The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kan302220, 2022-09-06 04:45:51

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน



สาระสําคญั
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐

ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั

การศึกษาปฐมวัยเปนการพัฒนาเด็กต้ังแตแรกเกิดถึง ๖ ป บริบูรณ อยางเปนองคร วม บนพ้ืนฐานการ
อบรมเล้ยี งดู และสงเสริมกระบวนการเรียนรูท ่ีสนองตอธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแตละคนใหเต็ม

ตามศักยภาพภายใตบรบิ ทสงั คมและวัฒนธรรมที่เดก็ อาศัยอยู ดว ยความรัก ความเอ้ืออาทร และความเขาใจของ
ทกุ คน เพื่อสรางรากฐานคุณภาพชีวิตใหเด็กพัฒนาไปสูความเปนมนุษยทส่ี มบูรณเกิดคณุ คาตอตนเอง ครอบครัว
สงั คม และประเทศชาติ

วสิ ัยทศั น
หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั มุงพัฒนาเดก็ ทกุ คนใหไดรับการพัฒนาดานรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และ

สตปิ ญญาอยางมีคณุ ภาพและตอเนอ่ื ง ไดร ับการจัดประสบการณการเรียนรูอ ยางมีความสุขและเหมาะสมตามวัย
มที ักษะชีวติ และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนคนดี มีวินัย และสํานึกความเปนไทย โดย
ความรวมมอื ระหวา งสถานศึกษา พอ แม ครอบครัว ชุมชน และทุกฝายทเ่ี กี่ยวขอ งกับการพฒั นาเดก็

หลักการ
เด็กทุกคนมีสิทธ์ิที่จะไดรับการอบรมเลี้ยงดูและสงเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก

ตลอดจนไดรับการจัดประสบการณการเรียนรูอยางเหมาะสม ดวยปฏสิ ัมพันธที่ดีระหวางเด็กกับพอแม เด็กกับ
ผูสอน เด็กกับผูเล้ียงดูหรือผูท่ีเกี่ยวของในการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และใหการศึกษาแกเด็กปฐมวัย เพ่ือให
เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลําดับข้ันของพัฒนาการทุกดาน อยางเปนองครวม มีคุณภาพ และเต็มตาม
ศักยภาพโดยมหี ลักการดงั นี้

๑. สง เสริมกระบวนการเรียนรูและพัฒนาการทีค่ รอบคลุมเด็กปฐมวยั ทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและใหการศึกษาที่เนนเด็กเปนสําคัญ โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวาง
บคุ คลและวิถชี ีวติ ของเดก็ ตามบรบิ ทของชมุ ชน สงั คม และวฒั นธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองครวมผานการเลนอยางมีความหมายและมีกิจกรรมท่ี
หลากหลาย ไดลงมือกระทําในสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการเรยี นรู เหมาะสมกับวัย และมกี ารพักผอ นที่เพยี งพอ
๔. จัดประสบการณการเรียนรูใหเด็กมีทักษะชวี ิต และสามารถปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เปนคนดี มวี นิ ยั และมคี วามสุข
๕. สรางความรู ความเขาใจและประสานความรวมมือในการพัฒนาเด็กระหวางสถานศึกษากับพอแม
ครอบครวั ชุมชน และทกุ ฝา ยท่ีเก่ยี วของกบั การพัฒนาเด็กปฐมวยั



แนวคิดการจดั การศึกษาปฐมวัย
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ พัฒนาขึ้นบนแนวคิดหลักสําคัญเก่ียวกับพัฒนาการ

เด็กปฐมวัย โดยถือวาการเลนของเด็กเปนหัวใจสําคัญของการจัดประสบการณการเรียนรู ภายใตการจัด
สภาพแวดลอมท่เี อ้ือตอการทาํ งานของสมอง ผา นสือ่ ท่ีตอ งเอื้อใหเ ด็กไดเ รียนรูผานการเลนประสาทสมั ผัสท้ังหา
โดยครูจําเปนตองเขาใจและยอมรับวาสังคมและวัฒนธรรมที่แวดลอมตัวเด็กมีอิทธิพลตอการเรียนรูและการ
พัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแตละคน ทั้งน้ี หลักสูตรฉบับนี้มีแนวคิดในการจัดการศึกษาปฐมวัย
ดังน้ี

๑. แนวคิดเก่ียวกับพัฒนาการเด็ก พัฒนาการของมนุษยเปนกระบวนการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน
ตอเนื่องในตัวมนุษยเร่ิมต้ังแตป ฏิสนธิไปจนตลอดชีวิต พัฒนาการของเด็กแตละคนจะมีลําดับข้ันตอนลักษณะ
เดียวกัน แตอัตราและระยะเวลาในการผานข้ันตอนตางๆอาจแตกตา งกันไดข้ันตอนแรกๆจะเปนพ้ืนฐานสาํ หรับ
พัฒนาการขั้นตอไป พัฒนาการดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคมและสติปญญา แตละสว นสงผลกระทบซึ่งกัน
และกัน เม่ือดานหน่ึงกาวหนาอีกดา นหนึ่งจะกาวหนาตามดวยในทํานองเดียวกนั ถาดานหน่ึงดานใดผิดปกติจะทํา
ใหดานอื่นๆผิดปกติตามดวย แนวคิดเก่ียวกับทฤษฎีพัฒนาการดานรางกายอธิบายวาการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของเด็กมีลักษณะตอ เนื่องเปนลําดับช้ัน เด็กจะพัฒนาถึงขั้นใดจะตองเกิดวุฒิภาวะของความสามารถ
ดา นน้ันกอน สําหรับทฤษฎีดานอารมณ จติ ใจ และสังคมอธิบายวา การอบรมเลี้ยงดูในวัยเด็กสง ผลตอ บคุ ลกิ ภาพ
ของเด็ก เม่ือเติบโตเปนผใู หญ ความรักและความอบอุนเปนพ้ืนฐานของความเช่ือม่ันในตนเอง เด็กที่ไดรับความ
รักและความอบอุนจะมีความไววางใจในผูอ่ืน เห็นคุณคาของตนเอง จะมีความเชื่อม่ันในความสามารถของตน
ทํางานรวมกบั ผูอ่นื ไดดี ซึ่งเปนพ้ืนฐานสําคัญของความเปนประชาธิปไตยและความคดิ ริเร่มิ สรางสรรคและทฤษฎี
พัฒนาการดานสติปญญาอธิบายวา เด็กเกิดมาพรอมวุฒิภาวะ ซ่ึงจะพัฒนาขึ้นตามอายุ ประสบการณ รวมทั้ง
คานิยมทางสังคมและสง่ิ แวดลอ มที่เด็กไดร ับ

๒. แนวคิดเกีย่ วกับการเลนของเด็ก การเลน เปนหัวใจสําคัญของการจัดประสบการณการเรียนรู การ
เลนอยางมีจุดมุงหมายเปนเคร่ืองมือการเรียนรูข้นั พ้ืนฐานท่ีถือเปนองคประกอบสําคัญในกระบวนการเรยี นรูของ
เด็ก ขณะท่ีเด็กเลนจะเกิดการเรียนรูไปพรอมๆกันดวย จากการเลนเด็กจะมีโอกาสเคล่ือนไหวสวนตางๆของ
รา งกาย ไดใ ชประสาทสัมผสั และการรับรูผอนคลายอารมณ และแสดงออกของตนเอง เรียนรูความรสู ึกของผูอ่ืน
เด็กจะรูสึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไดสังเกต มีโอกาสทําการทดลอง คิดสรางสรรค คิดแกปญหาและคนพบดวย
ตนเอง การเลน ชวยใหเด็กเรียนรูส่ิงแวดลอม และชวยใหเด็กมพี ัฒนาการทางดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม
และสติปญญา ดังนั้นเด็กควรมีโอกาสเลน ปฏิสมั พันธกับบุคคล ส่ิงแวดลอมรอบตัว และเลือกกิจกรรมการเลน
ดว ยตนเอง

๓. แนวคิดเกยี่ วกับการทํางานของสมอง สมองเปนอวัยวะที่มีความสําคัญที่สุดในรางกายของคนเรา
เพราะการที่มนุษยสามารถเรียนรูสิ่งตางๆไดน้ันตองอาศัยสมองและระบบประสาทเปนพ้ืนฐานการรับรู รับ
ความรูสึกจากประสาทสัมผัสท้ังหา การเชื่อมโยงตอกันของเซลลสมองสวนมากเกิดข้ึนกอนอายุ ๕ ป และ
ปฏิสัมพันธแรกเริ่มระหวางเด็กกับผูใหญ มีผลโดยตรงตอการสรางเซลลสมองและจุดเช่ือมตอ โดยในชวง ๓ ป
แรกของชีวิต สมองเจริญเติบโตอยางรวดเร็วมาก มีการสรางเซลลสมองและจุดเชื่อมตอข้ึนมามากมาย มีการ
สรางไขมันหรือมันสมองหุมลอมรอบเสนใยสมองดวย พอเด็กอายุ ๓ ป สมองจะมีขนาดประมาณ ๘๐ % ของ



สมองผูใหญ มีเซลลสมองนับหมื่นลา นเซลล เซลลสมองและจุดเชือ่ มตอเหลานี้ยงิ่ ไดร ับการกระตุน มากเทา ใด การ
เชื่อมตอกันระหวางเซลลสมองย่ิงมีมากขึ้นและความสามารถทางการคิดยิ่งมีมากข้ึนเทานน้ั ถาหากเดก็ ขาดการ
กระตนุ หรือสงเสริมจากสิ่งแวดลอมทเ่ี หมาะสม เซลลสมองและจุดเช่ือมตอท่ีสรางขึ้นมาก็จะหายไป เด็กที่ไดรับ
ความเครียดอยูต ลอดเวลาจะทําใหขาดความสามารถท่ีจะเรียนรู อยางไรก็ตาม สวนตางๆของสมองเจริญเตบิ โต
และเร่ิมมีความสามารถในการทําหนาท่ใี นชว งเวลาตางกนั จงึ อธบิ ายไดวา การเรยี นรูทักษะบางอยางจะเกิดข้นึ ได
ดีที่สุดเฉพาะในชวงเวลาหนึ่งท่ีเรียกวา”หนาตางของโอกาสการเรียนรู” ซ่ึงเปนชวงที่พอแม ผูเลี้ยงดูและครู
สามารถชวยใหเด็กเรียนรูและพัฒนาสิ่งนั้นๆไดดีท่ีสุด เม่ือพนชวงนี้ไปแลวโอกาสนั้นจะฝกยากหรือเด็กอาจทํา
ไมไดเลย เชน การเช่ือมโยงวงจรประสาทของการมองเห็นและรับรูภาพจะตองไดรับการกระตุนทํางานต้ังแต ๓
หรือ ๔ เดือนแรกของชีวิตจึงจะมีพัฒนาการตามปกติ ชวงเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๕ ปแรกของ
ชีวิต เด็กจะพูดไดชัด คลองและถูกตอง โดยการพัฒนาจากการพูดเปนคําๆมาเปนประโยคและเลาเรื่องได เปน
ตน

๔. แนวคิดเกี่ยวกับสื่อการเรียนรู สื่อการเรียนรทู ําใหเด็กเกดิ การเรียนรูตามจุดประสงคที่วางไว ทําให
ส่ิงท่ีเปนนามธรรมเขาใจยากกลายเปนรูปธรรมที่เด็กเขาใจและเรียนรูไดง าย รวดเรว็ เพลิดเพลิน เกิดการเรียนรู
และคนพบดวยตนเอง การใชสื่อการเรียนรูตองปลอดภัยตอตัวเด็กและเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกตาง
ระหวางบุคคล ความสนใจ และความตองการของเด็กท่ีหลากหลาย ส่ือประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยควรมีสื่อท้ังท่ีเปนประเภท ๒ มติ ิและ/หรือ ๓ มติ ิ ท่ีเปนสือ่ ของจริง สื่อธรรมชาติ ส่ือท่ีอยใู กลตัวเดก็ สื่อ
สะทองวัฒนธรรม ส่ือภูมิปญญาทองถ่ิน ส่ือเพ่ือพัฒนาเด็กในดานตางๆใหครบทุกดาน ท้ังน้ี ส่ือตองเอื้อใหเด็ก
เรียนรูผานประสาทสัมผัสทั้งหาโดยการจัดการใชส่ือสําหรับเด็กปฐมวัยตองเร่ิมตนจากสื่อของจริง ของจําลอง
ภาพถา ย ภาพโครงรา งและสัญลักษณตามลําดับ

๕. แนวคิดเก่ียวกับสงั คมและวัฒนธรรม เด็กเมื่อเกิดมาจะเปนสวนหน่ึงของสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึง
ไมเ พียงแตจะไดร ับอิทธพิ ลจากการปฏิบัตแิ บบด้งั เดิมตามประเพณี มรดก และความรูของบรรพบรุ ุษ แตยังไดรบั
อิทธิพลจากประสบการณ คานิยมและความเช่ือของบุคคลในครอบครัว และชุมชนของแตละที่ดวย บริบทของ
สังคมและวฒั นธรรมที่เดก็ อาศัยอยหู รือแวดลอมตวั เด็กทําใหเด็กแตล ะคนแตกตางกนั ไป ครจู ําเปนตอ งเขา ใจและ
ยอมรบั วาสังคมและวัฒนธรรมท่ีแวดลอมตัวเด็ก มอี ิทธิพลตอการเรยี นรู การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของ
เด็กแตล ะคน ครูควรตองเรียนรูบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของเด็กท่ีตนรับผดิ ชอบ เพ่ือชวยใหเด็กไดรบั การ
พัฒนา เกิดการเรียนรูและอยูใ นกลุมคนท่ีมาจากพื้นฐานเหมือนหรือตางจากตนไดอยางราบรานมีความสุข เปน
การเตรียมเด็กไปสูสังคมในอนาคตกับการอยูรวมกับผูอ่ืน การทํางานรวมกับผูอื่นท่ีมีความหลากหลายทาง
ความคิด ความเช่อื และวฒั นธรรมเชน ความคลา ยคลงึ และความแตกตางระหวา งวัฒนธรรมไทยกับประเทศเพ่ือน
บานเร่ืองศาสนา ประเทศ พมา ลาว กัมพูชาก็จะคลายคลึงกับคนไทยในการทําบุญตักบาตร การสวดมนตไหว
พระ การใหความเคารพพระสงฆ การทําบุญเล้ียงพระ การเวียนเทียนเน่ืองในวันสําคัญทางศาสนา ประเพณี
เขาพรรษา สําหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลามจึงมีวฒั นธรรม
แบบอิสลาม ประเทศฟลิปปนสไดรับอิทธิพลจากคริสตศาสนา ประเทศสิงคโปรและเวียดนามนับถือหลาย
ศาสนา โดยนบั ถอื ลัทธธิ รรมเนยี มแบบจีนเปนหลัก เปนตน



หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

โรงเรียนบานวานบานดาน
………………………………………………………………………………

๑. ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยโรงเรียนบานวานบานดาน

ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรยี นบา นวานบานดา น
โรงเรยี นบา นวานบานดานจัดการพัฒนาเด็ก อายุ ๔ – ๖ ป บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการสงเสริม

กระบวนการเรียนรูท่ีสนองตอธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแตละคนใหเต็มตามศักยภาพ ภายใต
บริบทสงั คมและวัฒนธรรมทองถิ่น ดวยความรัก ความเอื้ออาทร และความเขาใจของทุกคน เพ่ือสรางรากฐาน
คุณภาพชีวิตใหเด็กพัฒนาไปสูความเปนมนุษยที่สมบูรณเกิดคุณคาตอตนเองครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ

๒. วิสยั ทศั น พันธกิจ เปาหมาย
๒.๑ วสิ ัยทศั น
ภายในป ๒๕๖๕ ของโรงเรยี นบานวานบานดาน มุงพัฒนาปฐมวยั อายุ ๔ – ๖ ป ใหม พี ัฒนาการดาน

รางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา เนนใหเด็กเรียนรูผานการเลน การลงมือปฏิบัติ ผานส่ือท่ี
หลากหลายและเรียนรอู ยางมีความสุข มาใชอยางเหมาะสมกับวัย เปนคนดี มีวินัย สํานึกรักชุมชนแหลงเรยี นรู
ภูมปิ ญญาทองถิ่น และมีเจตคติที่ดีภายใตความรวมมือของสถานศึกษา พอแม ครอบครัว ชุมชน และทุกฝา ยที่
เก่ียวขอ ง

๒.๒ พันธกิจ
๑. พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาท่มี งุ เนนพฒั นาการเด็กปฐมวยั ท้ัง ๔ ดาน อยา งสมดุลและ
เตม็ ศักยภาพมเี จตคตทิ ี่ดตี อทอ งถิ่น สนใจใฝรู และเรียนรอู ยางมคี วามสุข
๒. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรดานการจัดประสบการณท ่ีสง เสริมการเรยี นรผู านการเลนและการ
ลงมอื ปฏิบตั ทิ ีห่ ลากหลาย สอดคลองกบั พัฒนาการเด็ก
๓. สงเสรมิ การจัดสภาพแวดลอ ม สอื่ เทคโนโลยีและแหลงเรยี นรูในการพฒั นาเด็กปฐมวัย
๔. จัดประสบการณก ารเรียนรทู ่ีหลากหลายซึง่ สอดคลอ งกบั พัฒนาการทางสมองของเด็ก
โดยนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถ่ิน มาใชเสริมสรา งพัฒนาการและการ
เรยี นรูข องเด็ก
๕. สงเสรมิ การมสี วนรวมของผูปกครองและชุมชนในการพฒั นาเด็กปฐมวัย
๒.๓ เปาหมาย
๑. เด็กปฐมวยั ทกุ คนไดรบั การพัฒนาดานรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญญาเปน



องคร วมอยา งสมดลุ มีเจตคตทิ ด่ี ตี อ ทองถิ่น สนใจใฝร ู และเรียนรอู ยางมีความสขุ
๒. ครูมีความรู ความเขา ใจ และสามารถจดั ประสบการณทส่ี งเสรมิ การเรยี นรูผา นการเลน

โดยใชกระบวนการวางแผน การปฏิบัติ และสอดคลอ งกับพัฒนาการเดก็
๓. มีสภาพแวดลอ ม สือ่ เทคโนโลยี และแหลงเรียนรูท ี่เอื้อตอการสง เสริมพัฒนาการเด็ก

ปฐมวยั อยา งพอเพยี ง
๔. ครูนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น มาใชในการจัด
ประสบการณใ หก บั เด็กอยางเหมาะสมกบั วัยและบริบทของสถานศึกษา
๕. มเี ครอื ขา ย พอ แม ผูปกครอง ชมุ ชน และหนว ยงานทเี่ กยี่ วของมสี วนรวมในการพฒั นา

เด็กปฐมวัยดวยวิธีการที่หลากหลายและมีความตอเนอ่ื งในทศิ ทางเดียวกนั กบั สถานศกึ ษา

๓. จดุ หมาย
หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย มุงใหเด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และเมื่อมีความพรอมใน

การเรียนรตู อ ไป จึงกําหนดจุดหมายเพื่อใหเกิดกับเด็กเมอื่ เด็กจบการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ดังนี้
๑. มรี างกายเจรญิ เติบโตตามวยั แข็งแรง และมีสขุ นสิ ัยทด่ี ี
๒. มสี ขุ ภาพจิตดี มสี ุนทรยี ภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและจิตใจทีด่ ีงาม
๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยูรวมกับผูอ่ืนได
อยางมีความสุข
๔. มที ักษะการคดิ การใชภาษาสื่อสาร และการแสวงหาความรูไดเหมาะสมกับวัย

๔. พฒั นาการเด็กปฐมวัย
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยดานรางกาย จิตใจ สังคม และสติปญญาแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงท่ี

เกิดขึ้นตามวุฒภิ าวะและสภาพแวดลอมท่ีเด็กไดรบั พัฒนาการเดก็ ในแตละชวงวยั อาจเรว็ หรือชา แตกตางกันไป
ในเด็กแตล ะคน มรี ายละเอยี ด ดังน้ี

