The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunma Niyomdecha, 2020-12-07 04:10:16

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (20) ประเดน็ การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพ

ภาครฐั ประกอบไปด้วย แผนยอ่ ย จานวน 5 แผน ซงึ่ เกีย่ วขอ้ ง จานวน 4 แผน ดงั นี้
แผนยอ่ ย 3.1 การพฒั นาบริการประชาชน
แนวทางการพัฒนา
2) พัฒนาการให้บริการภาครัฐผ่านการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ ตั้งแต่ต้นจนจบ

กระบวนการและปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากลอย่างคุ้มค่า มีความรวดเร็ว โปร่งใส เสียค่าใช้จ่ายน้อย
ลดข้อจากัดทางกายภาพ เวลา พ้ืนท่ีและตรวจสอบได้ ตามหลักการออกแบบที่เปน็ สากล เพือ่ ให้บรกิ าร
ภาครัฐเป็นไปอย่างปลอดภัย สร้างสรรค์ โปร่งใส มีธรรมาภิบาลเกิดประโยชน์สูงสุด ปรับวิธีการทางาน
จาก “การทางานตามภารกิจท่ีกฎหมายกาหนด” เป็น “การให้บริการที่ให้ความสาคัญ กับผู้รับบริการ”
ปรับปรุงวิธีการทางานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาบริการภาครัฐท่ีมีคุณค่าและได้มาตรฐานสากล
โดยเปล่ียนจากการทางานด้วยมือ เป็นการทางานบนระบบดิจิทัลทั้งหมด เช่ือมโยงและบูรณาการ
ปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐเข้าด้วยกันเสมือนเป็นองค์กรเดียว มีการพัฒนาบริการเดิมและสร้าง
บริการใหม่ท่ีเป็นพลวัตสอดคล้องเหมาะสมกับสถานการณ์และขับเคล่ือนโดยความต้องการของประชาชน
ภาคธุรกิจ และผู้ใช้บริการ และเปิดโอกาสให้เสนอความเห็นต่อการดาเนินงานของภาครัฐได้อย่างสะดวก
ทนั สถานการณ์

แผนย่อย 3.2 การบรหิ ารจดั การการเงนิ การคลัง
แนวทางการพฒั นา
3) จดั ทางบประมาณตอบสนองต่อเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรช์ าติ เพ่ือให้งบประมาณ

เป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีจะขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ โดยสนับสนุนบทบาทภารกิจของหน่วยงาน
ท้ังในภารกิจพื้นฐาน ภารกิจยุทธศาสตร์ ภารกิจพื้นท่ี และภารกิจอ่ืน ๆ ท่ีได้รับมอบหมายให้สามารถ
ดาเนินการไดต้ ามเป้าหมายของแต่ละแผนงาน/โครงการ และเป้าหมายรว่ มตามระยะเวลาทก่ี าหนดไว้
สอดคล้องกับสถานการณ์และความเร่งด่วนในแต่ละช่วงเวลา โดยใช้เคร่ืองมือด้านนวัตกรรม
และเทคโนโลยที ่ที ันสมัยร่วมกัน เพื่อใหเ้ กิดการพัฒนาในทกุ ๆ มิติอย่างยัง่ ยืน

5) กาหนดให้มีการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ
และผลสัมฤทธ์ิของแผนงาน/โครงการ ท้ังในภารกิจพื้นฐาน ภารกิจยุทธศาสตร์ และภารกิจพื้นท่ี
มีการติดตามประเมินผลทั้งก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างดาเนินการ และหลังการดาเนินงาน เป็นการ
ติดตามประเมินผลท้ังระบบ ตั้งแต่ปัจจัยนาเข้า กระบวนการดาเนินการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และ
ผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ โดยพัฒนาการเช่ือมโยงข้อมูล เพ่ือให้สามารถ
ตรวจสอบ และนาไปสู่การปรับแนวทาง การดาเนินงานท่ีเหมาะสมได้อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้ง
เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล และจัดให้มีการรายงาน
การติดตามประเมินผลในการบรรลุเปา้ หมายต่อสาธารณะเป็นประจา รวมท้ังการตรวจสอบ โดยองค์กร
อสิ ระต้องเป็นไปเพื่อส่งเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ

แผนย่อย 3.4 การพัฒนาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ
แนวทางการพัฒนา
1) พฒั นาหน่วยงานภาครัฐใหเ้ ป็น “ภาครฐั ทันสมัย เปดิ กว้าง เป็นองคก์ รขดี สมรรถนะสูง”

สามารถปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า เทียบได้กับมาตรฐานสากล รองรับสภาพแวดล้อม
ในการปฏิบัติงานที่มีความหลากหลายซับซ้อนและทันการเปลี่ยนแปลง โดยการนานวัตกรรม

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 37

และเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาให้มีการนาข้อมูลและข้อมูลขนาดใหญ่มาใช้ในการพัฒนานโยบาย
การตัดสินใจ การบริหารจัดการ การให้บริการ และการพัฒนานวัตกรรมภาครัฐ รวมถึงการเช่ือมโยง
การทางานและข้อมูลระหว่างองค์กรทั้งภายในและภายนอกภาครัฐแบบอัตโนมัติ อาทิ การสร้าง
แพลตฟอร์มดิจิทัลท่ีภาครัฐสามารถใช้ร่วมกัน เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลที่สะดวกและรวดเร็ว
เชื่อมโยงข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐให้มีมาตรฐานเดียวกันและข้อมูลระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ตลอดจนเพ่ือใหภ้ าคธุรกจิ ภาคเอกชน และผปู้ ระกอบการสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลในการขยาย
โอกาสทางการค้าทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ

2) กาหนดนโยบายและการบริหารจัดการท่ีตั้งอยู่บนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์
มุ่งผลสัมฤทธ์ิ มีความโปร่งใส ยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง นานวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่
ระบบการทางานที่เป็นดิจิทัล มาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ มีการพัฒนาข้อมูลเปิดภาครัฐ
ให้ทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึง แบ่งปัน และใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและสะดวก รวมท้ังนาองค์
ความรู้ ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาประยุกต์ใช้ เพ่ือสร้างคุณค่าและแนวทางปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ
ในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา พร้อมทั้งมีการจัดการความรู้และถ่ายทอด
ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อพัฒนาภาครัฐให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการเสริมสร้างการรับรู้
สร้างความเข้าใจ การพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาระบบบริการและการบริหาร
จัดการภาครัฐอยา่ งเต็มศักยภาพ

3) ปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การและออกแบบระบบการบริหารงาน
ใหม่ ให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว กระชับ ทันสมัย สามารถตอบสนองต่อบริบทการเปล่ียนแปลง
ได้ในทุกมิติ ไม่ยึดติดกับการจัดโครงสร้างองค์การแบบราชการและวางกฎเกณฑ์มาตรฐานกลาง
อย่างตายตัว มีขนาดท่ีเหมาะสมกับภารกิจ ปราศจากความซ้าซ้อนของการดาเนินภารกิจ สามารถ
ปรับเปล่ียนบทบาท ภารกิจ โครงสร้างองค์การ ระบบการบริหารงาน รวมทั้งวางกฎระเบียบได้เอง
อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไป เน้นทางานแบบบูรณาการไร้รอยต่อและเชื่อมโยง
เป็นเครือข่ายกับทุกภาคส่วน ทั้งนี้ เพ่ือมุ่งไปสู่ความเป็นองค์การท่ีมีขีดสมรรถนะสูง สามารถ
ปฏิบัติงานและมีผลสัมฤทธิ์เทียบได้กับมาตรฐานระดับสากล นอกจากน้ียังมีความเป็นสานักงาน
สมัยใหม่ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลขนาดใหญ่เพ่ือวิเคราะห์คาดการณ์ล่วงหน้าและทางานในเชิงรุก
สามารถนาเทคโนโลยีอนั ทนั สมัยเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพและสร้างคุณค่าในการทางาน

แผนย่อย 3.5 การสร้างและพฒั นาบคุ ลากรภาครัฐ
แนวทางการพัฒนา
2) เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารงานบุคคลในภาครัฐให้เป็นไปตามระบบ

คุณธรรมอยา่ งแท้จริง โดยการสรรหาและคัดเลือกบุคคลทีม่ ีความรู้ความสามารถ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม
และจิตสานึกสาธารณะ มีระบบบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรให้สามารถสนองความต้องการ
ในการปฏิบัติงาน มีความก้าวหน้าในอาชีพ สามารถจูงใจให้คนดีคนเก่งทางานในภาครัฐ โดยมี
การประเมินผลและเล่ือนระดับตาแหน่งของบุคลากรภาครัฐตามผลสัมฤทธ์ิของงานและพฤติกรรม
ในการปฏิบัติงาน โดยมีกลไกการป้องกันการแทรกแซงและการใช้ดุลยพินิจโดยมิชอบ การสร้าง
ความกา้ วหน้าให้กบั บุคลากรภาครัฐตามความรู้ความสามารถและศักยภาพในการปฏิบัตงิ าน และการ
สร้างกลไกให้บุคลากรภาครฐั สามารถโยกย้ายและหมุนเวยี นได้อย่างคล่องตัวเพื่อประโยชน์ของภาครัฐ
รวมถึงการพัฒนาระบบการจ้างงานบุคลากรภาครัฐทุกประเภทให้มีรูปแบบที่หลากหลายเหมาะสม
กับภารกิจในรูปต่าง ๆ อาทิ การจ้างงานที่มีลักษณะช่ัวคราว ให้เป็นเคร่ืองมือในการบริหารงาน

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวัดภาคใต้ฝั่งอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 38

ในภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการทบทวนและปรับเปล่ียนระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรม
มีมาตรฐาน เหมาะสมสอดคล้องกับภาระงาน โดยปรับปรุงวิธีการกาหนดและพิจารณาค่าตอบแทน
และสิทธิประโยชน์ของบุคลากรภาครัฐให้มีมาตรฐาน เหมาะสมกับลักษณะงานและภารกิจ
รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับตลาดการจ้างงานได้อย่างสมเหตุสมผล โดยไม่ให้เกิดความเหล่ือมล้า
ของคา่ ตอบแทนและสิทธปิ ระโยชน์ต่าง ๆ ระหวา่ งบคุ ลากรของรฐั

3) พัฒนาบุคลากรภาครัฐทุกประเภทให้มีความรู้ความสามารถสูง มีทักษะการคิด
วเิ คราะห์และการปรบั ตัวใหท้ นั ต่อการเปล่ียนแปลง มรี ะบบการพัฒนาขดี ความสามารถบุคลากรภาครัฐ
ให้มีสมรรถนะใหม่ ๆ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม ทักษะด้านดิจิทัล มีทัศนคติและ
กรอบความคิดในการทางานเพ่ือให้บริการประชาชนและอานวยความสะดวกภาคเอกชนและภาค
ประชาสังคมเพ่ือประโยชน์ของการพัฒนาประเทศ สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนา
มีการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม การปรับเปล่ียนแนวคิดให้การปฏิบัติราชการเป็นมืออาชีพ
มีจิตบริการ ทางานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า สามารถบูรณาการการทางานร่วมกับภาคส่วนอื่น
ได้อย่างเป็นรูปธรรม และมีสานึกในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดรับชอบและความสุจริต ปฏิบัติงาน
ตามหลักการและหลักวิชาชีพด้วยความเป็นธรรมและเสมอภาค กล้ายืนหยัดในการกระทาท่ีถูกต้อง
คานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ของส่วนตน ตลอดจนส่งเสริมให้มีการคุ้มครอง
และปกป้องบุคลากรภาครัฐที่กล้ายืดหยัดในการกระทาท่ีถูกต้องและมีพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
ตามจริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ

4) สร้างผู้นาทางยุทธศาสตร์ในหน่วยงานภาครัฐทุกระดับอย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบ
เพ่ือให้ผู้นาและผู้บริหารภาครัฐมีความคิดเชิงกลยุทธ์ มีความเข้าใจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรมทั้งระดับท้องถ่ิน ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก มีความสามารถในการนา
หน่วยงาน และมีคุณธรรม จริยธรรมในการบริหารงานเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม เป็นทั้งผู้นาทาง
ความรู้และความคิด ผลักดันภารกิจ นาการเปล่ียนแปลง พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นแบบอย่างที่ดี
ต่อผู้ร่วมงานและต่อสังคม เพื่อรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว โดยต้องได้รับ
การปรับเปล่ียนกระบวนการทางความคิดให้ตนเอง มีความเป็นผู้ประกอบการสาธารณะ เพ่ิมทักษะ
ให้มีสมรรถนะที่จาเป็น และเปล่ียนแปลงพฤติกรรม อันจะช่วย ทาให้สามารถแสดงบทบาท
ของการเปน็ ผู้นาการเปลีย่ นแปลง เพอื่ สรา้ งคุณคา่ และประโยชน์สขุ ใหแ้ ก่ประชาชน

แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (21) ประเดน็ การต่อต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ประกอบไปดว้ ย แผนย่อย จานวน 2 แผน ซึง่ เก่ยี วขอ้ ง จานวน 1 แผน ดงั นี้

แผนย่อย 3.1 การป้องกันการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ
แนวทางการพฒั นา
1) ปลูกและปลุกจิตสานึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรมสุจริต และการปลูกฝัง

และหล่อหลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนทุกชว่ งวยั ทุกระดับ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม “คน”
โดยการ “ปลูก” และ “ปลกุ ” จิตสานกึ ความเป็นพลเมืองทีด่ ี มีวัฒนธรรมสจุ รติ สามารถแยกแยะได้ว่า
สิ่งใดเป็นประโยชน์ส่วนตน ส่ิงใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายต่อการกระทาความผิด
ไม่เพิกเฉยอดทนต่อการทุจริต และเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ รวมถึง
การส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมสุจริตในระดับชุมช นเพื่อนาไปสู่การเปล่ียน แป ลง
พฤติกรรมค่านิยมท่ียึดประโยชน์สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และต่อต้านการทุจริตและ

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกล่มุ จังหวัดภาคใตฝ้ ่งั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 39

ประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการส่งเสริมวัฒนธรรมสุจริตผ่านหลักสูตรการศึกษา
ภาคบังคับท่ีเด็กไทยทุกคนต้องเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับ ปฐมวัยจนถึง
ระดับอุดมศึกษา เพ่ือปฏิรูป “พลเมืองไทยในอนาคต” ให้มีความเป็นพลเมืองเต็มขั้น สามารถ
ทาหน้าที่ความเป็นพลเมืองที่ดีมีจิตสานึกยึดม่ันในความซ่ือสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
มีระเบียบวินยั และเคารพกฎหมาย

2) ส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความใสสะอาด
ปราศจากพฤติกรรมท่ีส่อไปในทางทุจริต โดยการปฏิบัติหน้าที่ราชการอย่างเปิดเผย โปร่งใส ถูกต้อง
เป็นธรรม ไม่คดโกง รู้จักแยกแยะเร่ืองส่วนตัวออกจากหน้าที่การงาน การสร้างธรรมาภิบาลในการ
บริหารงาน ตลอดจนการสร้างจิตสานึกและค่านิยมในการต่อต้านการทุจริตให้แก่บุคลากรขององค์กร
โดยการสนับสนุนให้ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีรัฐเข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายต่อต้านการทุจริต
ในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง สอดส่อง ติดตามพฤติกรรมเส่ียง
และแจ้งเบาะแส เพื่อสกัดก้ันมิให้เกิดการทุจริตประพฤติมิชอบได้ โดยมีมาตรการสนับสนุน
และคุ้มครองผแู้ จ้งเบาะแส

แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (23) ประเด็น การวิจยั และพัฒนานวัตกรรม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ประกอบไปด้วย

แผนยอ่ ย จานวน 5 แผน ซง่ึ เก่ยี วขอ้ ง จานวน 2 แผน ดงั นี้
แผนย่อย 3.2 การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม ดา้ นสังคม
แนวทางการพัฒนา
1) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยการส่งเสริมการวิจัย พัฒนา

และประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ของประเทศตลอดทุกช่วงวัย
(ปฐมวัย วัยเด็ก วัยเรียน วัยแรงงาน วัยสูงอายุ) การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
เพื่อให้ประชาชนไทยมีทักษะความรู้ และเป็นกาลังในการพัฒนาประเทศ โดยมีประเด็นการวิจัย
ที่สาคัญ อาทิ โภชนาการและสุขภาวะในช่วงปฐมวัย การปลูกฝังความเป็นคนดี วินัย และจิตสาธารณะ
ในวัยเรียน การพัฒนาทักษะและสมรรถนะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ในวัยเรียนและวัยแรงงาน
บุคลากรทางการศึกษา ครู หลักสูตรและกระบวนการสอน การส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ ระบบบริการ
สาธารณสุข และวทิ ยาศาสตร์ทางการกีฬา

แผนย่อย 3.5 ดา้ นปัจจัยสนบั สนนุ ในการวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม
แนวทางการพัฒนา
5) การเพ่ิมจานวนและคุณภาพบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม เพื่อผลิต (เชิงปริมาณ)

และพัฒนาศักยภาพ (เชิงคุณภาพ) ของบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมของประเทศที่สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติให้เพียงพอท้ังภาคการผลิต บริการ สังคมและชุมชน เพื่อรองรับการเพ่ิมขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั ของประเทศดว้ ยการวิจัยและนวัตกรรม และเตรยี มความพร้อมสาหรบั การเปล่ียนแปลง
ในอนาคต

3. แผนการปฏริ ูปประเทศ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กาหนดให้รัฐจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ

เพ่ือเป็นเป้าหมายระยะยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับมาตรา 257 และมาตรา 259
กาหนดให้ทาการปฏิรูปประเทศเพ่ือวางรากฐานการพัฒนาไปสู่ประเทศท่ีมีความสามัคคีปรองดอง

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 40

มีการพัฒนาอย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุล ประชาชนในสังคม
มีโอกาสทัดเทียมกัน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมท้ังมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยจะต้องดาเนินการปฏิรูป
อย่างต่อเน่ืองในช่วงห้าปีข้างหน้า เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ในแผนการปฏิรูปแต่ละด้าน คือ
1) ด้านการเมือง 2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม
5) ด้านเศรษฐกิจ 6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านส่ือสารมวลชน
เทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปราม
การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ เกีย่ วขอ้ งดา้ นการศึกษา ดงั น้ี

3.1 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ท่ีคณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบในหลักการ
เมือ่ วันที่ 7 พฤษภาคม 2562 ตามท่ีคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) เป็นผู้นา
เสนอ โดยมอบหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องนาแผนฯ ไปพิจารณาดาเนินการให้เป็นไปตามขั้นตอน
ของกฎหมาย ระเบียบ รวมท้ังให้มีการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้และความเข้าใจเก่ียวกับแผนฯ
ดังกล่าวผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วน สถาบันการศึกษาต่างๆ และหน่วยงาน
ของรัฐที่เกี่ยวข้องท่ีจะต้องนาแผนไปปฏิบัติ เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันและสามารถขับเคลื่อน
การดาเนินการอย่างสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งวัตถุประสงค์การปฏิรูปการศึกษา
จะประกอบดว้ ย

