The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kan302220, 2022-09-06 04:45:51

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน

หลักสูตรปฐมวัยรร.บ้านว่านบ้านด่าน

๕๘

ปฏบิ ัตติ ามวฒั นธรรมทองถนิ่ และความเปน ไทย หรือแหลงเรียนรูจากภูมปิ ญญาทองถิ่นอื่นๆ

๓. ธรรมชาติรอบตวั เด็กควรเรียนรูเกี่ยวกับช่ือ ลักษณะ สวนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและ
ความสมั พันธของมนุษย สตั ว พืช ตลอดจนการรจู ักเก่ยี วกับดิน น้ํา ทอ งฟา สภาพอากาศ ภยั ธรรมชาติ แรง และ
พลงั งานในชีวติ ประจําวนั ที่แวดลอมเด็ก รวมทัง้ การอนรุ ักษส ิ่งแวดลอ มและการรกั ษาสาธารณสมบัติ

๔. ส่ิงตางๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรูเกี่ยวกับการใชภาษาเพื่อส่ือความหมาย ใน
ชีวิตประจําวัน ความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับการใชหนังสือและตัวหนังสือ รูจักช่ือ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปราง
รูปทรง ปรมิ าตร นํ้าหนัก จํานวน สวนประกอบ การเปล่ียนแปลงและความสัมพันธของส่ิงตางๆ รอบตัว เวลา
เงิน ประโยชน การใชงาน และการเลือกใชสิ่งของเครื่องใช ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการ
สอ่ื สารตา งๆ ทใี่ ชอ ยใู นชีวติ ประจําวันอยางประหยดั ปลอดภยั และรักษาส่งิ แวดลอม

สื่อกจิ กรรมเสริมประสบการณ /กิจกรรมในวงกลม
๑. ส่ือของจริงท่ีอยูใกลตัวและสื่อจากธรรมชาติหรือวัสดุทองถิ่น เชน ตนไมใบไม เปลือกหอย
เส้ือผา
๒. สอื่ ทีจ่ ําลองขึ้น เชน ตนไม ตุก ตาสัตว
๓. สอื่ ประเภทภาพ เชน ภาพพลิก ภาพโปสเตอร หนังสอื ภาพ
๔. สือ่ เทคโนโลยี เชน เคร่อื งบันทึกเสียง เคร่ืองขยายเสียง โทรศัพท แมเ หล็ก แวนขยาย เคร่อื งช่ัง
กลองถายรูปดิจิตอล
๕. ส่ือ แหลงเรียนรู เชน แหลงเรียนรูภายในและนอกสถานศึกษา เชน แปลงเกษตร สวนผัก
สมนุ ไพร รา นคา สวนสัตว แหลงประกอบการในทองถนิ่
แนวการจัดกจิ กรรมเสริมประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม
การจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม จดั ไดหลายวิธี ไดแ ก
๑. การสนทนาหรือการอภิปราย เปนการพูดคุย ซักถามระหวางเด็กกับครู หรือเด็กกับเด็ก เปน
การสง เสริมพัฒนาการทางภาษาดานการพูดและการฟง โดยการกาํ หนดประเด็นในการสนทนาหรอื อภิปราย เด็ก
จะไดแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน ครูหรือผูสอนเปดโอกาสใหเด็กซักถาม โดยใช
คําถามกระตุนหรือเลาประสบการณท่ีแปลกใหม นําเสนอปญหาที่ ทาทายความคดิ การยกตัวอยาง การ ใชสอื่
ประกอบการสนทนาหรือการอภปิ รายควรใชส ่ือของจรงิ ของจําลอง รปู ภาพ หรือสถานการณจําลอง
๒. การเลานิทาน และการอา นนิทาน เปนกจิ กรรมท่ีครหู รอื ผูสอนเลา หรืออานเร่อื งราวจาก นิทาน
โดยการใชนาเสยี งประกอบการเลาแตกตางตามบคุ ลิกของตัวละคร ซึง่ ครูหรือผูสอนควรเลอื กสาระของ นิทานให
เหมาะสมกับวัย ส่ือที่ใชอาจเปนหนังสือนิทาน หนังสือภาพ แผนภาพ หุนมือ หุนนิ้วมือ หรือการแสดง ทาทาง
ประกอบการเลาเร่ือง โดยครใู ชคําถามเพ่ือกระตุนการเรียนรู เชน ในนิทานเรื่องน้ีมตี วั ละครอะไรบาง เหตุการณ
ในนิทานเร่ืองน้ีเกิดที่ไหน เวลาใด หรือ ลําดับเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในนิทาน นิทานเร่อื งนี้มีปญหา อะไรบาง และ
เด็กๆชอบเหตุการณใดในนอทานเร่อื งนม้ี ากทีส่ ุด
๓. การสาธิต เปนกิจกรรมท่ีเด็กไดเรียนรูจากประสบการณตรง โดยแสดงหรือทําส่ิงที่ตองการให

๕๙

เด็กไดสงั เกตและเรียนรูตามขั้นตอนของกิจกรรมน้ันๆ และเด็กไดอภิปรายและรวมกันสรุปการเรียนรู การสาธิต
ในบางครั้งอาจใหเด็กอาสาสมัครเปนผสู าธติ รวมกับครหู รือผสู อน เพื่อนําไปสกู ารปฏิบัติจริงดวยตนเอง เชน การ
เพาะเมลด็ พชื การประกอบอาหาร การเปา ลกู โปง การเลนเกมการศึกษา

๔. การทดลองปฏิบัติการ เปนกิจกรรมท่ีจัดใหเด็กไดรับประสบการณตรง จากการลงมือปฏิบัติ
ทดลอง การคิดแกปญหา มที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะคณิตศาสตร ทักษะภาษา สง เสริมใหเดก็
เกิดขอสงสัย สืบคนคําตอบดวยตนเอง ผานการวิเคราะห สังเคราะหอยางงาย สรุปผลการทดลอง อภิปรายผล
การทดลอง และสรุปการเรียนรู โดยกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรงาย ๆ เชน การเล้ียงหนอนผีเสื้อ การปลูก
พชื ฝก การสังเกตการณไหลของนาํ้

๕. การประกอบอาหาร เปนกิจกรรมที่จัดใหเด็กไดเรียนรูผานการทดลองโดยเปดโอกาสใหเด็กได
ลงมือทดสอบและปฏิบัติการดวยตนเองเกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงของผัก เน้ือสัตว ผลไมด วยวิธกี ารตางๆ เชน ตม
นึ่ง ผัด ทอด หรือการรับประทานสด เด็กจะไดรับประสบการณจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของอาหาร การ
รบั รรู สชาติและกลน่ิ ของอาหาร ดว ยการใชป ระสาทสมั ผัสและการทาํ งานรว มกนั เชน การทาํ อาหารจากไข

๖. การเพาะปลูก เปนกิจกรรมท่ีเนนกระบวนการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ซ่ึงเด็กจะได
เรียนรูการบูรณาการจะทําใหเด็กไดรับประสบการณโดยทําความเขาใจความตองการของส่ิงมีชีวิตในโลก และ
ชวยใหเด็กเขาใจความคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่งิ ทอี่ ยูรอบตัวโดยการสังเกต เปรียบเทียบ และการคิดอยางมีเหตุผล
ซึ่งเปน การเปด โอกาสใหเ ดก็ ไดคนพบและเรยี นรดู วยตนเอง

๗. การศึกษานอกสถานที่ เปนการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาที่ใหเด็กไดเรียนรูสภาพความเปนจริง
นอกหองเรียน จากแหลงเรียนรูในสถานศึกษา หรือ แหลงเรียนรูในชุมชน เชน หองสมุด สวนสมุนไพรวัด
ไปรษณีย พิพิธภัณฑ เพ่ือเปนการเพิ่มพูนประสบการณแกเด็ก โดยครแู ละเด็กรวมกันวางแผนศึกษาส่ิงท่ีตองการ
เรยี นรกู าร เดนิ ทาง และสรุปผลการเรียนรทู ีไ่ ดจ ากการไปศกึ ษานอกสถานที่

๘. การเลนบทบาทสมมติ เปนกิจกรรมใหเด็กสมมติตนเองเปนตัวละคร และแสดงบทบาทตางๆ
ตามเนื้อเร่ืองในนิทาน เร่ืองราวหรือสถานการณตาง ๆ โดยใชความรูสึกของเด็กในการแสดง เพ่ือใหเด็กเขาใจ
เรื่องราว ความรูส กึ และพฤติกรรมของตนเองและผูอ่ืน ๆ ควรใชสื่อประกอบการเลน สมมติ เชน หุนสวมศรี ษะ ท่ี
คาดศรี ษะรูปคนและสตั วรูปแบบตา งๆ เครื่องแตง กาย และอุปกรณข องจรงิ ชนดิ ตาง ๆ

๙. การรองเพลง ทองคําคลองจอง เปนกิจกรรมที่จัดใหเด็กไดเรียนรูเกี่ยวกับภาษา จังหวะ และ
การแสดงทาทางใหส มั พันธก บั เน้ือหาของเพลงหรือคาํ คลองจอง ครูหรอื ผสู อนควรเลือกใหเหมาะกบั วัยของเด็ก

๑๐. การเลนเกม เปนกิจกรรมท่ีนําเกมการเรียนรูเพื่อฝกทักษะการคิด การแกปญหา และ การ
ทํางานเปนกลมุ เกมทนี่ าํ มาเลนไมค วรเนนการแขงขัน

๑๑. การแสดงละคร เปน กิจกรรมที่เด็กจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการลําดับเร่ืองราว การเรียงลําดับ
เหตุการณ หรือเรื่องราวจากนิทาน การใชภาษาในการสื่อสารของตัวละคร เพื่อใหเด็กไดเรียนรู และทําความ
เขาใจบุคลกิ ลกั ษณะของตัวละครท่ีเดก็ สวมบทบาท สอ่ื ท่ีใช เชน ชดุ การแสดงท่ีสอดคลองกับ บทบาทท่ไี ดรับ บท
สนทนาทเ่ี ด็กใชฝ กสนทนาประกอบการแสดง

๖๐

๑๒. การใชสถานการณจําลอง เปนกิจกรรมที่เด็กไดเรียนรูแนวทางการปฏิบัติตนเมื่ออยูใน
สถานการณท ี่ครูหรอื ผสู อนกาํ หนด เพ่อื ใหเด็กไดฝก การแกป ญหา เชน นา้ํ ทวม โรคระบาด พบคนแปลกหนา

ขอ เสนอแนะ
๑. การจัดกิจกรรมควรใหเด็กไดรับประสบการณตรง ใชป ระสาทสมั ผสั ทั้งหาและมีโอกาส คนพบดว ย
ตนเองใหมากท่สี ดุ
๒. ผูสอนควรยอมรบั ความคิดเห็นท่หี ลากหลายของเด็กและใหโอกาสเด็กไดฝกคิดแสดงความ คิดเห็น
ฝกตง้ั คาํ ถาม
๓. การจัดกจิ กรรมอาจเชิญวิทยากรมาใหความรูเพิ่มเติม เพือ่ ชวยใหเด็กสนใจและสนกุ สนานย่ิงขึน้
๔. ในขณะที่เด็กทํากิจกรรม หรือหลังจากทํากิจกรรมเสร็จแลว ผูสอนควรใชคําถามปลายเปด ท่ีชวน
ใหเด็กคิดหลีกเลี่ยงการใชคําถามที่มีคาํ ตอบ“ใช”“ไมใช”หรือมีคําตอบใหเ ด็กเลือกและผูสอนควรใหเวลาเด็กคดิ
คําตอบ
๕. ชวงระยะเวลาที่จัดกิจกรรมสามารถยืดหยุนไดตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงความ สนใจของ
เด็กและความเหมาะสมของกิจกรรมนน้ั ๆ เชน กิจกรรมการศกึ ษานอกสถานที่ การประกอบอาหาร การปลูกพชื
อาจใชเ วลานานกวา ท่ีกําหนดไว

๖. ควรสรุปส่ิงตางๆท่ีไดเรียนรูใหเด็กเขาใจ ซ่ึงครูหรือผูสอน อาจใชคําถาม เพลง คําคลองจอง เกม
การเรยี นรู แผนภูมิ แผนผงั กราฟก ฯลฯ เพอ่ื นําไปใชในชีวิตประจาํ วัน

๓. กิจกรรมศิลปะสรางสรรค

กิจกรรมสรางสรรค เปนกิจกรรมท่ีมุงพัฒนากระบวนการคิด การรับรูเกี่ยวกับความงาม และสงเสริม
กระตุนใหเด็กแสดงออกทางอารมณ ความรูสึก ความคิดริเริ่มสรางสรรคและจินตนาการ โดยใชกิจกรรมศิลปะ
หรอื กจิ กรรมอ่นื ที่เหมาะกับพฒั นาการของเดก็ แตละวัยและสอดคลอ งกบั จดุ ประสงคด ังน้ี

จดุ ประสงค
๑. เพอื่ พัฒนากลามเนื้อมือ และตาใหประสานสัมพันธกนั
๒. เพื่อใหเกดิ ความเพลดิ เพลนิ ช่ืนชมในสงิ่ ท่ีสวยงาม
๓. เพ่ือสงเสรมิ การปรบั ตัวในการทาํ งานรว มกับผอู นื่
๔. เพื่อสงเสรมิ การแสดงออกและความม่นั ใจในตนเอง
๕. เพือ่ สง เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และทักษะทางสังคม
๖. เพอ่ื สง เสรมิ ทักษะทางภาษา
๗. เพ่อื ฝก ทักษะการสังเกต และการแกป ญหา
๔. เพ่ือสงเสรมิ ความคดิ ริเรมิ่ สรางสรรค และจินตนาการ

ขอบขายการจดั กจิ กรรมศิลปะสรางสรรค
การจดั กิจกรรมสรางสรรค ประกอบดวย
๑. การวาดภาพและระบายสี เชน การวาดภาพดวยสเี ทยี น หรอื สีไม การวาดภาพดวยสนี ํา้

๖๑

๒. การเลนกับสนี ้ํา เชน การหยดสี การเทสี การเปา สี ละเลงสดี วยนิว้ มอื
๓. การพิมพภ าพ เชน การพมิ พภ าพดว ยพืช การพมิ พภ าพดวยวัสดุตางๆ
๔. การปน เชน การปน ดนิ เหนยี ว การปน แปง ปน การปน ดนิ นาํ้ มัน การปนแปงขนมปง
๕. การพับ ฉีก ตัด ปะ เชน การพับใบตอง การฉกี กระดาษเสน การตัดภาพตา งๆ
๖. การปะตดิ วัสดุ
๗. การประดษิ ฐ เชน การประดษิ ฐเ ศษวสั ดุ การรอ ย การสาน

สื่อกจิ กรรมศิลปะสรางสรรค
๑. การวาดภาพและระบายสี

๑.๑ สเี ทียนแทงใหญ สไี ม สีชอลก สีนํา้
๑.๒ พูก นั ขนาดใหญ (ประมาณเบอร ๑๒)
๑.๓ กระดาษ
๑.๔ เส้อื คลุม หรือผากนั เปอ น
๒. การเลน กบั สี
๒.๑ การเปา สี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สนี ้ํา
๒.๒ การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พกู นั สีนา้ํ
๒.๓ การพบั สี มี กระดาษ สนี ํ้า พูก นั
๒.๔ การเทสี มี กระดาษ สีนํา้
๒.๕ การละเลงสี มี กระดาษ สนี ้ํา แปงเปยก
๓. การพมิ พภาพ
๓.๑ แมพ ิมพต าง ๆ จากของจริง เชน นิ้วมือ ใบไม กานกลวย
๓.๒ แมพิมพจ ากวัสดุอ่ืน ๆ เชน เชอื ก เสน ดาย ตรายาง
๓.๓ กระดาษ ผาเช็ดมือ สีโปสเตอร (สนี ํา้ สีฝุน ฯลฯ)