๑. พัฒนาการดานรางกาย เปนพัฒนาการท่เี ปน ผลมาจากการเปลีย่ นแปลงในทางทีด่ ีขนึ้ ของรา งกายใน
ดานโครงสรา งของรางกาย ดา นความสามารถในการเคล่ือนไหว และดานการมีสุขภาพอนามัยที่ดี รวมถึงการใช
สัมผัสรับรู การใชตาและมือประสานกันในการทํากิจกรรมตางๆ เด็กอายุ ๓-๕ ปมีการเจริญเติบโตรวดเร็ว
โดยเฉพาะในเร่ืองนา้ํ หนักและสวนสูง กลามเนอ้ื ใหญจะมีความกาวหนา มากกวา กลา มเน้อื เลก็ สามารถบังคับการ
เคล่ือนไหวของรางกายไดด ี มคี วามคลองแคลววองไวในการเดิน สามารถว่ิง กระโดด ควบคมุ และบังคับการทรง
ตัวไดดี จึงชอบเคล่ือนไหว ไมหยุดนงิ่ พรอมทจ่ี ะออกกําลงั และเคล่ือนไหวในลกั ษณะตางๆสวนกลา มเนือ้ เล็กและ
ความสัมพันธระหวางตาและมือยังไมสมบูรณ การสัมผัสหรือการใชมือมีความละเอียดข้ึน ใชมอื หยิบจับสิ่งของ
ตางๆไดมากขึ้น ถาเด็กไมเ ครยี ดหรือกังวลจะสามารถทาํ กิจกรรมทีพ่ ฒั นากลา มเนอื้ เลก็ ไดดแี ละนานขึ้น

๒. พฒั นาการดานอารมณ จิตใจ เปนความสามารถในการรูสึกและแสดงความรูส ึกของเด็ก เชนพอใจ
ไมพอใจ รกั ชอบ สนใจ เกยี ด โดยที่เด็กรูจักควบคุมการแสดงออกอยางเหมาะสมกับวัยและสถานการณ เผชิญ



กับเหตุการณตางๆ ตลอดจนการสรางความรูสึกที่ดีและการนับถือตนเอง เด็กอายุ ๓-๕ ปจะแสดงความรูสึก
อยางเต็มที่ไมปดบัง ชอนเรน เชน ดีใจ เสียใจ โกรธแตจะเกิดเพียงช่ัวครูแลวหายไปการที่เด็กเปลี่ยนแปลง
อารมณงายเพราะมีชวงความสนใจระยะส้ัน เมื่อมีส่ิงใดนาสนใจก็จะเปลี่ยนความสนใจไปตามสิ่งน้ัน เดก็ วันน้มี ัก
หวาดกลัวส่ิงตางๆ เชน ความมืด หรือสัตวตางๆ ความกลัวของเด็กเกิดจากจินตนาการ ซึ่งเด็กวาเปนเร่ืองจริง
สําหรับตน เพราะยังสับสนระหวางเร่ืองปรุงแตงและเรื่องจริง ความสามารถแสดงอารมณไดสอดคลองกับ
สถานการณอยางเหมาะสมกับวัย รวมถึงช่ืนชมความสามารถและผลงานของตนเองและผูอ่ืน เพราะยึดตัวเอง
เปน ศูนยกลางนอ ยลงและตอ งการความสนใจจากผูอื่นมากข้ึน

๓. พัฒนาการดานสังคม เปนความสามารถในการสรางความสัมพันธท างสังคมคร้งั แรกในครอบครัว
โดยมีปฏิสัมพันธกับพอแมแ ละพ่ีนอง เมอื่ โตขึ้นตองไปสถานศึกษา เด็กเร่มิ เรียนรูการติดตอและการมีสัมพันธกับ
บุคคลนอกครอบครัว โดยเฉพาะอยางย่ิงเด็กในวัยเดียวกัน เด็กไดเรียนรูการปรับตัวใหเขาสังคมกับเด็กอ่ืน
พรอมๆกับรูจักรวมมือในการเลนกับกลุมเพ่ือน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือปลูกฝงและสรางวัฒนธรรม
ตอตานการทุจริตใหแกนักเรียนสรางความตระหนักใหน ักเรียน ยึดถือประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวน
ตน มีจิตพอเพียงตานทุจริต ละอายและเกรงกลัวท่ีจะไมทุจริตและไมทนตอการทุจริตทุกรูปแบบ เจตคติและ
พฤติกรรมทางสังคมของเด็กจะกอขึ้นในวัยน้ีและจะแฝงแนนยากท่ีจะเปลี่ยนแปลงในวัยตอมา ดังนั้น จึงอาจ
กลาวไดวาพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยน้ี มี ๒ ลักษณะ คือลักษณะแรกนั้น เปนความสัมพันธกับผูใหญและ
ลกั ษณะท่ีสองเปน ความสัมพันธกบั เดก็ ในวยั ใกลเคียงกนั

๔. ดานสติปญญา ความคิดของเด็กวัยน้ีมีลักษณะยึดตนเองเปนศูนยกลาง ยังไมสามารถเขาใจ
ความรูสึกของคนอ่ืน เด็กมีความคิดเพียงแตวาทุกคนมองสิ่งตางๆรอบตัว และรูสึกตอสิ่งตางๆ เหมือนตนเอง
ความคิดของตนเองเปนใหญที่สุด เมื่ออายุ ๔-๕ ป เด็กสามารถโตตอบหรือมีปฏิสัมพันธกับวัตถุสิ่งของที่อยู
รอบตวั ได สามารถจําสงิ่ ตางๆ ทไี่ ดกระทําซ้ํากันบอยๆ ไดดี เรยี นรูส่ิงตางๆ ไดดีขึ้น แตยังอาศัยการรับรูเปนสวน
ใหญ แกปญหาการลองผิดลองถูกจากการรับรูมากกวาการใชเหตุผลความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ท่ีอยู
รอบตัวพัฒนาอยางรวดเร็วตามอายุท่ีเพิ่มข้ึน ในสวนของพัฒนาการทางภาษา เด็กวัยนี้เปนระยะเวลาของการ
พฒั นาภาษาอยางรวดเร็ว โดยมีการฝกฝนการใชภาษาจากการทํากิจกรรมตาง ๆ ในรปู ของการพูดคุย การตอบ
คําถาม การเลาเรื่อง การเลานิทานและการทํากิจกรรมตาง ๆ ท เกี่ยวของกับการใชภาษาในสถานศึกษา เด็ก
ปฐมวัยสามารถ ใชภาษาแทนความคิดของตนและใชภาษาในการติดตอสัมพันธกับคนอ่ืนไดคําพูดของเด็กวัยน้ี
อาจจะทาํ ใหผูใหญบางคนเขาใจวาเด็กรมู ากแลวแตท่ีจรงิ เดก็ ยงั ไมเขาใจความหมายของคาํ และเร่อื งราวลกึ ซง้ึ นัก

๕. มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคจํานวน
๑๒ มาตรฐาน ประกอบดว ย
๑. พัฒนาการดานรางกาย ประกอบดวย ๒ มาตรฐานคือ

มาตรฐานท่ี ๑ รางกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยและมีสุขนสิ ัยท่ดี ี
มาตรฐานที่ ๒ กลามเนื้อใหญและกลา มเน้อื เล็กแข็งแรงใชไ ดอยา งคลองแคลว และ

ประสานสมั พันธกัน



๒. พัฒนาการดานอารมณ จติ ใจ ประกอบดวย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข
มาตรฐานท่ี ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจทด่ี งี าม

๓. พฒั นาการดานสังคม ประกอบดวย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ สิ่งแวดลอ ม วฒั นธรรม และความเปนไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยูร ว มกับผูอ ืน่ ไดอยา งมีความสขุ และปฏิบตั ติ นเปน สมาชิกทด่ี ขี องสงั คม

ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รวมท้ังเกิดวัฒนธรรมตอตานการทุจริต สราง
ความตระหนักใหนักเรียน ยึดถือประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน มีจติ พอเพียงตานทุจรติ ละอาย
และเกรงกลัวท่จี ะไมทุจรติ และไมท นตอ การทุจรติ ทุกรูปแบบ

๔. พฒั นาการดานสติปญญา ประกอบดวย ๔ มาตรฐานคอื
มาตรฐานท่ี ๙ ใชภาษาส่ือสารไดเ หมาะสมกบั วัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดท่ีเปน พน้ื ฐานการเรยี นรู
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสรา งสรรค
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติท่ีดตี อ การเรียนรแู ละมคี วามสามารถในการแสวงหาความรไู ด
เหมาะสมกบั วัย

๕.๑ ตัวบง ช้ี
ตัวบง ชี้เปน เปาหมายในการพฒั นาเด็กท่ีมีความสมั พันธสอดคลองกับมาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค
๕.๒ สภาพทีพ่ ึงประสงค
สภาพท่ีพึงประสงคเปนพฤติกรรมหรอื ความสามารถตามวัยท่ีคาดหวังใหเด็กเกิด บนพื้นฐานพัฒนาการ
ตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแตละระดับอายุเพ่ือนําไปใชในการกําหนดสาระเรียนรูใน การจัด
ประสบการณ กิจกรรมและประเมินพัฒนาการเด็ก โดยมรี ายละเอียดของมาตรฐาน มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค ตัวบง ชี้ และสภาพที่พึงประสงค ดังนี้

๑๐

มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงค

๑.พฒั นาการดานรางกาย

มาตรฐานที่ ๑ รา งกายเจรญิ เติบโตตามวัยเดก็ มสี ุขนิสัยทด่ี ี

ตัวบงชี้ สภาพที่พึงประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๑.๑ มนี ้ําหนกั และสวนสูงตาม -น้ําหนักและสวนสูงตามเกณฑของ -น้ําหนักและสวนสูงตามเกณฑของกรม

เกณฑ กรมอนามยั อนามัย

๑.๒ มีสุขภาพอนามัย สขุ นิสยั ที่ -รับประทานอาหารที่มีประโยชน -รับประทานอาหารที่มีประโยชนได

ดี และดม่ื น้าํ สะอาดดวยตนเอง หลายชนิดและด่ืมน้ําสะอาดไดดวย

ตนเอง

-ลางมือกอนรับประทานอาหารและ -ลางมือกอนรับประทานอาหารและ

หลังจากใชหองน้ําหองสวมดวย หลังจากใชห อ งนํ้าหองสว มดว ยตนเอง

ตนเอง

-นอนพกั ผอนเปน เวลา -นอนพักผอ นเปน เวลา

-ออกกาํ ลังกายเปนเวลา -ออกกาํ ลงั กายเปน เวลา

๑.๓ รักษาความปลอดภัยของ -เลนและทํากิจกรรมอยางปลอดภัย -เลนและทํากิจกรรมและปฏบิ ตั ิตอผอู ่ืน

ตนเองและผูอนื่ ดว ยตนเอง อยางปลอดภัย

มาตรฐานท่ี ๒ กลามเน้อื ใหญและกลามเนอ้ื เล็กแข็งแรงใชไ ดอยางคลองแคลว

และประสานสัมพันธกัน

ตัวบงชี้ อายุ ๔-๕ ป สภาพท่ีพึงประสงค
อายุ ๕-๖ ป

๒.๑ เคลื่อนไหวรางกาย -เดินตอเทา ไปขา งหนาเปน เสน ตรงได -เดนิ ตอเทา ถอยหลงั เปนเสนตรงไดโดยไม

อยางคลอ งแคลว โดยไมตองกางแขน ตองกางเกง

ประสานสัมพนั ธและ -กระโดดขาเดยี วอยูกบั ท่ีไดโดยไมเ สีย -กระโดดขาเดยี ว ไปขางหนาไดอยาง
ทรงตัวได
การทรงตัว ตอเน่ืองโดยไมเสยี การทรงตัว

-วิ่งหลบหลีกส่งิ กีดขวางได -วิ่งหลบหลีกส่ิงกดี ขวางไดอยา งคลองแคลว

-รับลูกบอลไดดวยมือท้ังสองขาง -รับลกู บอลที่กระดอนขนึ้ จากพื้นได

๒.๒ ใชม ือ-ตาประสาน -ใชกรรไกรตัดกระดาษตามแนว -ใชก รรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน โคงได

สมั พนั ธกนั เสนตรงได

-เขียนรปู สเี่ หล่ียมตามแบบไดอยางมี -เขยี นรูปสามเหล่ยี มตามแบบไดอ ยางมีมุม

มมุ ชดั เจน ชดั เจน

-รอ ยวสั ดทุ ่มี ีรูจนาดเสนผา นศนู ย๐.๕ -รอ ยวัสดุที่มีรูขนาดเสน ผา นศูนยกลาง๐.๒๕

ซม.ได ซม.ได

๑๑

๒.พัฒนาการดานอารมณ จติ ใจ สภาพท่ีพึงประสงค
มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจติ ดีและมีความสุข

ตัวบง ชี้

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๓.๑ แสดงออกทาง -แสดงอารม ณ ความรูสึกไดตาม -แสดงอารมณ ความรูสึกไดสอดคลองกับ
อารมณอ ยา งเหมาะสม
สถานการณ สถานการณอ ยา งเหมาะสม

๓.๒ มีความรสู ึกท่ดี ีตอ -กลาพูดกลาแสดงออกอยางเหมาะสม -กลาพูดกลาแสดงออกอยางเหมาะสมตาม

ตนเองและผูอน่ื บางสถานการณ สถานการณ

-แสดงความพ อใจใน ผลงาน และ -แ ส ด ง ค ว า ม พ อ ใจ ใน ผ ล ง า น แ ล ะ

ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเองและผูอื่น

มาตรฐานท่ี ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว

ตัวบงช้ี สภาพทีพ่ ึงประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๔.๑ สนใจและมี -ส น ใจ แ ล ะ มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ -สนใจและมีความสุขและแสดงออก

ความสขุ และ แสดงออกผานงานศลิ ปะ ผานงานศลิ ปะ

แสดงออกผา นงาน -สนใจ มีความสุขและแสดงออก -สนใจ มีความสุขและแสดงออกผาน
ศลิ ปะ ดนตรีและการ ผานเสียงเพลง ดนตรี เสียงเพลง ดนตรี

เคล่ือนไหว

-สน ใจ มี ค วาม สุข แ ละแส ด ง -สนใจ มีความสุขและแสดงทาทาง/

ทาทาง/เคล่ือนไหวประกอบเพลง เคลื่อนไหวประกอบเพลง จังหวะและ

จงั หวะและ ดนตรี ดนตรี

๑๒

มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจิตใจทด่ี ีงาม

ตัวบง ช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๕.๑ ซ่ือสตั ย - ขออนุญาตหรอื รอคอยเมื่อตอ งการส่ิงของ - ขออนุญาตหรือรอคอยเมอื่ ตองการส่งิ ของ
สุจริต
ของผอู ่ืนเม่อื มีผูช้ีแนะ ของผูอื่นดวยตนเอง

๕.๒ มีความ -แสดงความรกั เพือ่ นและมีเมตตาสัตวเลย้ี ง -แสดงความรักเพือ่ นและมีเมตตาสตั วเล้ียง
เมตตา กรุณา มี -ชว ยเหลือและแบงปนผอู ่นื ไดเมอ่ื มผี ูช ี้แนะ -ชว ยเหลอื และแบงปนผูอ ่นื ไดด วยตนเอง
น้ําใจและ
ชวยเหลือแบงปน -แสดงสีหนา หรอื ทาทางรับรูค วามรสู กึ ผอู ืน่ -แสดงสีหนาหรือทาทางรับรูความรูสึกผูอื่น
อยางสอดคลอ งกบสถานการณ
๕.๓ มีความเหน็
อกเหน็ ใจผูอ ื่น

๕.๔ มีความ -ทํางานที่ไดรับมอบหมายจนสําเร็จเม่ือมีผู -ทํางานท่ีไดรับมอบหมายจนสําเร็จดวย
รับผิดชอบ ชแ้ี นะ ตนเอง

๓.พัฒนาการดานสงั คม
มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ตวั บงช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค

๖.๑ ชว ยเหลือ อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป
ตนเองในการ
ปฏิบัติกิจวัตร - แตง ตวั ดว ยตนเอง - แตงตวั ดวยตนเองไดอ ยางคลอ งแคลว
ประจาํ วัน
๖.๒ มีวนิ ยั ใน -รบั ประทานอาหารดวยตนเอง - รบั ประทานอาหารดว ยตนเองอยางถูกวิธี
ตนเอง
-ใชหอ งนํา้ หอ งสว มดวยตนเอง -ใชและทําความสะอาดหลังใชห องน้ําหองสวมดวย
๖.๓ ประหยัด
และพอเพียง ตนเอง

-เกบ็ ของเลน ของใชเขาทีด่ ว ยตนเอง -เกบ็ ของเลน ของใชเขาทอ่ี ยา งเรียบรอยดว ยตนเอง

-เขาแถวตาลําดับกอนหลังไดดวย -เขา แถวตาลําดบั กอนหลงั ไดด วยตนเอง

ตนเอง

-ใชสิ่งของเครื่องใชอยางประหยัดและ -ใชสิ่งของเคร่ืองใชอยางประหยัดและพอเพียงดวย

พอเพยี งเมือ่ มผี ชู ีแ้ นะ ตนเอง

๑๓

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม และความเปนไทย

ตวั บงช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๗.๑ ดูแล -มีสวนรวมในการดูแลรักษาธรรมชาติและ -มีสวนรวมในการดูแลรักษาธรรมชาติและ

รกั ษา ส่งิ แวดลอมเมื่อมีผชู ีแ้ นะ สงิ่ แวดลอมดว ยตนเอง

ธรรมชาตแิ ละ -ท้งิ ขยะไดถ ูกที่ -ทง้ิ ขยะไดถูกท่ี
สงิ่ แวดลอ ม

๗.๒ มี -ปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทยไดด วยตนเอง -ป ฏิ บั ติ ต น ต าม ม ารย าท ไท ย ได ต าม

มารยาทตาม กาลเทศะ

วฒั นธรรมไทย -กลา วคําขอบคุณและขอโทษดวยตนเอง -กลา วคําขอบคณุ และขอโทษดว ยตนเอง
และรักความ

เปน ไทย -หยุดเมอ่ื ไดยนิ เพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญ -ยืนตรงและรวมรองเพลงชาติไทยและเพลง

พระบารมี สรรเสริญพระมารมี

มาตรฐานที่ ๘ อยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุขและปฏิบัติตนเปนสมาชิกท่ีดีของสังคมในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข

ตัวบงช้ี สภาพท่พี ึงประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๘.๑ ยอมรับความเหมือน -เลนและทํากิจกรรมรวมกับกลุมเด็กท่ี -เลนและทํากิจกรรมรวมกับเด็กที่แตกตาง

และความแตกตาง แตกตา งไปจากตน ไปจากตน
ระหวางบุคคล

๘.๒ มีปฏิสัมพนั ธทด่ี ีกับ -เลน หรอื ทาํ งานรว มกบั เพ่อื นเปน กลมุ -เลน หรือทํ างาน รวมกั บ เพ่ื อน อย างมี

ผอู ่นื เปา หมาย

-ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผูใหญ -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผูใหญและ
และบุคคลท่คี นุ เคยไดด ว ยตนเอง บุคคลทค่ี ุนเคยไดเหมาะสมกับสถานการณ

๑๔

มาตรฐานที่ ๘ อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุขและปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข (ตอ )

ตัวบงช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๘.๑ ยอมรบั ความเหมือน -เลนและทํากิจกรรมรวมกับกลุมเด็กท่ี -เลน แ ละทํ ากิจก รรมรวม กับ เด็ ก ท่ี

และความแตกตาง แตกตา งไปจากตน แตกตางไปจากตน

ระหวา งบคุ คล

๘.๒ มีปฏสิ ัมพนั ธท ีด่ กี บั -เลนหรอื ทาํ งานรวมกับเพ่ือนเปนกลมุ -เลนหรือทํางานรวมกับเพ่ือนอยางมี

ผอู ื่น เปา หมาย

-ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผูใหญและ -ย้ิมหรือทักทายหรือพูดคุยกับผูใหญและ

