The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-16 01:08:36

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

๕. กำรทโ่ี ยธนิ ไมพ่ ูด มีผลดผี ลเสียตอ่ ตนเองและผู้อ่ืนอย่ำงไร
ผลดี ผลเสีย
. ........................................................................... ............................................................................
. ........................................................................... ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................
............................................................................ ............................................................................

๖. ถำ้ นกั เรยี นเปน็ กลมุ่ พ ่ี ๆ นอ้ ง ๆ ของโยธนิ จะบอกกบั โยธนิ เรอื่ งกำรแสดงควำมเคำรพพระสงฆอ์ ยำ่ งไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 93

แผนการจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น (แนะแนว) บรู ณาการค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔-๖

คา่ นิยม ตัวชว้ี ัด เรอื่ ง กิจกรรม การวดั และประเมนิ ผล เวลา
ข้อท่ี วธิ ีการ เคร่ืองมอื

๑๒. คา� นงึ ถงึ ๑๒.๑ ปฏิบัติตน เพ่ือส่วนรวม ครั้งที่ ๑ ศึกษำกรณีตวั อยำ่ ง สังเกต แบบสงั เกต ชัว่ โมง
ผลประโยชน์ โดยค�ำนึงถึง เร่ือง เชดิ ชูพระคณุ ครู กำรนำ� เสนอ กำรน�ำเสนอ
ของส่วนรวม ผลประโยชน์ Teachers (Full Version) : ผลงำน ผลงำน
และของชาติ ของสว่ นรวม
มากกวา่ และประเทศชำติ หนงั คร ู 7-Eleven Thailand
ผลประโยชน์ ๑๒.๒ เสียสละ
ของตนเอง ประโยชน์ส่วนตน (๑ ชั่วโมง)
เพ่ือรักษำ ครั้งท่ี ๒ น�ำเสนอประวตั ิ
ประโยชน์ และผลงำนของบคุ คลหรือ
สว่ นรวม
กลุม่ บคุ คลผู้เสียสละ

ประโยชนส์ ่วนตน

(๑ ชั่วโมง)
คร้งั ท่ี ๓ คดิ กิจกรรมท่ีทำ�
ประโยชนใ์ ห้กับโรงเรียน

หรอื ชมุ ชน

(๑ ชั่วโมง)
ครั้งที่ ๔ นำ� เสนอผลกำร
ปฏิบัตกิ จิ กรรมทท่ี ำ� ประโยชน์

ใหก้ ับโรงเรียนหรือชมุ ชน

(๑ ชัว่ โมง)

94 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

แผนการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น (แนะแนว) บูรณาการคา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๔-๖ เวลา ๔ ชั่วโมง

๑. ชอื่ กิจกรรม “เพอื่ สว่ นรวม”
๒. สาระสา� คญั
กำรปฏิบัติตนโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและประเทศชำติ มำกกว่ำผลประโยชน์ส่วนตน
และพวกพ้อง จะสง่ ผลให้สังคมเกิดควำมสงบสขุ และประเทศชำติเจริญก้ำวหน้ำ
๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑) อธิบำยควำมส�ำคัญของกำรค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชำติ มำกกว่ำผลประโยชน์
ของตนเอง
๒) ยกตัวอย่ำงประวัติและผลงำนของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีเสียสละเพ่ือประโยชน์ของส่วนรวม
และประเทศชำติ
๓) เสนอแนวทำงกำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพ่ือสว่ นรวม
๔) ปฏิบัติและนำ� เสนอผลกำรจัดกจิ กรรมเพอื่ สว่ นรวม
๔. สอดคลอ้ งกับคา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
ขอ้ ๑๒ ค�ำนึงถึงผลประโยชนข์ องส่วนรวมและของชำต ิ มำกกวำ่ ผลประโยชนข์ องตนเอง

ตัวชว้ี ดั ๑๒.๑ ปฏิบัตติ นโดยค�ำนงึ ถึงผลประโยชน์ของสว่ นรวมและประเทศชำติ
ตวั ชี้วดั ๑๒.๒ เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อรกั ษำประโยชนส์ ่วนรวม
๕. สาระการเรียนรู้
๑) ควำมหมำยและควำมส�ำคัญของจิตสำธำรณะ
๒) ประวัติและผลงำนผูม้ ีจติ สำธำรณะ
๓) กำรปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเพอื่ ส่วนรวม
๖. กิจกรรม
คร้ังท่ี ๑ (๑ ชว่ั โมง)
๑) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๗ คน ศึกษำกรณีตัวอย่ำง เร่ือง เชิดชูพระคุณครู Teachers
(Full Version) : หนังครู 7-Eleven Thailand นักเรียนร่วมกันวิเครำะห์ วิจำรณ์จำกกรณีตัวอย่ำง
โดยตอบคำ� ถำมในใบกจิ กรรมที ่ ๑
๒) ตัวแทนแตล่ ะกลุ่มน�ำเสนอควำมคิดเห็นของกลมุ่

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 95

๓) นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ ควำมสำ� คญั ของกำรคำ� นงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องสว่ นรวมและประเทศชำต ิ
มำกกว่ำผลประโยชน์ส่วนตน
๔) แต่ละกลุ่มศึกษำค้นคว้ำประวัติและผลงำนของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้เสียสละประโยชน์ส่วนตน
เพ่ือประโยชนข์ องส่วนรวมและประเทศชำต ิ เพอื่ นำ� เสนอในช่ัวโมงต่อไป

คร้งั ที่ ๒ (๑ ช่วั โมง)
๑) แต่ละกลุ่มน�ำเสนอประวัติและผลงำนของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้เสียสละประโยชน์ส่วนตน
เพอื่ ประโยชนข์ องส่วนรวมและประเทศชำติ และจดั ปำ ยนเิ ทศ
๒) นกั เรยี นร่วมแสดงควำมร้สู กึ และสรปุ ขอ้ คดิ ทไี่ ดจ้ ำกฟงั กำรนำ� เสนอของกลุ่มเพ่อื น
๓) นักเรียนร่วมกันเสนอกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมที่สำมำรถปฏิบัติได้ตำมศักยภำพ
ของนักเรยี น

ครงั้ ที่ ๓ (๑ ชว่ั โมง)
๑) แต่ละกลุ่มคิดกิจกรรมที่ท�ำประโยชน์ให้กับโรงเรียนหรือชุมชน แล้วบันทึกลงในใบกิจกรรมท่ี ๒
และส่งตวั แทนนำ� เสนอผลงำน
๒) ครแู ละนกั เรยี นพจิ ำรณำกจิ กรรมของแตล่ ะกลมุ่ วำ่ สำมำรถปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ และเกดิ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น
หรอื ชมุ ชนหรือไม ่ พรอ้ มใหข้ ้อเสนอแนะเพ่อื กำรปรบั ปรุงแก้ไข
๓) ครูและนักเรียนร่วมกันก�ำหนดระยะเวลำกำรปฏิบัติกิจกรรมและกำรน�ำเสนอผลงำน
กำรปฏิบตั กิ ิจกรรม
๔) แต่ละกลุม่ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตำมระยะเวลำทก่ี ำ� หนด แลว้ บันทึกในใบกิจกรรมท ี่ ๓

คร้งั ท่ี ๔ (๑ ช่ัวโมง)
๑) แต่ละกลมุ่ นำ� เสนอผลกำรปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตำมใบกิจกรรมท่ ี ๓
๒) ครูและนักเรียนร่วมกนั สรปุ ผลกำรปฏบิ ัติกิจกรรมในภำพรวมเกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ชุมชน สังคม
และประเทศชำตอิ ยำ่ งไร
๗. ส่อื /แหลง่ เรียนรู้

๑) กรณตี ัวอย่ำง เร่อื ง เชิดชูพระคุณครู Teachers (Full Version) : หนงั คร ู 7-Eleven Thailand
๒) ใบกิจกรรมท ี่ ๑-๓

๓) อนิ เทอรเ์ นต็
๔) หอ้ งสมดุ โรงเรียน
๕) บคุ คลหรอื กลุม่ บุคคลผู้ค�ำนึงถงึ ประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชำต ิ มำกกว่ำประโยชนส์ ่วนตน

96 แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

๘. การวดั และประเมินผล

รายการประเมิน วธิ ีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน

เนือ้ หาสาระในการน�าเสนอผลงาน สงั เกตกำรน�ำเสนอ แบบสังเกตกำรนำ� เสนอ ระดบั พอใช้ขึน้ ไป
๑. กำรศึกษำกรณตี ัวอย่ำง เรือ่ ง ผลงำน ผลงำน ผ่ำน
เชิดชูพระคุณครู Teachers
(Full Version) : หนงั ครู 7-Eleven
Thailand
๒. กำรน�ำเสนอประวัติและผลงำน
ของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้เสยี สละ
ประโยชน์ส่วนตนเพือ่ ประโยชน์
ของส่วนรวมและประเทศชำติ
๓. กำรคดิ กจิ กรรมทที่ �ำประโยชนใ์ หก้ บั
โรงเรียนหรอื ชมุ ชน
๔. กำรน�ำเสนอผลกำรปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทท่ี ำ�
ประโยชน์ใหก้ บั โรงเรยี นหรือชุมชน

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 97

เกณฑก์ ารประเมนิ : การน�าเสนอผลงาน

รายการประเมนิ ดี ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง
การศึกษากรณีตวั อย่าง เรอ่ื ง ตอบค�ำถำมตรงประเดน็ พอใช้ - ตอบค�ำถำมไม่ตรง
เชิดชพู ระคุณครู Teachers ชดั เจน สมเหตสุ มผล ประเดน็ หรอื
(Full Version) : หนงั คร ู อยำ่ งนอ้ ย ๓ เหตกุ ำรณ์ ตอบคำ� ถำมตรงประเด็น - ตอบคำ� ถำมตรงประเด็น
7-Eleven Thailand ชดั เจน สมเหตสุ มผล ชัดเจน สมเหตสุ มผล
อย่ำงนอ้ ย ๒ เหตกุ ำรณ์ ได้เพยี ง ๑ เหตุกำรณ์

การนา� เสนอประวตั ิและผลงาน - น�ำเสนอได้ครอบคลุม - น�ำเสนอได้ครอบคลุม - นำ� เสนอไดค้ รอบคลุม
ของบุคคลหรอื กลมุ่ บคุ คล ท้งั ประวัติและผลงำน ท้ังประวัตแิ ละผลงำน ทง้ั ประวัติและผลงำน
ผูเ้ สยี สละประโยชนส์ ว่ นตน - ผลงำนชีช้ ัดวำ่ เป็น - ผลงำนช้ชี ัดวำ่ เป็น แตผ่ ลงำนไมช่ ้ชี ัดวำ่
เพอื่ ประโยชน์ของส่วนรวม กำรทำ� ประโยชน์ กำรทำ� ประโยชน์ เปน็ กำรทำ� ประโยชน์
เพ่อื ส่วนรวมหรือ เพอ่ื ส่วนรวมหรือ เพื่อส่วนรวมหรอื
และประเทศชำติ ประเทศชำติ โดยไมห่ วงั ประเทศชำติ ประเทศชำติ หรือ
- น�ำเสนอไมค่ รอบคลมุ
ผลตอบแทน ท้ังประวัตแิ ละผลงำน
- ท�ำไดป้ ระเดน็ ที่ ๑
การคิดกจิ กรรมทที่ า� ประโยชน์ ท�ำได้ครบท้ัง ๓ ประเดน็ ท�ำได้ในประเดน็ ท ี่ ๑ เพยี งประเดน็ เดยี ว หรือ
ให้กับโรงเรียนหรอื ชมุ ชน และ ๓ - ทำ� ได้ประเด็นที ่ ๑
๑. กจิ กรรมเป็นประโยชน์ต่อ และ ๒ หรือ
สว่ นรวมหรือประเทศชำติ - ท�ำไดเ้ พยี งประเดน็ ท ่ี ๒
๒. ระบุเหตุผลในกำรท�ำได้ และ ๓ หรอื
อย่ำงสมเหตสุ มผล - ทำ� ไมไ่ ดท้ กุ ประเด็น
๓. เป็นกิจกรรมทสี่ ำมำรถ
นำ� ไปปฏิบัตไิ ดจ้ ริง

การนา� เสนอผลการปฏบิ ัติ ปฏิบัตไิ ดค้ รบ - ปฏบิ ัตปิ ระเดน็ ท่ ี ๑ - ปฏิบตั ไิ ด้เพยี ง ๑ ประเด็น
กจิ กรรมท่ีทา� ประโยชนใ์ หก้ ับ ทั้ง ๓ ประเด็น กับ ๒ ได้ หรือ หรือ
โรงเรียนหรอื ชมุ ชน - ปฏิบัตปิ ระเดน็ ท ี่ ๒ - ปฏบิ ตั ปิ ระเดน็ ท ่ี ๑
๑. ปฏบิ ัติตำมข้ันตอน กับ ๓ ได้ กับ ๓ ได้ หรอื
ระยะเวลำ สถำนท่ที ่กี ำ� หนด - ปฏบิ ตั ไิ มไ่ ด้ หรอื
- ไมป่ ฏบิ ัติ
หรอื มกี ำรปรับเปล่ียนขน้ั ตอน
ระยะเวลำ สถำนทที่ ีก่ ำ� หนด
เพื่อใหส้ ำมำรถด�ำเนนิ งำนได้
สำ� เร็จ โดยระบเุ หตุผล
ควำมจำ� เปน็
๒. ผลงำนบรรลตุ ำมวัตถุประสงค์
๓. งำนเสรจ็ ทนั เวลำนำ� เสนอ

98 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ใบกิจกรรมท่ี ๑

เรอ่ื ง.........................................................................................................ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท .่ี ...................………
รายช่ือสมาชกิ กล่มุ
๑. ................................................................................ เลขท.่ี ...................... ประธำน
๒. ................................................................................ เลขที่....................... สมำชิก
๓. ................................................................................ เลขท่.ี ...................... สมำชิก
๔. ................................................................................ เลขที่....................... สมำชกิ
๕. ................................................................................ เลขท.่ี ...................... เลขำนกุ ำร
คา� ช้ีแจง ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษำกรณตี วั อยำ่ ง เรอื่ ง เชดิ ชพู ระคณุ คร ู Teachers (Full Version) : หนงั คร ู 7-Eleven
Thailand แล้วร่วมกนั อภปิ รำย สรปุ ตำมประเด็นที่ก�ำหนด
๑. เหตุกำรณ์ใดบ้ำง ที่สะทอ้ นกำรค�ำนงึ ถึงประโยชนส์ ่วนรวมมำกกว่ำประโยชนส์ ่วนตน
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๒. กำรกระท�ำของครูในเหตุกำรณ์ตำมขอ้ ๑ มคี ณุ คำ่ ตอ่ ตนเอง ผูอ้ ่นื และสว่ นรวมอย่ำงไรบำ้ ง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๓. ตำมเหตกุ ำรณ์ในขอ้ ๑ ถำ้ ครูปฏิบัติตรงกนั ขำ้ ม นักเรยี นคิดวำ่ จะเกิดอะไรขน้ึ
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 99