๔. การปน เชน ดนิ นํา้ มนั ดินเหนียว แปง โดว แผน รองปน แมพ มิ พร ูปตางๆ ไมนวดแปง
๕. การพับ ฉีก ตัดปะ เชน กระดาษ หรือวัสดุอื่นๆท่ีจะใชพับ ฉีก ตัด ปะ กรรไกรขนาดเลก็ ปลายมน
กาวน้ําหรือแปง เปยก ผาเช็ดมอื
๖. การประดิษฐเศษวัสดุ เชน เศษวัสดุตาง ๆ มีกลองกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา เศษไหม กาว
กรรไกร สี ผาเชด็ มอื
๗. การรอย เชน ลกู ปด หลอดกาแฟ หลอดดาย
๘. การสาน เชน กระดาษ ใบตอง ใบมะพรา ว

แนวการจัดกิจกรรมศลิ ปะสรางสรรค
๑. เตรียมจัดโตะและอุปกรณใหพรอ ม และเพยี งพอกอนทํากิจกรรม โดยจัดไวหลายๆกิจกรรม และ

อยางนอ ย ๓-๕ กิจกรรม เพือ่ ใหเ ด็กมีอิสระในการเลือกทํากจิ กรรมที่สนใจ

๖๒

๒. ควรสรางขอ ตกลงในการทํากิจกรรม เพ่ือฝกใหเดก็ มีวนิ ัยในการอยูรวมกัน
๓. การจัดใหเด็กทํากิจกรรม ควรใหเด็กเลือกทํากิจกรรมอยางมีระเบียบ และทยอยเขาทํากิจกรรม
โดยจดั โตะ ละ ๕-๖ คน
๔. การเปลีย่ นและหมุนเวียนทํากิจกรรม ตองสรางขอตกลงกับเด็กใหชัดเจน เชน หากกิจกรรมใด มี
เพ่ือนครบจาํ นวนท่ีกําหนดแลว ใหค อยจนกวาจะมีท่ีวา ง หรอื ใหทาํ กิจกรรรมอนื่ กอน
๕. กิจกรรมใดเปนกิจกรรมใหม หรือการใชวัสดุ อุปกรณใหม ครูจะตองอธิบายวิธีการทํา วิธีการใช
วิธกี ารทําความสะอาด และการเกบ็ ของเขา ท่ี
๖. เม่ือทํางานเสร็จหรือหมดเวลา ควรเตือนใหเด็กเก็บวัสดุ อุปกรณ เคร่ืองมือเครื่องใชเขาที่ และ
ชวยกนั ดแู ลหองใหสะอาด
ขอ เสนอแนะ
๑. ควรจัดการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรค ใหเด็กทําทุกวัน วันละ ๓-๕ กิจกรรม และให เด็กเลือกทํา
อยางนอย ๑-๒ กิจกรรมตามความสนใจ ควรเนนกระบวนการทางศิลปะของเด็กและไมเนน ให เด็กทําเหมอื นกัน
ทงั้ หอ ง
๒. การจัดเตรยี มวัสดอุ ุปกรณ ควรพยายามหาวัสดทุ องถิน่ มาใชกอนเปน อนั ดับแรก
๓. กอนใหเด็กทํากิจกรรม ตองอธิบายวิธีใชวัสดุที่ถูกตองใหเด็กทราบพรอมท้ังสาธิตใหดูจนเขาใจ เชน
การใชพ ูก ันหรือกาว จะตอ งปาดหูกนั หรือกาวน้ันกบั ขอบภาชนะท่ีใส เพือ่ ไมใ หกาวหรือสีไหลเลอะเทอะ
๔. ควรใหเดก็ ทํากิจกรรมอสิ ระ หรอื เปนกลุม ยอย เพื่อฝกการวางแผน และการทาํ งานรว มกนั กับผอู ่นื
๕. ควรแสดงความสนใจ และช่ืนชมผลงานของเด็กทุกคน และนําผลงานของเด็กทุกคนหมุนเวียนจัด
แสดงท่ีปายนิเทศ
๖. หากพบวาเด็กคนใดสนใจทํากิจกรรมเดียวทุกคร้ัง ควรชักชวนใหเด็กเปล่ียนทํากิจกรรมอ่ืนบาง
เพราะกิจกรรมสรางสรรคแตละประเภทพัฒนาเด็กแตละดานแตกตางกัน และเมื่อเด็กทําตามทีแ่ นะนําได ควร
ใหแ รงเสริมทางบวกทุกครง้ั
๗. เม่ือเด็กทํางานเสร็จ ควรใหเลา เร่ืองเกี่ยวกับส่ิงท่ีทําหรือภาพท่ีวาด โดยครหู รือผสู อนบันทึกเร่ืองราว
ที่เด็กเลา และวันท่ีท่ีทํา เพื่อใหทราบความกาวหนา และระดับพัฒนาการของเดก็ โดยเขียนดวยตัวบรรจงและให
เด็กเหน็ ลลี ามอื ในการเขียนท่ีถูกตอง
๘. เก็บผลงานชิน้ ท่ีแสดงความกาวหนา ของเด็กเปนรายบคุ คลเพื่อเปนขอมูลสังเกตพัฒนาการของเดก็

๔. กิจกรรมการเลนตามมมุ
กิจกรรมการเลนตามมุม เปนกิจกรรมท่ีเปดโอกาสใหเด็กเลนอิสระตามมุมเลน หรือมุมประสบการณ

หรือกําหนดเปนพื้นที่เลนที่จัดไวในหองเรียน ซ่ึงพื้นที่หรือมุมตางๆเหลาน้ีเด็กมีโอกาสเลือกเลนไดอยางเสรีตาม
ความสนใจและความตองการของเด็ก ทั้งเปนรายบุคคลและเปนกลุมยอย เด็กอาจจะเลือกทํากิจกรรมท่ีครจู ัด
เสริมข้ึน เชน เกมการศกึ ษา เครอ่ื งเลน สมั ผัส โดยจัดใหส อดคลอ งกับจุดประสงค ดงั นี้

จดุ ประสงค

๖๓

๑. เพ่ือสงเสรมิ พัฒนาการดา นกลามเน้ือใหญ กลามเน้ือเล็ก และการประสานสัมพันธระหวางมือกับ
ตา

๒. เพ่ือสงเสริมใหรจู ักปรับตัวอยูรวมกับผูอื่นมีวินัยเชิงบวกรูจักการรอคอย เอ้ือเฟอเผ่ือแผ และให
อภยั

๓. เพ่อื สงเสรมิ ใหเด็กมีโอกาสปฏิสัมพนั ธกับเพ่ือน ครู และสง่ิ แวดลอ ม
๔. เพอ่ื สงเสรมิ พัฒนาการทางดา นภาษา
๕. เพื่อสง เสรมิ ใหเด็กมนี สิ ยั รกั การอา น
๖. เพื่อสง เสรมิ ใหเด็กเกิดการเรยี นรูดว ยตนเองจากการสํารวจ การสงั เกต และการทดลอง
๗. เพอ่ื สง เสรมิ ใหเด็กพัฒนาความคดิ สรางสรรคและจินตนาการ
๘. เพอื่ สง เสรมิ การคดิ แกป ญหา การคิดอยางมีเหตผุ ลเหมาะสมกับวยั
๙. เพื่อสงเสริมใหเด็กฝกคิด วางแผน และตดั สินในการทํากิจกรรม
๑๐. เพอ่ื สง เสรมิ ใหมที ักษะพน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตรและคณติ ศาสตร
๑๑. เพ่ือฝก การทํางานรวมกนั ความรับผิดชอบ และระเบยี บวนิ ัย

ขอบขา ยของการจัดกจิ กรรมการเลนตามมุม

๑. เปดโอกาสใหเด็กเลือกทํากิจกรรมศิลปะสรางสรรค และเลนตามมุมเลนในชวงเวลาเดียวกัน อยาง
อิสระ

๒. การจัดมุมเลนหรือมุมประสบการณ ควรจัดอยางนอย ๓-๕ มุม ดังตัวอยางมุมเลนหรือ มุม
ประสบการณ ดงั น้ี

๒.๑ มุมบลอ็ ก เปนมมุ ท่สี ง เสรมิ ใหเด็กเรยี นรเู กยี่ วกบั มติ สิ มั พันธผานการสรา ง

๒.๒ มมุ หนังสือ เปนมุมที่เด็กเรียนรูเกี่ยวกับภาษา จากการฟง การพูด การอาน การเลา เรื่อง หรือ
การยมื – คนื หนังสือ

๒.๓ มุมวิทยาศาสตรหรือมุมธรรมชาติศึกษา เปน มุมท่ีเดก็ ไดเรียนรูธรรมชาติรอบตัว ผา นการ เลน
ทดลองอยางงาย

๒.๔ มุมเคร่ืองเลนสัมผัส เปนมุมท่ีเด็กจะไดฝกการประสานสัมพันธระหวางมือกับตา การ
สรา งสรรค เชน การรอ ย การสาน การตอ เขา การถอดออก ฯลฯ

๒.๕ มุมบทบาทสมมติ เปนมุมท่ีเด็กไดเรียนรูเก่ียวกับบทบาทของแตละอาชีพหรือแตละหนาที่ท่ี
เด็กๆเลยี นแบบบทบาท

สือ่ กจิ กรรมการเลนตามมมุ
๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจดั เปนมุมเลนตางๆ เชน
๑.๑ มุมบา น

๖๔

๑) ของเลนเครื่องใชในครัวขนาดเล็ก หรือของจําลอง เชน เตา กระทะ ครก กาน้ํา เขียง มีด
พลาสตกิ หมอ จาน ชอ น ถวยชาม กะละมงั

๒) เครอ่ื งเลน ตุก ตา เสือ้ ผาตุกตา เตียง เปลเดก็ ตุกตา
๓) เครื่องแตง บานจําลอง เชน ชุดรับแขก โตะเครอ่ื งแปง หมอนอิง หวี ตลับแปง กระจก ขนาด
เห็นเตม็ ตวั
๔) เครื่องแตงกายบุคคลอาชีพตาง ๆ ที่ใชแลว เชน ชุดเครื่องแบบทหาร ตํารวจ ชุดเสื้อผา
ผูใหญช ายและหญิง รองเทา กระเปาถือทไ่ี มใชแลว
๕) โทรศพั ท เตารดี จาํ ลอง ทีร่ ีดผาจาํ ลอง
๖) ภาพถายและรายการอาหาร
๑.๒ มุมหมอ
๑) เครื่องเลน จําลองแบบเคร่ืองมือแพทยและอปุ กรณก ารรกั ษาผูปวย เชน หูฟง เส้อื คลุมหมอ
๒) อปุ กรณส ําหรบั เลยี นแบบการบันทกึ ขอมลู ผปู วย เชน กระดาษ ดินสอ ฯลฯ
๓) เคร่ืองชัง่ นํา้ หนกั วดั สว นสูง

๑.๓ มมุ รานคา
๑) กลอ งและขวดผลติ ภัณฑต า งๆ ทใ่ี ชแลว
๒) ผลไมจ าํ ลอง ผักจาํ ลอง
๓) อุปกรณป ระกอบการเลน เชน เครื่องคดิ เลข ลูกคิด ธนบัตรจาํ ลอง ฯลฯ
๔) ปา ยชือ่ รา น
๕) ปา ยช่ือผลไม ผักจาํ ลอง

๒. มุมบล็อก
๒.๑ ไมบล็อกหรือแทงไมท่ีมีขนาดและรูปทรงตางๆกัน เชนบล็อกตัน บล็อกโตะ จํานวนต้ังแต

๙๐๐ ชน้ิ ข้ึนไป
๒.๒ ของเลนจาํ ลอง เชน รถยนต เคร่อื งบิน รถไฟ คน สัตว ตน ไม
๒.๓ ภาพถายตางๆ
๒.๔ ท่จี ัดเก็บไมบ ล็อกหรอื แทง ไมอาจเปน ชน้ั ลังไมหรือพลาสติก แยกตาม รปู ทรง ขนาด

๓. มมุ หนงั สอื
๓.๑ หนงั สือภาพนทิ าน หนังสอื ภาพทม่ี ีคาํ และประโยคสั้นๆ พรอ มภาพ
๓.๒ ช้นั หรอื ท่ีวางหนงั สอื
๓.๓ อปุ กรณตาง ๆ ทีใ่ ชใ นการสรางบรรยากาศการอา น เชน เสือ้ พรม หมอน
๓.๔ สมดุ เซน็ ยืมหนังสอื กลับบาน
๓.๕ อุปกรณสําหรบั การเขยี น

๖๕

๓.๖ อปุ กรณเ สริม เชน เครือ่ งเสยี ง แผน นิทานพรอมหนังสอื นทิ าน หูฟง
๔. มมุ วทิ ยาศาสตร หรอื มมุ ธรรมชาติศึกษา

๔.๑ วัสดุตา ง ๆ จากธรรมชาติ เชน เมลด็ พชื ตางๆ เปลอื กหอย ดิน หนิ แร ฯลฯ
๔.๒ เคร่ืองมอื เครือ่ งใชในการสาํ รวจ สังเกต ทดลอง เชน แวนขยาย แมเหล็ก เขม็ ทิศ

เครื่องชงั่
แนวการจัดกจิ กรรมการเลนตามมมุ

๑. แนะนาํ มุมเลนใหม เสนอแนะวธิ ใี ช การเลน ของเลน บางชนิด
๒. เดก็ และครูรวมกันสรา งขอตกลงเกย่ี วกบั การเลน
๓. ครูเปดโอกาสใหเด็กคิด วางแผน ตัดสินใจเลือกเลนอยางอิสระ เลือกทํากิจกรรมท่ีจัดขึ้น ตาม
ความสนใจของเด็กแตละคน
๔. ขณะเดก็ เลน / ทํางาน ครูอาจชี้แนะ หรอื มีสว นรว มในการเลนกบั เด็กได
๕. เด็กตองการความชวยเหลือและคอยสังเกตพฤติกรรมการเลนของเด็กพรอมทั้งจดบันทึก
พฤตกิ รรมที่นาสนใจ
๖. เตือนใหเด็กทราบลวงหนา กอ นหมดเวลาเลน ประมาณ ๓ - ๕ นาที
๗. ใหเด็กเก็บของเลนเขา ทีใ่ หเรียบรอยทุกคร้งั เมอื่ เสร็จสิ้นกิจกรรม

ขอเสนอแนะ
๑. ขณะเด็กเลน ครูตองสังเกตความสนใจในการเลนของเด็ก หากพบวามุมใด เด็กสวนใหญ ไม

สนใจที่จะเลนควรเปลี่ยนหรือจัดสื่อในมุมเลนใหม เชน มุมบาน อาจดัดแปลงหรือเพิ่มเติม หรือเปลย่ี นเปน มุม
รา นคา มมุ เสรมิ สวย มุมหมอ ฯลฯ

๒. หากมุมใดมจี าํ นวนเด็กในมุมมากเกนิ ไปควรเปดโอกาสใหเ ดก็ เลือกเลนมุมใหม
๓. หากเด็กเลือกมุมเลนมุมเดียวเปนระยะเวลานาน ควรชักชวนใหเด็กเลือกมุมอ่ืนๆ ดวย เพ่ือให
เดก็ มปี ระสบการณการเรยี นรูในดานอ่นื ๆดว ย
๔. การจัดสื่อหรือเคร่ืองเลนในแตละมุม ควรมีการทําความสะอาด และสับเปล่ียนหรือ เพิ่มเติม
เปน ระยะโดยคาํ นึงถึงลําดับขน้ั การเรียนรู เพอ่ื ใหเดก็ เกิดการเรยี นรูที่หลากหลาย
๕. กิจกรรมการเลนกลางแจง
กิจกรรมการเลนกลางแจง เปนกิจกรรมท่ีจัดใหเด็กไดมีโอกาสออกไปนอกหองเรียนเพ่ือเคลื่อนไหว
รา งกายออกกําลัง และแสดงออกอยางอิสระ โดยยึดความสนใจและความสามารถของเด็กแตละคนเปน หลัก โดย
จัดใหสอดคลองกับจดุ ประสงค ดงั น้ี

