ก...ัน...........................................
การเก็บรักษา ..ป..ดิ...ฝ..า..ข...ว..ด...ใ.ห...้ส...น..ิท................................
..................................................................................

2)
ชื่อ ........ค..ัต...เ.ต...อ..ร..์.......................................................
วธิ ีใช้ ....ใ..ช...ก้ ..ร..ีด...ก..ร..ะ..ด...า..ษ..............................................
การเกบ็ รักษา ..เ.ล...อื่..น...ใ..บ..ม...ดี...เ.ก..บ็....แ...ล..้ว...ใ.ส...ก่ ..ล...่อ..ง.............
.........................ใ..ห...เ้ .ร..ีย..บ...ร..้อ...ย.......................................

3)
ชวธิื่อใี ช..้...............ใก....ช.ร...ต้.ร....ไ.ดั ..ก..ผ...ร...า้......แ......ล....ะ....ก......ร....ะ....ด.....า....ษ.................................................................
การเกบ็ รักษา ...เ.ก...็บ..ใ..ส...ซ่ ..อ...ง...แ...ล..ว้..เ..ก..บ็...ไ.ว...้ใ.น...ก..ล...่อ..ง.........
..................................................................................

4)
ชอ่ื ........ด..ิน...ส..อ.............................................................
วธิ ใี ช้ ....ใ..ช..้เ..ข..ยี...น....ว..า..ด...ส..ิ่ง..ท...ี่ต..้อ...ง..ก..า..ร.............................
การเกบ็ รักษา เ.ก...็บ..ใ..ส..ก่...ล..อ่...ง..ใ.ส...่ด..นิ...ส...อ..ใ..ห..เ้..ร..ีย..บ...ร..้อ..ย.........
..................................................................................

คมู่ อื การใช้หลักสูตรการจดั การศึกษาเพอื่ การมงี านทาจงั หวัดชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 63
หนา้ 63

แบบประเมินการนาเสนอ
ผลงาน

ลาดบั รายการประเมิน คุณภาพการปฏบิ ัติ 1
ที่ 432

1 นาเสนอเนอ้ื หาในผลงานได้ถูกตอ้ ง

2 การนาเสนอมีความนา่ สนใจ

3 ความเหมาะสมกับเวลา

4 ความกล้าแสดงออก

5 บุคลิกภาพ นา้ เสยี งเหมาะสม

รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน
ปฏิบตั ไิ ด้สมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตไิ ดแ้ ต่ยังมขี ้อบกพร่อง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัติไดแ้ ต่มีขอ้ บกพรอ่ งคอ่ นขา้ งมาก ให้ 1 คะแนน
ปฏิบัติไม่ได้

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน 4 หมายถงึ ดมี าก
3 หมายถงึ ดี
17-20 2 หมายถงึ พอใช้
13-16 1 หมายถงึ ปรับปรงุ
9-12
5-8

ค่มู ือการใชห้ ลกั สตู รการจัดการศกึ ษาเพอื่ การมงี านทาจงั หวัดชลบุรี ระดับประถมศึกษา 64
หน้า 64

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล

ลาดบั ชอ่ื – สกลุ ความต้ังใจ ความ ความ ความ ความคดิ รวม
ท่ี ของผู้รับการ ในการ รับผดิ ชอบ ประหยดั ปลอดภัย สร้างสรรค์ 15
ทางาน ตรงต่อเวลา ระมดั ระวัง คะแนน
ประเมนิ 321 321
321 321 321

ลงชอ่ื ..........................................................................................ผูป้ ระเมนิ
......................./.........................../........................

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ = ดี ให้ 3 คะแนน
คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ = พอใช้ ให้ 2
คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ หรอื นอ้ ยคร้ัง = ปรบั ปรงุ ให้ 1

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ

11-15 ดี
6-10 พอใช้
1-5 ปรบั ปรงุ

คมู่ ือการใชห้ ลักสูตรการจดั การศึกษาเพอ่ื การมีงานทาจังหวดั ชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 65
หน้า 65

การพับแมว

ค่มู อื การใชห้ ลกั สตู รการจดั การศกึ ษาเพ่อื การมีงานทาจังหวดั ชลบุรี ระดับประถมศึกษา 66
หนา้ 66

การพับหมี

การพบั ปลาทอง

การพับหมี

ค่มู ือการใช้หลกั สูตรการจดั การศกึ ษาเพอ่ื การมีงานทาจงั หวัดชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 67
หน้า 67

การพับปลาทอง

ค่มู อื การใชห้ ลักสตู รการจดั การศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทาจังหวัดชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 68
หนา้ 68

รูปแบบท่ี 2 บรู ณาการในกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน

ตวั อย่างแผนการจดั การเรยี นรู้รูปแบบท่ี 2
โรงเรยี นชุมชนวัดหนองคอ้ สงั กัดองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดชลบรุ ี

คาอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น

กิจกรรมชุมนมุ ของดีจากสับปะรด ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

ศึกษาวิธีการทาน้าหมักชีวภาพจากสับปะรด บอกลักษณะสาคัญ จุดเด่นและวิธีการทาน้า
หมักชีวภาพจากสับปะรดศรีราชา โดยการศึกษาขั้นตอนการทา ลักษณะสาคัญ จุดเด่นและวิธีการทา
และวิธีใช้น้าหมักชีวภาพจากสับปะรดศรีราชา เพ่ือให้เกิดทักษะ ประสบการณ์ในการนาเศษวัตถุดิบจาก
สับปะรดศรีราชานามาต่อยอดการผลิตผลิตภัณฑ์จากสับปะรดให้เกิดประโยชน์เป็น ตระหนักเห็น
คณุ คา่ ความสาคัญของสบั ปะรดศรีราชาในฐานะที่เป็นพชื เศรษฐกิจทีส่ าคญั และมีคณุ คา่ ในท้องถิ่นตน

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายประวตั คิ วามเปน็ มาของนา้ หมกั ชวี ภาพสับปะรดศรีราชา
2. บอกลกั ษณะและจดุ เดน่ สาคญั ของนา้ หมักชีวภาพสบั ปะรดศรีราชาได้
3. ตระหนกั เห็นคุณค่า ความสาคญั ของการนาเศษวัตถดุ บิ สบั ปะรดศรีราชาในฐานะท่ี

เปน็ พชื เศรษฐกจิ ทสี่ าคญั และมีคุณค่าในท้องถิ่น.
4. ศกึ ษาดงู านการทานา้ หมกั สบั ปะรดศรีราชานอกสถานท่ี
5. ฝึกทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทานา้ หมกั ชวี ภาพจากเศษวตั ถุดบิ จากสับปะรดศรีราชารว่ มกับ

ชมุ ชน
6. ฝึกทักษะการจาหนา่ ย คิดต้นทุน-กาไร จากการทานา้ หมักชีวภาพจากเศษวัตถดุ ิบ

สับปะรดศรรี าชา
รวมท้ังหมด 6 ผลการเรียนรู้

ค่มู อื การใชห้ ลักสูตรการจัดการศกึ ษาเพ่ือการมงี านทาจังหวดั ชลบุรี ระดับประถมศึกษา 69
หนา้ 69