3.1.1 ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ท่ีครอบคลุม (1) ผลลัพธ์
ทางการศึกษาและการเรียนรู้ ทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติท่ีถูกต้อง และรู้จักดูแลสุขภาพ
เพื่อการจัดการในเร่อื งการดารงชีวิตของตนเองและการใชช้ ีวิตร่วมกับผู้อ่ืน (2) ครู อาจารย์ และบคุ ลากร
ทางการศึกษา ที่ต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ มีจิตวิญญาณของความเป็นครู (3) หลักสูตร
และกระบวนการจัดการศึกษาและการ เรียนรู้ท่ียืดหยุ่น หลากหลาย ถูกต้อง ทันสมัย ทันเวลา
และมุ่งเน้นการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทางสังคมที่ถูกต้อง และ (4) สถานศึกษา
และระบบสนับสนุนที่ตอบสนองต่อความต้องการของการจัดการศึกษา ตลอดจนทรัพยาก ร
ดา้ นการศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพ ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา งบประมาณ และเทคโนโลยี

3.1.2 ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา ทป่ี ระกอบด้วย (1) โอกาสในการเขา้ ถึง
การศึกษาและเทคโนโลยีที่สนับสนุนการเรียนรู้ (2) โอกาสในการได้รับเลือกในการศึกษาและการเรียนรู้
พัฒนาท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน (3) โอกาสในการได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้และการพัฒนา
ทักษะในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับศักยภาพตามความถนัดของผู้เรียนท้ังในและนอกระบบ
การศึกษารวมถึงการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ

3.1.3 มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ซึ่งหมายถึง การสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนท่ีมีศักยภาพสูง มีความเป็นผู้นา ริเริ่ม
สร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ๆ และการผลิตนักวิจัยและนักเทคโนโลยีช้ันแนวหน้าให้สามารถต่อยอด
งานวิจัยท่ีสามารถตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ การสร้างความร่วมมือและเช่ือมต่อกับสถาบันวิจัยอ่ืนๆ
ท่ัวโลก สอดคล้องกับทิศทางการขับเคลอ่ื นทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอ้ มของประเทศ อีกท้ัง
สถาบันการศึกษาของไทยและระบบการศึกษาไทยต้องได้รับการยอมรับว่าสามารถเทียบเคียง
กับประเทศชน้ั นาอนื่ ๆ

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 41

3.1.4 ปรับปรงุ ระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรพั ยากร เพม่ิ ความคล่องตัว
ในการรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษาและสร้างเสริมธรรมาภิบาล โดยเฉพาะการส่งเสริม
และสร้างสมดุลของความคุ้มค่า ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ คุณธรรมและจริยธรรม ทั้งนี้ระบบ
การศึกษาของประเทศที่มีธรรมาภิบาลจะเอื้อต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ในข้างต้น ทั้งน้ี มีแผนงาน
เพ่ือการปฏิรูปการศึกษา จานวน 7 แผนงาน ท่ีประกอบด้วยประเด็น ปฏิรูปภายใต้แผนงานฯ เพื่อการ
บรรลุวตั ถุประสงค์ของการปฏริ ปู ประเทศด้านการศกึ ษา ดังน้ี

(1) แผนงานการปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ
โดยใช้พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติฉบบั ใหมแ่ ละกฎหมายลาดับรอง

(1.1) การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... และมีการทบทวน
จัดทา แกไ้ ข และปรับปรงุ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

(1.2) การสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และเอกชน เพอ่ื การจัดการศกึ ษา

(1.3) การขับเคล่ือนการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและ การศึกษา
เพือ่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ รองรับการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ

(1.4) การทบทวนและปรบั ปรุงแผนการศกึ ษาแห่งชาติ
(1.5) การจดั ตง้ั สานกั งานคณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแหง่ ชาติ
(2) แผนงานการปฏริ ปู การพฒั นาเด็กเล็กและเด็กกอ่ นวยั เรยี น
(2.2) การพัฒนาระบบการดูแล พัฒนาและจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เด็ก
ปฐมวยั ไดร้ ับการพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาใหส้ มกับวัย
(2.3) การส่ือสารสงั คมเพื่อสร้างความเข้าใจในการพฒั นาเด็กปฐมวัย
(3) แผนงานการปฏริ ูปเพื่อลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา
(3.1) การดาเนนิ การเพ่ือลดความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษา
(3.2) การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ บุคคลท่ีมีความสามารถพิเศษ
และบุคคลทม่ี คี วามตอ้ งการเป็นพิเศษ
(3.3) การยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาในพืน้ ที่ห่างไกล หรือใน สถานศึกษา
ทต่ี อ้ งมกี ารยกระดับคณุ ภาพอยา่ งเรง่ ด่วน
(4) แผนงานการปฏริ ปู กลไกและระบบการผลติ คัดกรองและพฒั นา ผู้ประกอบ
วชิ าชพี ครูและอาจารย์
(4.1) การผลิตครูและการคัดกรองครู เพ่ือให้ได้ครูที่มีคุณภาพตรงกับ
ความต้องการของประเทศ และมจี ติ วญิ ญาณของความเป็นครู
(4.2) การพัฒนาวิชาชพี ครู
(4.3) เส้นทางวิชาชีพครูเพ่ือให้ครูมีความก้าวหน้า ได้รับค่าตอบแทน
และสวัสดกิ าร ที่เหมาะสม
(4.4) การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา เพ่ือยกระดับคุณภาพการจัด
การศึกษาในสถานศึกษา
(4.5) องคก์ รวชิ าชีพครแู ละการปรบั ปรุงกฎหมายท่เี กี่ยวข้อง

แผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใตฝ้ ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 42

(5) แผนงานการปฏริ ปู การจัดการเรยี นการสอนเพื่อตอบสนองการเปล่ยี นแปลง
ในศตวรรษที่ 21

(5.1) การปรับหลกั สูตรพร้อมกระบวนการจัดการเรยี นการสอนและการประเมิน
เพื่อพัฒนาการเรยี นรเู้ ปน็ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ

(5.2) การประเมนิ คุณภาพการจดั การศกึ ษาระดบั ชาตแิ ละระบบการเข้าศึกษาต่อ
(5.3) การพฒั นาคุณภาพระบบการศึกษา
(5.4) ระบบความปลอดภยั และระบบสวสั ดภิ าพของผ้เู รยี น
(5.5) การจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างคณุ ธรรมและจริยธรรม
(5.6) การปฏริ ปู อาชีวศกึ ษาเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
(5.7) การปฏิรูปอุดมศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพ เพ่ิมขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั ประสทิ ธิภาพและธรรมาภิบาลของระบบอดุ มศึกษา
(5.8) การจัดต้ังสถาบันหลกั สูตรและการเรียนรแู้ ห่งชาติ
(6) แผนงานการปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพ่ือบรรลุ
เปา้ หมาย ในการปรับปรงุ การจดั การเรยี นการสอน และยกระดบั คณุ ภาพของการจัดการศึกษา
(6.1) สถานศึกษามีความเป็นอสิ ระในการบริหารและจัดการศึกษา
(6.2) พ้ืนท่นี วัตกรรมการศึกษา
(6.3) การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของกระทรวงศึกษาธกิ าร
(7) แผนงานการปฏริ ูปการศึกษาและการเรียนรู้โดยการพลิกโฉมด้วยระบบดิจทิ ลั
(7.1) การปฏริ ูปการเรียนรดู้ ้วยดิจทิ ัลผา่ นแพลตฟอร์มการเรยี นรดู้ ้วยดจิ ิทัลแห่งชาติ
(7.2) ระบบข้อมูลสารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษา (big data)
(7.3) การพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล ในด้านความฉลาดรู้ดิจิทัล
ความฉลาดรู้ สารสนเทศ ความฉลาดรู้สื่อเพ่ือการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตลอดจนรู้ กตกิ า มารยาท จรยิ ธรรม เกย่ี วกับการใช้สอ่ื และการส่ือสารบนอนิ เทอร์เน็ต

4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ทสี่ บิ สอง พ.ศ. 2560 - 2564
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทาแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560-2564 สาหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศ
ไทยในระยะ 5 ปี ซึ่งเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
เพื่อเตรียมความพร้อม และวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว
มีความม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืนด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาประเทศ
ในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง (พ.ศ. 2560-2564) มีหลักการ
ท่สี าคญั คอื

1) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพ่ือให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติ
อย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกัน และการบริหารจัดการความเส่ียงท่ีดี
ซ่ึงเป็นเง่ือนไขที่จาเป็นสาหรับการพัฒนาท่ีย่ังยืนซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็น คนท่ีสมบูรณ์
สังคมไทยเป็นสังคมคุณภาพมีที่ยืน และเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสังคมได้ดาเนินชีวิตที่ดีมีความสุข
และอยูร่ ว่ มกันอย่างสมานฉนั ท์

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวัดภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 43

2) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต และสุขภาวะท่ีดี สาหรับคนไทย
พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี
รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัย และเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์ และอยู่กับส่ิงแวดล้อมอย่างเก้ือกูล
อนรุ ักษ์ ฟืน้ ฟู ใชป้ ระโยชนท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอยา่ งเหมาะสม

3) ยึด “วสิ ัยทัศนภ์ ายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวสิ ัยทัศน์ประเทศไทย
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง
ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์
ประจาชาติวา่ “ม่นั คง มัง่ ค่งั ย่ังยืน”

4) ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ท่ีเป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะ 20 ปี มาเป็นกรอบในการกาหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา
ควบคูก่ บั กรอบเปา้ หมายทีย่ ง่ั ยืน (SDGs)

5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหลื่อมล้าและขับเคล่ือนการเจริญเติบโต
จากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปญั ญาและนวตั กรรม”

6) ยึด “หลักการนาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธ์ิ
ท่เี ป็นเป้าหมายระยะยาว”

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยค่านิยมท่ีดี
มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่ง
ท่ีมที ักษะความรคู้ วามสามารถและพฒั นาตนเองไดต้ ่อเนื่องตลอดชวี ิต
2. เพื่อให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึง
ทรัพยากร และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชน
มคี วามเขม้ แข็งพึ่งพาตนเองได้
3. เพ่ือให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สร้างความเข้มแข็ง
ของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากข้ึน สร้างความ
เข้มแขง็ ของเศรษฐกจิ ฐานราก และสร้างความมน่ั คงทางพลงั งาน อาหาร และน้า
4. เพื่อรักษา และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพส่ิงแวดล้อมให้สามารถสนับสนุน
การเติบโตทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม และการมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ขี องประชาชน
5. เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมีการทางาน
เชิงบรู ณาการของภาคีการพฒั นา
6. เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพ่ือรองรับ
การพัฒนายกระดับฐานการผลิต และบริการเดมิ และขยายฐานการผลติ และบรกิ ารใหม่
7. เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยง (Connectivity) กับประเทศต่างๆ
ทั้งในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมท้ังให้ประเทศไทย
มีบทบาทนาและสร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ
ทัง้ ในระดบั อนภุ ูมภิ าค ภมู ิภาค และโลก

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 44

เป้าหมายรวม เพื่อให้เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ดังกลา่ ว ได้กาหนดเป้าหมายรวมการพัฒนา
ของแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 ประกอบดว้ ย

1. คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐาน
ที่ดีของสังคม มีความเป็นพลเมืองต่ืนรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์
มีความรับผิดชอบ และทาประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญ งอกงาม
ทางจิตวญิ ญาณมีวถิ ชี ีวติ ที่พอเพียง และมีความเปน็ ไทย

2. ความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้ และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง
ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถงึ ทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบรกิ ารทางสงั คมท่ีมคี ุณภาพ
อยา่ งทว่ั ถึงและเปน็ ธรรม

3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจ
ฐานบริการและดจิ ทิ ัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสงั คมผ้ปู ระกอบการ ผปู้ ระกอบการขนาดกลาง
และขนาดเล็กท่ีเข้มแข็งสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้า
และบริการมีระบบการผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงข้ึน และมีการลงทุน
ในการผลิตและบริการฐานความรู้ชั้นสูงใหม่ ๆ ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและชุมชน รวมท้ังกระจาย
ฐานการผลติ และการให้บริการสภู่ มู ภิ าคเพอื่ ลดความเหลอ่ื มล้าโดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพ

4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตร
กบั สิ่งแวดล้อม มีความมัน่ คงทางอาหาร พลังงาน และนา้

ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจ
9 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความสาคัญ
กบั การวางรากฐานการพฒั นาคนใหม้ ีความสมบูรณ์ เรมิ่ ต้ังแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพฒั นาให้มีสุขภาพ
กายและใจที่ดมี ที กั ษะทางสมอง ทักษะการเรยี นรู้ และทกั ษะชีวิต เพ่อื ให้เติบโตอยา่ งมคี ณุ ภาพ ควบคู่
กับการพัฒนาคนไทยใน ทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย
มีจิตสานึกท่ีดี ตอ่ สังคมส่วนรวม มีทกั ษะความรู้ และความสามารถปรับตวั เทา่ ทันกับการเปลี่ยนแปลง
รอบตัวที่รวดเร็ว บนพ้ืนฐานของการมีสถาบันทางสังคมที่เข้มแข็งท้ังสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา
สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนที่ร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้ง
ยงั เปน็ ทุนทางสังคมสาคญั ในการขับเคลอ่ื นการพฒั นาประเทศ

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม ให้ความสาคัญ
กับการดาเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึงโดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านการศึกษาและสาธารณสขุ
รวมท้ังการปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทยซ่ึงเป็นการดาเนินงานต่อเนื่องจากที่ได้ขับเคลื่อน
และผลักดันในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 และมุ่งเน้นมากข้ึนในเรื่องการเพิ่มทักษะแรงงานและการใช้
นโยบายแรงงานทส่ี นับสนุนการเพ่ิมผลิตภาพแรงงานและเสริมสร้างรายได้สูงข้ึน และการสรา้ งโอกาส
ทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนในเร่ืองการสร้างอาชีพ รายได้ และให้ความช่วยเหลือ
เช่ือมโยงการเพิ่มผลิตภาพสาหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่าสุด ผู้ด้อยโอกาสสตรี และผู้สูงอายุ
อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจเพ่ือสังคม
การพัฒนาองค์กรการเงิน ฐานราก และการเข้าถึงเงินทุนเพื่อสร้างอาชีพ และการสนับสนุนการเข้าถึง
ปจั จัยการผลิตคณุ ภาพดีท่รี าคาเป็นธรรม เป็นต้น

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ งั่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 45

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
เน้นให้เศรษฐกิจเติบโตได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัว
และเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพิ่มขึ้น การลงทุน
ภาครัฐและเอกชนมีการขยายตัวอย่างต่อเน่ืองและมาจากความร่วมมือกันมากข้ึน ประชาชน
และผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบภาษีมากข้ึน และประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขัน
ทางเศรษฐกจิ สูงขึน้ นอกจากน้ี ยังเน้นให้เศรษฐกิจรายสาขามกี ารเติบโตอย่างเข้มแขง็ ภาคการเกษตร
เน้นเกษตรกรรมย่ังยืน และให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมข้ึน มีการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมนิเวศ
การท่องเท่ียวสามารถทารายได้และแข่งขันได้มากขึ้น วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมีบทบาท
ต่อระบบเศรษฐกิจมากขึ้น ภาคการเงินมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน และใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมข้ันก้าวหน้าท่ีเข้มข้นมากข้ึน การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนาและยกระดับ
คุณภาพของกาลังคน และความคิดสร้างสรรค์ในการขยายฐานเศรษฐกิจ การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่
และการพฒั นาตามแนวระเบยี งเศรษฐกจิ การผสมผสานภาคบริการเขา้ กับการค้าและการเตรยี มความพรอ้ ม
ของภาคบริการ ให้สามารถรองรบั การแขง่ ขนั ที่เสรขี ้นึ

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน
ประเด็นท้าทายที่ต้องเร่งดาเนินการในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ได้แก่ การสร้างความม่ันคง
ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพส่ิงแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตร
กับส่ิงแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชน เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพ่ือลดมลพิษ
ท่ีเกิดจากการผลิต และการบริโภค พัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีโปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริมการผลิต
และการบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเป็นวงกว้างมากขึ้น ต้องเร่งเตรียมความพร้อมในการลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพ่ิมขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศ รวมทัง้ บรหิ ารจดั การเพ่อื ลดความเสย่ี งดา้ นภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศ
สู่ความม่ันคั่งและย่ังยืน ให้ความสาคัญต่อการฟ้ืนฟูพ้ืนฐานด้านความมั่นคงที่เป็นปัจจัยสาคัญ
ต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติ
ของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและอุดมการณ์บนพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและการเตรียมการรับมือกับภัยคุกคามข้ามชาติซ่ึงจะส่งผลกระทบ
อยา่ งมีนยั ยะสาคญั ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะ 20 ปีข้างหนา้

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ
และธรรมาภิบาล ในสังคมไทย เป็นช่วงเวลาสาคัญที่ต้องเร่งปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดผล
สัมฤทธ์ิ อย่างจริงจัง เพื่อให้เป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญท่ีจะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้าน
ให้ประสบผลสาเร็จบรรลเุ ปา้ หมาย ท้ังการบริหารจดั การภาครฐั ให้โปรง่ ใส มีประสทิ ธิภาพ รับผดิ ชอบ
ตรวจสอบไดอ้ ย่างเป็นธรรม และประชาชนมีสว่ นร่วม มกี ารกระจายอานาจ และแบ่งภารกิจรบั ผดิ ชอบ
ที่เหมาะสม ระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น และวางพ้ืนฐานเพ่ือให้บรรลุตามกรอบเป้าหมาย
อนาคตในปี 2579

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ ั่งอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 46

ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้น
การขยายขีดความสามารถ และพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและพื้นท่ี
เศรษฐกิจหลัก และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเช่ือมโยง
ในอนุภูมิภาค และในอาเซียนอย่างเป็นระบบ โดยมีโครงข่ายเชื่อมโยงภายในประเทศท่ีสนับสนุนการพัฒนา
พื้นที่ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจต่างๆ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการกากับดูแลให้สอดคล้อง
กับมาตรฐานสากลเพื่อเพิ่มประสิทธฺ ภิ าพ การดาเนินการสรา้ งความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการพ้ืนฐาน
และการคุ้มครองผู้บริโภค การพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเน่ืองเพ่ือสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับ
ประเทศ และการพัฒนาผู้ประกอบการ ในสาขาโลจิสติกส์และหน่วยงานที่มีศักยภาพเพ่ือไปทาธุรกิจ
ในต่างประเทศ

ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้ความสาคัญ
กับการใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม
และความคิดสร้างสรรค์อย่างเข้มข้นทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม รวมท้ังให้ความสาคัญ
กับการพัฒนาสภาวะแวดล้อมหรือปัจจัยพ้ืนฐานท่ีเอ้ืออานวยท้ังการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา
การพัฒนาบุคลากรวิจัย โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการบริหารจัดการ
เพื่อช่วยขับเคลอ่ื นการพัฒนาประเทศใหก้ า้ วสูเ่ ปา้ หมาย

ยุทธศาสตรท์ ่ี 9 การพัฒนาภาค เมอื ง และพนื้ ท่เี ศรษฐกิจ ประเทศไทยต้องใช้ประโยชน์
จากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนที่ และการดาเนินยุทธศาสตร์เชิงรุก เพื่อเสริมจุดเด่น
ในระดับภาคและจังหวัดในการเป็นฐานการผลิตและบริการท่ีสาคัญ ประกอบกับการขยายตัว
ของประชากรในเขตเมือง จะเป็นโอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายได้ของประชาชน
โดยการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่ และมีศักยภาพในการรองรับการค้าการลงทุน รวมทั้ง
ลดแรงกดดันจากการกระจุกตัวของการพัฒนาในกรุงเทพฯ และภาคกลางไปสู่ภูมิภาค นอกจากน้ี
การเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนยังเป็นโอกาสในการเปิดพ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหม่
บริเวณชายแดนเชื่อมโยงการคา้ การลงทนุ ในภูมิภาคของไทยกับประเทศเพ่ือนบ้านอีกด้วย

5. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตร)ี
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

แถลง นโยบายรัฐบาลต่อรัฐสภา ระบุว่า ประเทศไทยมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองผ่านวิสัยทัศน์
และการขับเคล่ือนการพัฒนาของผู้นาประเทศในอดีต และในวันน้ีวิสัยทัศน์ในการขับเคล่ือนประเทศ
ของรัฐบาลชุดนี้ คือ “มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วในศตวรรษที่ 21” โดยรัฐบาล
ได้กาหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดนิ นโยบายหลัก 12 ด้าน ดังนี้

1. การปกป้อง และเชิดชสู ถาบันพระมหากษัตริย์
2. การสร้างความมน่ั คงและความปลอดภยั ของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ
3. การทานุบารุงศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม
4. การสรา้ งบทบาทของไทยในเวทโี ลก
5. การพัฒนาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแขง่ ขนั ของไทย
6. การพฒั นาพืน้ ทเ่ี ศรษฐกิจ และการกระจายความเจริญสู่ภมู ภิ าค
7. การพฒั นาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก
8. การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้ และการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทุกช่วงวยั

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 47

9. การพัฒนาระบบสาธารณสุข และหลักประกนั ทางสังคม
10. การฟืน้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ และการรักษาสิง่ แวดลอ้ มเพอ่ื สร้างการเติบโตอยา่ งย่ังยืน
11. การปฏิรูปการบรหิ ารจดั การภาครฐั
12. การปอ้ งกนั ปราบปรามการทุจริต ประพฤตมิ ชิ อบ และกระบวนการยตุ ธิ รรม
รัฐบาล จะบริหาร ราชการแผ่นดินอย่างเต็มความสามารถ ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต
และยึดประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนชาวไทยอย่างแท้จริง เพ่ือให้ประเทศไทยก้าวต่อไปข้างหน้า
อย่างมั่นคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน โดยนโยบายหลักท้ัง 12 ด้านของรัฐบาลข้างต้น จะเป็นทิศทาง
การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลในช่วง 4 ปีข้างหน้า แต่จากสถานการณ์และปัญหาที่ประเทศไทย
กาลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาปากท้องของประชาชนกลุ่มต่าง ๆ สถานการณ์เศรษฐกิจ
โลกและการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ท่ีส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ รัฐบาลได้กาหนดเร่ืองเร่งด่วน
ที่ต้องดาเนินการ เพ่ือบรรเทาปัญหาและลดผลกระทบกับประชาชน และระบบเศรษฐกิจ ดังน้ี
นโยบายเร่งด่วน 12 เรือ่ ง คอื
1. การแก้ไขปัญหาในการดารงชีวิตของประชาชน โดยลดข้อจากัดในการประกอบอาชีพ
ของคนไทย การจัดการระบบการขนส่งสาธารณะผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ทบทวน รูปแบบ และมาตรฐาน
หาบเร่แผงลอยในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล แก้ไขปัญหาหนี้สิน และลดภาระหน้ีสิน
ของประชาชนในกองทุนหมู่บ้าน กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา หนี้สินนอกระบบ ปรับปรุงระบบ
ที่ดินทากินให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงได้ จัดทาแนวทางการกาหนดสิทธิ และการจัดการสิทธิในท่ีดิน
ของเกษตรกรทเี่ หมาะสม ลดอุปสรรคในธรุ กจิ ประมงพาณชิ ย์ และประมงชายฝง่ั เป็นต้น
2. การปรับปรุงระบบสวัสดิการ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยปรับปรุงระบบ
บตั รสวัสดิการแหง่ รัฐและเบี้ยยงั ชพี ของประชาชน อาทิ ผสู้ งู อายุ และคนพิการทม่ี รี ายไดน้ อ้ ย ผูย้ ากไร้
ผดู้ อ้ ยโอกาส และพจิ ารณาขยายความครอบคลุมไปยังกลุ่มมารดาต้ังครรภ์ เดก็ แรกเกิด และเด็กวยั เรียน
ที่ครอบครัวมีปัญหาทางเศรษฐกิจ และเร่งรัดการพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ เพ่อื ลดความเหลอื่ มล้า
ของคุณภาพการบรกิ ารในแตล่ ะระบบ เป็นต้น
3. มาตรการเศรษฐกิจเพื่อรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก โดยเร่งกระบวนการ
จัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปรับปรุง ประสิทธิภาพการใช้จ่าย
งบประมาณ เพ่ือให้มีเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็ว จัดเตรียม มาตรการรองรับการกีดกันทางการค้า
และมาตรการสนับสนุนเพื่อช่องทางการส่งออก ให้ผู้ส่งออกท่ีได้รับผลกระทบจากมาตรการกีดกัน
ทางการค้า ปรับปรุงทิศทางการส่งออกไปยังตลาดอื่นโดยเร็ว ส่งเสริม การท่องเท่ียว ภายในประเทศ
ทั้งในส่วนของเมืองหลัก เมืองรอง และการท่องเที่ยวชุมชน เพื่อกระจายรายได้ในรูปแบบเศรษฐกิจ
แบ่งปัน เพ่ือสร้างรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจ ภายในประเทศในช่วงที่มีข้อจากัดด้านการส่งออก
และส่งเสรมิ ผู้ประกอบการขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม
4. การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม โดยจัดพื้นท่ีการเกษตรให้สอดคล้อง
กับระบบบริหารจัดการน้า และคุณภาพของดินตาม Agri-Map กาหนด เป้าหมายรายได้เกษตรกร
ให้สามารถมีรายได้จากผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพในสินค้าเกษตรสาคัญ อาทิ ข้าว ยางพารา
มันสาปะหลัง ปาล์ม อ้อย และข้าวโพด ด้วยการชดเชยการประกันรายได้ ส่งเสริมระบบประกันภัย
สินค้าเกษตร เปน็ ตน้

แผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับกล่มุ จังหวัดภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 48

5. การยกระดับศักยภาพของแรงงาน โดยยกระดับรายได้ค่าแรงแรกเข้า และกลไก
การปรับอัตราค่าจ้างท่ีสอดคล้องกับสมรรถนะแรงงานควบคู่กับการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน
ผ่านกลไกคณะกรรมการไตรภาคี เพ่ือนาไปสู่การเพ่ิมประสิทธิภาพแรงงาน ควบคู่ไปกับการกากับ
ดูแลราคาสินค้าไม่ให้กระทบกับค่าครองชีพของประชาชน และสามารถจูงใจให้แรงงานพัฒนาตนเอง
เพื่อปรับเปล่ียนทักษะ และเปลี่ยนสายอาชีพให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน อุตสาหกรรม
เป้าหมาย และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี

6. การวางรากฐานระบบเศรษฐกจิ ของประเทศสู่อนาคต โดยตอ่ ยอดอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย
และวางรากฐานการพัฒนาภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และเศรษฐกจิ สีเขียว
ดึงดูดการลงทุนของภาคเอกชนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เขตเศรษฐกิจพิเศษ เมืองอัจฉริยะ
และการลงทุนในโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีทันสมัย รวมท้ังวางรากฐานการพัฒนาเทคโนโลยีส่ือสารไร้สาย
ในระบบ 5G

7. การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 โดยสร้างแพลตฟอร์มการเรียนรู้ใหม่ในระบบดิจิทัล
ปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้มุ่งสู่ระบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ด้านวิศวกรรม
คณิตศาสตร์ โปรแกรมเมอร์ และภาษาต่างประเทศ ส่งเสริมการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)
ต้ังแต่ระดับประถมศึกษา การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพในทุกตาบล ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร
ออนไลน์ของสถาบันการศึกษาตา่ ง ๆ

8. การแก้ไขปัญหาทุจริต และประพฤติมิชอบในวงราชการท้ังฝ่ายการเมือง และฝ่ายราชการ
ประจา โดยเร่งรัดการดาเนินมาตรการทางการเมืองควบคู่ไปกับมาตรการ ทางกฎหมาย พร้อมท้ัง
ให้ภาคสังคม ภาคเอกชน และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกัน และเฝ้าระวังการทุจริต
ประพฤติมิชอบ

9. การแก้ไขปัญหายาเสพติด และสร้างความสงบสุขในพ้ืนที่ชายแดนภาคใต้ โดยเร่งรัด
การแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยให้ความสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และ
การบังคับใช้กฎหมายอย่างเครง่ ครัด รวมถึงการร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศทุกภมู ิภาค
ปราบปรามแหล่งผลิต และเครอื ข่ายผูค้ ้ายาเสพติด

10. การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน โดยมุ่งสู่ความเป็นรัฐบาลดิจิทัลท่ีโปร่งใส
ตรวจสอบได้ พฒั นาระบบจัดเกบ็ และเปดิ เผยขอ้ มูลของภาครัฐ ปรบั ปรงุ ระบบการอนมุ ัติ และอนญุ าต
ของทางราชการที่สาคัญให้เป็นระบบดิจิทัลท้ังบุคคล และนิติบุคคล เพื่อลดการใช้ดุลยพินิจ
ของเจา้ หนา้ ท่ีรฐั ลดภาระค่าใชจ้ ่ายของประชาชน ลดข้นั ตอนท่ียุ่งยากเกนิ ความจาเปน็

11. การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้ง และอุทกภัยต้ังแต่การป้องกันก่อนเกิดภัย
การให้ความช่วยเหลือระหว่างเกิดภัย และการแก้ไขปัญหาในระยะยาว โดยจัดระบบติดตาม สถานการณ์
อย่างตอ่ เน่ือง และกาหนดมาตรการที่เหมาะสมเพื่อใหส้ ามารถบรรเทาความเดือดร้อน ของประชาชน
ใหไ้ ด้มากท่ีสดุ และทันท่วงที รวมท้ังพัฒนาการปฏบิ ัตกิ ารฝนหลวงให้มปี ระสิทธิภาพ ย่ิงขึ้น

12. การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรับฟังความเห็นของประชาชน และการดาเนินการ
เพื่อแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะในส่วนท่ีว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ แก้ไขเพิ่มเติม
รฐั ธรรมนูญ

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 49

6. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 เป็นแผนที่วางกรอบเป้าหมายและทิศทาง

การจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค
ในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มี
สมรรถนะในการทางานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ
แนวคิดการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสาคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย
หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียม
และทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For Education) อีกทั้งยึดตามเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน
(Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues)
อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหล่ือมล้า
ของการกระจายรายได้ และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยนายุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสาคัญ
ในการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระสาคญั ดังนี้

วสิ ัยทัศน์
“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสขุ
สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21”
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพือ่ พัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ
บทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ
3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี
และร่วมมอื ผนึกกาลังมุง่ สูก่ ารพฒั นาประเทศอย่างยง่ั ยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้า
ภายในประเทศลดลง
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธิการท้ัง 6 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศกึ ษาเพอื่ ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพ้ืนท่ี

พเิ ศษไดร้ บั การศกึ ษาและเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ
3. คนทุกช่วงวัยไดร้ บั การศึกษา การดแู ลและป้องกันจากภัยคกุ คามในชวี ิตรูปแบบใหม่
แนวทางการพฒั นา
1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ

และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ
2. ยกระดับคณุ ภาพและสง่ เสริมโอกาสในการเข้าถงึ การศึกษาในเขตพฒั นาพิเศษ

เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกล่มุ จงั หวัดภาคใตฝ้ ัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 50

3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพ้ืนท่ีพิเศษ
(พ้ืนท่สี ูงพ้ืนท่ตี ามแนวตะเข็บชายแดน และพืน้ ท่เี กาะแกง่ ชายฝง่ั ทะเล ท้ังกลุ่มชนตา่ งเชอ้ื ชาติ ศาสนา
และวัฒนธรรม กล่มุ ชน-ชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว)

4. พัฒนาการจดั การศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรปู แบบใหม่
อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภยั พบิ ัตจิ ากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม่
ภัยจากไซเบอร์ เปน็ ต้น

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้าง
ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

เป้าหมาย
1. กาลังคนมีทักษะท่ีสาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของตลาดงาน
และการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ
2. สถาบนั การศกึ ษาและหนว่ ยงานท่จี ัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชีย่ วชาญ
และเปน็ เลิศเฉพาะดา้ น
3. การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิต
และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ
แนวทางการพฒั นา
1. ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการ
ของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ
2. ส่งเสรมิ การผลิตและพัฒนากาลังคนท่มี ีความเช่ยี วชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน
3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิต
และมูลคา่ เพิม่ ทางเศรษฐกิจ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้
เป้าหมาย
1. ผู้เรียนมีทักษะ และคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย มีทักษะและ
คุณลักษณะทีจ่ าเป็นในศตวรรษท่ี 21
2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐาน
การศึกษาและมาตรฐานวิชาชพี และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดต้ ามศักยภาพ
3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสตู ร
ได้อย่างมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน
4. แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนร้มู ีคุณภาพ มาตรฐาน
และประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้โดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานท่ี
5. ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตามและประเมินผลมปี ระสิทธภิ าพ
6. ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาไดม้ าตรฐานระดับสากล
7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกล่มุ จังหวดั ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 51

แนวทางการพัฒนา
1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา
คุณภาพชีวติ อยา่ งเหมาะสม เตม็ ตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย
2. ส่งเสริม และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่างๆ
ให้มคี ุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ เรยี นรไู้ ดโ้ ดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานที่
3. สรา้ งเสรมิ และปรับเปลี่ยนค่านยิ มของคนไทยให้มวี ินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรม
ทพี่ งึ ประสงค์
4. พัฒนาระบบและกลไกการตดิ ตาม การวัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี นใหม้ ีประสิทธภิ าพ
5. พฒั นาคลังขอ้ มลู สอ่ื และนวัตกรรมการเรยี นรู้ ท่มี คี ุณภาพและมาตรฐาน
6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
7. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการศึกษา
เปา้ หมาย
1. ผเู้ รยี นทุกคนได้รบั โอกาส และความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาทมี่ คี ุณภาพ
2. การเพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื การศึกษาสาหรบั คนทกุ ช่วงวยั
3. ระบบข้อมูลรายบุคคล และสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้อง
เป็นปัจจุบัน เพื่อการวางแผนการบรหิ ารจัดการศกึ ษา การตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล
แนวทางการพัฒนา
1. เพมิ่ โอกาส และความเสมอภาคในการเข้าถึงการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ
2. พัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื การศกึ ษาสาหรับคนทกุ ชว่ งวยั
3. พัฒนาฐานขอ้ มูลดา้ นการศึกษาทีม่ มี าตรฐาน เช่ือมโยง และเข้าถึงได้
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การจัดการศกึ ษาเพ่อื สร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตที่เป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัยมจี ิตสานึกรักษ์สงิ่ แวดล้อม มคี ุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิด
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิ
2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การปฏิบัติ
3. การวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต
ท่เี ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม
แนวทางการพฒั นา
1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม
และนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติในการดาเนินชวี ิต
2. สง่ เสรมิ และพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหลง่ เรยี นรู้ และสือ่ การเรียนรูต้ ่าง ๆ
ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต
ทเ่ี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใตฝ้ ง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 52

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา
เป้าหมาย
1. โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว

ชดั เจน และสามารถตรวจสอบได้
2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพ

และมาตรฐานการศกึ ษา
3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการ

ของประชาชนและพื้นท่ี
4. กฎหมาย และรปู แบบการบริหารจดั การทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะ

ท่แี ตกต่างกันของผู้เรยี น สถานศึกษา และความต้องการกาลงั แรงงานของประเทศ
5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษามคี วามเปน็ ธรรม

สรา้ งขวญั กาลังใจ และสง่ เสริมให้ปฏิบตั งิ านได้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ
แนวทางการพัฒนา
1. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจดั การศึกษา
2. เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การสถานศกึ ษา
3. สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ นในการจัดการศึกษา
4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพ

และประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษา
5. พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา

7. นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อใหก้ ารดาเนินการ
จัดการศกึ ษาและการบริหารจดั การการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ วัตถุประสงค์
ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน
เร่ืองการเตรียมคนสู่ศตวรรษท่ี 21 อาศัยอานาจ ตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบญั ญตั ิ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
จงึ ประกาศนโยบาย และจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ดังน้ี

หลกั การ
1. ให้ความสาคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ทั้งผู้เรียน ครู และ
บุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการพลเรือน และผู้บริหารทุกระตับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับ
ทกุ ประเภท และเปน็ การศึกษาตลอดชีวิต
2. บูรณาการการทางานร่วมกันระหว่างส่วนราชการหลัก องค์การมหาชนในกากับ
ของรัฐมนตรีว่าการกระทวงศึกษาธิการให้มีความคล่องตัว รวมท้ังหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ในพ้ืนท่ีภูมิภาคให้สามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพื่อดาเนินการปฏิรูปการศึกษาร่วมกับภาครัฐ
ภาคเอกชนและภาคประชาชน ตามนโยบายประชารัฐ
ระดับก่อนอนุบาล เน้นประสานงานกับส่วนราชการ และชุมขน ในการเตรียมความพร้อม
ผเู้ รยี นในด้านสขุ ภาพ และโภชนาการ และจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกบั ระบบโรงเรยี นปกติ