บคุ คลท่ีคนุ เคยไดด วยตนเอง บุ ค ค ล ที่ คุ น เค ย ได เห ม า ะ ส ม กั บ

สถานการณ

๘.๓ ปฏิบัติตนเบ้ืองตน -มีสวนรว มสรางขอตกลงและปฏิบัติตาม -มีสวนรว มสรา งขอตกลงและปฏิบัติตาม
ในการเปน สมาชกิ ท่ีดี ขอตกลงเมือ่ มผี ชู ี้แนะ
ของสังคม ขอ ตกลงดว ยตนเอง

-ปฏิบัติตนเปนผูนําและผูตามที่ดีไดดวย -ป ฏิ บั ติ ต น เป น ผู นํ าแ ล ะ ผู ต าม ได
ตนเอง เหมาะสมกับสถานการณ

-ป ระ นี ป ร ะ น อ ม แ ก ไข ป ญ ห า โด ย -ป ระ นี ป ระ น อ ม แ ก ไข ป ญ ห า โด ย

ปราศจากการใชความรุนแรงเม่ือมีผู ปราศจากการใชค วามรนุ แรงดวยตนเอง

ชแ้ี นะ

-คิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสวน -คิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสวน

ตน กับผลประโยชนสวนรวม ความอาย ตน กับผลประโยชนสวนรวม ความอาย

และความไมท นตอ การทุจริต STRONG : และความไมท นตอการทุจริต STRONG :
จิตพอเพียงตานทุจริต และพลเมือง กับ จิตพอเพียงตานทุจริต และพลเมือง กับ

ความรับผิดชอบตอ สังคม ความรบั ผิดชอบตอสงั คม

๑๕

๔. พฒั นาการดานสติปญญา
มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ าษาสื่อสารไดเ หมาะสมกบั วัย

ตัวบง ชี้ สภาพที่พึงประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๙.๑ สนทนาโตตอบและ -ฟงผูอื่นพูดจนจบและสนทนาโตตอบ -ฟงผูอื่นพดู จนจบและสนทนาโตตอบอยาง

เลา เร่ืองใหผ ูอ่ืนเขา ใจ สอดคลองกับเรอื่ งท่ีฟง ตอเนอ่ื งเชื่อมโยงกบั เร่อื งท่ฟี ง

-เลา เร่ืองเปน ประโยคอยา งตอเน่ือง -เลาเปน เร่อื งราวตอเน่ืองได

๙.๒ อา น เขยี นภาพ -อานภาพ สัญลักษณ คํา พรอมท้ังชี้ -อานภาพ สัญลักษณ คํา ดวยการชี้ หรือ
และสัญลักษณได หรอื กวาดตามองขอ ความตามบรรทดั กวาดตามองจุดเร่ิมตนและจุดจบของ

ขอความ

-เขียนคลายตัวอกั ษร -เขียนช่ือของตนเอง ตามแบบ เขียน
ขอความดว ยวธิ ที ่คี ิดข้นึ เอง

มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ทีเ่ ปนพ้นื ฐานในการเรยี นรู

ตัวบง ช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค

๑๐.๑ มีความ สามารถ อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป
ในการคดิ รวบยอด
-บอกลักษณะและสวนประกอบของ -บ อ ก ลั ก ษ ณ ะ ส ว น ป ระ ก อ บ ก า ร

สิ่งของตางๆจากการสังเกตโดยใช เปลย่ี นแปลง หรือความสัมพันธของสิง่ ของ
ประสาทสัมผัส
ตางๆจากการสงั เกตโดยใชป ระสาทสัมผสั

-จับคูและเปรียบเทียบความแตกตาง -จับคูและเปรียบเทียบความแตกตางหรือ

หรือความเหมือนของสิ่งตางๆโดยใช ความเหมือนของสิ่งตางๆโดยใชลักษณะที่
ลกั ษณะทส่ี ังเกตพบเพยี งลกั ษณะเดียว สังเกตพบสองลกั ษณะขน้ึ ไป

-จําแนกและจัดกลุมส่ิงตางๆโดยใช -จําแนกและจัดกลุมส่ิงตางๆโดยใชต้ังแต
อยางนอ ยหนงึ่ ลักษณะเปนเกณฑ สองลกั ษณะขนึ้ ไปเปน เกณฑ

-เรยี งลําดับสิ่งของหรือเหตุการณอยาง -เรียงลําดบั ส่ิงของหรอื เหตกุ ารณอยางนอย

นอ ย ๔ ลําดบั ๕ ลาํ ดบั

๑๖

๑๐.๒ มีความ สามารถ -ระ บุ ส า เห ตุ ห รื อ ผ ล ท่ี เกิ ด ข้ึ น ใน -อธิบายเช่ือมโยงสาเหตุและผลท่ีเกิดข้ึนใน
ในการคิดเชิงเหตผุ ล
เหตุการณ หรือ การกระทําเม่ือมีผู เหตกุ ารณห รือการกระทําดว ยตนเอง
ชีแ้ นะ

-คาดเดา หรือคาดคะเนส่ิงท่ีอาจจะ -คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น และมีสวน

เกิ ดข้ึ น หรือมีส วน รวมใน การลง รวมในการลงความเห็นจากขอมูลอยางมี

ความเห็นจากขอมูล เหตุผล

๑๐.๓ มีความ สามารถ -ตัดสินใจในเร่ืองงายๆและเริ่มเรียนรู -ตัดสินใจในเรื่องงายๆและยอมรับผลท่ี
ในการคดิ แกป ญหาและ
ตดั สนิ ใจ ผลทเ่ี กดิ ขึ้น เกดิ ขนึ้

-ระบุปญหา และแกปญหาโดยลองผิด -ระบุปญหาสรางทางเลือกและเลือกวิธี
ลองถูก แกปญหา

มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสรางสรรค

ตัวบงชี้ สภาพท่พี ึงประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๑๑.๑ เลน /ทาํ งาน -สรางผลงานศิลปะเพื่อส่ือสารความคิด -สรางผลงานศิลปะเพ่ือสื่อสารความคิด
ศลิ ปะตามจินตนาการ
และความคดิ สรางสรรค ความรูสึกของตนเองโดยมีการดัดแปลง ความรูสึกของตนเองโดยมีการดัดแปลง

และแ ป ล ก ให มจากเดิม ห รือ มี ราย แ ละแป ลก ให ม จากเดิม แ ละมีราย

ละเอยี ดเพ่มิ ข้ึน ละเอียดเพม่ิ ข้นึ

๑๑.๒ แสดงทา ทาง/ -เคล่ือนไหวทาทางเพ่ือส่ือสารความคิด -เคลื่อนไหวทาทางเพื่อส่ือสารความคิด
เคล่ือนไหวตาม ความรูสึกของตนเองอยางหลากหลาย ความรูสึกของตนเองอยางหลากหลาย

จนิ ตนาการอยาง หรอื แปลกใหม และแปลกใหม
สรางสรรค

๑๗
มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคติท่ดี ีตอ การเรียนรู และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู ดเหมาะสมกับวัย

ตวั บง ช้ี สภาพท่ีพึงประสงค

อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป

๑๒.๑ มีเจตคตทิ ดี่ ีตอ การเรียนรู -สนใจซักถามเก่ียวกับสัญลักษณ -ห ยิบ ห นั งสือ ม าอ าน แ ละเขี ย น สื่ อ

หรอื ตัวหนังสอื ที่พบเห็น ค ว า ม คิ ด ด ว ย ต น เอ ง เป น ป ร ะ จํ า อ ย า ง

ตอเน่อื ง

-กระตือรือรน ในการเขารวม -กระตือรือรนในการรวมกิจกรรมต้ังแต

กจิ กรรม ตน จนจบ

๑๒.๒ มีความสามารถในการ -คนหาคําตอบของขอสงสัยตางๆ -คนหาคําตอบของขอสงสัยตางๆ ตาม
แสวงหาความรู
ตามวธิ กี ารของตนเอง วิธกี ารทหี่ ลากหลายดวยตนเอง

-ใชประโยคคําถามวา “ที่ไหน” -ใชประโยคคําถามวา “เมื่อไร” อยางไร”
“ทําไม” ในการคน หาคาํ ตอบ ในการคนหาคาํ ตอบ

๑๘

๖. ระยะเวลาเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

โรงเรียนบานวานบานดาน กําหนดกรอบโครงสรางเวลาในการจัดประสบการณใหกับเด็ก ๒ ปการศึกษา ป
การศึกษาละ ๒ ภาคเรียน โดยมีเวลาเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยไมนอยกวา ๑๘๐ วัน ตอ ๑ ปการศึกษา ในแต
ละวันจะใชเ วลาไมน อยกวา ๕ ชั่วโมง โดยสามารถปรบั เปลย่ี นใหเหมาะสมตามบริบทและสถานการณ ดังน้ี

๖.๑ การจดั ชนั้ เรียน
๖.๑.๑ ช้ันอนุบาลปที่ ๒ ช่ือยอ อ.๒ เด็กชวงอายุ ๔-๕ ป
๖.๑.๒ ชน้ั อนบุ าลปท่ี ๓ ชอื่ ยอ อ.๓ เดก็ ชวงอายุ ๕-๖ ป

๖.๒ โครงสรางเวลาในการจัดประสบการณ ปการศกึ ษาละ ๒ ภาคเรยี น
๖.๒.๑ ภาคเรียนที่ ๑ (๑๖ พฤษภาคม - ๑๐ ตลุ าคม)
๖.๒.๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ (๑ พฤศจิกายน - ๓๑ มนี าคม)

๖.๓ เวลาเรยี น สําหรบั เดก็ ปฐมวัย ๑ ปการศกึ ษาไมนอ ยกวา ๑๘๐ วนั
๖.๓.๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ไมน อ ยกวา ๙๐ วัน ในแตล ะวนั เวลาไมน อยกวา ๕ ช่วั โมง
๖.๓.๑ ภาคเรียนที่ ๒ ไมน อยกวา ๙๐ วัน ในแตละวันเวลาไมน อ ยกวา ๕ ช่ัวโมง

๑๙

๗. สาระการเรียนรูรายป
สาระการเรยี นรใู ชเปนส่ือกลางในการจัดประสบการณก ารเรียนรูใหกับเดก็ เพื่อสง เสรมิ พัฒนาการทุก

ดาน ใหเ ปน ไปตามจุดหมายของหลกั สูตรทก่ี ําหนด ประกอบดว ย ประสบการณส ําคัญและสาระทค่ี วรเรยี นรู ดงั น้ี
๑. ประสบการณสําคญั
ประสบการณสําคัญเปนแนวทางสําหรับผูสอนไปใชในการออกแบบการจัดประสบการณ ใหเด็ก

ปฐมวยั เรยี นรู ลงมือปฏิบัติ และไดรบั การสงเสรมิ พัฒนาการครอบคลมุ ทกุ ดา น ดังนี้
๑.๑ ประสบการณสําคัญท่ีสงเสริมพัฒนาการดานรางกาย เปนการสนับสนุนใหเด็กไดมีโอกาส

พัฒนาการใชกลามเน้ือใหญ กลามเน้ือเล็ก และการประสานสัมพนั ธระหวางกลา มเน้อื และระบบประสาท ในการ
ทาํ กิจวัตรประจําวันหรือทํากิจกรรมตางๆและสนับสนุนใหเดก็ มีโอกาสดแู ลสุขภาพและสุขอนามยั และการรกั ษา
ความปลอดภยั ดงั น้ี

๑.๑.๑ การใชก ลามเนอื้ ใหญ
๑.๑.๑.๑ การเคล่อื นไหวอยูกับท่ี
๑.๑.๑.๒ การเคล่อื นไหวเคลอื่ นที่
๑.๑.๑.๓ การเคลื่อนไหวพรอมวสั ดุอุปกรณ
๑.๑.๑.๔ การเคล่ือนไหวท่ีใชการประสานสัมพันธของการใชกลามเนื้อมัดใหญในการขวาง

การจับ การโยน การเตะ
๑.๑.๑.๕ การเลน เคร่อื งเลน สนามอยางอิสระ

๑.๑.๒ การใชก ลามเนือ้ เลก็
๑.๑.๒.๑ การเลน เคร่อื งเลน สมั ผัสและการสรางจากแทงไม บลอ็ ก
๑.๑.๒.๒ การเขยี นภาพและการเลนกับสี
๑.๑.๒.๓ การปน
๑.๑.๒.๔ การประดิษฐส ง่ิ ตา งๆดวย เศษวสั ดุ
๑.๑.๒.๕ การหยิบจับ การใชก รรไกร การฉีก การตัด การปะ และการรอยวัสดุ

๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามัยสวนตวั
๑.๑.๓.๑ การปฏิบตั ติ นตามสุขอนามยั สุขนสิ ยั ท่ีดใี นกิจวัตรประจําวัน

๑.๑.๔ การรกั ษาความปลอดภยั
๑.๑.๔.๑ การปฏบิ ตั ิตนใหป ลอดภัยในกิจวัตรประจําวนั
๑.๑.๔.๒ การฟงนิทาน เร่อื งราว เหตุการณ เกี่ยวกับการปองกนั และรกั ษาความปลอดภยั
๑.๑.๔.๓ การเลน เคร่อื งเลนอยางปลอดภัย
๑.๑.๔.๔ การเลนบทบาทสมมติเหตกุ ารณต างๆ

๑.๑.๕ การตระหนกั รเู ก่ยี วกบั รางกายตนเอง
๑.๑.๕.๑ การเคล่อื นไหวเพ่ือควบคุมตนเองไปในทศิ ทาง ระดบั และพืน้ ที่
๑.๑.๕.๒ การเคลือ่ นไหวขา มส่ิงกดี ขวาง

๒๐

๑.๒ ประสบการณสําคัญที่สงเสริมพัฒนาการดานอารมณ จิตใจเปนการสนับสนุนใหเด็กได
แสดงออกทางอารมณและความรูสึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะท่ีเปนอัต
ลักษณ ความเปนตัวของตัวเอง มีความสุข ราเริงแจมใส การเห็นอกเห็นใจผูอื่นไดพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
สนุ ทรียภาพ ความรสู กึ ที่ดตี อตนเอง และความเช่ือมนั่ ในตนเองขณะปฏิบตั ิกิจกรรมตางๆ ดงั นี้

๑.๒.๑ สนุ ทรียภาพ ดนตรี
๑.๒.๑.๑ การฟงเพลง การรองเพลง และการแสดงปฏกิ ิริยาโตตอบเสยี งดนตรี
๑.๒.๑.๒ การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
๑.๒.๑.๓ การเลน บทบาทสมมติ
๑.๒.๑.๔ การทาํ กิจกรรมศลิ ปะตางๆ
๑.๒.๑.๕ การสรา งสรรคส ่งิ สวยงาม

๑.๒.๒ การเลน
๑.๒.๒.๑ การเลนอสิ ระ
๑.๒.๒.๒ การเลน รายบุคคล กลุมยอย กลุมใหญ
๑.๒.๒.๓ การเลนตามมมุ ประสบการณ
๑.๒.๒.๔ การเลน นอกหองเรยี น
๑.๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม
๑.๒.๓.๑ การปฏิบัตติ นตามหลักศาสนาที่นับถอื
๑.๒.๓.๒ การฟงนิทานเก่ยี วกับคณุ ธรรม จริยธรรม
๑.๒.๓.๓ การรว มสนทนาแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ เชงิ จรยิ ธรรม
๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ
๑.๒.๔.๑ การสะทอ นความรสู ึกของตนเองและผูอ่นื
๑.๒.๔.๒ การเลนบทบาทสมมติ
๑.๒.๔.๓ การเคลอ่ื นไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
๑.๒.๔.๔การรอ งเพลง
๑.๒.๔.๕ การทํางานศลิ ปะ

๑.๒.๕ การมีอตั ลกั ษณเฉพาะตนและเช่ือวาตนเองมีความสามารถ
๑.๒.๕.๑ การปฏบิ ัติกิจกรรมตางๆตามความสามารถของตนเอง

๑.๒.๖ การเหน็ อกเห็นใจผอู ื่น
๑.๒.๖.๑ การแสดงความยินดีเมื่อผอู ื่นมีความสุขเห็นอกเหน็ ใจเมื่อผูอื่นเศรา หรือเสียใจและ
การชวยเหลอื ปลอบโยนเมื่อผูอ่นื ไดรับบาดเจบ็

๑.๓ ประสบการณสําคัญท่ีสงเสริมพัฒนาการดานสังคม เปนการสนับสนุนใหเด็กไดมีโอกาส
ปฏิสัมพันธก ับบุคลและส่ิงแวดลอมตางๆรอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ผานการเรียนรทู างสังคม เชน การ
เลน การทํางานกบั ผูอื่น การปฏิบตั ิกจิ วัตรประจาํ วัน การแกปญหาขอ ขัดแยงตา งๆ

๑.๓.๑ การปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจาํ วัน

๒๑

๑.๓.๑.๑ การชว ยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาํ วัน
๑.๓.๑.๒การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม
๑.๓.๒.๑ การมสี วนรว มรบั ผิดชอบดูแลรักษาส่ิงแวดลอ มท้งั ภายในและภายนอกหองเรยี น
๑.๓.๒.๒ การทํางานศลิ ปะทีใ่ ชวัสดุหรือสงิ่ ของท่ีใชแลวมาใชซ้าํ หรือแปรรปู แลวนํากลบั มา
ใชใ หม
๑.๓.๒.๓ การเพาะปลูกและดแู ลตน ไม
๑.๓.๒.๔ การเล้ยี งสัตว
๑.๓.๒.๕ การสนทนาขา วและเหตกุ ารณท่ีเกีย่ วกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในชีวิตประจําวนั

๑.๓.๓ การปฏบิ ตั ติ ามวฒั นธรรมทองถิ่นท่ีอาศัยและความเปนไทย
๑.๓.๓.๑ การเลน บทบาทสมมุตกิ ารปฏบิ ัติตนในความเปน คนไทย
๑.๓.๓.๒ การปฏิบตั ติ นตามวฒั นธรรมทองถิน่ ทอี่ าศัยและประเพณีไทย
๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย
๑.๓.๓.๔ การศกึ ษานอกสถานท่ี
๑.๓.๓.๕ การละเลน พน้ื บานของไทย

๑.๓.๔ การมีปฏิสมั พนั ธ มีวนิ ยั มสี วนรวม และบทบาทสมาชิกของสังคม
๑.๓.๔.๑ การรว มกําหนดขอตกลงของหองเรียน
๑.๓.๔.๒ การปฏบิ ัติตนเปนสมาชิท่ดี ีของหองเรยี น
๑.๓.๔.๓ การใหความรวมมอื ในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตาง ๆ
๑.๓.๔.๔ การดูแลหองเรยี นรว มกัน
๑.๓.๔.๕ การรว มกจิ กรรมวนั สาํ คัญ

๑.๓.๕ การเลน แบบรวมมือรว มใจ
๑.๓.๕.๑ การรว มสนทนาและแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น
๑.๓.๕.๒ การเลนและทํางานรวมกบั ผูอน่ื
๑.๓.๕.๓ การทาํ ศิลปะแบบรวมมอื

๑.๓.๖ การแกปญหาความขดั แยง
๑.๓.๖.๑ การมสี วนรวมในการเลือกวิธีการแกป ญหา
๑.๓.๖.๒ การมสี วนรว มในการแกปญหาความขดั แยง

๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมอื นและความแตกตางระหวางบคุ คล
๑.๓.๗.๑ การเลนหรือ ทาํ กิจกรรมรว มกับกลมุ เพื่อน

๑.๓.๘ ความรคู วามเขาใจเก่ียวกับการปอ งกันการทุจรติ
๑.๓.๘.๑ มีการคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกบั ผลประโยชนสวนรวม