การจดั ทาโครงสร้างกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

กิจกรรมชุมนุม ของดีจากสับปะรด ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2558 เวลา 20 ชั่วโมง

ลาดับ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ ผลการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
ที่ เรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

1 ประวตั คิ วามเป็นมา ข้อท่ี 1 ประวตั ิความเป็นมาของทา 3 15

นา้ หมักชวี ภาพจากเศษ 3 15

วตั ถุดบิ สบั ปะรด 3 15
3 15
ศรรี าชา
5 25
2 ลักษณะของนา้ หมัก ขอ้ ที่ 2 ลกั ษณะและจดุ เดน่ สาคญั 3 15

ชวี ภาพจากเศษ ของทานา้ หมักชวี ภาพ 20 100

วตั ถดุ ิบสับปะรด จากเศษวตั ถุดิบ

ศรรี าชา สับปะรดศรรี าชา

3 ความสาคญั ขอ้ ท่ี 3 ความสาคญั ของน้าหมัก

ชวี ภาพจากเศษวัตถุดบิ

สับปะรดศรรี าชา ในท้องถิน่

4 การศึกษาข้อมลู ขอ้ ท่ี 4 การศกึ ษาข้อมลู เกี่ยวกับการ

ทาน้าหมกั ชวี ภาพ

จากเศษวตั ถุดิบ

สบั ปะรดศรรี าชา

5 การฝกึ การทานา้ หมัก ขอ้ ท่ี 5 การฝึกทานา้ หมกั ชีวภาพจาก

จากสับปะรด เศษวัตถดุ บิ สบั ปะรดศรรี าชา

6 การจาหนา่ ยและการ ขอ้ ที่ 6 การฝกึ ทักษะการ คิดตน้ ทนุ -

คิดต้นทนุ -กาไร กาไร จากการทาน้าหมกั

ชวี ภาพจากเศษวัตถุดบิ

สบั ปะรดศรรี าชา

รวมตลอดภาคเรียน

คมู่ อื การใชห้ ลักสูตรการจัดการศกึ ษาเพือ่ การมีงานทาจังหวดั ชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 70
หน้า 70

แผนการจดั การกจิ กรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมชุมนมุ ของดจี ากสับปะรด ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 เรือ่ งศึกษาข้อมูลการทาน้าหมกั ชีวภาพจากสับปะรด เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง

วนั ที่................ เดือน..........................พ.ศ. .................. หอ้ ง ป. .......................เวลา.......................

วนั ท.่ี ............... เดือน..........................พ.ศ. .................. หอ้ ง ป. .......................เวลา.......................

วันท่.ี ............... เดอื น..........................พ.ศ. .................. ห้อง ป. .......................เวลา.......................

วนั ท.่ี ............... เดือน..........................พ.ศ. .................. ห้อง ป. .......................เวลา.......................

_____________________________________________________________________

1. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการทานา้ หมกั ชวี ภาพจากเศษวตั ถุดบิ สบั ปะรดศรีราชาได้

2. องคป์ ระกอบทักษะชีวิต
คุณลักษณะที่ 5 ขยันและอดทน ต้ังใจเพียรพยายามทาหน้าที่อย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ

ทาใหง้ านสาเร็จตามเปา้ หมาย
คุณลักษณะท่ี 10 จิตสาธารณะ จิตสานึกเพ่ือส่วนรวม โดยจะทาหน้าที่ท่ีจะดูแลและ

บารงุ รักษาร่วมกนั

3. สมรรถนะสาคญั เพื่อการมีงานทา
สมรรถนะที่ 4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิตการทางานอาชีพ
ตวั ชี้วัดที่ 1 มคี วามรู้ ความเข้าใจในกระบวนการทางานและสามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างเปน็ ระบบ

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้เกีย่ วกับการทานา้ หมกั ชวี ภาพจากเศษวัตถุดิบสับปะรดศรรี าชา

5. ภาระงาน/ชนิ้ งานท่ีควรปรากฏ
- ใบงาน เรื่องการทาน้าหมักชีวภาพ และรายงาน เรื่องการทาน้าหมักชีวภาพจากวัตถุดิบ

สับปะรดศรรี าชา

6. กิจกรรมการเรยี นรู้
ชั่วโมงท่ี 1
ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรียน
1. นกั เรียนและคณุ ครูสนทนาถงึ เร่อื งนา้ หมักชีวภาพ

ค่มู ือการใช้หลกั สตู รการจัดการศกึ ษาเพ่ือการมงี านทาจังหวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 71
หน้า 71

2. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ในช่ัวโมงนี้ให้นักเรียนทราบว่าเม่ือนักเรียนศึกษาจบชั่วโมงนี้
แล้ว นักเรยี นจะต้องอธบิ ายความรเู้ ก่ยี วกับน้าหมกั ชีวภาพได้

ขน้ั สอน
1. นักเรียนทุกคนศึกษาใบความรู้ เร่ืองน้าหมักชีวภาพ โดยใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที
2. นักเรียนทุกคนปฏิบัติกิจกรรมใบงานที่ 1 เร่ือง น้าหมักชีวภาพ โดยให้เวลานักเรียน
ปฏิบตั กิ ิจกรรมละประมาณ 15 นาที
ขน้ั สรปุ
ครูนาเฉลยกจิ กรรมและชมเชยนักเรยี นท่ตี ั้งใจปฏิบตั ิกิจกรรม
ชว่ั โมงท่ี 2
ขน้ั นาเข้าสู่บทเรียน
คุณครูเล่านิทานสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมจากเรียนรู้คาสอนแม่ฟ้าหลวง พระราโชวาทใน
สมเด็จ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี เร่ืองความรับผิดชอบ “ในครอบครวั เรา (ความ
รับผิดชอบ) เป็นของท่ีไม่ต้องคิดเป็นธรรมชาติ ส่ิงท่ีสอนอันแรก คือ เราจะทาอะไรให้เมืองไทย ถ้าไม่มี
ความรบั ผิดชอบ จะไปชว่ ยเมืองไทยได้อยา่ งไร ทุกอย่างออกมา จากนนั้ ถา้ จะเอาหลักการต้องเปน็ คนดี
นี่คือหลกั การ เพอ่ื จะชว่ ยอะไรได้ สิ่งเหล่าน้ี ฉันเป็นคนพูดออกมา”
ข้ันสอน
1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 8 คน ให้ตัวแทนกลุ่มมาจบั ฉลากเพื่อทารายงานตามหัวข้อ
ดังตอ่ ไปนี้

