The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-16 01:08:36

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

กล่าวโดยสรุปตามแนวคิดของเพียเจต์ เด็กเล็กจะมองกฎเกณฑ์ว่ำเป็นส่ิงจริงจัง เปล่ียนแปลงไม่ได้
และมำจำกอ�ำนำจภำยนอก (ผู้ใหญ่) พัฒนำกำรทำงศีลธรรมของเด็กเล็กจะอยู่ในลักษณะตัดสินผิด ถูก
ตำมสิ่งทีส่ งั เกตเหน็ ได ้ โดยมไิ ด้คำ� นึงถึงเจตนำของผกู้ ระทำ� ทเ่ี ปน็ เช่นนเ้ี น่ืองมำจำกกำรใช้ภำษำและควำมคิด
ของเดก็ มลี กั ษณะยดึ ตนเองเปน็ ศนู ยก์ ลำง ทำ� ใหไ้ มส่ ำมำรถมองเหน็ หลำย ๆ สงิ่ ไดใ้ นเวลำเดยี วกนั เมอ่ื เดก็ โตขน้ึ
จะมีกำรเชื่อมโยงหำเหตุผลโดยค�ำนึงถึงเจตนำของผู้กระท�ำมำกกว่ำสิ่งท่ีสังเกตได้เฉพำะหน้ำ เนื่องจำก
เด็กวัยน้ีสำมำรถมองได้หลำยแง่มุมได้ในเวลำเดียวกัน เด็กโตจึงสำมำรถเข้ำใจถึงเจตนำของผู้อ่ืนและสำมำรถ
ยดื หยนุ่ เกย่ี วกบั กฎเกณฑไ์ ด ้ โดยตระหนกั วำ่ กฎเกณฑเ์ ปน็ เพยี งขอ้ ตกลงระหวำ่ งบคุ คลในกำรควบคมุ พฤตกิ รรม
ในแตล่ ะสถำนกำรณเ์ ทำ่ นัน้ นอกจำกนยี้ งั สำมำรถน�ำกฎเกณฑ์ไปใช้ในสถำนกำรณต์ ำ่ ง ๆ ได้

ขั้นตอนการพัฒนาทางศีลธรรมของโคลเบริ ก์
(Lawrence Kohlberg’s Stages of Moral Development)

โคลเบิร์ก แบ่งพัฒนำกำรทำงศีลธรรมของบุคคลออกเป็น ๓ ระดับ แต่ละระดับแบ่งออกเป็น ๒ ข้ัน
รวม ๖ ขั้น ดงั นี้

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 143

ระดับท่ี ๑ ระดบั ก่อนมีศีลธรรมหรอื ระดับกอ่ นกฎเกณฑ์สงั คม ระดับนี้ เดก็ จะสนองตอบตำมเกณฑ์
ภำยนอก ซง่ึ มกั เกย่ี วขอ้ งกบั รำ่ งกำย เชน่ กำรลงโทษ กำรใหร้ ำงวลั หรอื เปลยี่ นแปลงควำมพงึ พอใจ เดก็ จะรบั รู้
กฎเกณฑ์ของพฤติกรรมที่ ‘ดี’ และ ‘ไม่ดี’ จำกผู้มีอ�ำนำจเหนือตนเอง เช่น พ่อแม่ ครู หรือเด็กที่โตกว่ำ
และมักค�ำนึงถึงผลท่ีตำมมำว่ำเป็นรำงวัลหรือกำรถูกลงโทษ ในกำรตีควำมพฤติกรรมของตนเองอย่ำงเช่น
พฤตกิ รรมด ี คอื พฤตกิ รรมที่แสดงแล้วได้รบั รำงวัล สว่ นพฤตกิ รรมท่ีไม่ดี คอื พฤตกิ รรมท่ีแสดงแล้วถูกลงโทษ
ซง่ึ พฤตกิ รรมเหลำ่ น้จี ะพบในเด็กท่ีอำยุ ๒-๑๑ ป  แบ่งออกเป็น ๒ ข้นั ดงั น้ี

ขั้นที่ ๑ การเช่ือฟงและการถูกลงโทษ มุ่งไม่ให้ตนเองถูกลงโทษทำงกำย เพรำะกลัว
ควำมเจ็บปวดที่จะได้รับ และยอมท�ำตำมค�ำสั่งของผู้ใหญ่ที่มีอ�ำนำจเหนือตนโดยไม่มีเง่ือนไข และไม่สนใจ
ควำมหมำยหรอื คณุ คำ่ ใด ๆ เพอื่ ไมใ่ หต้ นเองถกู ลงโทษ ถอื วำ่ เปน็ กำรแสดงพฤตกิ รรมเพอื่ หลบหลกี กำรถกู ลงโทษ
เด็กจะใช้ผลท่ีตำมมำของกำรแสดงพฤติกรรมเป็นเคร่ืองบ่งชี้ว่ำพฤติกรรมของตนเอง ‘ถูก’ หรือ ‘ผิด’
ถ้ำถูกท�ำโทษจะเรียนรู้ว่ำส่ิงที่ตนเองท�ำนั้นผิด ถ้ำได้รับรำงวัลหรือค�ำชมจะเรียนรู้ว่ำส่ิงที่ท�ำน้ันถูก และจะท�ำ
ซ�้ำอีกเพื่อใหไ้ ดร้ ำงวัล

ขนั้ ท่ี ๒ กฎเกณฑ์เปนเคร่ืองมือเพ่ือประโยชน์ของตน ยินยอมท�ำเพื่อให้ได้รำงวัลหรือ
ให้ได้รับส่ิงท่ีพอใจ ตลอดจนแลกเปล่ียนผลประโยชน์กัน เป็นข้ันของกำรแสวงหำรำงวัลและกำรแลกเปล่ียน
เดก็ จะเลือกท�ำตำมควำมพอใจของตนเอง โดยใหค้ วำมสำ� คัญตอ่ กำรไดร้ บั รำงวัลตอบแทน รำงวัลอำจจะเปน็
วตั ถหุ รอื เปน็ กำรตอบแทนทำงกำย วำจำ และใจ โดยในขนั้ น้ียังไม่คำ� นึงถงึ ควำมถูกตอ้ งของสงั คม แตจ่ ะสนใจ
ทำ� ตำมขอ้ บงั คับ เพ่อื ประโยชนห์ รอื ควำมพอใจของตนเอง หรอื เพรำะอยำกได้ของตอบแทน

ระดบั ท่ี ๒ ระดับการมีศีลธรรมตามกฎเกณฑ์ทางสังคม ในระดับน้ี เด็กจะยอมรับควำมมุ่งหวัง
กฎเกณฑท์ ำงครอบครัว กล่มุ และประเทศชำตวิ ำ่ เป็นสงิ่ ทม่ี ีคณุ ค่ำ ถูกตอ้ ง และพยำยำมปฏิบตั ิใหเ้ หมำะสม
ตำมเกณฑข์ องสังคมที่ตนอยูโ่ ดยค�ำนึงถงึ จติ ใจผู้อ่ืน และไม่คำ� นงึ ผลที่จะเกดิ แกต่ นเองทอ่ี ำจตำมมำ เด็กจะทำ�
ตำมควำมคำดหวังของพอ่ แม่ หรือผปู้ กครอง กลุ่มเพอ่ื น ยดึ ถอื ควำมซ่ือสัตย์ และควำมจงรักภักดเี ปน็ สำ� คญั
ศีลธรรมในระดับนี้มักพบในช่วงวยั ร่นุ อำยุประมำณ ๑๑-๑๖ ป แบ่งเป็น ๒ ขน้ั ตอ่ เนอ่ื งจำกระดับกอ่ น คอื

ขน้ั ที่ ๓ เกณฑ์ “เดก็ ด”ี คนดีทห่ี วงั ความชนื่ ชอบ เด็กจะใชห้ ลักท�ำตำมทีผ่ อู้ ื่นเห็นชอบ
โดยจะแสดงพฤตกิ รรมเพอ่ื ตอ้ งกำรใหเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั ของกลมุ่ ทำ� ใหผ้ อู้ น่ื พอใจ และยกยอ่ งชมเชย เดก็ ยงั ไมค่ อ่ ย
เปน็ ตวั ของตวั เอง มกั คลอ้ ยตำมกำรชกั จงู ของผอู้ นื่ เชน่ กำรชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื และทำ� ใหผ้ อู้ น่ื พอใจ ซงึ่ กจ็ ะตรงกบั
ควำมคิดเห็นส่วนใหญ่ หรือยินยอมท�ำตำมเพื่อหลีกเล่ียงกำรไม่เห็นด้วยหรือควำมไม่เห็นชอบจำกบุคคลอ่ืน
โดยเฉพำะเพ่อื น พบในเดก็ -วยั รุ่น อำย ุ ๑๑-๑๕ ป