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 53

ระดับอนุบาล เน้นสร้างความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อออกแบบ
กิจกรรมการพัฒนาทักษะที่สาคัญด้านต่างๆ เช่น ทักษะทางสมอง ทักษะความคิดความจา ทักษะ
การควบคมุ อารมณ์ ทกั ษะการรู้จกั และประเมนิ ตนเอง

ระดับประถมศึกษา มุ่งคานึงถึงพหุปัญญาของผู้เรียนรายบุคคลที่หลากหลายตามศักยภาพ
ดว้ ยจุดเน้น ดังน้ี

1. ปลกู ฝงั ความมีระเบยี บวนิ ัย ทศั นคติทถี่ กู ต้องโดยใช้กระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด
2. เรียนภาษาไทย เน้นเพ่ือใช้เป็นเครือ่ งมือในการเรยี นรูว้ ชิ าอ่ืน
3. เรยี นภาษองั กฤษ และภาษาพื้นถนิ่ (ภาษาแม่) เน้นเพอื่ การสือ่ สาร
4. เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
หรือจากสถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ และเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผู้เรียน และครู
ด้วยการจัดการเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ ให้มากขนึ้
5. สร้างแพลตฟอร์มดิจทิ ัลเพอ่ื การเรียนรู้ และใช้ดิจิทลั เป็นเครอ่ื งมอื การเรียนรู้
6. จัดการเรยี นการสอนเพ่อื ฝึกทักษะการคดิ แบบมีเหตุผล และเป็นขัน้ ตอน (Coding)
7. พัฒนาครูให้มีความชานาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาคอมพวิ เตอร์ (Coding)
8. จัดให้มีโครงการ ๑ ตาบล ๑ โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมท้ังภายใน
และภายนอกบริเวณโรงเรยี นให้เอ้อื ตอ่ การสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ
ระดับมัธยมศึกษา มงุ่ ต่อยอดระดับประถมศึกษาด้วยจดุ เน้น ดงั นี้
1. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ (STEM)
และภาษาต่างประเทศ (ภาษาทีส่ าม)
2. จัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อสร้างทักษะพื้นฐานที่เชื่อมโยงสู่การสร้างอาชีพ
และการมีงานทา เชน่ ทกั ษะด้านกีฬาทีส่ ามารถพฒั นาไปสนู่ ักกีฬาอาชีพ ทักษะภาษาเพ่ือเป็นมัคคุเทศก์
ระดบั อาชีวศึกษา มงุ่ จดั การศึกษาเพ่ือการมงี านทา และสรา้ งนวัตกรรมตามความ
ต้องการของพ้นื ทช่ี มุ ชน ภมู ภิ าคหรอื ประเทศ รวมทงั้ การเป็นผูป้ ระกอบการเอง ด้วยจดุ เน้น ดังนี้
1. จัดการศึกษาในระบบทวิภาคี ให้ผ้เู รยี นมีทักษะ และความเช่ียวชาญเฉพาะดา้ น
2. เรียนภาษาองั กฤษ เพ่ือเพ่ิมทักษะสาหรับใชใ้ นการประกอบอาชีพ
3. เรียนรู้การใชด้ จิ ทิ ัล เพอ่ื ใช้เป็นเคร่ืองมอื สาหรบั ในการสรา้ งอาชีพ
4. จดั ตง้ั ศูนย์ประสานงานการผลติ และพฒั นากาลังคนอาชีวศึกษาในภมู ภิ าค
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มงุ่ สรา้ งโอกาสให้ประชาชนผู้เรียนท่ีสาเร็จ
หลักสตู ร สามารถมงี านทา ด้วยจดุ เนน้ ตงั น้ี
1. เรียนรู้การใชด้ จิ ทิ ลั เพ่อื ใช้เป็นเครอ่ื งมือสาหรับหาช่องทางในการสรา้ งอาชพี
2. จัดทาหลักสูตรพัฒนาอาชีพทเ่ี หมาะสมสาหรับผู้ทเ่ี ขา้ สู่สงั คมสงู วยั
การขับเคลื่อนสู่การปฏิบตั ิ
1. ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ต้องปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ
ให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล และวางแผนการใช้งบประมาณเป็นรายไตรมาส รวมทั้งใช้จ่าย
งบประมาณ ให้เปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับที่เก่ยี วข้อง
2. จัดทาฐานขอ้ มูล (Big Data) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ใหค้ รบถ้วน ถกู ตอ้ ง ทันสมยั
3. ใช้เทคโนโลยีและดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการพัฒนางานท้ังระบบ เน้นการเรียนรู้
และการบริหารจดั การ

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 54

4. ปรับปรุงโครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการใหเ้ กิดความคลอ่ งตัว หากติดขัดในเรอื่ ง
ข้อกฎหมาย ให้ผบู้ รหิ ารระดับสงู ร่วมหาแนวทางการแก้ไขร่วมกัน

5. ให้หน่วยงานระดบั กรมกาหนดแผนงานสนับสนนุ ทรัพยากร งบประมาณ อตั รากาลัง
ตามความต้องการจาเป็น ให้แกห่ นว่ ยงานในพื้นท่ภี ูมภิ าค

6. ใช้กลไกกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา มาบูรณาการการดาเนินงาน
รว่ มกบั หน่วยจัดการศกึ ษา

7. เร่งทบทวน (ร่าง) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ....... โดยปรับป รุง
สาระสาคญั ให้เอ้อื ตอ่ การขับเคลอื่ นนโยบายของรัฐบาล

8. ในระดับพื้นท่ีหากเกิดปัญหาข้อติดขัดการปฏิบัติงาน ต้องศึกษา ตรวจสอบข้อมูล /
ข้อเท็จจริงที่เกิดข้นึ เชน่ จานวนเด็กในพื้นท่ีน้อยลง ซึง่ จาเปน็ ตอ้ งมีการควบรวมโรงเรียน ให้พจิ ารณา
ส่ือสารอธิบายทาความเขา้ ใจทชี่ ัดเจนกบั ชุมชน

9. วางแผนการใช้อัตรากาลังครู โดยเฉพาะครูระดับอนุบาล และครูระดับอาชีวศึกษา
ใหม้ ีประสิทธภิ าพ และจัดทาแผนการประเมินครอู ยา่ งเป็นระบบ รวมท้ังจดั ทาหลกั สูตรการพฒั นาครู
ให้มอี งค์ความรู้ และทักษะในตา้ นพหุปญั ญาของผเู้ รยี น

10. ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดทาแผนการจัดการศึกษาของแต่ละจังหวัด นาเสนอต่อ
คณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวดั และขับเคลื่อนสูก่ ารปฏิบัตอิ ยา่ งเป็นรูปธรรม

11. ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาทหน้าท่ี
ตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่า การ
กระทรวงศึกษาธิการ

อนึ่ง สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่ปฏิบัติงานตามปกติ
(Function) งานในเชิงยทุ ธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพ้ืนท่ี (Area) ซึง่ ได้ดาเนินการอยู่ก่อนน้ัน
หากรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสาคัญเพ่ิมเติมในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓
นอกเหนอื จาก ท่ีกาหนดหากมคี วามสอดคล้องกับหลักการในข้างต้น ให้ถอื เป็นหน้าทขี่ องสว่ นราชการ
หลักและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจะต้องเร่งรัด กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการเกิดผลสาเร็จ
และมปี ระสทิ ธภิ าพอย่างเปน็ รูปธรรมดว้ ยเช่นกนั

8. นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เพอื่ ให้การดาเนินการ
จัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
บรรลุเป้าหมาย อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศ
นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 เพื่อให้ส่วนราชการ
ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ยึดเป็นกรอบการดาเนินงานในการจัดทาแผนและงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พร้อมท้ังขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการศึกษาให้มีคุณภาพ
ประสิทธิภาพในทุกมิติ โดยใชจ้ า่ ยงบประมาณอย่างคุม้ คา่ เพือ่ มงุ่ เปา้ หมาย คือ ผูเ้ รยี นทุกช่วงวัย ดงั นี้

หลักการตามนโยบาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กระทรวงศึกษาธิการมุ่งม่ันดาเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ

20 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12
การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยท่ี 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้ง

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 55

แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งดว่ น เร่ืองการเตรียมคนไทย
สศู่ ตวรรษท่ี 21 นอกจากนีย้ ังสนบั สนนุ การขบั เคลื่อนแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าตปิ ระเด็นอนื่ ๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) นโยบายและแผน
ระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) รวมท้ังนโยบายและแผนต่าง ๆ
ท่ีเก่ียวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ
และมคี วามพร้อม ร่วมขบั เคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคง มงั่ ค่งั และย่ังยืน ดงั น้ัน ในการเร่งรัด
การทางานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธ์ิเพ่ือสร้างความเชื่อม่ันให้กับสังคม และผลักดัน
ให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดนโยบาย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้

1. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพ่ือหลอมรวม
ภารกิจและบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ดา้ นการตา่ งประเทศ ด้านเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ
ที่สามารถลดการใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนาเทคโนโลยี
ดิจทิ ัลเข้ามาชว่ ยท้ังการบรหิ ารงานและการจัดการศึกษารองรับความเป็นรัฐบาลดจิ ิทลั

2. ปรับรื้อและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผน
งาน/โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ท่ีสามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาท่ียั่งยืน
รวมทงั้ กระบวนการจัดทางบประมาณท่มี ีประสิทธภิ าพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า สง่ ผลใหภ้ าคส่วนต่าง ๆ
ทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และนานาชาติ เช่ือมน่ั และร่วมสนบั สนนุ การพัฒนาคุณภาพการศึกษามากยงิ่ ขึน้

3. ปรับรื้อและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากาลังคน ของกระทรวง
ศึกษาธิการ โดยมุ่งบริหารจัดการอัตรากาลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมท้ังพัฒนาสมรรถนะ
และความรู้ความสามารถของบุคลากรภาครัฐ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็น
รฐั บาลดจิ ทิ ลั

4. ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุม
ถึงการจัดการศกึ ษาเพ่ือคุณวฒุ ิ และการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตทีส่ ามารถตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21

จุดเน้นประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1. การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
1.1 การจัดการศึกษาเพอื่ คณุ วุฒิ
- จดั การศึกษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใชห้ ลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนว

ทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและการวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน
การศกึ ษาแหง่ ชาติ

- ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา
ตามความตอ้ งการจาเป็นของกล่มุ เป้าหมายและแตกต่างหลากหลายตามบรบิ ทของพ้นื ที่

- พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์
จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพ่ือเปิดโลกทัศน์
มุมมองรว่ มกันของผเู้ รยี นและครูให้มากขน้ึ

- พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพ่ือเป็นเครื่องมือในการดารงชีวิต
และสร้างอาชพี อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สุขภาวะและทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสขุ ภาพ

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 56

1.2 การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต
- จัดการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ สาหรบั ประชาชนทุกช่วงวัย เน้นสง่ เสรมิ และยกระดับ

ทักษะภาษาองั กฤษ (English for All)
- ส่งเสริมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพ

ท่ีเหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย
หลักสูตร BUDDY โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โรงเรียน และผู้เรียน หลักสูตร
การเรยี นรอู้ อนไลน์ เพอ่ื สง่ เสริมประชาสัมพนั ธ์สินคา้ ออนไลน์ระดับตาบล

- ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาเพ่ือทักษะอาชีพและการมีงานทาในเขตพัฒนา
พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพ้ืนที่พิเศษ (พ้ืนที่สูง พ้ืนที่ตามแนวตะเข็บชายแดน
และพ้ืนท่ีเกาะแก่ง ชายฝ่ังทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ
และแรงงานต่างด้าว)

- พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์
อย่างเปน็ ระบบและมเี หตุผลเป็นข้นั ตอน

- พัฒนาครูอาชีวศึกษาท่ีมีความรู้และความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands – on
Experience) เพื่อให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญทางวิชาการ โดยร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาชั้นนา
ของประเทศจดั หลกั สูตรการพฒั นาแบบเขม้ ขน้ ระยะเวลาอย่างน้อย 1 ปี

- พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ
ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีศูนย์
พฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรระดบั จงั หวดั ท่วั ประเทศ

2. การพฒั นาการศกึ ษาเพ่อื ความมัน่ คง
- พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนายุทธศาสตร์

พระราชทาน “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พฒั นา” เปน็ หลักในการดาเนินการ
- เฝ้าระวังภัยทุกรูปแบบที่เกิดข้ึนกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดยเฉพาะ

ภยั จากยาเสพตดิ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การคา้ มนษุ ย์
- ส่งเสรมิ ให้ใชภ้ าษาท้องถ่นิ ร่วมกบั ภาษาไทยเปน็ ส่ือจดั การเรยี นการสอนในพื้นที่

ที่ใช้ภาษาอย่างหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมท้ัง
มที ักษะการสอื่ สารและใชภ้ าษาที่สามในการต่อยอดการเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

- ปลกู ฝงั ผเู้ รยี นใหม้ ีหลกั คิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปน็ ผู้มคี วามพอเพียง
วินัย สจุ รติ จิตอาสา โดยใช้กระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาด

3. การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
- สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาผลิตกาลังแรงงานท่ีมีคุณภาพ ตามความ

เป็นเลิศ ของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพื้นท่ี รวมท้ังสอดคล้องกับความต้องการของ
ประเทศท้ังในปจั จบุ ันและอนาคต

- สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการ
เรียนการสอนด้วยเครื่องมือปฏิบัติท่ีทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะ
การวิเคราะหข์ อ้ มูล (Data Analysis) และทกั ษะการส่อื สารภาษาตา่ งประเทศ

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกล่มุ จงั หวัดภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 57

4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
- พัฒนาแพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั เพือ่ การเรยี นรู้ และใช้ดิจิทัลเปน็ เคร่อื งมอื การเรียนรู้
- ศึกษาและปรับปรุงอัตราเงินอุดหนุนค่าใชจ้ ่ายต่อหัวในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจและบทบญั ญัติของรฐั ธรรมนูญ
- ระดมสรรพกาลงั เพ่ือส่งเสริมสนบั สนนุ โรงเรียนนาร่องพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา

เพอ่ื ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาใหส้ อดคลอ้ งพระราชบัญญตั ิพ้ืนท่นี วัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562
5. การจดั การศกึ ษาเพื่อสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม
- เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและ

พฤติกรรม ท่พี ึงประสงคด์ ้านส่งิ แวดล้อม
- สง่ เสริมการพัฒนาสงิ่ ประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมท่เี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม ให้สามารถ

เปน็ อาชพี และสรา้ งรายได้
6. การปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการ
- ปฏิรูปองค์การเพ่ือลดความทับซ้อน เพ่ิมประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพของหน่วยงาน

ท่มี ภี ารกจิ ใกลเ้ คียงกนั เช่น ด้านประชาสมั พนั ธ์ ดา้ นต่างประเทศ ดา้ นเทคโนโลยีดา้ นกฎหมาย เป็นตน้
- ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบท่ีเป็นอุปสรรคและข้อจากัดในการดาเนินงาน

โดยคานึงถึงประโยชน์ของผเู้ รยี นและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธกิ ารโดยรวม
- สนับสนนุ กจิ กรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ
- พัฒนาระบบฐานข้อมลู ด้านการศึกษา (Big Data)
- พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากาลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ

ใหส้ อดคล้องกบั การปฏิรูปองค์การ
- สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษา

ทม่ี คี ณุ ภาพได้อยา่ งอิสระและมีประสทิ ธิภาพ ภายใตก้ รอบแนวทางของกระทรวงศกึ ษาธิการ
- จัดต้ังหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนา

คณุ ภาพชีวิตบคุ ลากรของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- ส่งเสริมโครงการ ๑ ตาบล ๑ โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อม

ท้งั ภายในและภายนอกบริเวณโรงเรยี นใหเ้ อื้อต่อการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ
การขับเคลอื่ นนโยบายและจดุ เนน้ สู่การปฏิบัติ
1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายและจุดเน้น

เป็นกรอบแนวทางมาใช้ในการวางแผนและจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โดยคานึงถึงมาตรการ 4 ข้อ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้แนวทางในการบริหาร
งบประมาณไว้ ดังน้ี (1) งดดูงานต่างประเทศ 1 ปี ยกเว้นกรณีท่ีมีความจาเป็นและเป็นประโยชน์
ตอ่ กระทรวงศึกษาธิการ (2) ลดการจดั อบรมสัมมนาที่มีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก (3) ยกเลิก
การจดั งาน Event และ (4) ทบทวนงบประมาณที่มีความซ้าซอ้ น

2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายและ
จุดเน้นสู่การปฏิบัติระดับพ้ืนท่ี โดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน สานักงาน
ศึกษาธิการภาคและสานักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สป. เป็นฝ่ายเลขานุการและ
ผู้ช่วยเลขานุการตามลาดับ โดยมีบทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับ

แผนพัฒนาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 58

นโยบาย และจัดทารายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลาดับ

3. กรณีมีปัญหาในเชิงพ้ืนท่ีหรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
และดาเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นท่ีก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้ง
รายงานต่อคณะกรรมการติดตามฯ ข้างต้น ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
ตามลาดบั

อน่ึง สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่ปฏิบัติในลักษณะงาน
ในเชิงหน้าที่ (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพ้ืนท่ี (Area) ซึ่งได้ดาเนินการ
อยู่ก่อนเมื่อรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสาคัญเพ่ิมเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
นอกเหนือจากที่กาหนดหากมีความสอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเน้นข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าท่ี
ของส่วนราชการหลักและหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องต้องเร่งรัด กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการ
เกดิ ผลสาเรจ็ และมีประสทิ ธิภาพอยา่ งเป็นรปู ธรรมด้วยเช่นกัน

9. เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เป็นวาระ

การพฒั นาภายหลังปี 2015 ระยะ 15 ปี (ค.ศ. 2016-2030) ที่ผู้นาประเทศสมาชกิ สหประชาชาติ
จานวน 193 ประเทศ ได้ร่วมกันลงนามรับรองพันธะสัญญาทางการเมืองระดับผู้นาในเอกสาร
“Transforming Our World: The 2030 Agenda for Sustainable Development” เพื่อก าหนด
ทิศทาง การพัฒนาท่ียั่งยืนของโลก 15 ปีข้างหน้า เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ร่วมกันท่ีจะผลักดัน
และขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาความยากจนในทุกมิติและทุกรูปแบบ โดยมีเป้าหมายหลัก 17 ข้อ
ครอบคลุม 3 เสาหลัก ด้านการพัฒนาท่ียั่งยืน คือ เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม รวมทั้ง เป็นการ
สานต่อภารกิจที่ยังไม่บรรลุผลสาเร็จภายใต้เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium
Development Goals: MDGs) (ค.ศ. 2000 - 2015)