- การทานา้ หมักชีวภาพจากเปลือกสบั ปะรดและประโยชน์
- การทาน้าหมักชวี ภาพจากเน้ือสบั ปะรดและประโยชน์
2. นักเรียนหาขอ้ มลู เกย่ี วกับการทาน้าหมกั แตล่ ะชนิดและทาเปน็ รปู เลม่ รายงาน
ขนั้ สรปุ
นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอภิปรายถึงส่ิงท่ีค้นหาเก่ียวกับการทาน้าหมักจากสับปะรด โดย
คุณครคู อยให้คาแนะนาเพ่มิ เตมิ
ชวั่ โมงท่ี 3
ขัน้ นาเข้าส่บู ทเรยี น
นานักเรียนไปดูแปลงสาธิตการปลูกสับปะรดในโรงเรียน สนทนาซักถามเกี่ยวกับความรู้
เรอื่ งสบั ปะรด
ขน้ั สอน
1. นักเรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอแลกเปลี่ยนความรู้จากการทาน้าหมักชวี ภาพ โดยเพอ่ื นๆ ใน
หอ้ งร่วมกันสนทนาถึงประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากการทานา้ หมักชีวภาพ
2. นักเรียนคน้ คว้าข้อมลู การทานา้ หมกั ชีวภาพจากหอ้ งสมดุ และอินเตอรเ์ นต็
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนสรุปข้ันตอนการทาน้าหมักจากสับปะรดประโยชน์ท่ีได้จากการหาข้อมูลใน
การนานา้ หมักจากเศษวัตถดุ ิบสับปะรดมาใช้เพื่อให้สอดคล้องกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

คมู่ ือการใชห้ ลกั สตู รการจดั การศึกษาเพ่อื การมีงานทาจังหวัดชลบรุ ี ระดบั ประถมศึกษา 72
หนา้ 72

7. สอ่ื การเรียนรู้
7.1 ใบความรู้ เรอ่ื ง น้าหมกั ชวี ภาพ
7.2 ใบงาน เร่ือง นา้ หมักชีวภาพ

8. การประเมนิ ผล

วิธกี ารประเมิน เคร่อื งมอื วดั ผล เกณฑ์การวัด
1. แบบประเมินพฤติกรรม
1. ประเมนิ พฤติกรรม เกณฑ์ผา่ นขน้ั ต่า
รายบุคคล การเรียน 1. ไดร้ ะดบั “พอใช้” ขนึ้ ไป
2. แบบสังเกตพฤติกรรม 2. ไดร้ ะดบั “ ดี” ข้นึ ไป
2. สังเกตพฤติกรรม 3. ไดร้ ะดับพอใช้ ข้ึนไป
การทางานกลมุ่ ของกลุ่ม การทางานกล่มุ 4. ไดค้ ะแนนรวมร้อยละ 50
ต่างๆ
3. แบบประเมนิ ผลการปฏิบัติ ขน้ึ ไป
3..ประเมนิ ผลจากการปฏิบัติ กจิ กรรม การสรปุ ผลการประเมนิ
กิจกรรม ต้องผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่าท้ัง 4
4. ใบงาน รายการ
4. ประเมินผลจากใบงาน

9. ความเหน็ ของหวั หน้าสายช้นั
....................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................... ............

ลงช่ือ...........................................................
(...........................................................)
............/....................../........................

10. ความเหน็ ของฝ่ายบรหิ าร
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงช่อื ..............................................................
(………………………………………)

รองผูอ้ านวยการสถานศึกษาฯ ฝา่ ยวิชาการ
.................../....................../........................

คูม่ ือการใชห้ ลกั สูตรการจดั การศึกษาเพือ่ การมีงานทาจังหวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 73
หนา้ 73

11. บันทึกหลังการสอนแผนการจดั การเรียนรทู้ ่.ี ..........
1. ผลการสอน

............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ................................................................

2. ปญั หา/ อปุ สรรคในการสอน
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................. ..............................

3. แนวทางแก้ไข
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................

4. การปรับปรุงและพัฒนา
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................. ...................................................................

ลงชื่อ .....................................................ผสู้ อน
(..............................................)
............/................/...........

คมู่ ือการใช้หลกั สูตรการจดั การศึกษาเพื่อการมีงานทาจงั หวัดชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 74
หน้า 74

ใบงานที่ 1
เรอ่ื งการทานา้ หมกั ชีวภาพ
จดุ ประสงค์
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรือ่ งการทาน้าหมักชีวภาพ เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์การทาน้า
หมักชีวภาพ คุณสมบัติและรวมทั้งประโยชน์ในการทางานการทานา้ หมักชีวภาพ
ความสาคัญการทานา้ หมักชีวภาพ
............................................................................................................
...........................................................................................................
..........................................................................................................
.............................................................................................................
ขั้นตอนในการการทานา้ หมักชีวภาพ
............................................................................................................
............................................................................................................
...........................................................................................................
..........................................................................................................
.............................................................................................................
........................................................................................................................

คู่มือการใช้หลักสูตรการจัดการศกึ ษาเพ่อื การมีงานทาจงั หวัดชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 75
หนา้ 75

ใบงานที่ 2 เร่อื ง นา้ หมกั ชีวภาพ

ช่ือ ..............................................................ชน้ั ...................เลขที่ ...............
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. น้าหมกั ชวี ภาพมีช่ือเรียกอย่างอ่ืนว่าอยา่ งไร
ตอบ................................................................................. .............................................................
2. นา้ หมกั ชีวภาพคืออะไร
ตอบ............................................................................................................................. ................
3. แตเ่ ดิมนา้ หมักชวี ภาพถกู คดิ ค้นขึน้ มาเพอ่ื อะไร
ตอบ............................................................................................................................. ................
4. นา้ หมักชีวภาพมกี ารใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
ตอบ.............................................................................................................................................
5. เราสามารถนาน้าหมักชีวภาพมาใช้ประโยชนใ์ นครัวเรือนได้อย่างไร
ตอบ............................................................................................................................. ................
6. น้าหมักชีวภาพเพ่ือการเกษตรสามารถเลอื กสว่ นผสมจากอะไรได้บ้าง
ตอบ.............................................................................................................................................
7. น้าหมกั ชีวภาพทห่ี มักได้ 3 เดือนแล้วดดู นา้ ใสๆออกมาจะเรียกว่าอะไร
ตอบ............................................................................................................................. ................
8. ทาไมเมอ่ื ใชน้ ้าหมกั ชีวภาพกบั พืชจงึ ต้องใชใ้ นปริมาณที่เจือจาง
ตอบ.............................................................................................................................................
9. เราเปิดฝาถงั น้าหมักชวี ภาพในระหวา่ งการหมักเพ่ืออะไร
ตอบ............................................................................................................... ..............................
10. หากใชน้ า้ ประปาในหารหมกั นา้ หมักชวี ภาพตอ้ งตม้ น้าใหส้ ุกก่อนเพ่ืออะไร และเพราะอะไร
ตอบ............................................................................................................................. ................