ใบกจิ กรรมท่ี ๒

เรอ่ื ง.........................................................................................................ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท .ี่ ...................………
รายช่อื สมาชิกกล่มุ
๑. ................................................................................ เลขที่....................... ประธำน
๒. ................................................................................ เลขที.่ ...................... สมำชกิ
๓. ................................................................................ เลขท่ี....................... สมำชิก
๔. ................................................................................ เลขท่ี....................... สมำชิก
๕. ................................................................................ เลขท่ี....................... เลขำนุกำร
ค�าชแ้ี จง ให้นักเรยี นบนั ทึกรำยละเอยี ดของกจิ กรรม
๑. ควำมเป็นมำ (ทำ� ไมจงึ เลือกท�ำกิจกรรมน)้ี
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๒. วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรม (ทำ� เพอื่ อะไร)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๓. สถำนท ่ี และกำ� หนดระยะเวลำด�ำเนนิ กำร (ทำ� ท่ไี หน เม่ือไร)

...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๔. ขน้ั ตอนกำรปฏบิ ัตกิ ิจกรรม (จะท�ำอยำ่ งไร)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๕. ผลที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรท�ำกิจกรรม (นักเรียนคิดว่ำใครบ้ำงท่ีจะได้รับประโยชน์จำกกิจกรรมนี้
และไดป้ ระโยชน์อยำ่ งไร)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

100 แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ใบกจิ กรรมที่ ๓

เรอ่ื ง.........................................................................................................ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท .ี่ ...................………
รายช่ือสมาชิกกลุ่ม
๑. ................................................................................ เลขท่.ี ...................... ประธำน
๒. ................................................................................ เลขที่....................... สมำชกิ
๓. ................................................................................ เลขที่....................... สมำชิก
๔. ................................................................................ เลขท่.ี ...................... สมำชกิ
๕. ................................................................................ เลขท.่ี ...................... เลขำนุกำร
คา� ชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกรำยละเอียดของกำรปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
๑. ควำมเป็นมำ (ท�ำไมจึงเลือกท�ำกิจกรรมนี้)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๒. วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรม (ท�ำเพ่อื อะไร)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๓. สถำนท่ี และระยะเวลำด�ำเนินกำร (ทำ� ท่ีไหน เมอื่ ไร)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๔. ข้ันตอนกำรปฏิบัตกิ จิ กรรม (ไดท้ ำ� อย่ำงไร)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๕. สรปุ ผล (ผลที่เกดิ ขนึ้ จำกกำรปฏิบัตกิ จิ กรรมเป็นอยำ่ งไร)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

แนวทางการพัฒนาและประเมินคานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 101

๖. ประเมนิ ผล (ผลทีเ่ กดิ ข้นึ เป็นไปตำมวตั ถุประสงค์หรือไม)่
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๗. ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จำกกำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรม (ใครบำ้ งทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชนจ์ ำกกจิ กรรมน ี้ และไดป้ ระโยชน์
อยำ่ งไร)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
102 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

แนวทางที่ ๓ สอดแทรกในกิจวัตรประจาํ วันของสถานศึกษา

กำรพัฒนำและประเมินค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร โดยสอดแทรกในกิจวัตรประจ�ำวัน
ของสถำนศึกษำ อำจด�ำเนนิ กำรไดด้ ังนี้
๑. วิเครำะห์กิจกรรมท่ีเป็นกิจวัตรประจ�ำวันของสถำนศึกษำว่ำสอดคล้องหรือสำมำรถสอดแทรกกับ
ค่ำนิยมใดได้บ้ำง แล้วจัดท�ำตำรำงวิเครำะห์กิจกรรมท่ีเป็นกิจวัตรประจ�ำวันของสถำนศึกษำ กับค่ำนิยมหลัก
ของคนไทย ๑๒ ประกำร (ตัวอยำ่ งตำรำงหน้ำ ๑๐๔)
๒. วิเครำะห์พฤติกรรมท่ีแสดงออกของผู้เรียนจำกกิจกรรมที่สอดแทรกในกิจวัตรประจ�ำวันของ
สถำนศกึ ษำวำ่ สอดคลอ้ งกบั คำ่ นยิ มหลกั ตวั ชวี้ ดั และตวั อยำ่ งพฤตกิ รรมขอ้ ใด (ตวั อยำ่ งตำรำงหนำ้ ๑๐๕-๑๐๖)
๓. ประเมินผลค่ำนยิ มโดยด�ำเนนิ กำรตำมกิจกรรมทเ่ี ป็นกจิ วตั รประจำ� วนั แลว้ รวบรวมผลกำรประเมนิ
ทไี่ ด้น�ำไปสรุปเมอื่ สิ้นภำคเรยี น

แนวทางการพฒั นาและประเมินคานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 103

ตวั อยา่ ง
ตารางวเิ คราะห์กิจกรรมท่เี ปนกจิ วตั รประจ�าวนั ของสถานศึกษา กับค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ท่ี กิจกรรม ค่านยิ มหลัก ขอ้ ท่ี
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

๑ กิจกรรม ๕ ส. (แบง่ กล่มุ )  
- ทำ� ควำมสะอำดโรงเรยี น/
หอ้ งเรียน/บริเวณโรงเรยี น

๒ แสดงควำมเคำรพพอ่ แม ่ ผูป้ กครอง  
ครูอำจำรย์

๓ กจิ กรรมหนำ้ เสำธง    
- เข้ำแถว ร้องเพลงชำติ
เคำรพธงชำติ
- นอ้ งไหว้พี ่ พี่รบั ไหวน้ ้อง
- ออกก�ำลงั กำย
ฯลฯ

๔ กิจกรรมระหวำ่ งเรียน 
- เดินแถวเปล่ยี นหอ้ งเรยี น
- จัดเรยี งรองเทำ้ กระเปำ
ฯลฯ

๕ กจิ กรรมชว่ งพักกลำงวัน  
- พีด่ ูแลน้องรับประทำน
อำหำรกลำงวัน
- แปรงฟนั หลงั รับประทำนอำหำร
- เขำ้ แถวซอ้ื อำหำร
- ซ้อมดนตรี เล่นกีฬำ
ฯลฯ

๖ ธนำคำรโรงเรยี น  

๗ โครงงำนคุณธรรม  

๘ สวนเศรษฐกิจพอเพยี ง   

๙ กิจกรรมเสยี งตำมสำย  

๑๐ กจิ กรรมหลังเลิกเรยี น  
- สวดมนต ์
- เข้ำแถวเดนิ กลบั บำ้ น
- สำรวัตรนักเรียน
ฯลฯ

104 แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ตัวอยา่ ง
พฤตกิ รรมท่แี สดงออกของผ้เู รียนจากกิจกรรมท่ีสอดแทรกในกิจวัตรประจ�าวันของสถานศกึ ษา

ท่ี กจิ กรรม พฤติกรรมทีแ่ สดงออก ค่านิยมหลักฯ ขอ้ ท่ี
๑ กิจกรรม ๕ ส. ๑.๑ ทำ� ควำมสะอำดโตะ เกำ้ อข้ี องตนเอง ๒ (๒.๒.๒)
๑.๒ ท�ำควำมสะอำดหอ้ งเรยี น ๒ (๒.๒.๒)
(สะสำง สะดวก สะอำด ๑.๓ รว่ มมือในกำรทำ� งำนในเขตบรกิ ำรทรี่ บั ผดิ ชอบ
สุขลกั ษณะ สร้ำงนิสัย) ๒ (๒.๒.๖, ๒.๔.๑)
๗ (๗.๒.๓)
๑.๔ ใช้เหตผุ ลในกำรแสดงควำมคิดเหน็ และตัดสนิ ใจ ๗ (๗.๒.๔)
ในกำรปฏบิ ัติงำน
๑.๕ ปฏิบตั ติ ำมกฎ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของห้องเรียน ๘ (๘.๑.๑)
โรงเรยี น

๒ แสดงควำมเคำรพต่อพอ่ แม ่ ๒.๑ แสดงควำมเคำรพพ่อแม่ ครูอำจำรย์ เชน่ กำรไหว้ ๓ (๓.๑.๓)
ผปู้ กครอง ครอู ำจำรย์ กำรกรำบ กำรกล่ำวขอบคุณ เป็นต้น ๕ (๕.๑.๑)
๘ (๘.๓.๑)

๓ กจิ กรรมหน้ำเสำธง ๓.๑ เขำ้ แถว รอ้ งเพลงชำติ เคำรพธงชำติ ๑ (๑.๑.๑)
๓.๒ สวดมนต์ หรอื ท�ำพธิ ีกรรมทำงศำสนำ น่งั สมำธิ ๑ (๑.๒.๒, ๑.๒.๓ )
แผ่เมตตำ
๓.๓ ปฏบิ ตั ิตำมกฎ ระเบยี บของโรงเรียน เชอ่ื ฟังหวั หน้ำชน้ั ครู ๗ (๗.๒.๑)
๓.๔ นอ้ งไหว้พ่ ี พร่ี ับไหว้นอ้ ง นกั เรียนไหวค้ รู ครูรับไหว้ ๘ (๘.๓.๑)
นกั เรียน
๓.๕ รำยงำนผลกำรปฏิบตั ิงำน อ่ำนข่ำว ภำษำไทยวนั ละคำ� ๕ (๕.๓.๒)
ยกยอ่ ง ชมเชย นักเรยี นทีท่ ำ� ควำมด ี ประชำสมั พนั ธ์
เรือ่ งตำ่ ง ๆ ฯลฯ
๓.๖ ออกก�ำลังกำย ๑๑ (๑๑.๑.๓)

๔ กิจกรรมระหวำ่ งเรยี น ๔.๑ เดนิ แถวเปลีย่ นห้องเรียน ๘ (๘.๑.๑)
๔.๒ เข้ำห้องเรียนตรงเวลำ ๘ (๘.๑.๒)
๔.๓ จดั เรยี งรองเทำ้ กระเปำกอ่ นเข้ำห้องเรียน ๘ (๘.๑.๑)

๕ กจิ กรรมช่วงพกั กลำงวนั ๕.๑ เขำ้ แถวรบั ถำดอำหำร หรือซ้ืออำหำร ๘ (๘.๑.๑)
ตำมล�ำดับก่อน-หลงั ๒ (๒.๒.๔, ๒.๒.๖)
๕.๒ พี่ดแู ลน้องรับประทำนอำหำรกลำงวนั
๕.๓ แปรงฟนั หลงั รบั ประทำนอำหำร ๘ (๘.๑.๑)
๕.๔ ซอ้ มดนตรี เลน่ กีฬำ ๑ (๑.๑.๖)

แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 105

ท่ี กจิ กรรม พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก คา่ นิยมหลักฯ ข้อที่
๖ ธนำคำรโรงเรียน ๖.๑ เปน็ เจ้ำหน้ำทใ่ี นธนำคำรโรงเรยี น ๒ (๒.๒.๔)
๗ โครงงำนคณุ ธรรม ๖.๒ เปน็ สมำชิกเกบ็ ออมและฝำกเงินกับธนำคำรโรงเรียน ๑๐ (๑๐.๑.๑)
๖.๓ มีวินัยในกำรเก็บเงิน ออมเงนิ ๑๐ (๑๐.๑.๑)
๘ สวนเศรษฐกิจพอเพยี ง
๗.๑ ทำ� งำนอย่ำงเป็นระบบ รจู้ กั คิด ๙ (๙.๑.๑)
๙ กจิ กรรมเสียงตำมสำย ๗.๒ ทำ� งำนตำมขนั้ ตอนไดอ้ ยำ่ งเป็นระบบ ๙ (๙.๑.๒)
๗.๓ ทำ� งำนจนส�ำเรจ็ โดยยดึ หลักธรรมของศำสนำ ๒ (๒.๓.๑)
๑๐ กจิ กรรมหลงั เลิกเรียน มำใช้แกป้ ญั หำ ๑๐ (๑๐.๒.๓,
๗.๔ น�ำผลควำมส�ำเร็จของโครงงำนคุณธรรมมำประยุกต์ ๑๐.๓.๒)
ใช้ในกำรด�ำรงชวี ติ

๘.๑ มวี นิ ัยในตนเองในกำรปฏิบัติงำนใหป้ ระสบ ๘ (๘.๑.๑, ๘.๑.๒)
ควำมส�ำเรจ็ เช่น กำรปลูกพืชผักสวนครวั ๑๐ (๑๐.๑.๒,
กำรเลีย้ งปลำ เป็นตน้
๘.๒ น�ำหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งมำใช้ ๑๐.๒.๓, ๑๐.๓.๑)
อย่ำงเหมำะสมกับสภำพแวดล้อมของตน ๗ (๗.๒.๒, ๗.๒.๓)
๘.๓ ทำ� งำนร่วมกันเพ่ือใหง้ ำนเสร็จลลุ ่วงไปดว้ ยด ี
๑๒ (๑๒.๒.๑)

๙.๑ ทำ� งำนเพอื่ ส่วนรวม เสยี สละเพอ่ื คนอ่ืน ๒ (๒.๒.๔),
๑๒ (๑๒.๒.๑)
๙.๒ หำข้อมูลควำมรูเ้ พม่ิ เติมเพือ่ ถำ่ ยทอดใหเ้ พอื่ น ๆ ทรำบ ๔ (๔.๒.๑, ๔.๒.๒)
๙.๓ น�ำข่ำวสำรควำมรูท้ ่ดี มี ปี ระโยชนเ์ ผยแพร่ต่อผู้อื่น ๖ (๖.๓.๑)
๙.๔ น�ำเสนอข่ำวสำรขอ้ มูลต่ำง ๆ โดยยดึ หลักใหเ้ กิด ๑๒ (๑๒.๑.๑,
ประโยชน์ต่อส่วนรวมให้มำกกว่ำสว่ นตน
๑๐.๑ สวดมนตห์ ลงั เลิกเรียน ๑๒.๒.๑)
๑๐.๒ เขำ้ แถวเดินกลบั บ้ำน ๑ (๑.๒.๓)
๘ (๘.๑.๑)

หมายเหตุ หำกสถำนศึกษำใดมีกิจกรรมที่เป็นกิจวัตรประจ�ำวันนอกเหนือจำกตัวอย่ำงนี้ก็สำมำรถเพิ่มเติม
พฤตกิ รรมท่ีสงั เกตไดต้ ำมบริบทของตนเอง

106 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ตัวอยา่ ง
แบบบันทกึ การสงั เกตพฤติกรรมทเ่ี กิดจากกิจกรรมกิจวตั รประจา� วันของสถานศกึ ษา

(กิจกรรม ๕ ส.)

ชอื่ -สกลุ นกั เรยี น...........................................เลขท.ี่ ..........ชนั้ .................ภาคเรยี น...........ปก ารศกึ ษา.................

คา� ชแี้ จง ให้ท�ำเครือ่ งหมำย  ตรงพฤตกิ รรมทน่ี ักเรียนแสดงออกเปน็ ประจ�ำจนเปน็ นสิ ัยในแตล่ ะเดือน

กจิ กรรม/พฤติกรรมท่แี สดงออก คร้งั ท่/ี เดอื นท่สี ังเกต
๑/พ.ค. ๒/มิ.ย. ๓/ก.ค. ๔/ส.ค. ๕/ก.ย. รวม
กิจกรรม ๕ ส.
๑.๑ ท�ำควำมสะอำดโตะ เกำ้ อีข้ องตนเอง
๑.๒ ทำ� ควำมสะอำดห้องเรียน
๑.๓ รว่ มมือในกำรท�ำงำนในเขตบริกำรที่รับผดิ ชอบ
๑.๔ ใช้เหตผุ ลในกำรแสดงควำมคิดเหน็ และตดั สินใจ
ในกำรปฏบิ ัติงำน
๑.๕ ปฏบิ ตั ติ ำมกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของหอ้ งเรยี น
โรงเรียน

ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน
(................................................)
ตำ� แหนง่ ...............................................

