The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunma Niyomdecha, 2020-12-07 04:10:16

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน

กลยทุ ธ์ ตัวช้วี ัดภายใตก้ ลยุทธ์

1. ส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการอาชีวศกึ ษา เพ่ือพฒั นา รอ้ ยละของกาลงั คนทเ่ี ขา้ สู่ตลาดแรงงาน
และผลิตกาลงั คนระหวา่ งภาคส่วนทเ่ี ก่ยี วข้อง
ให้ตรงตามศักยภาพความต้องการของตลาดแรงงาน 1.จานวนสถาบนั การศึกษาที่เปิดสอนหลกั สูตรเฉ
ในพ้ืนทแ่ี ละตลาดสากล 2. จานวนครูผูส้ อนมคี ุณวฒุ ติ รงตามสาขา
3. จานวนผูเ้ รยี นที่ศกึ ษาตอ่ ในสาขาเฉพาะ
2. สนับสนนุ การวจิ ยั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษา 4. ดชั นนี วตั กรรมเชิงสงั คม
เพ่อื ผลติ กาลงั คนรองรบั การท่องเท่ียวท่ีสอดคลอ้ ง 5. สดั สว่ นการลงทนุ วิจัย และพัฒนาของภาคเอ
กับศกั ยภาพของพ้นื ท่ี 5. ดัชนนี วตั กรรมเชงิ สงั คม
6. ร้อยละของผลนวตั กรรมท่สี ่งเสรมิ ประส
3. ผลักดันใหส้ ถาบันอาชวี ะศึกษาทมี่ ีความพร้อมผลติ
และพฒั นากาลงั คนรองรบั การใช้เทคโนโลยี การทอ่ งเทีย่ วดว้ ยภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ แล
และนวัตกรรมในการผลิตภาคเกษตร ทีเ่ ปน็ เอกลักษณ์
7. ร้อยละของนวัตกรรมทน่ี ามาพฒั นาเขต
และเช่ือมโยงการค้า
1. ร้อยละของประชากรวยั แรงงานสามารถ
ในอุตสาหกรรมแปรรปู ยางพาราได้อยา่ งม
2. ร้อยละของประชากรวยั แรงงานในเขตจ
ชุมพร สรุ าษฏรธ์ านี มีความรู้ความเขา้ ใ
อตุ สาหกรรมโอเลโอเคมิคอล
3. ร้อยละของผูเ้ รียนการศกึ ษาภาคบงั คบั เ
ในสถาบนั อาชีวะ

แผ

โครงการ หน่วยงานเจ้าภาพหลกั

1. โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาหลกั สูตรใหต้ รง - ศธจ.พทั ลงุ
ตามความต้องการของตลาดแรงงานทม่ี ี

เฉพาะทางเพิ่มขึน้ 1. โครงการพัฒนาหลกั สูตรเฉพาะทางใหส้ อดคลอ้ ง - ศธจ.พทั ลงุ

กบั ความต้องการของสถานประกอบการในภมู ิภาค

ะทางเพมิ่ ขน้ึ 2. โครงการศูนยก์ ลางการจดั การศึกษางานซอ่ มบารุง - ศธจ.ภูเกต็ ร่วมกับ ศธภ.5

เรือยอรช์

อกชนตอ่ ภาครฐั 3. โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรงานบริการ - ศธจ.ภูเกต็ รว่ มกบั ศธภ.5

บนเรอื สาราญ

สิทธิภาพ 4. โครงการสนบั สนนุ การวิจยั เชงิ ทอ่ งเที่ยว โดยการมี - ศธภ.5

ละวัฒนธรรม สว่ นร่วมของทัง้ ภาครัฐและเอกชนแบบภาคีเครือขา่ ย

5. โครงการสร้างนวัตกรรมเชิงท่องเที่ยวด้วยภูมิปัญญา - ศธจ.ระนอง รว่ มกบั ศธภ.5

ตอุตสาหกรรม ท้องถิ่นและวฒั นธรรมทเ่ี ป็นเอกลกั ษณ์

ถปฏบิ ัตงิ าน 1. โครงการพัฒนาศกั ยภาพประชากรวัยแรงงานรองรับ - สถาบนั การอาชีวศกึ ษา
มีประสทิ ธิภาพ
จงั หวดั กระบี่ อตุ สาหกรรมแปรรปู ยางพารา ภาคใต้ 3
ใจในเรอื่ ง
2. โครงการพัฒนาศักยภาพให้ความรู้ในการดาเนินงาน - สถาบันการอาชวี ศกึ ษา
เขา้ ศกึ ษา
อุตสาหกรรมโอเลโอเคมคี อล ภาคใต้ 1

3. โครงการพัฒนาศกั ยภาพและสมรรถนะผ้บู รหิ าร - สถาบนั การอาชีวศกึ ษา

ในสถาบันอาชวี ะภาคใต้ ในดา้ นการผลติ และพัฒนา ภาคใต้ 2 รว่ มกับ ศธภ.5

กาลงั คนเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการผลติ ภาคเกษตร

แนวใหม่

ผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกล่มุ จังหวดั ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 85

กลยุทธ์ ตวั ช้วี ดั ภายใตก้ ลยุทธ์

4. ร้อยละของผู้เข้ารบั การศกึ ษามคี วามรู้ ค

ในการผลติ ภาคเกษตรแนวใหม่

4. สง่ เสรมิ การพัฒนาการจดั การศกึ ษาสายอาชพี 1. อัตราการขยายตัวของรายได้จากการท่อ

เพื่อรองรบั การทอ่ งเที่ยว การเกษตร และอุตสาหกรรม การเกษตร และอุตสาหกรรม

ในพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ โดยการใช้เทคโนโลยี 2. จานวนหลกั สูตรท่สี อดคลอ้ งกบั การพฒั

สมัยใหม่ ดา้ นท่องเท่ยี ว การเกษตร และอตุ สาหก

แผ

ความเข้าใจ โครงการ หนว่ ยงานเจ้าภาพหลกั

องเทย่ี ว ๑. โครงการจดั ทาหลักสตู รการเรยี นการสอน -สถาบนั การอาชีวศึกษาเกษตร
ด้านเทคโนโลยเี กย่ี วกบั ปาลม์ และยางพารา ภาคใต้
ฒนา -สถาบันการอาชวี ะศกึ ษา
กรรม 2. โครงการพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเที่ยวในพ้นื ท่ี ภาคใต้ 2 รว่ มกับ ศธภ.5
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้

ผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 86

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

กลยุทธ์ ตวั ช้ีวัดภายใต้กลยุทธ์

1. ส่งเสรมิ การเข้าถึงการบรกิ ารการศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพ 1. ร้อยละของประชากรกลุม่ อายุ 4-16 ป
ตามช่วงวัยและตามศักยภาพ เข้าเรยี นประถมศกึ ษาและมัธยมตอนต

2. รอ้ ยละของประชากรกลุม่ อายุ 15-17
ไดเ้ ข้าเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลายและเ

