The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kan302220, 2022-09-06 04:45:51

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน

๑๐๘

๓) บทบาทในฐานะผดู แู ลเด็ก
- สังเกตและสง เสริมพฒั นาการเด็กทุกดานทั้งทางดา นรา งกาย อารมณ จิตใจ สงั คม และสติปญญา
- ฝก ใหเดก็ ชว ยเหลือตนเองในชีวิตประจาํ วนั
- ฝก ใหเ ดก็ มคี วามเช่ือมนั่ มคี วามภมู ิใจในตนเองและกลา แสดงออก
- ฝก การเรยี นรหู นา ที่ ความมวี นิ ยั และการมนี ิสยั ทีด่ ี
- จําแนกพฤตกิ รรมเด็กและสรางเสริมลกั ษณะนิสัยและแกปญ หาเฉพาะบุคคล
- ประสานความรวมมือระหวา งสถานศึกษา บาน และชุมชน เพื่อใหเด็กไดพ ัฒนาเต็มตามศักยภาพและ
มีมาตรฐานคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค
๔) บทบาทในฐานะนกั พัฒนาเทคโนโลยกี ารสอน
- นํานวัตกรรม เทคโนโลยีทางการสอนมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับสภาพบริบทสังคม ชุมชน และ
ทองถิ่น
- ใชเ ทคโนโลยีและแหลง เรยี นรูในชุมชนในการเสริมสรา งการเรียนรูใหแกเด็ก
- จดั ทําวิจัยในช้นั เรยี น เพื่อนาํ ไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร/กระบวนการเรยี นรูและพัฒนาสือ่ การเรียนรู
- พัฒนาตนเองใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีคุณลักษณของผูใฝรู มีวิสัยทัศนและทันสมัย ทัน
เหตุการณใ นยุคของขอมูลขา วสาร
๓. พอแมหรือผูป กครองเด็กปฐมวัย
ผูสอนระดบั ปฐมวัยและพอแมหรือผปู กครองควรส่ือสารกันตลอดเวลา เพ่ือสรา งความเขาใจและรว มมือ
กนั ในการอบรมเลย้ี งดูแลใหก ารศกึ ษาแกเด็ก พอ แมหรือผปู กครองควรมีบทบาทหนา ท่ี ดังน้ี
๑) มีสวนรวมในการใหความคิดเห็นเพ่ือนําไปกําหนดแผนพัฒนาสถานศึกษาและใหความเห็นชอบ
กําหนด แผนการเรยี นรูข องเด็กรว มกับผสู อน
๒) รวมมือและสนับสนุนกิจกรรมของสถานศกึ ษา และกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือพัฒนาเดก็ ตามศกั ยภาพ
โดยเช่อื มโยงระหวางสถานศึกษากับครอบครัว เพ่ือใหการเรยี นรูของเด็กตอเน่อื งและมคี วามหมายตอเดก็
๓) เปนเครือขา ยการเรยี นรู จัดบรรยากาศในบานใหเ อ้ือตอ การเรยี นรู
๔) สนบั สนุนทรพั ยากรเพ่ือการศึกษาตามความเหมาะสมและจาํ เปน
๕) อบรมเลยี้ งดู เอาใจใสใ หความรัก ความอบอนุ สงเสรมิ การเรยี นรแู ละพัฒนาการดานตา งๆ ของเดก็
๖) ปองกันและแกไขปญหาพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคตลอดจนสงเสริมคุณลักษณะท่ีพึงประสงค โดย
ประสานความรวมมอื กับผสู อนและผูท่ีเกย่ี วของ
๗) เปนแบบอยางที่ดีทั้งในดานการปฏิบัติตนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู และมีคุณธรรมนําไปสูการ
พฒั นาใหเ ปน สถาบนั แหงการเรียนรู
๘) มีสว นรวมในการพัฒนาการเดก็ และในการประเมนิ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา

๑๐๙

๔. ชุมชน/ทอ งถิ่น
ชุมชนทองถ่ิน มีบทบาทในการมีสวนรวมในการจดั การศกึ ษา โดยการประสานความรวมมือเพื่อรวมกัน

พัฒนาผูเรียนตามศกั ยภาพ ดังน้ัน ชุมชนจึงมบี ทบาทในการจัดการศกึ ษาปฐมวัย ดงั นี้
๑) มีสวนรวมในการสงเสริมการบริหารจัดการของสถานศึกษา ในบทบาทของคณะกรรมการ

สถานศึกษา สมาคม / ชมรมผูปกครอง
๒) มสี วนรวมในการจดั ทําแผนพัฒนาสถานศึกษาเพื่อเปน แนวทางในการดาํ เนนิ การของสถานศึกษา
๓) เปนเครอื ขายการเรยี นรู สงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรูข องสถานศกึ ษาใหเด็กไดเ รียนรู

มปี ระสบการณจ ากสถานการณจริง
๔) สงเสริมใหมีการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา ตลอดจนวิทยาการภายนอก และภูมิปญญาทอ งถิ่น

เพอื่ เสรมิ สรา งพฒั นาการของเด็กทุกดาน รวมทง้ั สบื สานจารตี ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของทองถน่ิ และของชาติ
๕) ประสานงานกับองคกรทั้งภาครัฐและเอกชน เพ่ือใหสถานศึกษาเปนแหลง วิทยาการของชมุ ชนและมี

สว นในการพัฒนาชมุ ชนและทอ งถิน่
๖) มีสวนรว มในการตรวจสอบ และปะเมินผลการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา โดยทําหนาท่ี

ใหขอ เสนอแนะในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

การพฒั นาผสู อนและบุคลากรปฐมวัย
การพัฒนาผูสอนและบุคลากรปฐมวัย อยางเปนระบบและตอเน่ือง มีความสําคัญมากในการบริหาร

จัดการหลักสูตรสถานศึกษา เพราะเปนการสรางความรู ความเขาใจใหแกผสู อนใหสามารถนําหลักสูตรไปสูการ
ปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ ท้ังในดานการออกแบบพัฒนาหลักสูตร การจัดประสบการณการเรียนรูการจัด
สภาพแวดลอมในและนอกหองเรียน การจัดพัฒนาส่ือและแหลงเรียนรู การวัดและประเมินพัฒนาการโดยมี
มาตรฐาน ตวั บง ชแ้ี ละสภาพทพ่ี ึงประสงคของหลกั สูตรสถานศึกษาเปน เปาหมายสาํ คญั ในการพัฒนาคุณภาพเด็ก
สถานศึกษาจงึ ควรมีกาํ หนดแนวทางการพัฒนาบุคลากรปฐมวยั ดังน้ี

๑) สํารวจและประเมินความตองการในการพัฒนาตนเองของผูสอนและบคุ ลากรปฐมวัย และนําขอมูล
มาจัดทาํ แผนการพฒั นาตนเองท้งั แผนระยะส้นั และแผนระยะยาว

๒) พฒั นาบุคลากรปฐมวยั ในดานการพฒั นาหลกั สตู ร การออกแบบการจัดประสบการณ เทคนคิ
วิธีการ จัดประสบการณ เทคนิคการควบคุมช้ันเรียน และดานอ่ืนๆ ท้ังนี้การจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากรควรใช
เทคนิควิธีการท่ีหลากหลาย เชน การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประชุมสัมมนา การศึกษาดูงาน การจัดกิจกรรม
PLC เปน ตน

๓) สงเสริมสนับสนุนใหมีมุมความรูโดยการจัดหารเอกสารดานหลักสูตร แนวทางการจัดประสบการณ
ตลอดจนองคความรดู านอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ ง เพ่อื เปด โอกาสใหครปู ฐมวัยศกึ ษาคน ควาเพ่ิมเติม