๒๒

๑.๓.๘.๒ มีความอายและความไมท นตอการทุจริต
๑.๓.๘.๓ เกดิ STRONG : จิตพอเพียงตา นทุจริต
๑.๓.๘.๔ เปน พลเมืองและความรับผดิ ชอบตอสงั คม
๑.๔ ประสบการณสําคัญที่สงเสริมพัฒนาการดานสติปญญา เปนการสนับสนุนใหเด็กไดรับรู เรียนรูสิ่งตางๆ
รอบตัวผานการมปี ฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอม บุคคลและสื่อตางๆ ดวยกระบวนการเรียนรูท่ีหลากหลาย เพ่ือเปด
โอกาสใหเด็กพัฒนาการใชภาษา จินตนาการความคิดสรางสรรค การแกปญหา การคิดเชิงเหตุผล และการคิด
รวบยอดเกี่ยวกับส่ิงตางๆ รอบตัวและมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรท่ีเปนพ้ืนฐานของการเรียนรูในระดบั ที่
สงู ขน้ึ ตอ ไป
๑.๔.๑ การใชภาษา
๑.๔.๑.๑ การฟงเสยี งตา งๆ ในสงิ่ แวดลอ ม
๑.๔.๑.๒ การฟง และปฏิบตั ติ ามคาํ แนะนํา
๑.๔.๑.๓ การฟง เพลง นทิ าน คาํ คลอ งจอง บทรอยกรงหรือเร่ืองราวตางๆ
๑.๔.๑.๔ การแสดงความคดิ ความรูสกึ และความตอ งการ
๑.๔.๑.๕ การพูดกับผอู นื่ เกย่ี วกบั ประสบการณของตนเอง หรือพดู เลาเร่อื งราวเกี่ยวกบั ตนเอง
๑.๔.๑.๖ การพดู อธิบายเกยี่ วกับสิง่ ของ เหตกุ ารณ และความสมั พันธข องสิง่ ตางๆ
๑.๔.๑.๗ การพดู อยา งสรางสรรคในการเลน และการกระทําตางๆ
๑.๔.๑.๘ การรอจังหวะทีเ่ หมาะสมในการพดู
๑.๔.๑.๙ การพูดเรียงลําดบั เพ่ือใชในการส่อื สาร
๑.๔.๑.๑๐ การอา นหนงั สอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รูปแบบ
๑.๔.๑.๑๑ การอา นอสิ ระตามลําพงั การอา นรวมกนั การอา นโดยมผี ูช้แี นะ
๑.๔.๑.๑๒ การเห็นแบบอยา งของการอา นทถี่ ูกตอง
๑.๔.๑.๑๓ การสงั เกตทศิ ทางการอา นตัวอักษร คํา และขอ ความ
๑.๔.๑.๑๔ การอานและชี้ขอ ความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซายไปขวา จากบนลงลาง
๑.๔.๑.๑๕ การสังเกตตวั อกั ษรในชอ่ื ของตน หรอื คําคนุ เคย
๑.๔.๑.๑๖ การสงั เกตตวั อักษรทป่ี ระกอบเปน คาํ ผา นการอานหรือเขยี นของผูใหญ
๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคํา วลหี รอื ประโยค ทม่ี ีโครงสรา งซาํ้ ๆกัน จากนิทาน เพลง คําคลองจอง
๑.๔.๑.๑๘ การเลน เกมทางภาษา
๑.๔.๑.๑๙ การเห็นแบบอยางของการเขียนที่ถกู ตอง
๑.๔.๑.๒๐ การเขียนรว มกันตามโอกาส และการเขยี นอิสระ
๑.๔.๑.๒๑ การเขียนคาํ ทีม่ คี วามหมายกับตวั เดก็ /คําคนุ เคย
๑.๔.๑.๒๒ การคดิ สะกดคาํ และเขยี นเพื่อสอ่ื ความหมายดวยตนเองอยา งอสิ ระ
๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ เชงิ เหตุผล การตัดสินใจและแกปญหา
๑.๔.๒.๑ การสงั เกตลกั ษณะ สว นประกอบ การเปลย่ี นแปลง และความสมั พนั ธของส่งิ ตา งๆ
โดยใชป ระสาทสมั ผัสอยางเหมาะสม

๒๓

๑.๔.๒.๒ การสงั เกตสง่ิ ตางๆ และสถานที่จากมุมมองท่ีตา งกัน
๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตําแหนง ทิศทาง และระยะทางของส่งิ ตา งๆดว ยการกระทํา
ภาพวาด ภาพถาย และรูปภาพ
๑.๔.๒.๔ การเลนกบั สอ่ื ตางๆท่ีเปน ทรงกลม ทรงส่เี หลยี่ มมมุ ฉาก ทรงกระบอก กรวย
๑.๔.๒.๕ การคัดแยก การจดั กลุม และการจําแนกส่งิ ตางๆตามลักษณะและรปู รา ง รูปทรง
๑.๔.๒.๖ การตอ ของชนิ้ เลก็ เติมในชนิ้ ใหญใหส มบูรณ และการแยกชิน้ สวน
๑.๔.๒.๗ การทําซํา้ การตอ เติม และการสรา งแบบรูป
๑.๔.๒.๘ การนบั และแสดงจํานวนของส่งิ ตางๆในชีวิตประจําวัน
๑.๔.๒.๙ การเปรียบเทยี บและเรยี งลาํ ดับจาํ นวนของสิ่งตา งๆ
๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกสงิ่ ตางๆ
๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอันดับที่ของสิง่ ตา งๆ
๑.๔.๒.๑๒ การชั่ง ตวง วัดสง่ิ ตา งๆโดยใชเ ครื่องมอื และหนว ยที่ไมใชหนว ยมาตรฐาน
๑.๔.๒.๑๓ การจับคู การเปรียบเทียบ และการเรียงลําดับ สิ่งตางๆ ตามลักษณะความยาว/
ความสงู นํา้ หนกั ปรมิ าตร
๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรยี งลําดบั กิจกรรมหรอื เหตูการณต ามชว งเวลา
๑.๔.๒.๑๕ การใชภ าษาทางคณติ ศาสตรก ับเหตุการณใ นชวี ติ ประจาํ วัน
๑.๔.๒.๑๖ การอธิบายเชอ่ื มโยงสาเหตุและผลท่เี กิดขนึ้ ในเหตุการณหรอื การกระทํา
๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิง่ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ อยางมีเหตผุ ล
๑.๔.๒.๑๘ การมสี ว นรว มในการลงความเหน็ จากขอมลู อยางมีเหตผุ ล
๑.๔.๒.๑๙ การตัดสนิ ใจและมีสวนรวมในกระบวนการแกป ญหา
๑.๔.๓ จินตนาการและความคดิ สรางสรรค
๑.๔.๓.๑ การรบั รู และแสดงความคิดความรสู กึ ผานส่อื วัสดุ ของเลน และชน้ิ งาน
๑.๔.๓.๒ การแสดงความคดิ สรางสรรคผ า นภาษา ทาทาง การเคลือ่ นไหว และศิลปะ
๑.๔.๓.๓ การสรางสรรคชิน้ งานโดยใชร ูปรางรปู ทรงจากวัสดทุ ี่หลากหลาย
๑.๔.๔ เจตคติทด่ี ีตอการเรียนรแู ละการแสวงหาความรู
๑.๔.๔.๑ การสาํ รวจสงิ่ ตา งๆ และแหลงเรยี นรรู อบตัว
๑.๔.๔.๒ การต้งั คาํ ถามในเร่อื งทส่ี นใจ
๑.๔.๔.๓ การสบื เสาะหาความรเู พื่อคน หาคาํ ตอบของขอสงสยั ตา งๆ
๑.๔.๔.๔ การมีสวนรวมในการรวบรวมขอมูลและนําเสนอขอมูลจากการสืบเสาะหาความรูใน
รูปแบบตางๆและแผนภูมิอยางงาย

๒. สาระท่ีควรเรียนรู

สาระที่ควรเรียนรู เปนเรื่องราวรอบตัวเด็กท่ีนํามาเปนส่ือกลางในการจัดกิจกรรมใหเด็กเกิดแนวคิด
หลังจากนําสาระการเรียนรนู ั้น ๆ มาจัดประสบการณใหเด็ก เพ่ือใหบรรลุจัดหมายที่กําหนดไวทั้งนี้ ไมเนนการ

๒๔

ทองจําเน้ือหา ครสู ามารถกําหนดรายละเอียดข้ึนเองใหสอดคลองกับวัย ความตองการ และความสนใจของเด็ก
โดยใหเด็กไดเรียนรูผานประสบการณสําคัญ ท้ังน้ี อาจยืดหยุนเนื้อหาไดโดยคํานึงถึงประสบการณและ
สง่ิ แวดลอมในชวี ิตจริงของเด็ก ดังน้ี

๒.๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรรูจักชื่อ นามสกุล รูปรางหนาตา รูจักอวัยวะตางๆ วธิ ีระวังรกั ษา
รางกายใหสะอาดและมีสุขภาพอนามยั ท่ีดี การรบั ประทานอาหารท่ีเปนประโยชน การระมัดระวังความปลอดภัย
ของตนเองจากผูอ่ืนและภัยใกลตัว รวมทั้งการปฏิบัติตอผูอ่ืนอยางปลอดภัย การรูจักความเปนมาของตนเอง
และครอบครัว การปฏิบัตติ นเปนสมาชิกทีด่ ีของครอบครวั และโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผูอ ื่น การ
รจู ักแสดงความคิดเห็นของตนเองและรบั ฟงความคิดเห็นของผูอื่น การกํากบั ตนเอง การเลนและทาํ สิ่งตางๆดวย
ตนเองตามลําพังหรือกับผูอ่ืน การตระหนักรูเกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะทอนการรับรู
อารมณและความรูสึกของตนเองและผูอ่ืน การแสดงออกทางอารมณและความรูสึกอยางเหมาะสม การแสดง
มารยาททด่ี ี การมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม

๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดลอมเด็ก เด็กควรเรียนรูเก่ียวกับครอบครัว สถานศึกษา
ชุมชน และบุคคลตางๆ ท่ีเด็กตองเก่ียวของหรือใกลชิดและมีปฏิสัมพันธในชีวิตประจําวัน สถานที่สําคัญ วัน
สําคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหลงวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลักษณสําคัญของชาติไทยและการปฏิบัติ
ตามวฒั นธรรมทองถน่ิ และความเปนไทย หรอื แหลง เรยี นรูจากภูมปิ ญ ญาทอ งถิ่นอ่ืนๆ

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรูเก่ียวกับช่ือ ลักษณะ สวนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและ
ความสมั พันธของมนษุ ย สัตว พืช ตลอดจนการรจู กั เกี่ยวกบั ดิน น้ํา ทอ งฟา สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรง และ
พลงั งานในชีวิตประจําวันที่แวดลอมเด็ก รวมท้งั การอนรุ ักษส ิง่ แวดลอ มและการรกั ษาสาธารณสมบตั ิ

๒.๔ สิ่งตางๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรูเก่ียวกับการใชภาษาเพ่ือส่ือความหมายในชีวิตประจําวัน
ความรพู ้ืนฐานเก่ียวกบั การใชหนังสอื และตัวหนังสือ รจู ักช่ือ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รปู ราง รูปทรง ปรมิ าตร
น้ําหนกั จาํ นวน สว นประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธของสิ่งตา งๆรอบตัว เวลา เงิน ประโยชน การ
ใชงาน และการเลือกใชส่ิงของเคร่ืองใช ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการส่ือสารตางๆ ท่ีใชอยูใน
ชีวติ ประจาํ วันอยา งประหยัด ปลอดภยั และรักษาสิ่งแวดลอม

๒๕

การวิเคราะหสาระการเรียนรรู ายป
พัฒนาการดานรางกาย
มาตรฐานที่ ๑ รางกายเจรญิ เติบโตตามวัย

สภาพที่พึงประสงค สาระการเรยี นรูรายป

ตวั บงช้ี ชนั้ อ.๒ ชัน้ อ.๓ ประสบการณส าํ คญั สาระทคี่ วรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๑.๑.๑ ๑.๑.๑ น้าํ หนกั ๑.๑.๑ นํ้าหนัก ๑. การวัด ๑. การเจรญิ เตบิ โตของ

น้ําหนักและ และสวนสงู ตาม และสว นสูงตาม ๒. การปฏบิ ัตติ นตาม รางกาย

สวนสงู ตาม เกณฑของกรม เกณฑของกรม สขุ อนามยั สุขนิสยั ที่ดีใน ๒. อาหารทีช่ วยให

เกณฑของกรม อนามัย อนามัย กจิ วัตรประจาํ วัน รา งกายเจรญิ เตบิ โต

อนามยั ๓. นํ้าหนัก
๔. สวนสูง

๑.๒ มสี ุขภาพ ๑.๒.๑ ๑.๒.๑ ๑. การรกั ษาสขุ ภาพและ ๑. การปฏบิ ัตกิ ิจวตั ร

อนามยั และสขุ รับประทาน รับประทาน การรกั ษาความปลอดภัย ประจาํ วัน

นสิ ัยทด่ี ี อาหารทมี่ ี อาหารที่มี ๒. การปฏบิ ัตติ นตาม ๒. อาหารท่ีมปี ระโยชน

ประโยชนและดม่ื ประโยชนไดห ลาย สขุ อนามยั สุขนสิ ัยทีด่ ีใน และไมม ีประโยชน

นาํ้ สะอาดได ชนดิ และด่ืมนาํ้ ๓. การประกอบอาหาร ๓. อาหารหลกั ๕ หมู

ตนเอง สะอาดไดด วย ไทย ๔. การมีเจตคติท่ีดตี อ

ตนเอง ๔. การปฏิบัตติ นตาม การรบั ประทานอาหาร

สุขอนามัย สุขนสิ ัยท่ีดใี น ทีม่ ปี ระโยชน

กจิ วัตรประจําวัน ๔. มารยาทในการ
รับประทานอาหาร

๒๖

มาตรฐานที่ ๑ รา งกายเจรญิ เติบโตตามวยั (ตอ)

สภาพที่พงึ ประสงค สาระการเรียนรูรายป

ตวั บง ช้ี ชั้น อ.๒ ชั้น อ.๓ ประสบการณส ําคญั สาระท่คี วรเรียนรู

(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๑.๒ มีสุขภาพ ๑.๒.๒ ลา งมือ ๑.๒.๒ ลางมือ ๑. การปฏบิ ัตติ นตาม ๑. การปฏิบัติกิจวัตร

อนามัยและ กอนรบั ประทาน กอนรบั ประทาน สขุ อนามยั สุขนสิ ยั ที่ดีใน ประจําวนั

สขุ นิสัยทีด่ ี อาหารและ อาหารและ กิจวัตรประจาํ วัน ๒. การมีสุขนสิ ยั ทดี่ ีใน

(ตอ ) หลงั จากใช หลังจากใชหองน้ํา ๒. การชวยเหลือตนเองใน การรบั ประทาน

หอ งนา้ํ หองสวม หองสวมดวย กจิ วัตรประจาํ วัน อาหาร

ดวยตนเอง ตนเอง ๓. การขับถาย ๓. การทาํ ความ

๔. การปฏิบตั ติ นใหป ลอดภัย สะอาดอวัยวะตางๆ
ของตนเองและผูอนื่ ในกิจวตั ร ของรางกายและการ

ประจาํ วนั รกั ษาความปลอดภยั

๕. การฟงนิทานเรื่องราว ๔. วิธีระวังรักษา

เก่ียวกบั สขุ นสิ ัยที่ดี รา งกายใหส ะอาดและ

มีสุขภาพอนามยั ที่ดี

๑.๒.๓ นอน ๑.๒.๓ นอน การปฏบิ ัตติ นตามสขุ อนามัย ประโยชนข องการ

พกั ผอ นเปน พักผอนเปนเวลา สุขนิสัยทดี่ ใี นกิจวตั ร นอนหลบั พักผอน

เวลา ประจําวัน

๑.๒.๔ ออก ๑.๒.๔ ออกกําลงั ๑. การเลนอสิ ระ ๑. ประโยชนข องการ

กําลังกายเปน กายเปนเวลา ๒. การเคลอื่ นไหวขามสิง่ กดี ออกกําลังกาย

เวลา ขวาง ๒. การเลน เคร่ืองเลน

๓. การเลนเคร่ืองเลนอยาง สนามอยางถกู วธิ ี

ปลอดภัย
๔. การละเลนพ้นื บา นไทย

๕. การเลน นอกหองเรยี น

๖. การเลน เคร่ืองเลน สนาม

๒๗

มาตรฐานท่ี ๑ รางกายเจริญเติบโตตามวยั (ตอ )

สภาพที่พงึ ประสงค สาระการเรยี นรูรายป

ตวั บง ช้ี ชน้ั อ.๒ ชน้ั อ.๓ ประสบการณส ําคัญ สาระที่ควรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๑.๓ รกั ษาความ ๑.๓.๑ เลน และ ๑.๓.๑ เลน และทํา ๑. การปฏิบัติตนให ๑. การรกั ษาความ

ปลอดภัยของ ทํากิจกรรมอยา ง กจิ กรรมและ ปลอดภยั ในกิจวัตร ปลอดภัยของตนเอง

ตนเองและผอู ่นื ปลอดภยั ดวย ปฏิบตั ติ อผอู นื่ ประจําวัน และการปฏิบตั ิตอผอู ่นื

ตนเอง อยางปลอดภยั ๒. การฟงนิทาน อยางปลอดภยั ใน

เรื่องราวเหตกุ ารณ ชีวิตประจําวัน

เกี่ยวกบั การปองกันและ ๒. การปฏิบัติตนอยาง

รกั ษาความปลอดภัย เหมาะสมเมื่อเจ็บปวย
๓. การเลนบทบาท ๓. การระวังภัยจากคน

สมมติเหตุการณต า งๆ แปลกหนาและอบุ ตั ิภัย

๔. การพูดกบั ผอู ื่น ตา งๆ

เก่ยี วกบั ประสบการณ

ของตนเองหรือพูดเลา

เรื่องราวเกีย่ วกับตนเอง
๕. การเลน เครื่องเลน

อยางปลอดภยั

๖. การเลน และทํางาน

รวมกับผอู น่ื

พัฒนาการดานรา งกาย

๒๘

มาตรฐานที่ ๒ กลา มเนื้อใหญและกลามเน้ือเล็กแข็งแรง ใชไดอ ยา งคลองแคลว และประสานสมั พันธกนั

สภาพที่พงึ ประสงค สาระการเรียนรูรายป

ตัวบงชี้ ช้ัน อ.๒ ชน้ั อ.๓ ประสบการณส ําคญั สาระท่ีควรเรียนรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)
๒.๑
เคลอ่ื นไหว ๒.๑.๑ เดนิ ตอ ๒.๑.๑ เดนิ ตอเทา ๑. การทรงตัวและการ ๑. การทรงตัวขณะเดิน
รางกายอยาง
คลอ งแคลว เทาไปขา งหนา ไปขา งหนา เปน ประสานสัมพันธของ ตามแนวท่ีกําหนด
ประสาน
สมั พนั ธแ ละ เปนเสนตรงได เสน ตรงไดโดยไม กลา มเน้ือมัดใหญ ๒. การทดลองข้นึ – ลง
ทรงตวั ได
โดยไมต องกาง ตองกางแขน ๒. การเคล่อื นไหวอยูกับท่ี บนั ได

แขน และการเคลื่อนไหว ๓. เดินตอ เทา และเดนิ

เคลอื่ นท่ี ถอยหลังตามเสนได

๔. การเคล่ือนไหว
รา งกายในลกั ษณะตางๆ

๒.๑.๒ ๒.๑.๒ กระโดดขา ๑. การทรงตัวและ ๑. การทรงตัวขณะ

กระโดดขา เดยี วไปขางหนา เคลื่อนไหวอยูกบั ที่ กระโดดตามทก่ี าํ หนดได

เดียวอยูกบั ท่ี ไดอ ยา งตอ เน่ือง

ไดโดยไมเสยี โดยไมเสียการทรง

การทรงตวั ตัว

๒.๑.๓ ว่งิ หลบ ๒.๑.๓ ว่งิ หลบ ๑. การเลน ในหอ งเรยี นและ ๑. การเรมิ่ ตน และหยดุ
หลกี ส่ิงกีด หลกี สง่ิ กดี ขวางได นอกหองเรียน โดยมีสญั ญาณ

ขวางได อยางคลองแคลว ๒. การทรงตัวและการ

เคล่ือนไหวเคลอื่ นที่

๒.๑.๔ รบั ลูก ๒.๑.๔ รบั ลูกบอล ๑. การทรงตัว ๑. การทรงตัวและการรับ
บอลโดยใชมือ ท่กี ระดอนข้นึ จาก ๒. การเคลื่อนไหวเคลอื่ นท่ี ลกู บอลโดยการใชการ