การดาเนินการในส่วนของประเทศไทยนั้น สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อนเป้าหมาย
การพัฒนาที่ย่ังยืนร่วมกับสว่ นราชการและหน่วยงานต่าง ๆ ในรูปแบบคณะกรรมการ เพื่อการพัฒนา
ท่ยี ัง่ ยืน (กพย.) ซึง่ มนี ายกรัฐมนตรเี ป็นประธาน โดยมปี ลดั กระทรวง ผแู้ ทนสว่ นราชการ และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
เป็นกรรมการ และมกี ารแตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการ 3 คณะภายใต้ กพย. ได้แก่

1. คณะอนกุ รรมการขบั เคลื่อนเป้าหมายการพฒั นาท่ีย่งั ยืน
2. คณะอนุกรรมการส่งเสริมความเข้าใจและประเมินผลการพัฒนาทีย่ ่ังยืนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน
และมีการแต่งต้ังคณะทางานต่าง ๆ ภายใต้คณะอนุกรรมการ ทั้ง 3 คณะท้ังนี้ กพย. ได้มอบหมาย
ให้กระทรวงต่าง ๆ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในแต่ละเป้าหมาย ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.)
ได้รับมอบหมายให้เปน็ หน่วยงานรับผดิ ชอบหลัก ในเป้าหมายที่ 4 สรา้ งหลกั ประกันวา่ ทุกคนมีการศึกษา
ท่ีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียมและสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซ่ึงประกอบด้วย
10 เป้าประสงค์ โดยมี 2 เป้าประสงค์ที่ถูกจัดลาดับให้อยู่ในเป้าประสงค์การพัฒนาที่ยั่งยืน

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลุม่ จงั หวดั ภาคใต้ฝ่ังอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 59

ท่ีมีสาคัญ 30 ลาดับแรก ได้แก่ เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ
อย่างครอบคลุมและเทา่ เทียมและสนับสนุนโอกาสในการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต

เป้าประสงค์ท่ี 4.1 สร้างหลักประกันว่าเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนสาเร็จการศึกษา
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นาไปสู่ผลลัพธ์ทางการเรียน
ทมี่ ีประสิทธิผลภายในปี 2573

เป้าประสงค์ที่ 4.2 สร้างหลักประกันว่าเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเข้าถึงการพัฒนา
การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพ ภายในปี
2573 เพอื่ ใหเ้ ดก็ เหลา่ น้ันมีความพร้อมสาหรบั การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา

เป้าประสงค์ที่ 4.3 สร้างหลักประกันให้หญิงและชายทุกคนเข้าถึงการศึกษาระดับ
อาชวี ศกึ ษา อุดมศกึ ษา รวมถงึ มหาวิทยาลัยทีม่ ีคณุ ภาพในราคาทส่ี ามารถจ่ายได้ ภายในปี 2573

เป้าประสงค์ที่ 4.4 เพิ่มจานวนเยาวชนและผใู้ หญ่ท่ีมีทักษะท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงทักษะ
ทางด้านเทคนิคและอาชีพสาหรับการจ้างงาน การมีงานท่ีมีคุณค่า และการเป็นผู้ประกอบการ
ภายในปี 2573

เป้าประสงค์ท่ี 4.5 ขจัดความเหลี่อมล้าทางเพศด้านการศึกษาและสร้างหลักประกนั
ว่ากลุ่มที่เปราะบางซ่ึงรวมถึงผู้พิการ ชนพื้นเมือง และเด็กเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับ
อย่างเทา่ เทยี ม ภายในปี 2573

เป้าประสงค์ที่ 4.6 สร้างหลักประกันว่าเยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ ในสัดส่วนสูง
ทง้ั ชายและหญงิ สามารถอา่ นออกเขียนไดแ้ ละคานวณได้ ภายในปี 2573

เป้าประสงค์ที่ 4.7 สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะที่จาเป็น
สาหรับส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมไปถึง การศึกษาสาหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการมีวิถี
ชีวิตที่ย่ังยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุข
และไม่ใช้ความรุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรม
และในสว่ นรว่ มของวัฒนธรรมตอ่ การพฒั นาทย่ี ่งั ยนื ภายในปี 2573

เป้าประสงค์ที่ 4.A สร้างและยกระดับอปุ กรณแ์ ละเคร่ืองมือทางการศึกษาท่อี ่อนไหว
ต่อเด็ก ผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ท่ีปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง
ครอบคลมุ และมีประสทิ ธิผลสาหรบั ทกุ คน

เป้าประสงค์ท่ี 4.B ขยายจานวนทุนการศึกษาทั่วโลกให้แก่ประเทศกาลังพัฒนา
โดยเฉพาะประเทศพัฒนาน้อยที่สุด รัฐกาลังพัฒนาท่ีเป็นเกาะขนาดเล็กและประเทศในแอฟริกา
เพ่ือเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา รวมถึงการฝึกอาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสาร ด้านเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกาลัง
พัฒนาอนื่ ๆ ภายในปี 2563

เป้าประสงค์ท่ี 4.C เพ่ิมจานวนครูที่มีคุณวุฒิ รวมถึงการดาเนินการผ่านทาง
ความรว่ มมือระหวา่ งประเทศในการฝึกอบรมครูในประเทศกาลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศ
พฒั นานอ้ ยทสี่ ดุ และรัฐกาลังพฒั นาทีเ่ ปน็ เกาะขนาดเล็ก ภายในปี 2573

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 60

10. แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564)
กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12

(พ.ศ. 2560 – 2564) โดยได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้เป็นกรอบ
ในการดาเนินงาน และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) โดยกาหนดสาระสาคัญ ดงั นี้

วสิ ัยทศั น์
“มุ่งพัฒนาผู้เรียนใหม้ คี วามรู้ค่คู ุณธรรม มคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี มคี วามสุขในสังคม”
- “ผู้เรียน” หมายถึง เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ท่ีได้รับบริการ

จากกระทรวงศกึ ษาธิการ
- “มคี วามรคู้ คู่ ุณธรรม” หมายถึง รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซือ่ สัตย์สจุ รติ ขยันอดทน

สตปิ ญั ญา แบง่ ปัน ซึ่งเป็น 2 เง่อื นไขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
- “มีคุณภาพชีวิตที่ดี” หมายถึง มีอาชีพ มีความม่ันคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน ในการดารงชีวิต
- “มีความสุข” หมายถึง ความอยู่ดีมีสุข สามารถอยู่ร่วมกันอย่างเอ้ืออาทร มีความสามัคคี

ปรองดอง
- “สังคม” หมายถึง สงั คมไทย ภมู ิภาคอาเซยี น และสงั คมโลก

พนั ธกิจ
1. ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั /ประเภทส่สู ากล
2. เสรมิ สร้างโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาของประชาชนอยา่ งท่วั ถึง เทา่ เทียม
3. พฒั นาระบบบริหารจดั การการศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าล

เปา้ หมายหลัก (Extreme Goals)
1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลง

และการพัฒนาประเทศในอนาคต
2. กาลงั คนได้รับการผลติ และพฒั นา เพือ่ เสริมสรา้ งศักยภาพการแขง่ ขันของประเทศ
3. คนไทยไดร้ บั โอกาสในเรียนรูอ้ ยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวิต
4. มอี งค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนุนการพฒั นาประเทศอย่างย่ังยืน
5. มีระบบบริหารจดั การการศึกษาทม่ี ีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมสี ว่ น

ร่วมจากทกุ ภาคส่วน
ตวั ชวี้ ดั ตามเป้าหมายหลกั
1. ผลคะแนนสอบ PISA ในแตล่ ะวชิ าไมต่ า่ กวา่ 500
2. ร้อยละที่เพ่ิมขึ้นของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษา

ขน้ั พน้ื ฐานจากการทดสอบระดบั ชาติ
3. ร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทกุ ระดบั การศกึ ษามีคุณธรรม จริยธรรม
4. ร้อยละคะแนนเฉล่ยี ของผู้เรียนทกุ ระดับการศึกษามีความเป็นพลเมืองและพลโลก
5. สัดส่วนผ้เู ขา้ เรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษาต่อสายสามัญ
6. ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ ท่ีมีต่อผู้สาเร็จการศึกษาระดับ

อาชีวศึกษาและระดบั อุดมศกึ ษา
7. ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษาได้งานทาหรือ

ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี
8. ร้อยละของผลงานวจิ ยั นวตั กรรม งานสรา้ งสรรค์ สิ่งประดษิ ฐท์ ่ีได้รับการเผยแพร่และตีพมิ พ์
9. รอ้ ยละขององค์ความรู้และสิ่งประดิษฐท์ นี่ าไปใช้ หรือแกไ้ ขปัญหาชุมชนท้องถ่ิน
แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใตฝ้ ั่งอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 61

10. จานวนปกี ารศึกษาเฉลยี่ ของคนไทยอายุ 15 – 59 ปี
11. รอ้ ยละของกาลงั แรงงานทส่ี าเร็จการศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ขึ้นไป
12. ร้อยละของนักเรียนต่อประชากรวัยเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (อายุ 15- 17 ป)ี
13. สัดสว่ นผเู้ รียนในสถานศึกษาทกุ ระดับของรฐั ตอ่ เอกชน
14. จานวนภาคเี ครอื ข่ายที่เข้ามามีสว่ นร่วมในการจดั / พัฒนา/ ส่งเสรมิ การศึกษา
ยทุ ธศาสตร์
1. ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล
2. ยทุ ธศาสตร์ผลิต พฒั นาครู คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศึกษา
3. ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากาลังคน รวมท้ังงานวิจัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการ
ของการพัฒนาประเทศ
4. ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตลอดชวี ติ
5. ยุทธศาสตร์สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพอ่ื การศึกษา
6. ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและส่งเสริมให้ทกุ ภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา

11. แผนพัฒนาการศึกษาของสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564)
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดแผนพัฒนาการศึกษาของสานักงานปลัดกระทรวง

ศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษา
ของสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการในระยะ 5 ปี โดยกาหนดสาระสาคัญ ดังนี้

วิสัยทัศน์
“การบริหารจัดการมีประสิทธภิ าพ ผู้เรยี นไดร้ บั การเรียนรู้ตลอดชวี ติ ที่มีคุณภาพ โดยยึด

หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”
พันธกจิ
1. พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
2. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยการมสี ่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
3. พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลของข้าราชการ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

เป้าประสงค์รวม
1. ระบบบริหารจดั การมีประสทิ ธภิ าพ
2. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพ อย่างท่ัวถึง

และเท่าเทยี ม
ประเด็นยุทธศาสตร์
1. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสิทธภิ าพ
2. พัฒนาและส่งเสริมการนาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใช้ในการบรหิ าร การบริการและการเรียนรู้

อยา่ งมีประสิทธิภาพ
3. พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ

การศึกษาตามอัธยาศยั
4. สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ นในการกระจายโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้

ตลอดชวี ติ
5. พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลของขา้ ราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 62

เปา้ ประสงคต์ ามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
1. หน่วยงานมีระบบบริหารจดั การทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ
2. ผู้รับบริการมีและใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมีประสิทธิภาพในการบริหาร การบริการ

และการเรียนรู้
3. ผู้เรยี นไดร้ บั การศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ
4. ผเู้ รยี นไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอยา่ งทวั่ ถงึ และเทา่ เทียม
5. ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความก้าวหน้าในวิชาชีพมี ศักยภาพ

ในการปฏิบตั งิ าน และการจัดการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ

12. แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร (พ.ศ. 2563 – 2565)
สาระสาคัญของแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕6๓ – ๒๕6๕)
จากการวิเคราะห์แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕8๐ จานวน ๒๓ ฉบบั

แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านอ่ืนๆ ทั้ง 11 ด้าน
ท่ีมีความเชื่อมโยงกับขอบเขตอานาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการภายใต้กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง
ซ่ึงปรากฏความเก่ียวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการในหลายประเด็น ทั้งในส่วนที่กระทรวงศึกษาธิการ
เป็นหน่วยงานหลกั ในการขับเคล่ือน และในสว่ นทกี่ ระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ หนว่ ยสนบั สนุน ประกอบกับ
ได้ประเมินสถานภาพของกระทรวงศึกษาธิการจากผลการดาเนินงานในช่วงสามปีท่ีผ่านมา
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒) จึงสามารถกาหนดยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๒๓ – ๒๕6๕)
ที่จะมีความสอดคล้องกับกรอบระยะเวลาตามท่ียุทธศาสตร์ชาติ ได้วางไว้ในช่วง ๓ ปีแรก โดยมุ่งเน้น
การปรับสภาวการณ์ของประเทศให้สามารถเอื้อต่อการสร้างความพร้อมสาหรับการบูรณาการ
การทางานร่วมกันของทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพในอนาคตช่วง 5 ปีต่อไป (พ.ศ. ๒๕๖6 – ๒๕7๐)
ทั้งนี้ สาระสาคัญของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕63 - ๒๕๖๕) จะประกอบด้วย
เปา้ หมายหลัก วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ ยุทธศาสตร์ และผลผลิต ผลลัพธ์ภายใตย้ ุทธศาสตร์ ดังนี้

๑. เปา้ หมายหลัก
๑. คณุ ภาพการศกึ ษาของไทยดีขึน้ ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
๒. ครมู ีสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชีพ
๓. สถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานในภมู ภิ าค มที รพั ยากรพน้ื ฐานท่เี พยี งพอตามเกณฑม์ าตรฐาน
๔. ผเู้ รยี นทุกกลุ่มทุกชว่ งวัยไดร้ บั โอกาสในการเรียนรู้อย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต
๕. ระบบและวธิ กี ารคดั เลือกเพอ่ื การศึกษาต่อ ได้รบั การพัฒนา ปรบั ปรุงแก้ไข
6. ผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา ได้รับการเพิ่มเติมความรู้ ทักษะในการประกอบอาชีพ

ที่ตรงกับสภาพตลาดแรงงานในพนื้ ที่ชมุ ชน สงั คม จังหวดั และภาค
7. กาลงั คนไดร้ ับการผลิตและพัฒนาตามกรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ
8. ผู้เรียนปฐมวัยได้รับการเตรียมความพร้อมในด้านสุขภาพและโภชนาการ ร่วมกับ

หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง
9. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ ท่ีสนับสนุนการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี

จังหวัดและภาค
๑๐. ระบบบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ

เพื่อรองรบั พืน้ ทนี่ วัตกรรมการศกึ ษารว่ มกบั ทกุ ภาคสว่ น

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุม่ จังหวดั ภาคใต้ฝัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 63

2. วิสยั ทศั น์
“กระทรวงศึกษาธิการวางระบบเพ่ือให้ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะ มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง

มพี น้ื ฐานชวี ิตทีม่ ั่นคง มีคุณธรรม มงี านทา มอี าชพี และเปน็ พลเมืองท่ีเขม้ แขง็ ”
“วางระบบหมายถงึ วางระบบการจดั การเรียนรู้ และระบบการบรหิ ารจัดการการศึกษา

ท่บี รู ณาการการทางานระหว่างหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการใหม้ คี วามคลอ่ งตวั เพือ่ ดาเนินการปรบั
การศึกษารวมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม

“ผู้เรียน หมายถึง เด็กปฐมวัย เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทุกช่วงวัย
ทไี่ ด้รับบริการจากกระทรวงศึกษาธิการ

“มีความรู้-ทักษะ" หมายถึง ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ และการบริหาร
จดั การการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทจ่ี ะเกิดกับผู้เรียน ได้แก่ 1) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น และ
๒) ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ (ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม / ทักษะด้านสื่อ เทคโนโลยี
ดิจทิ ลั / ทักษะชวี ติ และอาชพี

“มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง หมายถึง ๑) ความรู้ความเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง
๒) ยึดมนั่ ในศาสนา ๓) มน่ั คงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และ 4) มคี วามเอือ้ อาทรต่อครอบครัวชุมชน
ของตน

“มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีมั่นคง มีคุณธรรม” หมายถึง ๑) รู้จักแยกแยะส่ิงที่ผิด – ชอบ ช่ัว ดี
2) ปฏิบตั สิ ิ่งทถ่ี กู ตอ้ งดีงาม 3) ปฏเิ สธส่ิงท่ีไมถ่ กู ต้อง 4) มรี ะเบยี บวินยั และ 5) มีสุขภาพทีแ่ ขง็ แรง

“มงี านทา มีอาชพี ” หมายถึง 1) การฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็ก เยาวชน รักการทางาน
ส้งู าน อดทนทางานจนสาเร็จ ๒) การเรียนการสอนทง้ั ในหลักสูตรและนอกหลกั สูตรตอ้ งมี จุดมุ่งหมาย
ให้ผู้เรียนทางานเป็น 3) ตอ้ งสนับสนนุ ผู้สาเร็จหลักสตู รใหม้ อี าชีพ และมีงานทา

“เป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง หมายถึง การเป็นผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ มีจิตอาสา การอยู่ร่วมกัน
และยอมรับความแตกตา่ งในสงั คมไทยบนหลักการประชาธิปไตย ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ

๓. พนั ธกิจ
๑. ยกระดบั คณุ ภาพของการจัดการศึกษา
2. ลดความเหลอ่ื มลา้ ทางการศกึ ษา
๓. มงุ่ ความเป็นเลิศและสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
4. ปรับปรุงระบบบรหิ ารจัดการการศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพในการใชท้ รพั ยากร เพ่ิมความคลอ่ งตวั

ในการรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษา และสรา้ งเสริมธรรมาภิบาล
๔. ยทุ ธศาสตร์
๑. พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล
2. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
๓. ผลติ และพัฒนากาลังคน รวมทัง้ งานวจิ ัยท่สี อดคล้องกบั ความตอ้ งการของประเทศ
4. เพ่ิมโอกาสให้คนทุกช่วงวัยเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาอย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ
๕. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการศึกษา
6. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 64

๕. ผลผลติ /ผลลพั ธ์ภายใตย้ ุทธศาสตร์
๕.๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการจัดการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นที่สูงขึ้น มีทักษะการเรียนรู้ที่คอบคลุมทั้งด้านวิชาการ

วิชาชีพ วิชาชีวิตและสุขภาวะท่ีดี มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดในเชิงสร้างสรรค์ และ
แก้ไขปัญหา ที่เกิดข้ึนได้ มีความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่น สอดคล้องกับทักษะที่จาเป็น
ในศตวรรษที่ ๒1 มีคุณธรรมจริยธรรมและมีจิตอาสา มีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม และนาหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การดาเนินชีวิต ผูส้ าเร็จการศึกษาทุกระดับประเภทได้รับการศึกษาทม่ี ีคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ รวมทั้งมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข และสามารถอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสามัคคปี รองดอง

๕.๒ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะ

ตามมาตรฐานวิชาชีพ มีจรรยาบรรณของวิชาชีพ มีองค์ความรู้และทักษะในด้านพหุปัญญา มีความ
เป็นมืออาชีพ สามารถใช้ศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีขวัญกาลังใจท่ีดี
ในการปฏิบัติหน้าท่ี รวมท้ังมีแผนการพัฒนาและการใช้อัตรากาลังครูให้มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะครู
ระดบั ปฐมวัย ครูระดับอาชีวศึกษา ครูสอนภาษาอังกฤษและภาษาทส่ี าม