หมายเหตุ แบบบนั ทกึ กำรสงั เกตพฤตกิ รรมจำกกจิ กรรมกจิ วตั รประจำ� วนั ของสถำนศกึ ษำ เปน็ เพยี งตวั อยำ่ ง
ของกำรสงั เกตพฤติกรรมในกิจกรรม ๕ ส. เท่ำนน้ั หำกสถำนศึกษำใดมกี จิ กรรมหลำยกิจกรรม
ก็สำมำรถเพม่ิ เตมิ รำยกำรพฤติกรรมทแ่ี สดงออกไดต้ ำมลกั ษณะกจิ กรรม

แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 107

ตัวอยา่ ง
แบบบันทกึ กจิ วตั รประจา� วัน “ฉันท�าได้”

ชือ่ -สกุลนกั เรยี น.......................................................................ชัน้ ........................................เลขท่.ี .................

ค�าชี้แจง ให้นกั เรยี นเขียนเลำ่ สิ่งที่ไดป้ ฏบิ ัตจิ ริงตำมข้อค�ำถำมตอ่ ไปนี้

๑. นักเรียนชว่ ยเหลือครอบครวั ทำ� งำนอะไรบำ้ งในระหวำ่ งอย่ทู บ่ี ้ำน
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๒. นักเรียนทำ� ควำมดีกบั ผอู้ น่ื หรือชว่ ยเหลอื ผู้อื่นอะไรบำ้ ง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๓. สภำพทอ้ งถ่นิ ของนักเรียน มีกำรเปล่ยี นแปลงอะไรบ้ำง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๔. ขำ่ วเหตุกำรณบ์ ้ำนเมอื งทนี่ ำ่ สนใจมำกทสี่ ุดในขณะนคี้ อื ขำ่ วอะไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๕. ขำ่ วต่ำงประเทศในช่วงนที้ ่นี ักเรยี นคดิ ว่ำมคี วำมสำ� คญั ตอ่ โลกของเรำคือข่ำวอะไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................นักเรยี น
(............................................)
วันท่.ี ............................................

หมายเหตุ
๑. จดุ ม่งุ หมำยของคำ� ถำม
ข้อ ๑ ต้องกำรใหน้ ักเรียนมคี วำมกตญั ู รคู้ ุณ ชว่ ยพอ่ แม ่ ผปู้ กครอง ทำ� งำนบำ้ น ทำ� ควำมดี ทกุ วัน
ขอ้ ๒ ต้องกำรใหน้ ักเรยี นเปน็ คนดมี ีเมตตำ ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื
ขอ้ ๓ ต้องกำรให้นักเรียนใฝหำควำมร ู้ สังเกตส่งิ ทอี่ ยูร่ อบตวั เรำ
ขอ้ ๔ ตอ้ งกำรใหน้ ักเรียนรู้จักคน้ คว้ำ เพ่อื อย่ใู นสงั คมและปรับตัวได้อยำ่ งมคี วำมสขุ
ขอ้ ๕ ตอ้ งกำรให้นักเรียนปรบั ตนเองได ้ รเู้ ทำ่ ทันกำรเปล่ียนแปลงของโลก
๒. อำจจะเปล่ียนแปลงเป็นรำยสัปดำห์ หรอื รำยเดอื น ตำมควำมเหมำะสม
๓. ครพู จิ ำรณำคดั เลือกข้อเขียนของนักเรียนเพ่ือนำ� เสนอในกิจกรรมหนำ้ เสำธงหรอื กจิ กรรมโฮมรมู

108 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

แนวทางที่ ๔ จัดทําโครงการเพื่อปลกู ฝงและพัฒนาคา นยิ มหลกั ของคนไทย
๑๒ ประการ

การพัฒนาและประเมินค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ โดยจัดท�าโครงการเพื่อปลูกฝง
และพฒั นาค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ อาจด�าเนนิ การได้ ๒ ลักษณะ

ลกั ษณะที่ ๑ สอดแทรกกำรปลกู ฝงั และพฒั นำคำ่ นยิ มหลกั ในโครงกำรทส่ี ถำนศกึ ษำดำ� เนนิ กำรอยแู่ ลว้
ด�ำเนนิ กำรดังน้ี
๑. วเิ ครำะหโ์ ครงกำรทส่ี ถำนศกึ ษำดำ� เนนิ กำรอยแู่ ลว้ วำ่ สอดคลอ้ ง หรอื สำมำรถสอดแทรกคำ่ นยิ มหลกั
ขอ้ ใดได้บ้ำง แลว้ จัดท�ำตำรำงวิเครำะหค์ วำมสอดคลอ้ งของโครงกำรกับค่ำนิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร
๒. กรณีท่ีต้องกำรสอดแทรกค่ำนิยมหลักเพ่ิมเติม ควรปรับกิจกรรมในโครงกำรให้สัมพันธ์กับ
คำ่ นยิ มหลักที่ต้องกำรเพิม่ เตมิ
๓. ด�ำเนินงำนตำมโครงกำรและประเมินผลค่ำนิยมหลัก แล้วรวบรวมผลกำรประเมินที่ได้น�ำไปสรุป
เมื่อสิ้นภำคเรียน

ลกั ษณะที่ ๒ จัดทำ� โครงกำรใหม่ เพ่ือปลูกฝังและพัฒนำคำ่ นิยมหลกั โดยเฉพำะ ด�ำเนินกำรดงั น้ี
๑. วเิ ครำะหว์ ำ่ คำ่ นยิ มหลกั ขอ้ ใดทตี่ อ้ งกำรปลกู ฝงั และพฒั นำเพม่ิ เตมิ จดั ทำ� โครงกำรทจี่ ะปลกู ฝงั พฒั นำ
ค่ำนิยมหลักข้อนั้นโดยเฉพำะ ทั้งนี้ กิจกรรมท่ีก�ำหนดจะต้องสำมำรถปลูกฝังและพัฒนำให้เกิดค่ำนิยมหลัก
ข้อน้ันไดอ้ ย่ำงชัดเจน
๒. ด�ำเนินงำนตำมโครงกำรและประเมินผลค่ำนิยมหลัก แล้วรวบรวมผลกำรประเมินที่ได้น�ำไปสรุป
เมื่อส้นิ ภำคเรยี น

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 109

ตวั อยา่ ง
ตารางวเิ คราะหค์ วามสอดคล้องของโครงการกบั ค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ท่ี ชอื่ โครงการ คา่ นยิ มหลักของคนไทย (ขอ้ ที่)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

๑ วันส�ำคญั เทดิ ทนู สถำบันชำติ ศำสนำ 
พระมหำกษัตรยิ ์
  
๒ สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม  
๓ ยอ้ นอดีตกรุงศรี  
๔ ค่ำยพทุ ธบตุ ร  
๕ รกั กำรอำ่ น สำนสฝู่ นั  
๖ รักษภ์ ำษำไทย    
๗ มอื ใหม่หัดคำ้  
๘ ค่ำยยวุ ชนรณรงคร์ ักษ์โลก 

กู้วกิ ฤตสิง่ แวดล้อม

๙ ชว่ ยดว้ ยใจ ใหด้ ้วยรัก  
๑๐ คำ่ ยพักแรมลูกเสือและยุวกำชำด  
๑๑ เด็กไทยรคู้ ดิ มจี ิตสำธำรณะ 
๑๒ ทอ่ งไปในโลกกว้ำง 
๑๓ พฒั นำผ้เู รยี นสคู่ วำมเปน็ เลิศ 
๑๔ ท่องไปในชมุ ชน 
๑๕ สวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี น 
๑๖ สรำ้ งศลิ ปหรรษำ ท่องหำควำมรู้ 

ควบคู่วนิ ัย ใสใ่ จสิ่งแวดลอ้ ม

๑๗ English Camp  
๑๘ ส่งเสรมิ ภูมิปญั ญำในทอ้ งถ่ิน 
๑๙ วยั ใสใสใ่ จควำมเปน็ ไทย 
๒๐ หนว่ ยกระทำ� ควำมดี 
๒๑ ส่งเสริมประชำธปิ ไตย 

และเสริมสร้ำงวินัยนกั เรียน

๒๒ นอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง 
๒๓ ภมู ปิ ัญญำไทยบนพื้นฐำน 

เศรษฐกิจพอเพยี ง

๒๔ ออมวนั ละน้อย ตำมรอยสมเด็จพ่อ 
สำนตอ่ เศรษฐกิจพอเพียง

๒๕ ว่ำยสวย ช่วยเปน็ เล่นปลอดภยั 
รวม
๔ ๖ ๑ ๑๑ ๗ ๓ ๑ ๕ ๖ ๔ ๓ ๔

110 แนวทางการพัฒนาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ตวั อย่าง
โครงการท่ีทางโรงเรยี นจดั ข้นึ เพื่อเสรมิ สรา้ งค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

โครงการรักการอา่ น สานสูฝ่ น

๑. หลกั การและเหตุผล
กำรจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ นสิ ยั รกั กำรอำ่ น เปน็ กำรจดั กจิ กรรมตำ่ ง ๆ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ควำมสนใจทจี่ ะอำ่ น
เหน็ ควำมสำ� คญั ของกำรอำ่ น เกดิ ควำมเพลดิ เพลนิ ในกำรอำ่ น เกดิ ควำมมงุ่ มน่ั ทจี่ ะอำ่ น และอำ่ นจนเปน็ นสิ ยั ทงั้ น้ี
กำรอ่ำนหนังสือเปน็ ทกั ษะสำ� คัญทกั ษะหน่งึ ในชวี ติ ประจำ� วัน เพรำะกำรอำ่ นหนังสอื จะพัฒนำคุณภำพชีวติ ได้
เป็นอยำ่ งดยี ิง่ จะสร้ำงควำมร ู้ อำรมณ์ จินตนำกำร และควำมเพลดิ เพลนิ แก่ผอู้ ำ่ น กำรที่ผ้เู รยี นจะเกิดทกั ษะ
กำรอ่ำน จ�ำเป็นตอ้ งอำศัยควำมรว่ มมือจำกบุคคลหลำยฝำย ทั้งครอบครวั โรงเรยี น และชุมชน
ดังน้ัน กำรจัดกิจกรรมส่งเสริมกำรอ่ำนในโรงเรียน ครูควรออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดควำมสนใจ
มีควำมกระตือรือร้นในกำรอ่ำน รู้จักต้ังค�ำถำมเม่ือเกิดควำมสงสัย มีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
ดว้ ยวิธกี ำรต่ำง ๆ ตลอดจนมกี ำรปรับปรงุ และพฒั นำกำรอ่ำนของตนเองอยำ่ งต่อเน่ือง
๒. วัตถุประสงค์
๒.๑ เพ่ือส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรักกำรอ่ำนให้เหมำะสมกับวัย และควำมสำมำรถของผู้เรียน
ในแต่ละระดบั ช้ัน
๒.๒ เพ่ือส่งเสริมและพฒั นำคุณลักษณะอนั พึงประสงค์เกย่ี วกบั ควำมมวี ินยั ในตนเอง และใฝเ รียนรู้
๒.๓ เพอ่ื เปน็ กำรปลกู ฝงั คำ่ นยิ มหลกั ดำ้ นกำรใฝห ำควำมร ู้ หมนั่ ศกึ ษำเลำ่ เรยี นทง้ั ทำงตรงและทำงออ้ ม

แนวทางการพฒั นาและประเมินคานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 111

๓. เปาหมาย
๓.๑ เชิงปริมาณ

๑) ผูเ้ รียนทกุ ระดับช้ันได้รบั กำรส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรกั กำรอำ่ น
๒) ผู้เรียนทุกระดับชั้นได้รับกำรส่งเสริมและพัฒนำคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “ควำมมีวินัย
ในตนเอง” และ “ใฝเรยี นร้”ู
๓) ผู้เรียนทุกระดับช้ันได้รับกำรพัฒนำและปลูกฝังค่ำนิยมหลัก “กำรใฝหำควำมรู้ หมั่นศึกษำ
เล่ำเรียน ทงั้ ทำงตรงและทำงออ้ ม”

๓.๒ เชงิ คณุ ภาพ
๑) ผ้เู รียนมีนสิ ัยรักกำรอำ่ น มีวนิ ยั ในตนเอง
๒) ผเู้ รยี นใฝหำควำมร้ ู หม่ันศกึ ษำเล่ำเรยี น
๔. การจดั กิจกรรม
๔.๑ ครูชี้แจงจุดประสงค์ และมำรยำทท่ีดีในกำรอ่ำน กำรฟัง กำรพูด และกำรเขียน ควำมมีวินัย
ในตนเองเก่ียวกับกำรปฏิบัติตำมข้อตกลง กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ข้อบังคับต่ำง ๆ ในกำรสืบค้นข้อมูลและ
กำรแสวงหำควำมรู้จำกแหลง่ เรยี นรูต้ ่ำง ๆ กำรตรงตอ่ เวลำ และควำมรบั ผิดชอบในกำรปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
๔.๒ ผู้เรียนเลือกอ่ำนบทควำมที่ตนเองสนใจหรือชื่นชอบจำกหนังสือ เอกสำร วำรสำร หนังสือพิมพ์
ส่อื สิ่งพิมพ์ สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส ์ จำกแหลง่ เรยี นรตู้ ่ำง ๆ เช่น
๑) มมุ ประสบกำรณ์ของห้องเรยี น
๒) หอ้ งสมุดโรงเรียน/ชุมชน
๓) หอ้ งสมุดประชำชน
๔) อนิ เทอร์เนต็
๔.๓ ผู้เรียนสรุปประเด็น ข้อเท็จจริง แสดงควำมคิดเห็นจำกเร่ืองที่อ่ำนในรูปของกำรเขียนหรือ
ผงั ควำมคดิ พร้อมกบั ต้ังประเด็นค�ำถำมจำกเร่ืองรำวที่อำ่ น เพ่อื นำ� ไปซักถำมและโต้ตอบกับเพอ่ื น ๆ
๔.๔ ผู้เรียนน�ำข้อมูลท่ีได้จำกกำรสรุปข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจำกเร่ืองที่อ่ำน มำแลกเปล่ียนเรียนรู้
ร่วมกันกับเพื่อนในช้ันเรียน โดยกำรซักถำมและกำรตอบค�ำถำมของเพื่อน หรือกำรต้ังค�ำถำมให้เพื่อนตอบ
ครเู ป็นผคู้ อยกระตุน้ หรือช้แี นะ พรอ้ มท้งั ปรับปรงุ แกไ้ ข
๔.๕ ผู้เรียนน�ำเสนอข้อมูลในรูปกำรเขียนเป็นควำมเรียง หรือแผ่นพับ หรือผังควำมคิด ฯลฯ
โดยมปี ระเดน็ ตำ่ ง ๆ ดังนี้
๑) ช่ือเร่ืองทอ่ี ำ่ น
๒) ข้อเทจ็ จรงิ ข้อคิดเห็นท่ีได้จำกกำรอ่ำน
๓) สรปุ ขอ้ คดิ เหน็ ดว้ ยกำรอธิบำยเชงิ เปรียบเทียบ และระบเุ หตุผลประกอบ
๔) ระบขุ ้อคดิ เห็นทีไ่ ด้จำกเร่ืองทีอ่ ่ำน ซ่ึงสำมำรถน�ำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำ� วัน
๔.๖ ผเู้ รยี นเลำ่ เรอ่ื งทอ่ี ำ่ นโดยสรปุ ตงั้ ประเดน็ คำ� ถำม ตอบขอ้ ซกั ถำมเพอื่ นนกั เรยี นชนั้ ตำ่ ง ๆ ชว่ งกจิ กรรม
หน้ำเสำธง หรือกจิ กรรมเสียงตำมสำยของโรงเรียน