ค่มู ือการใช้หลักสูตรการจดั การศกึ ษาเพอ่ื การมีงานทาจังหวดั ชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 76
หนา้ 76

ใบความรู้
เรอื่ ง น้าหมักชีวภาพ

น้าหมักชีวภาพ หรือ น้าสกัดชีวภาพ หรือ ปุ๋ยน้าจุลินทรีย์ ตามแต่จะเรียก เป็น
สารละลายเข้มข้นท่ีได้จากการหมักเศษพืช หรือสัตว์ กับสารที่ให้ความหวาน จนถูกย่อยสลายโดย
จุลินทรยี ์ ซึง่ เมื่อผ่านกระบวนการแล้วจะได้สารละลายเข้มข้นสีนา้ ตาล ประกอบไปดว้ ยจุลนิ ทรีย์ และ
สารอินทรยี ห์ ลายชนิด

เดิมทีนั้นจุดประสงค์ของการคิดค้น “น้าหมักชีวภาพ” ขึ้นมา เพื่อใช้ประโยชน์ทาง
การเกษตรโดยเฉพาะ แตช่ ่วงหลังกม็ ีการนาน้าหมักชีวภาพ มาประยกุ ต์ใช้ประโยชน์ในด้านอืน่ เช่นกัน
คอื

ด้านการเกษตร น้าหมักชีวภาพ มีธาตุอาหารสาคัญ ท้ังไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแต
สเซียม แคลเซียม กามะถัน ฯลฯ จึงสามารถนาไปเป็นปุ๋ย เร่งอัตราการเจริญเติบโตของพืช เพ่ิม
คณุ ภาพของผลผลติ ใหด้ ีขน้ึ และยังสามารถใช้ไลแ่ มลงศตั รูพชื ไดด้ ้วย

ด้านปศุสัตว์ สามารถช่วยกาจัดกล่ินเหม็น น้าเสียจากฟาร์มสัตว์ได้ ช่วยป้องกันโรค
ระบาดต่าง ๆ ในสัตว์แทนการให้ยาปฏิชีวนะ ทาให้สัตว์แข็งแรง มีความต้านทานโรค ช่วยกาจัด
แมลงวนั ฯลฯ

ด้านการประมง ช่วยควบคุมคุณภาพน้าในบ่อเล้ียงสัตวน์ ้า ชว่ ยแก้ปัญหาโรคพยาธิใน
นา้ ช่วยรักษาโรคแผลตา่ งๆ ในปลา กบ จระเข้ได้ ช่วยลดปริมาณขเ้ี ลนในบ่อ ชว่ ยให้เลนไมเ่ น่าเหม็น
สามารถนาไปผสมเปน็ ปยุ๋ หมักใช้กับพชื ต่างๆ ไดด้ ี

ด้านส่ิงแวดล้อม น้าหมักชีวภาพ สามารถช่วยบาบัดน้าเสียจากการเกษตร ปศุสัตว์
การประมง โรงงานอุตสาหกรรม ชมุ ชน และสถานประกอบการทวั่ ไป แถมยังช่วยกาจดั กลิ่นเหมน็ จาก
กองขยะ การเล้ียงสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชนต่างๆ นอกจากน้ียังช่วยปรับสภาพอากาศที่
เสียให้สดชืน่ และมสี ภาพดขี ึน้

ประโยชน์ในครัวเรือน เราสามารถนาน้าหมักชีวภาพ มาใชใ้ นการซักลา้ งทาความสะอาด
แทนสบู่ ผงซักฟอก แชมพู นา้ ยาลา้ งจาน รวมท้ังใชด้ ับกลน่ิ ในหอ้ งนา้ โถส้วม ท่อระบายนา้ ฯลฯ

คู่มอื การใชห้ ลักสูตรการจดั การศึกษาเพ่ือการมงี านทาจงั หวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 77
หนา้ 77

วิธที า นา้ หมกั ชวี ภาพ เพ่ือการเกษตร

เราสามารถเลือกส่วนผสมจาก พืช ผลไม้สุก หรือสัตว์ อย่างหอยเชอร่ี ในการทาน้าหมัก
ชีวภาพ ได้

ส่วนผสม : เราสามารถเลือกส่วนผสมจาก พืช ผลไม้สุก หรือสัตว์ อย่างหอยเชอร่ี อย่างใด
อย่างหนึ่ง ในการทาน้าหมักชีวภาพ โดยสับเป็นชิ้นเล็ก 3 ส่วน, กากน้าตาล 1 ส่วน (อาจใช้น้าตาล
ทรายแดง หรอื น้าตาลทรายขาว ผสมนา้ มะพร้าว 1 ส่วนแทนได)้ น้าเปลา่ 10 ส่วน

วิธีทา : นาส่วนผสมทั้งหมดมาคลุกเคล้ากัน แล้วบรรจุลงในถังหมักพลาสติก หรือขวดปิดฝา
เก็บไว้ในท่รี ม่ นานประมาณ 3 เดอื น แล้วจึงสามารถนาไปใส่เป็นปุ๋ยใหพ้ ชื ผกั ผลไม้ได้ โดย

- ใช้นา้ หมกั ชีวภาพ อตั ราสว่ น 10 ซซี ี ต่อนา้ 20 ลิตร เพื่อบารงุ ใบพชื ผักผลไม้
- ใช้น้าหมักชวี ภาพอัตราสว่ น 15-20 ซซี ี ต่อน้า 20 ลติ ร เพอ่ื ปรบั ปรงุ บารุงดนิ ให้ดินร่วนซยุ
- ใช้น้าหมกั ชวี ภาพ อัตราสว่ น 1 ส่วน น้า 1 ส่วน เพอื่ กาจดั วชั พชื
หากต้องการบารุงสว่ นใบพืช ก็ให้ใช้ส่วนใบยอดพชื มาหมัก หากต้องการบารุงผล ใหใ้ ชส้ ่วนผล
เช่น กล้วยน้าว้าสุก มะละกอสุก เปลือกสับปะรด ฟักทองมาหมัก หรือหากต้องการใช้กาจัดศัตรูพืช
ควรหมกั สะเดา ตะไครห้ อม ข่า แยกตา่ งหากด้วย เม่อื จะใชก้ น็ ามาผสมฉดี พน่ พชื ผกั ผลไม้
หากใช้สายยางดูดเฉพาะนา้ ใสๆ จากน้าหมักชีวภาพท่ีหมกั ได้ 3 เดือนแลว้ ออกมา จะเรียกส่วน
นี้ว่า “หัวเชื้อน้าหมักชีวภาพ” เมื่อนาไปผสมอีกคร้ัง แล้วหมักไว้ 2 เดือน จะได้หัวเชื้อน้าหมัก
ชีวภาพอายุ 5 เดือน ซ่ึงหากขยายต่ออายุทุก ๆ 2 เดือน จะได้หัวเชื้อที่อายุมากข้ึนเรื่อยๆ และ
ประสทิ ธภิ าพสูงมากข้นึ

วิธที า นา้ หมกั ชวี ภาพ เพ่ือการซกั ลา้ ง
นา้ หมักชีวภาพ สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการซกั ลา้ งได้ โดยมีสตู รใหน้ าผลไม้ เปลือก

ผลไม้ (ฝักสม้ ป่อย , มะคาดคี วาย , มะนาว ฯลฯ) 3 สว่ น นา้ ตาลทรายแดงหรือน้าตาลอ้อย 1 สว่ น
และน้า 10 ส่วน ใส่รวมกันในภาชนะทมี่ ีฝาปิดสนทิ โดยให้เหลอื ช่องว่างไวป้ ระมาณ 1 ใน 5 ของขวด/
ถงั แล้วหม่ันเปดิ ฝาคลายแกส๊ ออก โดยตอ้ งวางไว้ในท่ีร่ม อย่าใหถ้ กู แสงแดด หมักไวน้ าน 3 เดือน ก็
จะได้นา้ หมกั ชวี ภาพ สาหรับซักผา้ หรอื ลา้ งจานได้ ซง่ึ สูตรนี้แมว้ า่ ผ้าจะมีราขึ้น หากนาผ้าไปแช่ทิ้งไว้
ในนา้ หมกั ชวี ภาพกจ็ ะสามารถซกั ออกได้