ทง้ั ๒ ขาง พ้ืนได ๓. การประสานสัมพันธ ประสานสัมพนั ธระหวา ง

ระหวา งมอื กับตา มอื กบั ตา

๔. การโยนรบั ลูกบอล

๒๙

พัฒนาการดานรางกาย
มาตรฐานที่ ๒ กลามเน้ือใหญและกลามเน้ือเล็กแข็งแรง ใชไดอยางคลองแคลว และประสานสัมพันธกัน
(ตอ)

สภาพท่ีพงึ ประสงค สาระการเรียนรูรายป

ตวั บงชี้ ชน้ั อ.๒ ชน้ั อ.๓ ประสบการณส าํ คัญ สาระทีค่ วรเรียนรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)
๒.๒ ใชมือ –
ตา ประสาน ๒.๒.๑ ใช ๒.๒.๑ ใช ๑. การประสานสัมพนั ธข อง ๑. การใชมือทําสิ่ง
สมั พนั ธก นั กลามเนอ้ื เล็ก ตางๆ
กรรไกรตดั กรรไกรตัด ๒. การหยบิ จบั
๓. การใชกรรไกรตัดกระดาษ ๑. การเขียนภาพเปน
กระดาษตาม กระดาษตาม ตามแนวเสนได ลกั ษณะ รปู รา งตา งๆ
๔. การประสานสัมพนั ธ ๒. การใชม ือทําสง่ิ
แนวเสน ตรงได แนวเสนโคง ได ระหวางมอื กับตา ตา งๆ

๒.๒.๒ เขียนรูป ๒.๒.๒ เขียนรปู ๑. การประสานสัมพันธข อง ๑. การรอ ยลกู ปด
สเี หลย่ี มตาม สามเหลย่ี มตาม กลามเนอื้ มดั เลก็ ๒. การใชม ือทําส่ิง
แบบไดอ ยางมี แบบไดอยางมี ๒. การประสานสัมพันธ ตางๆ
มมุ ชดั เจน มมุ ชดั เจน ระหวางมอื กับตา
๓. การเขยี นรปู สเ่ี หลย่ี มและ
๒.๒.๓ รอยวัสดุ ๒.๒.๓ รอ ยวสั ดุ สามเหลีย่ ม
ทีม่ ีรขู นาดเสน ทีม่ ีรูขนาดเสน ๔. ฉีกปะกระดาษเปนรปู ตางๆ
ได
ผา นศนู ยก ลาง ผานศนู ยก ลาง
๐.๕ เซนติเมตร ๐.๒๕ ๑. การประสานสัมพันธของ
กลามเนือ้ มัดเล็ก
ได เซนติเมตร ได ๒. การประสานสัมพันธ
ระหวางมอื กับตา
๓. รอยวสั ดุทม่ี ีรูขนาดเล็ก

๓๐

พฒั นาการดานอารมณ จิตใจ
มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจิตดีและมคี วามสุข

สภาพทีพ่ ึงประสงค สาระการเรยี นรูรายป

ตัวบง ชี้ ช้นั อ.๒ ชั้น อ.๓ ประสบการณส าํ คญั สาระทค่ี วรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๓.๑ แสดงออก ๓.๑.๑ แสดง ๓.๑.๑ แสดง ๑. การพูดสะทอน ๑. การแสดงออกทาง

ทาง อารมณไ ด อารมณความรสู กึ อารมณค วามรูส กึ ความรูสึกของตนเอง อารมณท ี่เหมาะสมกับ

อยาง ไดตามสถานการณ ไดส อดคลอ งกับ และผอู นื่ สถานการณต างๆ

เหมาะสม สถานการณอยาง ๒. การคดิ การรสู ึกถึง ๒. การแสดงทา ทาง

เหมาะสม ความตองการของ ประกอบเรอ่ื งราว หรือ

รา งกายและจิตใจ เหตุการณต า งๆ

๓.๒ มีความรูสึก ๓.๒.๑ กลา พดู ๓.๒.๑ กลา พดู ๑. การเลน รายบุคคล ๑. ความแตกตา ง
ท่ดี ตี อ ตนเอง กลาแสดงออก กลาแสดงออก ๒. การเลน เปนกลมุ ระหวา งบคุ คล รปู ราง

และผอู นื่ อยางเหมาะสม อยางเหมาะสม ๓. การแสดงบทบาท หนาตา อารมณแ ละ

บางสถานการณ ตามสถานการณ สมมติ ความรสู ึก

๒. การสือ่ สารกบั บุคคล

อื่น

๓.๒.๒ แสดงความ ๓.๒.๒ แสดงความ ๑. การทํากิจกรรม ๑. การแสดงออก
พอใจในผลงาน พอใจในผลงาน ศลิ ปะตางๆ ทางดา นอารมณของ

และความสามารถ และความสามารถ ๒. การเคล่ือนไหว ตนเอง

ของตนเอง ของตนเองตนเอง ๓. การรองเพลง ๒. การทาํ กิจกรรม

และผอู ่ืน ๔. การแสดงความภาค รวมกันกับผอู ่นื

ถูมิใจในสงิ่ ตางๆที่ ๓. การเลน หรอื การทํา

ตนเองกระทําแลว สงิ่ ตางๆดว ยตนเองและ
ประสบความสําเรจ็ ผูอ่นื

๕. การสรา งสรรคส ่ิง

สวยงาม

๓๑

พฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ
มาตรฐานท่ี ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว

สภาพทพี่ ึงประสงค สาระการเรียนรูรายป

ตัวบง ชี้ ชั้น อ.๒ ชั้น อ.๓ ประสบการณส าํ คญั สาระที่ควรเรยี นรู

๔.๑ สนใจ มี (๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)
ความสขุ
และแสดงออก ๔.๑.๑ สนใจ ๔.๑.๑ สนใจ ๑. การช่ืนชมส่ิง ๑. การทํางานศิลปะ
ผาน
งานศิลปะ ดนตรี มคี วามสุขและ มีความสขุ และ สวยงามและสรางสรรค
และการ
เคลือ่ นไหว แสดงออกผา น แสดงออกผา น ผลงานศลิ ปะของตนเอง

งานศลิ ปะ งานศลิ ปะ และผูอ ่นื

๒. การเลนบทบาท

สมมติ
๓. การทํากิจกรรม

ศิลปะตา งๆ

๔.๑.๒ สนใจ ๔.๑.๒ สนใจ ๑. การแสดงออกอยา ง ๑. การฟงเพลง ดนตรี
มคี วามสุขและ มีความสุขและ สนกุ สนานกบั เสียงเพลง ๒. การรูจักเพลง
แสดงออกผาน แสดงออกผา น ดนตรีเคลอ่ื นไหว ดนตรีประเภทตา งๆ
เสียงเพลงดนตรี เสียงเพลงดนตรี
๒. การรอ งเพลงและ ๑. การรอ งเพลง
๔.๑.๓ สนใจ ๔.๑.๓ สนใจ การแสดงปฏิกิรยิ า ประกอบทา ทาง
มีความสุขและ มคี วามสุขและ โตตอบเสยี งดนตรี ๒. การเคล่ือนไหว
แสดงทา ทาง/ แสดงทา ทาง/ อสิ ระ
เคล่ือนไหว เคล่ือนไหว ๑. การฟงเพลง
ประกอบเพลง ประกอบเพลง ๒. การรอ งเพลงและ
จังหวะและดนตรี จังหวะและดนตรี การแสดงปฏิกิรยิ า

โตตอบเสยี งดนตรี
๓. การเคล่ือนไหวตาม

เสียงเพลงและดนตรี

๓๒

พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ
มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจทดี่ งี าม

สภาพที่พงึ ประสงค สาระการเรยี นรูร ายป

ตัวบง ชี้ ช้ัน อ.๒ ช้ัน อ.๓ ประสบการณส าํ คญั สาระที่ควรเรียนรู
๕.๑ ซ่ือสตั ย
สุจรติ (๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๕.๒ มีความ ๕.๑.๑ บอกหรือ ๕.๑.๑ บอก ๑. การฟงนทิ าน เก่ยี วกบั ๑. คุณธรรม
เมตตากรุณามี
นํ้าใจและ ชไี้ ดวาส่งิ ใดเปน หรือชไี้ ดวาสง่ิ ใด คุณธรรม จริยธรรม จริยธรรม
ชว ยเหลือ
แบง ปน ของตนเองและ เปนของตนเอง ๒. การรวมสนทนาและ - ความซือ่ สัตวส จุ รติ

สิ่งใดเปนของ และสงิ่ ใดเปน แลกเปล่ียนความคิดเหน็ เชิง - ความเกรงใจ

ผูอืน่ เมอื่ มีผู ของผอู ่นื ดวย จริยธรรม ๒. การเคารพสทิ ธิ

ชี้แนะ ตนเอง ๓. การเลน บทบาทสมมติ ของตนเองและผอู ื่น
๔. การปฏิบัตติ นเปน สมาชิกทดี่ ี ๓. การมีมารยาทท่ดี ี

ของหองเรยี น

๕. การปฏบิ ัติตนตามศาสนาที่

ตนเองนบั ถือ

๖. การปฏิบตั ิตนตามมารยาทท่ี

ดี

๕.๒.๑ แสดง ๕.๒.๑ แสดง ๑. การฟงนทิ าน เก่ยี วกบั ความ ๑. คุณธรรม
ความรกั เพือ่ น ความรักเพื่อน
และมเี มตตาสตั ว และมเี มตตา เมตตากรุณา จริยธรรม
เลีย้ ง สตั วเล้ยี ง
๒. การเลน บทบาทสมมติ - ความเมตตา
๕.๒.๒ ชวยเหลอื ๕.๒.๒
และแบง ปนผูอ่นื ชวยเหลือและ ๓. การเล้ียงสัตว กรุณา
ไดเม่ือมีผชู ้ีแนะ แบง ปนผอู น่ื ได เอือ้ เฟอเผื่อแผผ ูอ่ืน

ดวยตนเอง ๑. การฟงนิทาน เกี่ยวกบั ๑. คุณธรรม

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จริยธรรม
๒. การเลนบทบาทสมมติ - ความมีนํ้าใจ

๓. การปฏบิ ตั ิตนเปน สมาชิกท่ีดี ชว ยเหลือ แบงปน

ของหองเรยี น - ความกตญั ู

๓๓

พฒั นาการดานอารมณ จิตใจ
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจที่ดงี าม (ตอ)

สภาพทพ่ี งึ ประสงค สาระการเรยี นรูรายป

ตัวบง ช้ี ช้นั อ.๒ ช้ัน อ.๓ ประสบการณสําคญั สาระท่คี วรเรียนรู
๕.๓ มีความเห็น
อกเหน็ ใจผูอ่ืน (๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๕.๔ มีความ ๕.๓.๑ แสดงสี ๕.๓.๑ แสดงสี ๑. การเลน และทํางาน ๑. คุณธรรมจรยิ ธรรม
รับผดิ ชอบ
หนา และ หนาและทาทาง รวมกับผูอื่น - ความเห็นอกเหน็ ใจ

ทา ทางรบั รู รบั รคู วามรูส ึก ๒. การเลน บทบาทสมมติ ผอู ่ืน

ความรสู กึ ผูอ่นื ผอู ่นื อยาง

สอดคลอ งกับ

สถานการณ

๕.๔.๑ ทํางาน ๕.๔.๑ ทาํ งานที่ ๑. การทาํ กิจกรรมศลิ ปะ ๑. คุณธรรม จริยธรรม
ท่ไี ดรับ ไดรับมอบหมาย ตางๆ - ความรบั ผิดชอบ

มอบหมายจน จนสาํ เร็จดวย ๒. การดแู ลหองเรยี น - ความอดทน มุงมั่น
รวมกนั - ความเพยี ร
สําเรจ็ เม่ือมีผู ตนเอง ๓. การมสี วนรวม
รับผดิ ชอบดูรักษา
ช้แี นะ
สง่ิ แวดลอ มทงั้ ภายในและ
ภายนอกหอ งเรยี น
๔. การรวมกําหนด

ขอตกลงของหองเรยี น

๓๔

พัฒนาการดานสังคม
มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชีวติ และปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สภาพที่พงึ ประสงค สาระการเรียนรูรายป

ตัวบงชี้ ช้นั อ.๒ ชั้น อ.๓ ประสบการณ สาระทีค่ วรเรียนรู
๖.๑ ชวยเหลือ (๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป) สําคญั
ตนเองในการ
ปฏิบัตกิ ิจวัตร ๖.๑.๑ แตง ตัว ๖.๑.๑ แตง ตวั ๑. การปฏบิ ัติ ๑. การแตงกาย
ประจาํ วัน
ดว ยตนเอง ดว ยตนเองได กจิ วัตรประจาํ วัน
๖.๒ มีวินัยใน
ตนเอง อยางคลองแคลว ของตนเอง

๖.๓ ประหยัด ๖.๑.๒ ๖.๑.๒ ๑. การปฏิบตั ิ ๑. การ
และพอเพียง
รับประทาน รับประทาน กจิ วัตรประจาํ วัน รบั ประทาน

อาหารดวย อาหารดวยตนเอง ของตนเอง อาหาร

ตนเอง อยางถูกวิธี

๖.๑.๓ ใชห องน้ํา ๖.๑.๓ ใชและทํา ๑. การปฏิบัติ ๑. การใชหองนาํ้

หองสวมดว ย ความสะอาดหลงั กิจวตั รประจําวัน หอ งสวม

ตนเอง ใชหอ งนํา้ หอ ง ของตนเอง ๒. การดแู ลรกั ษา

สว มดวยตนเอง ความสะอาด

หองน้าํ หองสวม

๖.๒.๑ เก็บของ ๖.๒.๑ เก็บของ ๑. การปฏิบัติ ๑. การเกบ็ ของ

เลน ของใชเขา เลน ของใชเขาที่ กจิ วัตรประจาํ วัน เลนเขา ท่ีให

ดว ยตนเอง อยางเรยี บรอ ย ของตนเอง เรยี บรอย

ดว ยตนเอง ๒. การมีระเบยี บ

วนิ ัย

๖.๒.๒ เขาแถว ๖.๒.๒ เขาแถว ๑. การมีระเบยี บ ๑. การเขาแถว

ตามลําดับ ตามลําดบั วนิ ยั

กอ นหลังไดด วย กอ นหลังไดดวย
ตนเอง ตนเอง

๖.๓.๑ ใชสงิ่ ของ ๖.๓.๑ ใชส ิ่งของ ๑. การใชว สั ดุ ๑. การเปด – ปด

เคร่อื งใชอยาง เคร่ืองใชอยา ง และสง่ิ ของ นํา้ และไฟโดย

ประหยัดและ ประหยัดและ เคร่อื งใชอยาง การใชอยา ง
พอเพยี งเม่ือมผี ู พอเพียงดวย คุมคา พอเพยี ง

ชี้แนะ ตนเอง

๓๕

พัฒนาการดานสังคม
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ ม วัฒนธรรม และความเปนไทย

สภาพทพี่ งึ ประสงค สาระการเรียนรูรายป

ตวั บงชี้ ชน้ั อ.๒ ชั้น อ.๓ ประสบการณส าํ คญั สาระทคี่ วร
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป) เรยี นรู
๗.๑ ดูแล
รักษา ๗.๑.๑ มี ๗.๑.๑ มี ๑. การมีสวนรว มในการดแู ลรกั ษา ๑. สง่ิ แวดลอม
ธรรมชาติ
และ สว นรว ม สว นรวมดแู ล สง่ิ แวดลอ มทัง้ ภายในและ ในโรงเรียน และ
ส่ิงแวดลอ ม
ดแู ลรกั ษา รักษา ภายนอกหอ งเรียน การดแู ลรกั ษา

ธรรมชาติ ธรรมชาติ ๒. การสนทนาขา วและเหตุการณ ๒. ส่ิงแวดลอม

และ และ ทเ่ี กี่ยวกับธรรมชาตแิ ละ ตามธรรมชาติ

สงิ่ แวดลอ ม สง่ิ แวดลอม สิ่งแวดลอ มในชวี ิตประจาํ วัน และการอนุรักษ
เม่ือมีผู ดวยตนเอง ๓. การเพาะปลูกและดูแลตน ไม สง่ิ แวดลอ ม

ชแ้ี นะ ๔. การอธบิ ายเช่ือมโยงสาเหตแุ ละ ๓. การรกั ษา

ผลท่เี กิดขึ้นในเหตุการณหรอื การ สาธารณะ

กระทาํ สมบตั ิใน

๕. การตดั สินใจและมีสวนรวมใน หองเรยี น

กระบวนการแกป ญหา

๗.๑.๒ ทงิ้ ๗.๑.๒ ทง้ิ ๑. การคดั แยก การจัดกลุมและ ๑. ขยะและการ

ขยะไดถ ูกท่ี ขยะไดถ ูกท่ี จําแนกสิง่ ตางๆตามลักษณะและ คัดแยกขยะ

รปู ราง รปู ทรง ๒. การดแู ล

๒. การใชวสั ดุและสง่ิ ของเครื่องใช รกั ษา
อยางคุมคา ส่ิงแวดลอม

๓. การทาํ งานศิลปะทน่ี าํ วัสดุหรือ

ส่ิงของ เคร่ืองใชท ีใ่ ชแลว มาใชซ้าํ

หรอื แปรรปู แลวนํากลบั มาใชใหม

๔. การสรา งสรรคช ้ินงานโดยใช

รูปรา ง รปู ทรงจากวัสดทุ ี
หลากหลาย

๕. การปฏบิ ัติตนเปน สมาชิกทดี่ ี

ของหองเรยี น

๓๖

พฒั นาการดานสงั คม
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ สิง่ แวดลอม วัฒนธรรม และความเปนไทย (ตอ )

สภาพที่พึงประสงค สาระการเรยี นรูรายป

ตวั บงช้ี ชัน้ อ.๒ ชั้น อ.๓ ประสบการณส ําคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)
๗.๒ มี
มารยาท ๗.๒.๑ ปฏิบัติ ๗.๒.๑ ปฏิบัติ ๑. การปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรม ๑. การปฏิบตั ติ นตาม
ตาม
วัฒนธรรม ตนตาม ตนตาม ทองถ่นิ ที่อาศัยและประเพณีไทย มารยาทและวฒั นธรรม
ไทยและรัก
ความเปน มารยาทไทยได มารยาทไทยได ๒. การเลนบทบาทสมมติการ ไทย
ไทย
ดวยตนเอง ตามกาลเทศะ ปฏบิ ัติตนในความเปนไทย - การแสดงความเคารพ

- การพดู สุภาพ

- การกลา วคาํ ขอบคุณ
และขอโทษ

๒. การมีระเบยี บวินัย

๗.๒.๒ กลาว ๗.๒.๒ กลา ว ๑. การปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรม ๑. การปฏบิ ัตติ นตาม

คาํ ขอบคณุ คําขอบคณุ ทองถน่ิ ท่อี าศยั และประเพณีไทย มารยาทและวฒั นธรรม

และขอโทษ และขอโทษ ๒. การเลน บทบาทสมมติการ ไทย

ดวยตนเอง ดว ยตนเอง ปฏิบัตติ นในความเปน คนไทย - การพูดสภุ าพ

๓. การพูดสะทอ นความรูสกึ ของ - การกลาวคาํ ขอบคณุ

ตนเองและผอู ื่น และขอโทษ

๗.๒.๓ ยืนตรง ๗.๒.๓ ยนื ตรง ๑. การปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรม ๑. วนั สาํ คญั ของชาติ

เมื่อไดย ินเพลง และรว มรอง ทองถิ่นทอี่ าศัยและประเพณีไทย ศาสนา พระมหากษตั รยิ 

ชาตไิ ทยและ เพลงชาติไทย ๒. การเลนบทบาทสมมติการ ๒. สญั ลกั ษณส ําคัญของ

เพลงสรรเสรญิ และเพลง ปฏิบตั ติ นในความเปน คนไทย ชาติไทย

พระบารมี สรรเสริญพระ ๓. การรวมกิจกรรมวนั สําคัญ ๓. การแสดงความ
บารมี จงรักภักดีตอชาติ