๔) สงเสริมใหครูและบุคลากรปฐมวัยมีโอกาสในการแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน รวมปรึกษาและวาง
แผนการจัดการเรียนรูรวมกับครูผูสอนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ เพ่ือใหครูเขาใจบทบาทหนาที่และภารกิจ

๑๑๐

ของตนในการนําหลักสูตรไปสูปฏิบัติสงผลดีตอการทํางานรวมกันในการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เปนการเช่ือตอ
ในระดับช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ ไดเ ปนอยางดี

การสนับสนนุ งบประมาณและทรัพยากร
การพัฒนาหลักสูตรและการจัดประสบการณการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนหนอง

ออวิทยาคม พ.ศ.๒๕๖๐ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒) มีความจําเปนอยางยิ่งที่สถานศึกษาตองจัดหา
งบประมาณและทรัยพากรที่จําเปน เพื่อสนับสนุนใหการดําเนินการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวัยประสบความสําเร็จตามเปาหมายท่ีกําหนด โดยมแี นวทางการดาํ เนนิ การ ดังน้ี

๑) จดั หาและจัดสรรงบประมาณอยา งเพยี งพอสําหรับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การนําหลักสูตร
ไปใชในการจัดประสบการณการเรียนรู การจัดงบประมาณสงเสริมกิจกรรม การเรียนรู / โครงการการทัศน
ศึกษานอกสถานที่ การพัฒนาบุคลกร การดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการระดับปฐมวัยและการนิเทศ กํากับ
ติดตาม

๒) จัดหา จัดซ้อื สือ่ วัสดุอุปกรณ เพ่ือจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองเรียน จดั ซ้ือและจัดหา
สื่อของเลนที่สงเสริมพัฒนาการเด็กตามมุมประสบการณตางๆ การพัฒนาสนามเด็กเลนและแหลงเรียนรูที่
หลากหลาย รวมถึงการจัดเตรียมของใชสวนตัวใหแกเด็กตามความจําเปน เพ่ือการดูแลอนามัยสวนบุคคลและ
การปฏบิ ตั ิกิจกรรมตางๆ ของเดก็ ไดอ ยางสะดวกและปลอดภัย

๓) กาํ กับติดตามการใชงบประมาณและทรพั ยากรอยา งประหยัดและคุมคา
๔) การมีสวนรวมของผูปกครอง ชุมชน องคการปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานเอกชน ในการ
สนับสนุนการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยใหเปนไปตามหลักการพัฒนาเด็กทุกชวงวยั ระดมทรพั ยากรในการจัดหา
ครูที่มีคุณวุฒิหรือประสบการณดานการศึกษาปฐมวัย พี่เลี้ยงเด็ก ภูมปญญาทองถิ่น รวมถึงการพัฒนา
สภาพแวดลอ มและแหลงเรยี นรู

การนเิ ทศ ติดตาม การนาํ หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยสกู ารปฏบิ ตั ิ
การนิเทศ กํากบั ติดตามการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ เปนกระบวนการสําคัญในการควบคุมคณุ ภาพ

การจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยผูบริหารสถานศึกษาและผูมีบทบาทหนาท่ีท่ีเก่ียวของควรใชวิธีการที่
หลากหลาย เชน การตรวจเยย่ี ม การสงั เกตการณส อนในช้นั เรียน การสอนแนะ ( Coaching) การตรวจแผนการ
จัดประสบการณ ทั้งน้ีควรดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตามอยางเปนระบบและเปนกัลยาณมิตรเปดโอกาสใหมี
การแลกเปล่ยี นเรียนรูซ่งึ กนั และกนั โดยมีแนวทางการดาํ เนินการ ดังนี้

๑) ประชุมผูบริหารและครูปฐมวัย เพ่ือรวมกันกําหนดความตองการและชวงเวลาในการจัดทําปฏิทิน
การนเิ ทศหรือแผนการนิเทศ กาํ กับ ติตามทเ่ี หมาะสม ตอ เนือ่ งและเปนรปู ธรรม