112 แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

๕. การวัดและประเมนิ ผล วิธีวดั /ประเมนิ ผล เคร่ืองมอื ที่ใช้
ตรวจบนั ทกึ กำรอำ่ น แบบบันทกึ กำรสังเกตนิสัยรักกำรอ่ำน
ตวั ช้ีวัดความส�าเรจ็ พรอ้ มเกณฑก์ ำรประเมนิ นิสัยรกั กำรอำ่ น
๑. รอ้ ยละของผูเ้ รยี นท่มี ีนสิ ยั สังเกตพฤติกรรมกำรมีวนิ ัย แบบบันทกึ กำรสงั เกตกำรมีวนิ ัย
รักกำรอำ่ น ในตนเอง ในตนเอง พร้อมเกณฑก์ ำรประเมนิ
๒. ร้อยละของผเู้ รยี นที่มวี นิ ยั กำรมวี ินยั ในตนเอง
ในตนเอง แบบบนั ทึกกำรสงั เกตกำรใฝหำควำมร ู้
หม่ันศึกษำเลำ่ เรียน พร้อมเกณฑ์
๓. ร้อยละของผ้เู รยี นทีใ่ ฝห ำควำมรู ้ สงั เกตพฤตกิ รรมกำรใฝห ำควำมรู ้ กำรประเมินกำรใฝห ำควำมรู้
หมัน่ ศกึ ษำเลำ่ เรียน หมนั่ ศกึ ษำเล่ำเรียน และหม่นั ศกึ ษำเลำ่ เรยี น

เกณฑ์การประเมนิ : นิสัยรักการอา่ น และการมวี ินัยในตนเอง

รายการประเมิน ดี ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ
นสิ ัยรักกำรอ่ำน อำ่ น และบันทึก พอใช้ อ่ำน และบนั ทกึ
ข้อมลู เก่ยี วกบั ข้อมูลเกี่ยวกบั
เรือ่ งทอี่ ำ่ น อ่ำน และบันทกึ เรอ่ื งทอี่ ำ่ น
เฉลย่ี มำกกวำ่ ขอ้ มลู เกย่ี วกับ เฉลี่ยนอ้ ยกว่ำ
๓ เรอ่ื ง ตอ่ เดอื น เรือ่ งที่อ่ำน ๒ เรื่อง ต่อเดอื น
เฉลย่ี ๒-๓ เร่ือง
กำรมีวนิ ยั ในตนเอง ปฏิบตั ไิ ด้ครบ ต่อเดอื น ปฏบิ ัตไิ ดเ้ พียง
๑. ปฏบิ ัติตำมข้อตกลงระหว่ำงครูกบั นักเรียน ๓ รำยกำร ๑ รำยกำร
๒. ปฏิบัตติ ำมระเบียบกำรใชห้ ้องสมุด/ ปฏบิ ัติได้ หรือปฏบิ ตั ไิ มไ่ ดเ้ ลย
๒ รำยกำร

หอ้ งคอมพวิ เตอร์
๓. ทำ� งำนทีไ่ ดร้ ับมอบหมำยสำ� เรจ็ ตำมเวลำที่กำ� หนด

หมายเหตุ ตำมตวั อยำ่ งนจี้ ดั ระดบั คณุ ภำพเปน็ ๓ ระดบั หำกสถำนศกึ ษำตอ้ งกำรนำ� ไปใชป้ ระเมนิ คณุ ลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงคต์ ำมหลกั สูตรฯ กส็ ำมำรถปรบั เป็น ๔ ระดบั ได้

แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 113

เกณฑ์การประเมิน : การใฝหาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียน

รายการประเมนิ ดี ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง
กำรใฝห ำควำมร้ ู หม่นั ศึกษำเล่ำเรยี น ปฏบิ ตั ไิ ด้ พอใช้ ปฏบิ ตั ิได้
๑. สนใจ ตัง้ ใจเรียน ๗-๘ รำยกำร ๐-๓ รำยกำร
๒. ซักถำมเมอื่ เกิดควำมสงสัยจนเขำ้ ใจกระจ่ำง ปฏิบัติได ้
๓. ปฏิบตั กิ ิจกรรมกำรเรียนรูอ้ ยำ่ งเต็มควำมสำมำรถ ๔-๖ รำยกำร
๔. ปรับปรุงและพฒั นำกำรเรียนของตนเอง
อย่ำงต่อเนอื่ ง
๕. กระตอื รอื ร้นในกำรเรยี นร้สู ่ิงใหม ่ ๆ
๖. แลกเปล่ยี นควำมร้ดู ว้ ยวิธตี ำ่ ง ๆ
๗. ศึกษำคน้ ควำ้ ขอ้ มลู เพม่ิ เติมจำกแหล่งเรยี นรู้ตำ่ ง ๆ
ในโรงเรียน/ชมุ ชน/ท้องถน่ิ
๘. สบื ค้นขอ้ มูลจำกแหล่งเรยี นรตู้ ำ่ ง ๆ เชน่
อินเทอรเ์ นต็ สอบถำมผูร้ ู ้ อำ่ นหนงั สอื ขำ่ ว เปน็ ต้น

หมายเหต ุ ตำมตวั อยำ่ งนจี้ ดั ระดบั คณุ ภำพเปน็ ๓ ระดบั หำกสถำนศกึ ษำตอ้ งกำรนำ� ไปใชป้ ระเมนิ คณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงคต์ ำมหลกั สูตรฯ กส็ ำมำรถปรบั เป็น ๔ ระดบั ได้
๖. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั
๖.๑ โรงเรียนมีรูปแบบกำรปลูกฝังและพัฒนำนิสัยรักกำรอ่ำนที่เหมำะสมกับวัย และควำมสำมำรถ
ของผูเ้ รยี น
๖.๒ ผูเ้ รียนมนี สิ ัยรกั กำรอ่ำน มวี ินัยในตนเอง และใฝห ำควำมรู้ หม่นั ศึกษำเล่ำเรยี น

114 แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

แบบบนั ทึกการสังเกตนสิ ยั รักการอา่ น

ชั้น..........................................ภาคเรียนที.่ ...........................ปก ารศึกษา.......................

ค�าชี้แจง สังเกตพฤติกรรมกำรอ่ำนของผู้เรียน แล้วกรอกจ�ำนวนเรื่องท่ีผู้เรียนอ่ำนและมีกำรบันทึกกำรอ่ำน
ในแต่ละเดอื น

เลขท่ี ชอื่ -นามสกลุ จ�านวนเร่อื งท่อี ่าน และมีการบันทึกการอา่ น รวม เฉลีย่ ระดับ
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. (เรือ่ ง) คุณภาพ

ลงช่อื ....................................................ผปู้ ระเมิน
(...................................................)
ต�ำแหน่ง....................................................

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 115

แบบบันทึกการสงั เกตการมวี นิ ยั ในตนเอง

ชั้น..........................................ภาคเรยี นท่ี............................ปก ารศึกษา.......................

คา� ช้ีแจง ให้ทำ� เครือ่ งหมำย  เมอื่ นกั เรยี นปฏบิ ตั ิ หรือท�ำเครื่องหมำย ✕ ถ้ำนกั เรียนไม่ปฏบิ ตั ิ ตำมรำยกำร
พฤตกิ รรมทส่ี งั เกตตอ่ ไปนี้

รายการพฤติกรรมที่สังเกต

เลขท่ี ชอื่ -นามสกุล ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ สรปุ ผล
ปฏิบัติตามข้อตกลง ปฏิบัตติ ามระเบียบ ท�างานท่ไี ดร้ ับ การประเมนิ
ระหว่างครกู ับนักเรียน การใชห้ ้องสมุด/ มอบหมายส�าเรจ็
หอ้ งคอมพิวเตอร์ ตามเวลาทีก่ า� หนด

ลงช่อื ....................................................ผูป้ ระเมิน
(...................................................)
ต�ำแหน่ง....................................................

116 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

แบบบนั ทึกการสังเกตการใฝห าความรู้ หมัน่ ศึกษาเล่าเรยี น

ชัน้ ..........................................ภาคเรียนท.่ี ...........................ปก ารศกึ ษา.......................

ค�าชแี้ จง สังเกตพฤติกรรมผู้เรียนตำมรำยกำรต่อไปน้ี แล้วท�ำเคร่ืองหมำย  ลงในช่อง เม่ือปฏิบัติ
หรือทำ� เครอ่ื งหมำย ✕ ลงในช่อง เมือ่ ไมป่ ฏบิ ัติ

รายการพฤติกรรมทสี่ งั เกต
๑. สนใจ ตั้งใจเรียน
๒. ซักถำมเมอ่ื เกิดควำมสงสยั จนเข้ำใจกระจำ่ ง
๓. ปฏิบัติกจิ กรรมกำรเรยี นรอู้ ย่ำงเตม็ ควำมสำมำรถ
๔. ปรับปรุงและพฒั นำกำรเรยี นของตนเองอย่ำงต่อเน่อื ง
๕. กระตอื รือร้นในกำรเรยี นรู้ส่งิ ใหม ่ ๆ
๖. แลกเปล่ียนควำมรดู้ ว้ ยวิธีตำ่ ง ๆ
๗. ศกึ ษำค้นควำ้ ขอ้ มลู เพิม่ เติมจำกแหล่งเรียนรู้ต่ำง ๆ ในโรงเรยี น/ชุมชน/ท้องถ่ิน
๘. สบื คน้ ข้อมูลจำกแหล่งเรยี นรู้ตำ่ ง ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต สอบถำมผู้รู้ อำ่ นหนงั สือ ข่ำว เปน็ ตน้

เลขที่ ชือ่ -นามสกลุ รายการพฤติกรรมที่สังเกต สรปุ ผล
ขอ้ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ขอ้ ๔ ขอ้ ๕ ข้อ ๖ ขอ้ ๗ ขอ้ ๘ การประเมิน

ลงชอ่ื ....................................................ผู้ประเมิน
(...................................................)
ตำ� แหนง่ ....................................................

แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 117

โครงการน้อมนา� หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๑. หลักการและเหตุผล
ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงของพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยหู่ ัว รชั กำลท ี่ ๙ เป็นแนวทำงกำรดำ� เนนิ
ชวี ติ เพ่ือให้เกดิ ควำมพอม ี พอกนิ พอใช้ โดยใช้หลกั ควำมพอประมำณ ควำมมเี หตผุ ล กำรมภี ูมิคมุ้ กนั ในตัวทดี่ ี
โดยผ่ำนเงื่อนไขควำมรู้และคุณธรรม สู่ ๔ มิติ ได้แก่ มิติด้ำนเศรษฐกิจ มิติด้ำนสังคม มิติด้ำนส่ิงแวดล้อม
และมิติด้ำนวัฒนธรรม โครงกำรขับเคล่ือนเพื่อปลูกฝังให้เด็กได้รู้จักกำรใช้ชีวิตท่ีพอเพียง เห็นคุณค่ำ
ของทรัพยำกรต่ำง ๆ ฝกกำรอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่ำงเอื้อเฟอเผื่อแผ่และแบ่งปัน มีจิตส�ำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
และเห็นคุณค่ำของวัฒนธรรม ค่ำนิยม และเอกลักษณ์ของควำมเป็นไทย โดยน�ำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจ
พอเพียงมำเป็นแนวทำงในกำรพัฒนำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำทุกระดับ ใช้คุณธรรมเป็นพ้ืนฐำน
ของกระบวนกำรเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงควำมร่วมมือระหว่ำงโรงเรียน ครอบครัว ชุมชน วัด ให้มีส่วนร่วม
ในกำรจัดกำรศึกษำ เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดควำมรู้ ทักษะ และเจตคติ สำมำรถน�ำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
ไดอ้ ยำ่ งสมดลุ และยั่งยืน
๒. วตั ถุประสงค์
ผ้เู รียนมคี วำมร ู้ ควำมเขำ้ ใจ และมีทักษะกำรดำ� เนนิ ชีวิตตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. เปา หมาย

๓.๑ เชงิ ปริมาณ
ผู้เรียนทุกคนเข้ำรว่ มกจิ กรรมน้อมนำ� หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ทีโ่ รงเรยี นจดั ข้นึ

๓.๒ เชงิ คณุ ภาพ
ผู้เรยี นด�ำเนนิ ชีวิตตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
๔. การจัดกจิ กรรม
๔.๑ ครูชี้แจงจุดประสงค์หลักกำรน้อมน�ำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง เร่ืองของกำรปฏิบัติ
ตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓ ห่วง ๒ เงือ่ นไข ได้แก่ ควำมพอประมำณ ควำมมเี หตุผล และกำรมี
ภูมิคุ้มกนั ในตัวทีด่ ี บนเงอ่ื นไขควำมรู้ และคณุ ธรรม
๔.๒ ผู้เรียนเลือกศึกษำค้นคว้ำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงจำกบทควำมที่ตนเองสนใจ
จำกหนังสอื เอกสำร วำรสำร หนังสอื พิมพ์ ส่ือสง่ิ พิมพ ์ และสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์
๔.๓ ผู้เรียนสรุปประเด็น ข้อเท็จจริง แสดงควำมคิดเห็นจำกเร่ืองท่ีศึกษำค้นคว้ำ หรือเรียนรู ้
ในรปู ของกำรเขยี นหรอื ผงั ควำมคิด พร้อมกับตัง้ ประเด็นคำ� ถำมจำกเร่ืองรำวท่ไี ดเ้ รียนรู้หรือสืบค้นมำ เพอ่ื นำ�
ไปซกั ถำม และน�ำไปแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ ับเพอื่ น ๆ
๔.๔ ผู้เรียนน�ำข้อมูลท่ีได้จำกกำรสรุปข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจำกเรื่องท่ีอ่ำน มำแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รว่ มกับเพอ่ื นในช้ันเรยี น โดยกำรซกั ถำมและตอบคำ� ถำมของเพ่อื น ครเู ปน็ ผู้คอยกระตุน้ หรอื ชแ้ี นะ พร้อมทง้ั
ปรับปรงุ แกไ้ ข