วธิ ีทา นา้ หมกั ชีวภาพ เพื่อดับกลิ่น
สูตรหน่งึ ของการทาน้าหมกั ชวี ภาพมาดับกล่ิน คือ ใช้เศษอาหาร พืชผัก ผลไม้ท่เี หลือทิ้ง 3

ส่วน กากน้าตาลหรอื โมลาส 1 ส่วน และน้า 10 ส่วน ใสร่ วมกนั ในภาชนะท่ีมฝี าปิดสนิท โดยให้เหลือ
ช่องว่างไวป้ ระมาณ 1 ใน 5 ของขวด/ถัง หมกั ไว้นาน 3 เดือน กจ็ ะไดน้ ้าหมกั ชวี ภาพใช้ดบั กลิ่นใน
หอ้ งนา้ โถส้วม ทอ่ ระบายน้า กล่ินปัสสาวะสุนขั ฯลฯ ได้อย่างดี

ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ น้าหมักชีวภาพ
1. หากใชน้ ้าหมกั ชวี ภาพกบั พืช ตอ้ งใชป้ รมิ าณเจือจาง เพราะหากความเขม้ ข้นสงู เกินไป อาจ

คมู่ ือการใชห้ ลักสูตรการจัดการศึกษาเพือ่ การมงี านทาจังหวดั ชลบุรี ระดับประถมศึกษา 78
หน้า 78

ทาใหพ้ ืชชะงักการเจริญเตบิ โต และตายได้
2. ระหวา่ งหมัก จะเกิดกา๊ ซต่าง ๆ ในภาชนะ ดังนน้ั ต้องหม่นั เปดิ ฝาออก เพื่อระบายแก๊ส แล้ว

ปดิ ฝากลบั ให้สนทิ ทนั ที
3. หากใช้น้าประปาในการหมัก ต้องต้มให้สุก เพ่ือไล่คลอรีนออกไปก่อน เพราะคลอรนี อาจ

เป็นอนั ตรายต่อจลุ ินทรยี ท์ ใี่ ช้ในการหมกั
4. พืชบางชนิด เช่น เปลือกสม้ ไมเ่ หมาะในการทาน้าหมักชีวภาพ เพราะนา้ มันทเี่ คลอื บผิว

เปลือกส้มเป็นพษิ ต่อจุลินทรีย์

นา้ หมักชีวภาพเพอ่ื การบรโิ ภค
เราอาจเคยได้ยินข่าวว่า มีคนนาน้าหมักชีวภาพมาใช้บริโภคกันด้วย ซึ่งน้าหมักชีวภาพที่

ใช้ในการบริโภค หรือ เอนไซม์ เป็นสารโปรตีน วิตามินเอ บี ซี ดี อี เค อะมิโนแอซิค (Amino
acid) และ อะเซทิลโคเอ (Acetyl Coa) ท่ีได้จาก หมักผลไม้นานาชนิด เมื่อหมักระยะเริ่มแรกจะ
เป็นแอลกอฮอล์ ระยะต่อมา เป็นน้าส้มสายชู ซ่งึ มีรสเปรี้ยว อีกระยะหน่ึงเป็นยาธาตุ มีรสขม ก่อนจะ
ได้เป็นน้าหมักชีวภาพ (เอ็นไซม์) ซึ่งใช้เวลาหมักขยายประมาณ 2 ปี แต่หากจะนาไปด่ืมกินควรผ่าน
การหมักขยายเปน็ เวลา 6 ปขี ้ึนไป

โดยประโยชน์จากน้าหมักชีวภาพน้ัน หากมีการนวัตกรรมการผลิตท่ีดีจะส่งผลดีต่อสุขภาพ
ของระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย ทาให้ภูมิตา้ นทานโรคดีขึ้น และช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือดได้
แต่น้าหมักชีวภาพ ที่ขายอยู่ตามท้องตลาด มักเป็นน้าหมักชีวภาพที่อยู่ในสภาพเป็นแอลกอฮอล์
ดงั น้นั เม่ือดมื่ กินแล้วอาจมีอาการร้อนวบู วาบ มึนงง และอาจทาใหฟ้ ันผุกร่อนได้ เพราะน้าหมักชวี ภาพ
(เอนไซม)์ มีสภาพเป็นกรดสงู ดงั นั้นจงึ ไมค่ วรด่ืมนา้ หมกั ชวี ภาพแบบเข้มขน้

อย่างไรก็ตาม การทาน้าหมักชีวภาพ ท่ีใช้บริโภคนั้น ยังขาดข้อมูลทางวิทยาศาสตร์รองรับ
หากด่มื กินเข้าไปกเ็ สย่ี งตอ่ อันตรายได้ โดยเฉพาะมีขอ้ มูลจาก สวทช. ร่วมกับ อย.ที่ได้เกบ็ ตวั อย่างของ
ผลิตภัณฑ์น้าหมักชีวภาพท่ีวางขายตามท้องตลาดมาตรวจสอบ พบว่า น้าหมักชีวภาพเหล่าน้ี แม้จะ
ไม่มีการปนเป้ือนของโลหะ เศษไม้ เศษดิน แต่พบการปนเป้ือนของเชื้อรา ยีสต์ เมทิลแอลกอฮอล์
เอทิลแอลกอฮอล์ ซ่ึงสง่ ผลต่อระบบประสาทและตา โดยเฉพาะเมทานอล หรือเมธิลแอลกอฮอล์ที่
ทาอนั ตรายตอ่ รา่ งกายได้

ดังนั้นแล้ว เพ่ือความปลอดภัย ควรหลีกเลี่ยงการซื้อผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้รับการรับรองจาก
องค์การอาหารและยา รวมทั้งต้องพิจารณาความน่าเชื่อถือของผู้ผลิต แหล่งผลิต และบรรจุภัณฑ์หีบ
ห่อด้วย แต่ถ้าหากจะนา “น้าหมักชีวภาพ” มาใช้ในครัวเรือน หรือการเกษตร ลองทาง่ายๆ ด้วย
ตัวเอง กจ็ ะปลอดภยั และประหยดั ท่สี ุด

คมู่ ือการใช้หลักสูตรการจดั การศกึ ษาเพอ่ื การมีงานทาจงั หวัดชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 79
หนา้ 79

รปู แบบที่ 3 กาหนดเป็นรายวิชา/กจิ กรรมท่สี ถานศึกษาจดั เพิ่มเติม
ตามความพร้อมและจุดเน้น

ตวั อยา่ งแผนการจัดการเรยี นรูร้ ูปแบบท่ี 3
โรงเรียนวดั หนองบอนแดง

สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต 1

เป้าหมายแผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ Career
แผนการจัดการเรยี นรู้ My Dream Job
ชัน้ ประถมศึกษาคละช้ัน

ความรู้
คาศพั ท์ (vocabulary)
doctor, teacher, computer man,
farmer, etc.
โครงสรา้ งไวยากรณ์ (Grammar)
What do you want to be a … ?
I dream to be a doctor.