ศาสนา พระมหากษตั รยิ 

๓๗

พฒั นาการดานสังคม
มาตรฐานท่ี ๘ อยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุขและปฏิบัติตนเปนมาสมาชิกท่ีดีของสังคมในระบอบ
ประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข

สภาพทพ่ี ึงประสงค สาระการเรียนรรู ายป

ตัวบงชี้ ช้ัน อ.๒ ช้ัน อ.๓ ประสบการณสําคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๘.๑ ยอมรบั ๘.๑.๑ เลน ๘.๑.๑ เลน ๑. การเลน และการทาํ งาน ๑. การเลน และการทาํ งาน

ความเหมือน และทํา และทาํ รวมกับผูอื่น รวมกบั ผูอ่ืน

และความ กิจกรรม กิจกรรม ๒. การมีโอกาสไดรบั ความรู ๒. การรับฟงความคิดเหน็

แตกตาง รวมกบั เดก็ ท่ี รวมกบั เดก็ ท่ี ความรสู ึก ความสนใจ และ ของผูอื่น

ระหวางบคุ คล แตกตา งไป แตกตางไปจาก ความตองการของตนเอง
จากตน ตน และผูอื่น

๘.๒ มี ๘.๒.๑ เลน ๘.๒.๑ เลน ๑. การเลน และทาํ งาน ๑. การเลนและการทํางาน

ปฏสิ ัมพันธที่ หรอื ทํางาน หรอื ทํางาน รวมกับผูอ่นื รวมกับผูอน่ื

ดีกับผอู น่ื รวมกบั เพื่อน รวมมอื กบั ๒. การแลกเปล่ียนความ ๒. การรับฟงความคดิ เห็น

เปน กลมุ เพอ่ื นอยางมี คิดเห็นและเคารพความ ของผูอนื่

เปาหมาย คดิ เหน็ ของผูอ่ืน๓. การมี ๓. รูจกั แบง ปน

โอกาสไดรบั ความรู ๔. การเหลอื ผอู ่นื

ความรสู ึก ความสนใจ และ ๕. การมนี า้ํ ใจ

ความตองการของตนเอง ๖. รจู ักการรอคอย

และผอู ืน่

๘.๒.๒ ย้มิ ๘.๒.๒ ย้มิ ๑. การปฏิบตั ิตาม ๑. การไหว

ทกั ทาย หรือ ทกั ทาย และ วัฒนธรรมทอ งถนิ่ ท่ีอาศัย ๒. การกลาวทักทาย “สวัสดี

พดู คยุ กบั พดู คยุ กับ อยูและความเปนไทย คะ” “สวัสดคี รบั ”
ผูใ หญแ ละ ผใู หญแ ละ ๒. การมีประสบการณ ๓. การความเคารพ การ

บคุ คลที่ บคุ คลทค่ี ุนเคย วัฒนธรรมทองถน่ิ และความ กลา วคําขอบคุณและขอโทษ

คนุ เคยไดด วย ไดเหมาะสมกับ เปนไทย ๔. การมีมารยาทตาม

ตนเอง สถานการณ วฒั นธรรมไทย

๓๘

พฒั นาการดานสงั คม

มาตรฐานที่ ๘ อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุขและปฏิบัติตนเปนมาสมาชิกท่ีดีของสังคมในระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข (ตอ)

สภาพทพี่ ึงประสงค สาระการเรียนรูรายป

ตัวบง ชี้ ช้นั อ.๒ ช้นั อ.๓ ประสบการณสาํ คญั สาระที่ควรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๘.๓ ปฏิบตั ิตน ๘.๓.๑ มสี วนรว มสราง ๘.๓.๑ มีสว นรว มสรา ง ๑. การแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น ๑. การปฏิบัติตาม

เบือ้ งตนในการ ขอตกลงและปฏิบตั ิตาม ขอตกลงและปฏิบตั ิ และเคารพความคดิ เห็นของผอู ื่น ขอตกลงรวมกนั
เปนสมาชิกท่ี ขอตกลงเมือ่ มีผูชี้แนะ ตามขอ ตกลงดวย ๒. การเลนและการทาํ งาน

ดขี องสงั คม ตนเอง รว มกับผูอ่ืน
๓. เด็กมีโอกาสไดรบั รูความรูสึก

ความสนใจ และความตองการ

ของตนเองและผูอ่ืน

๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ิตนเปน ๘.๓.๒ ปฏิบตั ิตนเปน ๑. การวางแผน ตัดสนิ ใจเลือก ๑. รจู ักการเปน

ผนู ําและผตู ามไดดวั ย ผนู ําและผตู ามได และลงมือปฏิบัติ ผูนํา – ผตู ามทดี่ ี

ตนเอง เหมาะสมกับ ๒. การเลนและการทํางาน ๒. การรอคอย

สถานการณ รว มกับผูอื่น
๓. เดก็ มีโอกาสไดร ับรคู วามรูสึก

ความสนใจ และความตอ งการ
ของตนเองและผอู ื่น

๘.๓.๓ ประนปี ระนอม ๘.๓.๓ ประนปี ระนอม ๑. การแกป ญหาในการเลนหรือ ๑. การทาํ กิจกรรม

แกไ ขปญหาโดย แกไ ขปญหาโดย ทาํ กิจกรรม กลุมยอย และกลุม

ปราศจากการใชค วาม ปราศจากการใชความ ๒. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ใหญ
รุนแรงเม่อื มีผูช้ีแนะ รุนแรงดว ยตนเอง และเคารพความคิดเห็นของผอู ่ืน

๘.๓.๔ การคิดแยกแยะ ๘.๓.๔ การคิดแยกแยะ ๑. การวางแผน ตัดสินใจเลือก ๑. การเลนและ
ระหวางผลประโยชน ระหวา งผลประโยชน และลงมือปฏิบตั ิ การทํางานรวมกับ

สวนตน กับผลประโยชน สวนตน กับ ๒. การเลนและการทํางาน ผูอืน่

สวนรวม ความอายและ ผลประโยชนส ว นรวม รวมกบั ผูอ่ืน ๒. การรบั ฟงความ
ความไมท นตอการทุจรติ ความอายและความไม ๓. เด็กมีโอกาสไดร ับรคู วามรสู ึก คดิ เห็นของผอู ืน่

STRONG : จิตพอเพียง ทนตอ การทุจริต ความสนใจ และความตองการ
ตา นทุจริต และพลเมือง STRONG : จติ พอเพียง ของตนเองและผูอื่น

กับความรบั ผดิ ชอบตอ ตานทจุ ริต และ

สงั คม พลเมอื ง กบั ความ
รับผิดชอบตอสังคม

๓๙

พัฒนาการดานสตปิ ญญา
มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ าษาสอ่ื สารไดเหมาะสมกบั วยั

สภาพท่พี ึงประสงค สาระการเรยี นรูรายป

ตวั บง ช้ี ชน้ั อ.๒ ช้ัน อ.๓ ประสบการณสาํ คัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๙.๑ ๙.๑.๑ ฟง ๙.๑.๑ ฟง ผูอน่ื ๑. การสนทนาโตตอบและเลา ๑. การแสดงบทบาท

สนทนา ผูอน่ื พดู จน พดู จนจบและ เร่อื งราวตางๆ สมมติ

โตตอบ จบและ สนทนาโตตอบ ๒. การคดิ ๒. การเลา ขาว

และเลา สนทนา อยางตอเน่ือง ๓. การใชภาษา ๓. การแสดงความคิดเหน็

เร่อื งให โตต อบ เชอื่ มโยงกับเรื่อง ๔. การแสดงความรูส กึ ดวย ๔. การส่อื สาร

ผอู ่นื สอดคลอ งกับ ทฟี่ ง คาํ พดู
เขาใจ เรื่องที่ฟง

๙.๑.๒ เลา ๙.๑.๒ เลาเปน ๑. การคดิ ๑. การแสดงบทบาท

เรื่องเปน เรื่องราวตอ เนือ่ ง ๒. การใชภาษา สมมติ

ประโยคอยาง ได ๓. การพูดกบั ผูอื่นเกี่ยวกบั ๒. การเลา ขาว เลาเรือ่ ง

ตอเน่ือง ประสบการณของตนเองหรือ ๓. การแสดงความคดิ เห็น

เลา เร่ืองราวเก่ียวกับตนเอง ๔. เลา ประสบการณของ

ตนเอง

๕. การสนทนากบั ผูอ ื่น

๙.๒ อา น ๙.๒.๑ อาน ๙.๒.๑ อา นภาพ ๑. การคดิ ๑. การแสดงบทบาท

เขยี นภาพ ภาพ สญั ลักษณ คาํ ๒. การอานภาพ หรอื สมมติ

และ สัญลักษณ คาํ ดวยการชห้ี รือ สัญลกั ษณจากนทิ าน หรือ ๒. การเลา นิทาน

สญั ลกั ษณ พรอ มท้ังช้ี กวาดตามอง เร่อื งราวท่สี นใจ ประกอบภาพ

ได หรอื กวาดตา จุดเริ่มตน และจด ๓. การใชภ าษา ๓. การแสดงความคดิ เห็น
มองขอ ความ จบขอความ ๔. การอานในหลายรูปแบบ ๔. เลา ประสบการณของ

ตามบรรทดั ผานประสบการณท่ีสอ่ื ตนเอง

ความหมายตอเดก็ ๖. หนงั สือตางๆ

๙.๒.๒ เขยี น ๙.๒.๒ เขยี นชือ่ ๑. การเขียนในหลายรปู แบบ ๑. การรจู ักชอ่ื ตนเอง
คลา ย ของตนเองตาม ผานประสบการณทสี่ อื่

ตวั อักษร แบบ เขียน ความหมายตอเดก็

ขอความดว ยวิธี ๒. การเขียนภาพ เขยี นคลาย

ท่ีคิดข้นึ เอง ตวั อักษร เขียนสญั ลักษณ เขียน

ชอื่ ตนเอง

๔๐

พัฒนาการดานสติปญญา
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ที่เปนพ้ืนฐานในการเรยี นรู

สภาพทพี่ งึ ประสงค สาระการเรยี นรรู ายป

ตัวบง ช้ี ชน้ั อ.๒ ชั้น อ.๓ ประสบการณ สาระทคี่ วรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป) สําคัญ

๑๐.๑ มี ๑๐.๑.๑ บอก ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ ๑. การคดิ ๑. กิจกรรมเกม
ความสามารถ ลกั ษณะและ สว นประกอบ การ ๒. การใชภาษา การศกึ ษา

ในการคิดรวบ สว นประกอบของ เปลี่ยนแปลงหรือ ๓. การสงั เกต การ ๒. กจิ กรรสรางสรรค

ยอด สิ่งตางๆจากการ ความสมั พนั ธข องส่ิง จําแนก และการ ๓. การทดลอง

สงั เกตโดยใช ตางๆจากการสงั เกตโดย เปรยี บเทียบ

ประสาทสมั ผัส ใชป ระสาทสมั ผัส

๑๐.๑.๒ จบั คแู ละ ๑๐.๑.๒ จับคูและ ๑. การคดิ ๑. กิจกรรมเกม

เปรียบเทียบความ เปรยี บเทียบความ ๒. มติ สิ ัมพันธ การศกึ ษา

แตกตางหรือความ แตกตา งและความ ๓. การสังเกต การ ๒. กิจกรรมเสรมิ

เหมอื นของสง่ิ ตา งๆ เหมือนของสิง่ ตา งๆโดย จําแนก และการ ประสบการณ

โดยใชล ักษณะที่ ใชล ักษณะท่สี งั เกตพบ ๒ เปรยี บเทียบ
สงั เกตพบเพยี ง ลักษณะเดียว

ลกั ษณะเดยี ว

๑๐.๑.๓ จําแนก ๑๐.๑.๓ จําแนกและจัด ๑. การคดิ ๑. กจิ กรรมเกมศึกษา

และจดั กลุมสิง่ กลมุ ส่งิ ตางๆโดยใชตั้งแต ๒. มติ สิ มั พนั ธ ๒. กิจกรรมกลางแจง

ตางๆโดยใชอยา ง ๒ ลกั ษณะข้ึนไปเปน ๓. การสังเกต การ ๓. กิจกรรมเสริม

นอ ย ๑ ลักษณะ เกณฑ จําแนก และการ ประสบการณ
เปน เกณฑ เปรยี บเทียบ

๑๐.๑.๔ ๑๐.๑.๔ เรียงลําดับ ๑. การคดิ ๑. กิจกรรมเกมศึกษา

เรียงลาํ ดบั ส่งิ ของ สง่ิ ของหรือเหตุการณ ๒. มติ ิสมั พนั ธ ๒. กิจกรรมกลางแจง

หรอื เหตุการณ อยางนอ ย ๕ ลําดับ ๓. การสงั เกต การ ๓. กจิ กรรมเสริม

อยางนอย ๔ ลําดบั จําแนก และการ ประสบการณ

เปรยี บเทียบ

๔๑

พัฒนาการดานสติปญ ญา
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ที่เปนพ้ืนฐานในการเรียนรู (ตอ)

สภาพทพี่ งึ ประสงค สาระการเรียนรรู ายป

ตัวบง ช้ี ชั้น อ.๒ ชนั้ อ.๓ ประสบการณส าํ คญั สาระทคี่ วรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๑๐.๒ มี ๑๐.๒.๑ ระบุ ๑๐.๒.๑ อธิบาย ๑. การคดิ ๑. สี

ความสามารถใน สาเหตุ หรอื ผลที่ เชื่อมโยงสาเหตุ ๒. การรูจกั ส่ิงตา งๆดวย ๒. รปู ราง รปู ทรง

การคดิ เชงิ เหตผุ ล เกดิ ข้ึนใน และผลท่ีเกดิ ข้นึ ประสาทสัมผัสทง้ั ๕ ๓. ขนาด

เหตุการณห รอื ในเหตุการณหรือ ๓. การสังเกต การจาํ แนก ๔. นํ้าหนัก

การกระทาํ เม่ือมี การกระทําดวย และการเปรียบเทียบ

ผูช แ้ี นะ ตนเอง ๔. การเรียงลําดบั
เหตุการณกอน – หลัง

๑๐.๒.๒ คาดเดา ๑๐.๒.๒ ๑. การคดิ ๑. สี

หรอื คาดคะเนสง่ิ คาดคะเนส่ิงที่ ๒. มิตสิ ัมพันธ ๒. รปู ราง รูปทรง

ทอี่ าจจะเกิดขน้ึ อาจจะเกิดขึน้ ๓. การสังเกต การจําแนก ๓. ขนาด

หรอื มสี วนรว มใน และมีสว นรวมใน และการเปรียบเทยี บ ๔. น้ําหนัก

การลงความเห็น การลงความเห็น ๔. เวลา ๕. การทดลอง

จากขอมลู จากขอมูลอยางมี วทิ ยาศาสตร

เหตผุ ล

๑๐.๓ มี ๑๐.๓.๑ ตดั สนิ ใจ ๑๐.๓.๑ ตดั สินใจ ๑. การคดิ ๑. การเลนหรอื ทํา

ความสามารถใน ในเร่ืองงา ยๆและ ในเร่ืองงา ยๆและ ๒. การวางแผนตัดสินใจ ส่ิงตางๆดวยตนเอง

การคดิ แกปญหา เรม่ิ เรยี นรผู ลท่ี ยอมรับผลท่ี เลือกและลงมือปฏบิ ัติ และผูอนื่

และตัดสนิ ใจ เกดิ ขน้ึ เกิดขึ้น ๓. การแกปญหาในการเลน ๒. การทดลอง

วิทยาศาสตร

๑๐.๓.๒ ระบุ ๑๐.๓.๒ ระบุ ๑. การคดิ ๑. การขอความ

ปญ หาและ ปญ หาสรา ง ๒. การวางแผนตัดสนิ ใจ ชวยเหลอื จากผูอ่ืน

แกปญหาโดยลอง ทางเลือกและ เลอื กและลงมือปฏบิ ัติ ๒. การทดลอง

ผิดลองถกู เลอื กวิธีแกป ญหา ๓. การแกป ญหาในการเลน วทิ ยาศาสตร

๔๒

พัฒนาการดานสติปญ ญา
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสรางสรรค

สภาพที่พึงประสงค สาระการเรียนรรู ายป

ตัวบง ช้ี ช้ัน อ.๒ ช้นั อ.๓ ประสบการณสาํ คัญ สาระที่ควรเรยี นรู
(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป)

๑๑.๑ ทํางาน ๑๑.๑.๑ ๑๑.๑.๑ ๑. การแสดงความคดิ สรา งสรรคผ า น ๑. วิธกี ารใช

ศิลปะตาม สรางผลงาน สรางผลงาน ศลิ ปะ เคร่ืองมอื

จนิ ตนาการ ศลิ ปะเพอ่ื ศิลปะเพื่อ ๒. การเขยี นและการเลนกับสี เคร่ืองใชในการ

และความคิด สอื่ สาร สอ่ื สาร ๓. การปน ทํางานศลิ ปะ

สรา งสรรค ความคดิ ความคิด ๔. การประดิษฐส ง่ิ ตา งๆดว ยเศษวัสดุ อยางถูกวิธแี ละ

ความรูสึก ความรสู กึ ๕. การทํางานศลิ ปะทีน่ ําวัสดุ หรอื ส่ิงของ ปลอดภัย เชน
ของตนเอง ของตนเอง เคร่ืองใชท ่ีใชแลวมาใชซ ้ําหรือแปรรปู แลว กรรไกร

โดยมีการ โดยมีการ นาํ กลบั มาใชใหม

ดัดแปลงและ ดัดแปลงและ ๖. การหยบิ จบั การใชกรรไกร การฉกี

แปลกใหม แปลกใหม การตดั การปะและการรอยวัสดุ

จากเดิม หรือ จากเดมิ และมี ๗. การแสดงความคดิ สรา งสรรคผ า นงาน

มรี ายละเอยี ด รายละเอียด ศิลปะ
เพ่ิมขึ้น เพ่มิ ขึน้ ๘. การสรางสรรคช ิ้นงานโดยใช

รปู รา งรูปทรง จากวสั ดุท่ีหลากหลาย

๑๑.๒ แสดง ๑๑.๒.๑ ๑๑.๒.๑ ๑. การเคลอื่ นไหวอยูกับท่ี ๑. การ

ทา ทาง/ เคล่ือนไหว เคลือ่ นไหว ๒. การเคล่อื นไหวเคลอื่ นที่ เคลื่อนไหว
เคลอ่ื นไหว ทาทางเพื่อ ทาทางเพอื่ ๓. การเคล่ือนไหวพรอมวัสดุอุปกรณ รางกายใน

ตาม สื่อสาร สื่อสาร ๔. การแสดงความคดิ สรางสรรคผ าน ทศิ ทางระดับและ

จินตนาการ ความคดิ ความคดิ ภาษา ทาทางการเคลื่อนไหวและศลิ ปะ พ้นื ท่ตี างๆ

อยาง ความรสู ึก ความรสู กึ ๕. การเคล่ือนไหวโดยควบคมุ ตนเองไปใน ๒. การแสดง

สรา งสรรค ของตนเอง ของตนเอง ทศิ ทาง ระดับและพน้ื ท่ี ทา ทางตา งๆตาม

อยาง อยาง ๖. การเคล่อื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ความคิดของ
หลากหลาย หลากหลาย ๗. การฟงเพลง การรองเพลงและการ ตนเอง

หรอื แปลก และแปลก แสดงปฏิกิรยิ าโตตอบเสยี งดนตรี

ใหม ใหม

๔๓

พฒั นาการดานสติปญ ญา
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคตทิ ี่ดีตอการเรียนรู และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรไู ดเ หมาะสมกับวัย

สภาพที่พงึ ประสงค สาระการเรียนรรู ายป

ตวั บงชี้ ช้ัน อ.๒ ชั้น อ.๓ ประสบการณ สาระทคี่ วรเรยี นรู

(๔ – ๕ ป) (๕ – ๖ ป) สําคัญ

๑๒.๑ มีเจตคติ ๑๒.๑.๑ สนใจ ๑๒.๑.๑ สนใจ ๑. การคดิ ๑. ศกึ ษาแหลงเรียนรู

ทีด่ ีตอ การ ซักถามเกย่ี วกับ หยิบหนังสือมา ๒. การรบั รแู ละ หองสมุด

เรยี นรู สัญลักษณต ัวหนังสือ อานและเขยี นสือ่ แสดงความรสู กึ ๒. มุมนทิ านหรือมุมตางๆ