จุดประสงค
๑. เพ่ือพัฒนากลามเนอื้ ใหญ กลามเน้อื เลก็ และการประสานสมั พันธของอวัยวะตา ง ๆ
๒. เพอ่ื สง เสรมิ ใหมีรา งกายแขง็ แรง สุขภาพดี
๓. เพ่ือสงเสรมิ ใหเกดิ ความสนกุ สนาน ผอนคลายความเครยี ด

๖๖

๔. เพอ่ื ปรบั ตัว เลนและทาํ งานรว มกบั ผอู ืน่
๕. เพื่อเรียนรูการระมดั ระวงั รักษาความปลอดภัยทั้งของตนเองและผูอืน่
๖. เพ่ือฝก การตดั สินใจ และแกปญ หาดว ยตนเอง
๗. เพอ่ื สง เสรมิ ใหม ีความอยากรอู ยากเหน็ สิ่งตางๆ ที่แวดลอมรอบตวั
๘. เพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรูตา ง ๆ เชน การสังเกต การเปรยี บเทยี บ การจําแนก

ขอบขายของกิจกรรมการเลนกลางแจง
ลกั ษณะกิจกรรมการเลนกลางแจงท่ีครูควรจัดใหเด็กไดเลน ไดแ ก
๑. การเลนเครือ่ งเลนสนาม

เคร่ืองเลนสนาม หมายถึง เคร่ืองเลนท่ีเด็กอาจปนปาย หมุน ซ่ึงทําออกมาในรูปแบบตางๆ
เชน

๑.) เคร่อื งเลน สําหรบั ปนปา ย หรือตาขายสาํ หรบั ปนเลน
๒.) เคร่ืองเลนสําหรับโยกหรอื ไกว เชน มา ไม ชงิ ชา มา นัง่ โยก ไมก ระดก
๓.) เครื่องเลน สําหรบั หมนุ เชน มาหมุน พวงมาลยั รถสาํ หรบั หมุนเลน
๔.) ราวโหนขนาดเลก็ สําหรบั เด็ก
๕.) ตน ไมสําหรับเดนิ ทรงตัว หรอื ไมกระดานแผน เดยี ว
๖.) เคร่อื งเลนประเภทลอเลอื่ น เชน รถสามลอ รถลากจงู
๒. การเลน ทราย
ทรายเปนส่ิงท่ีเด็กๆ ชอบเลน ท้ังทรายแหง ทรายเปยก นํามากอเปนรูปตางๆ ได และ
สามารถนําวสั ดุอ่นื มาประกอบการเลน ตกแตงได เชน กงิ่ ไม ดอกไม เปลือกหอย พิมพขนม ทต่ี กั ทราย
ปกติบอทรายจะอยูกลางแจง โดยอาจจัดใหอยูใตรม เงาของตนไมหรอื สรางหลังคา ทําขอบ
ก้ัน เพื่อมิใหทรายกระจัดกระจาย บางโอกาสอาจพรมนํ้าใหขึ้นเพื่อเด็กจะไดก อเลน นอกจากนี้ ควรมี วิธีการปด
กนั้ มใิ หส ตั วเลี้ยงลงไปทําความสกปรกในบอทรายได
๓. การเลน นา้ํ
เด็กท่ัวไปชอบเลนนํ้ามาก การเลนนํ้านอกจากสรางความพอใจและคลายความเครียด ให
เด็กแลว ยังทําใหเ ด็กเกดิ การเรียนรูอกี ดว ย เชน เรยี นรูทักษะการสงั เกต จาํ แนกเปรียบเทียบปริมาตร
อุปกรณที่ใสน้ําอาจเปนถังท่ีสรางขึ้นโดยเฉพาะหรืออางน้ําวางบนขาต้ังที่ม่ันคง ความ สูง
พอทีเ่ ด็กจะยืนไดพอดี และควรมีผา พลาสตกิ กนั เสอ้ื ผา เปย กใหเด็กใชคลุมระหวางเลน
๔. การเลน สมมติในบานตกุ ตาหรือบานจาํ ลอง
เปน บา นจําลองสําหรับใหเด็กเลน จําลองแบบจากบานจริงๆ อาจทําดวยเศษวสั ดุ ประเภท
ผาใบ กระสอบปาน ของจริงท่ีไมใชแลว เชน หมอ เตา ชาม อาง เตารีด เครื่องครัว ตุกตาสมมติ เปนบุคคลใน
ครอบครัว เสื้อผาผูใหญท่ีไมใชแลวสําหรับผลัดเปลี่ยน มีการตกแตงบริเวณใกลเคียงใหเหมือนบาน จริง ๆ
บางครง้ั อาจจดั เปนรา นขายของ สถานทีท่ ําการตา ง ๆ เพ่ือใหเด็กเลน สมมตติ ามจินตนาการของเดก็ เอง

๖๗

๕. การเลน ในมุมชางไม

เด็กตองการออกแรงเคาะ ตอก กิจกรรมการเลนในมุมชางไมน้ีจะชวยในการพัฒนา
กลามเน้ือใหแ ข็งแรง ชวยฝก การใชมือและการประสานสมั พันธระหวางมือกับตา นอกจากน้ียังฝกใหรักงาน และ
สงเสรมิ ความคดิ สรางสรรคอกี ดว ย

๖. การเลนเกมการละเลน
กจิ กรรมการเลนเกมการละเลน ท่ีจัดใหเด็กเลน เชน เกมการละเลน ของไทย เกม การละเลน

ของทองถ่ิน เชน มอญซอนผา รีรีขาวสาร แมงู โพงพาง ฯลฯ การละเลนเหลาน้ี ตองใชบริเวณท่ี กวาง การเลน
อาจเลนเปนกลุมเล็ก/กลุมใหญก ็ได กอนเลนครูอธิบายกติกาและสาธิตใหเดก็ เขาใจ ไมค วรนํา เกมการละเลน ที่มี
กติกายุงยากและเนนการแขงขันแพชนะ มาจัดกิจกรรมใหกับเด็กวัยนี้ เพราะเด็กจะเกิด ความเครียดและสราง
ความรสู ึกทไ่ี มดีตอตนเอง

สือ่ กิจกรรมการเลนกลางแจง
๑. การเลน เครอื่ งเลนสนาม
เคร่ืองเลนสนาม หมายถึง เครื่องเลนท่ีเด็กอาจปนปาย หมุน ซึ่งทําออกมาในรปู แบบตางๆ

เชน
๑.๑ เครือ่ งเลน สําหรบั ปนปาย หรือตาขา ยสาํ หรับปนเลน
๑.๒ เครอ่ื งเลน สําหรบั โยกหรือไกว เชน มา ไม ชิงชา มานง่ั โยก ไมก ระดก
๑.๓ เครื่องเลนสําหรบั หมุน เชน มา หมนุ พวงมาลยั รถสําหรับหมนุ เลน
๑.๔ ราวโหนขนาดเล็กสําหรับเด็ก
๑.๕ ตน ไมส ําหรับเดนิ ทรงตัว หรือไมก ระดานแผน เดียว
๑.๖ เครอ่ื งเลนประเภทลอ เล่ือน เชน รถสามลอ รถลากจงู

๒. การเลน ทราย
ทรายเปนส่ิงท่ีเด็กๆ ชอบเลน ท้ังทรายแหง ทรายเปยก นํามากอเปนรูปตางๆ ไดและ

สามารถนาํ วสั ดุอ่นื มาประกอบการเลน ตกแตงได เชน กิ่งไม ดอกไม เปลือกหอย พมิ พข นม ท่ตี กั ทราย
ปกติบอทรายจะอยูกลางแจง โดยอาจจัดใหอยูใตรม เงาของตนไมหรอื สรางหลังคา ทําขอบ

ก้ัน เพื่อมิใหทรายกระจัดกระจาย บางโอกาสอาจพรมนํ้าใหขึ้นเพ่ือเด็กจะไดก อเลน นอกจากน้ี ควรมี วิธีการปด
กน้ั มิใหสตั วเล้ยี งลงไปทําความสกปรกในบอทรายได

๓. การเลนนํา้
เด็กทั่วไปชอบเลนน้ํามาก การเลนนํ้านอกจากสรางความพอใจและคลายความเครียดให

เด็กแลวยังทําใหเด็กเกิดการเรยี นรูอีกดวย เชน เรียนรูทักษะการสงั เกต จําแนกเปรยี บเทียบปริมาตร อุปกรณ ที่
ใสน้ําอาจเปนถังที่สรางขึ้นโดยเฉพาะหรืออางนํ้าวางบนขาต้ังท่มี ่ันคง ความสงู พอท่ีเด็กจะยืนไดพอดี และควร มี
ผาพลาสติกกันเสอื้ ผาเปยกใหเดก็ ใชคลุมระหวางเลน

๔. การเลน สมมติในบานตุกตาหรือบานจําลอง

๖๘

เปนบานจําลองสําหรับใหเด็กเลน จําลองแบบจากบานจริงๆ อาจทําดวยเศษวัสดุประเภท
ผาใบ กระสอบปาน ของจริงท่ีไมใชแลว เชน หมอ เตา ชาม อาง เตารีด เครื่องครัว ตุกตาสมมติเปนบุคคลใน
ครอบครัว เสื้อผาผูใหญท่ีไมใชแ ลวสําหรับผลัดเปลี่ยน มีการตกแตงบริเวณใกลเคียงใหเหมอื นบา นจรงิ ๆ บางคร้ัง
อาจจัดเปนรานขายของ สถานทีท่ าํ การตา ง ๆ เพอื่ ใหเดก็ เลน สมมตติ ามจนิ ตนาการของเดก็ เอง

๕. การเลนในมมุ ชางไม
เด็กตองการออกแรงเคาะ ตอก กิจกรรมการเลนในมุมชางไมนี้จะชวยในการพัฒนา

กลามเน้ือ ใหแข็งแรง ชวยฝกการใชมือและการประสานสัมพันธระหวา งมือกบั ตา นอกจากน้ียังฝกใหรักงานและ
สงเสรมิ ความคิดสรางสรรคอีกดวย

๖. การเลน เกมการละเลน
กิจกรรมการเลนเกมการละเลน ทจ่ี ัดใหเด็กเลน เชน เกมการละเลนของไทย เกมการละเลน

ของทองถ่ิน เชน มอญซอนผา รีรีขาวสาร แมงู โพงพาง ฯลฯ การละเลนเหลานี้ ตองใชบริเวณท่ีกวาง การเลน
อาจเลน เปนกลุมเล็ก/กลุมใหญก็ได กอนเลนครูอธิบายกติกาและสาธิตใหเด็กเขาใจ ไมควรนํา เกมการละเลน ที่มี
กติกายุงยากและเนนการแขงขันแพชนะ มาจัดกิจกรรมใหกับเด็กวัยนี้ เพราะเด็กจะเกิด ความเครียดและสราง
ความรูสกึ ทไี่ มดตี อตนเอง

แนวการจัดกิจกรรม
๑. เดก็ และครรู วมกนั สรา งขอตกลง
๒. จัดเตรียมวัสดุอปุ กรณป ระกอบการเลนใหพรอ ม
๓. สาธิตการเลนเคร่ืองเลน สนามบางชนิด
๔. ใหเด็กเลอื กเลน อิสระตามความสนใจและใหเวลาเลน นานพอควร
๕. ครูควรจัดกิจกรรมใหเหมาะสมกับวัย (ไมควรจัดกิจกรรมพลศึกษา) เชน การเลนน้ํา เลนทราย เลน
บานตุกตา เลนในมุมชางไม เลนบล็อกกลวง เครื่องเลนสนาม เกมการละเลน เลนอุปกรณกีฬา สําหรับเด็ก เลน
เครือ่ งเลน ประเภทลอ เลื่อน เลน ของเลนพ้ืนบาน (เดนิ กะลา ฯลฯ)
๖. ขณะเด็กเลนครูตองคอยดูแลความปลอดภัยและสังเกตพฤติกรรมการเลน การอยูรวมกัน กับเพื่อน
ของเดก็ อยางใกลช ิด
๗. เมือ่ หมดเวลาควรใหเดก็ เกบ็ ของใชหรือของเลน ใหเรยี บรอย
๘. ใหเดก็ ทําความสะอาดรางกายและดแู ลเครอ่ื งแตง กายใหเรยี บรอ ยหลงั เลน
ขอเสนอแนะ
๑. หม่ันตรวจตราเคร่ืองเลนสนามและอุปกรณประกอบใหอยูในสภาพท่ีปลอดภัยและใชการ ไดดีอยู
เสมอ
๒. ใหโ อกาสเด็กเลอื กเลนกลางแจงอยา งอิสระทกุ วัน อยา งนอ ยวันละ ๓๐ นาที
๓. ขณะเด็กเลนกลางแจง ครูตอ งคอยดูแลอยางใกลชิดเพ่ือระมัดระวังความ ปลอดภัยในการ เลน หาก
พบวาเดก็ แสดงอาการเหนือ่ ย ออนลา ควรใหเ ด็กหยุดพกั

๖๙

๔. ไมค วรนาํ กจิ กรรมพลศึกษาสาํ หรบั เด็กระดบั ประถมศกึ ษามาใชสอนกบั เดก็ ระดับปฐมวยั เพราะยังไม
เหมาะสมกบั วัย

๕. หลังจากเลิกกิจกรรมกลางแจง ควรใหเด็กไดพักผอนหรือน่ังพัก ไมควรใหเด็ก รับประทาน อาหาร
กลางวันหรือดื่มนมทันที เพราะอาจทําใหเดก็ อาเจียน เกิดอาการจกุ แนน ได

๖. เกมการศึกษา
เกมการศึกษา (Didactic games) เปนเกมทช่ี วยพัฒนาสติปญญาชวยสงเสรมิ ใหเด็กเกิดการเรียนรู

เปนพ้ืนฐานการศึกษา มีกฎเกณฑกติกางายๆ เด็กสามารถเลนคนเดียวหรือเลนเปนกลุมได ชวยใหเด็กรูจัก
สังเกต คดิ หาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสี รูปราง จํานวน ประเภท และความสัมพันธ เก่ียวกับ
พ้ืนท่ี ระยะ เกมการศึกษาที่เหมาะสมจะชวยฝกทักษะความพรอมทางดานรางกาย อารมณ สังคม และ
สติปญ ญาสําหรับเด็กวยั ๓-๖ ป มีจุดประสงค ดงั นี้

จุดประสงค
๑. เพื่อฝก ทกั ษะการสงั เกต จาํ แนกและเปรยี บเทยี บ
๒. เพื่อฝกการแยกประเภท การจดั หมวดหมู
๓. เพ่อื สง เสรมิ การคดิ หาเหตผุ ล และตัดสินใจแกป ญ หา
๔. เพอ่ื สงเสรมิ ใหเด็กเกิดความคดิ รวบยอดเก่ยี วกบั ส่ิงท่ไี ดเรยี นรู
๕. เพื่อสง เสรมิ การประสานสัมพันธระหวา งมอื กับตา
๖. เพ่ือปลกู ฝง คุณธรรมและจรยิ ธรรมตา งๆ เชน ความรบั ผิดชอบ ความเอื้อเฟอเผอ่ื แผ

ประเภทของเกมการศึกษา
๑. เกมจับคู เชน จับคูภาพเหมือน จับคูภาพกับเงา จับคูภาพกับโครงราง จับคูภาพที่ซอนอยูใน ภาพ

หลัก จับคูภาพที่มีความสัมพันธกัน จับคูภาพสัมพันธแบบตรงกันขาม จับคูภาพที่สมมาตร จับคู ภาพแบบ
อนุกรม ฯลฯ

๒. เกมตอภาพใหส มบูรณ (Jigsaws) หรอื ภาพตดั ตอ
๓. เกมวางภาพตอ ปลาย (โดมโิ น)
๔. เกมเรยี งลาํ ดับ
๕. เกมการจัดหมวดหมู
๖. เกมการศึกษารายละเอยี ดของภาพ (ลอตโต)
๗. เกมจบั คแู บบตารางสัมพันธ (เมตรกิ เกม)
๘. เกมพืน้ ฐานการบวก
๙. เกมหาความสัมพันธตามลําดบั ท่กี ําหนด
สือ่ เกมการศกึ ษา
๑. เกมจับคู