ภาระงาน / ช้ินงาน My Dream ทักษะ / กระบวนการ
1. อ่านศัพท์ Job 1. ทกั ษะการฟัง การพดู
2. อ่านประโยค
3. สนทนาโต้ตอบ/ การอ่าน การเขียน
2. กระบวนการกลุ่ม
แสดงบทบาทสมมุติ 3. กระบวนการคิด
4. ขยนั และอดทน
4. ใบงาน (Worksheet)

คุณลกั ษณะนิสัยเพอ่ื การประกอบอาชีพ 80
1. คดิ สรา้ งสรรค์
2. รบั ผิดชอบ
3. ทางานเป็นทีม
4. ขยนั และอดทน

คูม่ ือการใช้หลกั สตู รการจดั การศกึ ษาเพ่อื การมงี านทาจงั หวัดชลบรุ ี ระดบั ประถมศึกษา
หน้า 80

แผนการจัดการเรียนรู้ My Dream Job เวลา 1 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั
มฐ. ต1.1 ตวั ชีว้ ดั 2, 3, 4
มฐ. ต1.2 ตวั ช้วี ัด 1, 4
มฐ. ต1.3 ตัวชี้วัด 1
มฐ. ต2.1 ตวั ชว้ี ัด 3
มฐ. ต4.1 ตัวชี้วัด 1

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ความรู้
1. ออกเสียงคาศัพท์ ประโยคและบอกความหมายได้
2. ถาม - ตอบ เกี่ยวกับเก่ียวกบั อาชีพในอนาคต
3. พูดและเขียนเก่ยี วกับอาชีพในอนาคต
ทักษะ/กระบวนการ
1. ทักษะการฟงั การพูด การอา่ น การเขียน
2. กระบวนการกลุ่ม
3. กระบวนการคิด
คณุ ลักษณะนสิ ยั เพื่อการประกอบอาชีพ
1. คิดสรา้ งสรรค์
2. รับผิดชอบ
3. ทางานเป็นทมี
4. ขยันและอดทน

3. กจิ กรรมการเรยี นรู้
กจิ กรรมรวมช้นั
Warm up
1. นักเรียนเล่นเกมใบ้อาชีพ ทตี่ วั เองฝันอยากจะทา ใหเ้ พื่อน/กลุม่ ช่วยกันทายเป็นไทยหรอื

ภาษาองั กฤษ
GI: Who am I?
G2 : Teacher, farmer, doctor, เมื่อเสรจ็ กจิ กรรมของเดก็ ครูถามดว้ ยประโยค

What do you want to be a … (music teacher)? Why?
กิจกรรมรวมชน้ั กจิ กรรมกลุ่ม รายบุคคล
Presentation
1. ครเู สนอภาพอาชีพต่างๆ เป็นภาษาอังกฤษ นักเรยี นออกเสียงตาม อาชพี ละ 2-3 ครัง้

เชน่ farmer, doctor, fisherman, computer man.

คู่มือการใชห้ ลกั สูตรการจดั การศึกษาเพ่อื การมงี านทาจังหวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 81
หน้า 81

2. ครูฝกึ นักเรยี นออกเสยี งอาชพี ต่างๆ เป็นภาษาอังกฤษตามลาดบั อาชพี ท่ีนักเรยี นอยาก
เป็น Children's dream jobs ดว้ ยประโยค

T: What is your dream job?
Ss: Teacher.
T: Why?
S1: I like children.
กจิ กรรมจับคู่ / กิจกรรมเด่ียว /กลุ่ม
Practice
1. นักเรียนฝกึ ตามใบความรู้ (Study Sheet) My Dream Job
T : What is your dream job?
S1 : Computer lady.
S2 : Teacher.
T : What is your dream job?
S3 : My dream job is a doctor.
T : Why?
S3 : Not many doctors.
กิจกรรมกลุ่ม
Production
นกั เรียนทา นาเสนอใบงาน (Worksheet) My Dream Job
กจิ กรรมรวมชนั้ /กลมุ่
Wrap up
นักเรยี นบอกอาชีพที่อยากเป็นในวนั นี้ (today) และพรุ่งนี้ (tomorrow) ดว้ ยประโยค
What do you want to be today and tomorrow? Doctor/Doctor Teacher/Teacher.
Today I want to be doctor. Tomorrow I want to be doctor.

4. ภาระงาน / ชิ้นงาน
1. อา่ นศัพท์
2. อ่านประโยค
3. สนทนาโต้ตอบ/แสดงบทบาทสมมุติ
4. ใบงาน (Worksheet) My Dream Job

5. แหลง่ เรยี นรู้/ส่ือ
1. เกม Who am I?
2. ใบความรู้ (Study Sheet) My Dream Job
3. ใบงาน (Worksheet) My Dream Job

คูม่ ือการใชห้ ลกั สตู รการจัดการศึกษาเพือ่ การมีงานทาจงั หวดั ชลบุรี ระดับประถมศึกษา 82
หนา้ 82

6. การวดั และประเมนิ ผล

วธิ วี ดั เคร่อื งมือ

1. สงั เกตทักษะทางภาษา 1. แบบประเมินทักษะทางภาษา
2. สงั เกตพฤติกรรม 2. แบบประเมนิ พฤติกรรมนักเรียน
3. ตรวจผลงาน 3. แบบประเมนิ ผลงาน

7. บันทกึ หลังการสอน
ผลการสอน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หา / อปุ สรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. กจิ กรรมเสนอแนะเพ่ิมเตมิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื …………………………..………………………..
(………Mr.Krittakorn Namthip.….….)
ครผู ูส้ อน/ Teacher

9. ความคดิ เห็นผู้บริหาร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ……………………………………...............................
(Dr.Pholthawin Wacharadhorntumrong)
ผู้อานวยการโรงเรยี นวดั หนองบอนแดง/ Director of NBD.

ค่มู ือการใช้หลักสตู รการจัดการศึกษาเพอ่ื การมีงานทาจังหวัดชลบรุ ี ระดบั ประถมศึกษา 83
หนา้ 83

Study Sheet My Dream J0b
ชัน้ ประถมศกึ ษาคละชนั้

What is your dream job?
Computer lady

Teacher
What is your dream job?

My dream job is a doctor.

Why? Money.
aairhotes Not many doctors.

sairhotes

s. .

ค่มู ือการใชห้ ลกั สตู รการจัดการศึกษาเพ่ือการมงี านทาจงั หวดั ชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 84
หน้า 84

Worksheet My Dream Job
ชนั้ ประถมศึกษาคละชนั้

อา่ น เขยี น ทาท่าทางกบั เพ่อื น

I dream to be a farmer.

Farmer ………………………………………………………………………………………………………………………

I dream to be a doctor.

Doctor ………………………………………………………………………………………………………………………

อา่ น ตอบคาถาม Why do you dream to be a teacher?

Why?
……………………………...

วาดภาพ My Dream Job ของนักเรยี น
My Dream Job

Group ……………………………………….

ค่มู อื การใช้หลักสตู รการจัดการศกึ ษาเพอื่ การมงี านทาจังหวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 85
หนา้ 85

แบบประเมนิ ผลงาน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ........

