The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunma Niyomdecha, 2020-12-07 04:10:16

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

แผนพัฒนาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจังหวดั ภาคใต้ฝัง่ อา่ วไทย
(พ.ศ. 2563-2565)

สิงหาคม ๒๕๖๓

คำนำ

สำนักงำนศึกษำธิกำรภำค 5 เป็นหน่วยงำน หลักในกำรพัฒนำด้ำนกำรศึกษำ
ระดับกลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝ่ังอ่ำวไทย และขับเคล่ือนกำรศึกษำในระดับภำคและจังหวัด
โดยกำรร่วมมือและบูรณำกำรกับหน่วยงำนในสังกัดหรือภำคส่วนอื่นท่ีเกี่ยวข้อง ตำมคำส่ัง
หัวหน้ำคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ท่ี 19/2560 เร่ือง กำรปฏิรูปกำรศึกษำในภูมิภำค
ของและประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง สถำนท่ีจัดตั้งสำนักงำนศึกษำธิกำรภำค สำนักงำน
ปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร ประกำศ ณ วันที่ 7 มีนำคม พ.ศ. 2562 ข้อ ๕ สำนักงำนศึกษำธิกำร
ภำค ๕ รับผิดชอบดำเนินงำนในพ้ืนท่ีจังหวัดชุมพร นครศรีธรรมรำช พัทลุง สุรำษฎร์ธำนี และสงขลำ
ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีกำรจัดทำแผนพัฒนำด้ำนกำรศึกษำระดับกลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝ่ังอ่ำวไทย
ให้สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนปฏิรูปประเทศ เพ่ือพัฒนำ
ด้ำนกำรศึกษำในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝั่งอ่ำวไทย ด้ำนที่เน้นกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วน
ซึ่งได้ทำกำรปรับปรุงข้อมูลในส่วนต่ำง ๆ ให้ทันสมัย และทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ รวมท้ั ง
กำรวิเครำะห์ควำมสอดคล้องและเช่ือมโยงกับยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนำ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบำยรัฐบำล แผนกำรศึกษำ
แห่งชำติ (พ.ศ. 2560-2579) เป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ย่ังยืน ยุทธศำสตร์ของกระทรวงศึกษำธิกำร
จุดเน้นเชิงนโยบำยของรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกลุ่มจังหวัด
และบริบทของพื้นที่ ตลอดจนสภำพปัญหำจำกกำรจัดกำรและพัฒนำกำรศึกษำของสำนักงำน
ศึกษำธิกำรภำค 5 ในระยะที่ผ่ำนมำ โดยยึดแนวทำงกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
เพื่อใหม้ ีควำมสมบรู ณย์ ่งิ ขึน้

สำนักงำนศึกษำธิกำรศึกษำธิกำรภำค 5 ขอขอบคุณผู้แทนหน่วยงำนทำงกำรศึกษำ
และหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องทุกภำคส่วนที่ให้ควำมร่วมมือในกำรทบทวนแผนให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
และหวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำแผนพัฒนำด้ำนกำรศึกษำระดับกลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝ่ังอ่ำวไทย (พ.ศ. 2563 -
2565) จะเป็นแนวทำงในกำรดำเนินงำนตำมภำรกิจของหน่วยงำน สถำนศึกษำในพ้ืนที่เพ่ือผลักดัน
ใหก้ ำรพฒั นำกำรศึกษำบรรลุเปำ้ หมำยอยำ่ งมีประสิทธิภำพตอ่ ไป

สำนกั งำนศึกษำธิกำรภำค 5



สารบัญ หน้า

คานา........................................................................................................................................................ก
สารบัญ ....................................................................................................................................................ข
บทสรปุ ผู้บรหิ าร .......................................................................................................................................จ
สว่ นท่ี 1 บรบิ ทท่ีเก่ียวขอ้ ง...................................................................................................................... 1

- ความเป็นมา..................................................................................................................................1
- สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม และความม่นั คง...........5
- ข้อมูลพ้ืนฐานด้านการศึกษา....................................................................................................... 13

สว่ นที่ 2 บรบิ ทท่ีเก่ียวขอ้ งด้านการศกึ ษา..............................................................................................25
- ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ................................................................................... 25
- แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ....................................................... 28

- แผนปฏริ ูปประเทศ ................................................................................................................... 40
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560 - 2564 .......................... 43
- นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี) ................................................. 47

- แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 .......................................................................... 50
- นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ................................ 53
- นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ................................ 55

- เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ัง่ ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs) ........................... 59
- แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ...................... 61
- แผนพัฒนาการศกึ ษาของสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564)........ 62

- แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ (พ.ศ. 2563 – 2565) ................................................... 63
- แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกระทรวงศึกษาธิการ ........................................... 66
- แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

(ฉบบั จัดทาคาของบประมาณรายจา่ ยประจาปี) ........................................................................ 67
- แผนพฒั นากล่มุ จังหวดั ภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ฉบบั ทบทวน ....... 68
- กรอบแนวคดิ และขัน้ ตอนการดาเนนิ การจดั ทาแผนพัฒนาการศึกษา ........................................ 69

- การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT) ........................................................................................... 72
สว่ นท่ี 3 แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 - 2565) .........80

- วิสัยทศั น์ ................................................................................................................................... 80

- พันธกิจ...................................................................................................................................... 80
- ประเด็นยุทธศาสตร์ ................................................................................................................. 80
- เปา้ ประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ...................................................................................................... 80

- กลยุทธ/์ มาตรการ .................................................................................................................... 81
- ตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ ................................................................................................ 83
ส่วนท่ี 4 การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสกู่ ารปฏิบัติ ...................................................... 94

สว่ นท่ี 5 การติดตาม ประเมินผลการขบั เคลอื่ นแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศกึ ษา ................................... 96
ภาคผนวก ......................................................................................................................................... 100



ตารางที่ สารบัญตาราง หน้า
1
2 พน้ื ทใี่ นกลมุ่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย .................................................................................3
3 จงั หวดั อาเภอ ตาบล ในกลมุ่ จังหวัดภาคใต้ฝ่งั อ่าวไทย .......................................................4
4 จานวนประชากรของกลุ่มจังหวัดเปรยี บเทียบกบั ภาคใตแ้ ละประเทศ .................................5
5 กาลงั แรงงานรวม ................................................................................................................6
6 อตั ราการว่างงานรวม ..........................................................................................................7
7 จานวนปีการศึกษาเฉลย่ี ของประชากรอายุ 15 - 59 ปี .....................................................7
8 จานวนคนจน และสัดส่วนคนจนของภาคใตใ้ นชว่ ง ปี 2556–2559 ................................8
9
10 ประเภทแหล่งท่องเทย่ี ว ......................................................................................................9
ข้อมูลสถานศกึ ษา ผูเ้ รยี น และ ครู จาแนกตามสังกัด ปีการศกึ ษา 2562 ........................ 12
11 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

12 ระหวา่ งปีการศึกษา 2558 – 2562 จาแนกรายจงั หวัด ............................................... 14
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
13 ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2558 - 2562 จาแนกรายจังหวัด ................................................ 15

14 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2558 - 2562 จาแนกรายจังหวดั ................................................ 16
15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นอาชวี ศกึ ษา (V-net)

16 ระหว่างปีการศึกษา 2558 – 2562 จาแนกระดับการศกึ ษาและรายจังหวัด ................ 17
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET)
17 ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2561 – 2562 จาแนกรายจงั หวดั และระดบั การศึกษา ................ 18

18 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (I-NET)
ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2557 – 2562 จาแนกรายจังหวัดและระดับการศึกษา ................ 20
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ ้านพระพุทธศาสนา (B-NET)

ระหว่างปกี ารศึกษา 2560 - 2562 จาแนกรายจังหวดั และระดบั การศึกษา ................. 22
จานวนปีการศึกษาเฉลย่ี ของประชากรอายรุ ะหวา่ ง 15 - 59 ปี จาแนกตามจงั หวัด
ระหวา่ งปี พ.ศ. 2558 - 2562 ..................................................................................... 23

สัดสว่ นนกั เรียนสายสามัญตอ่ นกั เรียนสายอาชีวศกึ ษา ปี 2562 ..................................... 24



แผนภาพที่ สารบญั ภาพ หน้า

1 แผนที่สังเขปของกล่มุ จงั หวัดภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย
(ในพ้นื ทร่ี บั ผดิ ชอบสานกั งานศึกษาธิการภาค 5)................................................................................2

2 กรอบแนวคิดและขั้นตอนการดาเนินการจดั ทาแผนพฒั นาการศึกษา
ระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)........................................................... 70



บทสรุปสำหรบั ผูบ้ รหิ ำร

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565) จัดทาขึ้น
ภายใต้คาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 19/2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค
ของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 ข้อ 5 กาหนดให้สานักงานศึกษาธิการภาค
มอี านาจหน้าท่ใี นการกาหนดยุทธศาสตร์และบทบาทการพัฒนาภาคตา่ ง ๆ ให้เช่ือมโยงและสอดคล้อง
กับทิศทางการพัฒนาประเทศ ทิศทางการดาเนินงานวางแผนเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของ
กระทรวงศึกษาธิการในระดับภูมิภาคหรือจังหวัด นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ
และยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด รวมท้ังการพัฒนาด้านอ่ืน ๆ ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบตามศักยภาพ
และโอกาสของบุคคลและชุมชนในแต่ละพ้ืนท่ี สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบ
เกี่ยวกับงานด้านวิชาการ การวิจัยและพัฒนา กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน
ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดาเนินงาน
ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประสานการบริหารงานระหว่างราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ให้เกิดการพัฒนาอย่างบูรณาการในระดับพ้ืนที่ของหลายจังหวัด โดยยึดการมีส่วนร่วมและประโยชน์สุข
ของประชาชนเป็นหลัก เพื่อปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ และการจัดการศึกษาตามกฎหมาย
ที่กาหนด การปฏิบัติตามอานาจหน้าท่ี นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มอบหมาย
และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง สถานที่จัดตั้งสานักงานศึกษาธิการภาค สานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ประกาศ ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2562 ข้อ ๕ สานักงานศึกษาธิการภาค ๕ รับผิดชอบ
ดาเนินงานในพ้ืนที่จังหวัดชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง สุราษฎร์ธานี และสงขลา ดังนั้นจึงจาเป็น
ต้องมีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา เพ่ือพัฒนาการศึกษาของภาค 5 ในทุก ๆ ด้าน
ทเี่ นน้ การมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น โดยมีสาระสาคัญดงั ต่อไปน้ี

วิสัยทัศน์
“คนไทยทกุ คนไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพและการเรียนรู้ตลอดช่วงชีวติ อย่างมีคุณภาพ รองรบั
ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภาคใตฝ้ ัง่ อา่ วไทย”
พันธกจิ
1. ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาศักยภาพคนไทยทุกชว่ งวยั ให้มีความรแู้ ละคุณธรรม
2. เสริมสรา้ งทกั ษะการเรียนรู้ตลอดช่วงชีวิต อย่างมคี ณุ ภาพตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและรเู้ ท่าทันการเปลี่ยนแปลงของศตวรรษที่ 21
4. เสริมสร้างโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาอย่างทวั่ ถึงละเทา่ เทยี ม
5. ส่งเสรมิ การบริหารการจัดการแบบมสี ่วนร่วมตามหลกั ธรรมาภิบาล
ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์
1. การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์
2. การพัฒนาการศึกษาเพอื่ ความม่นั คง
3. การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั
4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
5. การจดั การศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
6. การปรบั สมดุลและการพัฒนาระบบการบริหารจัดการทางการศึกษา
7. การปฏิรปู การศึกษาในภูมภิ าค รองรบั การพฒั นาภาคใตฝ้ ั่งอา่ วไทย



เปำ้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศำสตร์
1. คนไทยทุกชว่ งวยั มคี ุณภาพ ได้รบั การพัฒนาอย่างสมดุล ท้ังด้านรา่ งกาย สติปัญญา
และคุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นผูท้ ่ีมีความรู้ มที ักษะ รักการเรียนรูอ้ ยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชีวติ
2. คนไทยทุกชว่ งวัยมคี ุณภาพ มีความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ
3. คนไทยมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาทุกช่วงวัย และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
ตามความถนัด และมีความสามรถของพหุปัญญาเพ่ือพัฒนาตนเองตามทักษะท่ีจาเป็นของโลก
ศตวรรษท่ี 21
4. คนไทยทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งเต็มตามศักยภาพ
5. การจดั การศึกษาไดร้ ับการสง่ เสรมิ สนับสนนุ จากทุกภาคส่วนของสังคม เพ่ือให้คนไทย
มีคณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม
6. การบริหารจดั การศกึ ษาทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ
7. การขับเคลื่อนและการพฒั นาดา้ นการศึกษาในส่วนภมู ิภาคเพ่ือยกระดับคณุ ภาพ
การศึกษาของผเู้ รียนให้ได้มาตรฐานและมคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
กลยทุ ธ์/มำตรกำร
กลยุทธภ์ ำยใตป้ ระเด็นยทุ ธศำสตร์ท่ี 1
1. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะคนทุกช่วงวัยให้มีความรู้
ความสามารถตามศกั ยภาพในศตวรรษท่ี 21
2. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะสูงสอดคล้อง
กบั การจดั การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
3. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา เพื่อการผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีทักษะ สมรรถนะ
และมาตรฐานคุณวุฒวิ ิชาชีพตามความต้องการของสถานประกอบการ เพือ่ ยกระดับมาตรฐานการบริการ
4. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา เพื่อการผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือสร้างความเข้มแข็ง
ใหก้ บั เกษตรกรและชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยืน
5. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษาตามพหุปัญญาของคนทุกชว่ งวยั
กลยุทธภ์ ำยใตป้ ระเด็นยทุ ธศำสตร์ท่ี 2
1. เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบนั หลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ์ ทรงเป็นประมุข
2. ปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ดี งี าม และการดารงชวี ิตตามหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาเพือ่ สร้างภูมคิ ุ้มกันต่อภยั คุกคามทุกรปู แบบ
กลยทุ ธ์ภำยใตป้ ระเดน็ ยุทธศำสตรท์ ่ี 3
1. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษา เพ่ือพัฒนาและผลิตกาลังคนระหว่างภาคส่วน
ท่ีเก่ยี วข้อง ให้ตรงตามศกั ยภาพความต้องการของตลาดแรงงานในพ้นื ท่ีและตลาดสากล
2. สนับสนุนการวิจัยและส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือผลิตกาลังคนรองรับการท่องเท่ียว
ทส่ี อดคล้องกับศักยภาพของพื้นท่ี
3. ผลักดันให้สถาบันอาชีวะศึกษาที่มีความพร้อมผลิต และพัฒนากาลังคนรองรับการใช้
เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการผลิตภาคเกษตร
4. ส่งเสริมการพัฒนาการจัดการศึกษาสายอาชีพเพื่อรองรับการท่องเท่ียว การเกษตร และ
อุตสาหกรรม ในพ้ืนที่ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคใต้ โดยการใชเ้ ทคโนโลยีสมยั ใหม่



กลยทุ ธ์ภำยใต้ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ท่ี 4
1. ส่งเสริมการเขา้ ถงึ การบรกิ การการศึกษาทม่ี คี ุณภาพตามชว่ งวัยและตามศักยภาพ
2. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพ่ือสร้าง
ความเสมอภาคทางการศกึ ษา
3. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างแพลทฟอร์มการเรียนรู้ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
เพ่ือเสริมสร้างทักษะ สมรรถนะที่จาเป็นให้ตอบสนองกับความต้องการของสถานประกอบการ
และธรุ กิจการทอ่ งเท่ียว
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมาศึกษาต่อในสายอาชีพให้สูงข้ึนโดยสนับสนุนทุนการศึกษา สวัสดิการ
ต่าง ๆ โดยความร่วมมอื ของเครอื ขา่ ยสถานประกอบการทั้งในและต่างประเทศ
กลยุทธภ์ ำยใต้ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 5
1. สง่ เสรมิ การสร้างจิตสานึกรักษ์สง่ิ แวดล้อม
2. ส่งเสริม สนบั สนนุ การพัฒนาหลกั สูตร และกระบวนการจดั การเรียนรู้ เพื่อสร้างเสริม
คุณภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม
กลยทุ ธภ์ ำยใต้ประเด็นยุทธศำสตรท์ ี่ 6
1. ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือหน่วยงาน
ท่เี ก่ียวข้องตามบทบาทหนา้ ท่ี
2. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศกลางด้านการศึกษาและท่ีเกี่ยวข้อง
รองรับเขตอตุ สาหกรรมและสภาพท้องถ่ิน เพ่ือเพิม่ ประสิทธภิ าพการบริหารและจดั การศกึ ษา
3. ส่งเสริมการพัฒนากาลังคนให้มีความรู้การบริหารจัดการต้นทุนการผลิต การทา
การเกษตรทฤษฎีใหม่ การใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพาะปลกู และการแปรรปู
4. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวตั กรรมในการผลติ และ
บรหิ ารจัดการอย่างเปน็ ระบบ
กลยุทธ์ภำยใตป้ ระเดน็ ยุทธศำสตร์ที่ 7
1. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมแปรรูปยางพารา
หาดใหญ่ - สะเดา ทคี่ รบวงจรและเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม
2. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการพัฒนา เขตอุตสาหกรรมโอเลโอเคมีคอล
แบบครบวงจรในจงั หวัดกระบ่ี สรุ าษฎรธ์ านี และชุมพร
3. ผลิตและพฒั นากาลังคนเพื่อรองรบั การใชเ้ ทคโนโลยชี ีวภาพและนวตั กรรมในการผลติ ภาคเกษตร
4. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อการยกระดับสินค้าเกษตรท่ีเป็นอัตลักษณ์ท่ีเหมาะสม
กบั ศักยภาพพ้ืนทข่ี องภาค
5. ผลติ และพัฒนากาลงั คนเพอ่ื รองรบั การยกระดบั สินค้าทางการเกษตรให้ได้มาตรฐานสากล
6. ผลติ และพัฒนากาลังคนเพื่อรองรบั การทาการเกษตรแบบผสมผสาน
7. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการพัฒนาประตูการค้าใน พ้ืนท่ี
ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคใต้
8. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมฐานชีวภาพและ
การแปรรูปการเกษตรมูลค่าสงู (Bio-Based & Processed Agricultural Products)
9. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การสง่ เสรมิ วัฒนธรรม และการพัฒนาเมืองนา่ อยู่ (Green Culture & Livable Cities)



สรุปผลกำรทบทวนแผนพัฒนำด้ำนกำรศึกษำระดบั กลุ่มจงั หวดั ภำคใตฝ้ ง่ั อ่ำวไทย

(พ.ศ.2563 - 2565)

หวั ขอ้ เดิม ผลกำรทบทวน เหตุผลของ
ชอื่ แผน กำรปรบั เปลี่ยน

วิสัยทัศน์ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษา แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดบั คาสงั่ หัวหนา้ คณะรกั ษา
พันธกิจ
(พ.ศ. 2563 – 2565) ภาค 5 กลมุ่ จงั หวัดภาคใตฝ้ งั่ อ่าวไทย ความสงบแห่งชาติ ท่ี ๑๙/