ข้ันท่ี ๔ กฎ ระเบยี บเปน ใหญ่ ขนั้ นเี้ ดก็ จะใชห้ ลกั ทำ� ตำมหนำ้ ทข่ี องสงั คม เรยี นรถู้ งึ กำรเปน็
สว่ นหนง่ึ ของสงั คม คำ� นงึ ถงึ บทบำทและหนำ้ ทขี่ องตนเองในสงั คม และปฏบิ ตั ติ ำมหนำ้ ทข่ี องสงั คมอยำ่ งเครง่ ครดั
เพ่ือธ�ำรงไว้ซึ่งกฎเกณฑ์ของสังคม ยึดถือว่ำพฤติกรรมที่ถูกต้องจะประกอบด้วย กำรปฏิบัติตำมหน้ำท่ี
ทำ� ตำมกฎเกณฑ์ต่ำงๆ ทำงสังคมก�ำหนด คลอ้ ยตำมเพอื่ หลีกเลีย่ งกำรถกู ประณำมจำกสังคม ยนิ ยอมท�ำตำม
เพ่ือหลีกเลี่ยงกำรต�ำหนิจำกผู้ท่ีมีอ�ำนำจตำมกฎหมำย ในขั้นน้ีเด็กจะถือว่ำสังคมจะอยู่ด้วยควำมมีระเบียบ
จะต้องมีกฎหมำยและข้อบังคับ คนดีหรือคนที่มีพฤติกรรมถูกต้อง คือ คนท่ีปฏิบัติตำมระเบียบข้อบังคับ
หรือกฎหมำย พบในวัยรุน่ ชว่ งอำยุประมำณ ๑๓-๑๖ ป
144 แนวทางการพัฒนาและประเมินคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ระดบั ที่ ๓ ระดับเหนือกฎเกณฑ์สังคมหรือระดับจริยธรรมตามหลักวิจารณญาณ เป็นระดับที่กำร
ตัดสินขัดแย้งด้ำนจริยธรรมข้ึนอยู่กับตนเองมำกท่ีสุด กำรตัดสินจริยธรรมจะใช้หลักแห่งเหตุผลกระท�ำตนให้
สอดคลอ้ งกบั มำตรฐำนสำกล ไมข่ ดั กบั สทิ ธอิ นั พงึ ไดข้ องผอู้ น่ื มคี วำมเชอื่ มน่ั ในตนเอง แยกตวั ออกจำกอทิ ธพิ ล
ของกลมุ่ เมอื่ มเี หตผุ ล โดยไมค่ ลอ้ ยตำมถำ้ ผอู้ นื่ ไมม่ เี หตผุ ลพอ โดยยดึ หลกั ของควำมยตุ ธิ รรม และเปน็ ทย่ี อมรบั
ของสังคม ปรำศจำกอิทธิพลของผู้ท่ีมีอ�ำนำจหรือกลุ่มที่ตนเป็นสมำชิก ผู้เรียนที่พัฒนำถึงข้ันนี้ก็จะมีกำรใช้
วิจำรณญำณตีควำมหมำยของสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ตำมหลักกำร และมำตรฐำนทำงจริยธรรมก่อนที่จะแสดง
พฤติกรรม ซ่ึงกำรตัดสินใจว่ำ ‘ถูก’ ‘ผิด’ หรือ ‘ควร’ ‘ไม่ควร’ มำจำกวิจำรณญำณของตนเอง จะปรำกฏ
ในบคุ คลท่ีเป็นผู้ใหญ่ อำยุประมำณ ๑๖ ปขึ้นไป อยบู่ นหลักของควำมยุตธิ รรม และเปน็ ทีย่ อมรับของสงั คม
ปรำศจำกอิทธพิ ลของผทู้ ี่มีอำ� นำจหรือกลุ่มที่ตนเป็นสมำชกิ ซ่ึงพัฒนำกำรในระดับนแี้ บ่งเปน็ ๒ ข้นั คอื

ข้ันที่ ๕ สัญญาสังคมหรือหลักการท�าตามค�ามั่นสัญญา ผู้เรียนจะมีเหตุผลในกำรเลือก
กระทำ� โดยคำ� นงึ ถงึ ประโยชนข์ องสว่ นรวมเปน็ หลกั ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผอู้ นื่ เคำรพกำรตดั สนิ ใจของตนเอง และ
สำมำรถควบคมุ ตนเองได ้ ทำ� ตำมคำ� มนั่ สญั ญำและกำรกระทำ� ทถ่ี กู ตอ้ ง โดยทวั่ ไปทเ่ี หน็ กบั คนหมมู่ ำก มพี ฤตกิ รรม
ทถ่ี กู ต้องตำมค่ำนยิ มของตนและมำตรฐำนของสงั คม ค�ำนงึ ถึงคณุ ค่ำทำงควำมคิดเห็นทีส่ ัมพนั ธ์กบั ส่วนบุคคล
และส่วนรวม

ขั้นที่ ๖ หลักการจริยธรรมสากล ขั้นน้ีถือว่ำเป็นหลักกำรมำตรฐำนจริยธรรมสำกล
เป็นข้ันกำรตัดสินตำมเหตุผลของกำรรับผิดชอบ สร้ำงคุณธรรมประจ�ำใจท่ีนอกเหนือกฎเกณฑ์ทำงสังคม
จริยธรรมเป็นนำมธรรม ไม่ใช่กฎเกณฑ์ทำงศำสนำ แต่เป็นอุดมคติสำกลของสังคมส่วนรวมเป็นหลักกำร
เพือ่ มนุษยธรรม ในขนั้ น้สี ิ่งท ี่ ‘ถกู ’ และ ‘ผิด’ เป็นส่งิ ท่ีขนึ้ อยูก่ ับมโนธรรมท่แี ต่ละคนยึดถอื มีควำมยืดหยุ่น
และยึดหลกั จริยธรรมของตนอย่ำงมีสติ ผ้เู รียนจะแสดงพฤตกิ รรมโดยค�ำนึงถึงควำมถกู ต้อง ยอมรบั ในคณุ ค่ำ
ของควำมเปน็ มนษุ ย์ ค�ำนึงถึงสิทธมิ นษุ ยชน มมี โนธรรม ส�ำนกึ ละอำย เกรงกลัวตอ่ บำป

แนวทางการพัฒนาและประเมินคานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 145

โคลเบริ ์ก พบวำ่ สว่ นมำกกำรพฒั นำทำงศลี ธรรมของเดก็ จะไมถ่ ึงขัน้ สงู สดุ ในอำย ุ ๑๐ ป แตจ่ ะมกี ำร
พัฒนำขน้ึ อกี หลำยขน้ั จำกอำย ุ ๑๑-๒๕ ป  กำรใช้เหตผุ ลเพ่ือกำรตดั สนิ ใจทจ่ี ะเลอื กกระทำ� อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
จะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ควำมเจรญิ ของจติ ใจของบคุ คล กำรใชเ้ หตผุ ลเชงิ จรยิ ธรรมไมไ่ ดข้ น้ึ อยกู่ บั กฎเกณฑข์ องสงั คมใด
สังคมหนึ่งโดยเฉพำะ แต่เป็นกำรใช้เหตุผลที่ลึกซ้ึงยำกแก่กำรเข้ำใจย่ิงขึ้นตำมล�ำดับของวุฒิภำวะทำงปัญญำ
กำรพัฒนำกำรใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมน้ันจะพัฒนำเป็นขั้นตอนจำกข้ันท่ีหน่ึงผ่ำนแต่ละข้ันไปจนถึงข้ันที่หก
บุคคลจะพัฒนำข้ำมขั้นไม่ได้ เพรำะกำรใช้เหตุผลในขั้นสูงขึ้นไป จะเกิดขึ้นได้ด้วยกำรมีควำมสำมำรถในกำร
ใชเ้ หตุผลในขน้ั ทต่ี �่ำกวำ่ อยูก่ อ่ นแลว้ ตอ่ มำเม่อื บคุ คลไดร้ ับประสบกำรณท์ ำงสังคมใหม่ ๆ หรือสำมำรถเขำ้ ใจ
ควำมหมำยของประสบกำรณเ์ กำ่ ๆ ไดด้ ขี นึ้ จงึ เกดิ กำรเปลยี่ นแปลงทำงควำมคดิ และเหตผุ ล ทำ� ใหก้ ำรใชเ้ หตผุ ล
ในข้ันท่ีสูงต่อไปมีมำกขึ้นเป็นล�ำดับ ส่วนเหตุผลในข้ันท่ีต�่ำกว่ำก็จะถูกใช้น้อยลงทุกที จนถูกท้ิงไปในท่ีสุด
นอกจำกนั้นมนุษย์ทุกคนก็ไม่จ�ำเป็นต้องพัฒนำทำงจริยธรรมไปถึงขั้นสุดท้ำย แต่อำจจะหยุดชะงักที่ข้ันใด
ข้นั หนง่ึ ท่ีต�ำ่ กว่ำได ้ โคลเบริ ์ก พบวำ่ ผใู้ หญส่ ว่ นมำกจะพฒั นำกำรถงึ ขนั้ ท่ ี ๔ เท่ำนน้ั
บอ่ เกดิ ของเหตผุ ลเชงิ จรยิ ธรรมไดม้ ำจำกพฒั นำกำรทำงควำมคดิ ในขณะทเี่ ดก็ ไดม้ โี อกำสตดิ ตอ่ สมั พนั ธ์
กับผู้อ่ืน กำรได้เข้ำกลุ่มทำงสังคมประเภทต่ำง ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้บทบำทของตนเองและของผู้อ่ืน
ซึ่งช่วยให้มีพัฒนำกำรทำงจริยธรรมในขั้นสูงได้เร็วข้ึน ทั้งน้ี กำรพัฒนำทำงศีลธรรมนั้นมิใช่กำรรับควำมรู้
จำกกำรพร�ำ่ สอนของผู้อื่นโดยตรง แตเ่ ป็นกำรผสมผสำนระหว่ำงควำมรู้เกย่ี วกับบทบำทของผูอ้ นื่ ดว้ ย รวมท้ัง
ข้อเรียกร้องและกฎเกณฑ์ของกลุ่มต่ำง ๆ ท่ีอำจจะขัดแย้งกัน แต่ในขณะเดียวกันก็ผลักดันให้บุคคลพัฒนำ
ไปตำมขน้ั ตอนในทศิ ทำงเดยี วกันเสมอ ไมว่ ่ำบคุ คลจะอยใู่ นกลุ่มใดหรือสังคมใดก็ตำม
146 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