รายการประเมิน

ที่ 1. ความ ูถก ้ตองของเน้ือหา (4)รวม
ชอ่ื – สกุล 2. ความ ิคดสร้างสรรค์ (3)คะแนน
3. ความสวยงาม2เรียบร้อย(3)(10)

ระดับคุณภาพ

1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพ
คะแนน 9 – 10 คะแนน ระดับดีมาก
คะแนน 7 – 8 คะแนน ระดับดี
คะแนน 5 – 6 คะแนน ระดับพอใช้
คะแนน 1 – 4 คะแนน ระดับปรบั ปรงุ

จานวนนักเรียนทีผ่ ่านระดับคุณภาพ .......................คน รอ้ ยละ....................
จานวนนักเรียนที่ผา่ นระดบั คุณภาพ .......................คน รอ้ ยละ....................

ลงชื่อ......................................................ผู้ประเมิน
(......................................................)

ค่มู ือการใชห้ ลักสูตรการจัดการศึกษาเพ่ือการมงี านทาจงั หวดั ชลบุรี ระดับประถมศึกษา 86
หน้า 86

แบบประเมนิ พฤติกรรมนักเรยี น

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ........

รายการประเมนิ

รบั ผิดชอบ/ขยนั มคี วามกล้า มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่

ในการเรยี น แสดงออก การเรียน

ท่ี ภาษาอังกฤษ
ปฏิ ับ ิตงาน ้ดวยตนเอง
ช่อื – สกุล ูร้ ัจก ึศกษา ้คนค ้วา
งานเสร็จ ัทนเวลา
อาสาปฏิ ับติกิจกรรม
ทางานอย่าง
คีมล่ควอางแมคิคล่ดวสร้างสรร ์ค
สนใจในการเรียน
่รวม ิกจกรรมอ ่ยาง
เท ็ตาม ิกใจจกรรมอย่างสนุก

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ

3 2 2 3 2 2 2 2 2 20
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพ

คะแนน 18 – 20 คะแนน ระดบั ดมี าก คะแนน 14 – 17 คะแนน ระดับดี

คะแนน 10 – 13 คะแนน ระดบั พอใช้ คะแนน 1 – 9 คะแนน ระดบั ปรับปรงุ

จานวนนักเรยี นท่ีผา่ นระดับคุณภาพ .......................คน รอ้ ยละ....................

จานวนนกั เรียนที่ผ่านระดบั คุณภาพ .......................คน รอ้ ยละ....................

ลงชอื่ ....................................................ผ้ปู ระเมิน
(................................................)

คมู่ อื การใชห้ ลกั สตู รการจัดการศกึ ษาเพื่อการมีงานทาจังหวัดชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 87
หน้า 87

แบบประเมินทักษะทางภาษา อ่านออกเสียงคา/ประโยคได้ ูถก ้ตอง เขียนคา ัศพ ์ท/ประโยคได้ ูถกต้อง ีมความ ิคดสร้างสรร ์ค/เคร่ืองหมาย
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ........

รายการประเมิน
การฟัง การพูด การอ่าน การเขยี น

ที่ ชอ่ื – สกลุ
เ ้ขาใจความหมายของคา ัศพ ์ท/ ออกเ ีสยงคาไ ้ด ูถก ้ตอง ชัดเจน ูพดไ ้ด ูถกต้อง ตรงประเ ็ดน อ่านเว้นวรรคได้เหมาะสม รวมคะแนน ระ ัดบคุณภาพ
สปรุระปเโรื่ยอคง ีท่ ัฟงได้
ูถก

3 2 3 2 3 2 3 2 20

1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ

คะแนน 18 – 20 คะแนน ระดับดีมาก คะแนน 14 – 17 คะแนน ระดับดี

คะแนน 10 – 13 คะแนน ระดับพอใช้ คะแนน 1 – 9 คะแนน ระดบั ปรบั ปรุง

จานวนนักเรยี นทผ่ี ่านระดับคุณภาพ .......................คน รอ้ ยละ....................

จานวนนกั เรียนท่ผี า่ นระดบั คุณภาพ .......................คน รอ้ ยละ....................

ลงช่อื .............................................ผปู้ ระเมนิ
(............................................)

คมู่ อื การใชห้ ลักสตู รการจดั การศกึ ษาเพ่อื การมงี านทาจงั หวัดชลบุรี ระดับประถมศึกษา 88
หน้า 88

ตารางแสดงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
สู่การจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้

กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ Career แผนการจดั การเรียนรู้ My Dream Job

ชั้นประถมศึกษาคละชัน้ เวลา 1 ชัว่ โมง
……………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง

มาตรฐานการ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้คละชนั้
เรียนรู้
2. ระบุตัวอักษรและ * ตวั อกั ษร(letter 1. คาศัพท์ สานวน
สาระที่ 1 ภาษา
เพ่ือการสื่อสาร เสียง อา่ นออกเสียง names)เสยี งตวั อักษรและ ประโยคทีใ่ ช้ขอและให้
ต 1.1 เข้าใจและ
ตคี วามเรอ่ื งที่ฟัง และสะกดคาง่ายๆ สระ(letter sounds)และ ข้อมูลเกย่ี วกับสิ่งของ
และอ่านจากสื่อ
ประเภทต่างๆ ถูกต้องตามหลักการ การสะกดคา บคุ คล สถานที่ในโรงเรียน
และแสดงความ
คดิ เห็นอย่างมี อ่าน - หลกั การอา่ นออกเสียง รวมท้ังโครงสร้างทาง
เหตุผล
3. เลอื กภาพตรง เช่น ไวยากรณ์ เชน่

ตามความหมายของ - การออกเสยี งพยัญชนะ คาศัพท์ (vocabulary)

คาและกลมุ่ คาทีฟ่ ัง ตน้ และพยัญชนะทา้ ยคา doctor, teacher,

4. ตอบคาถามจาก - การออกเสียงเน้นหนกั - computer lady ,farmer,

การฟังเรื่องใกลต้ วั เบา (stress)ในคาและ โครงสรา้ งไวยากรณ์

กลุ่มคา (Grammar)

- การออกเสยี งตามระดับ Why do you want to

เสียงสงู -ตา่ be a …

(intonation)ในประโยค ( music teacher)?

* คา กลุ่มคาและ I dream to be a

ความหมายเกย่ี วกบั ตนเอง doctor.