2. ส่งเสริม สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาโดยการมีส่วนรว่ ม 1. รอ้ ยละของแหล่งเรียนรทู้ ไ่ี ดร้ บั การพฒั น
ของทุกภาคสว่ น เพื่อสร้างความเสมอภาค จัดการศกึ ษา/จัดการเรยี นรู้ ภายใตก้ าร
ทางการศกึ ษา จากภาครฐั ภาคเอกชนหรือหนว่ ยงานท
เพม่ิ ข้ึน
3. ส่งเสริม สนบั สนนุ การสรา้ งแพลทฟอร์มการเรียนรู้
และการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั เพอ่ื เสริมสร้างทักษะ 2. รอ้ ยละของหนว่ ยงานทางการศกึ ษาที่ม
สมรรถนะทจี่ าเป็นให้ตอบสนองกบั ความต้องการ การมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา
ของสถานประกอบการ และธรุ กจิ การทอ่ งเทยี่ ว
1. รอ้ ยละแหล่งเรยี นรทู้ ่ีมีระบบเครือข่าย
4. ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมาศึกษาตอ่ ในสายอาชีพให้สงู ขน้ึ ดจิ ิทลั เพื่อการศกึ ษาทีท่ ันสมยั
โดยสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษา สวสั ดกิ ารต่าง ๆ
โดยความร่วมมือของเครือขา่ ยสถานประกอบการ 1. รอ้ ยละของผเู้ รียนระบบทวภิ าคีเพิ่มสงู ข
ทัง้ ในและต่างประเทศ

แผ

ปี โครงการ หน่วยงานเจา้ ภาพหลกั
ตน้ ทกุ คน
1. โครงการพัฒนาทกั ษะการเรยี นร้ใู หส้ อดคล้อง - ศธภ.5
ปี กับศตวรรษที่ 21 - ศธจ. สรุ าษฎรธ์ านี
เทียบเท่า
2. โครงการพฒั นาหลักสูตรการผลิตแรงงาน ศธภ.5
นาให้สามารถ ได้ตามความสามารถเฉพาะบคุ คลและสอดคลอ้ ง
รสนบั สนนุ กบั มาตรฐานแรงงาน
ท่เี กี่ยวข้อง
3. โครงการพฒั นาศักยภาพเด็กในวัยเรียน วยั รุน่
ท่มี ีความพิการ

1. โครงการพัฒนารว่ มมือจากภาครัฐ ภาคเอกชนและ
ภาคประชาสงั คมเพือ่ สนบั สนุนแหลง่ เรียนรู้ด้านอาชพี

มีเครือขา่ ย

ยเทคโนโลยี 1. โครงการแพลทฟอรม์ การจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นา - ศธจ.พงั งา รว่ มกบั ศธภ.5
ข้ึน การทอ่ งเท่ยี วท่เี ข้มแข็งและย่งั ยนื
- ศธจ.พงั งา รว่ มกับ ศธภ.5
2. โครงการเครอื ขา่ ยแพลทฟอร์มเพือ่ การจัดการศกึ ษา
รองรับธุรกิจการทอ่ งเทีย่ วในภมู ภิ าค - ศธจ. สุราษฎร์ธานี
- ศธจ. ตรัง รว่ มกบั ศธภ.5
1. โครงการสง่ เสรมิ สนบั สนุนผเู้ รยี นศกึ ษาต่อสายอาชพี
2. โครงการ 1 ตน้ กล้าอาชพี 1 สถานประกอบการ

ผนพฒั นาดา้ นการศึกษาระดับกล่มุ จังหวัดภาคใต้ฝ่งั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 87

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจดั การศกึ ษาเพื่อเสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวิตทเี่ ป็นมิตรกบั ส

กลยทุ ธ์ ตัวชี้วัดภายใตก้ ลยุทธ์

1. ส่งเสรมิ การสรา้ งจติ สานึกรกั สิง่ แวดล้อม 1. ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมีคณุ ลักษณะและพ

ที่พึงประสงคด์ า้ น สง่ิ แวดลอ้ มและคณุ ภ

2. รอ้ ยละของหนว่ ยงานทางการศกึ ษาทมี่

โครงการสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจและคว

แกเ่ ดก็ เยาวชนและชุมชนในการรกั ษ์ส

2. ส่งเสริม สนับสนุนการพฒั นาหลักสตู ร 1. จานวนงานวิจยั นวัตกรรม ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

และกระบวนการจดั การเรียนรู้ เพ่ือสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพ กับการเสริมสร้างคณุ ภาพชีวิตท่เี ปน็ มิต

ชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม กบั สิ่งแวดลอ้ ม

2. จานวนสถานศกึ ษาทม่ี ีภาคเี ครอื ข่ายกา

ในกระบวนการจดั การเรยี นรดู้ ้านส่งิ แว

แผ

สิ่งแวดล้อม โครงการ หนว่ ยงานเจ้าภาพหลกั

พฤติกรรม 1. พฒั นาและจัดทาฐานขอ้ มลู แหล่งเรยี นรูพ้ ลังงาน - ศธจ.สงขลา
ภาพชวี ิตท่ีดี ทดแทนของจงั หวัดภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย - ศธจ.สงขลา
มแี ผนงาน/ - ศธจ.พทั ลุง
วามตระหนกั 2. ส่งเสรมิ การศึกษาแหลง่ เรยี นรดู้ ้านพลังงานทดแทน
สงิ่ แวดล้อม จังหวัดภาคใตฝ้ ั่งอา่ วไทย - ศธจ.สงขลา

ตร 3. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มดา้ นทรัพยากร ธรรมชาติ - ศธจ.พัทลงุ
ารมสี ่วนรว่ ม และสิง่ แวดล้อมใหร้ องรับการเปลยี่ นแปลงของพื้นท่ี - กศน.ภาคใต้
วดล้อม จังหวดั ภาคใตฝ้ ั่งอา่ วไทย - ศธจ.นครศรธี รรมราช

4. เสรมิ สร้างการรับรู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนกั - ศธจ.สุราษฎรธ์ านี
และสง่ เสรมิ คณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงค์ - ศธจ.สรุ าษฎร์ธานี
ด้านสิง่ แวดล้อม

1. สง่ เสริม อนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟทู รัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดล้อมอย่างย่ังยนื

2. ส่งเสรมิ ระบบปอ้ งกันและแกป้ ญั หาความเส่ือมโทรม
ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

3. ส่งเสรมิ การวจิ ัยพฒั นาส่ิงประดษิ ฐ์และนวัตกรรม
ทเี่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม ใหส้ ามารถเปน็ อาชีพ
และสรา้ งรายได้

4. การจดั กระบวนการเรยี นรดู้ า้ นสิ่งแวดล้อม
โดยการมีส่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ย

5. สง่ เสริมการจัดการเรียนรดู้ ้านสงิ่ แวดล้อม
โดยใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล

ผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวัดภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 88

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การปรบั สมดุลและการพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การทางก

กลยุทธ์ ตวั ชีว้ ดั ภายใตก้ ลยุทธ์

1. ส่งเสริมใหม้ กี ารบรหิ ารจัดการโดยการมสี ่วนรว่ ม จานวนสถานประกอบการที่มสี ่วนร่วม

ของผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียหรอื หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง ในการจดั การศกึ ษารูปแบบทวิภาคี

ตามบทบาทหนา้ ที่

2. ส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั ระบบข้อมลู สารสนเทศกลาง 1. อตั ราการเขา้ ถงึ ข้อมลู ด้านการศึกษา

ดา้ นการศกึ ษาและทีเ่ กย่ี วขอ้ ง รองรบั เขตอตุ สาหกรรม 2. อัตราสว่ นการเข้าใช้ฐานขอ้ มูลสารสนเท

และสภาพทอ้ งถ่นิ เพอ่ื เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ าร คน อุตสาหกรรม เพื่อตอบสนองเขตอุต

และจดั การศึกษา และสภาพปญั หาของท้องถน่ิ

3. สง่ เสรมิ การพัฒนากาลงั คนใหม้ คี วามรูก้ ารบริหาร 1. ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาภาคบงั คับเ

จดั การตน้ ทนุ การผลิต การทาการเกษตรทฤษฎใี หม่ ในสถาบันอาชีวะ

การใช้เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการเพาะปลกู 2. ร้อยละของผเู้ ขา้ รบั การศกึ ษามคี วามรู้ ค

และการแปรรปู ในการผลติ ภาคเกษตรแนวใหม่

4. ผลิตและพฒั นากาลังคนเพอ่ื รองรับการใชเ้ ทคโนโลยี 1. อัตราการขยายตวั ของมูลค่าของสนิ คา้ เ
ดิจิทลั และนวัตกรรมในการผลติ และบรหิ ารจดั การ ปลอดภยั
อยา่ งเป็นระบบ
2. ร้อยละของคนท่สี ามารถใช้เทคโนโลยสี
3. ร้อยละของเกษตรกรและชุมชนมคี วามเ

ในระดบั มาตรฐาน

แผ

การศึกษา โครงการ หน่วยงานเจา้ ภาพหลกั

ทศด้านขอ้ มูล 1. ส่งเสรมิ ความเข้มแขง็ องค์คณะบคุ คล - ศธจ.พัทลุง
ตสาหกรรม 2. โครงการส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของภาคเอกชน
- ศธภ.5
ในการจดั การศกึ ษารปู แบบทวิภาคี

1. โครงการพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู กลางดา้ นการศกึ ษา
(Big Data) และกาลังคนเพอื่ รองรบั เขตอตุ สาหกรรม
และสภาพท้องถน่ิ

เข้าศกึ ษา 1. โครงการพฒั นาศักยภาพและสมรรถนะผบู้ รหิ าร - สถาบันการอาชีวศึกษา
ความเขา้ ใจ
ในสถาบนั อาชีวะภาคใต้ ในด้านการผลติ และพฒั นา เกษตรภาคใต้
เกษตร
สมยั ใหม่ กาลังคนเพอื่ เตรียมความพรอ้ มในการผลติ ภาคเกษตร
เขม้ แข็ง
แนวใหม่

2. โครงการจัดทาฐานข้อมลู สารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ - สอศ.ภาคใต้

จากภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ด้านเกษตรแบบผสมผสาน

3. โครงการพฒั นาศกั ยภาพและสมรรถนะทางวชิ าชพี - ศธจ.สงขลา

เพื่อรองรบั การพฒั นาการผลติ สนิ ค้าเกษตร

1. โครงการส่งเสรมิ การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมการ - ศธจ.ชุมพร

ผลติ สินค้าทางการเกษตร

2. โครงการพฒั นาศกั ยภาพใหค้ วามรู้ในการดาเนนิ งาน - สถาบนั การอาชีวศึกษา

อตุ สาหกรรมโอเลโอเคมคี อล ภาคใต้ 1

ผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกล่มุ จงั หวดั ภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 89

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 7 การปฏิรปู การศกึ ษาในภมู ภิ าค รองรับการพัฒนาภาคใตฝ้ ง่ั อ

กลยุทธ์ ตวั ชว้ี ัดภายใต้กลยุทธ์

1. ผลิตและพฒั นากาลงั คนเพ่อื รองรับการพัฒนา 1. รอ้ ยละของประชากรวยั แรงงานสามารถ
เขตอุตสาหกรรมแปรรปู ยางพาราหาดใหญ่ - สะเดา ในอตุ สาหกรรมแปรรปู ยางพาราได้อย่า
ทีค่ รบวงจรและเป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม ประสิทธภิ าพ

2. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรบั การพัฒนา 1. รอ้ ยละของประชากรวยั แรงงานในเขตจ
เขตอุตสาหกรรมโอเลโอเคมคี อลแบบครบวงจร ชุมพร สรุ าษฏรธ์ านี มคี วามรู้ความเข้าใ
ในจังหวดั กระบ่ี สรุ าษฎร์ธานี และชมุ พร อตุ สาหกรรมโอเลโอเคมคิ อล

3. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการใช้เทคโนโลยี 1. รอ้ ยละของผู้เข้ารับการศึกษามคี วามรู้ ค
ชวี ภาพและนวัตกรรมในการผลิตภาคเกษตร ในการผลติ ภาคเกษตรแนวใหม่

4. ผลิตและพฒั นากาลงั คนเพอื่ การยกระดบั สินคา้ เกษตร 1. อัตราการขยายตวั ของมูลคา่ ของสินคา้
ท่ีเป็นอตั ลกั ษณ์ที่เหมาะสมกบั ศักยภาพพน้ื ทีข่ องภาค เกษตรอตั ลกั ษณพ์ ้นื ถน่ิ

5. ผลติ และพฒั นากาลงั คนเพื่อรองรบั การยกระดบั สนิ ค้า 1. อตั ราการขยายตัวของมลู คา่ ของสนิ ค้าเก
ทางการเกษตรใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล 2. ดชั นคี วามเชอ่ื มน่ั ผู้บรโิ ภค ด้านคณุ ภาพ

6. ผลิตและพฒั นากาลังคนเพือ่ รองรับการทาการเกษตร และความปลอดภัยอาหาร
แบบผสมผสาน
1. รอ้ ยละของเกษตรกรท่ีสามารถทาการเก
แบบผสมผสาน

2. จานวนวิสาหกจิ ชุมชนและผลติ ภณั ฑ์จา

แผ

อ่าวไทย โครงการ หน่วยงานเจา้ ภาพหลกั

ถปฏบิ ตั งิ าน 1. โครงการพฒั นาศกั ยภาพประชากรวัยแรงงาน - สถาบนั การอาชวี ศกึ ษา
างมี รองรับอตุ สาหกรรมแปรรูปยางพารา ภาคใต้ 3

จงั หวัดกระบี่ 1. โครงกากรพัฒนาศักยภาพให้ความรูใ้ นการดาเนนิ งาน - สถาบันการอาชีวศกึ ษา