พัฒนาการด้านคา่ นิยมของแมสซี่
(Massey’s Values Development)

แมสซ่ี ซง่ึ เปน็ นกั สงั คมวิทยำ แบ่งพัฒนำกำรดำ้ นค่ำนยิ มของบคุ คลออกเป็น ๓ ระยะ ได้แก่
๑. ระยะสร้างรอยประทับ เป็นระยะพัฒนำกำรต้ังแต่แรกเกิดจนถึงอำยุประมำณ ๗ ขวบ ท่ีเด็กจะ

ซึมซับรับส่งิ ตำ่ ง ๆ รอบตัว และประทบั รบั ไวว้ ำ่ สงิ่ ตำ่ ง ๆ ทง้ั หลำยถูกต้อง เป็นจริง โดยเฉพำะส่งิ ทีร่ ับมำจำก
พอ่ แม ่ ผปู้ กครอง ควำมสบั สน และควำมเชอ่ื ผดิ ๆ ทฝี่ งั ลึกบำงประกำร ในระยะน้อี ำจนำ� ไปส่กู ำรก่อตัวของ
บำดแผลทำงใจหรือปัญหำลึก ๆ ได้ ประเด็นส�ำคัญในระยะน้ี คือ กำรเรียนรู้ส�ำนึกว่ำด้วยควำมถูกและผิด
ชัว่ และด ี ซึ่งจะมีผลต่อกำรซมึ ซับประทับไว้จนเติบโต

๒. ระยะท�าตามแบบอย่าง เป็นพัฒนำกำรด้ำนค่ำนิยมของเด็กช่วงอำยุ ๘-๑๓ ขวบ ในระยะนี้
เดก็ จะลอกเลยี น ทำ� ตำมแบบอยำ่ งผใู้ หญ ่ นอกจำกพอ่ แมแ่ ลว้ ยงั ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจำกคนอน่ื ๆ ดว้ ย โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ
ครูผ้สู อน กำรท�ำตำมแบบอยำ่ งนีต้ ่ำงจำกกำรเช่อื ฟังแบบขำดเหตผุ ลในระยะแรก แต่เป็นควำมนยิ มชมชอบ

๓. ระยะสังคมหลอ่ หลอม เปน็ พฒั นำกำรด้ำนค่ำนิยมของเด็กวยั รนุ่ ชว่ งอำย ุ ๑๔-๒๑ ป  ในระยะน้ีเด็ก
จะเรม่ิ พัฒนำควำมเปน็ ปจั เจกบคุ คล และหนั เหควำมสนใจ คำ่ นยิ ม จำกทีไ่ ด้ถูกปลกู ฝังไว้ในชว่ งแรก ๆ ไปสู่
กำรแสวงหำผู้คนท่ีมีควำมสนใจ ควำมชอบ ค่ำนิยม ท่ีเหมือนหรือคล้ำยคลึงกับตัวเอง ซ่ึงส่วนมำกจะได้รับ
อิทธพิ ลจำกกลุ่มเพ่ือน นอกจำกน้สี ่อื ตำ่ ง ๆ ยังมีอทิ ธพิ ลตอ่ เดก็ มำกขน้ึ ดว้ ย โดยเฉพำะสือ่ ทม่ี เี น้อื หำ รูปแบบ
ซึง่ สอดคล้องสนองตอบคำ่ นิยมของตนเองและกลุ่มเพ่ือน

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 147

การจดั การศกึ ษาที่เนน้ คา่ นิยม
การศึกษาทีเ่ นน้ คา่ นยิ มคืออะไร

กำรศึกษำคำ่ นิยม (Values Education) เป็นกระบวนกำรทผ่ี ู้คนถ่ำยทอดคำ่ นิยมใหก้ บั ผู้อ่ืน อำจเปน็
กิจกรรมท่ีสำมำรถเกิดขึ้นได้ในองค์กร หน่วยงำนต่ำงๆ ซึ่งผู้ที่อำวุโส ผู้น�ำ หรือผู้ที่มีประสบกำรณ์มำกกว่ำ
ถ่ำยทอดใหก้ บั สมำชกิ อน่ื ๆ กำรใหก้ ำรศึกษำดำ้ นค่ำนิยมด�ำเนนิ กำรได้ท้ังที่บำ้ น โรงเรยี น สถำนศึกษำ ระดบั
และประเภทต่ำง ๆ รวมถงึ ในสถำนที่อืน่ ๆ เชน่ ทณั ฑสถำน สถำนบรกิ ำร โรงงำน บรษิ ทั ฯลฯ
ในบรบิ ทของสถำนศึกษำ กำรจัดกำรศึกษำทีเ่ นน้ ค่ำนิยม (Value-Based Education) คือกระบวนกำร
จัดกำรเรียนกำรสอนท่ีมุ่งปลูกฝังสร้ำงเสริมค่ำนิยมให้ผู้เรียนโดยกำรจัดสภำพแวดล้อมและสร้ำงบรรยำกำศ
กำรเรียนรู้ที่ส่งเสริมเพ่ิมพูนควำมรอบรู้ทำงวิชำกำร และพัฒนำทักษะทำงสังคมและทักษะสัมพันธภำพ
ของนกั เรียนท่ีจะคงอย่ไู ปตลอดชีวิต สงิ่ แวดลอ้ มสำ� คัญทีเ่ อ้ือต่อกำรปลูกฝังคำ่ นิยมท่พี งึ ประสงค ์ คือ กำรเป็น
แบบอยำ่ งของผู้บริหำร คณะคร ู และบุคลำกรของสถำนศกึ ษำนน้ั ๆ
กำรจัดกำรศึกษำท่ีเน้นค่ำนิยมยังเป็นกระบวนกำรเปลี่ยนผ่ำนสู่กำรปรับปรุงคุณภำพกำรศึกษำ
กำรปรบั ปรงุ บรรยำกำศกำรเรยี นรู้ กำรแก้ปญั หำที่เฉพำะเจำะจง กำรสรำ้ งเสรมิ พลังอ�ำนำจให้บคุ คล นกั เรยี น
ครู และโรงเรียน นอกจำกน้ียังเป็นกำรส่งเสริมกำรเปล่ียนแปลงทำงวัฒนธรรมและสังคม โดยผ่ำนกำรจัด
ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ แบบแผนกำรด�ำเนินชีวิตด้ำนจริยธรรมท่ีท�ำให้ผู้เรียนซึมซับค่ำนิยมท่ีพึงประสงค์
ในสังคม

ข้อควรคา� นึงในการจดั การศกึ ษาทีเ่ นน้ คา่ นิยม
๑. กำรศึกษำท่ีเน้นค่ำนิยมไม่ใช่สูตรส�ำเร็จและเกิดผลทันทีทันใด หำกแต่เป็นกระบวนกำรเติบโต
พัฒนำท่ีต้องอำศัยเวลำ อย่ำงไรก็ตำม เรำอำจเห็นผลข้ำงเคียงหรือกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตำมค่ำนิยม
ทพ่ี ึงประสงค์เกิดขึ้นมำเปน็ ระยะ ๆ
๒. กำรศึกษำท่ีเน้นค่ำนิยมไม่ใช่เพียงบำงอย่ำง “ที่จัดให้เด็ก” เท่ำน้ัน เรื่องส�ำคัญมำก คือ ผู้ใหญ่
ต้องเข้ำรว่ มอยำ่ งจริงจงั และเปน็ แบบอยำ่ งด้ำนพฤตกิ รรมใหเ้ ด็ก
๓. กำรศึกษำที่เน้นค่ำนิยมไม่ใช่กำรเพิ่มวิชำหรือเรื่องอ่ืนที่ยัดเยียดเพิ่มเติมเข้ำมำในหลักสูตร แต่เป็น
กระบวนกำรทตี่ อ้ งดำ� เนนิ กำรตอ่ เนอ่ื งใหบ้ รรลผุ ลตลอดหลกั สตู ร รวมทงั้ เปน็ กำรสรำ้ งเสรมิ เพมิ่ พนู คณุ ภำพชวี ติ
ในโรงเรียนโดยองคร์ วม
๔. กำรศึกษำท่ีเน้นค่ำนิยมไม่ใช่กำรแสดงตนให้ “สุภำพ ดูดี มีมำรยำท” หำกแต่เป็นควำมฉลำดรู้
ทำงอำรมณ์จำกสำ� นึกทีแ่ ท้จรงิ เปน็ เรอื่ งเกย่ี วกบั ควำมคำดหวังอยำ่ งสูงส�ำหรบั ตนเองและผอู้ นื่ รวมถงึ กำรคิด
วิจำรณญำณทีเ่ ขม้ ข้น
148 แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