๒) สรางความเขาใจและทัศนคติท่ีดีในการจัดกิจกรรมการนิเทศ กํากับ ติดตาม ใหแกบุคลากรท่ี
เกี่ยวของทกุ ฝา ย

๑๑๑

๓) ดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ตามแผนการนิเทศและนําผลการนิเทศมาวางแผนเพื่อจดั กิจกรรม
สง เสรมิ พัฒนาบคุ ลกรปฐมวยั ตามความตอ งการจําเปนอยา งตอเน่ือง

๔) นําขอมูลสารสนเทศท่ีไดรับจากการนิเทศ กํากับ ติดตาม มาใชสวนหนึ่งในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษาใหมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้

การประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย
การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เปนกระบวนการเชิงระบบเพ่ือใหไดมาซ่ึงขอมูลและ

สารสนเทศท่ีเปนประโยชนตอการตดั สินใจเกี่ยวกับการศกึ ษาคณุ ภาพของหลกั สูตร การปรบั ปรงุ พฒั นาหลักสูตร
การบริหารหลักสูตร และการเปล่ียนแปลงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยใหเหมาะสมตอไป ซึ่งแนวทางการ
ประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ประกอบดวย

๑. การประเมินกอนนําหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยไปใช เปนการประเมินกระบวนการรางหลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวยั ควรดาํ เนนิ การดังน้ี

๑) การวิเคราะหขอมูลความจําเปนพื้นฐานที่เก่ียวของเพ่ือนํามาใชในการรางหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวัย โดยวิเคราะหขอมูลและสารสนเทศจากการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยฉบบั เดิม ศึกษาประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลของการใชหลักสูตรที่ผานมามีผลสําเร็จอะไรบาง มีปญหาและอุปสรรคอะไรบางในการใช
หลักสูตรสถานศึกษา โดยใชขอมูลจากแหลงตางๆ เชน การประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามมาตรฐาน
การศึกษ าปฐม วัยของสถาน ศึก ษา การป ระเมน พัฒ นาการ น โยบ ายทางการศึกษ าของรัฐบ าล
กระทรวงศึกษาธิการ การเปลยี่ นแปลงทางสังคม ผลการสอบถามความตองการของผูปกครองและชุมชนเพ่ือให
ไดสารสนเทศที่เกย่ี วของนําไปใชในการรา งหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั

๒) การตรวจสอบคุณภาพของรางหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เปนการประเมินเอกสารหลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวัย เพ่ือพิจารณาความสอดคลอง เหมาะสมเกีย่ วกับองคป ระกอบตางๆ ของหลักสูตรสถานศกึ ษา
ปฐมวัย โดยใชวิธีการสอบถามความคิดเห็นจากบุคคลท่ีเกี่ยวของ ไดแก ผูสอน ผูบริหารสถานศึกษา กรรมการ
สถานศึกษา ผูป กครอง ผูแทนชุมชน องคกร ผูเชี่ยวชาญ และผูทรงคุณวุฒิ เพ่ือใหไดสารสนเทศท่ีจะนําไปใชใน
การปรบั ปรุงและแกไขเอกสารหลักสตู รใหมคี วามเหมาะสม และมคี ณุ ภาพ

๓) การประเมินความพรอมกอนนําหลักสูตรไปใช เปนการประเมินความพรอมและความพอเพียงดาน
ปจจัยหรือทรัพยากรในการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ไดแก ดานบุคลากรมีจํานวนพอเพียงหรือไม มี
คุณลักษณะพรอมท่ีจะจัดประสบการณมากนอยเพียงใด ดานเอกสารหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตรมี
ความพรอมและพอเพียงตอการจัดประสบการณหรือไม ดานส่ือและแหลงเรียนรูท่ีเกี่ยวของกับการจัด
ประสบการณมพี อเพยี งหรอื ไม เพ่ือการจัดการพัฒนาหรือการจัดซ้ือจัดหา ใหทันตอการใชหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวยั ประเมนิ โดยใชว ิธกี ารสนทนากลมุ การตรวจสอบรายการ หรือการสอบถาม