ใจในเร่ือง อตุ สาหกรรมโอเลโอเคมคี อล ภาคใต้ 1

ความเขา้ ใจ 1. โครงการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะผบู้ รหิ าร - สถาบันการอาชวี ศึกษา
ในสถาบนั อาชวี ะภาคใต้ ในดา้ นการผลิตและพัฒนา ภาคใต้ 2 รว่ มกบั ศธภ.5
กษตรปลอดภยั กาลงั คนเพอ่ื เตรียมความพรอ้ มในการผลติ ภาคเกษตร
พ แนวใหม่ - ศธจ.นครศรีธรรมราช

1. โครงการพัฒนาศกั ยภาพและสมรรถนะทางวิชาชพี - ศธจ.สงขลา
เพ่อื รองรับการพัฒนาการผลิตสนิ คา้ เกษตร
เป็นอตั ลักษณท์ ีเ่ หมาะสมกับศักยภาพพน้ื ทข่ี องภาค

1. โครงการพัฒนาศกั ยภาพและสมรรถนะทางวชิ าชพี
เพือ่ รองรับการพัฒนาการผลติ สนิ ค้าเกษตร

กษตร 1. โครงการจดั ทาฐานข้อมลู สารสนเทศเพอื่ การเรยี นรู้ - ศธจ.ภูเกต็ ร่วมกบั ศธภ.5
ากชีวภาพ จากภูมิปญั ญาท้องถิ่นด้านเกษตรแบบผสมผสาน
- สถาบนั การอาชีวศกึ ษา
2. โครงการบม่ เพาะผู้เรียนสูก่ ารเป็นผูป้ ระกอบการ ภาคใต้ 2 รว่ มกับ ศธภ.5
วสิ าหกิจชมุ ชน

ผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกลุม่ จงั หวัดภาคใตฝ้ งั่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 90

กลยทุ ธ์ ตวั ชี้วัดภายใต้กลยุทธ์

7. ศึกษา วิจัย ผลติ และพัฒนากาลังคนเพอื่ รองรับ 1. อัตราการขยายตวั ของผลติ ภณั ฑม์ วลรว
การพฒั นาประตูการค้าในพนื้ ท่ีระเบยี งเศรษฐกจิ ของพ้นื ท่ีระเบียงเศรษฐกจิ ภาคใต้
ภาคใต้

8. ศกึ ษา วิจัย ผลติ และพฒั นากาลงั คนเพื่อรองรับ 1. มลู คา่ การลงทนุ ในพน้ื ทรี่ ะเบยี งเศรษฐก
การพฒั นาอตุ สาหกรรมฐานชีวภาพและ การแปรรูป
การเกษตรมลู คา่ สงู (Bio-Based & Processed 1. จานวนเมืองในพื้นที่ระเบยี งเศรษฐกิจภ
Agricultural Products) ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาให้เป็นเมืองน่าอยู่

9. ศกึ ษา วิจัย ผลติ และพฒั นากาลังคนเพือ่ รองรบั การ
อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ การสง่ เสริมวัฒนธรรม
และการพฒั นาเมอื งน่าอยู่ (Green Culture &
Livable Cities)

แผ

วม โครงการ หนว่ ยงานเจ้าภาพหลกั
กิจภาคใต้
ภาคใต้ 3. โครงการพฒั นาชวี วถิ ีโดยใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพ สถาบนั การอาชีวศึกษา
สู่การพฒั นาเกษตรยงั่ ยืน เกษตรภาคใต้

1. โครงการสง่ เสรมิ การทาวจิ ยั ดา้ นการท่องเท่ียว - สถาบันการอาชีวศกึ ษา
เพ่ือพัฒนาพน้ื ทร่ี ะเบียงเศรษฐกจิ ภาคใต้ ภาคใต้ 2 ร่วมกับ ศธภ.5

2. โครงการพัฒนาหลักสตู รเพือ่ สง่ เสริมการแปรรูป - สถาบนั การอาชีวศึกษา
ผลิตภณั ฑ์ในพ้ืนท่ีระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคใต้ เกษตรภาคใต้

1. โครงการสรา้ งจิตสานกึ การอนรุ กั ษท์ รัพยากร - กศน.สงขลา
ทางทะเล ป่าไมแ้ ละ ปา่ ชายเลน ให้มคี วามอดุ มสมบรู ณ์
และสวยงาม

1. โครงการเผยแพร่และอนุรักษว์ ฒั นธรรมพ้นื บ้าน - กศน.สงขลา
2. โครงการพัฒนารูปแบบการบรหิ ารจัดการขยะ - กศน.สงขลา

มูลฝอยเพือ่ สร้างเมืองน่าอยู่ (Smart Green City)

ผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 91

แผนภาพ : ความเชอ่ื มโยงสาระสาคญั ของแผนพัฒนาดา้ นการศกึ

วสิ ัยทศั น์ “คนไทยทุกคนได้รับการพฒั นาศักยภาพละการเรียนร
พนั ธกิจ
1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา 2. เสริมสร้างทกั ษะการเรยี นรูต้ ลอดช่วงชีวิต 3. เสริมสร้างความสามารถในการ 4. ก
ประเด็นยุทธศาสตร์ ศักยภาพคนไทยทุกช่วงวัยให้มีความรู้ อย่างมีคุณภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ แข่งขันและรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง ความ
เป้าประสงค์เชงิ และคุณธรรม พอเพยี ง ของศตวรรษที่ 21
4. คน
ยุทธศาสตร์ 1. การพฒั นาและเสริมสรา้ ง ศักยภาพ 2. การพฒั นาการศึกษาเพอื่ ความมั่นคง 3. การสรา้ งความสามารถ ในการแข่งขนั อยา่ งเ
ทรพั ยากรมนุษย์
กลยทุ ธ์/มาตรการ 2 . ค น ไ ท ย ทุ ก ช่ ว ง วั ย มี คุ ณ ภ า พ 3. คนไทยมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาทุกช่วงวัย 1. ส
1. คนไทยทุกชว่ งวยั มคี ุณภาพ ไดร้ ับการ มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ การศ
พัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย ตามความถนัด และมีความสามรถ ตามศ
สติปัญญา และคุณธรรม จริยธรรม 1. เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบัน ของพหุปัญญาเพื่อพัฒนาตนเองตาม 2. ส
เป็นผู้ที่มีความรู้ มีทักษะ รักการเรียนรู้ หลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทักษะทีจ่ าเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 โดย
อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อส
2. ปลกู ฝังคณุ ธรรมจริยธรรมคา่ นิยมท่ดี งี าม 1. สง่ เสริม สนบั สนุนการจดั การอาชีวศึกษา 3. ส
1. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา และการดารงชีวิตตามหลักของเศรษฐกิจ เพ่ือพัฒนาและผลิตกาลังคนระหว่าง ฟอร
เพ่ือพัฒนาทักษะคนทุกช่วงวัยให้มีความรู้ พอเพยี ง ภาคสว่ นท่เี ก่ยี วข้อง ให้ตรงตามศักยภาพ ดิจิท
ความสามารถ ตามศกั ยภาพในศตวรรษท่ี 21 3. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ความต้องการของตลาดแรงงาน ในพื้นที่ ที่จาเ
2. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาครูและ เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยคุกคามทุก และตลาดสากล ของส
บุคลากรทางการศึกษา ใหม้ สี มรรถนะสงู รปู แบบ 2. สนบั สนุนการวิจยั และส่งเสรมิ การจดั ทอ่ งเ
สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ การศึกษาเพื่อผลิตกาลังคนรองรับการ 4. ส
ท่ี 21 ท่องเท่ียวท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของ อาชีพ
3. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา พ้ืนท่ี ส วั ส
เพ่ือการผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีทักษะ 3. ผลักดันให้สถาบันอาชีวะศึกษาท่ีมี ของเ
สมรรถนะ และมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ ความพร้อมผลิต และพัฒนากาลังคน และต
ตามความต้องการของสถานประกอบการ รองรับการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
เพือ่ ยกระดับมาตรฐานการบรกิ าร ในการผลิตภาคเกษตร
4. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา 4. ส่งเสริมการพัฒนาการจดั การศึกษา
เพ่ือการผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อสร้าง สายอาชีพเพ่ือรองรับการท่องเท่ียว
ความเข้มแข็ง ให้กับเกษตรกรและชุมชน การเกษตรและอุตสาหกรรม ในพ้ืนที่
อย่างยงั่ ยนื ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ โดยการใช้
5. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา เทคโนโลยสี มยั ใหม่
ตามพหปุ ัญญาของคนทกุ ชว่ งวยั