แนวทางการจดั การศึกษาทีเ่ นน้ คา่ นิยม
๑. แนวทางทางปญญา เป็นวิธีกำรพัฒนำควำมรู้ควำมเข้ำใจหรือกำรพัฒนำสติปัญญำให้ผู้เรียนรับรู ้
เรยี นรู้ เขำ้ ใจ ยอมรับคำ่ นิยมต้งั แตร่ ะดบั รูปธรรมไปถึงระดับนำมธรรม โดยเชอื่ ว่ำสตปิ ัญญำ ควำมร ู้ ควำมคิด
เป็นรำกฐำนของคุณธรรมจรยิ ธรรม
๒. แนวทางอบรมส่ังสอน เป็นวิธีกำรที่กลุ่มหรือสังคมก�ำหนดค่ำนิยมท่ีพึงประสงค์ไว้ล่วงหน้ำแล้ว
ว่ำส่ิงใด “ดี” หรือ “ไม่ดี” แล้วจึงจัดให้มีกำรอบรมสั่งสอน และฝกปฏิบัติตำมค่ำนิยมนั้น ๆ กระท่ังปฏิบัติ
จนเป็นนิสัย แนวทำงกำรจัดกำรศึกษำแบบอบรมส่ังสอนอำจเหมำะส�ำหรับผู้เรียนระดับปฐมวัยและ
ประถมศกึ ษำ ทีย่ งั มีพฒั นำกำรด้ำนศีลธรรม จรยิ ธรรมอยู่ในระยะต้น ๆ โดยมีกำรประยกุ ต์ใช้แนวคดิ ทฤษฎี
ในกำรจดั กำรเรยี นรมู้ ำดำ� เนินกำร ดังน้ี

๒.๑ การปลกู ฝง คา่ นยิ มโดยการเสริมแรงและการลงโทษ
เปน็ กำรประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ดำ้ นพฒั นำกำรของโคลเบริ ก์ ทเ่ี หน็ วำ่ เดก็ ปฐมวยั และประถมศกึ ษำ
ยงั อยใู่ นระยะพฒั นำกำรทจ่ี ะประพฤตติ นตำมกฎเกณฑต์ ำ่ ง ๆ เพรำะหลกี เลยี่ งกำรลงโทษ ควำมถกู ผดิ ตดั สนิ
โดยพจิ ำรณำผล ถำ้ ถกู ลงโทษถอื วำ่ ทำ� ไมด่ ี เดก็ วยั นจี้ งึ ยงั ไมม่ เี หตผุ ลในกำรตดั สนิ ใจทำ� สง่ิ ตำ่ ง ๆ นอกจำกปฏบิ ตั ิ
ตำมคำ� สอนของผใู้ หญ่
พฒั นำกำรอกี ขน้ั หนง่ึ เดก็ จะประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ พอ่ื มงุ่ หวงั รำงวลั สว่ นตวั โดยจะนำ� ควำมตอ้ งกำร
ของตนมำก�ำหนดส่ิงท่ีถูกและผิด ถ้ำหำกปฏิบัติส่ิงใดแล้วได้รำงวัลก็จะยึดถือว่ำสิ่งนั้นเป็นส่ิงที่ถูกต้อง ดังน้ัน
กำรชมเชยและใหร้ ำงวัลเมอ่ื เดก็ ท�ำในสง่ิ ที่ถกู ต้อง เหมำะสม จึงเป็นวิธปี ลกู ฝังคำ่ นยิ มใหก้ บั เดก็ เนือ่ งจำกเด็ก
ยังไมส่ ำมำรถตัดสินสิ่งต่ำง ๆ ได้ด้วยเหตุผลของตนเอง
อย่ำงไรกต็ ำม กำรจะใหเ้ ด็กแสดงพฤติกรรมตำมคำ่ นิยมทีฝ่ ก หดั ปลกู ฝังอยำ่ งตอ่ เนื่อง จ�ำเปน็
ต้องใช้หลักกำรของกำรเสริมแรงและกำรลงโทษตำมที่นักจิตวิทยำกลุ่มพฤติกรรมนิยมเสนอทฤษฎีท่ีเช่ือว่ำ
พฤตกิ รรมของคนเกดิ จำกกำรปฏสิ มั พนั ธท์ ำงสงั คม ผลจำกกำรแสดงพฤตกิ รรมนน้ั จะเปน็ ตวั บง่ ชว้ี ำ่ พฤตกิ รรมนน้ั
จะมีแนวโน้มเกิดขึ้นอีกหรือไม่ในสถำนกำรณ์ท่ีคล้ำยกับสถำนกำรณ์เดิม หำกเด็กแสดงพฤติกรรมท่ีดีแล้ว
ได้รับรำงวัลตอบแทน กำรชมเชยยกย่อง เด็กจะแสดงพฤติกรรมน้ันซ�้ำอีก แต่หำกแสดงพฤติกรรมใดแล้ว
ไมไ่ ดร้ บั รำงวลั กำรใสใ่ จ ยกยอ่ งชมเชย หรอื ถกู ลงโทษ เดก็ จะระงบั หรอื หยดุ กำรกระทำ� นนั้ ๆ ดงั นนั้ กำรเรยี นรู้
ค่ำนิยมของเดก็ จึงข้ึนอยกู่ ับผใู้ หญท่ ี่จะพจิ ำรณำว่ำพฤติกรรมใดเปน็ พฤติกรรมทีเ่ หมำะสม แล้วน�ำมำใช้ในกำร
อบรมปลูกฝงั เด็ก

๒.๒ การเรียนรคู้ า่ นิยมโดยการสงั เกตจากตวั แบบ
แนวควำมคิดน้ีเช่ือว่ำพฤติกรรมส่วนใหญ่ของคนในสังคมเกิดจำกกำรเรียนรู้โดยกำรสังเกต
จำกตัวแบบ ทั้งตัวแบบในชีวิตจริงหรือตัวแบบที่เป็นสัญลักษณ์ ตัวแบบจะท�ำหน้ำท่ีทั้งสร้ำงหรือพัฒนำ
พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงคแ์ ละระงบั พฤติกรรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค ์ เดก็ ๆ จะเรียนร้พู ฤติกรรมจรยิ ธรรมจำกตวั แบบ
ผู้ใหญ่และสังคมจึงเป็นตัวแบบที่เด็กดู สังเกต และลอกเลียนแบบ กำรปลูกฝังค่ำนิยมในแนวทำงน้ี คือ
กำรสร้ำงและเลือกตัวแบบท่ีดีให้เด็กได้รับรู้ สัมผัส สังเกต ส�ำหรับกระบวนกำรในกำรพัฒนำกำรเรียนรู้
ตำมแนวคิดน ้ี ม ี ๔ ขัน้ คือ

แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 149

๑) การตั้งใจ เป็นกำรที่เด็กได้เห็นตัวแบบที่น่ำสนใจ เป็นพฤติกรรมที่ชัดเจน ไม่ซับซ้อน
และเมอื่ เดก็ สนใจแสดงพฤตกิ รรมจะต้องมกี ำรเสรมิ แรงเพือ่ ใหเ้ ดก็ เกิดพฤติกรรมซำ�้

๒) การเก็บจ�า เมื่อเด็กสังเกตเห็นตัวแบบแสดงพฤติกรรมที่ดี และได้รับกำรยกย่องชมเชย
และได้เห็นตัวแบบแสดงพฤติกรรมบ่อย ๆ เด็กเกิดควำมสนใจต้องกำรแสดงพฤติกรรมเช่นเดียวกับตัวแบบ
เด็กจะหำวิธเี กบ็ และจดจ�ำขอ้ มลู กำรแสดงพฤตกิ รรมทีส่ มั พนั ธก์ บั สถำนกำรณ์

๓) การกระท�า เม่ือเด็กจดจ�ำข้อมูลได้และเก็บไว้ในควำมทรงจ�ำ เมื่อพบสถำนกำรณ์
ทเี่ กย่ี วขอ้ งมำกระตนุ้ เดก็ จะนำ� ขอ้ มลู มำแสดงเปน็ พฤตกิ รรมทใี่ กลเ้ คยี งกบั พฤตกิ รรมของตวั แบบเพอื่ ใหไ้ ดผ้ ล
เหมอื นตวั แบบ

๔) การจูงใจ เมือ่ เด็กสงั เกตตัวแบบและจดจ�ำขอ้ มลู ไว้ และเมอ่ื พบสถำนกำรณท์ ่ีเกยี่ วขอ้ ง
ถ้ำหำกมีกำรจูงใจและเด็กคำดว่ำจะได้รับกำรเสริมแรง เด็กจะแสดงพฤติกรรมออกมำ ดังน้ัน ถ้ำหำกเด็ก
แสดงพฤติกรรมดี จึงควรได้รับผลในลักษณะกำรเสริมแรงเหมือนตัวแบบได้รับ กำรจูงใจจึงเป็นสิ่งสนับสนุน
ให้เดก็ แสดงพฤติกรรมจรยิ ธรรม

๒.๓ แนวทางการปลกู ฝงคา่ นิยมผ่านกระบวนการเสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะดา้ นจิตพสิ ยั
วิธีกำรที่ใช้แนวทำงกำรอบรมส่ังสอนเพื่อปลูกฝังค่ำนิยมและเสริมสร้ำงคุณลักษณะ ท่ีนิยม
น�ำมำประยุกต์ใช้กับผู้เรียนตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน คือ กำรเสริมสร้ำงค่ำนิยมโดยผ่ำน
กระบวนกำรพัฒนำคุณลักษณะด้ำนจิตพิสัย เป็นกำรประยุกต์แนวคิดของแครธโวลมำใช้ในกำรจัดกำรเรียน
กำรสอนด้ำนคณุ ลกั ษณะ ดังภำพ
150 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