เพื่อใหเด็กไดฝกสังเกตสง่ิ ท่ีเหมือนกันหรือตา งกันซ่ึงอาจเปนการเปรยี บเทียบภาพตางๆ แลวจัดเปน
คๆู ตามจดุ มุงหมายของเกมแตล ะชดุ เกมประเภทจับคนู ี้สามารถแบงไดห ลายแบบ ดงั น้ี

๗๐

๑.๑ เกมจับคภู าพที่เหมอื นกันหรือจบั คสู ง่ิ ของเดยี วกัน
๑.๒ เกมจบั คภู าพสิ่งที่มีความสัมพนั ธกัน
๑.๓ เกมจับคูภาพชนิ้ สว นที่หายไป
๑.๔ เกมจบั คูภาพทสี่ มมาตรกนั
๑.๕ เกมจบั คูภาพท่สี ัมพันธก ันแบบอุปมาอุปไมย
๑.๖ เกมจับคูแ บบอนกุ รม
๒. เกมภาพตดั ตอ
๒.๑ ภาพตดั ตอทส่ี ัมพนั ธก บั หนว ยการเรียนตา ง ๆ เชน ผลไม ผัก
๒.๒ ภาพตดั ตอ แบบมิติสัมพนั ธ
๓. เกมจดั หมวดหมู
๓.๑ ภาพสงิ่ ตาง ๆ ทนี่ าํ มาจัดเปน พวก ๆ
๓.๒ ภาพเกี่ยวกบั ประเภทของใชในชีวิตประจําวัน
๓.๓ ภาพจดั หมวดหมูตามรปู รา ง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณิต
๔. เกมวางภาพตอปลาย (โดมิโน)
๔.๑ โดมิโนภาพเหมอื น
๔.๒ โดมิโนภาพสัมพันธ
๕. เกมเรยี งลําดับ
๕.๑ เรียงลาํ ดบั ภาพเหตุการณตอเนื่อง
๕.๒ เรยี งลาํ ดบั ขนาด
๖. เกมศกึ ษารายละเอียดของภาพ (ลอตโต)
๗. เกมจบั คแู บบตารางสมั พันธ (เมตรกิ เกม)
๘. เกมพ้ืนฐานการบวก
แนวการจดั กจิ กรรมเกมการศึกษา
๑. แนะนํากิจกรรมใหม
๒. สาธติ / อธบิ าย วิธีเลน เกมอยา งเปนขั้นตอนตามประเภทของเกม
๓. ใหเด็กหมนุ เวยี นเขา มาเลน เปนกลมุ หรือรายบุคคล
๔. ขณะทเี่ ดก็ เลน เกม ครเู ปน เพียงผูแนะนํา
๕. เมื่อเด็กเลนเกมแตละชุดเสร็จเรียบรอย ควรใหเด็กตรวจสอบความถูกตองดวยตนเอง หรือรวมกัน
ตรวจกบั เพือ่ น หรือครูเปนผชู วยตรวจ
๖. ใหเด็กนาํ เกมท่ีเลน แลว เกบ็ ใสก ลอง เขา ที่ใหเรยี บรอ ยทกุ คร้ังกอ นเลน เกมชุดอืน่
ขอเสนอแนะ
๑. การจัดประสบการณเกมการศึกษาในระยะแรก ควรเริ่มสอนโดยใชของจริง เชน การจับคู กระปอง
แปง ที่เหมอื นกัน หรือการเรยี งลาํ ดับกระปองแปงตามลาํ ดับสูง - ตํา่

๗๑

๒. การเลน เกมในแตละวัน อาจจดั ใหเลนทั้งเกมชดุ ใหมและเกมชดุ เกา
๓. ครูอาจใหเดก็ หมนุ เวยี นเขา มาเลน เกมกับครทู ี่ละกลมุ หรอื สอนทง้ั ชั้นตามความเหมาะสม
๔. ครูอาจใหเด็กท่ีเลนไดแ ลว มาชวยแนะนํากตกิ าการเลน ในบางโอกาสได
๕. การเลนเกมการศึกษา นอกจากใชเ วลาในชวงกิจกรรมเกมการศึกษาตามตารางกิจกรรม ประจําวัน
แลวอาจใหเด็กเลือกเลน อิสระในชวงเวลากิจกรรมการเลน ตามมมุ ได
๖. การเก็บเกมท่ีเลน แลว อาจเก็บใสกลอ งเล็กๆ หรือใสถุงพลาสติกหรอื ใชยางรัดแยก แตละเกม แลวจัด
ใสก ลองใหญร วมไวเปนชดุ

หลักสูตรตานทจุ ริตศึกษา (Anti-Corruption Education) ในระดบั ปฐมวยั
กรอบการจดั ทาํ หลักสูตรหรือชดุ การเรยี นรแู ละสื่อประกอบการเรยี นรู ดานการปองกนั การทุจรติ โดยท่ี

ประชมุ ไดเห็นชอบรวมกนั ในการจัดทําหลกั สตู รหรือชดุ การเรยี นรแู ละส่อื ประกอบการเรยี นรู ดานการปอ งกัน
การทจุ รติ หัวขอวิชา 4 วชิ า ประกอบดว ย

1) การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนกบั ผลประโยชนส วนรวม
2) ความอายและความไมท นตอ การทุจริต
3) STRONG : จติ พอเพยี งตานทุจริต
4) พลเมืองและความรบั ผิดชอบตอสังคม
หลกั สตู รตานทุจรติ ศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย จะใชเวลาเรยี นทั้งป จํานวน 40 ช่ัวโมง จัดทําเน้ือหาและ
กิจกรรมการเรยี นการสอน ตามความเหมาะสมและการเรยี นรูในชวงวยั โดยมีรายละเอียดดงั นี้

๑. ช่ือหลักสูตรตานทุจริตศกึ ษา (Anti-Corruption Education) ในระดับปฐมวัย “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การ
ปอ งกันการทุจริต”

ตามทสี่ ํานกั งานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ รวมกับสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และหนว ยงานทีเ่ กี่ยวของ ดาํ เนินการจดั ทําหลกั สูตรหรอื ชดุ การเรยี นรูแ ละ
สอ่ื ประกอบการเรยี นรู ดา นการปองกันการทุจรติ สําหรบั ใชเปนเน้ือหามาตรฐานกลางใหส ถาบนั การศกึ ษาหรอื
หนวยงานทีเ่ ก่ียวของนําไปใชในการเรียนการสอนใหกับกลุมเปาหมายในระดับปฐมวยั เพ่ือปลกู ฝงจติ สาํ นึกใน
การแยกประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวม จติ พอเพียง การไมยอมรับและไมทนตอ การทุจรติ โดยใช
ชอ่ื วาหลักสตู รตา นทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) หลกั สูตรที่ ๑ หลักสตู รการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
โดยมีแนวทางการนาํ ไปใชต ามความเหมาะสมของแตล ะโรงเรยี น ดงั นี้

๑.นาํ ไปจัดเปน รายวชิ าเพ่มิ เติมของโรงเรียน
๒.นําไปจัดในชวั่ โมงลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู
๓.นาํ ไปบูรณาการกับการจัดการเรยี นการสอนในกลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม (สาระหนา ที่พลเมอื ง) หรือนาํ ไปบูรณาการกับกลุมสาระการเรยี นรอู นื่ ๆ

๗๒

๒. จุดมุงหมายของรายวิชา เพ่อื ใหน กั เรียนปฐมวยั
๒.๑ มีความรู ความเขาใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนส ว นรวม
๒.๒ มีความรู ความเขา ใจเกีย่ วกบั ความละอายและความไมทนตอ การทุจรติ
๒.๓ มีความรู ความเขา ใจเกี่ยวกับ STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตา นการทุจริต
๒.๔ มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม
๒.๕ สามารถคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนส วนรวมได
๒.๖ ปฏิบตั ติ นเปน ผลู ะอายและไมทนตอ การทุจริตทกุ รปู แบบ
๒.๗ ปฏิบัติตนเปนผูที่ STRONG / จิตพอเพยี งตอตา นการทจุ รติ
๒.๘ ปฏิบตั ติ นตามหนา ท่พี ลเมอื งและมีความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม

๓. คาํ อธบิ ายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกบั การแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนกับผลประโยชนส วนรวม ความละอายและ

ความไมทนตอการทุจริต STRONG / จติ พอเพียงตอตานการทจุ รติ รูหนาทีข่ องพลเมอื งและรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
ในการตอตา นการทจุ ริต

โดยใชก ระบวนการคดิ วิเคราะห จาํ แนก แยกแยะ การฝกปฏบิ ตั ิจรงิ การทําโครงงานกระบวนการ
เรยี นรู ๕ ขน้ั ตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสบื สอบ การแกป ญหา ทักษะการอา นและการเขยี น เพ่ือใหมี
ความตระหนักและเห็นความสาํ คัญของการตอตา นและการปองกันการทุจริต
๔.ผลการเรยี นรู

๑. มีความรู ความเขาใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตน กับผลประโยชนส ว นรวม
๒. มีความรู ความเขา ใจเกีย่ วกบั ความละอายและความไมทนตอการทุจริต
๓. มีความรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทุจรติ
๔. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอสังคม
๕. สามารถคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตน กบั ผลประโยชนสว นรวมได
๖. ปฏิบตั ิตนเปน ผลู ะอายและไมท นตอ การทุจรติ ทุกรปู แบบ
๗. ปฏิบตั ิตนเปน ผูท่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอ ตา นการทุจรติ
๘. ปฏบิ ตั ติ นตามหนา ที่พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอสงั คม
๙. ตระหนกั และเหน็ ความสําคญั ของการตอตา นและปองกันการทุจริต
รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู

๘.๔ ตารางกจิ กรรมประจําวนั ๗๓
หมายเหตุ
เวลา กจิ กรรมประจาํ วัน
๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. รบั เด็กเปน รายบุคคล
๐๘.๔๕ - ๐๙.๐๐ น. เคารพธงชาติและสวดมนต
๐๙.๐๐ - ๐๙.๑๐ น. สนทนา ขาว เหตุการณ ตรวจสขุ ภาพ
๐๙.๑๐ - ๐๙.๓๐ น. กิจกรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ
๐๙.๓๐ - ๑๐.๒๐ น. กิจกรรมสรา งสรรคแ ละกิจกรรมเสรี
๑๐.๒๐ - ๑๐.๔๐ น. กจิ กรรมเสริมประสบการณ
๑๐.๔๐ - ๑๑.๐๐ น. กิจกรรมกลางแจง
๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน
๑๒.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. แปรงฟน
๑๒.๓๐ - ๑๔.๐๐ น. นอนพักผอน
๑๔.๐๐ - ๑๔.๒๐ น. เกบ็ ที่นอน ลางหนา
๑๔.๒๐ - ๑๔.๔๐ น. พัก (รบั ประทานอาหารเสรมิ ( นม) )
๑๔.๔๐ - ๑๕.๐๐ น. กจิ กรรมเกมการศึกษา
๑๕.๐๐ - เปน ตนไป เตรียมตวั กลับบา น

๗๔

๘.๕ หนวยการจดั ประสบการณ

๘.๕.๑ หนวยการจดั ประสบการณ ช้ันอนบุ าลปที่ ๒ ( ๔ ป)

สปั ดาหท่ี สาระการเรียนรู ชือ่ เร่อื ง/ชื่อหนวย หมายเหตุ
บรู ณาการ
๑ เรอื่ งราวเก่ียวกับตวั เด็ก เรียนรกู นั ฉันกบั เธอ

การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน
สวนรวม

- การคิดแยกแยะ

๒ เรอื่ งราวเกี่ยวกบั ตวั เด็ก ผนู ําที่หนูรัก

การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน

สวนรวม

- การคดิ แยกแยะ

๓ สง่ิ ตางๆรอบตัวเด็ก เรียนรเู รอื่ งเสน

การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน

สว นรวม

- ระบบคิดฐาน ๒

๔ บุคคลและสถานท่แี วดลอ มเดก็ หนูไหวคุณครู

การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สว นรวม

- ระบบคดิ ฐาน ๒

๕ เรอื่ งราวเกี่ยวกบั ตวั เด็ก รางกายของเรา

การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน

สว นรวม
- ของเลน

๖ เรื่องราวเก่ียวกบั ตวั เด็ก หนทู าํ ได

การคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สว นรวม
- ของเลน

๗ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก ฝน ฝน ฝน

การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน

สว นรวม

- การรับประทานอาหาร

๘ บคุ คลและสถานท่ีแวดลอมเดก็ หนูไปทาํ บุญ

การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน

สว นรวม

- การเขา แถว

๙ บุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก ศลี หา

- การเก็บของใชส ว นตวั

๗๕

สัปดาหที่ สาระการเรียนรู ช่ือเร่อื ง/ชอ่ื หนวย หมายเหตุ

๑๐ สง่ิ ตา งๆรอบตวั เด็ก อาหารดีมีประโยชน

๑๑ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สวนรวม
๑๒ เร่ืองราวเกี่ยวกบั ตวั เด็ก - ทํางานทีไ่ ดร บั มอบหมาย

๑๓ บคุ คลและสถานท่แี วดลอ มเดก็ ผกั แสนอรอ ย

๑๔ บุคคลและสถานท่แี วดลอมเดก็ การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
๑๕ บคุ คลและสถานท่แี วดลอมเดก็ สว นรวม
๑๖ สิง่ ตา งๆรอบตัวเด็ก - การแบง ปน
๑๗ บคุ คลและสถานท่แี วดลอมเด็ก
๑๘ เรื่องราวเก่ียวกับตวั เด็ก ฟ เอย ฟ ฟน
๑๙ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก
การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สวนรวม
- การแตง กาย

แมข องแผนดิน

การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน
สวนรวม
- การทาํ กจิ วตั รประจําวัน

บานแสนสุข

ความละอายและความไมท นตอ การทจุ รติ
- ของเลน

ครอบครัวของเรา

ความละอายและความไมท นตอ การทจุ รติ
- การรบั ประทานอาหาร

ปจ จยั ๔

ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ
- การเขา แถว

ไรมะลิแม

ความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต
- การเกบ็ ของใชสว นตวั

หนูเปน เด็กดี

ความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ
- ทํางานทไี่ ดร ับมอบหมาย

ตนไมมีคุณ

ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ
- ทํางานที่ไดร บั มอบหมาย

สัปดาหท ี่ สาระการเรียนรู ช่อื เรอ่ื ง/ช่อื หนวย ๗๖

หนชู วยประหยัดได หมายเหตุ
ความละอายและความไมท นตอการทจุ ริต
๒๐ สิ่งตางๆรอบตัวเด็ก - การแบงปน

๒๑ บคุ คลและสถานท่ีแวดลอมเดก็ กระทงแสนสวย
ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต
๒๒ บคุ คลและสถานท่แี วดลอมเด็ก - การแบงปน

๒๓ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก โรงเรียนของเรา
ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ
๒๔ บุคคลและสถานท่ีแวดลอ มเด็ก - การแตงกาย

๒๕ บุคคลและสถานท่ีแวดลอ มเดก็ หนูนอยนักสาํ รวจ
ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ
๒๖ สงิ่ ตา งๆรอบตวั เด็ก - การแตงกาย

๒๗ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก โรงเรียนนาอยู
ความละอายและความไมท นตอการทจุ ริต
๒๘ สิ่งตางๆรอบตวั เด็ก - การทาํ กิจวัตรประจําวัน

๒๙ บุคคลและสถานท่แี วดลอมเด็ก พอของแผนดนิ
ความละอายและความไมทนตอ การทจุ ริต
๓๐ สิง่ ตา งๆรอบตวั เด็ก - การทาํ กิจวัตรประจําวัน