แผ

กษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่งั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565)

ร้ตู ลอดช่วงชวี ิตอยา่ งมคี ณุ ภาพ รองรบั ยุทธศาสตร์การพฒั นาภาคใตฝ้ ัง่ อ่าวไทย”

4. เสรมิ สรา้ งโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเทา่ เทียม 5. สง่ เสรมิ การบริหารการจัดการแบบมีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาล

การสร้างโอกาสและ 5. การจัดการศกึ ษาเพื่อเสริมสรา้ ง 6. การปรบั สมดลุ และการพฒั นาระบบการ 7. การปฏิรปู การศกึ ษาในภมู ภิ าค
มเสมอภาคทางการศกึ ษา คณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม บรหิ ารจัดการทางการศกึ ษา รองรับการพฒั นาภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย

นไทยทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษา 5. การจัดการศึกษาได้รับการส่งเสริม 6. การบรหิ ารจดั การศกึ ษาท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ 7.การขับเคล่ือนและการพัฒนาด้านการศกึ ษา
งเตม็ ตามศกั ยภาพ สนับสนุนจากทุกภาคส่วนของสังคม ใ น ส่ วน ภู มิ ภา ค เ พ่ื อ ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ
เพ่ือให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร 1. ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการโดย การศกึ ษาของผูเ้ รียนให้ไดม้ าตรฐานและ
ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก า ร บ ริ ก ก า ร กับส่งิ แวดลอ้ ม การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามมาตรฐาน
ศึกษาท่ีมีคุณภาพตามช่วงวัยและ หรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องตามบทบาท การศึกษาของชาติ
ศกั ยภาพ 1. ส่งเสรมิ การสร้างจิตสานึก หน้าท่ี
ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา รกั สง่ิ แวดล้อม 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดระบบข้อมูล 1. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการ
ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ทุ ก ภ า ค ส่ ว น 2. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการพฒั นา ส า ร ส นเทศกลา ง ด้านการศึกษาและ พั ฒ น า เ ข ต อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ป ร รู ป ย า ง พ า ร า
สรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา หลักสตู ร และกระบวนการจัดการเรียนรู้ ท่ี เก่ี ยวข้ อง รองรั บเขตอุตสาหกรรม หาดใหญ่-สะเดา ท่ีครบวงจรและเป็นมิตรกับ
ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างแพลท เพอื่ สร้างเสริมคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ป็นมติ ร และสภาพท้องถ่ิน เพอื่ เพมิ่ ประสิทธภิ าพ สิ่งแวดลอ้ ม
ร์มการเรียนรู้ และการใช้เทคโนโลยี กบั สงิ่ แวดลอ้ ม การบริหารและจัดการศึกษา 2. ผลิ ตและพั ฒนาก าลั งคนเพื่ อรองรั บ
ทัลเพ่ือเสริมสร้างทักษะ สมรรถนะ 3. ส่งเสริมการพัฒนากาลังคนให้มีความรู้ การพฒั นา เขตอตุ สาหกรรมโอเลโอเคมคี อลแบบครบ
เป็นให้ตอบสนองกับความต้องการ การบริหารจัดการต้นทุนการผลิต การทา วงจร ในจังหวดั กระบี่ สรุ าษฎร์ธานี และชมุ พร
สถานประกอบการ และธุรกิจการ การเกษตร ทฤษฎีใหม่ การใช้เทคโนโลยี 3. ผลิ ตและพั ฒนาก าลั งคนเพ่ื อรองรั บ
เที่ยว และนวัตกรรมในการเพาะปลกู และการ การใช้ เทคโนโลยี ชี วภาพและนวั ตกรรม
ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมาศึกษาต่อในสาย แปรรูป ในการผลติ ภาคเกษตร
พให้สูงข้ึนโดยสนับสนุนทุนการศึกษา 4. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับ 4. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อการยกระดับ
สดิการต่าง ๆ โดยความร่วมมือ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม สินค้าเกษตรท่ีเป็นอัตลักษณ์ที่เหมาะสมกับ
เครือข่ายสถานประกอบการท้ังใน ในการผลิตและบริหารจัดการอย่างเป็น ศกั ยภาพพน้ื ทข่ี องภาค
ต่างประเทศ ระบบ 5. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการ
ย ก ร ะ ดั บ สิ น ค้ า ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ใ ห้ ไ ด้
มาตรฐานสากล
6. ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการทา
การเกษตรแบบผสมผสาน
7. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อ
รองรบั การพฒั นาประตูการค้าในพื้นท่ีระเบียง
เศรษฐกจิ ภาคใต้
8. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือ
ร องรับ การ พัฒนาอุต สาห กร ร มฐ า นชี ว ภ า พ
และ การแปรรูปการเกษตรมูลค่าสูง (Bio-
Based & Processed Agricultural
Products)
9. ศึกษา วิจัย ผลิตและพัฒนากาลังคนเพ่ือ
รองรับการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติการ
ส่งเสริมวัฒนธรรม และการพัฒนาเมืองน่าอยู่
(Green Culture & Livable Cities)

ผนพฒั นาดา้ นการศกึ ษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 92

แผนผังความเชื่อมโยงแผน 3 ระดับ ของประเทศสแู่ ผนพฒั นาดา้ นกา
แผ

ารศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้ฝัง่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)
ผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับกลุม่ จงั หวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 93

สว่ นท่ี 4
การแปลงแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ิ

การขับเคล่ือนแผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดบั กลมุ่ จังหวดั ภาคใต้ฝงั่ อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565)
ไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ท่ีกาหนดไว้ จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือ
จากภาคสว่ นต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง โดยใชก้ ลไกในการขับเคล่อื นทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่ การแปลงแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏบิ ัติ

การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565)

เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่จะชี้นาการจัดการศึกษาในระดับพ้ืนที่กลุ่มภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย เพ่ือใช้เป็นกรอบ
แนวทางในการวางแผนพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ความรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 5
ได้แก่ จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา ให้เกิดความเชื่อมโยง
การดาเนินงานเชิงบูรณาการ ในพ้ืนท่ีอย่างเป็นรูปธรรมและสามารถแก้ไขปัญหาทางการศึกษา
ท่ีเกิดขึ้นรวมถึงตอบสนองต่อความต้องการของพ้ืนที่ได้อย่างเหมาะสม การแปลงแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศึกษาภาค 5เพื่อไปสู่การปฏิบัติจะบังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม จาเป็นต้องอาศัย
ความร่วมมือจากทุกภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้อง ในการขับเคล่ือนโดยยึดหลักการบริหารจัดการ
แบบมสี ่วนร่วมเนน้ การบรู ณาการ โดยมีกลไกการแปลงแผนพัฒนาการศกึ ษาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

1. การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับสาระสาคัญของแผนพัฒนาด้านการศึกษา
ระดับกล่มุ จังหวดั ภาคใต้ฝงั่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) และวธิ ีการนาแผนไปใช้ให้กบั หน่วยงาน
ทีเ่ กี่ยวข้องรวมท้งั สว่ นราชการต่าง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การจดั การศึกษา คือ

1.1 ระดับภูมภิ าค ไดแ้ ก่ สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคใต้ 1 ประกอบด้วย สถานศึกษา
อาชีวศกึ ษาทอ่ี ยใู่ นท้องทจี่ งั หวัดชมุ พร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี จังหวดั นครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ประกอบด้วย สถานศึกษาอาชีวศึกษาท่ีอยู่ในท้องท่ีจังหวัดสงขลา
สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยภาคใต้ และส่วนราชการอืน่ ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งในภูมภิ าค

1.2 ระดับจังหวัด ได้แก่ สานักงานศึกษาธิการจังหวัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย สถาบนั การศกึ ษา สถานศึกษาสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1.3 ระดับท้องถ่ิน ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สานักงานเทศบาลนคร/เมือง /
ตาบล สถานศึกษาในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย รวมถึงภาคเอกชน
และประชาชน ซง่ึ จาเป็นจะต้องสร้างความเข้าใจถึงการพฒั นาการศึกษา และบทบาทหน้าทขี่ องแต่ละ
ส่วนจะเข้าไปเก่ียวข้อง เพื่อให้เกิดการบูรณาการ ในการดาเนินงานร่วมกันอย่างต่อเน่ือง และ
ขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายเดียวกันโดยการจัดประชุมช้ีแจงให้แก่หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์
สร้างความรู้ความเข้าใจผ่านสอื่ ในรปู แบบต่าง ๆ

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกล่มุ จงั หวัดภาคใตฝ้ ัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 94

2. การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาในระดับพ้ืนท่ีอย่างเป็นระบบ
ต้งั แตก่ ระบวนการวางแผน ร่วมคดิ ร่วมทา ร่วมติดตามและประเมินผล เพอ่ื เป็นการเตรยี มตอบสนอง
ต่อวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
(พ.ศ. 2563 – 2565)

3. การขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาการศึกษาในพื้นที่เป้าหมายโดยสนับสนุนให้หน่วยงาน
ทางการศึกษามีการจัดทาโครงการเพ่ือขอรับการสนับสนุนด้านงบประมาณในการลงทุนแก้ไขปัญหา
การศึกษาภายใตแ้ ผน ฯ ดังกลา่ ว เพ่อื การจัดการคุณภาพการศึกษาในระดับภาค ระดบั จงั หวัด รวมท้งั
มีระบบการติดตามและประเมินผลการดาเนินโครงการ เพ่ือให้สามารถแก้ไขปัญหาทางการศึกษา
ในพน้ื ท่ไี ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

4. การขับเคลื่อนแผนพัฒนาด้านการศึกษา สานักงานศึกษาธิการภาค 5 ได้ผลักดัน
โครงการสาคัญภายใต้ประเดน็ ยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
(พ.ศ. 2563 – 2565) บรรจุภายใต้แผนปฏิบัติราชการ/งบประมาณประจาปีของกระทรวงศึกษาธิการ
เพื่อเป็นกลไกด้านงบประมาณให้แก่สานักงานศึกษาธิการภาค และสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
ซ่ึงจะเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาในพ้ืนท่ีอย่างเร่งด่วน เพ่ือแก้ไขปัญหาทางการศึกษา
ในชว่ ง 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) โดยมีโครงการสาคญั ในแต่ละยุทธศาสตร์ ต่อไป

5. การจัดทาฐานข้อมูลในทุกระดับ รวมถึงการสร้างเครือข่ายข้อมูล เพื่อใช้ประโยชน์
ในการตดั สินใจและการบรหิ ารจัดการร่วมกนั ระหวา่ งหนว่ ยงาน

แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกล่มุ จงั หวัดภาคใตฝ้ ง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 95

ส่วนท่ี 5
การตดิ ตาม ประเมนิ ผลการขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาด้านการศกึ ษา

การติดตามผล (Monitoring) และการประเมินผล (Evaluation) ถือเป็นเรื่องที่สาคัญมาก
ในการขับเคล่ือนแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 –
2565) ซึ่งรับผิดชอบกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย คือ จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช
พัทลุง และ สงขลา เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเฉพาะอย่างย่ิง
การบริหารจดั การศึกษาดว้ ยกระบวนทัศน์ใหม่ (New paradigm) ท่มี งุ่ เนน้ การบริหารเชิงยทุ ธศาสตร์
แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result base management) ซ่ึงเป็นการมองการบริหารและการจัดการศึกษา
แบบองค์รวมที่ให้ความสาคัญท้งั เรื่องผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ท่เี กิดขนึ้ ในทุกระดับทุกขั้นตอน
จากขับเคล่ือนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทยสู่การปฏบิ ัติ (Implementation)
ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิดังกล่าว จะสะท้อนภาพให้ผู้เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาได้เห็นรูปธรรม
ของกระบวนการด้านการติดตามผล และประเมินผลอย่างแท้จริง ดังน้ัน บทบาทของการติดตามผล
และประเมนิ ผล จึงมีความสาคัญมากยง่ิ ข้ึน