(พ.ศ. 2563 - 2565) ๒๕๖๐ เรอื่ ง การปฏริ ูป

การศกึ ษาในภูมภิ าคของ

กระทรวงศกึ ษาธิการ ข้อ 5

(1) กาหนดยุทธศาสตรแ์ ละ

บทบาทการพัฒนาภาคต่าง ๆ

ให้เชอื่ มโยงและสอดคลอ้ ง

กับทศิ ทางการพัฒนาประเทศ

ทศิ ทางการดาเนินงาน

ตามขอ้ ๓ (๑) นโยบายและ

ยุทธศาสตร์ของ

กระทรวงศกึ ษาธิการ และ

ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นากลุ่ม

จงั หวัด รวมทงั้ การพัฒนา

ด้านอ่นื ๆ ในพ้นื ท่ี

รับผดิ ชอบตามศกั ยภาพและ

โอกาสของบุคคลและชุมชน

ในแตล่ ะพื้นที่

สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 5 เป็นองคก์ ร คนไทยทกุ คนได้รบั การพฒั นา เพือ่ ให้เชอื่ มโยงและสอดคลอ้ ง

ม่งุ บรู ณาการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ศกั ยภาพและการเรียนร้ตู ลอดช่วง กบั ทศิ ทางการพัฒนาของ
และการเรียนรตู้ ลอดชีวติ พัฒนา ชวี ิตอย่างมีคณุ ภาพ รองรบั
กาลงั คนส่มู าตรฐาน สากลตามหลกั ยุทธศาสตร์ การพฒั นาภาคใต้ฝ่งั กระทรวงศกึ ษาธิการและพ้ืนที่
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อ่าวไทย กลมุ่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ่ังอ่าวไทย

1. ส่งเสริม สนับสนุน และพฒั นา 1. ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาเพอ่ื เพื่ อรองรั บนโยบายและ

การศกึ ษาแบบบูรณาการทกุ ภาคสว่ น พฒั นาศักยภาพคนไทยทกุ ชว่ งวัย ยทุ ธศาสตรท์ ีเ่ กย่ี วข้อง
2. สง่ เสรมิ และสนับสนุนใหห้ น่วยงาน ให้มคี วามรแู้ ละคณุ ธรรม

ทางการศกึ ษาหนว่ ยงาน ท่เี กีย่ วขอ้ ง 2. เสรมิ สรา้ งทกั ษะการเรยี นรู้

จัดการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ตลอดชว่ งชีวติ อยา่ งมีคณุ ภาพตาม

3. สง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพ หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กาลังคนสูอ่ าชีพ 3. เสรมิ สรา้ งความสามารถใน

4. ส่งเสรมิ สนับสนุนการพัฒนาวิชาการ การแขง่ ขนั และรเู้ ท่าทนั การ

การวิจยั และนวัตกรรมทางการศึกษา เปลย่ี นแปลงของศตวรรษที่ 21

5. นอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ 4. เสรมิ สรา้ งโอกาสการเข้าถงึ

พอเพยี ง/ศาสตรพ์ ระราชาและพระ บริการทางการศกึ ษา อย่างทวั่ ถึงละ

บรมราโชบายสู่การพัฒนา เท่าเทียม

6. ส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพ 5. สง่ เสรมิ การบรหิ ารการจดั การ

การบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล แบบมสี ่วนร่วมตามหลกั ธรรมาภิบาล



หวั ข้อ เดิม ผลกำรทบทวน เหตุผลของ
ประเด็น กำรปรบั เปลี่ยน
ยุทธศาสตร์
1. การส่งเสริม สนบั สนุนและพัฒนา 1. การพฒั นาและเสริมสร้าง เพื่อรองรบั นโยบาย
กลยุทธ/์
มาตรการ คุณภาพการศึกษาโดยเนน้ การบรู ณาการ ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และยทุ ธศาสตร์ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

จากทกุ ภาคส่วน 2. การพฒั นาการศกึ ษา

2. การส่งเสริมและสนบั สนนุ การ เพือ่ ความมน่ั คง

จัดการเรียนรตู้ ลอดชีวติ 3. การสรา้ งความสามารถ

3. การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การ ในการแขง่ ขัน

พัฒนากาลังคนสอู่ าชพี 4. การสรา้ งโอกาส

4. การสง่ เสริมและสนับสนนุ งานวจิ ัย และความเสมอภาคทางการศกึ ษา

และนวัตกรรมทางการศกึ ษา 5. การจดั การศกึ ษา

เพื่อพฒั นาคุณภาพและเพมิ่ ขดี เพอื่ เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวติ

ความสามารถในการแข่งขัน ท่ีเป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

5. การสง่ เสริมและขบั เคลือ่ น 6. การปรับสมดลุ และการพฒั นา

การศึกษาโดยนอ้ มนาหลกั ปรชั ญา ระบบการบรหิ ารจัดการทาง

ของเศรษฐกจิ พอเพียง ศาสตร์ การศกึ ษา

พระราชา และพระบรมราโชบาย 7. การปฏิรปู การศกึ ษาในภมู ิภาค

สกู่ ารพัฒนา รองรับการพฒั นาภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย

6. การสง่ เสรมิ พฒั นาการศกึ ษา

เพอื่ เสรมิ สร้างความมัน่ คงของชาติ

7. การพฒั นาคณุ ภาพการบริหาร

จดั การตามหลักธรรมาภิบาล

ภำยใตป้ ระเด็นยุทธศำสตร์ท่ี 1 ภำยใต้ประเดน็ ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 1

1. ปรับปรุงและพฒั นาระบบ 1. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการ

การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะคนทุกช่วง

ให้สอดคล้องกับทกั ษะการเรยี นรู้ วัยให้มีความรู้ ความสามารถตาม

ในศตวรรษท่ี 21 ศกั ยภาพในศตวรรษท่ี 21

2. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้ 2. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนา

หนว่ ยงานทางการศึกษาในพืน้ ที่ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ให้มี

รบั ผิดชอบ ศธภ.5 เสริมสรา้ งให้ สมรรถนะสูงสอดคล้องกับการ

ผ้เู รยี นมีจิตสานกึ และตระหนักรถู้ งึ จดั การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21

การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและ 3. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการ

รูปแบบการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย ศึกษา เพื่อการผลิตและพัฒนา

3. ส่งเสริมสนับสนุนในการพัฒนาครู กาลังคนให้มีทักษะ สมรรถนะ และ

ให้มีทักษะการจัดการเรียนรู้อย่างมี มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพตามความ

คณุ ภาพ ต้องการของสถานประกอบการ

4. สง่ เสริมพัฒนา กระบวนการเรยี น เพ่ือยกระดับมาตรฐานการบรกิ าร

การสอนทมี่ ีคณุ ภาพและจดั กจิ กรรม 4. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการ

เสรมิ ทกั ษะพัฒนาผเู้ รยี นในรูปแบบท่ี ศึกษา เพื่อการผลิตและพัฒนา

หลากหลายใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐาน กาลังคนเพื่อสร้างความเข้มแข็ง

สากล ให้กบั เกษตรกรและชุมชนอยา่ งยง่ั ยนื

5. เร่งส่งเสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นมสี ว่ น 5. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการ

ร่วมในการจดั การศึกษาทกุ ช่วงวยั ศึกษาตามพหปุ ญั ญาของคนทุกช่วงวัย

รวมถงึ การศึกษาระบบทวิศึกษาให้ได้

มาตรฐาน



หัวข้อ เดมิ ผลกำรทบทวน เหตผุ ลของ
กำรปรบั เปลย่ี น

ภำยใต้ประเด็นยุทธศำสตร์ท่ี 2 ภำยใต้ประเดน็ ยุทธศำสตร์ท่ี 2

1. สง่ เสริม สนับสนนุ ประชากร 1. เสริมสรา้ งความมนั่ คงของสถาบัน

ทกุ ช่วงวัยให้เขา้ ถงึ การบรกิ ารทาง หลกั และการปกครองในระบอบ

การศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพตามความสนใจ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์

วถิ ีชวี ิต และคุณลักษณะพเิ ศษของ ทรงเป็นประมขุ

ผูเ้ รยี นอยา่ งเท่าเทียมและทวั่ ถงึ 2. ปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

2. ส่งเสรมิ และพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ ค่านยิ มทด่ี ีงาม และการดารงชีวิต

สื่อ ตาราเรียน สื่อการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ตามหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ใหม้ ีคณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน และ 3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัด

มงุ่ เน้นการพัฒนาแหล่งเรยี นรทู้ าง การศกึ ษา เพ่ือสรา้ งภมู คิ มุ้ กัน

วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยให้ ตอ่ ภยั คุกคามทุกรปู แบบ

ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหล่งเรียนรู้ ภำยใต้ประเดน็ ยุทธศำสตรท์ ี่ 3

ได้โดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานที่ 1. สง่ เสริม สนบั สนนุ การจัดการ

ภำยใตป้ ระเดน็ ยุทธศำสตร์ท่ี 3 อาชวี ศึกษา เพื่อพฒั นาและผลติ

1. สง่ เสรมิ ภาพลกั ษณก์ าร กาลังคนระหว่างภาคสว่ นทเี่ กีย่ วข้อง

อาชวี ศกึ ษา เรง่ ปรับค่านิยม และ ให้ตรงตามศักยภาพความตอ้ งการ

วางรากฐานทกั ษะอาชีพให้แก่ผู้เรยี น ของตลาดแรงงานในพน้ื ที่และ

ตั้งแตก่ ารศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ตลาดสากล

2. ส่งเสรมิ สนับสนุน แรงงานนอก 2. สนับสนนุ การวิจยั และส่งเสรมิ

ระบบใหไ้ ดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะ การจัดการศกึ ษาเพอื่ ผลิตกาลังคน

ทางวชิ าชพี รองรับการทอ่ งเทย่ี วท่ีสอดคลอ้ ง

ภำยใต้ประเดน็ ยุทธศำสตร์ท่ี 4 กบั ศักยภาพของพื้นท่ี

1. สง่ เสรมิ การวิจยั และนวตั กรรม 3. ผลักดันใหส้ ถาบนั อาชีวะศกึ ษา

เพอื่ เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน ที่มีความพรอ้ มผลติ และพฒั นา

2. สนบั สนุนพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการ กาลังคนรองรบั การใชเ้ ทคโนโลยี

วจิ ยั และนวตั กรรมทางการศึกษา และนวตั กรรมในการผลติ

ภำยใตป้ ระเด็นยทุ ธศำสตร์ท่ี 5 ภาคเกษตร

1. สง่ เสริมและสนบั สนุนให้ 4. ส่งเสริมการพัฒนาการจัด

หนว่ ยงานทางการศกึ ษานอ้ มนาหลกั การศึกษาสายอาชีพเพื่อรองรับ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การ การท่องเทยี่ ว การเกษตร และ

ปฏบิ ตั ใิ นงานทร่ี ับผดิ ชอบ อตุ สาหกรรม ในพน้ื ทรี่ ะเบยี ง

2. สง่ เสริมและสนบั สนุนสรา้ ง เศรษฐกิจภาคใต้ โดยการใช้

เครือขา่ ยแหลง่ เรียนรู้เศรษฐกจิ เทคโนโลยสี มยั ใหม่

พอเพียง ระหวา่ งหน่วยงานในพืน้ ที่ ภำยใตป้ ระเดน็ ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 4

โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการ 1. ส่งเสริมการเข้าถงึ การบริกการ

เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพตามช่วงวัย

3. กากบั ตดิ ตาม ใหห้ น่วยงาน และตามศกั ยภาพ

ทางการศึกษาในพ้นื ท่รี บั ผดิ ชอบ 2. สง่ เสรมิ สนับสนุนการจัด

น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ การศึกษาโดยการมีสว่ นรว่ มของ

พอเพียงมาสูก่ ารปฏบิ ัตไิ ด้เปน็ ไป ทกุ ภาคสว่ น เพอื่ สรา้ งความเสมอ

ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด ภาคทางการศึกษา

4. สง่ เสรมิ และสนับสนุนใหเ้ ดก็ และ 3. ส่งเสรมิ สนบั สนุนการสรา้ ง

เยาวชนเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และ แพลทฟอรม์ การเรียนรู้ และการใช้

เทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื เสริมสร้าง

หัวข้อ เดมิ ผลกำรทบทวน ฎ

เหตุผลของ
กำรปรบั เปลีย่ น

ตระหนักในหลกั ปรชั ญาของ ทกั ษะ สมรรถนะทจี่ าเปน็ ให้
เศรษฐกิจพอเพยี ง ตอบสนอง กบั ความต้องการ
5. สนบั สนุนโครงการท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ของสถานประกอบการ และธุรกจิ
การนาน้อมนาศาสตรพ์ ระราชาและ การทอ่ งเทยี่ ว
แนวพระราโชบายมาใชใ้ นการดาเนิน 4. ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมาศึกษาตอ่
ชวี ิตอย่างพอเพยี งของเด็กและ ในสายอาชีพใหส้ ูงขน้ึ โดยสนบั สนนุ
เยาวชน ทนุ การศกึ ษา สวัสดิการตา่ ง ๆ
6. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การ โดยความรว่ มมอื ของเครือขา่ ย
ทอ่ งเท่ยี วไทยอยา่ งยัง่ ยืน พฒั นาตาม สถานประกอบการทั้งในและ
แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตา่ งประเทศ
ภำยใตป้ ระเดน็ ยทุ ธศำสตร์ท่ี 6 ภำยใต้ประเดน็ ยุทธศำสตรท์ ี่ 5
1. ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้หน่วยงาน 1. สง่ เสริมการสรา้ งจติ สานึกรักษ์
ทางการศึกษาสรา้ งความตระหนักแก่ สงิ่ แวดลอ้ ม
เดก็ เยาวชนและชุมชนในการรกั ษ์ 2. สง่ เสริม สนบั สนนุ การพฒั นา
ส่งิ แวดล้อม ศลิ ปวฒั นธรรม และรกั หลกั สตู ร และกระบวนการจดั การ
สถาบนั เรียนรู้ เพื่อสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิต
2. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้ ท่ีเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม
หน่วยงานทางการศกึ ษาจดั ทาคมู่ อื / ภำยใตป้ ระเดน็ ยุทธศำสตร์ที่ 6
หลกั สตู รเสรมิ สรา้ งความมนั่ คง 1. ส่งเสริมใหม้ ีการบริหารจดั การ
ปรองดอง และสมานฉนั ท์ โดยการมีสว่ นร่วมของผู้มสี ่วนได้
3. กากับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ส่วนเสียหรอื หน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
การดาเนนิ งานด้านการพฒั นา ตามบทบาทหน้าท่ี
การศกึ ษาเพือ่ เสริมสรา้ งความม่ันคง 2. ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั ระบบ
ของชาติ ขอ้ มูลสารสนเทศกลางด้าน
ภำยใต้ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 7 การศึกษา และท่ีเกยี่ วขอ้ ง รองรบั เขต
1. สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ อตุ สาหกรรม และสภาพท้องถ่นิ เพื่อ
หน่วยงานในพ้ืนทรี่ ับผิดชอบ เพ่มิ ประสิทธภิ าพ การบรหิ ารและจดั
สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 การศกึ ษา
ปรับปรุงระบบและกลไกการบริหาร 3. สง่ เสริมการพฒั นากาลงั คนใหม้ ี
จัดการให้มีประสทิ ธภิ าพเปน็ ไปตามหลกั ความรู้การบริหารจัดการตน้ ทุน
ธรรมาภิบาล การผลติ การทาการเกษตรทฤษฎใี หม่
2. ส่งเสริมการบรหิ ารจดั การทม่ี ี การใช้เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
การบูรณาการการทางานกับ ในการเพาะปลูกและการแปรรูป
หน่วยงานอน่ื อย่างเปน็ ระบบ 4. ผลติ และพฒั นากาลังคนเพื่อ
3. พัฒนาขอ้ มลู สารสนเทศและการ รองรบั การใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั และ
ส่ือสารสาหรบั การบรหิ ารประสาน นวัตกรรมในการผลติ และบริหาร
หน่วยงานทางการศกึ ษา และ จดั การอย่างเป็นระบบ
หน่วยงานอ่ืนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ภำยใตป้ ระเดน็ ยทุ ธศำสตร์ที่ 7
4. กากับ ติดตาม และประเมินผล 1. ผลติ และพัฒนากาลังคนเพื่อ
การดาเนนิ งานดา้ นการพัฒนา รองรับการพัฒนาเขตอตุ สาหกรรม
การศกึ ษาของหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง แปรรปู ยางพาราหาดใหญ่-สะเดา
ในพืน้ ท่รี ับผิดชอบ ท่คี รบวงจรและเปน็ มติ รกบั
ส่ิงแวดลอ้ ม



หัวขอ้ เดมิ ผลกำรทบทวน เหตุผลของ
กำรปรบั เปลี่ยน

2. ผลิตและพัฒนากาลังคน

เพอ่ื รองรับการพัฒนา เขตอุตสาหกรรม

โอเลโอเคมีคอลแบบครบวงจร

ในจงั หวัดกระบี่ สรุ าษฎร์ธานี และ

ชุมพร

3. ผลิตและพฒั นากาลงั คน

เพ่อื รองรับการใช้เทคโนโลยชี ีวภาพ

และนวตั กรรม ในการผลติ ภาคเกษตร

4. ผลติ และพฒั นากาลงั คน

เพอ่ื การยกระดับสนิ ค้าเกษตร

ที่เป็นอัตลักษณ์ทเี่ หมาะสม

กับศกั ยภาพพืน้ ท่ขี องภาค

5. ผลิตและพัฒนากาลงั คน

เพ่อื รองรับการยกระดบั สนิ คา้

ทางการเกษตรใหไ้ ด้มาตรฐานสากล

6. ผลติ และพฒั นากาลังคน

เพ่อื รองรับการทาการเกษตร

แบบผสมผสาน

7. ศกึ ษา วิจัย ผลติ และพฒั นา

กาลงั คนเพื่อรองรับการพฒั นา

ประตกู ารค้าในพื้นท่รี ะเบยี ง

เศรษฐกิจภาคใต้

8. ศึกษา วจิ ยั ผลติ และพัฒนา

กาลงั คนเพื่อรองรับการพฒั นา

อุตสาหกรรมฐานชีวภาพ

และการแปรรปู การเกษตรมลู ค่าสงู

(Bio-Based & Processed

Agricultural Products)

9. ศึกษา วิจยั ผลิตและพฒั นา

กาลังคนเพอื่ รองรับการอนรุ ักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติ การสง่ เสริม

วัฒนธรรม และการพฒั นาเมืองนา่ อยู่

(Green Culture & Livable Cities)

ส่วนที่ 2 บริบท - ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) เพม่ิ เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบาย
ที่เก่ียวขอ้ ง
ดา้ นการศกึ ษา - แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ - นโยบายและจดุ เนน้ ของ และยุ ทธศาสตร์ ท่ี เก่ี ยวข้ อง

(พ.ศ. 2561 - 2580) กระทรวงศึกษาธกิ าร ในปัจจบุ นั

- แผนปฏิรูปประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม - แผนยทุ ธศาสตร์