จิตพิสัย เป็นพฤติกรรมทำงด้ำนจิตใจเกี่ยวกับค่ำนิยมควำมรู้สึก ควำมซำบซ้ึง ทัศนคติควำมเช่ือ
ควำมสนใจ และคณุ ธรรม พฤตกิ รรมของผเู้ รยี นจะไมเ่ กดิ ขน้ึ ทนั ท ี กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนจงึ ตอ้ งใชว้ ธิ ปี ลกู ฝงั
และสอดแทรกค่ำนิยมท่ีพึงประสงค์ แครธโวลได้เสนอข้ันในกำรพัฒนำคุณลักษณะด้ำนจิตพิสัยออกเป็น
๕ ขั้น ได้แก่

๑) ข้ันการรับรู้หรือการยอมรับ เป็นควำมรู้สึกท่ีเกิดขึ้นต่อปรำกฏกำรณ์หรือส่ิงเร้ำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
ซง่ึ เปน็ ไปในลกั ษณะของกำรแปลควำมหมำยของสง่ิ เรำ้ นนั้ วำ่ คอื อะไร แลว้ จะแสดงออกมำในรปู ของควำมรสู้ กึ
ที่เกิดข้ึน ในขั้นนี้ครูผู้สอนต้องมีส่ิงเร้ำ เรื่องรำว สถำนกำรณ์ที่เตรียมไว้ล่วงหน้ำ เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
ใสใ่ จ รบั รู้

๒) ข้ันการตอบสนอง เป็นกำรกระท�ำท่ีแสดงออกมำในรูปของควำมเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อ
สิ่งเร้ำนั้น ซึ่งเป็นกำรตอบสนองท่ีเกิดจำกกำรเลือกสรรแล้ว ในข้ันนี้ครูผู้สอนต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนสนองตอบ
ตอ่ สง่ิ เร้ำเพอื่ พฒั นำควำมสนใจให้เกดิ ขนึ้ จำกขน้ั กำรรับรูเ้ พอื่ พัฒนำต่ออยำ่ งมที ิศทำง

๓) ขั้นการเห็นคุณค่า เป็นขั้นท่ีผู้เรียนได้แสดงออกให้เห็นถึงกำรให้คุณค่ำหรือไม่ให้คุณค่ำ
ต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึง ซ่ึงเป็นขั้นต่อเนื่องจำกที่ผู้เรียนได้ตอบสนองต่อส่ิงเร้ำในลักษณะพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ
ในขั้นกำรตอบสนอง ถือได้ว่ำเป็นข้ันกำรเกิดค่ำนิยมที่น�ำมำซ่ึงกำรเลือกปฏิบัติในสิ่งท่ียอมรับนับถือ
ในคุณค่ำน้นั ๆ หรอื ปฏิบัติตำมในเรื่องใดเรื่องหนึง่ จนกลำยเป็นควำมเชื่อ

๔) ข้ันการจัดระบบหรือรวบรวมจัดระเบียบค่านิยม เป็นขั้นที่ผู้เรียนได้น�ำประสบกำรณ์ที่เกิดขึ้น
เป็นกำรรวบรวมค่ำนิยมใหม่ท่ีเกิดข้ึน จำกแนวคิดและกำรจัดระบบค่ำนิยมท่ีจะยึดถือต่อไป หำกไม่สำมำรถ
ยอมรับค่ำนยิ มใหม่ก็จะยดึ ถอื ค่ำนิยมเกำ่ ต่อไป แต่ถ้ำยอมรบั คำ่ นยิ มใหม่กจ็ ะยกเลิกคำ่ นยิ มเก่ำท่ียึดถอื

๕) ขัน้ การพัฒนาเปนลักษณะนิสยั เปน็ ข้นั กำรสร้ำงลกั ษณะนิสยั ตำมค่ำนยิ มท่ียึดถอื กำรนำ� คำ่ นยิ ม
ทีย่ ึดถือมำปฏบิ ตั อิ ยำ่ งตอ่ เน่ือง แสดงพฤติกรรมทีเ่ ป็นนสิ ัยประจำ� ตวั

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 151

ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว๑๓๒๔ สำ� นกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน
กระทรวงศกึ ษำธิกำร กทม. ๑๐๓๐๐

๒๙ กันยำยน ๒๕๕๗

เร่ือง แนวปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกับคำ่ นยิ มหลกั ๑๒ ประกำรสกู่ ำรปฏบิ ัติ
เรียน ผอู้ ำ� นวยกำรสำ� นกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศกึ ษำทุกเขต
ตำมทคี่ ณะรกั ษำควำมสงบแหง่ ชำต ิ (คสช.) และกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร มนี โยบำยสรำ้ งสรรคป์ ระเทศไทย
ใหเ้ ขม้ แขง็ โดยตอ้ งสรำ้ งคนในชำตใิ หม้ คี ำ่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร เพอื่ เปน็ พนื้ ฐำนสำ� คญั ในกำรปลกู ฝงั
คำ่ นยิ ม คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั เยำวชนไทย ซงึ่ คำ่ นยิ มดงั กลำ่ วครอบคลมุ และสอดคลอ้ งกบั คณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ดังน้ัน เพ่ือให้กำรพัฒนำ
ผเู้ รยี นในดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคำ่ นยิ มหลกั ๑๒ ประกำร มแี นวปฏบิ ตั ทิ ช่ี ดั เจน สำ� นกั งำนคณะกรรมกำร
กำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำนจงึ ใหม้ กี ำรดำ� เนนิ กำร ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. ให้สถำนศึกษำผนวกค่ำนิยมหลัก ๑๒ ประกำร ในกำรจัดกำรเรียนรู้ทุกกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ และ
จัดกิจกรรมพัฒนำผู้เรียนอย่ำงเป็นรูปธรรม เช่น กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย มีกำรประกวดเล่ำเรื่อง
อำ่ นท�ำนองเสนำะ ท่องบทอำขยำน คดั ลำยมอื แตง่ เพลง กำพย ์ กลอน ฯลฯ กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้สู ังคมศึกษำ
ศำสนำและวฒั นธรรม มกี จิ กรรมกำรเรยี นรตู้ ำมแหลง่ ประวตั ศิ ำสตร ์ ทำ� โครงกำร/โครงงำนตำมแนวพระรำชดำ� ริ
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสำธำรณประโยชน์ และกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ มีกำรประกวดวำดภำพ ร้องเพลง
เกีย่ วกับวฒั นธรรม ประเพณีไทย เป็นตน้
๒. ให้สถำนศึกษำปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมหลัก ๑๒ ประกำร ให้กับนักเรียนอย่ำงสม่�ำเสมอและ
ต่อเนื่อง เน้นกำรปฏบิ ตั ิจรงิ ในชีวติ ประจ�ำวนั จนเกดิ เป็นพฤตกิ รรมทีย่ ง่ั ยนื ท้ังนี้ ใหม้ ีกำรพัฒนำและประเมิน
อย่ำงเข้มขน้ ในแตล่ ะระดับชัน้ ดงั นี้
- ชั้นประถมศกึ ษำปท่ี ๑-๓ เน้นในดำ้ นกำรรกั ชำต ิ ศำสนำ พระมหำกษตั ริย์ (ข้อ ๑) ควำมกตัญ ู
(ขอ้ ๓) และกำรมีระเบยี บวนิ ยั เคำรพกฎหมำย (ข้อ ๘)
- ชน้ั ประถมศกึ ษำปท ี่ ๔-๖ เนน้ ในดำ้ นซอื่ สัตย ์ เสียสละ อดทน (ข้อ ๒) ใฝหำควำมรู้ หมั่นศกึ ษำ
เลำ่ เรียน (ขอ้ ๔) และมคี วำมเขม้ แขง็ ทง้ั กำย ใจ (ข้อ ๑๑)
- ชั้นมัธยมศึกษำปที่ ๑-๓ เน้นในด้ำนรักษำวัฒนธรรมประเพณีไทย (ข้อ ๕) เข้ำใจ เรียนรู ้
ประชำธิปไตยที่ถูกตอ้ ง (ขอ้ ๗) และปฏิบตั ิตำมพระรำชด�ำรัสพระบำทสมเด็จพระเจำ้ อย่หู วั (ข้อ ๙)
- ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปท ่ ี ๔-๖ เน้นในด้ำนมศี ลี ธรรม รกั ษำควำมสตั ย ์ (ขอ้ ๖) ด�ำรงตนตำมหลักปรชั ญำ
ของเศรษฐกิจพอเพียง (ขอ้ ๑๐) และกำรเหน็ แก่ประโยชน์ส่วนรวม (ขอ้ ๑๒)

152 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

๓. ใหส้ ถำนศกึ ษำกำ� หนดวธิ กี ำรเรยี นรคู้ ำ่ นยิ มหลกั ๑๒ ประกำร ใหเ้ หมำะสมกบั วยั และศกั ยภำพผเู้ รยี น
เช่น
- ระดับประถมศึกษำ ให้เรียนรู้ผ่ำนบทเพลง นิทำน เหตุกำรณ์ หรือกำรศึกษำจำกแหล่งเรียนรู้
ต่ำง ๆ อำทิ สถำนทจ่ี ริงทำงประวัติศำสตร ์ หนว่ ยงำนตำมโครงกำรพระรำชดำ� ริ พิพิธภณั ฑ์ ฯลฯ
- ระดบั มธั ยมศกึ ษำ ใหเ้ รยี นรผู้ ำ่ นกำรศกึ ษำเปรยี บเทยี บ วเิ ครำะห ์ สงั เครำะหช์ วี ประวตั บิ คุ คลสำ� คญั
บุคคลท่ีท�ำคุณประโยชน์ต่อส่วนรวม หรือเหตุกำรณ์ส�ำคัญในอดีตและปัจจุบัน เพ่ือกำรพัฒนำกำรอยู่ร่วมกัน
ในเชงิ สร้ำงสรรค์
๔. ให้ผู้บริหำรสถำนศึกษำก�ำกับ ติดตำม นิเทศกำรด�ำเนินงำนเก่ียวกับค่ำนิยมหลัก ๑๒ ประกำร
ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์
๕. ให้ส�ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำติดตำม นิเทศ และประเมินสถำนศึกษำที่ด�ำเนินกำรเกี่ยวกับ
คำ่ นิยมหลัก ๑๒ ประกำร อย่ำงเป็นรปู ธรรม และเกิดประสิทธผิ ลทช่ี ดั เจน