5.3 ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ผลิตและพัฒนากาลังคน รวมทั้งงานวิจัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการ
ของประเทศ

ผลผลิต /ผลลพั ธ์
มีการผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษา และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีท่ีมีปริมาณ
เพยี งพอ โดยมคี ณุ ภาพ มีสมรรถนะ มีทกั ษะในการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานวชิ าชีพ ผูม้ ีความสามารถ
พิเศษด้านพหุปัญญา สามารถต่อยอดการประกอบอาชีพ ประชาชนในพื้นท่ีชุมชนได้รับการศึกษา
เพื่อฝึกอาชีพตามความถนัดและความสนใจ รวมท้ังมีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้
ประโยชนไ์ ดจ้ ริงในเชงิ พาณิชย์ และการสรา้ งมลู ค่าเพิม่ ทางสังคม
5.4 ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เพมิ่ โอกาสใหค้ นทุกชว่ งวัยเข้าถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง
ตลอดชวี ติ
ผลผลิต ผลลัพธ์ ผเู้ รียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาท่มี ีคุณภาพอย่างเท่าเทยี มกันในทุกระดับ
และประเภทการศึกษา ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และสามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท
ได้รับการยกระดับคุณภาพในการให้บริการ เด็กพิการและต้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษา
ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน รวมท้ังมีระบบเทียบโอนผลการเรียนและทักษะ
ประสบการณเ์ พ่ือขอรับวุฒกิ ารศึกษาเพ่มิ ข้นึ ได้
๕.๕ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ ส่งเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การศึกษา
ผลผลิต /ผลลัพธ์ ผู้เรียน สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับ
ทุกประเภทการศึกษาเข้าถึงทรัพยากรพ้ืนฐานระบบดิจิทัลแพลตฟอร์มรองรับการเรียนรู้ท่ีมี
ประสิทธิภาพ เพ่ือเพิ่มองค์ความรู้และทักษะต่อยอดการประกอบอาชีพ/การปฏิบัติงาน รวมท้ัง
มีศูนย์กลางในการจัดเก็บรวบรวมส่ือการเรียนการสอน แบบดิจิทัลท่ีทันสมัย และระบบฐานข้อมูลกลาง
ทางการศึกษาของประเทศที่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถ เช่ือมโยงกับฐานข้อมูลการพัฒนา
ทรพั ยากรมนุษยก์ บั หน่วยงานอืน่ ท่ีเกี่ยวข้องได้
แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 65

๕.๖ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การและส่งเสริมใหท้ ุกภาคสว่ นมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษา

ผลผลติ /ผลลพั ธ์
ระบบบริหารจัดการของกระทรวงศึกษาธิการมีความคล่องตัวในการบริหารงาน
การศึกษามากยิ่งขึ้น มีเอกภาพ และเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ โครงสร้างของกระทรวงได้รับ
การปรับปรุงให้มี ประสิทธิภาพ โดยการกระจายอานาจลงไปสู่ส่วนภูมิภาค สถานศึกษาทุกระดับ
มาตรฐานข้ันต่าตามมาตรฐาน การศึกษาของชาติ มีธรรมาภิบาลในการบริหาร และมีกลไก
การส่งเสริมพลังทางสังคมให้ทุกภาคส่วนเข้ามา ดาเนินการร่วมและ/หรือสนับสนุนทรัพยากรในพื้นที่
นวัตกรรมการศึกษา รวมท้ังมีกลไกการนาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ
มาถ่ายทอดสผู่ ูเ้ รียนในพื้นทชี่ ุมชน เพื่อนาไปใช้สาหรบั การประกอบอาชพี ได้
13. แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดสาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั จัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี) ดังน้ี
วสิ ยั ทศั น์
ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพพร้อมขับเคลื่อน
การพัฒนาประเทศสคู่ วามมน่ั คง มัง่ คั่ง ยง่ั ยนื
พันธกจิ
1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของชาติ และเทยี บเท่าระดับสากล
2. สร้างความเสมอภาคและลดความเหล่ือมลา้ ทางการศกึ ษา
3. ผลติ พัฒนา และสรา้ งเสริมศักยภาพกาลังคนใหม้ ีความพร้อมรองรับการพัฒนาประเทศ
4. วจิ ยั และพัฒนาเพือ่ สร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และสิ่งประดษิ ฐ์
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล
เปา้ ประสงคร์ วม
1. ผู้เรียนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของชาตแิ ละสง่ เสริมทกั ษะท่จี าเปน็ ในศตวรรษที่ 21
2. ประชาชนทุกช่วงวัยและกลุ่มเป้าหมายมีโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา
ท่มี ีคณุ ภาพอย่างทวั่ ถงึ เสมอภาค
3. กาลงั คนไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ศี ักยภาพตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ
4. ผลงานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี องค์ความรู้ และส่ิงประดิษฐ์ สามารถนาไปใช้
ประโยชน์หรือตอ่ ยอดเชงิ พาณชิ ย์
5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลโดยการมีส่วนร่วม
จากทกุ ภาคสว่ น

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกล่มุ จงั หวดั ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 66

14. แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
(ฉบบั จดั ทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี)
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กาหนดเป็นกรอบแนวทางในการจัดทา ดังนี้
วสิ ัยทศั น์
“การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้

ตลอดชวี ติ อย่างมคี ุณภาพและมที กั ษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21”
พนั ธกจิ
1. ส่งเสริม สนับสนุน การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ทุกระดับ ทุกพ้ืนที่

อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ส่งผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพของผเู้ รียน
2. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหส้ อดคล้องกับทักษะที่จาเปน็ ในศตวรรษที่ 21
3. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างโอกาส และความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษา

อยา่ งทั่วถึง ตามศักยภาพของผู้เรยี น เพอื่ ลดความเหลอ่ื มลา้ ทางการศกึ ษา
4. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาสมรรถนะ

ของข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะ
ท่ีจาเปน็ ของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21

เปา้ ประสงคร์ วม
1. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ

ตามหลักธรรมาภบิ าล
2. ผ้เู รยี นมีการศึกษาและเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ทีม่ คี ุณภาพ และมีทกั ษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษท่ี 21
3. ผ้เู รยี นได้รบั โอกาสทางการศึกษาทม่ี คี ุณภาพอยา่ งทัว่ ถงึ และเสมอภาค
4. ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะ

ที่จาเปน็ ของผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21
ประเด็นยทุ ธศาสตร์
1. พฒั นาการจัดการศึกษาเพื่อความมนั่ คง
2. พฒั นากาลังคน การวจิ ัย เพอ่ื สร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
3. พัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ใหม้ ีคุณภาพ
4. สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
5. เสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มติ รกับส่งิ แวดล้อม
6. พัฒนาระบบบริหารจัดการใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
เป้าประสงคต์ ามประเด็นยุทธศาสตร์
1. ผู้เรียนมีคุณภาพ ทักษะ และสมรรถนะการเรียนรู้ท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21

สอดคลอ้ งเหมาะสมกับการเสริมสรา้ งความมน่ั คงในแต่ละบริบท
2. ผู้เรียน ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะที่ตอบสนองความต้องการ

ของตลาดแรงงานและการแข่งขนั ของประเทศ
3. ผู้เรยี นมีคุณภาพ ทกั ษะและสมรรถนะการเรียนรทู้ จี่ าเป็นในศตวรรษที่ 21
4. ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะท่ีจาเป็น

ของผู้เรียนในศตวรรษที2่ 1

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 67

5. หน่วยงานทางการศึกษามีกิจกรรมส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นมิตร
กบั สิง่ แวดล้อม

6. ผเู้ รียนได้รับโอกาสทางการศกึ ษาที่มีคุณภาพ อยา่ งทั่วถงึ และเสมอภาคด้วยรูปแบบ
ท่หี ลากหลาย

7. หน่วยงานทางการศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตอบสนอง
ความต้องการของผ้รู บั บริการไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส ตามหลักธรรมาภบิ าล

15. แผนพฒั นากลุ่มจังหวดั ภาคใตฝ้ ั่งอา่ วไทย ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ฉบบั ทบทวน
เปา้ หมายการพฒั นา ของกลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย
“ศูนย์กลางการเกษตร การค้า การลงทุน การท่องเท่ียวนานาชาติ โลจิสติกส์ที่สมบูรณ์

สิ่งแวดลอ้ มยง่ั ยืน และสังคมคณุ ภาพ”
ประเด็นการพัฒนาของกลุ่มจังหวดั ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ดังนี้
ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ที่ ๑ การพัฒนาการเกษตร ด้านการผลิต แปรรูป การตลาด

และการบริหารจัดการพืชเศรษฐกิจหลัก (ปาล์มน้ามัน ยางพารา ข้าว ไม้ผล สมุนไพร) การประมง
และปศสุ ตั ว์

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ท่ี 2 การส่งเสริมการค้า การลงทุน การบริหารจัดการ
การตลาดในสนิ ค้า และบริการอยา่ งครบวงจร ท่ีเชื่อมโยงการคา้ การลงทุน ระหวา่ งประเทศ

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ท่ี ๓ การพัฒนาสู่การเป็นเมืองท่องเที่ยวระดับนานาชาติ
ที่มีความหลากหลายของรูปแบบการท่องเทย่ี ว เพ่อื รองรับนกั ทอ่ งเที่ยวท่ีมีคณุ ภาพอย่างย่งั ยนื

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ท่ี ๔ การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน การขนส่ง โลจิสติกส์
พลังงานระบบเครือขา่ ย การส่อื สาร สารสนเทศ เพ่ือรองรบั การพฒั นาของกลุม่ จังหวัด

ประเดน็ การยุทธศาสตรพ์ ัฒนา ที่ ๕ การพฒั นาสกู่ ารเป็นเมอื งสีเขยี ว และสงั คมคุณภาพ

นยิ ามเป้าหมาย

ศนู ยก์ ลางการเกษตร หมายถึง เป็นศูนย์กลางด้านการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรที่เก่ียวข้อง

ที่กลุ่มจังหวัดมีศักยภาพ เช่น ยางพารา ปาล์มน้ามัน ข้าว ไม้ผล สมุนไพร

การประมง ปศุสัตว์ ท้ังด้านการผลิต แปรรูป การตลาด เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิม

ทางเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจและการพัฒนา

บคุ ลากรด้านการเกษตร

การค้า การลงทนุ หมายถึง เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน ด้านการบริหารจัดการ การตลาด

ในสินคา้ และบริการอยา่ งครบวงจรท่ีเชื่อมโยงการคา้ การลงทนุ ระหว่างประเทศ

ศูนยก์ ลางการท่องเทีย่ ว หมายถึง การมีความโดดเด่นสถานท่ีท่องเที่ยว สถานท่ีท่องเที่ยวระดับนานาชาติ

นานาชาติ และความหลากหลายของรปู แบบการทอ่ งเที่ยว

โลจิสติกส์ทสี่ มบรู ณ์ หมายถึง การมีระบบคมนาคมท่ีเชื่อมโยงท้ังทางบก ทางอากาศ และทางน้า

และการพัฒนาระบบเครือข่าย การส่ือสาร สารสนเทศ และพลังงาน เพ่ือเป็น

ปัจจัยพ้ืนฐานท่ีสนับสนุน การพัฒนาด้านต่างๆ ของกลุ่มจังหวัดได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลุม่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 68

ส่งิ แวดลอ้ มยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาในทุกด้านของกลุ่มจังหวัด จะต้องไม่สร้างปัญหา

ต่อทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รวมท้ังต้องมียุทธศาสตร์การพัฒนา

การอนุรักษ์ ฟื้นฟู เพ่ือป้องกัน และการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ

สิ่งแวดลอ้ ม และภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติท่มี ีอยู่

สังคมคณุ ภาพ หมายถึง การดาเนินภารกิจของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทยในประเด็น

ยุทธศาสตรต์ า่ งๆ โดยนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทาง

และคงอัตลักษณ์ของความเป็นไทย ความเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่น รวมถึงพหุ

วฒั นธรรม เพือ่ มงุ่ สู่การเปน็ สังคมคณุ ภาพ ประชาชนมคี ณุ ภาพชีวิตที่ดี

เปา้ ประสงค์รวม

๑. กลุ่มจังหวัดเป็นศูนย์กลาง การผลิตและแปรรูป ยางพารา ปาล์มน้ามัน ข้าว ไม้ผล

สมนุ ไพร การเพาะเลยี้ งสัตว์น้าเศรษฐกจิ และการเลีย้ งสัตว์เศรษฐกิจท่มี คี วามโดดเดน่ ในพืน้ ท่ี

๒. กลุม่ จังหวดั มีมลู ค่าการคา้ การลงทนุ ท่เี พม่ิ ขึ้น

๓. กลุ่มจังหวัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวนานาชาติ ที่มีคุณภาพ และมีความหลากหลาย

ของรูปแบบ การท่องเที่ยว

๔. มีระบบโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์ท่ีมีศักยภาพในการรองรับการพัฒนา

ดา้ นตา่ ง ๆ ของกลมุ่ จังหวดั

๕. กลุ่มจังหวัดมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีส่ิงแวดล้อม ประชาชนมีคุณภาพชีวิต

และสภาพสังคมทีด่ ี

ตาแหนง่ จุดยนื ทางยุทธศาสตร์ (Positioning) ของกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝ่งั อ่าวไทย

ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)

๑. ศูนย์กลางการทอ่ งเท่ียว (เชิงอนรุ ักษ์ และนานาชาติ)

๒. ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การบริหารจัดการ อย่างครบวงจรเพื่อเช่ือมโยงการค้า

การลงทนุ ระหวา่ งประเทศ

๓. ศูนย์กลางการสร้างสรรค์เศรษฐกิจการเกษตร (ปาล์มน้ามัน ยางพารา ข้าว ไม้ผล

สมุนไพร ประมงปศสุ ตั ว)์

๔. เครอื ข่ายคมนาคมโลจิสติกส์ เช่อื มโยงภูมิภาคและนานาชาติ

16. กรอบแนวคดิ และขน้ั ตอนการดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาด้านการศึกษา
1. กรอบแนวคดิ กาหนดทิศทางการพัฒนาแผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษา
การดาเนินการพฒั นาแผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษา คณะกรรมการจดั ทาแผนไดน้ ากรอบแนวคิดตา่ ง ๆ

ท่ีกาหนดเป็นแนวทางการพัฒนา คือ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับทีสิบสอง (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี)
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) แผนพัฒนาการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนพัฒนาการศึกษาของสานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 69

(พ.ศ. 2563 – 2565) แผนปฏิบัตริ าชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบับจัดทา คาของบประมาณ
รายจา่ ยประจาปี) รวมทง้ั แผนพฒั นากลมุ่ จังหวัดภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทย ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)
ฉบบั ทบทวน

ท้ังนี้คณะทางานได้วิเคราะห์ความเชื่อมโยงและความสอดคล้องของแผนในทุกระดับ
การพัฒนาที่อยู่บนรากฐานของสังคมไทยโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักการ
พ้ืนฐานของพัฒนา โดยมีหลักการในการจัดทา คือ ในการวางแผนปฏิบัติงาน สร้างความมีส่วนร่วม
จากทุกภาคส่วนเกิดการบูรณาการการดาเนินงานอย่างสมบูรณ์ ซ่ึงพอสรุปเป็นแผนผังกรอบความคดิ
ได้ดงั นี้

ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580)

แผนปฏิรปู ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง
(พ.ศ. 2560 - 2564)

นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาดา้ นการศกึ ษา นโยบายและจุดเนน้
ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
แผนการศึกษาแห่งชาติ ระดับกลุม่ จังหวดั ภาคใตฝ้ ัง่ อ่าวไทย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2560 - 2579 (พ.ศ. 2563 – 2565)
และ พ.ศ. 2564

เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ั่งยืน
(Sustainable Development

Goals : SDGs)

แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564), แผนพัฒนาการศึกษาของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564), แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (พ.ศ. 2563 – 2565),
แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกระทรวงศึกษาธิการ, แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทาคาของบประมาณรายจา่ ยประจาป)ี

แผนพฒั นากลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ฉบับทบทวน

แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดและข้ันตอนการดาเนินการจดั ทาแผนพัฒนาด้านการศกึ ษา
ระดบั กลมุ่ จังหวัดภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565)

2. กระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์
เพื่อใหแ้ ผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา เป็นทศิ ทางหรอื แนวทางปฏิบัติตามพันธกิจ

และภารกจิ (Mission) ใหส้ ัมฤทธิผลตามวิสยั ทัศน์ (Vision) และเปา้ ประสงคข์ ององค์การ (Corporate
Goal) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดังกล่าวจึงต้องถูกกาหนดข้ึนตามวิสัยทัศน์ขององค์การอันเป็น
ผลผลิตทางความคิดร่วมกันของสมาชิกในองค์การที่ได้ ทางานร่วมกันหรือจะทางานร่วมกัน
โดยวิสัยทัศน์นี้เป็นความเห็นพ้องต้องกันว่าเป็นจุดหมายปลายทางที่องค์การประสงค์จะไปให้ถึง
และวิสัยทัศน์นี้มีการแปลงออกมาเป็นวัตถุประสงค์ (Objective) ที่เป็นรูปธรรม และสามารถ
วัดได้ ทั้งนี้องค์การสามารถใช้แผนยุทธศาสตร์เป็นกรอบในการประเมินผลงานประจาปีงบประมาณ

แผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จงั หวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 70

ยิ่งไปกว่าน้ันองค์การยังสามารถใช้แผนยุทธศาสตร์เป็นกรอบในการจัดทาแผนปฏิบัติการ (Action Plan)
เพอ่ื การจดั ทางบประมาณรายจา่ ยประจาปีได้อีกด้วย

สาหรบั กระบวนการจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์นัน้ สรุปขัน้ ตอนสาคัญดงั นี้
1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ ซง่ึ ประกอบดว้ ย

1) การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน (Internal Environment)
2) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment)
2. การจดั วางทิศทางขององค์การ ซึง่ ประกอบดว้ ย
1) การกาหนดวสิ ยั ทศั น์ (Vision)
2) การกาหนดภารกจิ (Mission)
3) การกาหนดเปา้ ประสงค์ขององค์การ (Corporate Goal)
4) การกาหนดดชั นชี ี้วัดผลงานระดบั องค์การ (Organization’s Key
Performance Indicators, KPIs)
5) การกาหนดประเดน็ ยุทธศาสตร์ (Strategy Issue)
6) กาหนดเป้าประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์ (Strategic Goals)
7) กาหนดกลยทุ ธ์ (Tactics) หรอื แผนงานในการปฏิบัติ และ
8) การกาหนดเป้าหมาย (Targets) ของแต่ละกิจกรรม (Activities) พร้อมกับ
ดัชนชี วี้ ัดผลงานระดับแผนปฏบิ ตั กิ าร (Action Plan’s KPIs)
อนึ่ง สาหรบั ส่วนประกอบของแผนกลยุทธ์ ประกอบด้วย 3 ขนั้ ตอนหลัก คอื 1) จะเรม่ิ ต้น
ที่การกาหนดจุดมุ่งหมายขององค์การ ซ่ึงจะพิจารณาในขอบเขตท่ีกว้างโดยผู้บริหารจะเปิดความคิด
ไว้กว้าง แล้วจะพยายามสรุปเขยี นเป็นข้อความที่สามารถชี้ให้เหน็ ถึงจุดมงุ่ หมายต่าง ๆ เปน็ ลาดับแรก
ก่อน ต่อจากนั้นการพิจารณาวางแผนก็จะแคบเข้า ขั้นต่อไปก็คือ 2) การวิเคราะห์ทางกลยุทธ์
โดยครอบคลุมถึงปัญหาและเรื่องราวต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องและที่มีโอกาสส่งผลกระทบต่อการทางาน
ตามจุดมุ่งหมายขององค์การท่ีกาหนดไว้ จากนั้นก็จะเป็นการจากัดแคบเข้ามา โดยจะทาการ
3) กาหนดกลยุทธ์เฉพาะอย่างขึ้นมา เพ่ือที่จะใช้ปฏิบัติให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
ท้ัง 3 ขั้นตอนข้างต้นนี้ ส่วนใหญ่จะทุ่มเทความสนใจเก่ียวกับการคิดในทางกลยุทธ์ (Strategic thinking)
ซ่ึงจะต้องทาให้ครบถ้วนก่อน ทั้งน้ีเพ่ือท่ีจะให้การวางแผนของทั้งระบบสามารถดาเนินต่อจนประสบ
ผลสาเรจ็ ได้ในท่สี ุด จากนัน้ ในข้ันตอนต่อไปน้ีคือ การพจิ ารณาเลอื กหรือกาหนดวัตถปุ ระสงค์ระยะยาวตา่ ง ๆ
และให้กลยุทธ์ท่ีกาหนดไว้สาเร็จผลลงได้ ตามภาพจะเห็นได้ว่า การพิจารณากาหนดวัตถุประสงค์
ระยะยาวนี้ จะเป็นขั้นตอนที่อยู่คาบเกี่ยวกันระหว่างช่วงสุดท้ายของการคิดในทางกลยุทธ์และ
ช่วงแรกเริ่มของการวางแผนระยะยาว และจะเห็นควบคู่กันอีกด้วย จุดประสงค์หลักของการคิด
ในทางกลยุทธ์ก็คือ การช่วยให้เกิดความม่ันใจว่า การเลือกและการกาหนดวัตถุประสงค์ระยะยาว
จะสามารถทาได้ถูกต้องและดีที่สุด ซึ่งจะนาองค์การไปสู่ผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ต้ังไว้ และมีการ
ปฏิบตั ติ ามกลยุทธ์ท่ีได้เลือกไว้อย่างครบครัน ภายหลังจากทวี่ ัตถปุ ระสงค์ระยะยาวได้มีการกาหนดขึ้น
มาแล้ว จากน้ันการคิดค้นแผนงานหลักท่ีสาคัญต่าง ๆ ท่ีจะนามาใช้ดาเนินงานเพ่ือให้บรรลุ
ตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เหล่านั้น ก็จะต้องกระทาให้ยุติออกมาจนได้เป็นแผนงานหลักชุดหน่ึง
ท่ีจะใช้งานต่อไป ข้ันตอนต่อจากน้ันก็จะเป็นการพยากรณ์ทางการเงิน ซึ่งจะมีการคาดคะเนตัวเลข
ทางการเงนิ ต่าง ๆ ท่จี ะสนบั สนุนใหไ้ ปในทิศทางเด่ียวกันกับแผนกลยุทธ์ และในเวลาเดียวกนั ก็จะเป็น
กรอบพนื้ ฐานของการวางแผนกลยุทธ์ไปในตัวด้วย

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจังหวดั ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 71

จะเหน็ ไดว้ ่าขัน้ ตอนทั้งสาม คอื การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ระยะยาว การกาหนดแผนงานหลัก
และการพยากรณ์ทางการเงินน้ี แท้จริงก็คือ ข้ันตอนของการวางแผนระยะยาวที่เคยทราบกันมานาน
แล้วน่ันเอง แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าหากปราศจากข้ันตอน 3 ขั้นของการคิดในทางกลยุทธ์แล้ว
การวางแผนระยะยาวกจ็ ะมีคณุ ภาพไม่ดีเท่าท่ีควร และอาจมผี ลทาใหก้ ารดาเนนิ งานผิดพลาดเสียหาย
ผดิ ทิศทางไปก็ได้

ข้ันตอนสุดท้ายของกระบวนการวางแผนกลยุทธ์คือ การจัดทาบทสรุปสาหรับผู้บริหารในส่วน
ท่ีเป็นเนื้อหาสาระและส่งิ สาคัญต่าง ๆ ของแผนกลยุทธ์ ที่จะให้ผู้บริหารระดับสูงได้ทราบและนาไปใช้
งานต่อไป

17. การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT)
การวิเคราะห์ SWOT ในแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

(พ.ศ. 2563 - 2565) ซ่ึงทางสานักงานศึกษาธิการภาค 5 ดาเนินการโดยเชิญ ศึกษาธิการจังหวัด
รองศึกษาธิการจังหวัด และเจ้าหน้าที่ด้านแผนงาน/โครงการ จากจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา รวมท้ังบุคลากรของสานักงานศึกษาธิการภาค 5 ร่วมให้ความ
คิดเห็น SWOT ด้วยการทบทวน SWOT จากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2563 -
2565) ภาค 5 และมาวิเคราะหส์ ภาพปจั จุบันของแตล่ ะจังหวัด ผลเปน็ ดงั นี้

จดุ แขง็ (Strengths)
1. สถานศึกษาทุกระดับมีครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี สามารถให้บริการจัดการศึกษาได้อย่างท่วั ถงึ
2. แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีหลากหลายเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ ของ
สถาบนั การศกึ ษา
3. ประชากรวัยเรียนและการศึกษาภาคบังคับได้รับการบริการทางการศึกษาอยา่ งทั่วถงึ ส่งผล
ตอ่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาโดยรวม
4. เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการเตรียมความพร้อมอย่างท่ัวถึงส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาโดยรวม
5. ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความพร้อมและมุ่งม่ันในการพัฒนาตนเอง
เออื้ ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาผู้เรียน
6. สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่มีสาขาวิชาท่ีหลากหลาย สามารถส่งเสริมและสนับสนุน
การพฒั นาคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ
7. สถาบันและหน่วยงานทางการศึกษาในสังกัดให้ความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษา
ทาใหส้ ามารถรว่ มพฒั นาการศึกษาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
8. สถาบันและหน่วยงานทางการศึกษาในสังกัดมีเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยสามารถ
สง่ เสริมและสนับสนุนต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จดุ อ่อน (Weaknesses)
1. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่ได้นาผลการวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาขาดทักษะการใช้ภาษาและเทคโนโลยีที่เพียงพอ
ในการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา
3. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาไม่ได้รบั การพัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื งและทัว่ ถึง

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใตฝ้ ัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 72

4. บคุ ลากรยงั ขาดขวัญกาลงั ใจในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ีจากการเปล่ยี นแปลงโครงสร้าง
5. การบริหารงบประมาณขาดประสิทธิภาพเน่ืองจากบุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับระเบียบ ขอ้ บังคับในการใช้งบประมาณ
6. ขัน้ ตอนในการดาเนินงานไม่ชดั เจน ทาใหก้ ารใช้งบประมาณไมถ่ ูกตอ้ ง
7. วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีขาดการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่าทาให้สูญเสียงบประมาณ
ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
8. ระบบการบริหารจดั การขาดประสิทธภิ าพ ไม่เอ้ือต่อการพฒั นาการศกึ ษา
9. การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติยงั ขาดประสิทธิภาพ ทาให้ผลการดาเนนิ งานการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาไม่บรรลเุ ป้าหมาย
10.ระบบการติดตามประเมินผลการดาเนินงานยังไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพ
การศึกษาโดยรวม
11.นักเรียน นักศึกษา เยาวชน ครูและบุคลากรขาดทักษะที่จาเป็น ในศตวรรษท่ี 21
เออื้ ต่อการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา
12.นกั เรียน นกั ศกึ ษา และเยาวชน ขาดวินยั การใฝร่ ู้ และการเรียนรู้ตลอดชีวติ
13.กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูและชุมชนในสังคมยังไม่สอดคล้องกับการเรียนรู้
ท่มี ปี ระสิทธิภาพและตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ิต
14.ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นโดยภาพรวมยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานระดับชาติ
15.นักเรียน นักศึกษา เยาวชน ขาดทักษะความรู้ ความสามารถที่ส่งผลต่อการผลิต
แรงงานของประเทศ
โอกาส (Opportunities)
1. ระบบการคมนาคมและการสอ่ื สารทดี่ ีและทันสมยั เออ้ื ตอ่ ความรว่ มมือ และสรา้ งเครือข่าย
พัฒนาการศกึ ษา
2. ความสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย เอ้ือต่อการส่งเสริม
การจดั การเรยี นรขู้ องสถาบนั ทางการศึกษา
3. ระบบการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของทุกภาคส่วน ส่งผล
ใหก้ ารจัดการศึกษา สถานศึกษา และหนว่ ยงานทางการศกึ ษาได้รับการพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง
4. สมัชชาการศึกษาของจังหวัดส่งผลให้หน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษา เอ้ือต่อ
การประสานความรว่ มมอื และความชว่ ยเหลือกนั ในการจัดการศกึ ษา
5. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาช่วยกระตุ้นให้หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษา
มกี ารพัฒนาคณุ ภาพ
6. ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ทาให้การเข้าถึงแหล่งข้อมูลการเรียนรู้ได้สะดวก
รวดเรว็
7. รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการศึกษาสายอาชีพ ส่งผลให้สถาบันการศึกษาสามารถ
กาหนดทศิ ทางการพัฒนาคนและแรงงานเข้าสตู่ ลาดแรงงานชัดเจน มากขนึ้
8. นโยบายสนับสนุนทางด้านการศึกษามีความชัดเจน ส่งผลให้การพัฒนาการศึกษา
มที ิศทางในการขบั เคลื่อนมากขึน้

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 73

9. นโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาตั้งแต่ช้ันอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สง่ ผลใหก้ ารพัฒนาการศกึ ษาครอบคลุมทุกวยั และมีคุณภาพมากยิง่ ขึ้น

10.แหล่งเงินทนุ กูย้ มื เพอื่ การศึกษา กยศ. เพิ่มโอกาสการเข้าถงึ การศึกษาไดม้ ากยงิ่ ขน้ึ
11.การปฏิรูปโครงสร้างทางการศึกษาที่มีความชัดเจน ทาให้การพัฒนาการศึกษา
มีทิศทางในการขับเคล่ือนไปส่เู ป้าหมายอยา่ งเป็นรปู ธรรม
12.เด็กด้อยโอกาส เด็กออกกลางคันและเด็กตกหล่น ได้รับโอกาสการเข้าถึงการศึกษา
ตามศักยภาพ ในรปู แบบทเ่ี หมาะสม
อปุ สรรค (Threats)
1. นโยบายระดับสูงมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ส่งผลต่อความต่อเน่ืองของการพัฒนา
การศึกษาและคุณภาพการศกึ ษาโดยรวม
2. กระแสโลกาภิวตั น์ส่งผลกระทบต่อการปรบั ตัวของระบบการจดั การศึกษา
3. กฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติ ของระบบราชการท่ีมีกระบวนการ
ข้ันตอนมากไม่เออ้ื ตอ่ การบริหารจดั การศึกษา
4. สภาพปัญหาของสถาบันครอบครัวและปัญหาทางสังคม เช่น ยาเสพติด การพนัน
การแตกแยกหรอื อย่ารา้ ง ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
5. การบังคับใช้กฎหมายด้านการศึกษาไม่จริงจัง ทาให้การดาเนินการปฏิรูปการศึกษา
ไมส่ าเร็จและบรรลุตามเป้าหมาย
6. การเปิดเสรีทางการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
มีความหลากหลาย
7. ระบบคัดกรองข้อมูลจาก Internet ที่ขาดประสิทธิภาพ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา
คณุ ภาพเดก็ และเยาวชน
8. ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน
ทางการศึกษา

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 74

สรปุ ผลการ SWOT Analysis

สภาพแวดลอ้ มภายใน

จดุ แข็ง (Strength) ระดบั ความคดิ เห็น
1234
1. สถานศึกษามีครอบคลุมทุกพน้ื ที่ สามารถให้บริการจัดการศกึ ษา
ได้อย่างท่ัวถึง 
2. แหลง่ เรยี นรู้และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ท่ีหลากหลายเอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้
ของสถาบันการศึกษา 
3. ชมุ ชนและสังคมมีทัศนคติท่ีดตี ่อการส่งเสริมและสนับสนุนให้บตุ รหลาน
เข้าศึกษาต่อทุกระดับ 
4. เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการเตรยี มความพร้อมอย่างทั่วถงึ ส่งผลต่อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาโดยรวม 
5. ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความพร้อมและมุ่งมั่น
ในการพัฒนาตนเอง เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาผูเ้ รียน 
6. สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดมีหลากหลาย สามารถส่งเสริมและสนับสนนุ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ 
7. สถาบันและหนว่ ยงานทางการศึกษาในสังกัดให้ความร่วมมือในการพฒั นา
การศึกษา ทาใหส้ ามารถร่วมพัฒนาการศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 
8. สถาบันและหนว่ ยงานทางการศึกษาในสังกัดมีเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ทที่ นั สมัยสามารถส่งเสริมและสนบั สนุนต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษา 
รวมคะแนน
รวมคะแนนท้ังหมด 2 15 8
เฉล่ียรวม 25
3.13

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลุม่ จงั หวัดภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 75

จุดอ่อน (Weak) ระดบั ความคิดเหน็
1234
1. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่ไดน้ าผลการวิจัยและนวตั กรรม
ไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา 
2. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาขาดทกั ษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยี
ทเ่ี พยี งพอในการยกระดับคุณภาพการศึกษา 
3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่ได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและท่ัวถึง
4. บุคลากรยังขาดขวัญกาลังใจในการปฏิบัติหน้าท่ีจากการเปล่ียนแปลง 
โครงสรา้ ง 
5. การบริหารงบประมาณขาดประสิทธิภาพเนื่องจากบุคลากรขาดความรู้
ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ระเบยี บ ขอ้ บงั คับในการใช้งบประมาณ 
6. ขนั้ ตอนในการดาเนนิ งานไมช่ ดั เจน ทาใหก้ ารใชง้ บประมาณไมถ่ กู ต้อง
7. วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีขาดการใช้ประโยชนอ์ ย่างคุ้มค่าทาให้สูญเสยี 
งบประมาณในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 
8. ระบบการบริหารจัดการขาดประสทิ ธิภาพ ไม่เอ้ือตอ่ การพฒั นาการศึกษา
9. การแปลงนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิยงั ขาดประสิทธิภาพ 
ทาใหผ้ ลการดาเนินงานการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาไม่บรรลเุ ป้าหมาย 
10. ระบบการติดตามประเมินผลการดาเนินงานยังไม่มีประสิทธิภาพ
สง่ ผลต่อคุณภาพการศกึ ษาโดยรวม 
11. นกั เรียน นักศกึ ษา เยาวชน ครแู ละบุคลากรขาดทักษะทจี่ าเปน็
ในศตวรรษที่ 21 เอ้ือตอ่ การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา 
12. นักเรยี น นกั ศกึ ษา และเยาวชน ขาดวนิ ัย การใฝ่รู้ และการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ
13. กระบวนการจดั การเรยี นร้ขู องครูและชุมชนในสงั คมยังไมส่ อดคล้อง 
กบั การเรียนรทู้ ี่มปี ระสิทธิภาพและต่อเน่ืองตลอดชีวติ 
14. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยภาพรวมยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
ระดบั ชาติ 
15. นักเรียน นักศึกษา เยาวชน ขาดทักษะความรู้ ความสามารถที่ส่งผล
ตอ่ การผลิตแรงงานของประเทศ 
รวมคะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด 2 12 40
เฉลี่ยรวม 54
3.60

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลมุ่ จังหวดั ภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 76

สภาพแวดลอ้ มภายนอก ระดบั ความคิดเห็น
1234
โอกาส (Opportunity)

1.ระบบการคมนาคมและการส่ือสารท่ีดีและทันสมัย เอื้อต่อความร่วมมือ 
และสร้างเครอื ข่ายพฒั นาการศกึ ษา
2. ความสมบรู ณท์ างทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม แหล่งเรียนรู้ 
ทางประวัติศาสตร์ ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม
ท่หี ลากหลาย เออื้ ตอ่ การสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้ของสถาบนั ทางการศกึ ษา 
3. ระบบการบริหารจดั การและการมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา 
ของทุกภาคสว่ น ส่งผลให้การจัดการศกึ ษา สถานศึกษา และหนว่ ยงาน
ทางการศกึ ษาได้รับการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง 
4. สมัชชาการศึกษาของจังหวัดส่งผลให้หน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษา 
เอ้อื ตอ่ การประสานความร่วมมอื และความชว่ ยเหลือกนั ในการจดั การศึกษา
5. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาชว่ ยกระต้นุ ให้หนว่ ยงานทางการศึกษา 
และสถานศึกษามีการพฒั นาคุณภาพ 
6. ความก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยี ทาให้การเข้าถึงแหลง่ ข้อมลู การเรียนรู้
ไดส้ ะดวกรวดเรว็ 
7. รัฐบาลมนี โยบายส่งเสรมิ การศึกษาสายอาชีพ ส่งผลให้สถาบันการศึกษา 
สามารถกาหนดทิศทางการพัฒนาคนและแรงงานเข้าสตู่ ลาดแรงงานชัดเจน
มากข้ึน 
8. นโยบายสนับสนุนทางด้านการศึกษามีความชัดเจน ส่งผลให้การพัฒนา 2 24 12
การศึกษามีทศิ ทางในการขับเคลื่อนมากขึ้น
9. นโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาต้ังแต่ชั้นอนุบาลจนจบการศึกษา 38
ข้ันพ้ืนฐาน ส่งผลให้การพัฒนาการศึกษาครอบคลุมทุกวัยและมีคุณภาพ 3.16
มากยิ่งขึ้น
10. แหล่งเงินทุนกู้ยืมเพ่ือการศึกษา กยศ. เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษา
ได้มากยิ่งข้ึน
11. การปฏิรูปโครงสร้างทางการศึกษาที่มีความชัดเจน ทาให้การพัฒนา
การศกึ ษามที ศิ ทางในการขับเคล่ือนไปสู่เปา้ หมายอย่างเปน็ รูปธรรม
12. เด็กด้อยโอกาส เด็กออกกลางคันและเด็กตกหล่นได้รับโอกาส
การเขา้ ถงึ การศกึ ษาตามศักยภาพในรปู แบบที่เหมาะสม
รวมคะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด
เฉลยี่ รวม

แผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลุม่ จงั หวดั ภาคใต้ฝัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 77

อปุ สรรค (Threat) ระดบั ความคิดเหน็
1234
1. นโยบายระดับสูงมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ สง่ ผลตอ่ ความตอ่ เน่ือง
ของการพัฒนาการศึกษาและคณุ ภาพการศึกษาโดยรวม 
2. กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลกระทบต่อการปรับตัวของระบบการจัดการศึกษา
3. กฎหมาย ระเบยี บ และหลักเกณฑ์วิธกี ารปฏิบัติ ของระบบราชการ 
ทมี่ ีกระบวนการขนั้ ตอนมากไมเ่ อื้อต่อการบริหารจดั การศกึ ษา 

4. สภาพปัญหาของสถาบันครอบครัวและปัญหาทางสังคม เชน่ ยาเสพติด 
การพนนั การแตกแยกหรืออยา่ รา้ ง สง่ ผลตอ่ การพฒั นาคุณคณุ ภาพผู้เรียน
5. การบงั คับใช้กฎหมายดา้ นการศกึ ษาไม่จริงจัง ทาใหก้ ารดาเนนิ การปฏิรูป 
การศึกษาไม่สาเร็จและบรรลุตามเป้าหมาย
6. การเปิดเสรีทางการศึกษาท้ังในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 
มีความหลากหลาย
7. ระบบคดั กรองข้อมูลจาก Internet ทข่ี าดประสิทธภิ าพ เป็นอุปสรรค 
ต่อการพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชน
8. ระบบฐานข้อมลู สารสนเทศด้านการศึกษาขาดการบรู ณาการระหว่าง 
หน่วยงานทางการศึกษา
รวมคะแนน 49 12
รวมคะแนนทั้งหมด 25
เฉล่ียรวม 3.13

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกล่มุ จงั หวดั ภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 78

การเขียน SWOT Matrix

กลยทุ ธ์เชงิ รกุ (S – O Strategy) กลยุทธเ์ ชงิ ป้องกัน (S – T Strategy)
1. ยกระดบั การพัฒนาศักยภาพนกั เรยี น 1. สง่ เสริมสนับสนุนการจัดการศกึ ษาท่ีเสรมิ สร้าง

วยั กอ่ นเรียนด้านภาษาและทักษะ ความเขม้ แขง็ ของสถาบันครอบครัว
กระบวนการคิดเพ่อื เป็นรากฐานการพัฒนา 2. เร่งพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณุ ภาพการศึกษาในระดบั ทส่ี งู ขนึ้
2. ยกระดับคุณภาพการศึกษาโดยการสนบั สนุน เพ่อื การพฒั นาคุณภาพการศึกษา
และสง่ เสริมการศึกษาครอบคลุมทกุ วัย ให้ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงยุคโลกาภิวตั น์
3. สง่ เสริมและสนับสนนุ การใช้แหลง่ เรยี นรู้ 3. ส่งเสริมและพฒั นาระบบการใช้เทคโนโลยี
และภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ที่มาใชใ้ นการจดั เพื่อการพัฒนาการศกึ ษาให้มปี ระสิทธภิ าพ
การศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษา และเปน็ ประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาคุณภาพ
อย่างจริงจัง การศกึ ษา
4. เรง่ พัฒนาทกั ษาการใชเ้ ทคโนโลยี 4. สง่ เสริมและพฒั นากระบวนการมสี ว่ นร่วม
และนวตั กรรมทางการศกึ ษาสาหรับครู ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการจัดการเรียนรู้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ของผ้เู รยี น 5. จัดทาและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ
ของสถาบันการศกึ ษาใหถ้ ูกต้องและทันสมัย
กลยทุ ธเ์ ชงิ แก้ไข/พัฒนา (W – O Strategy) เพอื่ ใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1. ส่งเสรมิ และพัฒนาครแู ละบุลากรทางการศึกษา
กลยทุ ธเ์ ชงิ รับ (W – T Strategy)
ให้มที กั ษะการใชภ้ าษาและเทคโนโลยี 1. ปรับปรงุ ระบบการบรหิ ารงบประมาณเพื่อส่งเสริม
ทางการศึกษา
2. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ครแู ละบุคลากร การพัฒนางานวจิ ยั นวตั กรรมทางการศกึ ษา
ทางการศกึ ษาพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม ของครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทางการศกึ ษาเพื่อพฒั นายกระดบั คณุ ภาพ 2. สง่ เสรมิ การนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
การศกึ ษา ทางการศกึ ษามาพัฒนาทักษะการใช้ภาษา
3. พฒั นาระบบเทคโนโลยีและนวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยีสาหรับครแู ละบคุ ลากร
ในการสง่ เสริมสนบั สนุน การกากับติดตามผล ทางการศกึ ษา
การดาเนินงานของสถานบันของสถาบัน 3. ปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบฐานข้อมูลทางการศกึ ษา
และหนว่ ยงานทางการศึกษา ใหเ้ ป็นปัจจบุ นั คณุ ภาพและทันสมัย
4. สง่ เสรมิ และพัฒนานกั เรยี น นักศกึ ษา ครู เพือ่ ประโยชน์ในการพฒั นาการศึกษาโดยรวม
และบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีทกั ษะทจี่ าเป็น 4. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหค้ รอบครัว ชุมชน
ในศตวรรษท่ี 21 และสังคมใหม้ ีความเขม้ แข็งด้วยรูปแบบการจดั
5. ส่งเสริมและสนับสนนุ การจัดการเรยี นร้ตู อ่ เน่ือง การศึกษาอยา่ งหลากหลายต่อเน่อื งตลอดชวี ิต
ตลอดชวี ิต

แผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 79

ส่วนที่ 3
สาระสาคญั ของแผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดบั กล่มุ จังหวัดภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย

(พ.ศ. 2563 – 2565)

วิสัยทัศน์
“คนไทยทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพละการเรียนรู้ตลอดช่วงชีวิตอย่างมีคุณภาพ

รองรับยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาภาคใต้ฝ่ังอา่ วไทย”

พันธกจิ
1. ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพคนไทยทุกชว่ งวัยให้มีความรูแ้ ละคุณธรรม
2. เสรมิ สร้างทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชว่ งชีวติ อยา่ งมีคุณภาพตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. เสรมิ สรา้ งความสามารถในการแข่งขนั และรเู้ ท่าทนั การเปลีย่ นแปลงของศตวรรษท่ี 21
4. เสริมสร้างโอกาสการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งทัว่ ถงึ และเท่าเทียม
5. สง่ เสริมการบริหารการจดั การแบบมสี ว่ นร่วมตามหลักธรรมาภิบาล

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
1. การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
2. การพัฒนาการศึกษาเพ่ือความมนั่ คง
3. การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
5. การจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม
6. การปรบั สมดลุ และการพฒั นาระบบการบริหารจดั การทางการศกึ ษา
7. การปฏริ ปู การศึกษาในภูมิภาค รองรับการพฒั นาภาคใตฝ้ ่ังอ่าวไทย

เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์
1. คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพ ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา

และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เป็นผู้ท่ีมีความรู้ มีทักษะ รกั การเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต
2. คนไทยทกุ ชว่ งวัยมีคุณภาพ มีความรักในสถาบนั หลักของชาติ
3. คนไทยมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาทุกช่วงวัย และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

ตามความถนัด และมีความสามรถของพหุปัญญาเพื่อพัฒนาตนเองตามทักษะท่ีจาเป็นของโลก
ศตวรรษที่ 21

4. คนไทยทุกชว่ งวยั ไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ
5. การจัดการศึกษาได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากทุกภาคส่วนของสังคม เพื่อให้คนไทย
มีคณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
6. การบริหารจดั การศกึ ษาทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ
7. การขับเคลื่อนและการพัฒนาด้านการศึกษาในส่วนภูมิภาคเพ่ือยกระดับคุณภาพ
การศึกษาของผเู้ รยี นให้ไดม้ าตรฐานและมีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกล่มุ จงั หวดั ภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 80

กลยทุ ธ์/มาตรการย
กลยทุ ธ์ภายใตป้ ระเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 1
1. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะคนทุกช่วงวัยให้มีความรู้ ความสามารถ

ตามศกั ยภาพในศตวรรษท่ี 21
2. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะสูงสอดคล้อง

กับการจัดการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21
3. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา เพื่อการผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีทักษะ สมรรถนะ

และมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพตามความต้องการของสถานประกอบการ เพ่อื ยกระดับมาตรฐานการบริการ
4. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา เพื่อการผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือสร้างความเข้มแข็ง

ให้กับเกษตรกรและชมุ ชนอย่างยงั่ ยนื
5. ส่งเสรมิ สนับสนุน การจัดการศึกษาตามพหุปญั ญาของคนทุกชว่ งวยั
กลยุทธ์ภายใต้ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2
1. เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี

พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
2. ปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทีด่ งี าม และการดารงชวี ติ ตามหลักของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. สง่ เสริม สนับสนุนการจดั การศกึ ษาเพ่อื สรา้ งภูมคิ ุ้มกันต่อภัยคุกคามทุกรูปแบบ
กลยทุ ธภ์ ายใต้ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3
1. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาและผลิตกาลังคนระหว่างภาคส่วน

ท่เี ก่ียวขอ้ ง ใหต้ รงตามศักยภาพความตอ้ งการของตลาดแรงงานในพ้นื ทแ่ี ละตลาดสากล
2. สนับสนุนการวิจัยและส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือผลิตกาลังคนรองรับการท่องเท่ียว

ทส่ี อดคลอ้ งกับศกั ยภาพของพ้ืนที่
3. ผลักดันให้สถาบันอาชีวะศึกษาท่ีมีความพร้อมผลิต และพัฒนากาลังคนรองรับการใช้

เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตภาคเกษตร
4. ส่งเสริมการพัฒนาการจัดการศึกษาสายอาชีพเพ่ือรองรับการท่องเที่ยว การเกษตร

และอุตสาหกรรม ในพ้นื ที่ระเบยี งเศรษฐกิจภาคใต้ โดยการใช้เทคโนโลยีสมยั ใหม่
กลยทุ ธภ์ ายใต้ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4
1. สง่ เสรมิ การเข้าถงึ การบริกการการศึกษาทมี่ คี ุณภาพตามช่วงวัยและตามศกั ยภาพ
2. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพ่ือสร้างความเสมอภาค

ทางการศกึ ษา
3. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างแพลทฟอร์มการเรียนรู้ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

เพื่อเสริมสร้างทักษะ สมรรถนะท่ีจาเป็นให้ตอบสนองกับความต้องการของสถานประกอบการ และ
ธุรกจิ การท่องเทยี่ ว

4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมาศึกษาต่อในสายอาชีพให้สูงขึ้นโดยสนับสนุนทุนการศึกษา สวัสดิการ
ตา่ ง ๆ โดยความร่วมมือของเครอื ข่ายสถานประกอบการทั้งในและตา่ งประเทศ

กลยทุ ธ์ภายใตป้ ระเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5
1. ส่งเสริมการสรา้ งจิตสานกึ รักษส์ ิ่งแวดล้อม
2. สง่ เสริม สนบั สนนุ การพฒั นาหลักสตู ร และกระบวนการจดั การเรยี นรู้ เพื่อสร้างเสริม
คณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม

แผนพัฒนาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 81

กลยทุ ธภ์ ายใตป้ ระเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 6
1. ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือหน่วยงาน
ท่เี กยี่ วข้องตามบทบาทหนา้ ที่
2. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศกลางด้านการศึกษาและท่ีเก่ียวข้อง
รองรับเขตอุตสาหกรรม และสภาพท้องถ่ิน เพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารและจดั การศึกษา
3. ส่งเสริมการพัฒนากาลังคนให้มีความรู้การบริหารจัดการต้นทุนการผลิต การทาการเกษตร
ทฤษฎีใหม่ การใช้เทคโนโลยีและนวตั กรรมในการเพาะปลูกและการแปรรปู
4. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมในการผลิต
และบริหารจัดการอยา่ งเป็นระบบ
กลยทุ ธ์ภายใตป้ ระเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 7
1. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมแปรรูปยางพารา
หาดใหญ่-สะเดา ท่คี รบวงจรและเปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
2. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการพัฒนา เขตอุตสาหกรรมโอเลโอเคมีคอล แบบครบวงจร
ในจงั หวัดกระบี่ สุราษฎรธ์ านี และชุมพร
3. ผลติ และพฒั นากาลังคนเพ่ือรองรบั การใช้เทคโนโลยีชวี ภาพและนวัตกรรมในการผลิตภาคเกษตร
4. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อการยกระดับสินค้าเกษตรที่เป็นอัตลักษณ์ที่เหมาะสม
กับศักยภาพพื้นที่ของภาค
5. ผลิตและพฒั นากาลังคนเพอ่ื รองรบั การยกระดับสินค้าทางการเกษตรให้ได้มาตรฐานสากล
6. ผลติ และพัฒนากาลงั คนเพอื่ รองรับการทาการเกษตรแบบผสมผสาน
7. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการพัฒนาประตูการค้าในพื้นท่ี
ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคใต้
8. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ
และ การแปรรปู การเกษตรมูลค่าสูง (Bio-Based & Processed Agricultural Products)
9. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การส่งเสรมิ วัฒนธรรม และการพัฒนาเมืองน่าอยู่ (Green Culture & Livable Cities)

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 82

รายละเอียดกลยุทธ์ ตัวชี้วัด และ
ภายใตแ้ ผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดบั กลุ่มจงั ห

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

กลยุทธ์ ตัวชีว้ ดั ภายใตก้ ลยุทธ์

1. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะ 1. ดัชนีพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั

คนทุกชว่ งวัยใหม้ ีความรู้ ความสามารถตามศักยภาพ 2. คะแนนความสามารถในการแข่งขันการ

ในศตวรรษที่ 21 มนุษย์ด้านทักษะ

2. ส่งเสรมิ สนบั สนุน การพฒั นาครูและบุคลากร 1. รอ้ ยละของครูและบคุ ลากรทผี่ า่ นการพ
ทางการศึกษา ให้มสี มรรถนะสูงสอดคล้อง ในการจดั การเรียนรู้ทส่ี อดคลอ้ งกบั ศตว
กับการจดั การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21
1. ผลติ ภาพแรงงาน (ร้อยละต่อป)ี
3. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การศกึ ษา เพอ่ื การผลิต
และพัฒนากาลงั คนใหม้ ีทกั ษะ สมรรถนะ 1. อัตราการขยายตัวของมลู ค่าของสินคา้ เ
และมาตรฐานคณุ วฒุ ิวชิ าชีพตามความต้องการ อตั ลกั ษณ์พนื้ ถ่ิน
ของสถานประกอบการ เพ่ือยกระดับมาตรฐาน
การบริการ 2. อัตราการขยายตัวของมูลคา่ ของสินคา้ เกษ

4. ส่งเสรมิ สนบั สนุน การจัดการศึกษา เพอ่ื การผลติ
และพัฒนากาลงั คนเพือ่ สรา้ งความเขม้ แข็ง
ใหก้ บั เกษตรกรและชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื

5. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศึกษาตามพหปุ ญั ญา 1. ร้อยละของผู้สงู อายทุ มี่ ศี กั ยภาพ มีงานท

ของคนทกุ ช่วงวัย เหมาะสม

แผ

โครงการ ตามประเดน็ ยุทธศาสตร์
หวัดภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565)

โครงการ หน่วยงานเจา้ ภาพหลัก

1. โครงการพฒั นาหลักสตู รการสอนและปรบั ปรุง - สพม. 12

รพัฒนาทนุ สถานศกึ ษาปฐมวยั ใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐาน - สพม.12

2. โครงการพฒั นาทักษะการเรยี นรูใ้ ห้สอดคล้อง - อาชีวศึกษา
จังหวดั สุราษฎรธ์ านี
กบั ศตวรรษที่ 21

พัฒนาสมรรถนะ 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรทางการ

วรรษที่ 21 ศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับการจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษ

ที่ 21

1. โครงการพัฒนาหลักสูตรการผลิตแรงงาน

ได้ตามความสามารถเฉพาะบคุ คลและสอดคลอ้ ง

กับมาตรฐานแรงงาน

เกษตร 1. โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพและสมรรถนะ - ศธจ.สุราษฎร์ธานี
ษตรปลอดภัย ทางวิชาชีพในการทาเกษตรแบบผสมสาน
ทาและรายได้ - ศธจ.ชุมพร
2. โครงการส่งเสรมิ การวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรม
การผลิตสนิ ค้าทางการเกษตร - สถาบนั กศน.ภาคใต้
- สถาบัน กศน.ภาคใต้
1. โครงการฝึกอาชีพผสู้ ูงอายุ
2. โครงการปราชญช์ าวบา้ น

ผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 83

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การพัฒนาการศกึ ษาเพื่อความมั่นคง

กลยทุ ธ์ ตัวชี้วดั ภายใตก้ ลยทุ ธ์

1. เสริมสรา้ งความมั่นคงของสถาบนั หลกั ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีส่งเสริมการจดั การศ
และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย เพ่ือเสริมสรา้ งความมัน่ คงของชาติ
อันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
รอ้ ยละของเด็ก เยาวชน น้อมนาศาสตรพ์ ระ
2. ปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มท่ดี งี าม และแนวพระราโชบายมาใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ
และการดารงชีวติ ตามหลกั ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3. ส่งเสริม สนบั สนุนการจดั การศึกษา เพ่อื สรา้ งภูมิคมุ้ กัน ร้อยละของผเู้ รียนทมี่ ีความรู้ ทกั ษะ และม

ต่อภยั คกุ คามทกุ รปู แบบ จากปญั หาภยั คกุ คามในทุกรปู แบบ

แผ

โครงการ หน่วยงานเจา้ ภาพหลกั

ศึกษา 1. โครงการเสริมสรา้ งความม่ันคงของสถาบันหลกั ของชาติ - ศธจ.นครศรธี รรมราช
2. โครงการสง่ เสรมิ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ

ะราชา 1. โครงการส่งเสรมิ กิจกรรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม การมัธยสั ถ์
ตอยา่ งพอเพยี ง อดออม และดาเนนิ ชวี ิตตามแนวหลกั ปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

มภี มู ิคมุ้ กัน 1. โครงการสง่ เสรมิ สนับสนุนการจดั การศึกษาเพอื่ สร้าง
ภูมคิ ุ้มกันต่อภยั คกุ คามทกุ รปู แบบ

ผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 84


Click to View FlipBook Version