๒. การประเมินระหวางการใชห ลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เปนการประเมนิ กระบวนการใชหลักสูตร
เกี่ยวกับการบริหารหลักสูตร การจัดประสบการณการเรียนรู การสงเสริมสนับสนุนการใชหลักสูตร เพ่ือศึกษา
ความกา วหนาของการใชหลักสูตรเปนระยะๆ เพื่อตรวจสอบวาหลักสตู รเปน ไปตามแผนการดําเนินงานที่กําหนด

๑๑๒

ไวหรือไม มีปญหาและอุปสรรคอยางไร ควรมีการปรบั ปรุงแกไขในเรื่องใดบางประเด็นการประเมิน ไดแก วาง
แผนการใชหลักสูตร การเตรยี มความพรอมและบุคลากร การนิเทศ การฝกอบรมและพัฒนาครูและบุคลากร
เพิ่มเติมระหวางการใชหลักสูตร การจัดปจจัยและส่ิงสนับสนุนการใชหลักสูตร ประเดน็ การประเมนิ เกี่ยวกับการ
จัดประสบการณการเรียนรู ไดแก การจัดกิจกรรมและพฤติกรรมการจัดการเรียนรู การจัดการชั้นเรียน การ
เลือกใชสื่อการจัดการเรียนรู การประเมินพัฒนาการ ความรูความสามารถของครูและบุคลากร และประเด็น
ประเมินเก่ียวกับการจัดมุมประสบการณ ไดแก การจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองเรียน การ
ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรระหวางการอาจใชวิธีการนิเทศ ติดตาม การสอบถาม การสนทนากลุม หรือการ
สังเกต

๓. การประเมินหลังการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เปนการประเมินหลักสูตรทั้งระบบหลงั จาก
ดําเนนิ การใชหลักสูตรครบวงจรแลว โดยมีจดุ มงุ หมายเพื่อตรวจสอบประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของหลักสูตร
สถานศกึ ษาปฐมวยั และสรุปผลภาพรวมของหลกั สูตรทจ่ี ัดทําวาบรรลผุ ลตามเปาหมายของหลักสูตรสถานศกึ ษา
ปฐมวัยหรือไม บรรลุผลมากนอยเพียงใด ตองมีการปรับปรุงหรือพัฒนาสวนใดบางปรบั ปรุงหรอื พัฒนาอยางไร
ประเด็นการประเมินเก่ียวกับประสิทธิภาพของหลักสูตร ไดแก การบรรลุผลตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคท้ัง ๑๒ มาตรฐาน การบรรลุผลตามเปาหมายของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่กําหนไว ประเด็นการ
ประเมนิ เก่ียวกบั ประสทิ ธิภาพของหลักสตู ร ไดแก หนว ยการเรียนรทู ่ีสอดคลอ งกับหลักสูตรสถานศึกษาท่ี การจดั
ประสบการณการเรียนรู สื่อและแหลงการเรียนรู การประเมินพัฒนาการ การบริหารจัดการหลกั สูตร และการ
เช่ือมตอของการศกึ ษา ประเมินโดยใชวิธีการตรวจสอบรายการ การศกึ ษาเอกสาร การสอบถาม หรือการสนทนา
กลุม