* บทอา่ นเกีย่ วกับเรอื่ งใกล้ 2. นาเสนอขอ้ มลู เกย่ี วกับ

ตัวหรือนิทานท่มี ี ส่งิ ของ บคุ คล สถานที่ ที่

ภาพประกอบ พบเหน็ ในชวี ิตประจาวันได้

* ประโยคคาถามและ 3. อา่ นออกเสยี งตาม

คาตอบ หลกั การอา่ นได้

คูม่ อื การใชห้ ลกั สตู รการจดั การศกึ ษาเพือ่ การมีงานทาจงั หวัดชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 89
หนา้ 89

มาตรฐานการ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้คู ละช้นั

เรียนรู้

ต1.2 มที กั ษะการ 1. พดู โตต้ อบดว้ ยคา * บทสนทนาท่ใี ชใ้ นการ

สอ่ื สารทางภาษา สนั้ ๆ ง่ายๆ ในการ ทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคุณ

ในการแลกเปลย่ี น สือ่ สารระหวา่ งบคุ คล ขอโทษ และประโยค /

ข้อมูลขา่ วสาร ตามแบบที่ฟัง ข้อความ ที่ใช้แนะนา

แสดงความรสู้ กึ 4. พูดขอและให้ขอ้ มลู ตนเอง

และความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ตนเองตาม * คาศพั ท์ สานวนภาษา

อยา่ งมี แบบท่ีฟัง และประโยคท่ีใชข้ อและให้

ประสทิ ธิภาพ ข้อมลู เกี่ยวกับตนเอง

ต1.3 นาเสนอ 1. พูดใหข้ ้อมลู เกยี่ วกับ * คาและประโยคทใี่ ชใ้ น

ข้อมลู ข่าวสาร ตนเองและเร่ืองใกล้ตัว การพูดใหข้ อ้ มลู เกยี่ วกับ

ความคิดรวบยอด ตนเอง

และความเห็นใน

เรื่องตา่ งๆ โดย

การพดู และการ

เขียน

สาระที่ 2 ภาษา

และ

วฒั นธรรม 3. เขา้ ร่วมกิจกรรมทาง * กิจกรรมทางภาษาและ

ต.2.1 เข้าใจ ภาษาและวัฒนธรรมท่ี วฒั นธรรมเช่น การเลน่ เกม

ความสัมพันธ์ เหมาะสมกับวยั การร้องเพลง การเล่า

ระหว่างภาษากบั นทิ านประกอบทา่ ทาง

วฒั นธรรมของ

เจ้าของภาษา

และนาไป ใช้ได้

อย่างเหมาะสมกบั

กาลเทศะ

คู่มือการใช้หลักสตู รการจดั การศึกษาเพื่อการมงี านทาจงั หวดั ชลบุรี ระดบั ประถมศึกษา 90
หนา้ 90

ตวั อยา่ งแนวการจัดการเรียนการสอนเพือ่ การมงี านทาระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา
โรงเรยี นวดั กลางคลองหลวง

สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2

สาระการเรียนร้ทู ี่ 1 คณุ ลกั ษณะนิสัยเพ่ือการประกอบอาชีพและพฤตกิ รรมการทางานอาชีพ

สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมท่ดี าเนนิ การ การวัดและ ส่ือ/อปุ กรณ์ เวลาเรียน
ประเมินผล (ช่ัวโมง)

1.1 คณุ ลกั ษณะท่พี ึง 1. เรยี นรู้ทักษะพนื้ ฐาน 1. การสงั เกต 1. ใบความรู้ 5

ประสงค์ของ อาชพี เบอ้ื งตน้ พฤตกิ รรม 2. สื่อ ICT,

พลเมอื งไทยและ งานจักสานไมไ้ ผ่ 2. การสมั ภาษณ์ VDO

พลโลกและคา่ นิยม 2. ฝึกปฏิบัตทิ กั ษะ 3. การทดสอบ 3. แหลง่ เรยี นรู้

หลัก 12 ประการ พื้นฐานงานจกั สาน 4. การตรวจ (สถาน

สาหรบั คนไทย ทัง้ ในสถานศกึ ษาและ ผลงาน/ชน้ิ งาน ประกอบการ)

คุณธรรมพนื้ ฐาน นอกสถานศึกษา 4. เอกสาร

และคณุ ลักษณะ 3. ศึกษาแหล่งเรยี นรู้ สิ่งพมิ พ์

ทีพ่ งึ ประสงค์ เก่ียวกบั งานจกั สาน 5. โทรทัศน์

ตามหลกั สูตร ไม้ไผใ่ นชมุ ชนและ ทางไกลผา่ น

1.2 คณุ ลกั ษณะ ศนู ย์จักสาน ดาวเทียม

ตามมาตรฐาน 6. วัสดุ

วชิ าชพี อุปกรณ์

1.3 นิสัยเพือ่ การ ต่างๆ

ประกอบอาชีพ 7. ใบงาน

และพฤตกิ รรม 8. วิทยากร

การทางานอาชพี ท้องถน่ิ

9. ตวั อยา่ ง

ช้นิ งาน

รวมเวลาเรียน 5

คู่มือการใช้หลักสตู รการจดั การศกึ ษาเพือ่ การมงี านทาจงั หวดั ชลบรุ ี ระดับประถมศึกษา 91
หนา้ 91

สาระการเรยี นรูท้ ี่ 2 งานอาชีพในจังหวดั ชลบุรแี ละทักษะการทางานอาชพี

สาระการเรียนรู้ กิจกรรมที่ดาเนินการ การวดั และ สอื่ /อุปกรณ์ เวลาเรียน
2.1 งานอาชีพใน ประเมนิ ผล 1. ใบความรู้ (ชั่วโมง)
2. สอื่ ICT,
จงั หวดั ชลบุรี 1. ใหค้ วามรู้เก่ียวกับ 1. การสงั เกต 3
2.2 สมรรถนะ VDO
งานจกั สานไมไ้ ผ่ทีม่ ี พฤตกิ รรม 3. แหลง่ เรียนรู้ 3
ผู้เรยี นตาม
หลักสูตร ในท้องถ่ินและนอก 2. การสมั ภาษณ์ (สถาน
การศึกษา ประกอบการ)
ท้องถ่นิ 3. การทดสอบ 4. เอกสาร
2.3 ทักษะการใช้ สงิ่ พิมพ์
เทคโนโลยี 2. จัดกิจกรรมเสริม 4. การตรวจ 5. โทรทศั น์
สารสนเทศ ทางไกลผา่ น
และการ ประสบการณง์ าน ผลงาน/ชน้ิ งาน ดาวเทยี ม
ส่อื สาร 6. วสั ดุ
อาชพี จักสานไมไ้ ผ่ อุปกรณ์
2.4 ทกั ษะการใช้ ต่างๆ
ภาษาองั กฤษ 3. เชิญวทิ ยากรท่ีเปน็
เพือ่ การ รวมเวลาเรียน
ส่ือสารใน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
งานอาชีพ
มาใหค้ วามรู้เก่ียวกับ

อาชีพ

1. ให้ความรูแ้ ละฝกึ

ทักษะ

พ้ืนฐานการใช้

เทคโนโลยใี นการ

ทางานอาชพี และ

ค้นหาข้อมูลเกยี่ วกบั

งานจักสานไมไ้ ผ่

1. ให้เรยี นรคู้ าศัพท์

ภาษา

อังกฤษเกี่ยวกับงาน

อาชีพงานจกั สานไม้

ไผ่

2. ฝกึ ทกั ษะการใช้

ภาษาอังกฤษเพื่อ

การ

ส่ือสารการทางาน

อาชพี งานจักสานไม้

ไผ่

คู่มือการใชห้ ลกั สตู รการจัดการศกึ ษาเพ่ือการมีงานทาจงั หวดั ชลบรุ ี ระดบั ประถมศึกษา 92
หนา้ 92


Click to View FlipBook Version