แห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2563

- 2564 – 2565)

- แผนการศกึ ษาแห่งชาติ - แผนปฏบิ ัติราชการรายปี

พ.ศ. 2560 - 2579 (พ.ศ. 2564) ของ

กระทรวงศึกษาธิการ



หัวข้อ เดิม ผลกำรทบทวน เหตุผลของ
กำรปรบั เปล่ยี น

- นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ - แผนปฏบิ ัติราชการประจาปี

จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี) งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ

- นโยบายและจุดเนน้ นายณฎั ฐพล สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

ทปี สวุ รรณ รฐั มนตรวี า่ การ (ฉบับจัดทาคาของบประมาณ

กระทรวงศึกษาธิการ รายจา่ ยประจาป)ี

- เปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน - แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้

(Sustainable Development ฝั่งอา่ วไทย ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑

Goals : SDGs) - ๒๕๖๕) ฉบบั ทบทวน

- แผนพัฒนาการศกึ ษาของ

กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12

(พ.ศ.2560 - 2564)

- แผนพัฒนาการศึกษาของสานักงาน

ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12

(พ.ศ. 2560 - 2564)

- แผนปฏิบตั ิราชการประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2563

ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

- แผนปฏิบตั ิราชการประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

- กรอบแนวคิดและขัน้ ตอนการ

ดาเนนิ การจดั ทาแผนพัฒนา

การศึกษา

- การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ (SWOT)

ส่วนที่ 1
บริบทที่เกีย่ วขอ้ ง

1. ความเปน็ มา
ตามท่ีหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคาส่ังท่ี 19/2560 เรื่องการปฏิรูป

การศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 ข้อ 5 กาหนดให้มี
สานกั งานศกึ ษาธิการภาค มีอานาจหน้าทีใ่ นการกาหนดยุทธศาสตรแ์ ละบทบาทการพัฒนาภาคต่าง ๆ
ให้เชื่อมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ทิศทางการดาเนินงานวางแผนเก่ียวกับ
การบริหารงานบุคคลของกระทรวงศึกษาธิการในระดับภูมิภาคหรือจังหวัด นโยบายและยุทธศาสตร์
ของกระทรวงศึกษาธิการ และยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนากลุ่มจังหวัด รวมทั้งการพัฒนาดา้ นอนื่ ๆ ในพน้ื ที่
รับผิดชอบตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแต่ละพื้นท่ี สนับสนุนการพัฒนาจังหวัด
ในพื้นท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับงานด้านวิชาการ การวิจัยและพัฒนา กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผล
การดาเนินงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผล
การดาเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประสานการบริหารงานระหว่างราชการส่วนกลาง
และส่วนภูมิภาคให้เกิดการพัฒนาอย่างบูรณาการในระดับพื้นที่ของหลายจังหวัด โดยยึดการมีส่วนร่วม
และประโยชนส์ ุขของประชาชนเป็นหลัก เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการและการจัดการศึกษา
ตามกฎหมายที่กาหนด การปฏิบัติตามอานาจหน้าท่ีนโยบายและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่าง ๆ
ท่ีมอบหมายและประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง สถานท่ีจัดต้ังสานักงานศึกษาธิการภาค สานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ ณ วันท่ี 7 มีนาคม พ.ศ. 2562 ข้อ 5 สานักงานศึกษาธิการภาค 5
ตั้งอยู่เลขท่ี 4 หมู่ที่ 6 ตาบลนาพรุ อาเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช รับผิดชอบดาเนินงาน
ในพ้ืนท่ีจังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดสงขลา
ดังน้ัน เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในส่วนภูมิภาค สอดคล้อง
และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคาสั่งดังกล่าว โดยเกิดประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ สานักงาน
ศึกษาธิการภาค 5 จึงได้จัดทาแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
(พ.ศ. 2563 – 2565) ขึ้น

1.1 สภาพที่ต้งั โดยท่ัวไป
1.1.1 ทตี่ ้งั
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (East Coast Southern Sub region) ต้ังอยู่

ทางทิศตะวันออก ของภาคใต้ฝั่งทะเลอ่าวไทย ประกอบด้วยจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช
พัทลงุ และสงขลา ทาเลทตี่ ้งั มคี วามเกยี่ วข้องกับศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรโบราณ
ในอดีตของคาบสมุทรมลายู คือ อาณาจักรตามพรลิงค์ และอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งมีความสาคัญ
เป็นเส้นทางการเช่ือมโยงทางการค้า และการเผยแผ่ศาสนาจากอินเดีย อาหรับ เปอร์เซีย และเอเชีย
ตะวันออกเฉยี งใต้ โดยปรากฏหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรข์ องความเจรญิ รุ่งเรืองในอดตี มากมาย ได้แก่
โบราณสถานเขาคา โบราณสถานโมคลาน และวดั พระบรมธาตุ จงั หวัดนครศรีธรรมราช วดั พระบรมธาตุ ไชยา
อาเภอไชยา แหล่งโบราณคดี เขาศรีวิชัย อาเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี วัดเขียน จังหวัดพัทลุง

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 1

สุสานสุลต่านสลัยมานชาห์ ตาบลหัวเขา อาเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เมืองโบราณสถานสทิงพระ อาเภอ
สทิงพระ ซากสถูปบนเขาน้อย อาเภอสทิงพระ และวัดพะโค๊ะ อาเภอสทิงพระ เป็นต้น ส่งผลให้มีการ
สืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมประจาท้องถิ่นในกลุม่ จงั หวัดมาจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ จงั หวัดชุมพร เชน่
ประเพณีงานเทิดพระเกียรติเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ งานกาชาด งานประเพณี
แห่พระ แข่งเรืองานเปดิ โลกทะเลชมุ พร งานแข่งขนั เรอื ยาว ข้นึ โขน ชิงธงชงิ ถ้วยพระราชทาน คลองในหลวง
(หัววัง –พนังตัก) งานวันผลไม้หลังสวน ล่องแพอาเภอพะโต๊ะ งานส่งเสริมประเพณีขึ้นเบญจา และ
งานขึ้นถ้ารับร่อ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เช่น ประเพณีชักพระหรือลากพระกีฬาชนควาย และงานวันเงาะโรงเรียน
จังหวัดนครศรีธรรมราช เช่น ประเพณีสารทเดือนสิบ แห่ผ้าข้ึนธาตุ และลากพระ จังหวัดพัทลุง เช่น
งานประเพณีแข่งโพนลากพระ (ชักพระ) การละเล่นซัดต้มประเพณีชิงเปรต งานวันอนุรักษ์มรดกไทย
งานมหกรรมชิงแชมป์หนังตะลุง และโนรานาฏศิลป์เมืองใต้ จังหวัดสงขลา เช่น ประเพณีลากพระ
จังหวัดสงขลา ตกั บาตรเทโว ตักบาตรเดอื นสิบ และเทศกาลโคมไฟไหวพ้ ระจันทร์ เปน็ ต้น

แผนภาพท่ี 1 แผนที่สงั เขปของกลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย
(ในพืน้ ทีร่ บั ผดิ ชอบสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5)

1.1.2 อาณาเขต

กลุม่ จงั หวัดภาคใต้ฝ่ังอา่ วไทย มอี าณาเขตติดต่อกับกลุ่มจังหวัด 3 กลุม่ จังหวัด

กลุม่ จังหวัดภาคกลางตอนล่าง กลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ ่ังอันดามนั และกล่มุ จังหวดั ภาคใตช้ ายแดน ดังนี้

 ด้านทิศเหนอื ตดิ ต่อกับกลุ่มจังหวดั ภาคกลางตอนล่างที่อาเภอบางสะพานน้อย

จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์

 ด้านทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั ทะเลอา่ วไทย

 ด้านทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั กลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ ่ังอันดามนั ตั้งแตอ่ าเภอกระบุรี

จังหวัดระนอง ถึงอาเภอควนโดน จังหวดั สตูล

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกล่มุ จงั หวดั ภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 2

 ดา้ นทศิ ใต้ และตดิ กับเขตตะนาวศรี (Tanintharyi) สาธารณรฐั
แหง่ สหภาพเมียนมาทอี่ าเภอทา่ แซะ จังหวัดชุมพร
ตดิ ต่อกับกลุ่มจงั หวดั ภาคใตช้ ายแดนท่ีอาเภอหนองจกิ
และอาเภอโคกโพธ์ิ จังหวดั ปัตตานี อาเภอยะหา และ
อาเภอกาบัง จังหวดั ยะลา และบูกติ กายู-ฮีตัม รฐั เคดะห์
ประเทศมาเลเซยี และเมือง ปาดงั เบซาร์ รัฐปะลิศ
ประเทศมาเลเซยี ที่อาเภอสะเดา จงั หวัดสงขลา

1.1.3 ลักษณะภูมปิ ระเทศ
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทยมีพื้นที่รวมมากที่สุดของภาคใต้ คือ 39,662,713

ตารางกิโลเมตร หรือ 24,785,539 ไร่ ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 56.09 ของพ้ืนท่ีภาคใต้ โดยจังหวัด
สุราษฎร์ธานีมีพื้นที่มากท่ีสุด คือ 12,891,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 8.06 ล้านไร่ รองลงมาคือ
จงั หวดั นครศรีธรรมราช สงขลา ชมุ พร และพัทลงุ ตามลาดับ จาแนกเป็นรายจงั หวัดได้ ดังน้ี

ตารางท่ี 1 พื้นท่ีในกลุม่ จังหวดั ภาคใต้ฝ่งั อ่าวไทย

จังหวัด พนื้ ที่ อันดบั ระดบั ภาค อนั ดบั ระดบั
ตารางกโิ ลเมตร (ภาคใต)้ กล่มุ จังหวัด

ไร่

ชมุ พร 6,010,849 3,750,000 4 4

สุราษฎร์ธานี 12,891,000 8,060,000 1 1

นครศรีธรรมราช 9,942,502 6,214,064 2 2

พัทลุง 3,424,473 2,140,295 10 5

สงขลา 7,393,889 4,621,180 3 3

ท่มี า : ศนู ย์สารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารและงานปกครอง, กรมการปกครอง, กระทรวงมหาดไทย

กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทยมีสภาพภูมิประเทศเป็นท่ีราบชายทะเล และพ้ืนที่เชิงเขา
ตอนกลางของคาบสมุทร ได้แก่ เทือกเขานครศรีธรรมราช เทือกเขาตะนาวศรี และเทือกเขาภูเก็ต
โดยมีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ ๘๑๗ กิโลเมตร บางส่วนเป็นพื้นท่ีชุ่มน้าสาคัญของประเทศ ได้แก่
ทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง ทะเลสาบสงขลา จังหวัดสงขลา ป่าชายเลนทุ่งคา - อ่าวสวี จังหวัดชุมพร
หมู่เกาะอ่างทอง และในบางคลองร้อยสาย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งพื้นท่ีเหล่านี้นอกจากจะมีคุณค่า
ในเชงิ นิเวศนแ์ ล้วยังเปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วเชงิ อนุรกั ษ์ทส่ี าคญั ของกลุ่มจงั หวัดอีกด้วย

1.1.4 สภาพภูมอิ ากาศ
ลักษณะภูมิอากาศภาคใต้เป็นแบบมรสุมเมืองร้อน ภูมิประเทศของภาคใต้

มีลักษณะเป็นคาบสมุทรยาวแหลม มีพื้นน้าขนาบอยู่ท้ังทางด้านตะวันตกและทางด้านตะวันออก
จึงทาให้มีฝนตกตลอดปีและเป็น ภูมิภาคที่มีฝนตกมากท่ีสุดของประเทศ ภาคใต้มีฤดูกาลที่ผิดแผกไป
จากภาคอื่น ๆ คือ มีฤดูท่ีเด่นชัดเพียง 2 ฤดู ได้แก่ฤดูฝนและฤดูร้อน ถ้านับฤดูตามลมท่ีพัดผ่าน
จะมี 3 ฤดู ดังน้ี

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 3

 ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม สาหรับภาคใต้
ฝนจะเร่มิ ตกเรว็ กว่าภาคอื่นๆ 1 - 2 สัปดาห์

 ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ในฤดูนี้
ภาคต่าง ๆ จะมีอากาศเย็นและแห้งแล้ง แต่ภาคใต้อากาศไม่ค่อยเย็นนักและจะมี
ฝนตกตามชายฝ่ังทะเลด้านตะวันออก โดยเฉพาะตั้งแต่จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานีลงไป

 ฤดูร้อนเริ่มต้ังแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม ในระยะนี้
ดวงอาทิตย์ กาลังเคลื่อนผ่านเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทางซีกโลกเหนือ ดังนั้น พื้นดิน
จะสะสมความร้อนไว้และร้อนข้ึน ในฤดูน้ีอุณหภูมิทางภาคใต้ของประเทศต่ากว่า
ภาคอื่น ๆ เลก็ นอ้ ยเนอื่ งจากอยูใ่ กล้ทะเล ทาให้อากาศไม่ร้อนจดั

1.1.5 ดา้ นการปกครอง

กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีอาณาเขตการปกครองครอบคลุม 5 จังหวัด
ประกอบดว้ ย 77 อาเภอ 562 ตาบล 5,046 หมู่บา้ น และ 620 องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ดงั นี้
ตารางท่ี 2 จงั หวดั อาเภอ ตาบล ในกลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝงั่ อา่ วไทย

จังหวดั อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น อบจ. เทศบาล อบต.

ชุมพร 8 70 736 1 25 53

สรุ าษฎรธ์ านี 19 131 1,066 1 32 105

นครศรธี รรมราช 23 169 1,551 1 30 157

พทั ลงุ 11 65 670 1 43 30

สงขลา 16 127 1,023 1 48 92

รวมท้ังหมด 77 562 5,046 5 178 437

ทีม่ า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

1.6 ดา้ นประชากร
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย มีประชากรในปี พ.ศ. 2562 จานวน 5.10 ล้านคน

คิดเป็นร้อยละ7.67 ของประเทศ และร้อยละ 53.31 ของภาคใต้ โดยจังหวัดนครศรีธรรมราช
มีประชากรมากท่ีสุด 1.56 ล้านคน รองลงมา คือจังหวัดสงขลา 1.43 ล้านคน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
1.06 ล้านคน จงั หวัดพัทลงุ 0.52 ล้านคน และจงั หวดั ชมุ พร จานวน 0.51 ล้านคน

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใต้ฝัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 4

ตารางที่ 3 จานวนประชากรของกล่มุ จงั หวดั เปรยี บเทียบกับภาคใต้และประเทศ (หนว่ ย : คน)

จงั หวดั /กลุ่มจงั หวัด 2558 2559 ปี พ.ศ. 2561 2562
2560

ประเทศ 65,729,098 65,931,550 66,188,503 66,413,979 66,558,935

ภาคใต้ 9,290,708 9,341,162 9,399,578 9,132,619 9,224,969

กลุม่ จงั หวัด 5,038,432 5,054,112 5,073,800 5,092,569 5,102,074

ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย

(คดิ เป็นร้อยละของประเทศ) 7.67 7.67 7.67 7.67 7.67

(คิดเปน็ ร้อยละของภาคใต)้ 54.23 54.11 53.98 55.76 55.31

ชุมพร 505,830 507,604 509,650 510,963 511,304

สรุ าษฎร์ธานี 1,046,772 1,050,913 1,057,581 1,063,501 1,068,010

นครศรีธรรมราช 1,552,530 1,554,432 1,557,482 1,560,433 1,561,927

พัทลุง 522,723 523,723 524,857 525,044 524,865

สงขลา 1,410,577 1,417,440 1,424,230 1,432,628 1,435,968

2. สถานการณ์และแนวโน้มดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความม่ันคง
2.1 ขอ้ มูลด้านเศรษฐกิจ
1) เศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทยมีขนาดใหญ่ท่ีสุดในภาคใต้ โดยในปี 2559

มีผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาประจาปี จานวน 710,571 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 53.7
ของผลิตภัณฑม์ วลรวมภาคใต้

ด้านอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย ในปี 2559
มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 1.93 ซึ่งชะลอตัวลงจากปี 2558 ที่มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 3.16
ซึ่งต่ากว่าระดับภาค และกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน และกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ท่ีร้อยละ
3.68 6.42 และ 3.97 ตามลาดับ โดยจังหวัดท่ีมีอัตราการขยายตัวสูงสุด ได้แก่ จังหวัดชุมพร
ขยายตัวร้อยละ 6.90 รองลงมาคือ จังหวัดพัทลุง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช
และจังหวัดสงขลา คือ รอ้ ยละ 5.61 2.42 1.78 และ 0.10 ตามลาดบั

โครงสร้างเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยยังคงพึ่งพาภาคเกษตรกรรม
โดยกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีสัดส่วนโครงสร้างภาคการเกษตรสูงที่สุดเม่ือเทียบกับสาขา
การผลิตอ่ืน ๆ ในปี 2559 มีสัดส่วนภาคการเกษตร ร้อยละ 29.36 เพิ่มขึ้นจากปี 2558
ท่ีมีสัดส่วนร้อยละ 28.57 โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
มีมูลค่า 90,707 ล้านบาท ซ่ึงมูลค่าการผลิตส่วนใหญ่มาจากพืชเศรษฐกิจหลัก คือ ยางพารา
(อันดับ 1 ของภาคใต้ ผลิตมากที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสงขลา และนครศรีธรรมราช)
ปาล์มน้ามัน (อันดับ 1 ของประเทศ ผลิตมากที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี และชุมพร) ไม้ผล เช่น เงาะ
ทุเรียน มังคุด (อันดับ 1 ของภาคใต้) ที่เหลือเป็นประมง มีมูลค่า 11,742 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
17.56 ส่วนภาคที่มีความสาคัญรองลงมา คือ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้า คิดเป็นร้อยละ 15.36
12.65 นอกจากนี้ เป็นภาคการบรกิ ารและอน่ื ๆ รวมรอ้ ยละ 42.63

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวัดภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 5

2) ผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยเฉล่ียต่อหัว (GRP Per Capita)
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังคงต่ากว่าระดับภาคและประเทศ โดยในปี 2559 ผลิตภัณฑ์มวลรวม
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทยเฉล่ียต่อหัว มีค่าเฉล่ีย 139,097 บาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ที่มีค่าเฉลี่ย
130,943 บาท ซ่ึงต่ากว่าระดับภาค และระดับประเทศ ที่มีค่าเฉลี่ย 143,544 215,455 บาท
ตามลาดับ และต่ากว่ากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันที่มีคา่ เฉลี่ย 201,384 บาท แต่สูงกว่ากลุ่มจงั หวัด
ภาคใต้ชายแดนที่มีค่าเฉลี่ย 79,651 บาท โดยจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทยท่ีมีค่าเฉลี่ย
ต่อหัวสูงท่ีสุด คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีค่าเฉล่ียต่อหัว 191,927 บาท ซึ่งสูงเป็นอันดับ 4
ของภาคใต้ (รองจากจังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ ที่มีค่าเฉลี่ยต่อหัว 357,498 บาท
และ 237,971 234,436 บาท ตามลาดับ) รองลงมา คือ จังหวัดชุมพรมีค่าเฉลีย่ 168,460 บาท
จังหวัดสงขลา มีค่าเฉล่ีย 157,029 บาท จังหวัดนครศรีธรรมราช มีค่าเฉลี่ย 98,627 บาท และ
จังหวดั ในกลุม่ ท่มี คี ่าเฉล่ียต่าสดุ คือ จังหวัดพัทลงุ มีคา่ เฉลยี่ 69,159 บาทต่อหวั