การกํากบั ติดตาม ประเมินและรายงาน
การจัดการศึกษาปฐมวัยมีหลักการสําคัญในการใหสังคม ชุมชน มีสวนรวมในการจัดการศึกษาและ
กระจายอํานาจการศึกษาลงไปยังทองถิ่นโดยตรง โดยเฉพาะสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยซ่ึงเปน
ผูจัดการศึกษาในระดับน้ี ดังนั้น เพ่ือใหผลผลิตทางการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงคและสอดคลองกับความตองการของชุมชนและสงั คม จาํ เปน ตองมรี ะบบการกาํ กับ ติดตาม ประเมินและ
รายงานที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือใหทุกกลุมทุกฝายที่มีสวนรวมรับผิดชอบในการจัดการศึกษา เห็นความกาวหนา
ปญ หา อปุ สรรค ตลอดจนการใหความรวมมือ ชวยเหลอื สงเสรมิ สนับสนุน วางแผน และการดําเนนิ งานการจดั
การศึกษาปฐมวัยใหม ีคุณภาพอยางแทจรงิ
การกํากับ ติดตาม ประเมินละรายงานผลการจัดการศกึ ษาปฐมวัยเปนสว นหน่ึงของกระบวนการบริหาร
การศึกษา กระบวนการนิเทศ และระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่องเพื่อ
นําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย สรางความมั่นใจใหผูเก่ียงของ โดยตองมีการ
ดําเนินการท่ีเปนระบบเครือขายครอบคลุมท้ังหนวยงานภายในและภายนอก ในรูปแบบของคณะกรรมการที่มา
จากบุคคลทุกระดับและทุกอาชีพ การกํากับ ติดตาม และประเมินตองมีการรางงายผลจากทุกระดับใหทุกฝาย
รวมทั้งประชาชนทว่ั ไปทราบ เพ่ือนําขอมูลจากรายงานผลมาจดั ทาํ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
หรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยตอไป

๑๑๓

๑๒. การจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัย (เด็กอายุ ๔ – ๖ ป)
สําหรบั กลมุ เปา หมายเฉพาะ
การจัดการศึกษาสาํ หรับกลุมเปาหมายเฉพาะสามารถนําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไปปรับใชได ทั้งใน

สวนของโคตรสรางหลักสูตร สาระการเรียนรู การจัดประสบการณ และการประเมินพัฒนาการใหเหมาะสมกับ
สภาพ บริบท ความตองการ และศักยภาพของเด็กแตละประเภทเพ่ือพัฒนาใหเด็กมีคุณภาพตามมาตรฐาน
คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคท ี่หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยกําหนดโดยดาํ เนินการดงั นี้

๑. เปาหมายคุณภาพเด็ก หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยไดกําหนดมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค และ
สาระการเรียนรู เปนเปาหมายและกรอบทิศทางเพื่อใหทุกฝายท่ีเกี่ยวของใชในการพัฒนาเด็ก สถานศึกษาหรอื
ผูจัดการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ สามารถเลือกหรือปรับใช ตัวบงช้ีและสภาพท่ีพึงประสงคในการ
พัฒนาเด็ก เพื่อนําไปทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลแตยังคงไวซ่ึงคุณภาพพัฒนาการของเด็กทั้งดาน
รางกาย อารมณ จติ ใจ สังคม และสติปญ ญา

๒. การประเมินพัฒนาการ จะตองคํานึงถึงปจจัยความแตกตางของเด็ก อาทิ เด็กท่ีพิการอาจตองมกี าร
ปรบั การประเมนิ พัฒนาการที่เอ้อื ตอ สภาพเดก็ ทงั้ วิธกี ารเครอื่ งมอื ท่ีใช หรือกลมุ เด็กทม่ี ีจดุ เนน เฉพาะดาน

๑๓. การเชื่อมตอ ของการศกึ ษาระดับปฐมวัยกับระดับประถมศกึ ษาปที่ ๑
การเชื่อมตอของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดบั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ มีความสําคัญอยา งยิ่ง บคุ ลากรทุก