ทพี่ บเห็น ความคิดดวย ผา นสือ่ วัสดุ ของ ๓. การทํากิจกรรม เลน เกม

ตนเองเปนประจาํ เลน และผลงาน และการละเลน ตา งๆ

อยางตอเนอื่ ง ๓. การ
กระตือรอื รน

๑๒.๑.๒ ๑๒.๑.๒ กระตือ ๑. การมีความ ๑. ศกึ ษาแหลง เรียนรู

กระตือรือรน ในการ รือรนในการเขา รับผิดชอบ หอ งสมุด

เขารว มกิจกรรม รวมกิจกรรมตั้งแตตน๒. การมีระเบียบ ๒. มมุ นทิ านหรือมุมตางๆ

จนจบ วินัย ๓. การทํากิจกรรม เลน เกม

และการละเลน ตางๆ

๑๒.๒ มี ๑๒.๒.๑ คนหา ๑๒.๒.๑ คน หา ๑. การคดิ ๑. ศกึ ษาแหลง เรียนรู
ความสามารถ คําตอบของขอสงสยั คาํ ตอบของขอสง- ๒. การสังเกต การ หอ งสมดุ

ในการแสวงหา ตา งๆตามวิธีการของ สยั ตา งๆโดยใช จําแนก และการ ๒. มุมนิทานหรือมุมตา งๆ

ความรู ตนเอง วธิ ีการที่หลาก เปรยี บเทยี บ ๓. การทาํ กิจกรรม เลน เกม

หลายดวยตนเอง และการละเลน ตางๆ

๑๒.๒.๒ ใชป ระโยค ๑๒.๒.๒ ใชป ระ ๑. การคดิ ๑. ศึกษาแหลงเรียนรู

คําถามวา “ทไ่ี หน” โยคคําถามวา ๒. การสงั เกต การ หอ งสมุด

“ทาํ ไม” ในการ “เม่อื ไร” “อยางไร” จําแนก และการ ๒. มมุ นทิ านหรือมุมตา งๆ

คนหาคําตอบ ในการคน หา เปรยี บเทียบ ๓. การทาํ กิจกรรม เลน เกม

คําตอบ ๓. การสอื่ สาร และการละเลน ตา งๆ

๔๙

๘. การจัดประสบการณ
การจัดประสบการณสําหรับเด็กวัย ๔-๖ ป จะจัดในรูปแบบของกิจกรรมบูรณาการผานการเลนดวยการ

ปฏิบัติจรงิ โดยใชประสาทสัมผัสทั้งหา เพ่ือใหเด็กไดรับประสบการณตรง เกิดความรู ทักษะ และเจตคติ ในการ
เรียนรู ไดพัฒนาท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ดังน้ันการจัดกิจกรรมจะตอง ครอบคลุม
ประสบการณส ําคัญและสาระท่ีควรเรียนรูที่กําหนดในหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ปรับปรงุ
พทุ ธศักราช๒๕๖๒)

การจัดประสบการณค วรยึดหยุนใหมีสาระท่ีควรเรียนรูทเ่ี ด็กสนใจและการกําหนดกิจกรรมใหเ ดก็ ในแตละ
วันไมจัดเปนรายวิชา และอาจใชชื่อเรียกกิจกรรมแตกตางกันไปในแตละหนวยงาน การนําแนวคิดการ จัด
การศึกษาปฐมวยั ตางๆมาประยุกตใชในการจัดประสบการณ ผูสอนตองทําความเขาใจแนวคดิ การจัด การศึกษา
ปฐมวัยนั้นๆ ซ่ึงแตละแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยจะมีจุดเดนของตนเอง แตโดยภาพรวมแลว แนวคิดการจัด
การศึกษาปฐมวัยสวนใหญยึดเด็กเปนสาํ คัญ การลงมือปฏิบัติจริงดวยตัวเด็กจึงเปนหัวใจสําคัญ ของการพัฒนา
เด็กโดยองครวม นอกจากน้ีผูสอนตองศึกษาและทําความเขาใจในหลักการจัดประสบการณ แนวการจัด
ประสบการณ และการจัดกิจกรรมประจาํ วัน เพ่ือนําหลกั สตู รสถานศึกษาลงสูการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

๘.๑ หลักการจัดประสบการณ
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนหนองออวิทยาคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช๒๕๖๒)
ไดกาํ หนดหลักการจดั ประสบการณไ ว ดังนี้

๘.๑.๑ จัดประสบการณการเลนและการเรียนรูอยางหลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองครวมอยาง
สมดุล และตอ เนือ่ ง

๘.๑.๒ เนนเด็กเปนสําคัญ สนองความตองการ ความสนใจ ความแตกตางระหวางบุคคลและ บริบท
ของสงั คมท่เี ดก็ อาศยั อยู

๘.๑.๓ จัดใหเ ด็กไดรับการพฒั นา โดยใหความสาํ คัญทั้งดา นกระบวนการเรียนรูและพฒั นาการของเด็ก
๘.๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการใหเปนกระบวนการอยางตอเน่ือง และเปนสวนหน่ึงของการจัด
ประสบการณ พรอ มทัง้ นาํ ผลการประเมนิ มาพัฒนาเดก็ อยา งตอเนื่อง
๘.๑.๕ ใหพอ แม ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝายทเี่ ก่ยี วขอ ง มสี วนรว มในการพัฒนาเด็ก
๘.๒ แนวทางการจดั ประสบการณ

การจดั ประสบการณส ําหรับเด็กปฐมวัย ควรดําเนินการตามแนวทางดงั ตอ ไปน้ี
๘.๒.๑ จัดประสบการณใหสอดคลองกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทํางานของสมอง ท่ีเหมาะสมกับ

อายุ วฒุ ภิ าวะ และระดับพัฒนาการ เพื่อใหเดก็ ทกุ คนไดพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ
๘.๒.๒ จัดประสบการณใหสอดคลองกับแบบการเรียนรูของเด็ก เด็กไดลงมือกระทํา เรียนรูผาน

ประสาทสัมผัสท้ังหา ไดเคลอ่ื นไหว สาํ รวจ เลน สงั เกต สืบคน ทดลอง และคิดแกปญ หาดวยตนเอง
๘.๒.๓ จดั ประสบการณแ บบบรู ณาการ โดยบูรณาการทั้งกิจกรรม ทกั ษะ และสาระการเรยี นรู
๘.๒.๔ จัดประสบการณใหเด็กไดคิดริเริ่ม วางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทําและนําเสนอความคิด โดย

๕๐

ผสู อน หรอื ผูจ ัดประสบการณเปน ผสู นบั สนุน อาํ นวยความสะดวก และเรยี นรูร วมกับเด็ก
๘.๒.๕ จัดประสบการณใหเด็กมีปฏิสัมพันธกับเด็กอ่ืน กับผูใหญ ภายใตสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอ การ

เรยี นรูใ นบรรยากาศท่อี บอนุ มคี วามสุข และเรยี นรกู ารทํากจิ กรรมแบบรวมมือในลกั ษณะตางๆ
๘.๒.๖ จัดประสบการณใ หเดก็ มีปฏสิ ัมพันธกับส่ือ และแหลงการเรียนรูที่หลากหลายและอยูใ นวถิ ีชีวิต

ของเด็ก สอดคลองกบั บรบิ ท สังคม และวัฒนธรรมท่ีแวดลอ มเดก็
๘.๒.๗ จัดประสบการณที่สงเสริมลักษณะนสิ ัยท่ีดีและทักษะการใชชีวิตประจําวัน ตามแนวทาง หลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และการมีวินัย ใหเปนสวนหน่งึ ของ การ
จดั ประสบการณก ารเรียนรูอยางตอเนื่อง

๘.๒.๘ จัดประสบการณท้ังในลักษณะท่ีมีการวางแผนไวลวงหนาและแผนท่ีเกิดขึ้นในสภาพจริง โดย
ไมไ ดคาดการณไ ว

๘.๒.๙ จัดทําสารนิทัศนดวยการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับพัฒนาการและการเรียนรูของเด็กเปน
รายบุคคล นํามาไตรต รองเพ่ือใชป ระโยชนในการพฒั นาเด็กและการวิจยั ในช้นั เรยี น

๘.๒.๑๐ จัดประสบการณโดยใหพ อแม ครอบครวั และชุมชนมีสวนรวม ทั้งการวางแผน การสนับสนุน
สือ่ แหลงเรยี นรู การเขารว มกิจกรรม และการประเมินพฒั นาการ

๘.๓. การจัดกิจกรรมประจาํ วัน
การจดั ประสบการณในกิจกรรมประจาํ วันสาํ หรบั เด็กอายุ ๓-๖ ป สามารถนํามาจัดไดหลายรปู แบบ ข้นึ อยู
กับความเหมาะสมในการนําไปใชของแตละหนวยงาน ซ่ึงเปนการชวยใหผูสอนทราบวาในแตละวันจะทํา
กิจกรรมอะไร เม่ือใด และอยางไร และท่ีสําคัญผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรมใหครอบคลุมพัฒนาการ ทุก
ดา น การจัดกจิ กรรมประจําวันมีหลกั การจดั และขอบขายของกิจกรรม ดังน้ี

๘.๓.๑ หลักการจัดกิจกรรมประจําวัน
การจดั กิจกรรมประจาํ วันจะตอ งคํานงึ ถงึ อายุ และความสนใจของเดก็ ในแตล ะชว งวัย ดังนี้
๘.๓.๑.๑. การกําหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแตละกิจกรรมใหเหมาะสมกับวัยของเด็กใน

แตล ะวัน แตย ดื หยนุ ไดต ามความตอ งการและความสนใจของเดก็ เชน
เดก็ วยั ๓-๔ ป มคี วามสนใจประมาณ ๘ ๑๒ นาที
เดก็ วยั ๔-๕ ป มคี วามสนใจประมาณ ๑๒-๑๕ นาที
เด็กวยั ๕-๖ ป มคี วามสนใจประมาณ ๑๕-๒๐ นาที

๘.๓.๑.๒. กิจกรรมทต่ี องใชความคดิ ท้ังในกลุมเลก็ และกลมุ ใหญ ไมควรใชเวลาตอ เน่ืองนานเกินกวา
๒๐ นาที

๘.๓.๑.๓. กิจกรรมท่ีเด็กมีอิสระเลือกเลนอยางเสรี เพ่ือชวยใหเด็กเรียนรูการเลือก การตัดสินใจ
การคิดแกปญหา และความคดิ สรางสรรค ใชเวลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที เชน กิจกรรมการเลนตามมมุ กิจกรรม
การเลนกลางแจง กิจกรรมศลิ ปะสรา งสรรค

๘.๓.๑.๔. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหวางกิจกรรมในหองและนอกหอง กิจกรรมที่ใชกลามเน้ือ

๕๑

ใหญ และกลามเนื้อเล็ก กิจกรรมท่ีเปนรายบุคคล กลุมยอย และกลุมใหญ กิจกรรมท่ีเด็กเปนผูริเร่ิมและผูสอน
เปน ผูริเร่ิม กิจกรรมท่ีใชกําลังและไมใชกําลัง จัดใหครบทุกประเภท ท้ังนี้ กิจกรรมท่ีตองออกกําลังกายควรจัด
สลับกับ กิจกรรมทไ่ี มต องออกกาํ ลงั มากนัก เพอ่ื เด็กจะไดไ มเหนอ่ื ยเกนิ ไป

๘.๓.๒ ขอบขา ยของกิจกรรรมประจําวัน
การเลือกกิจกรรมท่ีจะนํามาจัดในแตละวัน สามารถจัดไดหลายรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความ

เหมาะสมในการนําไปใชของแตละหนวยงานและสภาพชุมชน ที่สําคัญผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรมให
ครอบคลมุ พัฒนาการทุกดานดงั ตอไปนี้

๘.๓.๒.๑ การพัฒนากลามเนื้อใหญ เปนการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว การยืดหยุน ความ
คลองแคลวในการใชอวัยวะตางๆ การประสานสัมพันธ และจังหวะการเคล่ือนไหวในการใชกลามเนื้อใหญ โดย
จัดกิจกรรมใหเด็กไดเลนอิสระกลางแจง เลนเคร่ืองเลนสนาม เลนปนปายอยางอิสระ และเคลื่อนไหว รางกาย
ตามจงั หวะดนตรี

๘.๓.๒.๒ การพัฒนากลามเน้ือเล็ก เปนการพัฒนาความแข็งแรงของกลามเนื้อมือ นวิ้ มอื และ
การประสานสัมพันธระหวางมือกับตาไดอยางคลองแคลว โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดเลนเครื่องเลนสัมผัส ฝก
ชวยเหลือตนเองในการแตงกาย การหยิบจับสิ่งของ และอุปกรณตา งๆ เชน ชอนสอม สีเทยี น กรรไกร พูกัน ดิน
เหนยี ว

๘.๓.๒.๓ การพัฒนาอารมณ จิตใจ และปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม เปนการปลูกฝงใหเด็กมี
ความรูสึกท่ีดีตอตนเองและผูอ่ืน มีความเช่ือม่ัน กลาแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ ซื่อสัตย ประหยัด เมตตา
กรุณา เอ้ือเฟอ แบงปน มีมารยาท และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นับถือ โดยจัดกิจกรรมตา งๆ
ผานการเลนใหเด็กไดมีโอกาสตัดสินใจเลอื ก ไดรับการตอบสนองตามความตองการ ไดฝกปฏิบัติโดยสอดแทรก
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมอยางตอเนื่อง

๘.๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เปนการพัฒนาใหเด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอยาง
เหมาะสมและอยูรว มกับผูอ่ืนไดอยางมคี วามสุข ชวยเหลือตนเองในการทาํ กิจวัตรประจําวัน มีนสิ ัยรกั การทํางาน
รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอื่น รวมท้ังระมัดระวังอันตรายจากคนแปลกหนา ใหเด็กไดปฏิบัติ กิจวัตร
ประจาํ วนั อยางสม่ําเสมอ รบั ประทานอาหาร พกั ผอนนอนหลับ ขับถา ย ทําความสะอาดรางกาย เลน และทาํ งาน
รว มกบั ผูอ่ืน ปฏิบัติตามกฎกติกา ขอตกลงของสวนรวม เก็บของเขา ที่เมื่อเลนหรือทาํ งานเสร็จ

๘.๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เปนการพัฒนาใหเด็กมีความสามารถในการคิดแกปญหา การคิด
รวบยอดและการคิดเชิงเหตุผลทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดสังเกต จําแนก
เปรียบเทียบ สืบเสาะหาความรู สนทนา อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็กศึกษา
นอกสถานท่ี เลนเกมการศึกษา ฝกแกปญหาในชีวิตประจําวัน ฝกออกแบบและสรางชิ้นงาน และ ทํากิจกรรม
เปน รายบคุ คล กลุมยอ ย และกลุม ใหญ

๘.๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เปนการพัฒนาใหเด็กใชภาษาในการส่ือสารถายทอดความรูสึก
ความคิด ความเขาใจในส่ิงตางๆ ที่เดก็ มีประสบการณ โดยสามารถต้ังคําถามในส่งิ ที่สงสัยใครร ู จัดกิจกรรม ทาง
ภาษาใหมีความหลากหลายในสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการเรียนรู มุงปลูกฝงใหเด็กไดกลาแสดงออกใน การฟง

๕๒

การพูด การอาน การเขียน มีนิสัยรักการอาน และบุคคลแวดลอมตอ งเปน แบบอยางท่ีดีในการใชภาษา ทั้งน้ีตอง

คาํ นงึ ถึงหลกั การจัดกิจกรรมทางภาษาที่เหมาะสมกับเดก็ เปน สาํ คญั

๘.๓.๒.๗ การสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนการสงเสริมใหเด็กมี ความคิด

ริเร่ิมสรางสรรค ไดถายทอดอารมณและความรูสึกและเห็นความสวยงามของสิ่งตางๆ โดยจัดกิจกรรม ศิลปะ

สรา งสรรค การเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดษิ ฐส่ิงตาง ๆ อยางอิสระ เลนบทบาทสมมติ เลนนํ้า
เลนทราย เลน บลอ็ ก และเลน กอ สราง

๘.๓.๓ รูปแบบการจัดกจิ กรรมประจําวัน

การจัดตารางกิจกรรมประจําวันสามารถจัดไดหลายรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความเหมาะสม ในการ

นําไปใชของแตละหนวยงาน ท่ีสําคัญผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรมใหครอบคลุมพัฒนาการทุกดาน จึงขอ

เสนอแนะสดั สว นเวลาในการพฒั นาเด็กแตละวนั ดังน้ี

การพัฒนา อายุ ๓-๔ ป อายุ ๔-๕ ป อายุ ๕-๖ ป
ชว่ั โมง : วัน ช่ัวโมง : วัน ชวั่ โมง : วัน

(ประมาณ) (ประมาณ) (ประมาณ)

๑. การพัฒนาทกั ษะพืน้ ฐานในชีวติ ประจาํ วนั

(รวมทั้งการชวยตนเองในการแตงกาย การรับประทาน ๓ ๒ ๑/๒ ๒ ๑/๔

อาหาร สุขอนามยั และการนอนพกั ผอน)

๒. การเลน ตามมมุ ประสบการณ/มุมเลน ๑๑๑

๓. การคดิ และความคิดริเร่มิ สรา งสรรค ๑๑๑

๔. กจิ กรรมดา นสงั คม การทาํ งานรว มกับผอู ่ืน) ๑/๒ ๓/๔ ๑

๕.กจิ กรรมพัฒนากลามเน้ือใหญ ๓/๔ ๓/๔ ๓/๔

๖.กจิ กรรมทมี่ ีการวางแผนโดยผสู อน ๓/๔ ๑ ๑

เวลาโดยประมาณ ๗ ๗ ๗

จากตารางกจิ กรรมประจําวัน ผูสอนตองจัดกจิ กรรมโดยคาํ นงึ ถึงประเด็นดังตอ ไปนี้

๑. การจัดสัดสวนของเวลาในแตละวันท่ีเสนอไวสามารถปรับและยืดหยุนได ทั้งน้ี ข้ึนอยูกับผูสอนและ
สภาพการณ โดยยดึ หลักการจัดกิจกรรมประจาํ วัน

๒. การจัดกิจกรรมประจําวันควรจัดเพ่ือสงเสริมทักษะพื้นฐานในชีวิตประจําวันของเด็ก โดยผูสอนตองให
ความสําคัญในการสงเสรมิ ใหเด็กไดใชก ลามเนอื้ เล็กในการหยิบ จับ วัสดตุ างๆเพื่อชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติ
กิจวัตรประจําวันและถือเปนสวนหนึ่งของการเรียนรูของเด็กปฐมวัย เชน เด็กอายุ ๓ ปตองใหเวลาในการทํา
กิจวัตรประจําวันมากและเม่ือเด็กอายุมากขึ้นเวลาท่ีทํากิจวัตรประจําวันจะนอยลงตามลําดับเน่ืองจากเด็ก
ชว ยเหลือตนเองไดมากขน้ึ

๓. การจัดกิจกรรมพัฒนากลามเน้ือใหญ เปนกิจกรรมท่ีชวยใหเด็กมีรางกายแข็งแรง มีการทรงตัวที่ดี มี

๕๓

การยดื หยุน และความคลองแคลวในการใชอ วัยวะตา ง ๆ ตามจงั หวะการเคล่ือนไหวและการประสานสมั พันธก ัน

๔. การจัดกิจกรรมการเลนอิสระ เปนสิ่งสําคัญและจําเปนสําหรับเด็กปฐมวัย ชวยใหเด็กเลือก ตัดสินใจ
คดิ แกป ญหา คดิ สรา งสรรคใ นแตละวนั เดก็ ทกุ วัยควรมีโอกาสเลนอิสระกลางแจงอยา งนอย ๑ ชว่ั โมง : วนั

๕. การคดิ และความคิดสรางสรรค ทําใหเด็กเกิดความคดิ รวยยอด การคิดเชิงเหตุผล มีความสามารถ ใน
การแกป ญหาและตดั สนิ ใจ มีจนิ ตนาการและความคดิ สรางสรรค