๓๑ บคุ คลและสถานท่ีแวดลอ มเดก็ อากาศอยูไหน
๓๒ สิ่งตางๆรอบตัวเด็ก STRONG / จิตพอเพยี งตอตา นการทจุ รติ
- ความพอเพียง

หนาวแลว นะ
STRONG / จิตพอเพียงตอ ตานการทจุ ริต
- ความโปรง ใส

พลังวิเศษ
STRONG / จิตพอเพียงตอตา นการทจุ ริต
- ความต่ืนรู / ความรู

สวัสดีปใ หม
STRONG / จิตพอเพยี งตอตา นการทุจรติ
- ตานทุจริต

นักอนุรักษนอ ย
STRONG / จติ พอเพยี งตอตา นการทจุ ริต
- มงุ ไปขางหน้ํา

วนั ของเด็ก
- ความเออ้ื อาทร

สัตวมีคุณ

๗๗

STRONG / จิตพอเพียงตอ ตานการทจุ ริต

- การรบั ประทานอาหาร

๓๓ บคุ คลและสถานท่ีแวดลอ มเด็ก บุคคลตา งๆ

STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตานการทจุ รติ

- การชวยเหลือเพ่ือน

๓๔ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก รอบๆตัวหนู

STRONG / จิตพอเพยี งตอตานการทุจริต

- การใชกระดาษ

๓๕ สิ่งตางๆรอบตัวเด็ก สีสวยๆ

พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม

- ความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง

๓๖ สิ่งตา งๆรอบตวั เด็ก กลางวันกลางคืน

พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบตอสังคม
- ความรับผิดชอบตอผูอื่น

๓๗ สง่ิ ตา งๆรอบตวั เด็ก ตัวเลขนา รู

พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม

- การตรงตอ เวลา

๓๘ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก ฤดรู อ นมาถึงแลว

พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม

- การทําความสะอาดหอ งเรียน

๓๙ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก แมลงบานเรา

พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบตอสังคม

- การชว ยเหลอื ตนเอง

๔๐ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก ยุงจอมยุง

ประเมินผลหลักสตู รตานทุจริตศึกษาระดับปฐมวัย

๗๘

๘.๕.๒ หนว ยการจัดประสบการณ ช้ันอนุบาลปที่ ๓ (๕-๖ ป)

สัปดาหท ่ี สาระการเรยี นรู ช่อื เร่อื ง/ชอ่ื หนวย หมายเหตุ

๒ เรอ่ื งราวเกี่ยวกับตวั เด็ก เรียนรูกัน ฉันกับเธอ

๔ การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน

๖ สวนรวม

๘ - การคิดแยกแยะ

เร่อื งราวเก่ียวกับตวั เด็ก ผนู าํ ท่ีหนูรัก

การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน

สวนรวม

- การคดิ แยกแยะ

ส่งิ ตางๆรอบตวั เด็ก เรยี นรเู ร่ืองเสน

การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน

สว นรวม

- ระบบคิดฐาน ๒

บคุ คลและสถานท่ีแวดลอ มเด็ก หนไู หวคุณครู

การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน

สว นรวม

- ระบบคิดฐาน ๒

เร่ืองราวเกี่ยวกบั ตวั เดก็ รา งกายของเรา

การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน

สว นรวม

- ของเลน

เร่อื งราวเกี่ยวกบั ตัวเดก็ หนทู ําได

การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน

สว นรวม

- ของเลน

ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก ฝน ฝน ฝน

การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน

สวนรวม

- การรบั ประทานอาหาร

บุคคลและสถานที่แวดลอมเด็ก หนูไปทาํ บุญ

การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน

สวนรวม

- การเขา แถว

บุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก ศลี หา

- การเกบ็ ของใชส วนตวั

๗๙

สัปดาหที่ สาระการเรียนรู ช่ือเรือ่ ง/ชือ่ หนวย หมายเหตุ

๑๐ สง่ิ ตา งๆรอบตวั เด็ก อาหารดีมปี ระโยชน

๑๑ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สว นรวม
๑๒ เร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - ทํางานทไี่ ดร บั มอบหมาย

๑๓ บคุ คลและสถานทแ่ี วดลอ มเด็ก ผกั แสนอรอย

๑๔ บุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
๑๕ บคุ คลและสถานทีแ่ วดลอมเดก็ สว นรวม
๑๖ สิง่ ตา งๆรอบตวั เด็ก - การแบง ปน
๑๗ บคุ คลและสถานทแี่ วดลอมเด็ก
๑๘ เรื่องราวเก่ียวกับตวั เด็ก ฟ เอย ฟ ฟน
๑๙ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สวนรวม
- การแตง กาย
แมข องแผนดิน

การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนและผลประโยชน
สว นรวม
- การทํากิจวตั รประจําวัน

บา นแสนสขุ

ความละอายและความไมท นตอ การทจุ รติ
- ของเลน

ครอบครวั ของเรา

ความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ
- การรับประทานอาหาร

ปจจยั ๔

ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ
- การเขาแถว

ไรมะลิแม
ความละอายและความไมทนตอ การทจุ ริต
- การเกบ็ ของใชสว นตวั
หนูเปนเด็กดี

ความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ
- ทํางานทไี่ ดร ับมอบหมาย

ตนไมม ีคุณ

ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ
- ทํางานท่ไี ดร บั มอบหมาย

สัปดาหท่ี สาระการเรียนรู ช่ือเร่ือง/ช่ือหนวย ๘๐

หนูชว ยประหยดั ได หมายเหตุ

๒๐ ส่งิ ตางๆรอบตวั เด็ก ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต
- การแบงปน
๒๑ บุคคลและสถานที่แวดลอ มเด็ก
กระทงแสนสวย
๒๒ บุคคลและสถานที่แวดลอมเดก็ ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ
- การแบง ปน
๒๓ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก โรงเรียนของเรา

๒๔ บคุ คลและสถานที่แวดลอมเด็ก ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ
- การแตงกาย
๒๕ บุคคลและสถานทแ่ี วดลอ มเด็ก
หนูนอยนักสาํ รวจ
๒๖ สิ่งตา งๆรอบตัวเด็ก
ความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ
๒๗ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก - การแตง กาย

๒๘ สิ่งตา งๆรอบตวั เด็ก โรงเรียนนาอยู

๒๙ บุคคลและสถานทแ่ี วดลอ มเด็ก ความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ
- การทํากิจวตั รประจําวัน
๓๐ สิง่ ตางๆรอบตวั เด็ก
พอ ของแผนดนิ
๓๑ บคุ คลและสถานทแ่ี วดลอมเด็ก
ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ
- การทํากิจวตั รประจําวัน

อากาศอยไู หน
STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตา นการทจุ ริต
- ความพอเพียง

หนาวแลว นะ

STRONG / จิตพอเพียงตอตา นการทุจริต
- ความโปรง ใส

พลงั วิเศษ

STRONG / จิตพอเพียงตอตา นการทุจรติ
- ความต่ืนรู / ความรู

สวัสดปี ใ หม

STRONG / จิตพอเพียงตอ ตา นการทุจริต
- ตา นทุจริต

นักอนุรักษนอย
STRONG / จิตพอเพียงตอ ตา นการทจุ ริต
- มงุ ไปขา งหน้ํา
วนั ของเด็ก

- ความเออื้ อาทร

สัปดาหท ่ี สาระการเรียนรู ชอื่ เรอ่ื ง/ช่ือหนวย ๘๑

สตั วมีคณุ หมายเหตุ

๓๒ สงิ่ ตางๆรอบตัวเด็ก STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตา นการทุจริต
- การรบั ประทานอาหาร
๓๓ บคุ คลและสถานทแี่ วดลอ มเด็ก
บุคคลตางๆ
๓๔ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก STRONG / จิตพอเพียงตอตา นการทจุ ริต
- การชวยเหลอื เพ่ือน
๓๕ สิง่ ตา งๆรอบตวั เด็ก รอบๆตวั หนู

๓๖ สิง่ ตา งๆรอบตวั เด็ก STRONG / จิตพอเพียงตอตา นการทจุ ริต
- การใชกระดาษ
๓๗ ส่งิ ตางๆรอบตัวเด็ก
สีสวยๆ
๓๘ ธรรมชาติรอบตวั เด็ก
พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
๓๙ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก - ความรับผิดชอบตอ ตนเอง

๔๐ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก กลางวันกลางคืน

พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอสังคม
- ความรบั ผดิ ชอบตอ ผอู ื่น

ตวั เลขนารู

พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอสังคม
- การตรงตอ เวลา

ฤดูรอนมาถึงแลว
พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
- การทาํ ความสะอาดหองเรยี น

แมลงบานเรา

พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
- การชวยเหลือตนเอง

ยงุ จอมยุง

ประเมินผลหลักสตู รตา นทุจรติ ศึกษาระดบั ปฐมวยั

๘๒

๙. การจดั สภาพแวดลอม ส่ือและแหลง เรียนรู
๙.๑ การจดั สภาพแวดลอ ม
การจัดสภาพแวดลอมและแหลงเรียนรูสําหรับการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย มีความสําคัญตอเด็ก

เน่ืองจากธรรมชาติของเด็กในวัยน้ีสนใจท่ีจะเรียนรู คน ควา ทดลองและตองการสัมผัสกับส่ิงแวดลอมรอบๆ ตัว
อีกคร้ังสภาพแวดลอมและแหลงเรียนรู เปนตัวกลางนําความรูจากผูสอนสูเด็ก ทําใหเด็กเกิดการเรียนรูตาม
จดุ ประสงคท ว่ี างไว ชว ยใหเดก็ ไดร ับประสบการณต รง ทําใหส ิ่งท่ีเปนนามธรรมเขาใจยากเปลี่ยนเปนรปู ประธรรม
ที่เด็กเขาใจงาย เรียนรูไดงา ย รวดเรว็ เพลิดเพลิน เด็กสามารถเรียนรูจากการเลนท่ีเปนประสบการณตรงท่ีเกิด
จากการรับรูดวยประสาทสัมผัสทั้ง ๕ เกิดการเรียนรูและคนพบดวยตนเอง ดังน้ัน การจัดสภาพแวดลอมและ
แหลงเรียนรู ตามความตองการของเด็ก จงึ มคี วามสําคัญทีเ่ ก่ยี วของกับพฤติกรรมและกระบวนการเรียนรูของเด็ก
ท้งั ในหองเรียนและนอกหองเรียนของสถานศึกษา ใหสอดคลองกับเปาหมาย ของหลักสตู รสถานศกึ ษาการศกึ ษา
ปฐมวัย ตามบริบทของสถานศึกษาและทองถิ่นอยางเหมาะสม เพ่ือสงผลใหบรรลุจุดหมายในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยตอ ไป

การจดั สภาพแวดลอม
การเรียนรูของเด็กปฐมวัยเปนไปอยางราบร่ืนและมีประสิทธิภาพ ถาหากเด็กอยูในสภาพแวดลอมที่
เหมาะสม มีการสนับสนุนอํานวยความสะดวกจากผูใหญ ภายใตบรรยากาศท่ีมีความสุขไมเครงเครียดดวย
กฎระเบียบท่ีเครง ครดั หรือยากตอการปฏิบัติ การจัดบรรยากาศการเรยี นรู จงึ จัดแบงเปน ๓ ดาน
การจัดสภาพแวดลอมดานกายภาพ เปนการจัดสภาพแวดลอ มตามแนวคิดเรอ่ื ง การตอบสนองความ
ตองการพื้นฐาน และการเรียนรูโดยการปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอม การจัดการจึงมีเปาหมายใหเด็กอยูรวมกัน
อยางมีสุข อนามัยที่ดีมีพื้นท่ีในการตอบสนอง การทํากิจกรรมตางๆ อยางคลองตัว และตอบสนองการทํา
กิจกรรมที่หลากหลาย ลักษณะการจดั การจึงเนนในเร่อื งความสะอาด ความปลอดภัย ความอสิ ระอยางมีขอบเขต
ในการเลน ความสะดวกที่จะทาํ ใหรสู ึกคลอ งตัว สดใส กระฉบั กระเฉง ความพรอมของหองเรียนในสถานศึกษาที่
มีลักษณะกายภาพที่ดีคอื มีการถายเทอากาศท่ีดี มีอุณหภูมทิ ่ีเหมาะสม มแี สงสวางพอเพียง มีความสงบท่ีจะทํา
กิจกรรมอยางสบายและมสี มาธิ มีท่ีใหเ ก็บวสั ดุของใชและผลงาน มที จ่ี ัดแสดงเพอื่ การสอ่ื สารขอมลู แตล ะจุดของ
พื้นทีจ่ ะตอ งสะดวกในการเขาออก พอแมผูปกครองสามารถเขาไปดแู ลไดอยา งท่ัวถึงในทุกพน้ื ที่
สภาพแวดลอมในหองเรียน หลักการสําคัญในการจัดตองคํานึงถึงความปลอดภัยความสะอาด เปน
เปาหมายการพัฒนาเด็ก ความเปนระเบียบ ความเปนตัวของเด็กเอง ใหเด็กเกิดความรูสึกอบอุนมั่นใจ และมี
ความสขุ โดยคํานงึ ถงึ เร่อื งตอไปน้ี
๑)การจัดวางวัสดุ อุปกรณ ส่อื เครื่องเลน คุรุภัณฑ ควรจัดใหเหมาะสมสอดคลองกับวัยและพัฒนาการ
เพ่อื ใหเด็กสามารถใชหรอื ทาํ กิจกรรม ไดส ะดวกดวยตนเอง
๒)วสั ดุ อุปกรณ สอื่ เครื่องเลน คุรภุ ัณฑ ควรใหมีขนาดเหมาะสมกับเดก็ ปฐมวัย
๓)การจัดพ้ืนที่ในหองเรียนควรจัดใหเหมาะสม เลือกที่ต้ังคุรุภัณฑ อุปกรณตางๆ และมุมประสบการณ
โดยคํานึงถึงทิศทางลม แสงสวางพอเพียงตอการทํากิจกรรม ไมมีแสงสวางสงรบกวนสายตาเด็กขณะปฏิบัติ
กจิ กรรม ทกุ จดุ ของหอ งควรใหม องเห็นไดโดยรวม

๘๓

๔) สภาพแวดลอมในหองปลอดภัยจากสัตว แมลง พืช และสารเคมีที่มีพิษ คุรุภัณฑ โตะ เกาอี้ ไมควร
เปน มมุ แหลมทีเ่ ปน อันตราย

๕) การแบง พืน้ ในหองเรียนใหเหมาะสมกบั การจดั กิจกรรมมีดังนี้
๕.๑ พื้นท่อี าํ นวยความสะดวกเพื่อเด็กและผูสอน
๑) ท่แี สดงผลงานของเด็ก อาจจัดเปนแผน ปา ย หรอื ท่แี ขวนผลงาน
๒) ทเี่ กบ็ แฟม ผลงานของเด็ก อาจจะทาํ เปนกลอง หรือจะใสเปน รายบุคคล
๓) ท่ีเกบ็ เคร่อื งใชส วนตวั ของเด็ก อาจทาํ เปน ชอ งครบตามจํานวนเดก็
๔) ทเ่ี กบ็ เครือ่ งใชข องผสู อน เชน อุปกรณก ารสอน ของใชสวนตัวผูส อน

๕) ปา ยนเิ ทศตามหนว ยการสอนหรือสง่ิ ที่เด็กสนใจ
๕.๒ พื้นทปี่ ฏิบัติกจิ กรรมและการเคลื่อนไหว ควรกําหนดใหชดั เจน ควรมีพื้นที่ที่เดก็ สามารถจะ

ทํางานไดดวยตนเอง และทํากจิ กรรมดวยกันในกลุมเล็ก หรือกลุมใหญ เด็กสามารถเคลือ่ นไหวไดอยาง
อิสระจากกิจกรรมหนึง่ ไปยังกิจกรรมหน่ึงโดยไมรบกวนผูอน่ื