3) ด้านแรงงานและการมีงานทา กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีกาลังแรงงานโดยรวม
ในปี พ.ศ. 2562 จานวน 2,934,398 คน คิดเป็นร้อยละ 56.85 ของกาลังแรงงานภาคใต้ ซ่ึงถือว่า
เป็นกาลังแรงงานท่ีมากท่ีสุดในภาคใต้ โดยกาลังแรงงานรวมในปี พ.ศ. 2562 ลดลงจากปี พ.ศ. 2561
ทม่ี กี าลังแรงงาน จานวน 2,944,789 คน คดิ เปน็ ลดลงร้อยละ 0.20
ตารางท่ี 4 กาลงั แรงงานรวม

จังหวดั / กลมุ่ จงั หวัด 2558 2559 ปี พ.ศ. 2561 2562
2560

ภาคใต้ 5,043,084 5,077,565 5,047,052 5,177,476 5,161,524

กล่มุ จังหวดั ภาคใตอ้ ่าวไทย 2,877,141 2,900,467 2,882,781 2,944,789 2,934,398

ชมุ พร 283,824 279,529 277,574 283,023 292,200

สรุ าษฎร์ธานี 610,781 599,549 581,354 600,858 605,150

นครศรีธรรมราช 854,018 861,995 859,092 874,314 865,124

พัทลงุ 289,903 297,807 296,681 302,418 298,325

สงขลา 838,615 861,587 868,080 884,176 873,599

กลมุ่ จงั หวัดภาคใต้อันดามัน 1,329,695 1,333,810 1,327,913 1,354,287 1,360,276

กล่มุ จงั หวัดภาคใต้ชายแดน 836,249 843,288 836,608 878,400 866,850

ท่ีมา : สานกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ

4) อัตราการว่างงานรวม กาลังแรงงานของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีแนวโน้ม
อัตราการว่างงานเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2558 - 2560 คิดเป็นร้อยละ 0.84 1.29 1.60
แต่กลบั ลดลงในปี 2561 คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.13 และเพ่มิ ขึ้นอีกครั้งในปี 2562 คิดเปน็ ร้อยละ 1.33
โดยจังหวัดที่มีอัตราการว่างสูงสุดในปี 2562 คือ จังหวัดสงขลา 2.21 นครศรีธรรมราช 1.47 พัทลุง
0.70 สรุ าษฎรธ์ านี 0.61 และชมุ พร 0.39 ตามลาดับ

แผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับกล่มุ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 6

ตารางท่ี 5 อัตราการวา่ งงานรวม หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด / กลมุ่ จังหวดั ปี พ.ศ.
2558 2559 2560 2561 2562

ภาคใต้ 1.10 1.36 1.65 1.46 1.52

กลุ่มจังหวดั ภาคใต้อ่าวไทย 0.84 1.29 1.60 1.13 1.33

ชมุ พร 0.68 0.69 0.65 0.33 0.39

สรุ าษฎรธ์ านี 0.33 1.02 0.76 0.54 0.61

นครศรีธรรมราช 0.85 0.90 1.48 0.88 1.47

พัทลงุ 0.73 0.56 1.40 0.44 0.70

สงขลา 1.30 2.30 2.65 2.27 2.21

กลุ่มภาคใต้อันดามัน 1.24 1.35 1.09 1.07 1.32

กลมุ่ จังหวัดชายแดนใต้ 1.73 1.63 2.70 3.14 2.46

ทีม่ า : สานกั งานสถิติแห่งชาติ

2.2 ข้อมลู ดา้ นสังคม
1) การศึกษา ประชากรในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย ในปี 2562 มีจานวนปี

การศึกษาเฉล่ีย ที่ 9.54 โดยจังหวัดท่ีมีปีการศึกษาเฉล่ียสูงสุด คือ จังหวัดสงขลา 10.05 ปี รองลงมา
คือ จังหวัดพัทลุง 9.75 ปี จังหวัดนครศรีธรรมราช 9.57 จังหวัดสุราษฎร์ธานี 9.36 และจังหวัด
ชุมพร คือ 8.97 ปี ตามลาดบั

ตารางที่ 6 จานวนปกี ารศกึ ษาเฉล่ียของประชากรอายุ 15 - 59 ปี หน่วย : ปี

จังหวดั / กลมุ่ จงั หวัด ปี พ.ศ. 2562
9.19
2558 2559 2560 2561 9.33
9.6 9.54
ประเทศ 10.06 9.40 9.52 9.4 8.97
9.4 9.36
ภาคใต้ 10.20 9.30 9.54 9.1 9.57
9.1 9.75
กลุ่มจังหวัดฝ่ังอา่ วไทย 10.02 9.36 9.52 9.3 10.05
9.5
ชมุ พร 8.72 9.00 9.2 10

สุราษฎรธ์ านี 11.35 9.00 8.9

นครศรธี รรมราช 9.43 9.50 9.5

พทั ลงุ 9.20 9.50 9.8

สงขลา 11.39 9.80 10.2

ที่มา : ศูนย์สารสนเทศทางการศึกษา สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

2) สัดส่วนคนจนลดลง และต่ากว่าค่าเฉล่ียของภาคและประเทศ ปี 2559 กลุ่มจังหวดั
ภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย มีสัดส่วนคนจน ปี 2559 ร้อยละ 7.15 ซึ่งต่ากว่าสัดส่วนคนจนในระดับภาคใต้
และระดับประเทศ ที่ร้อยละ 12.35 8.61 ตามลาดับ โดยกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน มีสัดส่วนสูง
ท่ีสุด รองลงมาคือกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอันดามัน และกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สัดส่วนคนจน
ทร่ี อ้ ยละ 28.68 8.73 และ7.15 ตามลาดบั

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 7

ตารางท่ี 7 จานวนคนจน และสดั สว่ นคนจนของภาคใต้ในช่วง ปี 2556 – 2559

จงั หวดั สัดสว่ นคนจน (ร้อยละ) จานวนคนจน (พันคน)

2556 2557 2558 2559 2556 2557 2558 2559

ประเทศ 10.94 10.53 7.21 8.61 7,305.1 7,057.4 4,847.2 5,810.1

ภาคใต้ 11.00 13.79 9.92 12.35 991.5 1,254.8 908.6 1,137.5

กล่มุ จงั หวัดฝง่ั อ่าวไทย 5.52 8.05 6.54 7.15 274.7 403.1 329.3 361.5

ชมุ พร 3.12 4.95 5.85 5.37 14.9 23.8 28.4 26.2

สุราษฎรธ์ านี 1.39 2.65 2.23 1.35 14.3 27.4 23.2 14.2

นครศรีธรรมราช 9.91 11.53 11.87 8.08 147.5 173.1 179.7 123.4

พทั ลงุ 15.24 17.71 13.06 14.02 75.4 88.4 65.7 71.1

สงขลา 1.49 5.94 2.11 8.22 22.6 90.4 32.3 126.6

กลมุ่ จงั หวดั ฝัง่ อนั ดามัน 6.67 6.96 5.95 8.73 146.8 154.9 134.2 198.5

กลุม่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 29.21 35.32 22.31 28.68 570.0 696.8 445.2 577.4

ท่ีมา : ข้อมลู จากการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คมของครวั เรือน สานักงานสถติ แิ ห่งชาติ

ประมวลผลโดย สานักพัฒนาฐานข้อมูลและตวั ชี้วดั ภาวะสงั คม, สศช.

2.3 ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
1) ทรัพยากรป่าไม้ พ้ืนที่ป่าไม้รวมของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

โดยเพ่ิมข้ึนจาก 5,138,225.97 ไร่ ในปี 2557 เป็น 5,162,734.14 ไร่ ในปี 2558 เพ่ิมข้ึน
ร้อยละ 0.48 โดยพื้นท่ีป่าไม้ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.05
ของพ้นื ท่ปี า่ ไม้ท้งั ประเทศ หรอื สัดสว่ น ร้อยละ 46.62 ของพ้ืนทีป่ า่ ไม้ภาคใต้

สาหรับสัดส่วนพ้ืนที่ป่าไม้ของกลุ่มจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 20.83 ของพื้นที่รวม
ของกลุ่มจังหวดั ซ่ึงสดั สว่ นดังกล่าวต่ากว่ามาตรฐานความสมดุลของระบบนิเวศที่กาหนดให้มีพ้ืนท่ีป่าไม้
ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 40.0 ของพ้นื ทที่ ้ังหมด

2) ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีความหลากหลาย
ของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งสูงมาก เป็นพ้ืนที่ที่มีความเหมาะสมต่อการเป็นแหล่งกาเนิดอาหารสงู
เนื่องจากกลุ่มภาคใต้ฝัง่ อา่ วไทยต้ังแตจ่ ังหวดั ชมุ พร จนถึงจงั หวัดสงขลา มีพ้นื ที่ความยาวตลอดแนวชายฝ่ัง
ประมาณ 817 กิโลเมตร และมีสภาพเป็นอ่าวท่ีเหมาะสมโดยเฉพาะอ่าวบ้านดอน นอกจากน้ี
ยังมีทรัพยากรป่าชายเลนคงสภาพท่ีเชือ่ มโยงกันจานวนทั้งสิ้น 160,756 ไร่ ประกอบด้วย พื้นท่ีป่าชายเลน
คงสภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช 73,550 ไร่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 46,575 ไร่ จังหวัดชุมพร
32,238 ไร่ จังหวดั สงขลา 7,994 ไร่ และจงั หวดั พัทลุง 400 ไร่

3) การประมง กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทยเป็นพื้นที่ที่มีความสาคัญด้านการประมง
แหง่ หนงึ่ ของประเทศ การประมงในพ้ืนท่ีมีทงั้ การประมงทะเล การประมงนา้ จดื การเพาะเล้ียงชายฝั่ง
เมื่อพิจารณาการประมงทะเลของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย จากปริมาณการจับสัตว์น้าเค็ม
ณ ท่าข้ึนท่าเทียบเรือขององค์กรสะพานปลา ในปี พ.ศ. 2559 พบว่า ปริมาณการจับสัตว์น้าโดยรวม
ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีจานวน 43,819 เมตริกตัน มีมูลค่า 978 ล้านบาท คิดเป็น
ร้อยละ 15.86ของประเทศ โดยที่จังหวัดสงขลา มีปริมาณสัตว์น้าข้ึนท่าสูงสุด ร้อยละ 53.84

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 8

ของทั้งกลุ่มจังหวัด (ที่มา : ท่าเทียบเรือประมงขององค์การสะพานปลาในภาคใต้ ประมวลโดย
: สานักพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต้) ขณะทีก่ ารประมงน้าจืดและน้ากร่อย กระจายอยู่ตามริมปากแม่น้า
หรือคลองในบริเวณที่มีลักษณะน้าจืด น้ากร่อย และน้าเค็มมาผสมกันซ่ึงเป็นพ้ืนที่ท่ีมีทรัพยากร
ทางธรรมชาตอิ ยา่ งอดุ มสมบูรณ์

การเพาะเล้ียงสัตว์น้าในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีการเพาะเล้ียงสัตว์น้า
เป็นจานวนมาก และมีความสาคัญต่อการส่งออกสัตว์น้าที่สาคัญของกลุ่มจังหวัด คือ กุ้งทะเล และสัตว์น้าอื่น ๆ
สาหรับการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ในปี 2559 มีปริมาณ 47,492 ไร่
ผลผลิต 85,614 ตัน ปริมาณผลผลิตคิดเป็นร้อยละ 56.69 ของภาคใต้ และร้อยละ 26.62
ของประเทศ (ข้อมูลที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) โดยในระยะแรก
ของการเล้ียงเป็นการเลี้ยงแบบเลียนแบบธรรมชาติ แบบกึ่งพัฒนา และแบบพัฒนา โดยได้มี
การพฒั นาระบบการเลย้ี งและขยายพนื้ ที่เพาะเลยี้ งกุ้งอยา่ งรวดเรว็

4) การท่องเท่ียว กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย มีทรัพยากรท่ีเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ที่สาคัญของประเทศมีความโดดเด่นและมีช่ือเสียงระดับโลก ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล
แหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์และวัฒนธรรมทั้งยังเปน็ ศูนย์กลางพระพทุ ธศาสนาของภูมิภาค

ตารางท่ี 8 ประเภทแหล่งท่องเที่ยว

รายการ ประเภทแหลง่ ท่องเท่ียว

จงั หวดั ชายหาดชายทะเล ธรรมชาติ วถิ ีชีวิตชุมชน ประวัตศิ าสตร์ ศาสนา ศิลปะ
ภูเขา น้าตก วฒั นธรรมประเพณี
- ศาลพอ่ ตาหนิ ชา้ ง
1. ชุมพร - หาดทรายรี - อทุ ยานแห่งชาติ - ศูนย์เรยี นรู้แก้มลิง - กรมหลวงชุมพรฯ อาเภอทา่ แซะ
- ศนู ย์การเรยี นรู้ อาเภอเมอื ง - งานประเพณี
“ประตูสู่ภาคใต้ อาเภอเมอื ง หมู่เกาะ ชุมพร เศรษฐกจิ - อนุสาวรีย์ยุวชน แหพ่ ระแขง่
พอเพยี ง ทหาร เรือยาว
ไหว้สมเด็จในกรมฯ - หาดทุ่งวัวแล่น อาเภอเมอื ง อาเภอพะโตะ๊ อาเภอเมือง อาเภอหลังสวน
- โฮมสเตย์ - เรือจักรีนฤเบศร์ - พิพธิ ภัณฑส์ ถาน
ชมไร่กาแฟ อาเภอประทิว - เกาะพิทกั ษ์ ท้องตมใหญ่ จาลอง แห่งชาติชมุ พร
อาเภอสวี อาเภอหลังสวน อาเภอเมอื ง
แลหาดทรายรี - หาดอรโุ ณทยั อาเภอหลังสวน
- มวยไชยา
ดีกลว้ ยเล็บมือ อาเภอทุ่งตะโก - ล่องแพพะโตะ๊ - ชักพระ
ทอดผ้าปา่
ข้ึนชื่อ รังนก” - หาดบ่อเมา อาเภอพะโตะ๊ และแขง่ ขนั
เรือยาว
อาเภอประทวิ - เขาดินสอ
- มาฆบูชาแหผ่ า้
อาเภอปะทิว ขึ้นธาตุ

- นา้ ตกเหวโหลม - ประเพณี
สวดดา้ นใน
อาเภอพะโตะ๊ วนั มาฆบูชา

2. สุราษฎรธ์ านี - เกาะสมุย - อุทยานเขาสก - บ้านพุมเรยี ง - พระบรมธาตไุ ชยา
- ฟารม์ สเตย์เลย้ี งหอย อาเภอไชยา
“เมืองร้อยเกาะ - เกาะพะงัน อาเภอพนม อาเภอกาญจนดิษฐ์ - วัดสวนโมกขพลา
- โฮมสเตย์ถ้าผง้ื รามอาเภอไชยา
เงาะอรอ่ ย - เกาะเต่า - เขอ่ื นรัชชประภา อาเภอพนม - พพิ ธิ ฑภณั ฑ์ไชยา
- คลองรอ้ ยสาย อาเภอไชยา
หอยใหญ่ - หมู่เกาะ อาเภอบ้านตาขนุ อาเภอเมอื ง

ไขแ่ ดง อา่ งทอง - อุทยานใตร้ ่มเย็น

แหลง่ ธรรมะ” อาเภอบา้ นนาสาร

- น้าตกดาดฟา้

อาเภอบ้านนาสาร

- น้าตก ๓๕๗

อาเภอเวยี งสระ

3.นครศรีธรรมราช - แหลมตะลมุ พุก - อทุ ยานเขาหลวง - บ้านคีรวี ง - พระบรมธาตุเจดยี ์
อาเภอลานสกา อาเภอเมอื ง
“เราชาวนคร อาเภอปากพนงั อาเภอลานสกา - ชมุ ชนไมเ้ รยี ง - พระพุทธสิหงิ ค์
อาเภอฉวาง - โบราณสถานเขาคา
อยูเ่ มืองพระ - หาดในเพลา - น้าตกกรุงชงิ - โครงการ อาเภอสชิ ล

มน่ั อยู่ในสัจจะ อาเภอขนอม อาเภอนบพิตา

ศลี ธรรม - ปลาโลมาสชี มพู - น้าตกพรหมโลก

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 9

รายการ ประเภทแหลง่ ท่องเที่ยว

จังหวดั ชายหาดชายทะเล ธรรมชาติ วถิ ชี วี ติ ชุมชน ประวัตศิ าสตร์ ศาสนา ศลิ ปะ
กอรปกรรมดี ภูเขา น้าตก วัฒนธรรมประเพณี
มมี านะพากเพยี ร อาเภอขนอม - บญุ สารทเดอื นสิบ
ไม่เบยี ดเบียน - อา่ วทุ่งใส อาเภอพรหมคีรี พระราชดาริ - หุบเขาชอ่ งคอย - แข่งเรอื เพรียว
ทาอันตรายผใู้ ด” (ปากนคร,
อาเภอสิชล - น้าตกกระโรม ล่มุ นา้ ปากพนัง อาเภอจฬุ าภรณ์ ปากพนงั ,
เชียรใหญ)่
อาเภอลานสกา - OTOP เคร่ืองถมฯ - อนุสาวรีย์วีรไทย - ประเพณีใหท้ านไฟ
- ประเพณี
- หาดขนอมหมู่ อาเภอเมอื ง (พ่อจา่ ดา) แห่นางดาน
- มหกรรมสงกรานต์
เกาะทะเลใต้ - กีฬาววั ชน เมืองนคร
- หนงั ตะลุง
- อุทยานแห่งชาติ มโนหร์ า เพลงบอก

น้าตกโยงอ.ท่งุ สง - วดั เขาออ้ /
วดั เขาเมอื งเกา่
- นา้ ตกท่าแพ อาเภอควนขนุน
- หนังตะลงุ ,มโนรา,
อาเภอช้างกลาง เพลงบอก
- แขง่ โพนลากพระ
- จุดชมวิวทะเลหมอก - การแขง่ ขันซัดตม้
- ลิเกป่า / ซาไก
กรงุ ชิง - วัดเขียนบางแก้ว
- แหผ่ ้าข้ึนธาตุ
อาเภอนบพิตา วัดเขียน
บางแก้ว
4. พทั ลงุ - ทะเลน้อย - บอ่ นา้ รอ้ น - แกะรปู หนังตะลงุ - วงั เจา้ เมือง - วัดวัง/วัดคหู า
“เมอื งหนงั โนรา อาเภอควนขนนุ สวรรค์
อ่นู าข้าว - เทศกาลล่องเรือ เขาชยั สน - OTOP กระจูด - พพิ ธิ ภณั ฑ์
พราวน้าตก แสนกทะเลนอ้ ย - ประเพณที อดผา้
แหล่งนกนา้ - หาดแสนสขุ ลาปา อาเภอเขาชัยสน ทะเลน้อย หนงั ตะลงุ ผ้าป่าสามคั คี
ทะเลสาบงาม อาเภอเมอื ง ปิดทองหลวงปู่
เขาอกทะลุ - แหลมจอง - นา้ ตกไพรวลั ย์ - กะลามะพร้าวชัยบรุ ี - มโนราห์บ้านท่าแค ทวดน้าทะเลจดื
นา้ พรุ อ้ น” ถนนเขาชัยสน และห่มผ้า
- เกาะสี่ เกาะหา้ อาเภอกงหรา - ผ้าทอลายขอ่ ย พระสวุ รรณ
อาเภอปากพยูน เมาลกิ ศรี
- รังนกนางแอ่น - ภูเขาเจด็ ยอด ผา้ ทอแพรวา ตันมหาธาตุ
วัดพะโคะ
- อทุ ยานเขาปู่ - ยกยอยักษ์ อาเภอเทพา