นอกจากการเป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนตามกระบวนการขับเคล่ือนแผนพัฒนาด้านการศึกษา
ยังเปรียบเสมือนกระจกสะท้อนภาพความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการดาเนินงานด้านการจัดการศึกษา
ในระดับต่าง ๆ ในเชิงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลสัมฤทธ์ิ ความคุ้มค่า และผลกระทบต่อ
ผู้ที่มสี ่วนเก่ยี วข้องในมิตติ ่าง ๆ เพอื่ นาจุดบกพร่องกลับมาปรบั ปรงุ แก้ไขการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
ให้มีประสิทธิภาพ ท้ังยังสามารถนามาใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision making)
ของผู้เก่ียวข้อง ในกรณีท่ีต้องการดาเนินการตามยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม
ในลักษณะท่ีใกล้เคียงกันในอนาคตอีกด้วย กระบวนการทางยุทธศาสตร์ (Strategic process)
การระบุสภาพปัจจุบัน ปัญหา (Problem structure) การกาหนดยุทธศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาและการพัฒนา
(Strategic formulation) การแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ (Strategic adoption) การนายุทธศาสตร์
ไปปฏิบัติ (Strategic implementation) การติดตามผล (Strategic monitoring) การประเมินผล
(Strategic evaluation) ท้ังนี้ การประเมินผลที่ดีจาเป็นจะต้องได้รับความเข้าใจและการยอมรับ
จากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกกลุ่ม และทุกประเภทการศึกษา ประเมิน
จะต้องมีทัศนคติที่ดี มีความเป็นกลาง ปราศจากอคติและสามารถเลือกใช้ข้อมูลสนับสนุน
ทั้งในเชิงคุณภาพและเชงิ ปรมิ าณ รวมไปถงึ การเลอื กใชแ้ นวคดิ ทฤษฎี ตวั ชี้วดั (KPI) ท่เี หมาะสม

สาหรับช่วงเวลาของการติดตามผล และประเมินผลการขับเคล่ือนแผนพัฒนาด้านการศึกษา
ระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย สู่การปฏิบัติ โดยทั่วไปแล้วการติดตามผลและการประเมินผล
การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติสามารถดาเนินการได้ในทุกระดับของ
กระบวนการดาเนินงานทั้งการประเมินผลก่อนเริ่มดาเนินงาน (Preliminary evaluation) การประเมินผล
ในภาพรวม (Formative/Implementation evaluation) หรือการประเมินผลการนายุทธศาสตร์
ไปปฏิบตั ิ ซง่ึ ก็คือ การดาเนนิ งานตามกลยุทธ์ แผนงานโครงการ หรอื กิจกรรมทเี่ กย่ี วข้อง และการประเมินผล
เม่ือการดาเนนิ การไดเ้ สร็จส้นิ ไปแลว้ (Summative evaluation)

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลุม่ จงั หวัดภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 96

อนึ่ง ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน 2560
ซ่ึงเป็นไปตามระบบและโครงสร้างการศึกษาในประเทศไทยเป็นการศึกษาที่จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นส่วนใหญ่ ภาครัฐโดยสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้จดั การศึกษาหลัก และขยาย
การจัดการศึกษาไปสู่องค์การปกครองส่วนท้องถ่ินตามนโยบายการกระจายอานาจสู่พ้ืนที่ สาหรับ
หน่วยงานอ่ืนจัดการศึกษาเป็นการเฉพาะ และเปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา ซึ่งแต่ละ
สว่ นราชการจะมีโครงสรา้ งหนว่ ยงานภายในระดบั พ้ืนที่ สาหรับการดาเนนิ การวิเคราะหส์ ภาพปัจจุบัน
ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis ผลการศึกษาข้อมูลก่อนเริ่ม
ดาเนินการ (Positional preview) ดังกล่าวข้างต้นได้ถูกนามาใช้ในการกาหนดยุทธศาสตร์พัฒนา
การศึกษา รวมทั้งการนาไปใช้เป็นข้อสังเกตสาคัญในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับ
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ซึ่งมีผู้แทนจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจานวนมากทั้งหน่วยงาน
ในระดับ Regulator และหน่วยงานระดับ Provider หรือหน่วยงานระดับปฏิบัติการในพื้นที่ดังกล่าว
ดังนั้น การติดตามผลและประเมินผลในรายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม
จึงต้องมีการศึกษาสภาพปัจจุบันในแต่ละหน่วยงานเป็นเบ้ืองต้น เพื่อเป็นตัวเทียบวัด (Bench mark)
ความก้าวหน้าและความสาเร็จตามองค์ประกอบของการติดตามประเมินผลท่ีกาหนด อีกทั้งเพ่ือให้
กา ร ติ ด ต า มป ร ะเ มิน ผ ล ส า เ ร็ จ ส อด คล้ อง กับ แ ผ น พั ฒ น า ด้ า น กา ร ศึกษา ร ะดั บ กลุ่ มจั ง ห วั ด ภ า คใ ต้
ฝั่งอา่ วไทย ผ้ปู ระเมนิ จะต้องทาการศึกษาตวั ชี้วัด ความสาเร็จรายยทุ ธศาสตร์ เป้าประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์
ขอบเขตข้อมูล ค่าเป้าหมาย และวิธีการจัดเก็บข้อมูล โดยการศึกษาข้อมูลก่อนเริ่มดาเนินการ
ในทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้องจะทาให้ทราบสภาพปัจจุบันของการจัดการศึกษาต้ังต้น เพ่ือไปใช้
เปรียบเทียบความก้าวหน้า และผลการดาเนินงานในช่วงการประเมินผลในระหว่างการดาเนินงาน
และการประเมินผลเมอ่ื การดาเนินการไดเ้ สรจ็ สิน้ ไปแลว้

สาหรับกรณีการประเมินผลในระหว่างการดาเนินงาน (Formative/Implementation
evaluation) โดยการประเมินผลแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาระดับภาค ในระยะน้ี คือ
ในระหวา่ งการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ในสว่ นท่ีเกี่ยวข้อง
ท่ียังไม่สิ้นสุด ซึ่งจะมีการดาเนินงานควบคู่ไปกับการติดตามผลความคืบหน้า (Monitoring) ในแต่ละ
กิจกรรมท่ีสาคัญ เพื่อนาข้อมูลท่ีได้รับมาใช้ในการแก้ปัญหาหรือปรับปรุงส่ิงที่กาลังดาเนินงานอยู่
ให้ดยี งิ่ ขนึ้

ในกรณีของการประเมินผลเมอ่ื การดาเนนิ การได้เสรจ็ สิ้นไปแลว้ (Summative evaluation)
การประเมินผลแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)
ในช่วงน้ีถือเป็นการประเมินผลกระบวนการดาเนินงานท้ังระบบ เพื่อนาข้อมูลท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์
ในการจัดทาข้อเสนอแนะแนวทางการดาเนินงานในระดับต่าง ๆ สาหรับเป็นข้อมูลประกอบ
การตัดสินใจของผู้บริหารงานในการดาเนินงานท่ีอาจจะต้องมีความต่อเน่ืองในอนาคตหรือพัฒนา
รูปแบบการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ย่ิงขึ้น จะเห็นได้ว่าในเชิงนโยบาย
การประเมินผลก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากต่อการดาเนินงานของรัฐ โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้กาหนด
นโยบายหรือผู้บริหารงานท่ีจาเป็นต้องตัดสินใจบนข้อมูลข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริงและเป็นปัจจุ บัน
มขี อ้ มูลครบถว้ นในมติ ิตา่ ง ๆ ของการดาเนนิ งานเพ่ือให้การนาแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาระดับ
ภาคไปสู่การปฏิบัติ สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเกิดผลสัมฤทธิ์
คุ้มค่าต่อการใช้จ่ายทรัพยากรทางการศึกษามากที่สุดการประเมินผลในระยะนี้จะดาเนินการเป็นรอบปี