๕.๓ พ้ืนที่จัดมุมเลนหรือมุมประสบการณ สามารถจัดไดตามความเหมาะสม ข้ึนอยูกับสภาพ
ของหองเรียน จัดแยกสวนท่ีใชเสียงดังและเงียบออกจากกัน ตองมีของเลน วัสดุอุปกรณในมุมอยาง
พอเพียงตอการเรยี นรูของเด็ก การเลนในมมุ เลน อยางมีเสรีมักถูกกําหนดไวในตารางกจิ กรรมประจําวัน
เพื่อใหโอกาสเด็กไดเลนอยางเสรี ประมาณวันละ ๑ ช่ัวโมง การจัดมุมเลนตางๆ ผูสอนควรคํานึงถึงสิ่ง
ตอ ไปนี้

๑) ในหองเรียนควรมมี ุมเลนอยางนอ ย ๓-๕ มุมทง้ั น้ี ขึ้นอยกู บั พ้นื ทแี่ ละขนาดของ
หอ ง
๒) ควรมีการเปลีย่ นสีของเลน ตามมุม ตามหนว ยการจัดประสบการณก ารเรยี นรู
และตามความสนใจของเดก็

๓) ควรจัดใหมีส่ือและผลงานที่เด็กไดเรียนรูไปแลว จัดวางอยูในมุมเลน เชน การทดลอง
อยางงาย เรื่องการเปล่ียนแปลงของสี เปน ตน โดยผูสอนจดั เตรยี มวัสดุอปุ กรณใหเด็กไดแลน

๔) ควรเปดโอกาสใหเด็กมีสวนรวมในการจัดมุมเลน เพื่อจูงใจใหเด็กรูสึกเปนเจาของ อยาก
เรียนรู อยากเขา เลน

๕) ควรสรางขอตกลงในการทํากิจกรรม เพ่ือเสริมสรางวินัยเชิงบวกใหกับเด็ก เชน สราง
ขอตกลงรว มกนั วา เมื่อเลน เสรจ็ แลวจะตองจดั เกบ็ อปุ กรณทุกอยางเขา ท่ีใหเ รยี บรอย

๖) การจดั แสดงผลงานและการเกบ็ ของควรคาํ นึงถึงเร่อื งตอ ไปนี้
- จะใหมีท่ีแสดงผลงาน เสนอภาพวาด งานเขียนอิสระหรืองานปน งานประดิษฐของ

เด็กๆ
- จดั ทแี่ สดงผลงานใหน า สนใจและสดช่นื
- ใหเ ดก็ เหน็ ของแปลกๆ ใหมๆ ทเี่ ด็กไมเ คยเหน็
- สง เสริมใหเด็กๆ รจู กั เลอื กสรรหาวาจะทําอะไร จะแสดงอะไร

๘๔

- กระตนุ ใหเกดิ ความอยากรอู ยากเห็น
- สอนใหร จู ักจดั ของเปนตาม ชนดิ / ประเภท และเลอื กของออกมาใชตามความตองการ
- สรา งนิสยั ในการเก็บของใหเปนท่ีเปนทาง
ตวั อยางมมุ เลนหรือมุมประสบการณท ี่ควรจดั มีดงั น้ี
มมุ บลอ็ ก
เปนมุมท่ีจดั เก็บบลอ็ กไมตันทีม่ ีขนาดและรูปทรงตา งๆกัน เดก็ สามารถนาํ มาเลนตอ ประกอบกัน
เปนสิ่งตางๆ ตามจินตนาการ ความคิดสรางสรรคข องตนเอง นอกจากนี้ควรมีส่ืออื่นๆ เชนยานพาหนะ หรือสัตว
จาํ ลอง ฯลฯ เพอ่ื ประกอบการเลน
แนวทางการจดั
มุมบล็อกเปนมุมท่ีควรจัดใหอยูหางจากมุมท่ีตองการความสงบ เชน มุมหนังสือ ท้ังน้ี เพราะ
เสียงจากการเลนตอไมบล็อก อาจรบกวนสมาธิเด็กท่ีอยูในมุมหนังสือได นอกจากน้ีควรอยูหางจากทางเดนิ ผาน
หรือทางเขาออกของหอง เพ่ือไมใหกีดขวางทางเดินหรือเกิดอันตรายจากการเดินสะดุดไมบล็อกถากรณีเด็กยัง
เลนไมเสร็จครูหรือเด็กรวมกันกําหนดพื้นท่ีโดยใชสัญลักษณสีหรือเครื่องหมายการจราจรมาก้ันไวเพ่ือใหเด็ก
กลับมาเลน ตอ ได
การจัดเก็บไมบล็อกเรานี้ ควรจะวางไวในระดับท่ีเด็กสามารถหยิบมาเลน หรือนําเก็บดวย
ตนเองไดอยางสะดวก ปลอดภยั และควรฝก ใหเด็กหัดจัดเก็บเปน หมวดหมูเพือ่ ความเปนระเบียบ และสะดวกตอ
การหยบิ ใชและเกบ็ คืนโดยทําภาพสญั ลกั ษณ รปู รา งของไมบลอ็ กตดิ ไวท่ชี อ งจัดเก็บ
มุมหนงั สือ
ในหองเรยี นควรมีบริเวณท่ีเงยี บ สําหรับใหเด็กไดดรู ูปภาพ อานหนงั สือนิทาน ฟงนิทาน ผูสอน
ควรจดั มุมหนังสอื ใหเด็กไดค นุ เคยกบั ตวั หนงั สอื และทํากิจกรรมตามลําพงั หรอื เปนกลุม เล็กๆ
แนวทางการจดั
มุมหนังสือ เปนมมุ ท่ีตองการความสงบ ควรจัดหางจากมุมทมี่ ีเสียง เชน มุมบลอ ก มุมบทบาท
สมมุติ ฯลฯ และควรจัดบรรยากาศจูงใจใหเด็กไดเขาไปใชเกิดความรกั และทะนุถนอมหนังสือและ ปลูกฝงนิสัย
รักการอาน มีจํานวนหนังสือเพียงพอกับเด็กและเหมาะสมกับวัยของเด็ก ควรมีการเปลี่ยนหนังสือทุกสัปดาห
และเลือกหนังสอื ท่ีสงเสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมใหกบั เดก็ ดวย
มุมบทบาทสมมุติ
มมุ บทบาทสมมตุ ิ เปนมมุ ทีจ่ ัดข้ึนเพือ่ ใหเ ดก็ มโี อกาสไดนาํ เอาประสบการณที่ไดร บั จากบานหรือ
ชมุ ชนมาเลน แสดงบทบาทสมมุติ เลยี นแบบบุคคลตางๆ ตามจนิ ตนาการของตน เชน เปน พอแมในมมุ บาน เปน
หมอ ในมุมหมอเปน พอคา แมคา ในมุมรานคา ฯลฯ การเลนดังกลาวเปนการปลูกฝงความสํานึกถึงบทบาททาง
สงั คมทีเ่ ด็กไดพ บเห็นในชีวติ จรงิ
แนวทางการจัด
มุมบทบาทสมมตินี้ ควรอยูใกลม ุม บลอก หรืออาจจะใหเปนสถานที่ตางๆ นอกเหนือจากการ
จัดเปนบานโดยสังเกตการเลนและความสนใจของเดก็ วามีการเปลี่ยนแปลงบทบาทการเลนจากบทบาทเดิมไปสู

๘๕

รูปแบบการเลนอื่นหรือไม อุปกรณที่นํามาจัดควรเปลี่ยนไปตามความสนใจของเด็กเชนกัน มุมบทบาทสมมุติ
อาจจะเปนบา น/รานอาหาร/รา นขายของ รา นเสรมิ สวย โรงพยาบาล ฯลฯ ในขณะเดียวกันอปุ กรณทีน่ ํามาจัดให
เดก็ ควรหม่ันดูแลและทาํ ความสะอาดทุกสัปดาห ไมเ ปน อันตราย และความเหมาะสมกบั สภาพทองถ่ิน

มมุ วิทยาศาสตร/มุมธรรมชาติ
มุมวิทยาศาสตรห รือมมุ ธรรมชาติ เปน มมุ เลน ที่ผูสอนจะรวบรวมสงิ่ ของตางๆหรือสิง่
ท่ีมีในธรรมชาติมาใหเด็กไดสํารวจ สังเกต ทดลอง คนพบดวยตนเอง ซ่ึงเปนการชวยพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตรใหกบั เด็ก
แนวทางการจดั
มุมวิทยาศาสตรหรือมุมธรรมชาติ อาจจะไวใ กล มุมหนังสือ ส่ิงของท่ีจัดวางตองคํานึงถึงความปลอดภัย
ของเด็กในขณะที่ใชหรือเก็บควรอยูในระดับท่ีเด็กหยิบ จับ ดูวัสดุอุปกรณ เหลานั้นไดโดย สะดวกควรจะ
ปรบั เปลย่ี นสิ่งของทนี่ ํามาจดั แสดง อาจมกี ารจาํ ลองการทดลองอยา งงาย เพ่ือใหเดก็ ไดเรยี นรู
สภาพแวดลอมนอกหองเรียน คือการจัดสภาพแวดลอมบริเวณในสถานศึกษา รวมท้ังจัด
สนามเด็กเลน พรอมเครื่องเลนสนาม จะระวังรักษาความปลอดภัยภายในสถานศึกษา ดูแลรักษาความสะอาด
ปลูกตนไมใหความรมร่ืนรอบๆ บริเวณสถานศึกษา สิ่งตางๆ เหลาน้ีเปนสวนหน่ึงที่สงผลตอการเรียนรูและ
พฒั นาการของเด็ก
สภาพแวดลอ มนอกหองเรยี น ประกอบดว ย
๑) สนามเด็กเลน ควรมีพื้นผวิ หลายประเภท เชน ดนิ ทราย หญา พื้นที่สําหรับเลนของเลนที่
มีลอรวมท้ังที่รม ที่โลงแจง พ้ืนดินสาํ หรับขุด ท่ีเลนนํ้า บอทรายพรอมอุปกรณป ระกอบการเลน เครื่องเลนสนาม
สําหรับปนปาย การทรงตัว ฯลฯ ท้ังน้ีตองไมติดกับบริเวณที่มีอันตราย ตองหม่ันตรวจตราเคร่ืองเลนใหอยูใน
สภาพแข็งแรง ปลอดภยั อยเู สมอและหม่ันดูแลเร่ืองความสะอาด
๒) ที่นั่งเลน พักผอน จัดที่น่ังไวใตตนไมมีรมเงา อาจใชกิจกรรมยอยๆ หรือกิจกรรมที่ตองการ
ความสงบ หรืออาจจดั เปน พืน้ ที่ใหค วามรู ประชาสมั พันธ ปายนิเทศ เพ่อื ใหความรูแกเดก็ และผูปกครอง
๓) บริเวณธรรมชาติ ปลูกไมดอก ไมประดับ แปลงปลกู พืชสวนครัว หากบริเวณสถานศกึ ษามี
ไมมากนกั อาจปลกู พชื ในกระบะหรือกระถาง หรอื เศษวสั ดใุ นทองถิ่น
๔) หองปฏิบัติการ และอาคารประกอบตางๆ เชน โรงอาหาร เรือนเพาะชํา หองสมุด
หองปฏิบัตกิ ารตางๆ ควรจัดใหมีพื้นที่สาํ หรับใหเด็กทาํ กิจกรรมและเรยี นรู ทีส่ ะอาดและปลอดภยั สาํ หรบั เดก็
การจัดสภาพแวดลอมดานจิตภาพ เปนการจัดหองเรียนตามแนวคิดเร่ืองการเรียนรูอยางมี
ความสุข การจัดสภาพแวดลอมจึงเปนการจัดเพ่อื ใหเกิดบรรยากาศที่ดีในการอยูรวมกัน ซ่ึงจะเกิดความสะดวก
ปลอดภัย ราบร่ืนจากการทํากิจกรรมในหอง ที่มีลักษณะทางกายภาพที่เหมาะสมและมีการปฏิบัติตอกันท่ี
เหมาะสมของผทู ี่อยูในสภาพแวดลอ มทัง้ เด็กและผูสอน นอกจากนย้ี ังรวมถึงกฎ ระเบียบ กติกา ขอ ตกลงทที่ กุ คน
สามารถปฏิบัติรวมกันไดและเกิดความสุขในการอยูรวมกัน การจัดบรรยากาศดานจิตภาพ จึงเปนเปาหมาย
เพื่อใหเด็กไดเรียนรูการอยูรวมกันในสระภาพแวดลอมแหงความสุข ผูสอนมีทาทีท่ีอบอุนใหความม่ันใจแกเด็ก
สนับสนุนใหเด็กไดประสบความสําเร็จในกิจกรรมตางๆ มีสถานท่ีที่เด็กสามารถมีความเปนสวนตัว หรือเมื่อ

๘๖

ตองการอยูตามลําพัง ตองการความสงบ ใหอิสระเด็กในการส่ือสาร เคลื่อนไหว ทํากิจกรรมตางๆ รวมท้ัง
ขอตกลงตา งๆ สามารถยืดหยุนไดเ ม่ือจําเปน การจัดสภาพแวดลอมทางจิตภาพมีรายละเอยี ดดังนี้

บคุ ลกิ ภาพผูสอน
บุคลิกภาพผูสอนชวยเสริมบรรยากาศในการเรียนรูใหเกิดข้ึนในหองไดเปนอยางดี ย้ิมแยม แจมใส มี
กิริยามารยาทแบบไทย แตงกายเหมาะสมกับวัฒนธรรมทองถิ่น ใชภาษาถูกตองชัดเจน เต็มใจตอบคําถามของ
เด็ก พดู กบั เดก็ ดว ยเสยี งนมุ นวลเปน มิตร และพูดชแ้ี จงเหตผุ ลแกเดก็ ดวยนา้ํ เสียงปกติ
การจัดการช้นั เรียนของผูส อน
ผูสอนควรใสใจดูแลใหเด็กอยูรว มกันในหองเรยี นอยางมีความสุข พรอมท้งั เรียนรูสิทธิและหนาทข่ี องตน
มีการสรางขอตกลงในการปฏิบัติตนรวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก การแบงหนาท่ีความรับผิดชอบ
แนวทางปฏบิ ัติเมอื่ เดก็ ไมท ําตามขอตกลง และแกไ ขปญหาเม่อื มีขอ ขดั แยง เกดิ ข้นึ
การสรา งความสัมพันธระหวางผูสอนกบั เด็ก
ความสัมพันธอันดีระหวางผูสอนกับเด็กชวยเสริมสรางใหเด็กรูสึกอบอุน ปลอดภัย สรางความม่ันใจใน
ตนเอง และเกิดความรูสกึ ท่ดี ีตอตนเอง ผูสอนควรสรางความสมั พันธกับเด็กดวยทาทาง เชน ยิ้ม สัมผัส ทักทาย
และพูดคุยกับเด็ก ดแู ลเด็กที่มีปญหาสุขภาพ ไมสบาย หรือตอ งการกําลังใจ รบั ฟงเม่ือเด็กพูดดวย ใหโอกาสเดก็
ทต่ี องการพดู คุยกบั ผสู อน ตอบเมื่อเดก็ ถาม และยอมรับการชวยเหลอื ของเด็ก

การสรางความสัมพันธระหวางเดก็ กับเดก็
ความสัมพันธท่ีดีระหวางเด็กกับเด็กในสถานศึกษา จะทําใหเด็กอยูรวมกันอยางมีความสุข และลด

ปญหาความขัดแยงระหวางเด็กกับเด็ก ผสู อนควรจัดใหมีกิจกรรมท่ีสงเสริมความสัมพันธท่ีดีระหวางเด็กกับเด็ก
โดยการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน สรางความรับผิดชอบในการทํางาน ใหเด็กไดรวมคิด
รวมทาํ และรวมแกป ญ หา เชน การจัดของเลนการดูแลความสะอาดการทาํ งานกลมุ เปน ตน