เขาย่า บ้านปากประ - ประเพณี
เปลย่ี นผา้
5. สงขลา - หาดสมิหลา - สถานแสดงพนั ธุ์ - สถาบันทักษิณ - วัดพระเจดยี ์งาม พระสามองค์
"นกน้าเพลินตา - แหลมสนออ่ น สตั ว์น้าสงขลา คดีศึกษา อาเภอระโรด อาเภอเทพา
สมหิ ลาเพลนิ ใจ - หาดเกา้ เส้ง
เมอื งใหญ่สองทะเล - หาดสะกอม - เขาตังกวน - ชุนชนสทงิ หมอ้ - วดั พะโคะ - ประเพณี
เสนห่ ์สะพานป๋า - หาดทรายแก้ว - สวนสาธารณะ อาเภอเมอื ง (วัดราช แหผ่ า้ ขึน้ เขากฎุ
ศนู ยก์ ารคา้ แดนใต"้ ประดษิ ฐาน) อาเภอเมอื ง
อาเภอสิงหนคร เทศบาลนคร - เกาะยอ อาเภอสทิงพระ
หาดใหญ่ อาเภอ - ตลาดน้าคลอง - ประเพณี
หาดใหญ่ - วัดจะทิง้ พระ ตายายยา่ น
- อทุ ยานนกน้า แห อาเภอ อาเภอสะทิ้งพระ อาเภอสทิงพระ
คขู ุด อาเภอ หาดใหญ่
สทิงพระ - ตลาดรมิ นา้ - วดั มัชฌิมาวาส
- น้าตก คลองแดน (วัดกลาง)
โตนงาชา้ ง อาเภอระโนด
อาเภอหาดใหญ่ - อาเภอเมอื ง
- น้าตกบรพิ ัตร - วดั ชัยมงคล
อาเภอรตั นภมู ิ
อาเภอเมอื ง
- วดั ถ้าลอด

อาเภอสะบา้
ยอ้ ย
- เจดยี ์เขาตงั กวน
- ตัวเมืองเกา่
สงขลา
- พิพธิ ภัณฑส์ ถาน
แห่งชาติสงขลา

แผนพัฒนาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 10

รายการ ชายหาดชายทะเล ธรรมชาติ ประเภทแหลง่ ท่องเท่ยี ว ศาสนา ศิลปะ
จังหวัด ภเู ขา น้าตก วฒั นธรรมประเพณี
วถิ ีชวี ติ ชุมชน ประวัตศิ าสตร์
- ประเพณีลากพระ
- อโุ มงค์ ตักบาตรเทโว
ประวัติศาสตร์
เขานา้ คา้ ง - ประเพณี
อาเภอนาทวี วนั สารท หรือ
ประเพณี
- วัดมหัตต ชิงเปรต
มงั คลาราม
(วดั หาดใหญ่ใน)

- วัดคงคาเลียบ
อาเภอบางกล่า

- พพิ ธิ ภัณฑ์
พธามะรงค์

- ตาหนกั เขานอ้ ย
- ศาลหลกั เมือง

สงขลา

เครอื ขา่ ยทอ่ งเที่ยวชุมชนกลมุ่ จังหวัดภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย
จงั หวัดชมุ พร :
 ชมุ ชนทอ่ งเทย่ี วบ้านท้องตมใหญ่
 ชมุ ชนท่องเทย่ี วเกาะพิทักษ์
 ชมุ ชนทอ่ งเทยี่ วเชิงนเิ วศบา้ นคลองเรือ
 โฮมสเตยบ์ ้านปากคลอง
 ชุมชนท่องเที่ยวบ้านทอนอม
จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี :
 กลมุ่ ท่องเท่ียวเชิงอนรุ ักษบ์ ้านถ้าผ้งึ
 กลุม่ ชุมชนลเี ลด็ นาเท่ียวเพ่ือการอนุรักษ์
 ชมรมการท่องเทย่ี วเชงิ อนรุ ักษ์โดยชุมชนคลองน้อย
 กลมุ่ ท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนหมู่บ้านประวตั ิศาสตร์อนุสรณ์สถานบา้ นชอ่ งช้าง
จงั หวัดนครศรีธรรมราช :
 ชมรมทอ่ งเทย่ี วเชิงอนุรกั ษ์บา้ นครี ีวง
 กลุ่มทะเลหมอกกรุงชิง
 กลมุ่ ท่องเที่ยวเชงิ อนรุ ักษบ์ า้ นแหลมประทบั
 โฮมสเตยป์ ากพูน
 วิสาหกิจชมุ ชนการทอ่ งเทย่ี วตาบลเขาแก้ว
 ชมรมการท่องเทย่ี วโดยชุมชนบ้านพรหมโลก
 บา้ นแหลมโฮมเสตยแ์ อนด์ฟชิ ชง่ิ ทัวร์
 ชุมชนกลุ่มประมงชายฝ่งั รักบ้านเกดิ
 วสิ าหกจิ ชมุ ชนวดั ธาตนุ ้อย
 ชมรมการท่องเทย่ี วเชงิ อนุรกั ษ์บา้ นกะทูน

แผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝ่งั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 11

จังหวัดพทั ลงุ :
 เครอื ข่ายชมุ ชนท่องเทย่ี วเชิงอนรุ กั ษ์อาเภอกงหรา
 เครือข่ายชุมชนทอ่ งเทยี่ วเกษตรเชิงอนุรกั ษ์อาเภอป่าบอน
 เครอื ข่ายชมุ ชนทอ่ งเทย่ี วเชิงวัฒนธรรมอาเภอตะโหมด
 เครือข่ายชมุ ชนท่องเทยี่ วเกษตรเชงิ อนรุ กั ษ์อาเภอศรีนครนิ ทร์

จังหวดั สงขลา:
 ทอ่ งเท่ียวชุมชนวถิ ีพทุ ธ ตลาดรมิ น้าคลองแดน“สามคลอง สองจงั หวดั ”
(สงขลา-นครศรีธรรมราช)
 หมูบ่ ้านโอทอปเพ่ือการทอ่ งเท่ียวอาเภอเมืองจงั หวัดสงขลา
 ศนู ยเ์ รียนรูค้ ณุ ธรรมเพอ่ื เศรษฐกจิ พอเพยี ง จ.สงขลา ตาบลบา้ นหาร อาเภอ
บา้ นกล่า
 กลุ่มวสิ าหกิจชุมชนเกาะยอโฮมสเตย์จงั หวดั สงขลา
 กลุ่มหมู่บา้ นหตั ถกรรมบ้านคลองแห-หนองทราย ตาบลคลองแห อาเภอ
หาดใหญ่

3. ข้อมูลพนื้ ฐานดา้ นการศกึ ษา

3.1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานท่วั ไป
ตารางท่ี 9 ขอ้ มลู สถานศึกษา ผู้เรียน และ ครู จาแนกตามสงั กัด ปกี ารศึกษา 2562

ที่ สงั กดั /หนว่ ยงาน จานวน จานวนผ้เู รียน จานวนครู
สถานศึกษา (คน) (คน)

(แห่ง)

1 สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ 16 858 158

2 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 76 76,078 3,526

3 กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน 25 3,532 158

4 สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 448 227,424 10,549

5 สถาบนั พลศึกษา 2 1,011 75

6 กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน 1,476 126,170 3,075

7 สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์ 3 758 68

8 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 2,283 530,724 39,726

9 สถาบันพระบรมราชชนก 3 542 55

10 สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 25 93,625 4,756

11 สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบฯ 639 59,529 1,326

กล่มุ จงั หวัดภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย 4,996 1,120,251 63,472

ทม่ี า : จานวนสถานศึกษา จานวนครู และ จานวนนักเรยี น ปี 2562 จาก
1. ระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (Data Management Center https://portal.bopp-

bec.info/obec62/

แผนพัฒนาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 12

2. สารสนเทศเพื่อการศึกษาแห่งชาติ ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สป.ศธ.
จาก http://www.mis.moe.go.th/

3. ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและกาลังคนอาชีวศกึ ษา สอศ. http://techno.vec.go.th/
4. ระบบเผยแพรส่ ารสนเทศอุดมศึกษา (อว.) http://www.info.mua.go.th/info/login.php
5. ข้อมลู จากสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดชมุ พร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา
หมายเหตุ : 1. จานวนสถานศึกษา จานวนครู และ จานวนนักเรียน ในสังกัด กศน. เป็นข้อมูลรวม
กศน.อาเภอ และ กศน.ตาบล
3.2 ข้อมูลคุณภาพทางการศึกษา

คุณภาพทางการศึกษาพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 5 ในกลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย ใช้ตัวช้ีวัด ได้แก่ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ทางด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ด้านการศึกษานอกระบบ
สถานศึกษา (N-NET) การทดสอบมาตรฐานอิสลามศึกษา (I-NET) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ด้านพระพุทธศาสนา (B-NET) โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

1) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET)
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) คือการทดสอบระดับชาติ

สาหรับผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ทุกกลุ่มสาระ
ได้แก่ ภาษาไทย สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี การทดสอบนี้
เป็นการทดสอบความรู้รวบยอดและความคิดของผู้เรียนปลายช่วงชั้น โดยสถาบันทดสอบ
ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทศ. เป็นผู้จัดสอบความรู้ตามหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เพื่อนาผลการทดสอบไปใช้เป็นองค์ประกอบหน่ึง ในการจบการศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และนาผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุง
คุณภาพการเรยี นการสอนของสถานศึกษา

จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ของสถานศึกษา
ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ระหว่างปีการศึกษา 2558 – 2562 สามารถสรุปผล
โดยจาแนกตามระดับชนั้ การศกึ ษา ได้ดงั น้ี

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝงั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 13

ตารางที่ 10 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET)

ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2558 – 2562 จาแนกรายจงั หวัด

ค่าเฉลย่ี

จังหวดั ปี ปี ปี ปี ปี

2558 2559 2560 2561 2562

กลุม่ จังหวัดภาคใตฝ้ ่งั อ่าวไทย 45.85 45.18 41.40 44.94 39.37

วิเคราะหผ์ ล -

ชุมพร 46.40 46.43 43.06 46.45 39.60

วิเคราะหผ์ ล -

สุราษฎร์ธานี 45.36 45.75 41.86 45.25 39.48

วิเคราะห์ผล -

นครศรีธรรมราช 43.89 44.39 40.52 44.21 38.74

วิเคราะห์ผล -

พัทลุง 49.55 46.93 43.46 47.48 41.43

วเิ คราะหผ์ ล -

สงขลา 44.05 44.65 40.84 44.56 39.05

วิเคราะหผ์ ล -

ทีม่ า : สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน)

จากตาราง 10 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2558 – 2562 พบว่า ในภาพรวมกลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ ลดลงอย่างต่อเน่ืองจากปี 2558 - 2560 กลับเพิ่มข้ึน
ในปี 2561 และลดลงอีกในปี 2562 และเมื่อพิจารณาในปีการศึกษา 2562 รายจังหวัด พบว่า
ทกุ จงั หวัดมคี ะแนนเฉล่ียร้อยละลดลง

แผนพัฒนาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ ง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 14

ตารางที่ 11 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ระหว่างปกี ารศึกษา 2558 - 2562 จาแนกรายจงั หวดั

จังหวัด คา่ เฉลี่ย
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

กล่มุ จงั หวัดภาคใตฝ้ ง่ั อ่าวไทย 35.79 39.11 35.10 38.43 36.96

วิเคราะห์ผล -
นครศรธี รรมราช 36.63 39.68 35.75 38.87 37.45

วิเคราะหผ์ ล -

สรุ าษฎรธ์ านี 35.70 38.71 34.41 37.70 36.38

วิเคราะหผ์ ล -

ชุมพร 35.17 38.62 34.64 38.03 36.69

วเิ คราะหผ์ ล -

สงขลา 36.12 38.70 35.04 38.43 36.51

วเิ คราะห์ผล -

พัทลุง 35.32 39.80 35.87 39.18 37.60

วิเคราะหผ์ ล -

จากตารางที่ 11 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2558 – 2562 พบว่า ในภาพรวมกลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย มีคะแนนเฉล่ียร้อยละเพิ่มข้ึนในปี 2559 และลดลงในปี 2560 เพ่ิมข้ึนในปี 2561
และกลับลดลงอีกคร้ังในปี 2562 และเม่ือพิจารณารายจังหวัด ในปี 2562 พบว่า ทุกจังหวัด
มีคะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละลดลง

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 15

ตารางท่ี 12 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2558 - 2562 จาแนกรายจังหวัด

จังหวดั คา่ เฉลี่ย
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

กล่มุ จงั หวัดภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย 31.24 35.12 33.98 35.66 32.87

วเิ คราะหผ์ ล -

ชมุ พร 31.32 34.77 33.80 34.94 32.31

วิเคราะหผ์ ล -

สุราษฎร์ธานี 31.43 33.81 32.41 34.42 31.53

วเิ คราะห์ผล -

นครศรธี รรมราช 31.65 34.88 33.80 35.49 32.65

วิเคราะหผ์ ล -

พัทลุง 30.11 34.04 32.44 34.54 31.81

วเิ คราะหผ์ ล -

สงขลา 31.71 36.78 35.78 37.24 34.48

วิเคราะห์ผล -

จากตาราง 12 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ระหว่างปีการศึกษา 2558 – 2562 พบว่า ในภาพรวมกลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย มีคะแนนเฉล่ียร้อยละเพิ่มขึ้นในปี 2559 และลดลงในปี 2560 เพ่ิมขึ้นในปี 2561
และลดลงอีกคร้ังในปี 2562 และเม่ือพิจารณารายจังหวัด ในปี 2562 พบว่า ทุกจังหวัดมีคะแนน
เฉลี่ยรอ้ ยละทุกวชิ าลดลง

2) การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ทางดา้ นอาชีวศึกษา (V-NET)
V-NET ย่อมาจาก Vocational National Education Test หมายถึง การทดสอบ

ทางการศึกษาระดับชาติ ทางด้านอาชีวศึกษา เป็นการทดสอบวัดความรู้มาตรฐานทางวิชาการ
และวิชาชีพ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาหรับนักศึกษาอาชีวศึกษา ที่จะจบ
ระดับช้ัน ปวช.3 V-NET โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทศ.
เทียบได้กับการทดสอบ O-NET ของผู้เรียนสายสามัญที่จะสาเร็จการศึกษาในระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน หรือมัธยมศึกษาปีที่ 6 การทดสอบ V-NET เป็นประโยชน์แก่ต้นสังกัด และสถานศึกษา
ในการที่จะทราบมาตรฐานการเรียนการสอนของครูและนักศึกษา และผลการทดสอบ V-NET
สามารถนาไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนของครู อันจะส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักศึกษาสูงขึ้นได้ รวมทั้งการนาผลการสอบ V-NET ไปใช้ในการประกันคุณภาพ
การศึกษา

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 16

ตารางท่ี 13 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นอาชวี ศึกษา (V-NET)
ระหว่างปีการศกึ ษา 2558 – 2562 จาแนกระดบั การศึกษาและรายจงั หวดั

ปวช. 3 ปวส.2

จงั หวดั ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี

2558 2559 2560 2561 2562 2558 2559 2560 2561 2562

กลมุ่ จงั หวัด 44.05 38.25 42.32 42.62 44.57 41.66 35.53 37.45 40.37 40.98
ภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย

วเิ คราะหผ์ ล - -

ชมุ พร 45.01 38.20 42.59 42.60 44.18 41.99 37.80 38.48 41.38 41.58

วเิ คราะหผ์ ล - -

สุราษฎรธ์ านี 43.77 38.56 42.87 42.48 45.17 41.79 37.09 36.96 40.13 41.10

วเิ คราะหผ์ ล - -

นครศรธี รรมราช 43.97 37.59 42.13 41.86 43.49 41.55 36.34 37.49 40.12 40.60

วเิ คราะหผ์ ล - -

พทั ลงุ 43.93 37.61 41.56 42.52 44.52 41.45 37.25 36.93 39.87 41.17

วิเคราะหผ์ ล - -

สงขลา 45.40 39.29 43.34 43.67 45.53 41.34 37.62 37.81 40.52 41.07

วิเคราะหผ์ ล - -

จากตารางที่ 13 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2558 – 2562 พบวา่

ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2558 – 2562 ภาพรวม
ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย มีค่าเฉลี่ยลดลงในปีการศึกษา 2559 คือ 38.25 และมีค่าเฉล่ีย
เพ่ิมขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในปกี ารศึกษา 2560 - 2562 คอื 42.32, 42.62, 44.57 และเมอ่ื พิจารณา
รายจงั หวดั พบว่า จังหวัดชุมพร พัทลงุ และ สงขลา มีค่าเฉลี่ยร้อยละเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ืองในปี 2560 -
2562 สาหรับจังหวัดสุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช มีค่าเฉล่ียร้อยละลดลงในปี 2561
และเพมิ่ ขนึ้ อกี ครัง้ ในปี 2562

ระดับชนั้ ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสงู ปีท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2558 – 2562 ภาพรวม
ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีค่าเฉล่ียลดลงในปีการศึกษา 2559 คือ 35.53 และมีค่าเฉล่ีย
เพิ่มข้นึ อยา่ งตอ่ เนือ่ งในปีการศึกษา 2560 - 2562 คอื 37.45, 40.37, 40.98 และเม่ือพจิ ารณา
รายจังหวัด พบว่า จังหวัดชุมพร นครศรีธรรมราช และ สงขลา มีค่าเฉลี่ยร้อยละเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง
ในปี 2560 และ 2562 สาหรับจังหวัดสุราษฎร์ธานี และพัทลุง มีค่าเฉล่ียร้อยละลดลงในปี 2559 -
2560 แตก่ ลับเพิ่มข้ึนในปี 2561 - 2562

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุม่ จงั หวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 17

3) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน (N-NET)
การทดสอบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบระดับ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน (N-NET : Non-Formal National Education Test) หมายถึง การทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบสถานศึกษา เป็นการทดสอบเพ่ือวดั ความรู้ให้แก่ผเู้ รียน
ท่ีกาลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษาในภาคเรียนที่ 1
และภาคเรียนท่ี 2 ของปีการศึกษา ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
โดยสถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรอื สทศ. เป็นผจู้ ัดสอบความรู้ตามหลักสตู ร