แผนพัฒนาดา้ นการศึกษาระดับกล่มุ จังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 97

ที่มีการนาแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)
ไปสู่การปฏิบัติ และสรุปเป็นภาพรวมซ่ึงเป็นช่วงส้ินสุดการดาเนินงานตามแผนพัฒนาด้านการศึกษา
ระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565) โดยดาเนินการผ่านคณะอนุกรรมการ
ติดตามและประเมินผลการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา

5.1 กรอบแนวทางการติดตาม ประเมินผล มีข้ันตอนการติดตามผลและประเมินผล
แผนพัฒนาด้านการศึกษาระดบั กลุม่ จงั หวดั ภาคใต้ฝง่ั อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 - 2565) ประกอบด้วย

ขั้นตอนท่ี 1 กาหนดกรอบ แนวทาง และวิธีการในการติดตามและประเมินผล ยุทธศาสตร์
แผนงานโครงการ หรอื กิจกรรม ตามท่ไี ดด้ าเนนิ การ

ขั้นตอนท่ี 2 ดาเนินการการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับ
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565) ตามกรอบแนวทางและวิธีการท่ีกาหนด
เป็นปฏิทินหรือกรอบระยะเวลาของแผนงาน เพื่อติดตามและประเมินผลล่วงหน้า โดยมุ่งเน้น
การสารวจข้อมูลตลอดระยะเวลาของการขับเคลื่อนแผน พัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565) ในกลุ่มจงั หวดั ท่เี กี่ยวขอ้ ง

ข้ันตอนท่ี 3 ดาเนินการติดตามและประเมินผล แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม
การพัฒนาตามกรอบแนวทางและวิธีการที่กาหนด โดยสามารถติดตามและประเมินผลได้ต้ังแต่
ก่อนเรม่ิ ดาเนินงาน ระหว่างดาเนนิ งานจนสิ้นสดุ โครงการ / กิจกรรม

ขั้นตอนท่ี 4 รายงานและเสนอความเห็นชอบซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผล
การขับเคลื่อนแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565)
และผลการติดตามและประเมินผลแผนงานโครงการ / กิจกรรมพร้อมเผยแพร่ให้ผู้เก่ียวข้องทราบ
โดยทว่ั กนั อยา่ งน้อยปีละ 1 คร้งั

ข้ันตอนที่ 5 หน่วยงานในระดับนโยบายและที่เก่ียวข้องให้ความเห็นชอบหรือสามารถ
ให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมในรายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565) โดยเฉพาะแผนงานโครงการ/กิจกรรม เพ่อื เสนอตอ่ ผบู้ ริหาร
หน่วยงานหรือสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นในการส่งเสริม สนับสนุนการขับเคล่ือนแผนพัฒนา
ดา้ นการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายทวี่ างไว้

5.2 เคร่ืองมือการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคใต้
ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 - 2565) สาหรับเคร่ืองมือในการติดตามและประเมินผล ประกอบด้วย
แบบสอบถามการศึกษาสภาพจริงและความคาดหวังในการจัดทาตัวช้ีวัดรองรับการขับเคล่ือนนโยบาย
และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามบทบาทหน้าที่ของสานักงาน
ศกึ ษาธิการจังหวดั ในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 5 สรุปไดโ้ ดยสงั เขป ดังนี้

5.2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประกอบไปด้วยผู้บริหารการศึกษา บุคลากร และ
ผู้มีสว่ นเกย่ี วข้องในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์แผนการพัฒนาการศึกษาจากสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
ในพ้นื ที่รับผิดชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 ประกอบด้วย สานักงานศึกษาธิการจังหวัดชุมพร
สะราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลุ่มจงั หวดั ภาคใต้ฝัง่ อา่ วไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 98

5.2.2 ขอบเขตเนอ้ื หา
1) นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2) ตัวช้วี ดั รองรับนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
3) บทบาทสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ทร่ี องรบั ตัวชว้ี ัดท่กี าหนด

5.2.3 เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ ขอ้ มูล คือ แบบสอบถาม
5.2.4 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล มีดังน้ี ค่าร้อยละ
(Percentage) ค่าเฉล่ยี (Mean) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถติ ิ t-test
52.5 การรายงานผล และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยกลุ่มยุทธศาสตร์การศึกษา
สานักงานศึกษาธิการภาค 5 จะได้ดาเนินการรวบรวม เรียบเรียงผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
สรุปผลในรูปแบบการประมวลผลเชิงปริมาณ พร้อมรายงานเป็นข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์
ในเชิงนโยบายสู่การปฏิบัติเพ่ือการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการศึกษาของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย
พร้อมแจ้งไปยังทุกหน่วยงานระดับพื้นท่ีที่เกี่ยวข้อง เพ่ือประสานการสร้างเครือข่ายการบูรณาการ
การทางานร่วมกันด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
แบบแลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือสนบั สนุนงานขับเคล่ือนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาระดับภาค และระดับ
จงั หวดั ในภาพรวมในแต่ละปงี บประมาณตอ่ ไป

แผนพัฒนาด้านการศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 99

ภาคผนวก

แผนพฒั นาด้านการศกึ ษาระดับกลมุ่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย (พ.ศ. 2563 – 2565) 100





















คณะผู้จดั ทำ

ท่ีปรกึ ษำ ศึกษาธิการภาค 5
นกั วิชาการศกึ ษาเช่ยี วชาญ
นายสรุ ินทร์ แก้วมณี
นายเจน แผลงเดชา

คณะผจู้ ัดทำ นักวิชาการศึกษาชานาญการพเิ ศษ
นักวชิ าการศึกษาชานาญการ
นางภคั ชดุ า เสรีรัตน์ นกั วิชาการศึกษาชานาญการ
นางสาวปยิ ะมาศ บญุ เลศิ นกั วิชาการศกึ ษาปฏิบตั ิการ
นางสาวพรรณธิภา ยอดแก้ว นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ
นางสาวซลั มา นิยมเดชา
นายพฒุ พิ ัฒน์ ชัยเกตุธนพัฒน์

สรปุ ผลและเขียนรำยงำน นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร

นางสาวซัลมา นยิ มเดชา

ออกแบบปก

นางสาวพรรณธภิ า ยอดแกว้ นักวิชาการศกึ ษาชานาญการ

เอกสารลาดบั ที่ ๔/๒๕๖๓
สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 5 สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

138 ม.๘ ถนนศรีธรรมราช ตาบลโพธ์เิ สด็จ อาเภอเมอื ง
จังหวัดนครศรธี รรมราช 80000


Click to View FlipBook Version