ฝายจะตองใหความสนใจตอการชวยลดชองวางของความไมเขาใจในการจัดการศึกษาทั้งสองระดับ ซ่งึ จะสงผล
ตอการจัดการเรียนการสอน ตัวเด็ก ครู พอแม ผูปกครอง และบุคลากรทางการศึกษาอื่นๆทั้งระบบ การเชอื่ มตอ
ของการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั กับระดับประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ จะประสบผลสําเร็จไดตองดาํ เนินการดงั ตอ ไปนี้

๑. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
ผูบริหารสถานศึกษาเปนบุคคลสําคัญที่มีบทบาทเปนผูนําในการเช่ือมตอโดยเฉพาะระหวางหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวัยในชวงอายุ ๓ – ๖ ป กับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๑ โดย
ตองศึกษาหลักสูตรท้ังสองระดับ เพ่ือทําความเขาใจ จัดระบบการบริหารงานดานวิชาการที่จะเอ้ือตอการ
เชื่อมโยงการศกึ ษาโดยการจัดกิจกรรมเพ่ือเช่อื มตอการศึกษา ดังตัวอยางกิจกรรมตอไปนี้

๑.๑ จัดประชมครรู ะดับปฐมวัยและครูระดับประถมศึกษารวมกันสรางรอยเช่ือมตอของหลักสูตรทั้ง
สองระดบั ใหเ ปน แนวปฏิบัติของสถานศกึ ษาเพื่อครทู ้ังสองระดบั จะไดเตรยี มการสอนใหสอดคลองกับเดก็ วัยน้ี

๑.๒ จัดหารเอกสารดานหลักสูตรและเอกสารทางวิชาการของท้ังสองระดบั มาไวใหครแู ละบุคลากร
อน่ื ๆไดศ กึ ษาทําความเขาใจ อยา งสะดวกและเพียงพอ

๑.๓ จัดกิจกรรมใหครทู งั้ สองระดับมีโอกาสแลกเปล่ียนเผยแพรความรูใหมๆ ท่ีไดรับจากการอบรม
ดูงาน ซึง่ ไมค วรจัดใหเฉพาะครูในระดับเดยี วกนั เทาน้ัน

๑.๔ จัดเอกสารเผยแพรตลอดจนกิจกรรมสัมพันธในรูปแบบตางๆ ระหวางสถานศึกษา พอแม
ผปู กครองและบุคลากรทางการศึกษาอยางสมา่ํ เสมอ

๑๑๔

๑.๕ จัดใหมีการพบปะ หรือการทํากิจกรรมรวมกับพอแม ผูปกครองอยางสม่ําเสมอตอเน่ือง ใน
ระหวางที่เดก็ อยูในระดับปฐมวัย เพ่ือพอแม ผูปกครอง จะไดสรางความเขาใจและสนับสนุนการเรียน การสอน
ของบตุ รหลานตนไดอ ยา งถูกตอง