จากการทดสอบ N-NET ในระหว่างปีการศึกษา 2561 - 2562 ของการศึกษา
นอกระบบโรงเรียน ในพืน้ ท่ีกลุ่มจังหวดั ภาคใต้ฝ่ังอา่ วไทย สามารถสรปุ ผลได้ดังน้ี

ตารางท่ี 14 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET)
ระหวา่ งปีการศกึ ษา 2561 – 2562 จาแนกรายจังหวดั และระดับการศกึ ษา

ป.6 ม.ต้น ม.ปลาย

จงั หวดั ปี 2561 ปี 2562 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2561 ปี 2562
ครั้งที่ 1 ครั้งท่ี 2 ครงั้ ที่ 1 คร้ังที่ 1 คร้งั ที่ 2 คร้งั ท่ี 1 คร้งั ท่ี 1 ครั้งที่ 2 คร้งั ที่ 1

กล่มุ จังหวดั 49.88 46.88 45.84 40.81 41.26 39.07 38.31 37.21 35.18
ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย

วเิ คราะหผ์ ล - - -

ชมุ พร 45.70 47.29 49.31 44.23 44.12 41.83 40.96 39.00 36.37

วเิ คราะหผ์ ล - - -

สุราษฎร์ธานี 43.31 45.27 42.27 42.06 41.93 39.79 38.66 38.00 35.86

วิเคราะหผ์ ล - - -

นครศรธี รรมราช 53.18 54.29 59.59 40.07 40.30 38.96 37.96 36.54 34.65

วิเคราะหผ์ ล - - -

พัทลุง 64.22 43.87 36.99 38.78 39.64 37.14 36.62 35.35 34.68

วเิ คราะหผ์ ล - - -

สงขลา 42.99 43.66 41.05 38.91 40.34 37.64 37.38 37.15 34.35

วิเคราะหผ์ ล - - -

ท่มี า : สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)
จากตารางท่ี 14 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ

โรงเรียน (N-NET) ระหว่างปีการศกึ ษา 2561 – 2562 พบว่า

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 18

ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย มีค่าเฉล่ียร้อยละ
ลดลงอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปี 2561 ครั้งที่ 2 และ 2562 คร้ังท่ี 1 และเม่ือพิจารณารายจังหวัด
พบว่า จังหวัดชุมพร และนครศรีธรรมราช มีค่าเฉล่ียร้อยละเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ืองตั้งแต่ปี 2561 คร้ังที่ 2
และ 2562 คร้ังที่ 1 จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ สงขลา มีค่าเฉลี่ยร้อยละลดลงใน ปี 2562 คร้ังที่ 1
สาหรบั จงั หวัดพัทลงุ มีค่าเฉล่ียรอ้ ยละลดลงอยา่ งตอ่ เนื่อง

ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีค่าเฉล่ียร้อยละ
เพ่ิมข้ึนในปี 2561 ครั้งที่ 2 แต่ลดลงในปี 2562 คร้ังที่ 1 และเม่ือพิจารณารายจังหวัด พบว่าจังหวัด
นครศรธี รรมราช พัทลุง และสงขลา มคี า่ เฉลี่ยร้อยละเพิม่ ข้นึ ในปี 2561 คร้งั ท่ี 2 แต่ลดลงในปี 2562
คร้ังท่ี 1 สาหรับจังหวัดชุมพรและสุราษฎร์ธานี มีค่าเฉลี่ยร้อยละลดลงอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปี 2561
และ 2562

ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พบวา่ กล่มุ จังหวัดภาคใต้ฝ่งั อ่าวไทย มีค่าเฉลย่ี ร้อยละ
ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2561 และ 2562 และเม่ือพิจารณารายจังหวัด พบว่าทุกจังหวัด
มคี ่าเฉล่ยี รอ้ ยละ ลดลงอย่างต่อเน่อื งตงั้ แต่ปี 2561 และ 2562

4) การทดสอบมาตรฐานอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ระดบั ชั้นอิสลามศึกษา
I-NET ย่อมาจาก Islamic National Educational Test หมายถึง การทดสอบ

ทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา โดยวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทดสอบความรู้และความคิด
ของนักเรียน ตามหลักสูตรอิสลามศึกษา พ.ศ. 2546 2) เพ่ือนาผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุง
คุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียน และ 3) เพ่ือนาผลการสอบไปใช้ในวัตถุประสงค์อ่ืน ซ่ึง สทศ.
จัดสอบ I-NET ให้แก่นักเรียนที่กาลังศึกษาอยู่ในปีสุดท้ายของหลักสูตรอิสลามศึกษาศึกษาต้อนต้น
ตอนกลาง และตอนปลาย ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญในจังหวัดกรุงเทพมหานคร
นนทบรุ ี ประจวบครี ขี นั ธ์ กระบี่ ชมุ พร ตรงั นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตั ตานี พงั งา พัทลุง

จากการทดสอบ I-NET ระหวา่ งปีการศึกษา 2558 - 2562 ของสถานศึกษาที่เปิดสอน
ด้านอิสลามศึกษาในพื้นทกี่ ลุม่ จงั หวัดภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย สามารถสรุปผลไดด้ ังนี้

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกล่มุ จงั หวดั ภาคใต้ฝงั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 19

ตารางที่ 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติด้านอสิ ลามศึกษา (I-NET)
ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2558 – 2562 จาแนกรายจังหวัดและระดับการศึกษา

อิสลามศกึ ษาเบือ้ งต้น อิสลามศึกษาระดับกลาง อิสลามศกึ ษาระดบั สงู

จงั หวดั ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
ปี 2562
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
ปี 2562
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
ปี 2562

กลุ่มจังหวัดภาคใต้ 42.45 41.36 40.71 39.70 38.72 45.92 42.21 43.49 43.54 43.71 39.89 36.54 39.16 35.54 38.23
ฝั่งอ่าวไทย

วเิ คราะห์ผล - - -

ชุมพร N/A N/A N/A N/A N/A 48.15 42.33 46.32 44.21 51.60 N/A 36.60 N/A N/A N/A

วเิ คราะห์ผล - - - - - - -----

สรุ าษฎรธ์ านี N/A N/A N/A N/A N/A 46.02 42.24 42.87 44.28 43.76 38.60 36.46 42.76 37.27 39.65

วเิ คราะหผ์ ล - - - - - - -

นครศรีธรรมราช 42.71 41.40 42.05 40.86 40.60 46.74 42.23 43.65 44.64 42.16 41.41 37.76 39.93 37.25 39.91

วิเคราะห์ผล - - -

พัทลุง 42.29 41.31 38.19 37.23 36.58 44.79 42.05 41.57 41.26 40.20 38.00 36.34 36.38 34.49 34.86

วเิ คราะหผ์ ล - - -

สงขลา 44.03 41.39 41.89 39.96 38.98 47.27 42.14 43.02 43.80 41.77 41.96 37.94 37.58 35.09 38.49

วเิ คราะห์ผล - - -

ที่มา : สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)

จากตารางที่ 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (I-NET)
ระหว่างปีการศึกษา 2558 – 2562 ภาพรวมกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย พบว่า อิสลามศึกษา
เบื้องต้น มีค่าเฉล่ียร้อยละลดลงอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปี 2558 – 2562 อิสลามศึกษาระดับกลาง
มีค่าเฉลี่ยร้อยละเพ่ิมขึ้นทุกปี ยกเว้น ปี 2559 และสาหรับอิสลามศึกษาระดับสูง มีค่าเฉลี่ยร้อยละ
ท่ีเพิ่มลดสลับกัน ดังน้ี ปี 2560 และ 2562 เพิ่มขึ้น ในขณะท่ีปี 2559 และ 2561 ลดลง
และเมื่อพิจารณารายระดับการศึกษาและรายจังหวัด พบวา่

ระดับอิสลามศึกษาเบื้องต้น มีจังหวัดที่เข้าร่วมสอบ 3 จังหวัด ซึ่งมีค่าเฉล่ียร้อยละ
ที่แตกต่างกัน ดังนี้ จังหวัดนครศรีธรรมราช มีค่าเฉล่ียร้อยละลดลงในปี 2559 และเพิ่มขึ้นในปี 2560
และลดลงอย่างต่อเน่ืองใน ปี 2561 - 2562 จังหวัดพัทลุง มีค่าเฉลี่ยร้อยละลดลงอย่างต่อเน่ือง
ต้ังแต่ปี 2559 - 2562 และจังหวัดสงขลา มีค่าเฉล่ียร้อยละที่เพิ่มลดสลับกัน คือ ค่าเฉล่ียร้อยละ
ลดลงในปี 2559 และเพ่ิมขนึ้ ในปี 2560 และลดลงอย่างต่อเนือ่ งใน ปี 2561 – 2562

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 20

ระดับอิสลามศึกษาระดับกลาง มีจังหวัดท่ีเข้าร่วมสอบ 5 จังหวัด พบว่า มีค่าเฉล่ีย
ร้อยละที่แตกต่างกัน ดังน้ี จังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และสงขลา มีค่าเฉล่ียร้อยละลดลง
ในปี 2559 และเพ่มิ ขน้ึ ในปี 2560 – 2561 และลดลงอกี ครง้ั ในปี 2562 จังหวัดชุมพร มคี ่าเฉลี่ย
ร้อยละลดลงในปี 2559 เพ่ิมข้ึนในปี 2560 กลับมาลดลงอีกครั้งในปี 2561 และเพิ่มข้ึน
ในปี 2562 จังหวดั พัทลุง มีค่าเฉลีย่ ร้อยละลดลงอย่างตอ่ เน่อื งในปี 2559 - 2562

ระดับอิสลามศึกษาระดับสูง มี 4 จังหวัดที่เข้าร่วมสอบ พบว่า มีค่าเฉลี่ยร้อยละ
ท่ีแตกต่างกัน ดังน้ี จังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และพัทลุง มีค่าเฉลี่ยร้อยละลดลงในปี
2559 เพิ่มขึ้นในปี 2560 ลดลงในปี 2561 และเพิ่มข้ึนอีกครั้งในปี 2562 จังหวัดสงขลา
มคี ่าเฉล่ียร้อยละลดลงตอ่ เนื่องต้งั แตป่ ี 2559 – 2561 และเพม่ิ ข้นึ ในปี 2562

5) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านพระพุทธศาสนา (B-NET)
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านพระพุทธศาสนา (Buddhism National

Educational Test : B-NET) หมายถึง การทดสอบเพื่อวัดความรู้และความคิดของนักเรียน
ตามหลักสูตรโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในวิชาภาษา
บาลี ธรรม พุทธประวัติ และวิชาวินัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อทดสอบความรู้และความคิด
ของนักเรียนตามหลักสูตรโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในวิชาภาษา
บาลี ธรรม พุทธประวัติ และวิชาวินัย 2) เพ่ือนาผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียน
การสอนของสถานศึกษา 3) เพื่อนาผลการสอบไปใช้ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ
4) เพื่อนาผลการสอบไปใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษา และ 5) เพ่ือนาผลการทดสอบไปใช้
ในวตั ถุประสงคอ์ ืน่

จากการทดสอบ B-NET ระหว่างปีการศึกษา 2560 - 2562 ของโรงเรียน
พระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษาในพืน้ ทกี่ ลมุ่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ่งั อ่าวไทย สามารถสรุปผลไดด้ ังนี้

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ั่งอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 21

ตารางที่ 16 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านพระพทุ ธศาสนา (B-NET)
ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2560 - 2562 จาแนกรายจงั หวัดและระดบั การศกึ ษา

มัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม.3) มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)

จังหวัด ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

กลุม่ จังหวัดภาคใตฝ้ ง่ั อ่าวไทย 35.79 36.28 30.38 38.97 40.08 34.00

วเิ คราะหผ์ ล - -

ชุมพร 33.75 35.83 39.11 38.95 40.09 34.66

วิเคราะหผ์ ล - -

สุราษฎร์ธานี 34.81 36.69 38.57 29.79 38.29 26.75

วเิ คราะหผ์ ล - -

นครศรธี รรมราช 35.94 36.98 37.34 41.42 40.61 36.56

วิเคราะหผ์ ล - -

สงขลา 38.68 35.46 37.52 45.73 39.46 37.12

วิเคราะหผ์ ล - -

ท่ีมา : สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

จากตารางท่ี 16 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านพระพุทธศาสนา

(B-NET) ระหว่างปีการศึกษา 2560 - 2562 ภาพรวมกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย พบว่า ระดับ

มัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย มีค่าเฉล่ียร้อยละเพิ่มข้ึนในปี 2561 และกลับลดลง

ในปี 2562 เม่ือพิจารณารายจงั หวดั

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช

มคี ่าเฉลีย่ ร้อยละเพิ่มขน้ึ ในปี 2561 – 2562 จงั หวัดสงขลา มคี ่าเฉล่ียร้อยละลดลงในปี 2561 และ

กลบั เพิม่ ขึ้น ในปี 2562

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี มีค่าเฉล่ียร้อยละ

เพ่ิมในปี 2561 และลดลงในปี 2562 ในส่วนของจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา มีค่าเฉล่ีย

รอ้ ยละลดลงอย่างตอ่ เน่อื ง

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 22

3.3 ข้อมูลด้านโอกาสและการเข้าถงึ การไดร้ บั บริการทางการศึกษา

ตารางที่ 17 จานวนปกี ารศึกษาเฉลยี่ ของประชากรอายุระหว่าง 15 - 59 ปี

จาแนกตามจงั หวัด ระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2562

15 - 59 ปี

กล่มุ อายุ / จงั หวัด ปี พ.ศ. ปี พ.ศ. ปี พ.ศ. ปี พ.ศ. ปี พ.ศ. ผลต่าง

2558 2559 2560 2561 2562 คา่ เฉล่ยี

กลุ่มจงั หวดั ภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย 10.01 9.36 9.52 9.40 9.54 0.14

ชมุ พร 8.72 9.0 9.2 9.1 8.97 -0.13

สรุ าษฎรธ์ านี 11.35 9.0 8.9 9.1 9.36 0.26

นครศรธี รรมราช 9.43 9.5 9.5 9.3 9.57 0.27

พทั ลุง 9.20 9.5 9.8 9.5 9.75 0.25

สงขลา 11.39 9.8 10.2 10.0 10.05 0.05

ทม่ี า : สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา คานวณจากข้อมูลตัวอย่างของการสารวจภาวการณ์ทางาน

ของประชากรทัว่ ราชอาณาจักร รอบท่ี 3 สารวจโดยสานกั งานสถติ ิแห่งชาติ เว็บไซต์:

http://social.nesdb.go.th/SocialStat/StatReport_Final.aspx?reportid=1293&template=1R

2C&yeartype=M&subcatid=21

จากตารางที่ 17 จานวนปีการศึกษาเฉล่ียของประชากรอายุระหว่าง 15 - 59 ปี
ระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2562 พบว่า ภาพรวมของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ในปี 2561 -2562 และเมื่อพิจารณารายจังหวัดในปี 2562 พบว่า จังหวัดนครศรีธรรมราช
สุราษฎร์ธานี พัทลุง และสงขลา มีแนวโน้มจานวนปีการศึกษาเพ่ิมข้ึนจากปี 2561 โดยมีผลต่าง
คือ 0.27, 0.26, 0.25, และ 0.05 ตามลาดับ ในส่วนของจังหวัดชุมพรมีค่าเฉลี่ยร้อยละลดลง
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ผลต่างค่าเฉล่ยี คอื -0.13

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใตฝ้ ัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 23

ตารางที่ 18 สัดสว่ นนกั เรียนสายสามญั ตอ่ นกั เรยี นสายอาชีวศึกษา ปี 2562

จานวนนักเรยี น อัตราสว่ นรอ้ ยละ

จังหวดั นักเรียน นักเรยี น นักเรยี น นักเรยี น

สามญั อาชีวศึกษา สามัญ อาชวี ศึกษา

กลมุ่ จังหวดั ภาคใตฝ้ ั่งอา่ วไทย 89,449 50,246 64.03 35.97

ชุมพร 8,536 4,661 64.68 35.32

สรุ าษฎรธ์ านี 18,881 9,864 65.68 34.32

นครศรีธรรมราช 25,467 17,309 59.54 40.46

พัทลุง 9,283 4,129 69.21 30.79

สงขลา 27,282 14,283 65.64 34.36

ทมี่ า : จานวนนักเรียน ปี 2562 จาก
1. สารสนเทศเพ่ือการศึกษาแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.ศธ.