การสรางความสัมพันธระหวางผปู กครองและสถานศกึ ษา
ผูสอนมีบทบาทสําคัญยิ่งในการสนับสนุนและสงเสริมใหเกิดความสัมพันธระหวางผูปกครองกับ
สถานศึกษา ผูสอนจึงควรสรางความสัมพันธกับผูปกครองดวยการจัดทําปายนิเทศซ่ึงมีสาระเก่ียวกับเด็ก
ผูปกครอง ชุมชน และโรงเรียน จัดทําจดหมายขาวถึงผูปกครอง หรือการส่ือสารผานส่ือและเทคโนโลยี กระตุน
ใหผูปกครองแลกเปล่ียนเรียนรูกับทางโรงเรียน สนับสนุนใหผูปกครองเย่ียมชั้นเรียนของเด็กจัดประชุมพบปะ
ระหวางผูป กครองและผสู อน รวมทง้ั เปด โอกาสใหผ ูปกครองไดทาํ งานอาสาสมัครรว มกบั ทางโรงเรียน
การจดั สภาพแวดลอ มดานสังคม เปนการจัดสภาพแวดลอมท่ีเกิดจากแนวคิดเรื่องการเรียนรูทางสังคม
ของเด็กปฐมวัยที่เรียนรทู างสังคมจากการเลน การทํากิจกรรมและการทาํ งานรว มกับผูอ ่ืนท้ังเด็กและผูใหญ การ
จัดสภาพแวดลอมดานสังคมจึงเปนการจัดการท่ีใหเด็กรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข สนับสนุนใหปฏิบัติตนใน
ลักษณะท่ีสังคมยอมรบั และเกิดทักษะทางสังคม มีสมั พันธภาพท่ดี ีกับผูสนับสนุนใหเกิดการแบง ปนกันท้งั ในดาน
ความคิด ความรูสึก พื้นที่และอุปกรณตางๆ จัดใหมีบรรยากาศแบบประชาธิปไตย เด็กไดแสดงความเห็นและมี

๘๗

สวนรวมในการตัดสินใจตางๆ เชน การกําหนดขอตกลง กติกา กฎ ระเบียบตางๆ การแบงหนาท่ี การฝกการมี
วินยั ในตนเอง

การเรียนรูของเด็กที่ไดปฏิสัมพันธส่ิงแวดลอมทั้งดานวัตถุและบุคคล ผูสอนจะตองพยายามจัด
สภาพแวดลอมใหสอดคลองกับธรรมชาติของเด็ก ใหเด็กทํากิจกรรมรวมกับผูอ่ืน กับส่ิงของและกระบวนการ
ตา งๆรวมถึงใหเด็กไดปฏสิ ัมพันธกับประสบการณต า งๆ และผสู อนจะตอ งมกี ารวางแผนการจัดกิจกรรมประจําวัน
ใหเด็กไดพัฒนาทางรางกายและสังคม โดยการเตรยี มสื่อ วัสดุ ท่เี หมาะสม เพ่ือกระตุนใหเดก็ ไดเกิดกระบวนการ
คิด ใหเด็กไดเห็นความสัมพันธของสง่ิ ตางๆ โดยจัดสภาพแวดลอมใหเดก็ ไดปฏิสัมพันธกับผูคนและกระบวนการ
ตางๆ อยางกวา งขวาง การที่เด็กอยูใ นสภาพแวดลอมที่เหมาะสม เด็กจะพัฒนาความรูสึกท่ีดีตอตนเอง เกิดความ
เช่ือมนั่ ในตนเองและมีความคิดสรา งสรรค

๙.๒ สื่อ
สื่อเพื่อสงเสริมพัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก เปนตัวกลางกระตุนใหเกิดการเรียนรูตามจุดมงุ หมาย
ที่กําหนดการเรียนรู ของเด็กอายุ ๔-๖ ปจําเปนตองผานการลงมือปฏิบัติจริงหรือเกิดการคน พบดวยตนเองเปน
ประสบการณตรง ซึ่งเด็กจะเรยี นรจู ากสิ่งท่ีเปนรูปประธรรมหรือมองเห็น จับตองไดไปสูสิ่งที่เปนนามธรรม เพื่อ
เขาสูอายุท่ีสูงข้ึน การเรียนรขู องเด็กวัยนี้จึงข้ึนอยูก ับของจริงท่ีพบเห็น ของเลนท่ีเลียนแบบของจริง นิทานและ
เพลงดังนี้

๑) ของเลน
ของเลนเปนสิ่งที่ประกอบการเลนของเด็ก ของเลนชวยกระตุนใหเด็กเกิดการเรียนรูและเกิด
ความมั่นใจในการเลน ของเลนอาจจัดทําข้ึนเองจากวัสดุ ส่ิงของ เศษวัสดุเหลือใชรอบตัวในชีวิตประจําวันหรือ
เปนการเลือกซ้ือของเลนที่มีขายในทองตลาด ซึ่งมีการจัดหาของเลนใหเด็กตองคํานึงถึงความปลอดภัยและ
เหมาะสมกับวยั ของเด็ก
๑.๑ ลักษณะของเลน เด็ก ของเลน เก่ยี วขอ งกับการเลนของเด็กแบงเปน
๑.๑.๑ ของจรงิ เปนของเลน ทเ่ี ปนสิง่ หรือเคร่ืองใชในชวี ิตจริง ของจรงิ ทีเ่ ดก็ เลน ได เชน ชอน
ถว ย พลาสตกิ หมอ จาน
๑.๑.๒ ของเลน เลยี นแบบของจรงิ เปน ของเลน ทท่ี าํ ข้ึนใหมีรูปแบบเหมือนของจริง
ที่มีอยูในชีวิตประจําวัน ทําจากวสั ดุประเภทไม พลาสติก โลหะ กระดาษ ก็ได เชน ตุกตาสัตวขนนุม ตุกตาคน
ลกู บอลเดก็ เลน รถเดก็ เลน ของเลน เครื่องครัว/ เคร่ืองใชใ นบา น
๑.๑.๓ ของเลนสรา งสรรค เปน ของเลนทท่ี าํ ขึน้ ไมมีรูปแบบทแี่ นนอนตายตัว
สามารถประกอบเขาดวยกันใหเปน อะไรก็ไดตามความตองการหรือจินตนาการของผูเลน เชน ตัวตอพลาสติก
พลาสติกสรา งสรรค บลอ็ กพลาสติก/ ไม วัสดทุ ใ่ี ชใ นการวาดภาพ/ การปน/การประดิษฐ
๑.๑.๔ ของเลน เพอื่ การศกึ ษา เปน ของเลน ทที่ าํ ข้นึ มรี ปู แบบชว ยพฒั นาทกั ษะการ
สังเกต ทักษะกลามเนอ้ื มอื ประสานสัมพนั ธกับตา ทกั ษะการคิด เชน ไมบล็อก เกมภาพตดั ตอ เกมโดมิโน
๑.๑.๕ ของเลนพนื้ บาน เปนของเลน ที่ทาํ จากวสั ดุตามธรรมชาตหิ รือวสั ดทุ ีม่ อี ยูใน

๘๘

ทองถ่ินดวยเชน โมบายปลาตะเพียน ตะกรอใบลาน ตุกตาสัตวทําจากฟาง กังหันลมใบตาล ลอกล้ิงไมไผ นก/
ตก๊ั แตนสานใบมะพรา ว กะลารองเทา ปใ บมะพรา ว และปน ดนิ เหนียวรูปสัตว

๑.๒ ประเภทของเลนเด็ก ของเลน เด็กมหี ลากหลายรปู แบบ ขน้ึ อยกู บั วตั ถปุ ระสงค
ของการใชเ ลน แบง เปน

๑.๒.๑ ของเลนฝก ประสาทสัมผสั เปน ของเลนทดี่ งึ ดดู ความสนใจของเด็ก ในการ
มองเหน็ ไดย ินและสมั ผัส เชน ของเลนทม่ี ีผวิ สัมผัสเรียบ- ขรขุ ระ ของเลน หยบิ จบั ไวใ นมอื ได เสยี งเพลง

๑.๒.๒ ของเลนฝกการเคล่ือนไหว เปนของเลน ทเ่ี คลื่อนท่ีไปมาได กระตุน ใหเ ด็ก
ใชกลามเนื้อแขน ขา เชน ลกู บอล ของเลนลากจูงได ของเลน ไขลาน ของเลนมลี อเลอ่ื น

๑.๒.๓ ของเลนฝกความสัมพันธมือตา เปนของเลนที่ฝกใหเด็กไดพัฒนาการประสาน
สัมพันธร ะหวางการใชกลามเน้ือมือและตาอยางมีจุดหมาย เชน กระดานคอนตอก กลองหยอดรูปทรง ของเลน
รอยลกู ปดเม็ดโต ของเลนรอยเชอื กตามรู ของเลน ผูกเชือก/รูดซปิ /ตดิ กระดุม

๑.๒.๔ ของเลน ฝก ภาษา เปน ของเลน ทช่ี วยในการฟง การสื่อสารทางดา นการฟง
การพดู เลา เรื่อง เชน หนงั สอื ภาพนทิ าน เทป เพลงเดก็ เครือ่ งดนตรี หนุ มือ

๑.๒.๕ ของเลนฝกการสงั เกต เปน ของเลน ฝกทกั ษะการเปรียบเทียบ การจําแนก
หรอื จดั กลุม ของ เชน ของเลน รปู ทรงเรขาคณิต แผนภาพจบั คู บลอ็ กตางสีตางขนาด

๑.๒.๖ ของเลน ฝกการคดิ เปนของเลน สอนใหเ ด็กมสี มาธิและรจู ักแกป ญหา คดิ ใช
เหตผุ ล เชน ภาพตัดตอ ตวั ตอ ภาพ ปรศิ นา บลอ็ กไม

๑.๒.๗ ของเลน ฝกความคดิ สรางสรรค เปน ของเลน ท่ีสงเสรมิ ใหเด็กสรา ง
จินตนาการตามความนึกคิดหรือแสดงบทบาทสมมุติ เชน บล็อกไม ตัวตอ ของเลนเครื่องครัว ของเลนรานคา
ของเลนเคร่อื งมอื แพทย

๑.๓ การเลือกของเลนเด็ก หลกั เกณฑท่ีควรคํานงึ ถึงมดี ังน้ี
๑.๓.๑ ความปลอดภยั ในการเลน ของเลน สําหรับเดก็ อาจทาํ ดวยไม ผา พลาสตกิ
หรือโลหะ ท่ไี มมอี ันตรายเก่ยี วกับผวิ สัมผัสท่ีแหลมคม หรือมีชน้ิ สวนท่ีหลุดหรือแตกหักได ตลอดจนทําใหวัสดุท่ี
ไมมีพิษมีภัยตอเด็กในสีท่ีทา หรือสวนผสมในการผลิตมีขนาดไมเล็กเกินไป จนทําใหเด็กกลืนหรอื หยิบใสรูจมูก
หรอื เขาปากได รวมท้ังมนี ํา้ หนกั พอเหมาะที่เด็กสามารถหยิบเลนเองได ๑.๓.๒ ประโยชนใ นการเลน ของ
เลนทีด่ คี วรชวยเราความสนใจของเด็กใหอยากรูอยากเห็น มีสีสันสวยงามสะดุดตาเด็ก มีการออกแบบทส่ี งเสริม
ใหเด็กใชความคิดและจินตนาการท่ีจะเลนอยางริเร่ิมสรางสรรคหรือแกปญหาชวยในการพัฒนากลามเน้ือ การ
เคล่อื นไหว และการใชมือไดอยางคลอ งแคลว ทง้ั ยังเสรมิ สรา งการพฒั นาประสาทมอื และตาใหส ัมพนั ธกนั

๑.๓.๓ ประสิทธิภาพในการใชเลน ของเลน ท่ีเหมาะในการเลนควรมีความยากงายกับอายแุ ละ
ความสามารถตามพัฒนาการของเด็ก ของเลนที่ยากเกินไปจะบั่นทอนความสนใจในการเลนของเด็กและทําให
เด็กรูส ึกทอถอยไดงาย สวนของเลนทง่ี ายเกินไปก็ทําใหเด็กเบ่ือไมอยากเลนได นอกจากน้ีของเลนควรทําใหเด็ก

๘๙

ไดใชประสบการณตรงและเกิดการเรียนรดู ว ยตนเอง มีความแข็งแรงทนทานและปรบั เปล่ียนแปลงใชประโยชน
ไดห ลายโอกาส หลายรูปแบบเลน ไดห ลายคน

๑.๓.๔ ความประหยดั ทรัพยากร ของเลนที่ดไี มจาํ เปน ตองมีราคาแพงหรือผลิตดว ย
เทคโนโลยีท่ีทนั สมัย มตี ราเคร่ืองหมายผลิตภณั ฑของบริษัทที่มชี ือ่ เสียงเปนท่นี ิยมทั่วไป หากแตเปนวัสดขุ องหรือ
ของเลนทส่ี ามารถจัดหางายๆ มีราคายอมเยา และมีอยูในทองถ่ินน้ันโดยหาซ้ือไดงายหรือทําข้ึนเองไดจากภูมิ
ปญญาพื้นบา นหรอื วัฒนธรรมทองถน่ิ

ตารางเกณฑพิจารณาการเลือกซ้ือของเลนใหเดก็

ประเด็นการพิจารณา

๑. ของเลนท่มี ีลกั ษณะปลอดภยั สาํ หรับเด็กตามวัย สีทใ่ี ช เปน สีที่ปลอดภัย ไมม ีชนิ้ สว นแหลมคมหรือแตกหักงา ย
๒. ของเลน เหมาะกับวัยของเดก็ ไมย ากหรอื งา ยเกนิ ไปที่เด็กจะเลน ไดเอง
๓. ของเลนดึงดดู ความสนใจการเลน ทา ทายความสามารถของเดก็
๔. ของเลนมกี ารออกแบบอยา งพิถพี ิถัน มองดูเหมาะกับธรรมชาติของเดก็
๕. ของเลนสามารถปรบั เปล่ยี นรปู แบบไดหลากหลาย ใชเลนไดห ลายแบบ หลายวธิ ตี ามความตองการของผูเ ลน
๖. ของเลน มคี วามคงทนใชเลนไดนาน ไมบ ุบสลายงาย
๗. ของเลนชว ยสง เสรมิ ทักษะการเรยี นรขู องเด็ก ทาํ ใหเ ดก็ เรียนรหู ลายๆดานเกี่ยวกับส่ิงแวดลอ มรอบตัว
๘. ของเลนชวยขยายความคดิ สรางสรรคของเด็กทําใหเด็กใชจนิ ตนาการ การคิดทาํ สงิ่ ใหมๆ
๙. ของเลน ทําใหเดก็ มสี มาธิ ใจจดจออยูก บั การเลนเปน เวลานานพอควรตามชวงความสนใจของวยั
๑๐. ของเลนทําความสะอาดไดงา ย หรอื นํากลบั มาเลน ใหมได
๑๑. ของเลน ทําใหเด็กเกดิ ความรสู ึกดีตอ ตนเองและคน พบความสําเร็จ
๑๒. ของเลนมีราคาไมแพงจนเกินไป เมอื่ เปรยี บเทียบกับคุณภาพของวัสดแุ ละการใชป ระโยชน

๒.นทิ าน นิทาน

เปนสื่อ เครื่องมือและวิธีการที่สําคัญในการพัฒนาเด็ก การอานหนังสือใหเด็กฟง จะชวยสรางความคุนเคย

ระหวา งเดก็ กับหนังสอื ถือเปนการบมเพาะนิสยั รักการอานหนังสือในเด็กไดอยางแยบยล

๒.๑ ประโยชนข องนิทาน นทิ านมบี ทบาทสาํ คัญตอการเสริมสรางพัฒนาการเด็กดงั น้ี

๒.๑.๑ ดานรางกาย การอานหนังสือใหเด็กฟง เด็กจะไดบริหารรางกายตามเร่ืองราวของนิทาน

ทําใหอ วยั วะสวนตา งๆของรางกายแข็งแรง

๒.๑.๒ ดานอารมณ จิตใจ การอานหนังสือใหเด็กฟงเด็กจะรูสึกสนุกสนานมีความสุขท่ีไดฟง

เร่ืองราวหรือทองบทกลอนและแสดงทาทางอยางอิสระตามความตองการ เด็กจะมีอารมณดี ย้ิมแยม แจมใส