๑.๖ จัดกิจกรรมใหครทู ้งั สองระดับไดทํากิจกรรมรว มกันกบั พอ แม ผปู กครองและเดก็ ในบางโอกาส
๑.๗ จัดกิจกรรมปฐมนิเทศพอแม ผูปกครองอยางนอย ๒ ครั้ง คือ กอนเด็กเขาเรียนระดับปฐมวัย
ศึกษาและกอนเดก็ จะเลื่อนขนึ้ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ เพื่อใหพอแม ผูปกครองเขาใจ การศกึ ษาทง้ั สองระดับและ
ใหความรว มมือในการชว ยเด็กใหส ามารถปรบั ตัวเขากับสภาพแวดลอมใหมไ ดดี
๒. ครรู ะดบั ปฐมวัย
ครูระดับปฐมวัย นอกจากจะตองศึกษาทําความเขาใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และจดั กิจกรรมพัฒนา
เดก็ ของตนแลว ควรศึกษาหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน การจัดการเรียนการสอนในชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๑ และ
สรางความเขาใจใหกับพอแม ผูปกครองและบุคลากรอ่ืนๆ รวมท้ังชวยเหลือเด็กในการปรับตัวกอนเลื่อนขึ้นชั้น
ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ โดยครูอาจจดั กิจกรรมดังตัวอยา งตอ ไปนี้
๒.๑ เก็บรวบรวมขอมูลเก่ียวกับตวั เด็กเปนรายบคุ คลเพ่ือสง ตอครูชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๑ ซ่ึงจะทําให
ครูระดบั ประถมศกึ ษาสามารถใชข อมูลน้ันชว ยเหลือเด็กในการปรบั ตัวเขา กบั การเรยี นรใู หมตอไป
๒.๒ พูดคุยกับเด็กถึงประสบการณท่ีดีๆ เก่ียวกับการจัดการเรียนรูในระดับช้ันประถมศึกษาปที่ ๑
เพอื่ ใหเด็กเกดิ เจตคตทิ ่ดี ีตอการเรยี นรู
๒.๓ จัดใหเด็กไดมีโอกาสทําความรูจกั กับครูตลอดจนสภาพแวดลอ ม บรรยากาศของหองเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปที่ ๑ ท้ังทอ่ี ยูใ นสถานศึกษาเดยี วกันหรือสถานศกึ ษาอื่น
๓. ครูระดับประถมศกึ ษา
ครูระดับประถมศึกษาตองมีความรู ความเขาใจในพัฒนาการเด็กปฐมวัยและมีเจตคติที่ดีตอการจัด
ประสบการณตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเพ่ือนํามาเปนขอมูลในการพัฒนาจัดการเรียนรูในระดับชั้น
ประถมศึกษาปท่ี ๑ ของตนใหตอเนื่องกบั การพฒั นาเดก็ ในระดับปฐมวยั ดงั ตัวอยาง ตอ ไปน้ี
๓.๑ จัดกิจกรรมใหเด็ก พอแม และผูปกครอง มีโอกาสไดทําความรจู ักคุนเคยกับครูและหองเรยี น
ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๑ กอ นเปด ภาคเรยี น
๓.๒ จัดสภาพหองเรียนใหใกลเ คียงกับหองเรยี นระดับปฐมวัย โดยจัดใหมีมุมประสบการณภายใน
หองเพื่อใหเด็กไดม โี อกาสทํากิจกรรมไดอยางอิสระเชน มุมหนังสือ มุมของเลน มุมเกมการศึกษา เพ่ือชวยใหเดก็
ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๑ ไดป รับตวั และเรียนรจู ากการปฏิบัติจริง
๓.๓ จัดกจิ กรรมรวมกนั กับเด็กในการสรางขอตกลงเก่ียวกับการปฏิบตั ิตน
๓.๔ เผยแพรขาวสารดานการเรียนรูและสรางความสัมพันธที่ดีกับเด็ก พอแม ผูปกครอง และ
ชมุ ชน
๔. พอ แม ผูปกครองและบุคลากรทางการศกึ ษา
พอแม ผูปกครอง และบุคลากรทางการศึกษาตองทําความเขาใจหลักสูตรของการศึกษาทั้งสองระดับ
และเขา ใจวาถึงแมเด็กจะอยใู นระดับประถมศึกษาแลว แตเ ดก็ ยังตอ งการความรกั ความเอาใจใส การดแู ลและการ

๑๑๕

ปฏิสัมพันธที่ไมไดแตกตางไปจากระดบั ปฐมวัย และควรใหความรวมมือกับครูและสถานศกึ ษาในการชวยเตรียม
ตัวเดก็ เพื่อใหเดก็ สามารถปรบั ตัวไดเร็วยิ่งขึ้น

๑๑๖

บรรณานุกรม

สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(๒๕๖๐). หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐. กรงุ เทพมหานคร: ชุมนมุ สหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย.

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา, กระทรวงศกึ ษาธิการ.(เอกสารอดั สาํ เนา ๒๕๖๐). คมู ือ
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐.

๑๑๗

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version