118 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

๔.๕ ผู้เรียนน�ำเสนอข้อมูลในรูปของกำรเขียนเป็นควำมเรียง หรือแผ่นพับ หรือผังควำมคิด ฯลฯ
โดยมีประเด็นต่ำง ๆ เช่น สรุปข้อคิดเห็นด้วยกำรอธิบำยเชิงเปรียบเทียบ และระบุเหตุผลประกอบ
ระบแุ นวทำงทสี่ ำมำรถนำ� ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ได้
๔.๖ ผู้เรียนเล่ำเร่ืองกำรน้อมน�ำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
ในชว่ งกจิ กรรมหน้ำเสำธง หรอื กิจกรรมเสียงตำมสำยของโรงเรยี น หรอื ในช้นั เรียน
๕. การวดั และประเมินผล

ตวั ช้ีวัดความสา� เรจ็ วิธวี ัด/ประเมนิ ผล เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้
๑. ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมีควำมรู้ ตรวจผลงำนกำรเขียนควำมเรียง แบบบันทกึ กำรตรวจผลงำนกำรเขียน
ควำมเขำ้ ใจในหลักปรชั ญำ หรอื แผน่ พับ หรือผังควำมคิด ควำมเรยี ง หรอื แผน่ พบั หรือผังควำมคดิ
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พร้อมกับเกณฑ์กำรประเมนิ
๒. รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่มี ที ักษะ
กำรดำ� เนนิ ชีวติ ตำมหลกั ปรชั ญำ สงั เกตกำรดำ� เนนิ ชีวิตตำมหลักปรชั ญำ แบบบนั ทึกกำรสังเกตกำรด�ำเนนิ ชีวิต
ของเศรษฐกิจพอเพียง ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตำมหลักปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพยี ง
พรอ้ มกับเกณฑก์ ำรประเมิน

เกณฑก์ ารประเมนิ : ความรู้ ความเขา้ ใจ และมที กั ษะการดา� เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รายการประเมนิ ดีเย่ยี ม (๓) ระดับคุณภาพ ไมผ่ ่าน (๐)
๑. ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ดี (๒) ผา่ น (๑)
ในหลกั ปรัชญำของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง สำมำรถอธบิ ำย สำมำรถอธิบำย สำมำรถอธิบำย ไมส่ ำมำรถอธิบำย
หลัก ๓ หว่ ง หลัก ๓ ห่วง หลัก ๓ ห่วง หลกั ๓ ห่วง
๒. มีทกั ษะกำรด�ำเนินชีวติ ๒ เงือ่ นไข ๔ มิติ ๒ เง่ือนไข ๔ มติ ิ ๒ เง่ือนไข ๔ มติ ิ ๒ เงอ่ื นไข ๔ มติ ไิ ด้
ตำมหลักปรชั ญำของ ตำมหลักปรัชญำของ ตำมหลกั ปรัชญำของ ตำมหลกั ปรัชญำของ
เศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ไดถ้ กู ต้องครบถ้วน ได้ถกู ต้อง ๒ รำยกำร ได้ถกู ต้อง ๑ รำยกำร
ทั้ง ๓ รำยกำร

ด�ำเนนิ ชวี ิต ดำ� เนนิ ชีวติ ดำ� เนนิ ชีวติ ไม่สำมำรถ
โดยปฏิบัตติ ำม โดยปฏบิ ัตติ ำม โดยปฏบิ ัติตำม นำ� หลักปรชั ญำของ
๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข ๓ ห่วง ๒ เงอ่ื นไข เศรษฐกิจพอเพยี ง
จนเกดิ ผลกำรปฏิบตั ิ จนเกิดผลกำรปฏบิ ัติ จนเกดิ ผลกำรปฏบิ ตั ิ ไปใชใ้ นกำรดำ� เนนิ
เปน็ วิถชี ีวติ ได้ เปน็ วถิ ชี วี ติ ได ้ เป็นวถิ ชี วี ติ ได ้ ชีวิตประจ�ำวนั ได้
๓-๔ มติ ิ ๒ มติ ิ ๑ มติ ิ

แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 119

แบบบันทกึ การตรวจผลงานการเขียนความเรียง แผน่ พบั หรือผังความคิด

ชน้ั ..........................................ภาคเรยี นที่............................ปการศกึ ษา.......................

ค�าชแ้ี จง ตรวจผลงำนกำรเขยี นควำมเรียง แผน่ พับ หรือผังควำมคดิ และพจิ ำรณำว่ำ ผเู้ รียนได้เขยี นอธิบำย
ถึงหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงแต่ละรำยกำรได้ถูกต้องหรือไม่ ถ้ำถูกต้องให้ท�ำเครื่องหมำย

 ลงในช่องท่ีตรงกับรำยกำรนนั้ แล้วนำ� ไปเทยี บกับเกณฑ์กำรประเมิน : ควำมรู ้ ควำมเขำ้ ใจ และ
มีทักษะกำรดำ� เนินชีวิตตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (หนำ้ ๑๑๙)

เลขท่ี ชื่อ-นามสกุล หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวม ระดับ
๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มติ ิ คุณภาพ

ลงช่ือ....................................................ผู้ประเมนิ
(...................................................)
ต�ำแหนง่ ....................................................

120 แนวทางการพัฒนาและประเมินคานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

แบบบนั ทกึ การสังเกตการดา� เนินชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ช้ัน..........................................ภาคเรยี นท.่ี ...........................ปก ารศกึ ษา.......................

ค�าชแ้ี จง สังเกตพฤติกรรมกำรด�ำเนินชีวิตของนักเรียนว่ำ ได้ปฏิบัติตำมหลัก ๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข แล้วท�ำ
เครอื่ งหมำย  ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั กำรปฏบิ ตั ิแลว้ นำ� ไปเทยี บกบั เกณฑก์ ำรประเมนิ : ควำมร ู้ควำมเขำ้ ใจ
และมีทกั ษะกำรดำ� เนนิ ชีวิตตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (หนำ้ ๑๑๙)

เลขท่ี ช่อื -นามสกุล การด�าเนนิ ชวี ติ ตามหลักปรชั ญา รวม ระดบั
ของเศรษฐกจิ พอเพียง คุณภาพ

เศรษฐกจิ สงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม

ลงชื่อ....................................................ผปู้ ระเมนิ
(...................................................)
ต�ำแหน่ง....................................................

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 121

๖. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ
ดา้ นเศรษฐกจิ

๑) ผเู้ รยี นรจู้ กั ควบคมุ กำรใชจ้ ำ่ ยของตนเอง โดยใชจ้ ำ่ ยอยำ่ งมเี หตผุ ล ใชจ้ ำ่ ยพอประมำณ ใชจ้ ำ่ ยประหยดั
ใช้จ่ำยเทำ่ ทจี่ �ำเป็น ฯลฯ
๒) ผู้เรียนร้จู กั ออมเงนิ เรียนรูร้ ะบบฝำกเงนิ ระบบออมเงิน และระบบสหกรณ์
๓) ผเู้ รยี นรจู้ กั สรำ้ งรำยไดห้ รอื อำชพี สอดคลอ้ งกบั ควำมตอ้ งกำรของสงั คม ภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ ทรพั ยำกร
ทอ้ งถน่ิ ฯลฯ

ดา้ นสังคม
ผู้เรียนรู้จักช่วยเหลือสังคมหรือชุมชม ปลุกจิตส�ำนึกสำธำรณะ ปลูกฝังควำมสำมัคคี ควำมเสียสละ
เผยแพรอ่ งค์ควำมรูต้ ำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ด้านส่งิ แวดล้อม
ผเู้ รยี นไดร้ ว่ มสร้ำงสมดลุ ของทรัพยำกรธรรมชำต ิ ปลุกจิตสำ� นึกรักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม ฟนฟูแหลง่ เสื่อมโทรม
ในทอ้ งถนิ่ ดแู ลสถำนที่ทอ่ งเท่ยี ว ฯลฯ

ดา้ นวฒั นธรรม
ผู้เรียนได้ร่วมสืบสำนวัฒนธรรมไทย สร้ำงส�ำนึกรักษ์ไทย รักบ้ำนเกิด ฟนฟู อนุรักษ์อำหำรท้องถิ่น
ดนตรีไทย เพลงไทย โบรำณสถำน และโบรำณวตั ถุ
122 แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

๔ตอนท่ี

กำรสรุปและรำยงำนผล

กำรปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ซ่ึงสถำนศึกษำได้มีกำรปลูกฝัง
และพัฒนำค่ำนิยมในแนวทำงใดแนวทำงหน่ึงหรือหลำยแนวทำง ดังที่กล่ำวมำแล้วตอนท่ี ๓
ตำมบรบิ ทของสถำนศกึ ษำ และไดป้ ระเมนิ ตำมเกณฑท์ ส่ี ถำนศกึ ษำกำ� หนดแลว้ สถำนศกึ ษำจะตอ้ งสรปุ
และรำยงำนผลใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งทรำบ เพอ่ื ใช้เปน็ ขอ้ มลู ในกำรพฒั นำส่งเสรมิ สนบั สนุนต่อไป
ในที่นี้ ขอน�ำเสนอขั้นตอนกำรด�ำเนินงำนของสถำนศึกษำตั้งแต่กำรปลูกฝังและพัฒนำ
ค่ำนยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร จนถงึ กำรสรุปและรำยงำนผล ดังน้ี
๑. สถำนศกึ ษำปลกู ฝงั พฒั นำคำ่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร ตำมแนวทำงทสี่ ถำนศกึ ษำ
กำ� หนด แล้วสรปุ รำยงำนวธิ กี ำรปลูกฝงั และพัฒนำตำมตวั อย่ำงตำรำงท ่ี ๔.๑
๒. สถำนศึกษำประเมินผลกำรพัฒนำตำมกิจกรรมในขอ้ ๑ พร้อมบันทึกผลกำรประเมนิ
๓. สถำนศึกษำสังเกตพฤติกรรมท่ีแสดงออกของผู้เรียนตำมตัวชี้วัด เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบ
กำรประเมินเมือ่ สนิ้ ภำคเรยี น
๔. เมอ่ื สนิ้ ภำคเรยี น สถำนศกึ ษำรวบรวมผลกำรประเมนิ แตล่ ะตวั ชวี้ ดั ของผเู้ รยี นเปน็ รำยบคุ คล
จำกแหลง่ ทม่ี ำของขอ้ มลู ผลกำรพฒั นำและประเมนิ คำ่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร ในตำรำงท ี่ ๔.๒
แล้วพิจำรณำว่ำผลกำรประเมินของผู้เรียนผ่ำนทุกกิจกรรมหรือไม่ ถ้ำผ่ำนครบทุกกิจกรรม
และมีพฤตกิ รรมตำมตัวชี้วัด ถอื ว่ำผูเ้ รยี นผำ่ นตัวชวี้ ัดนน้ั ๆ แลว้ ท�ำเคร่อื งหมำย  ลงในตำรำงที ่ ๔.๓
แต่หำกผลกำรประเมินของผู้เรียนไม่ผ่ำนบำงกิจกรรม สถำนศึกษำต้องด�ำเนินกำรพัฒนำผู้เรียน
ใหผ้ ำ่ นครบทกุ กจิ กรรม ทง้ั น ้ี สถำนศกึ ษำตอ้ งดำ� เนนิ กำรใหค้ รบทกุ ตวั ชว้ี ดั ของคำ่ นยิ มทง้ั ๑๒ ประกำร
๕. สรุปผลกำรประเมินค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร แต่ละข้อ โดยพิจำรณำจำก
ผลกำรประเมินตัวชี้วัดของค่ำนิยมน้ัน ๆ หำกผู้เรียนผ่ำนทุกตัวช้ีวัด สรุปได้ว่ำผ่ำนค่ำนิยมข้อน้ัน
แล้วทำ� เครอื่ งหมำย  ลงในตำรำงที ่ ๔.๓ ในช่องผลกำรประเมนิ ค่ำนยิ มขอ้ ....
๖. สถำนศึกษำด�ำเนินกำรตำมข้อ ๓ และข้อ ๔ ท้ังภำคเรียนท่ี ๑ และภำคเรียนท่ี ๒
แล้วสรุปผลกำรประเมินค่ำนิยมของปกำรศึกษำโดยใช้ผลกำรประเมินของภำคเรียนที่ ๒ แล้วท�ำ
เคร่อื งหมำย  ลงในตำรำงท ี่ ๔.๓ ชอ่ งสรุปผลรำยป
๗. รวบรวมผลกำรประเมนิ รำยบคุ คลจำกตำรำงท ี่ ๔.๓ มำสรปุ เปน็ รำยหอ้ งเรยี นตำมตำรำงท ่ี ๔.๔

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 123

ตัวอยา่ ง

ตารางท่ี ๔.๑ แบบรายงานวธิ ีการปลกู ฝง และพัฒนาค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ค�าชี้แจง โปรดทำ� เคร่อื งหมำย  ในชอ่ งวิธีกำรปลูกฝังและพฒั นำคำ่ นยิ มของสถำนศึกษำ

ค่านิยม วธิ ีการปลูกฝงและพฒั นาค่านิยม

กลมุ่ สาระ กิจกรรม กิจวตั ร โครงการ อ่นื ๆ
การเรียนรู้ พฒั นาผู้เรยี น ประจา� วนั ระบุ

๑. มคี วำมรักชำต ิ ศำสนำ พระมหำกษตั รยิ ์
๒. ซ่อื สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ุดมกำรณ์
ในสง่ิ ทีด่ ีงำมเพอ่ื ส่วนรวม
๓. กตญั ูตอ่ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครบู ำอำจำรย์
๔. ใฝห ำควำมร ู้ หมนั่ ศกึ ษำเล่ำเรยี นทง้ั ทำงตรง
และทำงอ้อม
๕. รกั ษำวัฒนธรรมประเพณไี ทยอนั งดงำม
๖. มศี ลี ธรรม รกั ษำควำมสัตย ์ หวังดตี อ่ ผูอ้ ืน่
เผ่อื แผแ่ ละแบ่งปนั
๗. เขำ้ ใจเรยี นรูก้ ำรเปน็ ประชำธปิ ไตย อันมี
พระมหำกษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุขทีถ่ กู ต้อง
๘. มรี ะเบยี บวนิ ยั เคำรพกฎหมำย ผ้นู อ้ ยรู้จัก
กำรเคำรพผ้ใู หญ่
๙. มสี ติรูต้ วั รคู้ ดิ ร้ทู �ำ รูป้ ฏบิ ตั ิตำมพระรำชดำ� รสั
ของพระบำทสมเด็จพระเจำ้ อยูห่ วั รชั กำลท่ ี ๙
๑๐. รจู้ ักด�ำรงตนอยูโ่ ดยใช้หลักปรัชญำของ
เศรษฐกิจพอเพียงตำมพระรำชด�ำรสั ของ
พระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ วั รัชกำลท ี่ ๙
รจู้ ักอดออมไว้ใช้เมอ่ื ยำมจำ� เปน็
มไี ว้พอกินพอใช้ ถ้ำเหลือก็แจกจ่ำยจ�ำหนำ่ ย
และพรอ้ มทจ่ี ะขยำยกิจกำรเมอ่ื มีควำมพรอ้ ม
เมอ่ื มีภมู ิคุ้มกันทีด่ ี
๑๑. มคี วำมเขม้ แขง็ ทั้งร่ำงกำยและจติ ใจ
ไม่ยอมแพต้ อ่ อ�ำนำจฝำ ยต�่ำหรอื กเิ ลส
มีควำมละอำยเกรงกลัวตอ่ บำป
ตำมหลกั ของศำสนำ
๑๒. คำ� นงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวมและของชำติ
มำกกว่ำผลประโยชน์ของตนเอง

124 แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ขอ้ สงั เกต/ควำมคดิ เหน็ จำกกำรดำ� เนนิ งำน........................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................ผู้รำยงำน
(...................................................)
วันท่ี......................................................