๖. กิจกรรมพัฒนาทกั ษะทางสงั คม เปนกิจกรรมที่เด็กไดพัฒนาลักษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอยางเหมาะสม
มีปฏิสัมพันธและอยูรวมกับผอู ื่นไดอยางมีความสุข เด็กท่ีอายุนอยยังยึดตัวเองเปนศูนยกลาง ดงั น้ัน การใหเวลา
ในชว งวยั ๓ ขวบจึงใหเ วลานอยในการทํากิจกรรมกลุม เน่ืองจากเด็กยังยึดตนเองเปนศูนยกลาง และจะเพิ่มเวลา
เมื่อเดก็ อายุมากข้ึน เพราะเด็กตองการเวลาในการเลน และทาํ กิจกรรมรว มกับคนอื่นมากขึ้น

๗. กิจกรรมท่ีมีการวางแผนโดยครูผูสอน ใหคิดรวบยอดโดยครูผูสอน จะชวยใหเด็กเกิดทักษะหรือ
ความคิดรวบยอดในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงตามสาระการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตร เชนผูสอนตองการใหเกิด
ความคิดรวบยอดเก่ียวกับนา้ํ ผูสอนตอ งวางแผนกิจกรรมลวงหนา เวลาท่ีใชในแตละวันที่กําหนดไว ๓/๔ ชั่วโมง
(๔๕ นาที) ท้ังนี้มิไดหมายความวาใหผูสอนสอนตอเนื่อง ๔๕ นาทีใน ๑ กิจกรรม ผูสอนตองพิจารณาวา เด็กมี
ชวงความสนใจสั้นตามพัฒนาการ จําเปนตองจัดแบงเวลาเปนหลายชวงและในหลากหลายกิจกรรม กิจกรรมท่ี
ตองใชค วามคิดทัง้ ในกลุม เล็กและกลมุ ใหญ ไมค วรใชเ วลาตอเน่ืองนานกวา ๒๐ นาที

๘.๓.๔ แนวทางการจัดกิจกรรมประจาํ วัน

การจัดกิจกรรมประจําวัน ครูสามารถนําไปปรับใชได หรือนํานวัตกรรมตางๆมาปรับใชในการจัด
กิจกรรมประจําวันใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมของสถานศึกษา โดยมีแนวทางในการจัดกิจกรรม และ การใช
ส่ือ ดงั น้ี

๑. กิจกรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ

การเคลอ่ื นไหวและจังหวะ เปน กจิ กรรมท่จี ัดใหเด็กไดเคล่อื นไหวสวนตา งๆ ของรางกายอยาง อิสระ
ตามจังหวะ โดยใชเสยี งเพลง คําคลองจอง เคร่ืองเคาะจังหวะ และอุปกรณอ่ืนๆ มาประกอบการ เคล่ือนไหว ซึ่ง
จงั หวะและเคร่ืองดนตรปี ระกอบ ไดแก การปรบมือ การรองเพลง การเคาะไม กรงุ กริง่ ราํ มะนา กลอง กรับ เพ่อื
สงเสริมใหเด็กพัฒนากลามเน้ือใหญและกลามเนื้อเล็ก อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา เกิดจินตนาการ
ความคดิ สรา งสรรค สอดคลอ งกับจุดประสงค ดงั น้ี

จุดประสงค
๑. เพื่อพัฒนาอวยั วะทกุ สว นใหม ีความสัมพันธกันอยางดีในการเคลื่อนไหว
๒. เพื่อฝกทักษะภาษา ฝก ฟงคาํ สั่ง และขอตกลง
๓. เพือ่ ฝกใหเกดิ ทกั ษะในการฟงดนตรี หรือจงั หวะตาง ๆ
๔. เพ่อื ใหเกิดความซาบซึ้งและสนุ ทรียภาพ

๕๔

๕. เพอื่ ฝก ความจาํ และเสรมิ สรา งประสบการณ
๖. เพอ่ื ฝกการเปน ผูนําและผตู ามที่ดี
๗. เพอ่ื พฒั นาดานสงั คม การปรบั ตวั และความรวมมอื ในกลมุ
๘. เพ่อื ใหโ อกาสเดก็ ไดแ สดงออก มีความเชื่อมน่ั ในตนเอง และความคดิ รเิ ริม่ สรางสรรค
๙. เพอ่ื ใหเกดิ ความสนุกสนาน ผอนคลายความตงึ เครยี ดท้ังรางกายและจิตใจ
ขอบขายของการจดั กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
๑. การเคล่อื นไหวรางกาย
๒. การฟง สญั ญาณและการปฏบิ ัติตามขอตกลง
๓. การฝกการเปน ผูน าํ และผูตามที่ดี
๔. การฝก จนิ ตนาการและความคิดสรา งสรรค
๕. ความมีระเบยี บวินัย
๖. การเรยี นรูจังหวะ
๗. ความเพลิดเพลนิ สนุกสนาน
๘. การฝกความจํา
๙. การแสดงออก
๑๐. เนอ้ื หาของหนวยการสอน

รูปแบบการเคลื่อนไหว

๑. การเคล่ือนไหวพื้นฐาน เปนกิจกรรมที่ตองฝกทกุ ครั้งกอนท่จี ะเร่ิมฝกกิจกรรมอ่ืนๆตอไป ลักษณะ
การจดั กิจกรรมมีจุดเนนในเรื่องจังหวะและการเคลื่อนไหวหรือทาทางอยางอิสระ การเคล่ือนไหวตาม ธรรมชาติ
ของเด็ก มี ๒ ประเภท ไดแ ก

๑.๑ การเคล่ือนไหวอยูกับที่ เชน ปรบมือ ผงกศรี ษะ ขยิบตา ชันเขา ขยับมือและแขน มือและ น้ิว
มอื เทา และปลายเทา

๑.๒ การเคล่อื นไหวเคลอื่ นท่ี เชน คลาน คืบ เดิน วิง่ กระโดด ควบมา กา วกระโดด เขยง กาวชดิ

๒. การเคล่ือนไหวท่ีสัมพันธกับเนื้อหา เปนกิจกรรมที่จัดใหเด็กไดเคลื่อนไหวรางกายโดยเนน การ
ทบทวนเร่อื งทไ่ี ดรับรูจากกิจกรรมอน่ื และนํามาสมั พันธกบั สาระการเรยี นรู หรือเรอ่ื งอน่ื ๆ ท่เี ดก็ สนใจ ไดแ ก

๒.๑ การเคล่ือนไหวเลียนแบบ เปนการเคลื่อนไหวเลียนแบบสิ่งตางๆ รอบตัว เชน การเลียนแบบ
ทาทางสัตว การเลียนแบบทาทางคน การเลียนแบบเคร่ืองยนตกลไกและเครื่องเลน และการเลียนแบบ
ปรากฏการณธ รรมชาติ

๒.๒ การเคล่ือนไหวตามบทเพลง เปนการเคลื่อนไหวหรือทําทาทางประกอบเพลง เชน เพลงไก
เพลงขา มถนน เพลงสวสั ดี

๒.๓ การทําทาทางกายบริหารประกอบเพลงหรือคําคลองจอง เปนการเคล่ือนไหวแบบ กาย

๕๕

บริหาร อาจจะมที าทางไมสัมพันธกับเน้ือหาของเพลงหรือคําคลอ งจอง เชน เพลงกํามือแบมือ เพลงออกกําลัง
คาํ คลองจองฝนตกพรําพรํา

๒.๔ การเคล่ือนไหวเชิงสรางสรรค เปนการเคล่ือนไหวที่ใหเด็กคิดสรางสรรคทาทางขึ้นเอง หรือ
อาจใชค ําถามหรือคําส่ัง หรอื ใชอุปกรณป ระกอบ เชน หว งหวาย แถบผา ริบบน้ิ ถุงทราย

๒.๕ การเคลอื่ นไหวหรือการแสดงทาทางตามคําบรรยายท่คี รูเลา หรอื เรื่องราว หรือนทิ าน

๒.๖ การเคลื่อนไหวหรือการแสดงทาทางตามคําสั่ง เปนการเคลื่อนไหวหรอื ทําทาทาง ตามคาํ ส่ัง
ของครู เชน การจดั กลมุ ตามจาํ นวน การทําทาทางตามคําสั่ง

๒.๗ การเคล่ือนไหวหรือการแสดงทาทางตามขอตกลง เปนการเคลื่อนไหวหรือทําทาทาง ตาม
ขอตกลงทไี่ ดตกลงไวกอนเรม่ิ กิจกรรม

๒.๘ การเคล่ือนไหวหรือการแสดงทาทางเปนผูนํา ผูตาม เปนการคดิ ทาทางการเคลื่อนไหว อยาง
สรา งสรรคข องเด็กเองแลว ใหเพ่ือนปฏบิ ัตติ าม

จากขอบขายของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะขางตน ผูสอนควรตระหนักถึงลักษณะของการ
เคลอ่ื นไหวโดยการใชส ว นตางๆ ของรา งกายใหประสานสมั พนั ธกนั อยางสมบูรณ ดว ยการเคล่อื นไหวลกั ษณะ

ชา เร็ว นุมนวล ทําทาทางขึงขัง ราเริง มีความสุข หรือเศราโศก เสียใจ และเคลื่อนไหวในทิศทางท่ีแตกตางกัน
เพอ่ื เปนการฝก ใหเด็กไดเคล่ือนท่ีอิสระโดยใชบรเิ วณท่อี ยูรอบๆ ตัวเดก็ ไดแก การเคล่ือนไหวไปขา งหนาและ ขา ง
หลัง ไปขางซา ยและขางขวา เคล่ือนตัวขึ้นและลง หรือหมุนไปรอบตัว โดยใหมีระดบั ของการเคลอ่ื นไหวสูง กลาง
และ ตํ่า ในบริเวณพ้นื ทีท่ ่ีเด็กตองการเคลือ่ นไหว

ส่อื กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

๑. เคร่ืองเคาะจังหวะ เชน น่ิง เหล็กสามเหลี่ยม กรับ ราํ มะนา กลอง

๒. อุปกรณประกอบการเคล่ือนไหว เชน หนังสือพิมพ ริบบ้ิน แถบผา หวงหวาย หวงพลาสติก
ฮลู าฮูบ ถงุ ทราย

แนวการจัดกจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจงั หวะ

๑. เริ่มจากการทํากิจกรรมเคล่ือนไหวพื้นฐาน เพื่อเปนการเตรียม โดยการแตะสัมผัสสวนตางๆ ของ
รางกาย สํารวจการใชสวนตา งๆ ของรา งกายในการเคลอื่ นไหว

๒. อธิบายหรือสรางขอตกลงรวมกันในการกําหนดสัญญาณ การใชเคร่ืองใหจังหวะ และการกําหนด
จังหวะ เชน ขอตกลงเกี่ยวกับสัญญาณและจังหวะ จะใชเครื่องเคาะจังหวะเปนการกําหนดจังหวะใหสมํ่าเสมอ
และชัดเจน อาจจะกําหนดดังน้ี

๒.๑ ใหจ ังหวะ ๑ ครงั้ สม่ําเสมอ แสดงวา ใหเดก็ เดนิ หรือเคลอ่ื นไหวไปเรอ่ื ยๆ ตามจังหวะ

๒.๒ ใหจังหวะ ๒ คร้งั ติดกัน แสดงวา ใหเด็กหยุดการเคลื่อนไหว โดยเด็กจะตองหยุดน่ิงจริงๆ หาก

๕๖

กําลงั อยใู นทา ใด กต็ อ งหยดุ น่งิ ในทานน้ั จะเคลือ่ นไหวหรอื เปลี่ยนทา ไมไ ด

๒.๓ ใหจังหวะรัว แสดงวา ใหเด็กเคล่ือนไหวอยางเร็ว หรือเคลื่อนท่ีเร็วข้ึนแตไมใชการว่ิงและสง
เสยี งดงั บางกิจกรรมอาจจะหมายถึงการเปล่ยี นตําแหนง การทําตามคําส่งั หรอื ขอ ตกลง

๓. ใหเด็กเคลื่อนไหวอยา งอิสระตามความคิด หรือจินตนาการของตนเอง โดยใชสวนตา งๆของ รา งกาย
ใหมากที่สุด ในขณะเดียวกันตองคํานึงถึงองคประกอบพ้ืนฐานในการเคลื่อนไหว ไดแก การใชรางกาย ตนเอง
การใชพ ืน้ ที่ การเคล่ือนไหวอยา งมอี ิสระ มรี ะดบั และทศิ ทาง

๔. ใหเด็กทดลองปฏบิ ตั ิและปฏิบตั ิเพ่ือใหเ ด็กไดเคล่ือนไหวหลากหลายรปู แบบ

๕. หลังจากปฏิบัตกิ จิ กรรมใหเ ด็กไดพกั ผอนตามอัธยาศัย โดยใหเ ด็กนงั่ กับพนื้ หอง ผสู อนเปดเพลงเบาๆ
ขอ เสนอแนะ
๑. ควรเร่ิมกิจกรรมจากการเคลื่อนไหวท่ีเปนอิสระ และมีวิธีการท่ีไมยุงยากมากนัก เชน ใหเด็กได
กระจายอยูภายในหอ งหรือบริเวณทฝ่ี ก และใหเคล่อื นไหวไปตามธรรมชาติของเดก็
๒. ควรใหเดก็ ไดแสดงออกดวยตนเองอยา งอสิ ระและเปน ไปตามความนกึ คดิ ของเด็กเอง ครูไมควรชแ้ี นะ
๓. ควรเปดโอกาสใหเด็กคิดหาวิธีเคล่ือนไหวท้ังท่ีตองเคล่ือนที่และไมตองเคลื่อนที่เปนรายบุคคล เปนคู
เปนกลมุ ตามลาํ ดับและกลุมไมควรเกิน ๕ - ๖ คน

๔. ควรใชส่ิงของที่หาไดงาย เชน ของเลน กระดาษ หนังสือพิมพ เศษผา เชือก ทอนไม ประกอบการ
เคลอ่ื นไหวและการใหจังหวะ

๕. ควรกําหนดจังหวะสัญญาณนัดหมายในการเคลื่อนไหวตาง ๆ หรือเปลี่ยนทา หรือหยุดใหเด็กทราบ
เมอื่ ทาํ กิจกรรมทุกครัง้ เชน เม่ือใหจังหวะ ๑ จงั หวะ ใหเ ดก็ ทําทาทาง ๑ ทาทาง ฯลฯ

๖. ควรสรางบรรยากาศอยางอิสระ ชว ยใหเด็กรสู ึกอบอุน เพลดิ เพลนิ และรสู กึ สบายและสนุกสนาน
๗. ควรจัดใหม ีรูปแบบของการเคลือ่ นไหวท่ีหลากหลาย เพอื่ ชวยใหเด็กสนใจมากขึ้น
๘. กรณีเด็กไมยอมเขารวมกิจกรรม ครูไมควรใชวิธีบังคับ ควรใหเวลาและโนมนาวใหเด็กสนใจเขารวม
กิจกรรมดว ยความสมัครใจ
๙. หลังจากเด็กไดทํากิจกรรมแลว ตองใหเด็กไดพักและผอนคลายอิริยาบถ โดยเปดเพลงจังหวะชาๆ
เบาๆ
๑๐. การจัดกิจกรรมควรจัดตามตารางกิจวัตรประจําวัน และควรจัดใหเปนที่นาสนใจ เกิดความ
สนุกสนาน
๒. กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ/กจิ กรรมในวงกลม

กิจกรรมเสริมประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม เปนกิจกรรมท่ีมุงเนนใหเด็กไดพัฒนาทักษะการ
เรียนรู มีทักษะการฟง การพูด การอาน การสังเกต การคิดแกปญหา การใชเหตุผล โดยการฝกปฏิบัติรวมกัน
และการทํางานเปนกลุม ท้ังกลุมยอยและกลุมใหญ เพ่ือใหเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเร่ืองท่ีไดเรียนรู
สอดคลอ งกับจุดประสงคด ังน้ี

๕๗

จุดประสงค
๑. เพอ่ื ใหเด็กเขา ใจเนื้อหาและเรอ่ื งราวในหนว ยการจัดประสบการณ
๒. เพ่อื ฝก การใชภ าษาในการฟง พูด และการถายทอดเร่อื งราว
๓. เพ่อื ฝกมารยาทในการฟง การพูด
๔. เพอื่ ฝกความมรี ะเบียบวินยั
๕. เพือ่ ใหเด็กเรียนรูผานการสังเกต เปรยี บเทยี บ
๖. เพ่ือสงเสรมิ ความสามารถในการคดิ รวบยอด การคดิ แกป ญหาและตดั สนิ ใจ
๗. เพื่อสง เสรมิ การเรยี นรูวิธแี สวงหาความรู เกิดการเรยี นรจู ากการคนพบดวยตนเอง
๘. เพ่ือฝกใหกลาแสดงความคิดเห็น รวมแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผลและยอมรับฟงความ
คิดเห็นของผอู น่ื
๙. เพือ่ ฝก ใหม ลี กั ษณะนิสัยใฝรใู ฝเรยี น
๑๐. เพื่อฝก ลักษณะนิสัยใหมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ขอบขายสาระของกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม

สาระที่ควรเรียนรู สาระในสวนนี้กําหนดเฉพาะหัวขอไมมีรายละเอียด ท้ังน้ีเพ่ือประสงคจะให
ผูสอนสามารถกําหนดรายละเอียดขึ้นเองใหสอดคลองกับวัย ความตองการ ความสนใจของเด็ก อาจยืดหยุน
เนื้อหาไดโดยคํานึงถึงประสบการณ และสิ่งแวดลอมในชีวิตจริงของเด็ก ผูสอนสามารถนําสาระที่ควรเรียนรูมา
บูรณาการจัดประสบการณตางๆ ใหงา ยตอ การเรียนรู ทงั้ นี้มิไดประสงคใหเดก็ ทองจําเนื้อหา แตตอ งการให เด็ก
เกิดแนวคิดหลังจากนําสาระการเรียนรูนั้นๆมาจัดประสบการณใหเด็กเพื่อใหบรรลุจุดหมายท่ีกําหนดไว
นอกจากน้ีสาระที่ควรเรียนรูยังใชเปนแนวทางชวยผูสอนกําหนดรายละเอียดและความยากงายของเนื้อหาให
เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก สาระท่ีควรเรียนรูประกอบดวยเร่ืองราวเก่ียวกับตัวเดก็ เรือ่ งราวเกี่ยวกับบุคคล
และสถานท่แี วดลอมเดก็ ธรรมชาติรอบตวั และส่ิงตา งๆรอบตัวเดก็ ดังน้ี

๑. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรูเกี่ยวกับชื่อ นามสกุล รปู รา งหนาตา อวัยวะตางๆ วิธี
ระวังรักษารางกายใหสะอาดและมีสุขภาพอนามัยท่ีดี การรับประทานอาหารท่ีเปนประโยชน การรักษาความ
ปลอดภัยของตนเอง รวมทั้งการปฏิบัติตอผูอื่นอยางปลอดภัย การรูจักประวัติความเปนมาของตนเองและ
ครอบครัว การปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรยี น การเคารพสทิ ธิของตนเองและผูอ ่ืน การรูจัก
แสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน การกํากับตนเอง การเลนและทําสิ่งตางๆ ดวย
ตนเองตามลําพังหรือกับผูอ่ืน การตระหนักรูเกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะทอนการรับรู
อารมณและความรูสึกของตนเองและผูอื่น การแสดงออกทางอารมณและความรูสึกอยางเหมาะสม การแสดง
มารยาทที่ดี การมีคณุ ธรรมจริยธรรม

๒. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดลอมเด็ก เด็กควรเรียนรูเก่ียวกับครอบครัว
สถานศึกษา ชุมชน และบุคคลตางๆ ที่เด็กตองเก่ียวของหรือใกลชิดและมีปฏิสัมพันธในชีวิตประจําวัน สถานที่
สาํ คัญ วันสําคญั อาชีพของคนในชมุ ชน ศาสนา แหลง วัฒนธรรมในชมุ ชน สัญลกั ษณส ําคญั ของชาติไทย และการ


Click to View FlipBook Version