จาก http://www.mis.moe.go.th/
2. ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและกาลังคนอาชีวศกึ ษา สอศ. http://techno.vec.go.th/

หมายเหตุ: นักเรียนสามัญ หมายถึง จานวนนักเรียนที่ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ม.4-.ม.6) ของทุกสังกัด นักเรียนอาชีวศึกษา หมายถึง จานวนนักเรียนที่ศึกษาในระดับ
ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ปที ี่ 1-3

จากตารางท่ี 18 สัดส่วนนักเรียนสายสามัญต่อนักเรียนสายอาชีวศึกษา ปี 2562 พบว่า
ภาพรวมกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีสัดส่วนนักเรียนสายสามัญต่อนักเรียนสายอาชีวศึกษา
เท่ากับ 64 : 36 และเมื่อพิจารณารายจังหวัด พบว่า สัดส่วนนักเรียนสายอาชีวศึกษามากท่ีสุด ได้แก่
จงั หวดั นครศรธี รรมราช ทา่ กบั 60 : 40 รองลงมา ได้แก่ จงั หวัดชมุ พร เท่ากบั 65 : 35 จังหวัดสงขลา
เทา่ กบั 66 : 34 จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี เท่ากบั 66 : 34 และจังหวัดพัทลงุ เทา่ กับ 69 : 31 ตามลาดบั

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกล่มุ จังหวัดภาคใตฝ้ ่งั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 24

ส่วนที่ 2
บรบิ ทท่ีเก่ยี วขอ้ งด้านการศกึ ษา

สานักงานศึกษาธิการภาค 5 ได้นา 1) ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) 2) แผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) 3) แผนการปฏิรูปประเทศ 4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 - 2564 5) นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์
จันทร์โอชา) 6) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 7) นโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 8) เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable
Development Goals : SDGs) 9) แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560 – 2564) 10) แผนพัฒนาการศึกษาของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 11) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.2563 -
2565) 12) แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกระทรวงศึกษาธิการ 13) แผนปฏิบัติ
ราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจดั ทาคาขอ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี) 14) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย ระยะ 5 ปี
(พ.ศ. 2561 - 2565) ฉบับทบทวน และบริบทต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องมาเช่ือมโยงกับอานาจหน้าท่ี
ของสานักงานศึกษาธิการภาค 5 และกาหนดเป็นกรอบแนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาด้านการศึกษา
ระดบั กลุ่มจังหวัดภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

1. ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580)
คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) และประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา เมื่อวันที่ 8 ตลุ าคม พ.ศ.2561 เพือ่ ใชเ้ ป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี
โดยกาหนดวิสยั ทศั น์ เปา้ หมาย และยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี

วิสยั ทศั น์
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง” หรือเป็นคตพิ จนป์ ระจาชาติว่า “มนั่ คง มงั่ คั่ง ย่ังยืน”
ความมั่นคง หมายถึง หมายถึง การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลง
ท้ังภายใน ประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน
และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
และการเมือง เช่น ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีการปกครองระบบประชาธิปไตย
ท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็ง
เป็นศูนย์กลางและเป็นท่ียึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมืองท่ีมั่นคงเป็นกลไกท่ีนาไปสู่
การบริหารประเทศท่ีต่อเน่ืองและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี
สามารถผนึกกาลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชน
มีความม่ันคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง พอเพียงกับการดารงชีวิต มีการออมสาหรับวัยเกษียณ
ความมนั่ คงของอาหาร พลงั งาน และน้า มีท่อี ย่อู าศยั และความปลอดภยั ในชีวติ ทรัพย์สนิ
ความม่ังค่ัง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความย่ังยืน
จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุ ข
ได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากข้ึน และมีการพัฒนาอย่างท่ัวถึงทุกภาคส่วน

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 25

มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนท่ีอยู่ในภาวะความยากจน
เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่างๆ
ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ เพ่ือให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอก
ประเทศ ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต เพ่ือให้สอดรับกับบริบทการพัฒนา
ท่ีเปล่ียนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทท่ีสาคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
และการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาค
ทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนา
นอกจากน้ัน ยังมีความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเน่ืองไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์
ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเครื่องมือเคร่ืองจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ ม

ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิต
ของประชาชน ให้เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยู่บนหลักการ
ใช้การรักษา และการฟ้ืนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี
ไม่สร้างมลภาวะต่อส่ิงแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ
การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน
ทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์มากข้ึนและส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบ
ตอ่ สงั คมมีความเอื้ออาทร เสยี สละ เพือ่ ผลประโยชน์ส่วนรวม รฐั บาลมีนโยบายท่มี งุ่ ประโยชน์ส่วนรวม
อย่างย่ังยืน และให้ความสาคัญ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือ
และปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการพฒั นาอย่างสมดลุ มเี สถียรภาพและยั่งยืน

เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ
ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐ
ของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ประกอบด้วย

1) ความอยู่ดีมสี ขุ ของคนไทยและสงั คมไทย
2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้
3) การพฒั นาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ
4) ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม และความยง่ั ยืนของทรพั ยากรธรรมชาติ
6) ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การและการเข้าถงึ การใหบ้ ริการของภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) มี 6 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับภารกิจของ
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี
1. ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านความม่นั คง มีเป้าหมายการพฒั นาทส่ี าคัญ คอื ประเทศชาติม่ันคง
ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย
เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้น
การพฒั นาคน เครื่องมอื เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ ใหม้ คี วามพรอ้ มสามารถรบั มือกับ
ภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไข

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 26

ปัญหา ด้านความม่ันคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหา
แบบบูรณาการท้ังกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศ
เพื่อนบ้านและมิตรประเทศ ทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาลเพ่ือเอ้ืออานวยประโยชน์
ต่อการดาเนินการของยุทธศาสตรช์ าติ ด้านอ่ืนๆ ให้สามารถขับเคล่ือนไปได้ตามทิศทางและเป้าหมาย
ทก่ี าหนด

2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา
ที่มุ่งเนน้ การยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพืน้ ฐานแนวคดิ 3 ประการ ไดแ้ ก่

1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม
ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมท้ังความได้เปรียบ
เชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่นๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เพ่ือใหส้ อดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ และสงั คมโลกสมยั ใหม่

2) “ปรับปจั จุบนั ” เพ่อื ปทู างสอู่ นาคต ผ่านการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานของประเทศ
ในมิติต่างๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และดจิ ิทลั และการปรบั สภาพแวดลอ้ มให้เอ้ือต่อการพฒั นาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต

3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนา
คนรุ่นใหม่ รวมถึง ปรับรปู แบบธรุ กจิ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกบั ยุทธศาสตร์
ที่รองรับอนาคต บนพ้ืนฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุน
จากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้า
และการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมข้ึน
ของคนช้ันกลาง และลดความเหล่ือมลา้ ของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน

3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวยั ให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ
โดยคนไทยมคี วามพร้อมทั้งกาย ใจ สตปิ ญั ญา มีพฒั นาการทีด่ ีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดใี นทุกช่วงวัย
มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม
และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสาร
ภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกร
ยคุ ใหม่และอน่ื ๆ โดยมีสมั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง

4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมาย
การพัฒนาที่สาคัญที่ให้ความสาคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม
ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทา
เพ่ือส่วนรวม การกระจายอานาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับ
ท้องถ่ิน การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อม
ของประชากรไทย ทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ
สามารถพึ่งตนเอง และทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานท่ีสุด โดยรัฐให้หลักประกัน
การเข้าถงึ บรกิ ารและสวัสดิการท่ีมคี ุณภาพอยา่ งเป็นธรรมและทั่วถึง

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 27

5. ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติ
ด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกัน
ท้ังภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวต้ังในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน
และการให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้
โดยเป็นการดาเนินการบนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม
และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุล ท้ัง 3 ด้าน อันจะนาไปสู่ความย่ังยืน
เพอื่ คนรนุ่ ตอ่ ไปอยา่ งแทจ้ รงิ

6. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน
และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท
หน่วยงานของรัฐท่ีทาหน้าท่ีในการกากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขัน
มีขีดสมรรถนะสูงยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์
ส่วนรวมมีความทันสมัยและพร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอด เวลา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานที่เป็นดิจิทัลเข้ามา
ประยกุ ตใ์ ช้อยา่ งคุ้มคา่ และปฏบิ ตั ิงานเทยี บได้กับมาตรฐานสากล รวมทง้ั มีลักษณะเปดิ กวา้ ง เชอ่ื มโยง
ถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม เพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชน
ได้อยา่ งสะดวก รวดเร็ว และโปรง่ ใส โดยทกุ ภาคสว่ นในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านยิ มความซื่อสัตย์
สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง
นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าท่ีจาเป็นมีความทันสมัย มีความเป็นสากล
มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหล่ือมล้าและเอ้ือต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรม
มีการบริหารทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ เป็นธรรม ไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติและการอานวย ความยุตธิ รรมตามหลักนติ ธิ รรม

2. แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580)
ตามพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 บัญญัติว่า

เม่ือมีพระบรมราชโองการ ประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติแล้ว ให้คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ
แต่ละด้านจัดทาแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ เสนอคณะกรรมการ
พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ และเสนอต่อคณะรฐั มนตรีให้ความเหน็ ชอบและประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามท่ีกาหนดไว้
ในยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมท้ัง
การจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปตี ้องสอดคล้องกบั แผนแมบ่ ทด้วย โดยแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ
ประกอบด้วย 23 ประเดน็ 62 แผนย่อย (ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรอ่ื ง การประกาศแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ณ วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ซ่ึงเก่ียวข้อง
จานวน 14 ประเด็น ดังนี้

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 28

แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (1) ประเดน็ ความม่นั คง
แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเด็นความมั่นคง ประกอบไปด้วย แผนย่อย จานวน 5 แผน
ซงึ่ เก่ียวขอ้ ง จานวน 2 แผน ดงั น้ี

แผนย่อย 3.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ
แนวทางการพฒั นา
2) เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ ภายใต้การปกครองระบอบ

ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึง
ความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและภาคภูมิใจในความเป็นคนไทย
และชาติไทย ผ่านทางกลไกต่าง ๆ รวมถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ในเชิงสร้างสรรค์ น้อมนาและเผยแพร่
ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่าง ๆ ให้เกิด
ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และนาไปประยุกต์ปฏิบัติใช้อย่างกว้างขวาง จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
และพระราชกรณยี กจิ อย่างสมา่ เสมอ

แผนยอ่ ย 3.2 การป้องกันและแก้ไขปญั หาท่มี ผี ลกระทบต่อความม่นั คง
แนวทางการพัฒนา
ส่วนการรักษาความมนั่ คงภายในราชอาณาจักรและการพัฒนาประเทศ
1) ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด มุ่งยึดแนวคิดการแก้ไขปัญหายาเสพติด

ตั้งแต่ต้นน้า - กลางน้า - ปลายน้า ในการดาเนินการอย่างเป็นระบบ กล่าวคือ (5) การป้องกันยาเสพติด
ในแต่ละกลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสมเป็นรูปธรรม โดยการปลูกฝังค่านิยมและองค์ความรู้ที่เหมาะสม
อันจะส่งผลกระทบต่อความคิดและโน้มน้าวให้เกิดความเห็นที่คล้อยตามอย่างถูกต้อง (6) การปรับ
ระบบนิเวศ (สภาพแวดล้อม) ที่เหมาะสม โดยการเสริมสร้างปัจจัยที่เอื้อต่อการไม่เข้าไปยุ่งเก่ียวกับ
ยาเสพตดิ ของแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย อาทิ ครอบครวั โรงเรียน และชมุ ชน

9) ป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มุ่งจัดการ
กับเง่ือนไขปัญหาท่ีมีอยู่เดิมทั้งปวงให้หมดส้ินไป และเฝ้าระวังมิให้เกิดเงื่อนไขใหม่ขึ้น โดยน้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์พระราชา มาเป็นกรอบแนวทางนาในการดาเนินงาน
แก้ไขและป้องกันปัญหา ตลอดไปจนถึงการผลักดันยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”
ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาท่ีสาเหตุ
อย่างแท้จริง พร้อมนาความสงบสันติสุขอย่างย่ังยืนกลับคืนสู่ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้
รวมทง้ั สรา้ งความเชอ่ื มน่ั ให้กับประชาชนทัง้ ประเทศ และนานาชาติต่อไป

แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (3) ประเด็น การเกษตร
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การเกษตร ประกอบไปดว้ ย แผนย่อย จานวน 6 แผน
ซง่ึ เก่ยี วข้อง จานวน 1 แผน ดงั นี้

แผนย่อย 3.5 เกษตรอจั ฉรยิ ะ
แนวทางการพฒั นา
2) พัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและ

นวัตกรรมทางการเกษตร การจัดการภาคเกษตรท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมถึงองค์ความรู้
ด้านการผลิตและการตลาดตา่ ง ๆ ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ
เทคโนโลยีดิจิทัล ฐานข้อมูลสารสนเทศทางการเกษตรต่างๆ เพื่อการวางแผนการเกษตร และพัฒนา
เกษตรกรใหเ้ ป็นเกษตรกรอจั ฉรยิ ะทมี่ ขี ีดความสามารถในการแข่งขนั

แผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับกลุม่ จังหวดั ภาคใตฝ้ ง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 29

แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (5) ประเดน็ การทอ่ งเท่ยี ว
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การท่องเที่ยว ประกอบไปด้วย แผนย่อย จานวน 6 แผน
ซึง่ เกี่ยวข้อง จานวน 1 แผน ดังนี้

แผนย่อย 3.6 การพฒั นาระบบนเิ วศการท่องเท่ยี ว
แนวทางการพัฒนา
4) พัฒนาชุมชน ผู้ประกอบการ และบุคลากรด้านการท่องเท่ียวทุกภาคส่วนให้มี

ความพร้อมในการรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ของชมุ ชนและประชาชนในการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในพื้นที่

แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (6) ประเด็น พื้นท่ีและเมอื งน่าอยูอ่ จั ฉรยิ ะ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นพ้ืนท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ประกอบไปด้วย
แผนย่อย จานวน 6 แผน ซง่ึ เก่ยี วข้อง จานวน 1 แผน ดังนี้

แผนย่อย 3.1 การพัฒนาเมอื งนา่ อยู่อจั ฉรยิ ะ
แนวทางการพัฒนา
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่อัจฉริยะที่ส ามารถร องรั บ

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่อยูอ่ าศยั ลดความเหลอ่ื มล้า และยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของประชาชนในพื้นท่ี
ทกุ กลมุ่ และผลกั ดนั การพัฒนาเมืองอจั ฉริยะในเมอื งทมี่ ีศักยภาพ ซง่ึ มกี ารใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี
สมัยใหม่มาพัฒนาระบบบริหารจัดการเมืองในทุกมิติให้มีประสิทธิภาพสูงสดุ โดยแบ่งการพัฒนาเมือง
ออกเปน็ 2 รูปแบบ ได้แก่

1) เมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ โดยพัฒนาเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาค
ได้แก่ กรุงเทพและปริมณฑล เชียงใหม่ ขอนแก่น เมืองในระเบียงเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
สงขลา และภูเก็ต ให้มีศักยภาพในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเทียบเท่าเมืองขนาดใหญ่ในระดับ
นานาชาตแิ ละมีความน่าอยู่

2) พัฒนาเมืองขนาดกลางให้เป็นเมืองน่าอยู่ท่ีเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ สังคม
และการบริการให้กับพ้ืนที่โดยรอบ โดยเน้นการต่อยอดจากฐานเศรษฐกิจท่ีมีในพ้ืนที่ เพื่อให้เกิด
การกระจายความเจริญไปสู่พื้นท่ีโดยรอบ และสนับสนุนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของเมืองศูนย์กลาง
ทางเศรษฐกิจ โดยสรา้ งเครอื ข่ายการพัฒนาเศรษฐกจิ ระดับภาค ดังน้ี

ภาคใต้ เน้นการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและอุตสาหกรรม
การเกษตรครบวงจร และการให้บริการด้านโครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพ้ืนฐาน
ทางสังคมแก่พ้นื ที่โดยรอบ

แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (9) ประเด็น เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น เขตเศรษฐกิจพิเศษ ประกอบไปด้วย แผนย่อย
จานวน 3 แผน ซึง่ เก่ยี วขอ้ ง จานวน 2 แผน ดงั น้ี

แผนยอ่ ย 3.2 การพัฒนาพ้ืนทร่ี ะเบียงเศรษฐกจิ ภาคใต้
แนวทางการพฒั นา
4) ยกระดับสถาบันการศึกษาในพื้นท่ีให้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาและการเรียนรู้

ด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมเกี่ยวกับปาล์มและยางพารา และศึกษาแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากร
ทางทะเล ป่าไม้ และป่าชายเลน ใหม้ ีความอุดมสมบูรณแ์ ละสวยงาม

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 30

5) รักษาและเผยแพร่วัฒนธรรมพ้ืนบ้านและพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวชั้นนาแห่งใหม่
กับแหล่งท่องเท่ียวที่มีช่ือเสียงเลียบชายฝ่ังทะเลอ่าวไทย เชื่อมโยงฝั่งอันดามัน และพัฒนาเป็นพื้นที่
เศรษฐกจิ ใหมด่ ้านการท่องเทยี่ วเชิงนเิ วศเพื่อรองรบั นักท่องเทีย่ วคุณภาพ

แผนย่อย 3.3 การพฒั นาเขตเศรษฐกิจพเิ ศษชายแดน
แนวทางการพัฒนา
2) ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาพ้ืนท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ตามศักยภาพ

โดยพัฒนาต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพ้ืนท่ีท่ีมีอยู่เดิม รวมท้ังยกระดับ
ความสามารถในการแข่งขันของพื้นที่ให้เอ้ือต่อการค้า การลงทุน และการท่องเท่ียว และเป็นพื้นท่ี
หลักในการขับเคล่ือนการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมในส่วนภูมิภาค ตลอดจนพัฒนา
พื้นท่ีบริเวณชายแดนให้มีความพร้อมสาหรับรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีเชื่อมโยง
กับประเทศเพ่ือนบ้าน ซึ่งจะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิต
ของประชาชนในพน้ื ท่ี รวมทง้ั ส่งเสริมความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศในภาพรวม

แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (10) ประเดน็ การปรับเปลีย่ นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม
ประกอบดว้ ย แผนย่อย จานวน 3 แผน ซึง่ เกีย่ วขอ้ ง จานวน 1 แผน ดงั น้ี

แผนย่อย 3.1 การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการเสริมสร้างจิต
สาธารณะและการเปน็ พลเมืองท่ดี ี

แนวทางการพัฒนา
2) บูรณาการเรื่องความซ่ือสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม
ในการจัดการเรียนการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนการสอนตามพระราชดาริ
และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนรู้ทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
ของชาติ และภูมิปัญญาท้องถ่ิน รวมทั้งการตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดล้อมใหร้ องรับการเปล่ยี นแปลงทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ
5) การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
สร้างจิตสาธารณะและจิตอาสาโดยใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสา รสนเทศ
การสื่อสาร เพื่อรับผิดชอบต่อส่วนรวม สร้างเสริมผู้นาการเปล่ียนแปลง และต้นแบบท่ีดีท้ังระดับ
บุคคลและองค์กร โดยการยกย่องผู้นาที่มีจิตสาธารณะและจิตอาสา และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกลไกการดาเนินงานในการสร้างเสริมการพัฒนาจิตสาธารณะและ จิตอาสา
เพื่อสังคมและส่วนรวม โดยสง่ เสรมิ และสนับสนนุ องค์กรสาธารณะทไี่ มห่ วงั ผลประโยชน์
แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (11) ประเดน็ ศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ประกอบไปด้วย
แผนยอ่ ย จานวน 5 แผน ซง่ึ เก่ียวข้อง จานวน 5 แผน ดงั น้ี
แผนย่อย 3.1 การสรา้ งสภาพแวดล้อมทเี่ อื้อต่อการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพมนษุ ย์
แนวทางการพัฒนา
2) ส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน ครอบครัว และชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน
สร้างกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาทักษะของประชากรให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของโลก
ในอนาคต สร้างความตระหนกั ถึงความสาคัญของการพฒั นาตนเองและการมีสว่ นรว่ มในการแก้ปัญหา

แผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใตฝ้ ง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 31

และพัฒนาสังคม รวมทั้งสนับสนุนด้านวิชาการและสร้างนวัตกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพคน เพ่ือให้องค์กรเครือข่ายชุมชนมีความเข้มแข็ง และมีกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่
ที่ประชาชน ชุมชน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา เฝ้าระวัง และติดตาม
การดาเนินงานส่งผลให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้อย่างเป็นรูปธรรม
การปลกู ฝังและพฒั นาทกั ษะนอกห้องเรยี น โดยเนน้ ใหพ้ อ่ แม่มีวฒั นธรรมท่ีปลูกฝงั ให้ลูกเพมิ่ พนู ทักษะ
การเรียนรู้ชีวิต ดนตรี กีฬา ศิลปะ รวมทั้งส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเปิดพ้ืนที่แห่งการเรียนรู้
และจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและเหมาะสม เอ้อื แก่ครอบครัวทกุ ลกั ษณะ