¤‹Ò¹ÔÂÁËÅ¡Ñ ¢Í§¤¹ä·Â ñò »ÃСÒÃ

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 125

126 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตัวอย่าง

ตารางที่ ๔.๒ แบบสรปุ แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู ผลการพฒั นาและประเมนิ คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ชน้ั ...........................ปก ารศกึ ษา..................

คา่ นยิ ม ตวั ชี้วัด แหลง่ ท่มี าของข้อมลู
๑. รักชำติ ศำสนำ ๑.๑ ส�ำนกึ และภมู ิใจในควำมเป็นไทย
พระมหำกษตั รยิ ์ บูรณาการกลมุ่ สาระฯ บูรณาการกิจกรรม สอดแทรก จัดท�าโครงการปลูกฝง
พฒั นาผู้เรยี น ในกจิ วตั รประจา� วนั และพัฒนาค่านิยมฯ

- ศิลปะหนว่ ยกำรเรยี นรู้ แนะแนว กิจกรรม กิจกรรมหน้ำเสำธง เช่น - รกั ษภ์ ำษำไทย
“ประเพณเี ข้ำพรรษำ” “งำมอย่ำงไทย” เข้ำแถวร้องเพลงชำต ิ - วยั ใส ใส่ใจ
- สงั คมศึกษำ ลกู เสือ กิจกรรม........... เคำรพธงชำติ สวดมนต์ ควำมเปน็ ไทย
หน่วยกำรเรียนรู ้ ชมุ นมุ กจิ กรรม........... หรือท�ำพธิ กี รรม - ภูมปิ ัญญำไทย
............................... ทำงศำสนำ น้องไหวพ้ ่ี บนพื้นฐำนเศรษฐกิจ
- ภำษำไทย พีร่ บั ไหวน้ อ้ ง พอเพียง
หน่วยกำรเรยี นร ู้ นกั เรียนไหวค้ รู
............................... ครรู บั ไหว้นักเรียน ฯลฯ

๑.๒ เข้ำใจ เล่ือมใสหลักศำสนำทต่ี นนับถือ ...................................... ...................................... ...................................... ......................................
...................................... ...................................... ...................................... ......................................

๑.๓ ซำบซ้งึ ในพระมหำกรณุ ำธคิ ุณของ ...................................... ...................................... ...................................... ......................................
สถำบันพระมหำกษตั ริย์ ...................................... ...................................... ...................................... ......................................

... .................................................................. ...................................... ...................................... ...................................... ......................................

หมายเหตุ หำกโรงเรียนมกี ิจกรรมนอกเหนอื จำกตวั อยำ่ งน้กี ็สำมำรถเพ่มิ เติมได้ตำมบรบิ ทของโรงเรียน

ตวั อย่าง

ตารางที่ ๔.๓ แบบสรปุ ผลการประเมนิ ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ชอื่ -นำมสกลุ ................................................เลขประจำ� ตวั ....................ชน้ั ................โรงเรยี น....................................................................ปก ำรศกึ ษำ......................

ค�าชแ้ี จง ๑. สรุปผลรำยภำคเรียน
๑.๑ น�ำผลกำรประเมินรำยตัวชี้วัดของผู้เรียนรำยบุคคลจำกแหล่งข้อมูลตำมตำรำงท่ี ๔.๒ มำพิจำรณำว่ำผ่ำนทุกกิจกรรมหรือไม่ ถ้ำผ่ำน
ครบทกุ กจิ กรรมใหท้ ำ� เคร่ืองหมำย  ลงในช่องตวั ชว้ี ดั นั้น
๑.๒ น�ำผลกำรประเมินตัวชี้วัดของค่ำนิยมแต่ละข้อมำพิจำรณำว่ำผ่ำนทุกตัวช้ีวัดหรือไม่ หำกผู้เรียนผ่ำนทุกตัวชี้วัดให้ท�ำเคร่ืองหมำย 
ลงในชอ่ งผลกำรประเมนิ คำ่ นยิ มขอ้ นั้น
๒. สรุปผลรำยป ใหใ้ ชผ้ ลกำรประเมนิ ค่ำนิยมของภำคเรียนท ี่ ๒ ถำ้ ผ่ำนจึงท�ำเคร่อื งหมำย  ลงในชอ่ งสรปุ รำยป

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 127 คา่ นิยม ตัวชี้วัด ภาคเรยี นท่ี สรปุ ผลรายป
๑๒
๑. มีควำมรกั ชำต ิ ศำสนำ ๑.๑ ส�ำนึกและภมู ิใจในควำมเปน็ ไทย 
พระมหำกษัตรยิ ์ ๑.๒ เข้ำใจเลื่อมใสหลักศำสนำท่ีตนนับถือ 
๑.๓ ซำบซ้ึงในพระมหำกรุณำธิคณุ ของสถำบนั พระมหำกษัตริย ์ 
๒. ซอื่ สตั ย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มกำรณ์ 
ในส่งิ ทด่ี ีงำมเพอ่ื ส่วนรวม ผลกำรประเมนิ คำ่ นยิ มข้อ ๑ 
๒.๑ พูดควำมจรงิ ปฏิบตั ิตำมค�ำพดู ของตนเอง ตรงไปตรงมำ ไมค่ ดโกง
๒.๒ แบง่ ปันหรือใหค้ วำมช่วยเหลอื ผอู้ ่ืนและสว่ นรวมดว้ ยทรัพยส์ ิน กำ� ลังกำย
ค�ำพดู และควำมคดิ โดยไมห่ วังผลตอบแทน
๒.๓ ไม่ท้อถอย ใสใ่ จ จดจ่อกับส่งิ ตำ่ ง ๆ ได้เปน็ เวลำนำน ยนื หยดั ในสง่ิ ที่ถกู ตอ้ ง
และควบคุมกำรแสดงออกทำงกำย วำจำ และอำรมณ์ เม่อื ประสบกบั
ควำมยำกล�ำบำก
๒.๔ มแี นวคิด หลกั กำรในกำรปฏิบตั สิ ิ่งที่ดงี ำมเพอ่ื ส่วนรวม

ผลกำรประเมนิ คำ่ นยิ มขอ้ ๒

128 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ คา่ นยิ ม ตัวชวี้ ัด ภาคเรยี นท่ี สรุปผลรายป
๑๒

๓. กตญั ตู ่อพอ่ แม ่ ผ้ปู กครอง ๓.๑ รูบ้ ุญคุณและตอบแทนบุญคุณพ่อแม ่ ผูป้ กครอง และครูอำจำรย์
ครูบำอำจำรย์ ผลกำรประเมนิ ค่ำนิยมข้อ ๓

๔. ใฝหำควำมร ู้ หม่นั ศกึ ษำเล่ำเรยี น ๔.๑ ตง้ั ใจเพียรพยำยำมในกำรศึกษำเล่ำเรียน
ท้งั ทำงตรงและทำงออ้ ม ๔.๒ แสวงหำควำมรู้ทงั้ ในและนอกโรงเรยี น

๕. รกั ษำวฒั นธรรมประเพณไี ทย ผลกำรประเมนิ คำ่ นิยมข้อ ๔
อันงดงำม ๕.๑ ปฏบิ ัตติ นตำมวัฒนธรรมประเพณไี ทยดว้ ยควำมภำคภมู ใิ จ
๕.๒ เขำ้ รว่ มกจิ กรรมทำงวัฒนธรรมประเพณไี ทย
๖. มีศลี ธรรม รักษำควำมสตั ย ์ ๕.๓ เปน็ แบบอยำ่ งทดี่ ใี นกำรปฏบิ ตั ติ นเพ่อื อนรุ ักษ์วฒั นธรรมประเพณีไทย
หวังดตี ่อผูอ้ ื่น เผอื่ แผแ่ ละแบ่งปนั ๕.๔ สบื ทอดวัฒนธรรมประเพณีไทยใหย้ ่งั ยนื คงอยตู่ อ่ ไป

๗. เขำ้ ใจเรยี นรกู้ ำรเป็นประชำธิปไตย ผลกำรประเมินค่ำนิยมข้อ ๕
อนั มพี ระมหำกษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ๖.๑ ปฏิบตั ิตนตำมขอ้ ปฏิบตั ทิ ด่ี ีงำม
ทถี่ กู ต้อง ๖.๒ รักษำคำ� พูด
๖.๓ ปรำรถนำด ี มีควำมจรงิ ใจตอ่ ผูอ้ ืน่
๘. มรี ะเบยี บวินยั เคำรพกฎหมำย ๖.๔ ร้จู ักให้และแบ่งปันแก่ผ้อู ื่น
ผ้นู ้อยรู้จักกำรเคำรพผู้ใหญ่
ผลกำรประเมินค่ำนยิ มข้อ ๖
๗.๑ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตำมสิทธิและหนำ้ ทีข่ องตน เคำรพสิทธแิ ละหนำ้ ที่
ของผูอ้ นื่ ภำยใตร้ ะเบยี บและกฎหมำย
๗.๒ ประพฤติปฏบิ ัติตนโดยยดึ แนวทำงกำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตย
อันมีพระมหำกษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ

ผลกำรประเมินคำ่ นิยมข้อ ๗
๘.๑ มีระเบยี บวินัย
๘.๒ เคำรพกฎหมำย
๘.๓ เคำรพผใู้ หญ่

ผลกำรประเมินค่ำนยิ มขอ้ ๘

คา่ นยิ ม ตัวชีว้ ดั ภาคเรยี นที่ สรุปผลรายป
๑๒

๙. มีสตริ ้ตู ัว รู้คดิ รู้ทำ� รปู้ ฏบิ ัตติ ำม ๙.๑ ดำ� เนินชวี ติ อย่ำงมีสติรตู้ วั ร้คู ดิ รทู้ ำ� รู้ปฏิบัติ
พระรำชดำ� รัสของพระบำทสมเดจ็
พระเจ้ำอยู่หวั รัชกำลท่ี ๙ ผลกำรประเมินคำ่ นิยมขอ้ ๙
๑๐. รจู้ ักด�ำรงตนอย่โู ดยใช้หลักปรชั ญำของ ๑๐.๑ มีควำมพอประมำณ
เศรษฐกิจพอเพียงตำมพระรำชด�ำรัสของ ๑๐.๒ มเี หตุผล
พระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยู่หัว รัชกำลท่ ี ๙ ๑๐.๓ มภี มู ิคมุ้ กันในตัวที่ดี
รจู้ กั อดออมไวใ้ ช้เม่อื ยำมจำ� เปน็ มีไว้
พอกินพอใช้ ถำ้ เหลือกแ็ จกจ่ำยจ�ำหน่ำย
และพรอ้ มท่จี ะขยำยกิจกำร
เมือ่ มีควำมพร้อม เม่อื มีภูมิค้มุ กนั ท่ีดี ผลกำรประเมนิ ค่ำนิยมขอ้ ๑๐
แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 129
๑๑. มคี วำมเข้มแขง็ ทั้งร่ำงกำยและจิตใจ ๑๑.๑ มีสขุ ภำพร่ำงกำยสมบูรณ์แขง็ แรง
ไม่ยอมแพต้ อ่ อ�ำนำจฝำยต�ำ่ หรือกเิ ลส ๑๑.๒ มจี ิตใจท่ีเข้มแข็ง มั่นคง
มีควำมละอำยเกรงกลวั ตอ่ บำป ๑๑.๓ มคี วำมละอำยเกรงกลัวตอ่ บำป
ตำมหลกั ของศำสนำ ผลกำรประเมนิ คำ่ นิยมข้อ ๑๑
๑๒. คำ� นงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องสว่ นรวม ๑๒.๑ ปฏิบัติตนโดยคำ� นึงถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวมและประเทศชำติ
และของชำตมิ ำกกวำ่ ผลประโยชน์ ๑๒.๒ เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพ่ือรักษำประโยชน์ส่วนรวม
ของตนเอง
ผลกำรประเมินค่ำนยิ มขอ้ ๑๒

ลงชือ่ .................................................ผ้รู ำยงำน
(.................................................)
ต�ำแหนง่ .............................................
วันท่.ี ..................................................

130 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตวั อยา่ ง

ตารางท่ี ๔.๔ แบบสรุปผลการประเมินคา่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ระดบั หอ้ งเรยี น

ชน้ั .....................................โรงเรยี น.................................................................................ภำคเรยี นท.ี่ .................................................ปก ำรศกึ ษำ..........................

คา� ชี้แจง นำ� ผลกำรประเมนิ คำ่ นยิ มแตล่ ะขอ้ ของผเู้ รยี นรำยบคุ คลจำกตำรำงท ี่ ๔.๓ มำบนั ทกึ ลงในตำรำงนเี้ พอื่ สรปุ เปน็ ระดบั หอ้ งเรยี นโดยทำ� เครอ่ื งหมำย 
ลงในช่องคำ่ นิยมทผี่ ่ำน

เลขท่ี ชอื่ -นามสกลุ คา่ นิยม/ขอ้ ท่ี
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒







ลงชือ่ .................................................ผู้รำยงำน
(.................................................)
ตำ� แหน่ง.............................................
วนั ท.่ี ..................................................

เอกสารอา้ งอิง

กระทรวงศึกษำธกิ ำร. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. พิมพค์ รงั้ ที่ ๒. กรุงเทพมหำนคร :
โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ำรเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กดั . ๒๕๕๓.

กิตติชัย สุธำสิโนบล. แนวทางการพัฒนาค่านิยม ๑๒ ประการ สู่การปฏิบัติ. เอกสำรประกอบกำรบรรยำย
ประชุมเชิงปฏิบัติกำรจัดท�ำแนวทำงกำรพัฒนำและประเมินค่ำนิยมหลักของเด็กไทย ๑๒ ประกำร.
ระหว่ำงวันที่ ๑๖-๑๙ กันยำยน ๒๕๕๗. กรุงเทพมหำนคร : ส�ำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน.

พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งท่ี ๖. กรุงเทพมหำนคร :
สำ� นักพมิ พแ์ หง่ จุฬำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัย, ๒๕๕๖.

นำตยำ ปลันธนำนนท์. “บทบาทของทฤษฎีการกระจ่างค่านิยมกับการศึกษา”, วารสารครุศาสตร์. ๑๑ (๔) :
๓๔-๔๒; เมษำยน-มิถุนำยน, ๒๕๒๖.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมำรุต พัฒผล. การสร้างเคร่ืองมือประเมินค่านิยม ๑๒ ประการ. เอกสำรประกอบกำรประชุม
ก�ำหนดกรอบและจัดท�ำนิยำม ตัวช้ีวัด ค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ระหว่ำงวันท่ี ๑๘-๒๒
สิงหำคม ๒๕๕๗. กรุงเทพมหำนคร : ส�ำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำร
กำรศึกษำขัน้ พ้ืนฐำน.