จงึ เรยี นมำเพอื่ ทรำบและแจ้งสถำนศึกษำดำ� เนนิ กำรตอ่ ไป

ขอแสดงควำมนับถอื

(นำยกมล รอดคลำ้ ย)
เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน

ส�ำนักวชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๖๗-๖๘
โทรสำร ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๔๕

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 153

คณะผูจ้ ดั ท�า

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

-----------------------------

ทปี่ รกึ ษา เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน
๑. นำยกำรณุ สกลุ ประดษิ ฐ ์ รองเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน
๒. นำยบุญรักษ์ ยอดเพชร ผอู้ �ำนวยกำรสำ� นกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
๓. นำงสกุ ัญญำ งำมบรรจง ข้ำรำชกำรบ�ำนำญ
๔. นำงสำวไพรวัลย ์ พทิ กั ษส์ ำลี อดตี ผ้อู �ำนวยกำรส�ำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ


คณะทา� งานก�าหนดกรอบและจดั ท�านยิ าม ตวั ชว้ี ดั ค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ
ระหว่างวนั ท่ี ๑๘-๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมรอแยล เบญจา กรุงเทพมหานคร
๑. รองศำสตรำจำรยว์ ชิ ยั วงษใ์ หญ ่ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ มหำวิทยำลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วทิ ยำกร
๒. นำยธีระภำพ เพชรมำลยั กุล คณะศึกษำศำสตร ์ มหำวทิ ยำลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ วทิ ยำกร
๓. นำยกิตตชิ ัย สุธำสิโนบล คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ วทิ ยำกร
๔. นำงธรี นชุ รอดแกว้ ศึกษำนิเทศก์ สพป.นครนำยก
๕. นำงสำวเพชรัษฎ์ แก้วสวุ รรณ ศึกษำนิเทศก ์ สพป.สระแกว้ เขต ๒
๖. นำงสำวอษุ ำ วีระสัย ศึกษำนิเทศก์ สพป.พระนครศรีอยุธยำ เขต ๒
๗. นำยวฑิ ูรย์ ชั่งโต ศึกษำนเิ ทศก์ สพป.สมทุ รปรำกำร เขต ๒
๘. นำยอตั ถสทิ ธ์ิ นำวะล ี ศกึ ษำนิเทศก์ สพม. เขต ๒
๙. นำยณภทั ร ศรลี ะมัย ศึกษำนิเทศก ์ สพม. เขต ๖
๑๐. นำยสุทธิ สุวรรณปำล ศกึ ษำนเิ ทศก ์ สพป.จนั ทบุร ี เขต ๑
๑๑. นำงสำวษมำพร ศรอี ิทยำจติ ศกึ ษำนิเทศก์ สพป.ชลบรุ ี เขต ๓
๑๒. นำงสำวนันทยำ เศรษฐจิตต ์ ศึกษำนเิ ทศก์ สพม. เขต ๑๗
๑๓. นำงธนนันท ์ คณะรมย์ ศึกษำนิเทศก์ สพม. เขต ๑๘
๑๔. นำงสำยสวำท รตั นกรรดิ ศกึ ษำนเิ ทศก์ สพป.พิจิตร เขต ๑
๑๕. นำยสิทธพิ งษ์ ศรหี ลำ้ ศกึ ษำนเิ ทศก์ สพม. เขต ๓๔
๑๖. นำยประเทือง วงศป์ ระเสริฐ ศึกษำนเิ ทศก ์ สพม. เขต ๓๙
๑๗. นำงสำวนวลจิต ถิรพัฒนพันธ์ ศกึ ษำนิเทศก ์ สพป.พังงำ
๑๘. นำงจริ ำ ชูช่วย ศกึ ษำนิเทศก ์ สพม. เขต ๑๒
๑๙. นำงร่งุ ทิพย ์ พรหมหลวงศร ี ศกึ ษำนิเทศก ์ สพป.ขอนแก่น เขต ๕
๒๐. นำงวนิดำ ปำณีนิจ ศึกษำนิเทศก ์ สพม. เขต ๒๗
๒๑. นำยอน ุ เจริญวงศร์ ะยบั คณะครศุ ำสตร์ มหำวิทยำลยั รำชภัฏพบิ ูลสงครำม
๒๒. นำงทวิกำ ตั้งประภำ คณะศึกษำศำสตร ์ มหำวิทยำลยั รำมคำ� แหง
๒๓. นำยโสภณ คำ� นงึ เนตร สำ� นกั กำรศกึ ษำ กรุงเทพมหำนคร
๒๔. นำงสำวจันตรำ ชน่ื ใจ รองผ้อู ำ� นวยกำรโรงเรียนฤทธยิ ะวรรณำลยั (ประถม) กรุงเทพมหำนคร

154 แนวทางการพัฒนาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

๒๕. นำยประเสริฐ ปำณีนจิ รองผู้อ�ำนวยกำรโรงเรยี นสตรีศกึ ษำ จงั หวัดรอ้ ยเอด็
๒๖. นำยอภิชำฎ พงษ์ภ่ ู รองผู้อ�ำนวยกำรโรงเรยี นบำงมลู นำกภมู วิ ิทยำคม จังหวดั พิจติ ร
๒๗. นำงสำววไิ ล แจม่ เจริญ โรงเรยี นสมทุ รปรำกำร จังหวัดสมุทรปรำกำร
๒๘. นำยพเิ ชษฐ ์ จนั ทรผ์ ่อง โรงเรียนอตุ รดติ ถ ์ จังหวัดอุตรดติ ถ์
๒๙. นำงสุชำดำ ยอดสุรำงค์ โรงเรียนขอนแกน่ พัฒนศึกษำ จงั หวดั ขอนแก่น
๓๐. นำงชนกนำถ วงศส์ ุวรรณ โรงเรยี นขอนแกน่ วิทยำยน จงั หวัดขอนแกน่
๓๑. นำงสำวกวีกำนต ์ สงั ข์ทอง โรงเรียนเทศบำล ๖ (วดั ตันตยำภิรม) จงั หวดั ตรงั
๓๒. นำยนภดล บุญรัศมี รองผูอ้ ำ� นวยกำรโรงเรียนหำดใหญ่วทิ ยำลยั จงั หวัดสงขลำ
๓๓. นำงพชั รนิ ทร์ ธรรมสงั วำล ครเู ชี่ยวชำญโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยำ ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ กรุงเทพมหำนคร
๓๔. นำงสำวกมลธร ระวิสะญำ รองผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียนอนบุ ำลนครปฐม จงั หวดั นครปฐม
๓๕. นำยพชิ ิต ยำวไิ ชย รองผู้อำ� นวยกำรโรงเรยี นท่ำวังผำพิทยำคม จังหวดั น่ำน
๓๖. นำงสำวชัชฎำภรณ ์ ศลิ ปสุนทร โรงเรียนรุง่ อรณุ กรงุ เทพมหำนคร
๓๗. นำงสำวรชั ดำพร ศรีภบิ ำล กระทรวงวฒั นธรรม
๓๘. นำงสำวนลินรัตน ์ ด่ำนลำเคน กระทรวงวัฒนธรรม
๓๙. นำยเดชำ ละลยี ์ ส�ำนกั งำนพระพุทธศำสนำแห่งชำติ
๔๐. นำงสำวพนดิ ำ สัตดำสำธชุ นะ ศนู ยค์ ณุ ธรรม (องคก์ ำรมหำชน)
๔๑. นำยส�ำรวย นกั กำรเรยี น กรมกำรศำสนำ
๔๒. นำงสำวปรยิ ำพร ญำณะชัย ส�ำนกั งำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศกึ ษำเอกชน
๔๓. นำงวรรณพร ปัทมำนนท ์ ส�ำนักงำนสง่ เสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย
๔๔. นำงสำวเบญ็ จวรรณ อ�ำไพศรี ส�ำนักงำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย
๔๕. นำงสำวจันทิรำ ทวพี ลำยนต ์ ส�ำนักพัฒนำนวตั กรรมกำรจดั กำรศกึ ษำ
๔๖. นำงสำวกงิ่ กำญจน ์ สิรสคุ นธ ์ ขำ้ รำชกำรบ�ำนำญ ส�ำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน
๔๗. นำยธัญญำ เรอื งแกว้ ผอู้ ำ� นวยกำรกลุ่มพฒั นำและส่งเสรมิ กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
๔๘. นำงพรพรรณ โชตพิ ฤกษวัน นกั วชิ ำกำรศึกษำชำ� นำญกำรพเิ ศษ สำ� นักวชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๔๙. นำยประชำ ออ่ นรกั ษำ นกั วิชำกำรศึกษำชำ� นำญกำร สำ� นกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
๕๐. นำยณัฐพล ตนั เจริญทรัพย ์ นักวชิ ำกำรศึกษำชำ� นำญกำร ส�ำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
๕๑. นำงศรินทร ต้งั หลกั ชัย เจ้ำพนกั งำนธรุ กำร ส�ำนักวชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๕๒. นำงสำวบุญกัณฐพนั ธ์ วลั ย์มำล ี เจ้ำพนักงำนธุรกำร ส�ำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ

คณะท�างานจดั ท�าแนวทางการพฒั นาและประเมินค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
ระหวา่ งวันที่ ๑๖-๑๙ กนั ยายน ๒๕๕๗ ณ โรงแรมชลจันทร์ พทั ยา รีสอรท์ จงั หวดั ชลบรุ ี
๑. นำยธีระภำพ เพชรมำลัยกลุ คณะศกึ ษำศำสตร ์ มหำวทิ ยำลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ วิทยำกร
๒. นำยกติ ติชัย สธุ ำสิโนบล คณะศึกษำศำสตร ์ มหำวทิ ยำลัยศรนี ครินทรวิโรฒ วิทยำกร
๓. นำงสำวนิภำ สุขพทิ กั ษ์ ศึกษำนิเทศก์ สพป.กำญจนบรุ ี เขต ๒
๔. นำงธรี นุช รอดแกว้ ศึกษำนิเทศก ์ สพป.นครนำยก
๕. นำงสำวเพชรัษฎ์ แก้วสวุ รรณ ศกึ ษำนเิ ทศก ์ สพป.สระแก้ว เขต ๒
๖. นำงสำวอษุ ำ วีระสัย ศกึ ษำนิเทศก์ สพป.พระนครศรีอยุธยำ เขต ๒
๗. นำยอทิ ธฤิ ทธ ์ิ พงษป์ ยะรตั น ์ ศึกษำนิเทศก ์ สพป.สิงห์บรุ ี

แนวทางการพัฒนาและประเมินคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 155

๘. นำยวฑิ รู ย ์ ชั่งโต ศึกษำนเิ ทศก์ สพป.สมทุ รปรำกำร เขต ๒
๙. นำยณภทั ร ศรลี ะมยั ศกึ ษำนเิ ทศก์ สพม. เขต ๖
๑๐. นำยสทุ ธิ สุวรรณปำล ศกึ ษำนิเทศก ์ สพป.จนั ทบุร ี เขต ๑
๑๑. นำงสำวษมำพร ศรอี ทิ ยำจิต ศึกษำนิเทศก ์ สพป.ชลบุรี เขต ๓
๑๒. นำงสำยสวำท รัตนกรรด ิ ศกึ ษำนิเทศก์ สพป.พจิ ติ ร เขต ๑
๑๓. นำยเอกฐสิทธิ ์ กอบก�ำ ศกึ ษำนเิ ทศก์ สพป.ลำ� ปำง เขต ๑
๑๔. นำยสมเกียรต ิ รตั นวฑิ ูรย ์ ศกึ ษำนิเทศก์ สพป.น่ำน เขต ๑
๑๕. นำงมินตรำ เกษศิลป  ศกึ ษำนเิ ทศก์ สพป.พษิ ณโุ ลก เขต ๑
๑๖. นำยสทิ ธิพงษ ์ ศรหี ลำ้ ศกึ ษำนเิ ทศก์ สพม. เขต ๓๔
๑๗. นำงสำวจริ ำพร อคั รสมพงศ ์ ศกึ ษำนิเทศก ์ สพป.สตลู
๑๘. นำงสำวนวลจติ ถริ พฒั นพันธ์ ศึกษำนเิ ทศก์ สพป.พงั งำ
๑๙. นำงกมลวรรณ สุวรรณ ์ ศึกษำนเิ ทศก์ สพป.ตรงั เขต ๑
๒๐. นำงจิรำ ชชู ว่ ย ศกึ ษำนเิ ทศก์ สพม. เขต ๑๒
๒๑. นำยวริ ตั น์ บรรจง ศึกษำนเิ ทศก ์ สพป.มกุ ดำหำร
๒๒. นำงนติ ยำ กนิษฐ ์ ศึกษำนเิ ทศก ์ สพป.นครรำชสมี ำ เขต ๑
๒๓. นำงวนดิ ำ ปำณนี จิ ศึกษำนิเทศก์ สพม. เขต ๒๗
๒๔. นำยอน ุ เจริญวงศร์ ะยับ คณะครุศำสตร ์ มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏพิบลู สงครำม
๒๕. นำงสำวพัชรำวลยั มที รพั ย์ คณะครศุ ำสตร ์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏพบิ ลู สงครำม
๒๖. นำงสำวรัตนำ มุ่ยเรืองศรี ผู้อ�ำนวยกำรโรงเรยี นทวำรวด ี จงั หวัดนครปฐม
๒๗. นำยประเสริฐ ปำณีนจิ รองผอู้ �ำนวยกำรโรงเรียนสตรศี กึ ษำ จงั หวัดร้อยเอด็
๒๘. นำยพิชิต ยำวิไชย รองผอู้ ำ� นวยกำรโรงเรยี นทำ่ วงั ผำพทิ ยำคม จังหวัดน่ำน
๒๙. นำยอภชิ ำฎ พงษภ์ ู่ รองผอู้ ำ� นวยกำรโรงเรียนบำงมลู นำกภูมิวิทยำคม จังหวดั พิจติ ร
๓๐. นำงสำวกมลธร ระวิสะญำ รองผอู้ ำ� นวยกำรโรงเรยี นอนบุ ำลนครปฐม จังหวดั นครปฐม
๓๑. นำงแววนภำ กำญจนำวด ี โรงเรยี นพญำไท กรุงเทพมหำนคร
๓๒. นำงนงนุช สีลอ โรงเรยี นอนบุ ำลอุตรดติ ถ์ จงั หวัดอุตรดติ ถ์
๓๓. นำงองั สนำ พิไสยสำมนตเ์ ขต โรงเรยี นรำชวนิ ติ มัธยม กรงุ เทพมหำนคร
๓๔. นำงเสำวณ ี ณฎั ฐประเสรฐิ โรงเรียนจุฬำภรณ์รำชวิทยำลัย ลพบรุ ี
๓๕. นำงสำวกิง่ กำญจน์ สิรสคุ นธ ์ ข้ำรำชกำรบำ� นำญ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้ืนฐำน
๓๖. นำยธญั ญำ เรืองแก้ว ผอู้ �ำนวยกำรกลุ่มพฒั นำและส่งเสริมกำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
๓๗. นำงพรพรรณ โชติพฤกษวนั นกั วชิ ำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ ส�ำนกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๓๘. นำงสำวโชติมำ หนูพริก นักวชิ ำกำรศึกษำช�ำนำญกำร สำ� นักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
๓๙. นำยณัฐพล ตนั เจริญทรัพย์ นกั วชิ ำกำรศกึ ษำช�ำนำญกำร สำ� นกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๔๐. นำงณฐั ำ เพชรธน ู นกั วชิ ำกำรศึกษำช�ำนำญกำร ส�ำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๔๑. นำงศรินทร ตงั้ หลักชัย เจำ้ พนักงำนธุรกำร สำ� นักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ

156 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

คณะท�างานพฒั นาและปรบั ปรุงแนวทางการพัฒนาและประเมนิ ค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมรอแยล เบญจา กรงุ เทพมหานคร
๑. รองศำสตรำจำรยว์ ชิ ัย วงษ์ใหญ ่ ข้ำรำชกำรบำ� นำญ มหำวิทยำลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ วทิ ยำกร
๒. ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรยด์ นุชำ ปนค�ำ ครโู รงเรียนสำธติ แหง่ มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร ์ วทิ ยำกร
ศนู ย์วิจัยและพัฒนำกำรศกึ ษำ
๓. นำยสมศักด ์ิ ลิลำ ข้ำรำชกำรบำ� นำญ มหำวทิ ยำลยั บรู พำ วทิ ยำกร
๔. นำงสำวจริ ำพร อคั รสมพงษ ์ ศกึ ษำนิเทศก ์ สพป.สตูล
๕. นำยวิรตั น์ บรรจง ศกึ ษำนิเทศก ์ สพป.มุกดำหำร
๖. นำงธิดำพร พำนชิ พนั ธ ์ รองผอู้ �ำนวยกำร สพป.พษิ ณโุ ลก เขต ๑
๗. นำงธรี นชุ รอดแกว้ ศึกษำนิเทศก ์ สพป.นครนำยก
๘. นำงสำวอษุ ำ วรี ะสัย ศึกษำนเิ ทศก ์ สพป.พระนครศรีอยธุ ยำ เขต ๒
๙. นำยภูมิบดนิ ทร ์ หตั ถนิรนั ทร์ ศึกษำนเิ ทศก ์ สพป.กำฬสินธุ ์ เขต ๒
๑๐. นำยอตั ถสิทธิ ์ นำวะลี ศึกษำนเิ ทศก ์ สพม. เขต ๒
๑๑. นำงจิรำ ชูช่วย ศกึ ษำนิเทศก ์ สพม. เขต ๑๒
๑๒. นำงสำวนันทยำ เศรษฐจิตต ์ ศกึ ษำนิเทศก์ สพม. เขต ๑๗
๑๓. นำยมำนะ ครธุ ำโรจน ์ ผู้อำ� นวยกำรโรงเรียนอนบุ ำลมณรี ำษฎร์คณำลัย จงั หวัดนครรำชสมี ำ
๑๔. นำยประทุม เกตกุ ติ ติคุณ ผ้อู �ำนวยกำรโรงเรียนศรีครี มี ำศวทิ ยำ จังหวัดสโุ ขทัย
๑๕. นำยเสวก บุญประสพ ผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียนดงซ่อมพทิ ยำคม จังหวดั ตำก
๑๖. วำ่ ทีร่ ้อยตรีประเสรฐิ รุจริ ำ ผูอ้ ำ� นวยกำรโรงเรยี นบ้ำนยำงน้�ำกลดั ใต ้ จังหวัดเพชรบรุ ี
๑๗. นำยอภชิ ำฎ พงษภ์ ู่ รองผอู้ ำ� นวยกำรโรงเรียนบำงมูลนำกภมู วิ ทิ ยำคม จังหวัดพจิ ติ ร
๑๘. นำงสำวกมลธร ระวิสะญำ รองผอู้ ำ� นวยกำรโรงเรียนอนบุ ำลนครปฐม จงั หวดั นครปฐม
๑๙. นำงสำวกลั ยำรัตน์ สำตรจนี พงษ ์ รองผู้อำ� นวยกำรโรงเรียนเบญจมรำชูทิศ รำชบรุ ี
๒๐. นำงแววนภำ กำญจนำวดี โรงเรยี นพญำไท กรงุ เทพมหำนคร
๒๑. นำงชนกนำถ วงศส์ วุ รรณ โรงเรียนขอนแกน่ วิทยำยน จงั หวดั ขอนแก่น
๒๒. นำงพนอ สงวนแกว้ โรงเรียนทำ่ มะขำมวทิ ยำ จังหวัดรำชบรุ ี
๒๓. นำงสำวปำณสิ รำ ศริ ปิ ระเสรฐิ โรงเรียนทวำรวดี จงั หวดั นครปฐม
๒๔. นำงสุชำดำ ยอดสุรำงค ์ โรงเรยี นขอนแก่นพฒั นำศึกษำ จังหวดั ขอนแกน่
๒๕. นำงนงนุช สีลอ โรงเรียนอนบุ ำลอุตรดติ ถ ์ จังหวัดอุตรดติ ถ์
๒๖. นำงเสำวณ ี ณฎั ฐประเสริฐ โรงเรยี นจุฬำภรณ์รำชวิทยำลัย ลพบรุ ี
๒๗. นำยมำรุต พัฒผล บัณฑติ วิทยำลัย มหำวิทยำลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ
๒๘. นำยอนุ เจริญวงศ์ระยบั มหำวิทยำลัยรำชภัฏพิบูลสงครำม
๒๙. นำยสมพงษ ์ พนั ธุรัตน ์ มหำวทิ ยำลัยขอนแกน่
๓๐. นำงสำววดำภรณ ์ พลู ผลอำ� นวย ขำ้ รำชกำรบำ� นำญ สพม. เขต ๓๑
๓๑. นำยธัญญำ เรอื งแกว้ ผู้อำ� นวยกำรกลมุ่ พัฒนำและส่งเสรมิ กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
๓๒. นำงพรพรรณ โชตพิ ฤกษวัน นักวชิ ำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ ส�ำนกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
๓๓. นำงสำวโชติมำ หนพู รกิ นกั วชิ ำกำรศกึ ษำชำ� นำญกำร ส�ำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๓๔. นำยประชำ อ่อนรกั ษำ นักวชิ ำกำรศกึ ษำช�ำนำญกำร สำ� นักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๓๕. นำยณฐั พล ตันเจรญิ ทรัพย ์ นกั วิชำกำรศึกษำชำ� นำญกำร ส�ำนกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๓๖. นำงสำวบุญกัณฐพนั ธ์ วัลยม์ ำล ี เจ้ำพนกั งำนธุรกำรช�ำนำญงำน ส�ำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 157

คณะท�างานบรรณาธกิ ารกจิ ระหวา่ งวันที่ ๒๔-๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมแกรนด์ ไชน่า กรุงเทพมหานคร
๑. นำงสำววดำภรณ์ พูลผลอำ� นวย ข้ำรำชกำรบ�ำนำญ สพม. เขต ๓๑
๒. นำงสำวกง่ิ กำญจน ์ สิรสคุ นธ์ ข้ำรำชกำรบ�ำนำญ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน
๓. นำยประทุม เกตุกิตตคิ ณุ ผูอ้ �ำนวยกำรโรงเรียนศรีคีรมี ำศวิทยำ จงั หวดั สโุ ขทัย
๔. นำยมำนะ ครธุ ำโรจน์ ผูอ้ �ำนวยกำรโรงเรียนอนบุ ำลมณรี ำษฎรค์ ณำลยั จังหวัดนครรำชสีมำ
๕. นำงสำวขนษิ ฐำ เลศิ ไพรัตน ์ รองผอู้ �ำนวยกำรโรงเรียนอนบุ ำลมณีรำษฎรค์ ณำลยั จังหวัดนครรำชสีมำ
๖. นำงสำวภริ ญำ กนกธัชปำรมี รองผู้อำ� นวยกำรโรงเรียนอนบุ ำลนครปฐม จังหวัดนครปฐม
๗. นำยอภชิ ำฎ พงษ์ภ่ ู รองผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียนบำงมลู นำกภมู ิวทิ ยำคม จังหวัดพจิ ิตร
๘. นำงธีรนชุ รอดแก้ว ศึกษำนิเทศก ์ สพป.นครนำยก
๙. นำงสำวอุษำ วีระสัย ศึกษำนิเทศก์ สพป.พระนครศรอี ยุธยำ เขต ๒
๑๐. นำยเอกฐสทิ ธ ์ิ กอบก�ำ ศกึ ษำนเิ ทศก ์ สพป.ล�ำปำง เขต ๑
๑๑. นำยวริ ัตน ์ บรรจง ศึกษำนเิ ทศก ์ สพป.มุกดำหำร
๑๒. นำงนรินทร ชมช่ืน ศึกษำนิเทศก์ สพม. เขต ๓๖
๑๓. นำงพรพรรณ โชติพฤกษวนั นกั วิชำกำรศกึ ษำชำ� นำญกำรพิเศษ ส�ำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
๑๔. นำงสำวโชติมำ หนูพรกิ นักวิชำกำรศึกษำชำ� นำญกำร ส�ำนกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๑๕. นำยณฐั พล ตันเจรญิ ทรพั ย ์ นกั วิชำกำรศกึ ษำช�ำนำญกำร ส�ำนกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๑๖. นำงสำวบญุ กัณฐพนั ธ ์ วัลยม์ ำล ี เจ้ำพนักงำนธรุ กำรชำ� นำญงำน
สำ� นักวชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ

คณะบรรณาธิการข้ันสดุ ท้าย ข้ำรำชกำรบ�ำนำญ สพม. เขต ๓๑
๑. นำงสำววดำภรณ ์ พูลผลอำ� นวย ข้ำรำชกำรบ�ำนำญ สำ� นกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน
๒. นำงสำวกิ่งกำญจน์ สิรสคุ นธ์ ศึกษำนเิ ทศก์ สพป.นครนำยก
๓. นำงธีรนุช รอดแกว้ ศึกษำนเิ ทศก์ สพป.พิษณุโลก เขต ๑
๔. นำงมินตรำ เกษศิลป  ศึกษำนิเทศก ์ สพป.พระนครศรอี ยธุ ยำ เขต ๒
๕. นำงสำวอษุ ำ วีระสยั ศกึ ษำนเิ ทศก์ สพป.ลำ� ปำง เขต ๑
๖. นำยเอกฐสทิ ธ ิ์ กอบก�ำ ศกึ ษำนิเทศก์ สพม. เขต ๓๖
๗. นำงนรินทร ชมช่ืน รองผอู้ ำ� นวยกำรโรงเรยี นอนุบำลนครปฐม จงั หวดั นครปฐม
๘. นำงสำวภิรญำ กนกธัชปำรม ี ครูช�ำนำญกำรพเิ ศษ โรงเรยี นวดั สุพรรณพนมทอง จงั หวดั พิษณุโลก
๙. นำงปรศิ นำ แยม้ วตั ร ผู้อำ� นวยกำรกลุ่มพัฒนำและส่งเสริมกำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้
๑๐. นำงพรพรรณ โชติพฤกษวัน นกั วชิ ำกำรศกึ ษำชำ� นำญกำรพิเศษ สำ� นักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
๑๑. นำยณัฐพล ตนั เจรญิ ทรพั ย์

ผู้วาดภาพประกอบรปู เลม่ ครโู รงเรียนวดั หนองแขม (สหรำษฎรบ์ ูรณะ) กรงุ เทพมหำนคร
นำงสำวรชยำ ธนธญั ชูโชต ิ

ผอู้ อกแบบปก ส�ำนกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
นำยอภิชัย หำญกล้ำ

158 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ



หนึ่งรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
สองซอื่ สตั ย์ เสียสละ อดทนได้
สามกตัญญู พอ่ แม่ สุดหัวใจ
ส่มี งุ่ ใฝ่ เล่าเรยี น เพียรวิชา
ห้ารกั ษา วฒั นธรรม ประจำ� ชาต ิ
หกไม่ขาด ศีลธรรม ศาสนา
เจ็ดเรยี นรู้ อธปิ ไตย ของประชา
แปดรักษา วินยั กฎหมายไทย
เกา้ ปฏบิ ตั ิ ตามพระ ราชด�ำรัส
สบิ ไม่ขาด พอเพยี ง เล้ยี งชีพได้
สิบเอด็ ตอ้ ง เข้มแขง็ ทงั้ กายใจ

สิบสองไซร้ คิดอะไร ใหส้ ่วนรวม


Click to View FlipBook Version