3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเช่ือมโยง
และบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างภาคีการพัฒนาต่าง ๆ โดยการเชื่อมโยง
ข้อมลู ทเ่ี ก่ยี วกับการศกึ ษา การพฒั นาตนเอง สขุ ภาพ และการพัฒนาอาชพี ในตลอดช่วงชีวิต เพอ่ื เสริม
และสร้างศักยภาพของการดาเนินงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามพันธกิจของแต่ละหน่วยงาน
ให้มีความเข้มแข็งและตอบโจทย์ประเทศ เป็นฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทย
ท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง และศักยภาพบุคคลของประเทศ
นาไปสู่การตัดสินใจระดับนโยบายและปฏิบัติ เพ่ือพัฒนาคนไทยอย่างมีทิศทางและสอดคล้องกับ
การพัฒนาประเทศไทยในอนาคต รวมถึงข้อมูลที่สนับสนุนการผลิตกาลังแรงงานท่ีมีทักษะตรงต่อ
ความต้องการของตลาดงานในอนาคต และใช้ประกอบการตัดสินใจในการศึกษาต่อ มีธนาคาร
คลงั สมองเพอื่ รวบรวมผู้สูงอายทุ ี่มคี วามรู้ ประสบการณ์ และทกั ษะเพื่อถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์
และทกั ษะให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาติ

แผนยอ่ ย 3.2 การพัฒนาเด็กตัง้ แตช่ ่วงการตั้งครรภ์จนถงึ ปฐมวัย
แนวทางการพฒั นา
3) จัดให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ดี

ที่สมวัยทุกด้าน โดยการพัฒนาหลักสูตรการสอนและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐาน ท่ีเน้นการพัฒนาทักษะสาคัญด้านต่าง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้านความคิด
ความจา ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จักประเมิน
ตนเอง ควบคู่กับการยกระดับ บุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมท้ังทักษะ ความรู้
จริยธรรม และความเป็นมืออาชีพ ตลอดจน ผลักดันให้มีกฎหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัยใหค้ รอบคลมุ
ท้ังการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เน้นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการศึกษา การพัฒนาสุขภาพ
อนามยั ใหม้ ีพฒั นาการทีส่ มวยั และการเตรยี มทกั ษะการอยู่ในสงั คมให้มีพัฒนาการอยา่ งรอบด้าน

แผนยอ่ ย 3.3 การพฒั นาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น
แนวทางการพฒั นา
1) จัดให้มีการพัฒนาทักษะท่ีสอดรับกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะ

ด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ความคิดสร้างสรรค์
การทางานร่วมกบั ผู้อื่น

2) จัดใหม้ กี ารพฒั นาทักษะด้านภาษา ศลิ ปะ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ท่ีสอดคลอ้ งกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ

3) จดั ให้มีการพัฒนาทักษะในการวางแผนชีวติ และวางแผนการเงิน ตลอดจนทกั ษะ
ทเี่ ช่ือมต่อกบั โลกการทางาน

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลุม่ จงั หวัดภาคใต้ฝัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 32

4) จัดให้มีพัฒนาทักษะอาชีพท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การบ่มเพาะ
การเป็นนักคิด นักนวัตกร และการเป็นผู้ประกอบการใหม่ รวมท้ังทักษะชีวิตท่ีสามารถอยู่ร่วม
และทางานภายใต้สงั คมทเ่ี ปน็ พหุวัฒนธรรม

แผนย่อย 3.4 การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวยั แรงงาน
แนวทางการพฒั นา
1) ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในช่วงวัยทางานให้มีคุณภาพ

มาตรฐานสอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคลและความตอ้ งการของตลาดงาน รวมทั้งเทคโนโลยี
สมัยใหม่ เพอื่ สรา้ งความเข้มแข็งเศรษฐกจิ และผลิตภาพเพิ่มข้นึ ให้กับประเทศ

2) เสริมสร้างวัฒนธรรมการทางานที่พึงประสงค์ และความรู้ความเข้าใจและทักษะ
ทางการเงิน เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและหลักประกันของตนเองและครอบครัว รวมท้ังสร้างเสริม
คุณภาพชวี ิตทดี่ ีใหก้ ับวัยทางานผ่านระบบการคุ้มครองทางสังคมและการส่งเสรมิ การออม

3) ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทักษะแรงงานฝีมือให้เป็นผู้ประกอบการใหม่
และสามารถพัฒนาต่อยอดความรู้ในการสร้างสรรค์งานใหม่ ๆ และมีโอกาสและทางเลือกทางาน
และสรา้ งงาน

แผนย่อย 3.5 การสง่ เสริมศกั ยภาพผู้สูงอายุ
แนวทางการพฒั นา
1) ส่งเสริมการมีงานทาของผู้สูงอายุให้พึ่งพาตนเองได้ทางเศรษฐกิจ และร่วมเป็น

พลังสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนและประเทศ รวมทั้งสนับสนุนมาตรการจูงใจทางการเงิน
และการคลังให้ผู้ประกอบการมีการจ้างงานที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุ ตลอดจนจัดทาหลักสูตรพัฒนา
ทักษะในการประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมกับวัย สมรรถนะทางกาย ลักษณะงาน และส่งเสริมทักษะ
การเรยี นรใู้ นการทางานร่วมกนั ระหวา่ งกลมุ่ วัย

3) ส่งเสริมสนับสนุนระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดสภาพ
แวดล้อมให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ อาทิ ส่ิงอานวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจาวันท่ีเหมาะสม
กับผู้สูงอายุ เมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุท้ังระบบขนส่งสาธารณะ อาคารสถานท่ี พื้นท่ีสาธารณะ
และทีอ่ ยูอ่ าศัยใหเ้ อ้ือตอ่ การใชช้ วี ติ ของผู้สูงอายุและทุกกลุ่มในสงั คม

แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (12) ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้
แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู้ ประกอบไปด้วย แผนย่อย
จานวน 2 แผน ซ่ึงเกี่ยวข้อง จานวน 2 แผน

แผนยอ่ ย 3.1 การปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
แนวทางการพฒั นา
1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สาหรับศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 4 แนวทางย่อย

ได้แก่ (1) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับช้ัน ตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษา ท่ีใช้ฐานความรู้
และระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ มีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ท่ีเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะให้ได้มาตรฐานกับหลักสูตรในระบบการศึกษาช้ันนาที่ได้รับการยอมรับ
ในระดับนานาชาติอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีที่เปิดเผยต่อสาธารณะเก่ียวกับ
การนิเทศ การติดตามประเมินผล และการปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปฏิรูปหลักสูตร
และรูปแบบการเรียนการสอนอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตร ฐาน
อาชีพ โดยเน้นการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และการฝึกงานในสถานประกอบการ ปฏิรูป

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 33

การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยเน้นการเรยี นรู้ท่ีผูกกับงาน เพ่อื วางรากฐานให้มีสถาบันอุดมศึกษา
ที่สามารถตอบสนองความต้องการของประเทศได้ในหลากหลายมิติ ทั้งในด้านการผลิตกาลังคนที่มี
สมรรถนะและทักษะในสาขาที่เป็นท่ีต้องการของตลาด การพัฒนาผู้ประกอบการยุคใหม่ท่ีมีศักยภาพ
ในการสร้างธุรกิจใหม่ที่มีใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และสามารถไปสู่ตลาดต่างประเทศได้ รวมถึงมีนักวิจัย
และนวัตกรที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีมีคุณภาพ สามารถส่งเสริมสนับสนุน
การพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างดี (2) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
ทุกระดบั การศึกษา รวมถึงจดั กจิ กรรมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสาน
เทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่
ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ควรมีคุณลักษณะ
ท่ีมีชีวิต มีพลวัต มีปฏิสัมพันธ์ การเชื่อมต่อและมีส่วนร่วม (3) พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการท่ีเน้น
การลงมือ ปฏิบัติ มีการสะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง โดยเน้นการเรียนการสอนที่เสริมสร้าง
ทักษะชีวิต และสามารถนามาใช้ต่อยอดในการประกอบอาชีพได้จริง และ (4) พัฒนาระบบการเรียนรู้
ที่ให้ผู้เรียนสามารถกากับการเรียนรู้ของตนได้ เพื่อให้สามารถนาองค์ความรู้ไปใช้สร้างรายได้ รวมถึง
มที ักษะด้านวชิ าชีพและทกั ษะชวี ติ โดยใชส้ ื่อผสมอย่างหลากหลาย ปรับเปล่ียนตามความสามารถ
และระดับของผู้เรียน มีเนื้อหาที่ไม่ยึดติดกับตัวสื่อ เลือกประกอบเนื้อหาได้เอง ค้นหา แก้ไข
จดบันทึกได้ เก็บประวัติการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีระบบการประเมินผลการเรียนรู้ที่รวดเร็ว
และต่อเนือ่ ง โดยผเู้ รยี นมีความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะทเี่ ปน็ ท่ีต้องการของตลาดแรงงาน

2) เปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ ประกอบด้วย ๓ แนวทางย่อย ได้แก่
(1) วางแผนการผลิต พัฒนาและปรับบทบาท “ครู คณาจารย์ยุคใหม่” ให้เป็น “ผู้อานวยการ
การเรียนรู้” มีหลักสูตรผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐาน
อาชีพ โดยเน้นการเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ
ในสาขาทตี่ นเองสอน (2) ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูต้ังแต่การดึงดูด คดั สรร ผ้มู คี วามสามารถสูง
ให้เขา้ มาเป็นครู ปฏริ ูประบบการผลิตครยู ุคใหม่ โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะของวิชาชีพครูท่สี ามารถ
สร้างทักษะในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานที่เป็นหลักสูตร
ฐานสมรรถนะ และมีครูที่ชานาญในด้านการสอนภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 ท่ีได้มาตรฐานในระดับ
นานาชาติ ในจานวนท่ีเพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน อีกท้ังยังมีระบบการอบรมและเสริม
สมรรถนะครูที่ผ่านการศึกษาในระบบเดิม หรือครูภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 ท่ียังไม่ผ่าน
การประเมินมาตรฐานในระดับนานาชาติ และ (3) ส่งเสริมสนับสนุนระบบการพัฒนาศักยภาพ
และสมรรถนะครูอย่างต่อเน่ือง ครอบคลุมท้ังเงินเดือน สายอาชีพและระบบสนับสนุนอ่ืน ๆ ปฏิรูป
ระบบการผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ โดยผู้ท่ีมีใบประกอบวิชาชีพจะต้องเป็นผู้เช่ียวชาญและมี
ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการในสาขาที่ตนเองสอน มีความรู้ ทักษะ
และสามารถสร้างสมรรถนะที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพให้แก่
ผู้เรียน และมีอัตรากาลังเพียงพอต่อความต้องการของสถานศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง
ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

3) เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภทประกอบด้วย
6 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) ปฏิรูปโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ โดยเน้น
การสร้างความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ ตั้งแต่ระดับบนสุดลงไปจนถึงระดับโรงเรียน รวมถึงมีโครงสรา้ ง
แรงจูงใจและความรับผิดชอบของหน่วยงานและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบท่ีเหมาะสม

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 34

(2) จดั ใหม้ ีมาตรฐานขั้นต่าของโรงเรยี นในทุกระดบั เพ่อื ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนท่ีสูงขนึ้ มีการกาหนด
มาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับ ที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศ ในด้านความพร้อม
ของโครงสร้างพื้นฐาน อุปกรณ์การเรียนการสอน การบริหารจัดการโรงเรียน จานวนครูท่ีครบชั้น
ครบวิชา จานวนพนักงานสนับสนุนงานบริหารจัดการโรงเรียน (3) ปรับปรุงโครงสร้างการจัดการศึกษา
ให้มีประสิทธิภาพ และเพ่ิมคุณภาพการศึกษา มีการปรับปรุงโครงสร้างการศึกษาท่ีเน้นสายอาชีพมากขึ้น
มีการเรียนการสอนและการเรียนรู้ท่ีใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เกิดทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัล ทักษะภาษาที่ 3 ทักษะและความรู้ในการประกอบอาชีพใหม่ ๆ อย่างคล่องตัว เพิ่มประสิทธิภาพ
การใช้ทรัพยากรทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม (4) เพ่ิมการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนในการจัดการศึกษา
ส่งเสริมภาคประชาสังคมปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นพื้นที่เรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต
รวมถึงการเรียนรู้และทบทวนทักษะพื้นฐาน ได้แก่ การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น โดยระดม
ทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม (5) พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
โดยแยกการประกันคุณภาพการศึกษาออกจากการประเมินคุณภาพและการรับรองคุณภาพ
และการกากับดูแลคุณภาพการศึกษา และปฏิรูประบบการสอบท่ีนาไปสู่การวัดผลในเชิงทักษะ
ท่ีจาเป็นสาหรับศตวรรษท่ี 21 มากกวา่ การวัดระดับความรู้ และ (6) สง่ เสรมิ การวิจัยและใช้เทคโนโลยี
ในการสร้างและจัดการความรู้ การเรียนการสอน และการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ
ที่สอดคล้องกับบริบทพื้นท่ี ซ่ึงรวมถึงการบูรณาการความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับ
ภาคอตุ สาหกรรม ชุมชน และภาครัฐ เพือ่ เสรมิ สรา้ งระบบนิเวศนวัตกรรมที่เขม้ แขง็

4) พัฒนาระบบการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ประกอบดว้ ย 5 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) จดั ให้
มีระบบการศึกษาและระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะท่ีมีคุณภาพสูงและยืดหยุ่น (2) มีมาตรการ
จูงใจและส่งเสริมสนับสนุนให้คนเข้าสู่ใฝ่เรียนรู้ พัฒนาตนเอง รวมถึงการยกระดับทักษะวิชาชีพ
(3) พัฒนาระบบการเรียนรู้ชุมชนให้เข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลา โดยความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาสังคม (4) พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลและดิจิทัลแฟลตฟอร์ม สื่อดิจิทัล
เพื่อการศึกษาในทุกระดับทุกประเภทการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และ (5) พัฒนา
โปรแกรมประยุกต์หรือส่ือการเรียนรู้ดิจิทัลท่ีมีคุณภาพที่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนสามารถ
เข้าถงึ และใช้ประโยชนใ์ นการเรียนรู้และพัฒนาตนเองผ่านเทคโนโลยสี มัยใหม่ได้

5) สร้างระบบการศึกษาเพ่ือเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ ประกอบด้วย
5 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพสถาบันการศึกษาที่มีความเช่ียวชาญ
และมีความโดดเด่นเฉพาะสาขาสู่ระดับนานาชาติ มีกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพ
ที่กาหนดสมรรถนะและทักษะพ้ืนฐานสาหรับสาขาอาชีพต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการ
ของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะใน 10 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย S-curve และ New S-curve
เพอ่ื เป็นเครอ่ื งมือในการยืนยัน และพฒั นาสมรรถนะของแรงงาน และมีกรอบแนวคิดในการคาดการณ์
อุปสงค์แรงงานในอนาคตในสาขาอาชีพต่าง ๆ และมีแนวทางทบทวนและปรับปรุงให้แม่นยามากขึ้น
เป็นระยะ (2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและแลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษาและ
บุคลากรในระดับนานาชาติ รวมถึงการพัฒนาศูนย์วิจัย ศูนย์ฝึกอบรม และทดสอบในระดับภูมิภาค
(3) จัดให้มีการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (4) จัดให้มีการเรียนรู้
ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและพัฒนาการของประเทศเพ่ือนบ้านในสถานศึกษา
และสาหรับประชาชน และ (5) ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน
และนักเรียนกับประเทศเพอ่ื นบ้านในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 35

แผนย่อย 3.2 การตระหนกั ถงึ พหุปญั ญาของมนุษยท์ ่หี ลากหลาย
แนวทางการพฒั นา
1) พัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญา โดยพัฒนาระบบบริหารจัดการกลไกการคัดกรอง

และการส่งต่อเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคนไทยตามพหุปัญญาให้เต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมสนับสนุน
ครอบครัว ในการเสริมสร้างความสามารถพิเศษตามความถนัดและศักยภาพท้ังด้านกีฬา ภาษา
และวรรณกรรม สุนทรียศิลป์ ส่งเสริมสนับสนุนระบบสถานศึกษาและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการ
สร้างและพัฒนาเด็กและเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษบนฐานพหุปัญญา และส่งเสริมสนับสนุน
มาตรการจูงใจแก่ภาคเอกชน และสื่อ ในการมีส่วนร่วมและผลักดันให้ผู้มีความสามารถพิเศษ
มบี ทบาทเด่นในระดับนานาชาติ

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (17) ประเดน็ ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม

ประกอบไปด้วย แผนยอ่ ย จานวน 2 แผน ซึ่งเกี่ยวข้อง จานวน 1 แผน ดงั นี้
แผนย่อย 3.1 การคุ้มครองทางสังคมขั้นพ้ืนฐานและหลักประกันทางเศรษฐกิจ

สังคม และสุขภาพ
แนวทางการพฒั นา
1) ขยายฐานความค้มุ ครองทางสังคม โดยกาหนดระดบั มาตรฐานขน้ั ต่าของสวสั ดิการ

แต่ละประเภทแต่ละกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมและชัดเจน เพ่ือป้องกันไม่ให้ประชาชนทุกช่วงวัย
ต้องเจอสภาวะความยากจนกรณีประสบเหตุการณ์ท่ีทาให้ต้องสูญเสียรายได้ เพื่อเป็นหลักประกัน
ในการดาเนินชีวิตทางสังคมได้ โดยการจัดระบบหรือมาตรการในรูปแบบต่าง ๆ ให้สามารถคุ้มครอง
สิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนทุกคน บริการสังคม การประกันสังคม การช่วยเหลือทางสังคม
การคุ้มครองอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซ่ึงครอบคลุมถึงการจัดโครงข่ายการคุ้มครอง
ทางสังคม สาหรับผู้ด้อยโอกาสและคนยากจน ให้สามารถเข้าถึงบริการพื้นฐานของภาครัฐได้อย่างมี
คุณภาพ และการจดั การกบั ความเส่ยี งทางสงั คมท่ีเกดิ ขึ้นจากวิกฤตทางเศรษฐกจิ สังคม และภยั พบิ ัติตา่ ง ๆ
เพื่อปิดชอ่ งว่างการคุม้ ครองทางสงั คมตา่ ง ๆ ในประเทศไทย

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (18) ประเดน็ การเติบโตอย่างย่ังยนื
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การเติบโตอยา่ งยง่ั ยืน ประกอบไปด้วย แผนยอ่ ย
จานวน 5 แผน ซง่ึ เก่ยี วข้อง จานวน 1 แผน ดงั นี้

แผนย่อย 3.5 การยกระดับกระบวนทศั นเ์ พือ่ กาหนดอนาคตประเทศ
แนวทางการพฒั นา
1) ส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ด้านส่ิงแวดล้อมและคุณภาพ

ชีวิตที่ดีของคนไทย โดยปรับปรุงกลไกและพัฒนาเคร่ืองมือต่าง ๆ ของภาครัฐ ให้เอ้ือต่อการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมของประชาชนทุกภาคส่วนให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับการเติบโต ท่ีมีคุณภาพ
ในอนาคตสร้างความรู้ความเข้าใจ การตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ให้รองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งในระดับประเทศและระดับสากล โดยสอดแทรก
ในหลกั สูตรการศึกษาและ/หรอื การจดั การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ท้งั ในระบบและนอกระบบ

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวัดภาคใตฝ้ งั่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 36


Click to View FlipBook Version