______. การจดั การเรยี นรทู้ เ่ี สรมิ สรา้ งคา่ นยิ ม ๑๒ ประการ. เอกสำรประกอบกำรบรรยำยกำรประชมุ พฒั นำและปรบั ปรงุ
แนวทำงกำรพัฒนำและประเมนิ ค่ำนยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร. ระหว่ำงวันท ่ี ๑๔-๑๙ ธนั วำคม ๒๕๕๗.
กรุงเทพมหำนคร : สำ� นกั วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ส�ำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน.

รำชบัณฑิตยสถำน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหำนคร : นำนมีบุคส์
พบั ลิเคชนั่ ส,์ ๒๕๔๖.

______. ศพั ทศ์ กึ ษาศาสตร์. กรงุ เทพมหำนคร : รำชบัณฑิตยสถำน, ๒๕๕๕.
ศูนย์พัฒนำกำรนิเทศและเร่งรัดคุณภำพกำรศึกษำ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน. แนวทางการนิเทศ

เพื่อส่งเสริมการสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพมหำนคร :
โรงพิมพ์องคก์ ำรสงเครำะหท์ หำรผำ่ นศกึ , ๒๕๕๘.
ส�ำนักทดสอบทำงกำรศึกษำ. คู่มือการประเมินนักเรียนเพ่ือรับรางวัลพระราชทาน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน.
พมิ พ์คร้ังที่ ๓. กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์กำรเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด, ๒๕๕๖.
ส�ำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ. แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. พิมพ์คร้ังท่ี ๑. กรุงเทพมหำนคร :
โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์กำรเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กัด, ๒๕๕๓.
______. แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรียน. กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตร
แหง่ ประเทศไทย จำ� กัด, ๒๕๕๑.
Krathwohl, D.R., Bloom, B.S., & Masia, B.B. Taxonomy of education objectives, the Classification of
education goals. Handbook II : Affective domain. New York : David McKay Co., Inc., 1973.
Raths, L., E., Harmin Merill and Simon Sidney B. Values and Teaching. Charles E. Merill Publishing Co.,
1966.
ข้อมูลเวบ็ ไซต์
http://esvector.com/home_es/images/stories/logo/02-15/kajung2558.jpg
http://www.seesketch.com/sketch_file/22/eay4oI9hl3SFv.jpg
http://nicha.in.th/wp-content/uploads/2015/12/BargesPattern.jpg
http://www.salartuy.com/wp-content/uploads/2014/07/salosawshing.gif

แนวทางการพัฒนาและประเมินคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 131

ภาคผนวก

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทัง้ ๘ ประกำร ไดแ้ ก ่
๑) รักชำต ิ ศำสน ์ กษัตรยิ ์
๒) ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ
๓) มวี ินยั
๔) ใฝเรียนรู้
๕) อย่อู ยำ่ งพอเพยี ง
๖) มงุ่ ม่นั ในกำรทำ� งำน
๗) รักควำมเปน็ ไทย
๘) มจี ติ สำธำรณะ

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 133

นยิ าม ตัวช้วี ดั พฤตกิ รรมบงชี้

ข้อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์

นิยาม
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมำยถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงกำรเป็นพลเมืองดีของชำติ ธ�ำรงไว้

ซ่งึ ควำมเป็นชำติไทย ศรัทธำ ยดึ ม่ันในศำสนำ และเคำรพเทิดทนู สถำบันพระมหำกษัตริย์
ผู้ทีร่ กั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ คอื ผ้ทู ี่มีลักษณะซึง่ แสดงออกถงึ กำรเป็นพลเมืองดีของชำติ มีควำมสำมคั คี

ปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูควำมเป็นชำติไทย ปฏิบัติตนตำมหลักศำสนำท่ีตนนับถือ และแสดงควำมจงรักภักดี
ตอ่ สถำบนั พระมหำกษัตรยิ ์

ตวั ชว้ี ดั และพฤติกรรมบ่งช้ี พฤตกิ รรมบ่งชี้
๑.๑.๑ ยืนตรงเคำรพธงชำต ิ ร้องเพลงชำติ และ
ตวั ชวี้ ัด
๑.๑ เป็นพลเมอื งดีของชำติ อธิบำยควำมหมำยของเพลงชำตไิ ด้ถกู ต้อง
๑.๑.๒ ปฏิบตั ิตนตำมสทิ ธิและหนำ้ ที่พลเมืองดี
๑.๒ ธำ� รงไว้ซ่ึงควำมเป็นชำติไทย
ของชำติ
๑.๓ ศรัทธำ ยดึ มัน่ และปฏิบตั ติ นตำมหลกั ๑.๑.๓ มีควำมสำมคั คี ปรองดอง
ของศำสนำ ๑.๒.๑ เข้ำร่วม ส่งเสริมสนับสนุนกจิ กรรมที่สร้ำง

๑.๔ เคำรพเทิดทูนสถำบนั พระมหำกษตั รยิ ์ ควำมสำมัคคี ปรองดอง ท่ีเปน็ ประโยชน์ตอ่
โรงเรียน ชุมชน และสังคม
๑.๒.๒ หวงแหน ปกปอง ยกย่องควำมเป็นชำตไิ ทย

๑.๓.๑ เขำ้ ร่วมกิจกรรมทำงศำสนำท่ีตนนับถือ
๑.๓.๒ ปฏบิ ัติตนตำมหลักของศำสนำที่ตนนบั ถือ
๑.๓.๓ เป็นแบบอย่ำงที่ดีของศำสนกิ ชน

๑.๔.๑ เขำ้ ร่วมและมสี ่วนรว่ มในกำรจดั กจิ กรรม
ที่เกีย่ วกบั สถำบันพระมหำกษัตรยิ ์

๑.๔.๒ แสดงควำมสำ� นึกในพระมหำกรุณำธคิ ุณ
ของพระมหำกษตั รยิ ์

๑.๔.๓ แสดงออกซึง่ ควำมจงรักภักดตี ่อ
สถำบนั พระมหำกษัตรยิ ์

134 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ขอ้ ท่ี ๒ ซ่อื สัตยส์ จุ ริต

นิยาม
ซ่ือสัตย์สุจริต หมำยถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงกำรยึดมั่นในควำมถูกต้อง ประพฤติตรงตำม

ควำมเป็นจริงตอ่ ตนเองและผู้อื่น ทัง้ ทำงกำย วำจำ ใจ
ผู้ที่มีความซ่ือสัตย์สุจริต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตำมควำมเป็นจริงท้ังทำงกำย วำจำ ใจ และยึดหลัก

ควำมจริง ควำมถกู ต้องในกำรดำ� เนนิ ชีวติ มคี วำมละอำยและเกรงกลัวตอ่ กำรกระท�ำผิด

ตวั ชว้ี ดั และพฤตกิ รรมบง่ ชี้ พฤตกิ รรมบ่งชี้
๒.๑.๑ ใหข้ อ้ มลู ทีถ่ กู ตอ้ งและเป็นจรงิ
ตวั ชว้ี ัด ๒.๑.๒ ปฏิบตั ิตนโดยค�ำนึงถึงควำมถูกต้อง ละอำย
๒.๑ ประพฤตติ รงตำมควำมเปน็ จรงิ ตอ่ ตนเอง
และเกรงกลวั ต่อกำรกระทำ� ผิด
ทงั้ ทำงกำย วำจำ ใจ ๒.๑.๓ ปฏบิ ตั ติ ำมคำ� ม่ันสญั ญำ

๒.๒ ประพฤตติ รงตำมควำมเป็นจรงิ ต่อผอู้ น่ื ๒.๒.๑ ไม่ถือเอำสิ่งของหรือผลงำนของผอู้ นื่
ทงั้ ทำงกำย วำจำ ใจ มำเปน็ ของตนเอง

๒.๒.๒ ปฏิบัตติ นตอ่ ผอู้ ืน่ ด้วยควำมซ่อื ตรง
๒.๒.๓ ไมห่ ำประโยชนใ์ นทำงท่ไี มถ่ ูกตอ้ ง

ขอ้ ที่ ๓ มวี นิ ัย

นยิ าม
มีวินัย หมำยถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงกำรยึดม่ันในข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ

ของครอบครวั โรงเรียน และสังคม
ผทู้ มี่ วี นิ ยั คอื ผทู้ ป่ี ฏบิ ตั ติ นตำมขอ้ ตกลง กฎเกณฑ ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั โรงเรยี น และสงั คม

เปน็ ปกตวิ ิสัย ไม่ละเมดิ สทิ ธขิ องผอู้ ืน่

ตัวช้ีวดั และพฤตกิ รรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบ่งช้ี
๓.๑.๑ ปฏิบัตติ นตำมข้อตกลง กฎเกณฑ ์ ระเบียบ
ตัวช้ีวัด
๓.๑ ปฏิบัติตำมข้อตกลง กฎเกณฑ ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครัว โรงเรยี น และสงั คม
ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อ่นื
ข้อบงั คบั ของครอบครวั โรงเรยี น และสงั คม ๓.๑.๒ ตรงตอ่ เวลำในกำรปฏิบตั ิกิจกรรมตำ่ ง ๆ
ในชีวติ ประจำ� วนั และรบั ผิดชอบ
ในกำรทำ� งำน

แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 135

ข้อที่ ๔ ใฝเ รียนรู้

นยิ าม
ใฝเรียนรู้ หมำยถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงควำมตั้งใจ เพียรพยำยำมในกำรเรียน แสวงหำควำมรู้

จำกแหลง่ เรยี นรู้ท้งั ภำยในและภำยนอกโรงเรียน
ผู้ที่ใฝเรียนรู้ คือ ผู้ท่ีมีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงควำมต้ังใจ เพียรพยำยำมในกำรเรียน และเข้ำร่วม

กิจกรรมกำรเรียนรู้ แสวงหำควำมรู้จำกแหล่งเรียนรู้ทั้งภำยในและภำยนอกโรงเรียนอย่ำงสม�่ำเสมอ ด้วย
กำรเลือกใช้สื่ออย่ำงเหมำะสม บันทึกควำมรู้ วิเครำะห์ สรุปเป็นองค์ควำมรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ำยทอด
เผยแพร่ และน�ำไปใช้ในชวี ิตประจ�ำวนั ได้

ตวั ช้ีวัดและพฤตกิ รรมบง่ ชี้

ตัวชว้ี ัด พฤติกรรมบง่ ช้ี
๔.๑ ต้งั ใจ เพยี รพยำยำมในกำรเรยี นและเข้ำร่วม ๔.๑.๑ ต้งั ใจเรียน
๔.๑.๒ เอำใจใส่และมีควำมเพยี รพยำยำม
กจิ กรรมกำรเรียนร้ ู
ในกำรเรยี นรู้
๔.๒ แสวงหำควำมรจู้ ำกแหล่งเรยี นรู้ตำ่ ง ๆ ๔.๑.๓ สนใจเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกำรเรยี นรตู้ ่ำง ๆ
ท้ังภำยในและภำยนอกโรงเรียน ด้วยกำรเลอื ก
ใชส้ ่ืออยำ่ งเหมำะสม บันทึกควำมรู้ วเิ ครำะห ์ ๔.๒.๑ ศึกษำค้นคว้ำหำควำมรจู้ ำกหนังสอื เอกสำร
สรุปเปน็ องคค์ วำมรู้ และสำมำรถนำ� ไปใช้ สิ่งพมิ พ์ ส่ือเทคโนโลยตี ่ำง ๆ แหลง่ เรยี นรู้
ในชวี ติ ประจำ� วนั ได ้ ทงั้ ภำยในและภำยนอกโรงเรียน และเลอื กใช้
สอ่ื ไดอ้ ย่ำงเหมำะสม

๔.๒.๒ บนั ทกึ ควำมร ู้ วเิ ครำะห ์ ตรวจสอบจำก
สง่ิ ทเ่ี รียนร ู้ สรปุ เปน็ องคค์ วำมรู้

๔.๒.๓ แลกเปลี่ยนควำมรูด้ ้วยวิธกี ำรต่ำง ๆ และ
นำ� ไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน

136 แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ข้อท่ี ๕ อยอู่ ยา่ งพอเพียง

นิยาม
อยู่อย่างพอเพียง หมำยถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงกำรด�ำเนินชีวิตอย่ำงพอประมำณ มีเหตุผล

รอบคอบ มีคุณธรรม มภี มู ิคุม้ กันในตัวท่ีดี และปรบั ตวั เพ่อื อยใู่ นสงั คมได้อยำ่ งมีควำมสขุ
ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ท่ีด�ำเนินชีวิตอย่ำงประมำณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วม

กับผู้อ่ืนด้วยควำมรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน เห็นคุณค่ำของทรัพยำกรต่ำง ๆ มีกำรวำงแผนปองกัน
ควำมเส่ียง และพร้อมรบั ควำมเปล่ียนแปลง

ตัวชวี้ ดั และพฤติกรรมบง่ ช้ี พฤติกรรมบ่งช้ี
๕.๑.๑ ใชท้ รัพยส์ ินของตนเอง เชน่ เงิน สิ่งของ
ตวั ช้วี ดั
๕.๑ ด�ำเนนิ ชีวติ อย่ำงพอประมำณ มเี หตุผล เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อยำ่ งประหยัด คุ้มค่ำ และ
เกบ็ รกั ษำดแู ลอย่ำงด ี รวมทง้ั กำรใช้เวลำ
รอบคอบ มีคณุ ธรรม อย่ำงเหมำะสม
๕.๑.๒ ใช้ทรพั ยำกรของส่วนรวมอยำ่ งประหยดั
๕.๒ มภี ูมิคุ้มกนั ในตัวทด่ี ี ปรบั ตัวเพ่ืออยู่ในสังคม คุม้ ค่ำ และเก็บรกั ษำดูแลอย่ำงด ี
ไดอ้ ย่ำงมคี วำมสขุ ๕.๑.๓ ปฏบิ ตั ิตนและตดั สนิ ใจดว้ ยควำมรอบคอบ
มเี หตผุ ล
๕.๑.๔ ไมเ่ อำเปรยี บผอู้ ่นื และไมท่ �ำใหผ้ ู้อ่ืนเดือดร้อน
พร้อมใหอ้ ภัยเมื่อผู้อ่ืนกระทำ� ผิดพลำด

๕.๒.๑ วำงแผนกำรเรยี น กำรท�ำงำน และ
กำรใชช้ ีวติ ประจำ� วนั บนพ้ืนฐำน
ของควำมรู ้ ข้อมูลขำ่ วสำร

๕.๒.๒ รู้เท่ำทนั กำรเปล่ียนแปลงของสังคม
และสภำพแวดลอ้ ม ยอมรบั และปรับตวั
เพือ่ อยู่รว่ มกับผู้อืน่ ไดอ้ ย่ำงมคี วำมสุข

แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 137

ข้อที่ ๖ มงุ่ มนั่ ในการท�างาน

นยิ าม
มุ่งม่ันในการท�างาน หมำยถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงควำมตั้งใจและรับผิดชอบในกำรท�ำหน้ำท่ี

กำรงำนด้วยควำมเพยี รพยำยำม อดทน เพ่อื ให้งำนส�ำเร็จตำมเปำหมำย
ผู้ท่ีมุ่งม่ันในการท�างาน คือ ผู้ท่ีมีลักษณะซ่ึงแสดงออกถึงควำมตั้งใจปฏิบัติหน้ำท่ีที่ได้รับมอบหมำย

ด้วยควำมเพยี รพยำยำม ทุม่ เทก�ำลังกำย ก�ำลงั ใจ ในกำรปฏิบตั กิ จิ กรรมตำ่ ง ๆ ใหส้ ำ� เร็จลลุ ่วงตำมเปำหมำย
ท่กี �ำหนดดว้ ยควำมรบั ผดิ ชอบ และมีควำมภำคภมู ใิ จในผลงำน

ตวั ชี้วัดและพฤตกิ รรมบ่งชี้

ตัวชีว้ ดั พฤตกิ รรมบง่ ช้ี

๖.๑ ต้ังใจและรบั ผิดชอบในกำรปฏิบัตหิ น้ำทกี่ ำรงำน ๖.๑.๑ เอำใจใสต่ ่อกำรปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ที ่ีไดร้ ับมอบหมำย
๖.๑.๒ ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบในกำรท�ำงำนให้ส�ำเรจ็
๖.๑.๓ ปรับปรุงและพัฒนำกำรทำ� งำนดว้ ยตนเอง

๖.๒ ทำ� งำนด้วยควำมเพยี รพยำยำมและอดทน ๖.๒.๑ ทมุ่ เททำ� งำน อดทน ไม่ย่อทอ้ ตอ่ ปญั หำ
เพอื่ ให้งำนสำ� เรจ็ ตำมเปำ หมำย และอุปสรรคในกำรท�ำงำน

๖.๒.๒ พยำยำมแก้ปญั หำและอุปสรรคในกำรทำ� งำน
ให้ส�ำเร็จ

๖.๒.๓ ชื่นชมผลงำนดว้ ยควำมภำคภมู ใิ จ

138 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ขอ้ ที่ ๗ รักความเปนไทย

นิยาม
รักความเปน ไทย หมำยถงึ คณุ ลักษณะที่แสดงออกถงึ ควำมภำคภูมิใจ เห็นคณุ ค่ำ รว่ มอนุรกั ษ ์ สบื ทอด

ภูมิปัญญำไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภำษำไทยในกำรสื่อสำรได้อย่ำงถูกต้อง
และเหมำะสม

ผู้ที่รักความเปนไทย คือ ผู้ท่ีมีควำมภำคภูมิใจ เห็นคุณค่ำ ชื่นชม มีส่วนร่วมในกำรอนุรักษ์ สืบทอด
เผยแพร่ภูมปิ ญั ญำไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย มีควำมกตัญูกตเวท ี ใช้ภำษำไทย
ในกำรสอื่ สำรอย่ำงถกู ตอ้ งเหมำะสม

ตัวชีว้ ัดและพฤติกรรมบ่งช้ี พฤตกิ รรมบง่ ชี้
๗.๑.๑ แต่งกำยและมีมำรยำทงดงำมแบบไทย
ตัวช้ีวัด
๗.๑ ภำคภูมิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณ ี ศิลปะ มีสัมมำคำรวะ กตญั กู ตเวทีตอ่ ผู้มีพระคุณ
๗.๑.๒ ร่วมกิจกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ประเพณี ศลิ ปะ
วฒั นธรรมไทย และมีควำมกตญั กู ตเวที
และวัฒนธรรมไทย
๗.๒ เหน็ คณุ ค่ำและใช้ภำษำไทยในกำรสอ่ื สำร ๗.๑.๓ ชกั ชวน แนะน�ำใหผ้ ู้อื่นปฏบิ ตั ติ ำม
ได้อย่ำงถูกตอ้ งเหมำะสม
ขนบธรรมเนียมประเพณ ี ศิลปะ และ
๗.๓ อนุรกั ษแ์ ละสืบทอดภมู ิปัญญำไทย วัฒนธรรมไทย
๗.๒.๑ ใช้ภำษำไทยและเลขไทยในกำรสอ่ื สำร
ได้อยำ่ งถกู ตอ้ งเหมำะสม
๗.๒.๒ ชกั ชวน แนะนำ� ให้ผอู้ น่ื เห็นคณุ ค่ำของกำรใช้
ภำษำไทยทีถ่ กู ต้อง

๗.๓.๑ น�ำภูมปิ ญั ญำไทยมำใช้ให้เหมำะสมกับวิถชี วี ิต
๗.๓.๒ ร่วมกจิ กรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั ภมู ปิ ัญญำไทย
๗.๓.๓ แนะน�ำ มีส่วนรว่ มในกำรสบื ทอด

ภมู ปิ ญั ญำไทย

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 139

ขอ้ ท่ี ๘ มจี ติ สาธารณะ

นยิ าม
มจี ติ สาธารณะ หมำยถึง คณุ ลกั ษณะท่ีแสดงออกถึงกำรมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมหรอื สถำนกำรณท์ ่ีกอ่ ให้

เกดิ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ น่ื ชมุ ชน และสังคม ดว้ ยควำมเต็มใจ กระตอื รอื รน้ โดยไม่หวงั ผลตอบแทน
ผทู้ มี่ จี ติ สาธารณะ คอื ผทู้ มี่ ลี กั ษณะเปน็ ผใู้ หแ้ ละชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ แบง่ ปนั ควำมสขุ สว่ นตนเพอื่ ทำ� ประโยชน์

แกส่ ว่ นรวม เขำ้ ใจ เหน็ ใจผทู้ ม่ี คี วำมเดอื ดรอ้ น อำสำชว่ ยเหลอื สงั คม อนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม ดว้ ยแรงกำย สตปิ ญั ญำ
ลงมอื ปฏิบัติเพ่อื แก้ปญั หำ หรอื ร่วมสร้ำงสรรคส์ ่งิ ท่ดี ีงำมใหเ้ กิดในชมุ ชน โดยไมห่ วงั ส่ิงตอบแทน

ตวั ชีว้ ัดและพฤติกรรมบ่งช้ี พฤติกรรมบ่งชี้
๘.๑.๑ ชว่ ยพ่อแม ่ ผู้ปกครอง ครูท�ำงำน
ตวั ช้วี ดั
๘.๑ ช่วยเหลอื ผ้อู ืน่ ดว้ ยควำมเตม็ ใจและพึงพอใจ ดว้ ยควำมเต็มใจ
๘.๑.๒ อำสำทำ� งำนใหผ้ ูอ้ ื่นด้วยกำ� ลังกำย ก�ำลังใจ
โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน
และก�ำลงั สตปิ ญั ญำ โดยไม่หวังผลตอบแทน
๘.๒ เขำ้ รว่ มกิจกรรมทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อโรงเรียน ๘.๑.๓ แบง่ ปนั สง่ิ ของ ทรัพยส์ นิ และอืน่ ๆ
ชมุ ชน และสงั คม
และชว่ ยแก้ปัญหำหรอื สรำ้ งควำมสุข
ให้กบั ผ้อู ่ืน

๘.๒.๑ ดแู ล รกั ษำสำธำรณสมบตั ิและส่งิ แวดลอ้ ม
ด้วยควำมเตม็ ใจ

๘.๒.๒ เขำ้ ร่วมกิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรียน
ชมุ ชน และสังคม

๘.๒.๓ เข้ำร่วมกจิ กรรมเพือ่ แก้ปญั หำหรอื ร่วมสรำ้ ง
สง่ิ ที่ดงี ำมของส่วนรวม ตำมสถำนกำรณ์
ท่ีเกิดข้นึ ดว้ ยควำมกระตือรือร้น

140 แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

แนวคดิ ทฤษฎพี ฒั นาการทเ่ี ก่ียวข้องกับการพฒั นาค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

กำรเสริมสร้ำงค่ำนิยมให้ประสบควำมส�ำเร็จจ�ำเป็นต้องน�ำองค์ควำมรู้เกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนำกำร
ทำงจริยธรรม พัฒนำกำรทำงควำมคิด และพฒั นำกำรทำงสงั คม ซงึ่ เปน็ องค์ประกอบหนึง่ ที่ส�ำคัญมำประกอบ
กำรพจิ ำรณำจดั กำรเรยี นร้ ู ดังรำยละเอียดตอ่ ไปนี้

แนวคดิ เกย่ี วกับพฒั นาการด้านคา่ นิยม ศลี ธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะ
พฒั นาการทางศลี ธรรมของเพยี เจต์

(Jean Piaget’s Moral Development)

ท่ีมา : ศูนย์พัฒนำกำรนิเทศและเร่งรัดคุณภำพกำรศึกษำ, แนวทำงกำรนิเทศเพื่อส่งเสริมกำรสร้ำงค่ำนิยมหลักของคนไทย
๑๒ ประกำร ระดบั ประถมศึกษำ, (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์กำรสงเครำะหท์ หำรผำ่ นศกึ , ๒๕๕๘), ๑๐-๒๓.

แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 141

เพียเจต์ ได้แบง่ พัฒนาการทางศลี ธรรมไว้ดงั น้ี
๑. ข้ันก่อนมีศีลธรรม (Pre-Moral) ช่วงอำยุก่อน ๕ ขวบ เป็นขั้นท่ียังไม่มีควำมสำมำรถรับรู้
ส่ิงแวดล้อมได้อยำ่ งละเอยี ด ไมเ่ ข้ำใจกฎเกณฑ์ พฤตกิ รรมขึ้นอยู่กับปัจจัยภำยนอก
๒. ข้ันยึดค�าสั่ง (Heteronomous) ช่วงอำยุประมำณ ๖-๙ ขวบ ในขั้นนี้เด็กจะรับรู้ส่ิงแวดล้อม
และบทบำทของตนเองต่อผู้อ่ืน พฤติกรรมต่ำง ๆ อยู่ใต้อิทธิพล กฎเกณฑ์ของผู้ใหญ่ เห็นว่ำค�ำส่ังหรือ
กฎเกณฑต์ ำ่ ง ๆ เปน็ สงิ่ ทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ำม เปลยี่ นแปลงไมไ่ ด ้ เดก็ ทม่ี พี ฒั นำกำรทำงจรยิ ธรรมขนั้ นไ้ี ดร้ บั กฎเกณฑ์
และมำตรฐำนทำงศลี ธรรมมำจำกบิดำ มำรดำ ครู และเดก็ โต เดก็ วยั นจ้ี ะมีควำมเชอื่ ถือดงั ต่อไปน้ี
๒.๑ พฤตกิ รรมใดจะถกู ต้องหรอื “ด”ี กต็ อ่ เม่อื ผูแ้ สดงพฤตกิ รรมไดป้ ฏิบัติตำมกฎเกณฑ์
๒.๒ กฎเกณฑ์มีไว้สำ� หรับปฏิบตั ติ ำมอย่ำงเครง่ ครัดและแกไ้ ขไมไ่ ด้
๒.๓ ทุกคนมหี น้ำที่ทีจ่ ะต้องปฏบิ ตั ิตำมกฎเกณฑ์โดยเด็ดขำด ถ้ำใครทำ� ตำมกฎเกณฑ์เป็น “คนด”ี
และคนทีไ่ มท่ ำ� ตำมกฎเกณฑ์ เปน็ “คนไมด่ ี”
๒.๔ กำรประเมินตัดสินว่ำใคร “ผิด” “ถูก” ไม่ค�ำนึงถึงควำมต้องกำร แรงจูงใจหรือเจตนำ
ของผกู้ ระทำ�
๓. ขั้นยดึ หลักแห่งตน (Autonomous) ช่วงอำยุตงั้ แต ่ ๙ ขวบขน้ึ ไป เด็กสำมำรถใช้ควำมคดิ อย่ำง
มีเหตุผลประกอบกำรตัดสินใจ และตั้งเกณฑ์ที่เป็นตัวของตัวเอง เน้นกำรร่วมมือ กฎ กติกำเปลี่ยนแปลงได้
ตำมสถำนกำรณ์ทยี่ อมรับร่วมกนั เดก็ ทมี่ ีพฒั นำกำรทำงศลี ธรรมข้ันนีจ้ ะมคี วำมเชือ่ ดังต่อไปน้ี
๓.๑ กฎเกณฑ์ คือ ข้อตกลงระหว่ำงบุคคล และกฎเกณฑ์อำจจะเปล่ียนได้ ถ้ำหำกบุคคลท่ีใช้
กฎเกณฑน์ ั้นตกลงกนั วำ่ จะเปล่ยี น
๓.๒ กฎเกณฑ์จะมคี วำมหมำยหรือมปี ระโยชน์ก็ต่อเม่ือบุคคลท่ีจะตอ้ งปฏบิ ตั ยิ อมรบั กฎเกณฑ์นนั้
๓.๓ กำรรว่ มมือ กำรยอมรบั นับถือซึง่ กันและกัน เปน็ เง่อื นไขสำ� คญั ของพฒั นำกำรทำงศลี ธรรม
๓.๔ กำรประเมนิ ตดั สนิ วำ่ ใคร “ผดิ ” “ถกู ” คำ� นงึ ถงึ ควำมตอ้ งกำร แรงจงู ใจหรอื เจตนำของผกู้ ระทำ�
เพยี เจต์ ไดเ้ สนอเกณฑก์ ารตัดสินเชงิ ศีลธรรมของเดก็ ไว้ ๖ ประการ คอื
๑. การตัดสินจากเจตนาการกระท�า เด็กเล็กจะตัดสินกำรกระท�ำจำกปริมำณส่ิงของ ส่วนเด็กโต
จะตดั สนิ จำกเจตนำของกำรกระท�ำ
๒. การตดั สนิ เกยี่ วโยงความสมั พนั ธก์ บั ผอู้ น่ื เดก็ เลก็ จะตดั สนิ กำรกระทำ� โดยยดึ เอำควำมเชอื่ ควำมเหน็
ของผ้ใู หญว่ ำ่ ดี ส่วนเด็กโตจะยดึ เอำเหตุผลและสถำนกำรณป์ ระกอบกำรตัดสิน
๓. ความเห็นอสิ ระจากการลงโทษ เดก็ เล็กจะตัดสนิ วำ่ กำรกระท�ำใดไมด่ ีจำกกำรถูกทำ� โทษ แต่เด็กโต
จะตัดสนิ กำรกระท�ำใดไม่ด ี เพรำะสงิ่ น้นั ไปขดั กับกฎเกณฑแ์ ละเกดิ อันตรำยตอ่ บคุ คลอ่นื
๔. ใชว้ ธิ กี ารแกแ้ ค้นเอาคืน วธิ นี ีเ้ ดก็ เล็กใช้นอ้ ยกว่ำเดก็ โต
๕. การลงโทษเพ่ือดัดนิสัย เด็กเล็กจะสนับสนุนกำรลงโทษอย่ำงหนักเพ่ือแก้นิสัย แต่เด็กโต
ไมค่ ่อยเห็นด้วย
๖. หลักชะตากรรมของความโชคร้าย เด็กเล็กจะถือว่ำกำรกระท�ำผิดจะต้องได้รับกำรลงโทษ
จำกฟำดนิ พระเจำ้ หรอื ผู้ทรงพลงั อ�ำนำจ
142 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ


Click to View FlipBook Version