๙๐

๒.๑.๓ ดา นสังคม สรา งความสมั พนั ธในครอบครัวและสงั คมรอบดาน

๒.๑.๔ ดานสติปญญา การอานหนังสือจะชวยใหเดก็ สามารถจดจําถอยคาํ จําประโยคและเรื่องราวในหนังสือได

รจู กั เรยี นแบบคาํ พูด เขาใจความหมายของเรอ่ื งที่จะอา น รจู ักคิดและรจู ักจนิ ตนาการ

๒.๒ วธิ กี ารเลานิทานและเรอื่ งราวสําหรับเด็ก

เม่ือเลือกนิทานเรื่องราวท่ีเหมาะสมกับวัยของเด็กไดแลว วิธีการเลานิทาน หรอื เรอื่ งราวเพ่ือให
เด็กเกิดความสนใจติดตามฟงเน้ือเรื่องจนจบ จึงจําเปนตองทําใหเหมาะสมกับเร่ืองท่ีจะเลาดวย ในการเลาเร่ือง

นิทานท่นี ยิ มใชมี ๒ วิธดี ังน้ี

๒.๒.๑ การเลาเร่ืองโดยไมมีอุปกรณ เปนการเลานิทานเร่ืองการบอกเลาดวยนํ้าเสียงและลีลา

ของผเู ลา ซ่ึงมรี ายละเอียดดังน้ี

๑) การขึ้นตนเรื่องท่ีจะเลาควรดึงดูดความสนใจเด็ก โดยคอยๆ เริ่มเลาดวยเสียงพูดที่ชัดเจน ลีลาของ

การเลา ชา ชา และเร่มิ เร็วขนึ้ จนเปนการเลาดวยจงั หวะปกติ
๒) ระดับเสยี งท่ีใชควรดัง และประโยคทเ่ี ลาควรแบงเปนประโยคสนั้ ๆ แตไดใ จความ การเลาควรดาํ เนิน

ไปอยางตอเน่ือง ไมควรจังหวะการเลาใหนานและจะทําใหเด็กเบื่อ อีกท้ังไมควรมีคําถามหรือคําพูดอื่นๆ ที่เปน

การขดั จงั หวะทาํ ใหเด็กหมดสนุก

๓) การใชนํ้าเสียง สีหนา ทาทาง ควรแสดงใหสอดคลองกับลักษณะของตัวละคร ไมควรพูดเนื่อยๆ

เร่อื ยๆ เพราะขาดใหความตื่นเตน

๔) การน่ังเลาเร่ือง ควรจัดหาเกาอ้ีน่ังใหเหมาะกับระดับสายตาเด็ก ควรเวนระยะหางของการน่ัง
เผชญิ หนาเด็กพอประมาณทีจ่ ะสามารถสบตาเด็กขณะเลาเรอ่ื งไดท ว่ั ถงึ

๕) การใชเวลาไมควรเกิน ๒๐ นาที โดยสังเกตจากทา ทางการแสดงออกของเด็ก ซึง่ ไมไดใหความสนใจ

จดจอ กบั เรือ่ งท่ีเลา ๖ ) ก า ร เป ด

โอกาสใหเด็กไดค ดิ และวิจารณเรื่องท่ีเลา ควรใชคาํ ถามสอบถามความคิดของเด็กเกี่ยวกับเร่ืองราวที่ไดฟง ใหเดก็

มโี อกาสแสดงความคิดเหน็ ภายหลงั ที่เรื่องเลาจบลง ๒.๒.๒ การเลาเรื่องโดยมีอุปกรณชวย

อปุ กรณทช่ี วยในการเลาเรื่องมีหลายประเภท ไดแก

๑) สิ่งแวดลอมรอบตัวเด็ก ซึ่งสามารถนํามาเลาเร่ืองราวประสบการณไดแกเด็กได อุปกรณที่เปน

สง่ิ แวดลอมไดแ กส ตั ว พืช บุคคลสาํ คัญ สถานทีส่ าํ คญั ขาวและเหตกุ ารณ ตลอดจนสิ่งท่ีมอี ยูตามธรรมชาติ

๒) วัสดุเหลือใช สิ่งของท่ีไมเปน ที่ตองการ แตย ังมีประโยชน เชน ภาพจากหนังสือนิตยสาร ก่ิงไม ของ
กระดาษ ส่ิงเหลา น้อี าจนาํ มาใชประโยชนใ นการเลาเร่ืองได

๓) ภาพ ใชรูปภาพที่มีเรื่องราวเลาได เชน ภาพท่ีมีเรื่องราวรวมอยูในแผนเดียวหรือทําเปนแผนภาพ

พลิกหลายๆแผน ขนาดใหญพ อควรและมีเน้ือเรอื่ งเขยี นไวด า นหลงั

๔) หุนจําลอง ใชห นุ ทีท่ ําดวยผาหรอื กระดาษทาํ เปน ละครหุน มือ หุนเชดิ หุนชกั

๕) สไลดป ระกอบการเลาเรอื่ ง ใชภาพถายเปน สไลดเเผน ฉายใชทีละภาพ

๖) หนากาก ทาํ เปนรูปตัวละคร ใชว ัสดทุ ําเปน หนากากรปู ตัวละครตางๆ

๙๑

๗) เทปนิทานหรือเร่ืองราว ใชก ารเปดเทปท่ีมีเสยี งเลาเร่อื งราว
๘) นิว้ มอื ประกอบการเลาเร่ือง ใชน ้ิวมอื เคลื่อนไหวเปนตัวละครตางๆ

๒.๓ การอา นนทิ าน
การสรางนิสัยรักการอานใหเด็กเปนหนาที่สําคัญประการหน่ึงของผูสอน เพราะหนังสือคือ

อาหารสมองและอาหารใจ หนังสือคือความสุข หนังสือคือเพ่ือน หนังสือคือแหลงเรียนรูของเด็กไปตลอดชีวิต
การสรางนิสัยรักการอานใหเด็ก จึงเปนการสรางพื้นฐานสําคัญของชีวิตใหเด็ก เด็กจะรักหนังสือไดจากการที่
ผูส อนอานหนังสือทเี่ ดก็ ชอบใหฟงซา้ํ แลวซํ้าเลา เทาทีเ่ ดก็ เรียกรองตองการ เดก็ จะรูสึกพอใจและมีความสุขมากใน
ขณะที่ผูใหญอานหนงั สือใหฟง และจะตื่นโตข้ึนมาเปนคนรักหนังสือ และรักการอานหนังสือ การการอานนทิ าน
ใหเด็กฟง คือการอานหนังสือท่ีไมปลอยใหเด็กเดินทางไปคนเดียว หรือเปนผูรับฟงเพียงอยางเดียว แตผูสอนตอง
มีสวนรวมไปกับเด็กดวย นทิ านเปนสือ่ สาํ หรับผูสอนในการสรางปฏิสัมพันธท ี่ดีเด็กที่เติบโตมาดวยการหลอหลอม
ใหฟง นิทาน มกั จะเปนเดก็ ทใ่ี ชภ าษาไดดมี ากกวาเด็กในวยั เดียวกันที่ไมไดถกู หลอหลอมมาดวยหนังสอื หรอื นิทาน
อีกทั้งเด็กที่มีนิสัยรกั การอานจะพัฒนาในดานอื่นๆไดอยางรวดเร็วตามมา เชนสมองพฤตกิ รรมและอารมณที่ดี

การพฒั นาส่ือ
การพัฒนาส่ือเพื่อใชประกอบการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยน้ัน กอนอ่ืนควรไดสํารวจขอมูล สภาพ

ปญหาตางๆของส่ือทุกประเภทที่ใชอยูวามีอะไรบางที่จะตองปรับปรุงแกไข เพื่อจะไดปรบั เปลี่ยนใหเหมาะสมกับ
ความตองการ

แนวทางการพฒั นาสอื่ ควรมลี กั ษณะเฉพาะ ดงั น้ี
๑. ปรับปรงุ สื่อใหทนั สมยั เขากบั เหตุการณ ใชไ ดส ะดวก ไมซ บั ซอนเกนิ ไป เหมาะสมกับวยั ของเด็ก
๒. รักษาความสะอาดของส่ือ ถาเปนวัสดุท่ีลางน้ําได เมื่อใชแลวควรไดลางเช็ด หรือ ปดฝุนใหสะอาด
เกบ็ ไวเปนหมวดหมู วางเปน ระเบียบหยบิ ใชงา ย
๓. ถาเปนส่ือท่ีผูสอนผลิตขึ้นมาใชเองและผานการทดลองใชมาแลว ควรเขียนคูมือประกอบการใชส่ือ
นั้น โดยบอกช่ือส่ือ ประโยชนและวิธีใชส่ือ รวมทงั้ จํานวนชิ้นสวนของส่ือในชุดน้ันและเก็บคูมือไวในซองหรือถุง
พรอมสอ่ื ทผ่ี ลิต
๔. พัฒนาส่อื ทส่ี รางสรรค ใชไดเอนกประสงค คอื เปนไดทัง้ สอื่ เสรมิ พัฒนาการ
และเปนของเลนสนกุ สนานเพลิดเพลิน

๙.๓ แหลงเรยี นรู
แหลงเรยี นรูเพ่ือสงเสรมิ พัฒนาการและการเรียนรูของเดก็ แหลงเรยี นรมู ีความสําคญั คือ เปน แหลง

การศึกษาตามความสนใจและความตองการตามอัธยาศัยปลูกฝนิสัยรักการอาน การสืบเสาะหาความรู การ
แสวงหาความรูดวยตนเอง การสรางเสริมประสบการณดว ยประสบการณตรง เพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต

๙๒

สภาพแวดลอมที่เปนแหลง เรียนรสู ําหรับเด็กปฐมวยั ขอเสนอแหลง เรียนรูทเี่ ปนตัวอยางแหลง วิทยาการการเรียนรู
ในชมุ ชน และกจิ กรรมการเรยี นรูท ี่จัดในชมุ ชนและธรรมชาตดิ ังนี้ แหลงเรียนรูในชุมชน เชน วัดและใน
ชุมชน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ เ?สบาลตําบล สถานีตํารวจ พิพิธภัณฑธรรมชาติ ตางๆ เปนตน แหลง
เรียนรูในชุมชนอีกประเภทหนึ่ง เปนสถาบนั ของชุมชนที่มีอยูในวิถีชีวติ และการทํามาหากินในชุมชน เชน โบสถ

วิหาร ศาลาการเปรยี ญในวดั หรอื ศาสนสถาน ซ่ึงเปนสถานที่ทําบุญตามประเพณี ตลาด รานขายของชาํ ซึ่งเปน
แหลงชุมชนชาวบาน สถานีอนามัย ปาทุกแหง ลวนเปนหองเรียนธรรมชาติท่ีเปดกวางสรางบรรยากาศและ

จินตนาการการเรียนรูของเดก็

แหลงเรียนรูภายใน แหลง เรียนรภู ายนอก

 อาคารเรียนตา งๆ  โรงเรยี นตา งๆ ในเขตเทศบาลตาํ บลบานยาง

 หอ งสมุด / ICT  โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพ
 หองคอมพิวเตอร  วัดบา นออ
 หอ งประชุม วัดบานหวยผักหนาม
 หอ งแนะแนว วัดบา นหนองเชอื ก
 หองพยาบาล วดั บา นหนองออ

 สวนเกษตรพอเพยี ง สถานตี าํ รวจอําเภอลาํ ทะเมนชยั
 หองวิชาการ หองสมุด กศน.
 หอ งสหกรณโรงเรียน โรงพยาบาลทาํ ทะเมนชยั

 สนามเด็กเลน วัดศิริชยั
 สวนสุขภาพ

 สนามกฬี า
 สวนมะละกอและมะนาว
 บอ ปลา
 โรงเรือนเล้ยี งไกพันธุไข

ภูมปิ ญ ญาทอ งถิน่
ปราชญชาวบาน / ภูมิปญญาทองถ่ิน / ผูทรงคุณวุฒิ ที่สถานศกึ ษาเชิญมาใหความรูแก ครู / นักเรียน
ไดแก การทาํ ไรน าสวนผสม การเลย้ี งไก การเลี้ยงปลา การทํานา การตดั ผม ฯลฯ

๙๓

๑๐. การประเมินพัฒนาการ
การประเมนิ พัฒนาการเดก็ อายุ ๔-๖ป เปน การประเมินพฒั นาการทางดานรางกาย อารมณ จติ ใจ

สงั คม และสตปิ ญ ญาของเด็ก ถือเปนสวนหนงึ่ ของการจัดประสบการณการเรยี นรูและการปฏบิ ตั ิกิจวตั ร
ประจาํ วันเปน ความรับผดิ ชอบของผสู อนทีต่ อ งดําเนนิ การตอเนอ่ื ง โดยเปด โอกาสใหผูเกี่ยวขอ งมสี วนรวมวธิ ีการ
ประเมินที่เหมาะสม ไดแก การสังเกต การบนั ทึกพฤติกรรม การสนทนาหรือสมั ภาษณ การวิเคราะหข อมูล
จากผลงานเด็กและสรปุ ผลการประเมิน เพื่อใหไดข อมลู วาเด็กบรรลตุ ามสภาพทีพ่ ึงประสงค ตวั บงชี้ และ
มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคหรอื ไมเพยี งใด ผูสอนควรวางแผนและพัฒนาการจัดประสบการณอยา งไร
ตอ ไป โดยมีการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ควรยึดหลักการ ดังน้ี

๑. วางแผนการประเมินพัฒนาการอยา งเปนระบบ การวางแผนการประเมนิ พฒั นาการอยางเปน ระบบ
เปน ภารกิจหน่งึ ของผูสอนโดยเรม่ิ ตนจาก

๑.๑ นาํ หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยไปสูการปฏบิ ัตดิ วยการออกแบบและจดั ทาํ หนว ยการเรยี นรู
และแผนการจัดการประสบการณเรยี นรู

๑.๒ กําหนดวตั ถุประสงคก ารประเมิน วิธีการและเครอ่ื งมือท่ีใชในการประเมนิ
๑.๓ เก็บรวบรวมขอ มลู ซึง่ ผูสอนจะตอ งวางแผนและออกแบบวา ในแตล ะวัน แตละกิจกรรมจะสงั เกต
พฤติกรรมใด สงั เกตเดก็ คนใดบาง และนาํ ขอมูลที่ไดไปสูการวิเคราะหขอมูลและการแปลผลตอ ไป
๒. ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ครบทกุ ดาน การประเมนิ พัฒนาการเด็กครบทุกดา นตามหลักการนี้ คือ
การประเมนิ พัฒนาการเดก็ ดานรา งกาย อารมณ จติ ใจ สังคม และสตปิ ญ ญา ซึ่งตองสอดคลองและ
ครอบคลุมมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค ตวั บงชี้ และสภาพที่พึงประสงคแ ตละวัยท่ีกาํ หนดไวในหลักสตู ร
สถานศึกษา และสอดคลองกับวิสยั ทศั นของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ที่มงุ เนนพัฒนาเด็กทกุ คนใหไดรับการ
พฒั นาดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญาอยางมคี ณุ ภาพและตอเนื่องนั่นเอง
๓. ประเมนิ พัฒนาการเด็กเปน รายบุคคลอยางสม่าํ เสมอตอเน่ืองตลอดป จุดมุงหมายของการประเมนิ
พฒั นาการเดก็ เพื่อพฒั นาความกา วหนาของเด็กเปน รายบคุ คลใหเตม็ ตามศักยภาพ ทัง้ นี้ ความนา เช่ือถือของ
ผลการประเมนิ จงึ เปน สิง่ สําคัญ ผสู อนตองสงั เกตพฤติกรรมหรือการปฏบิ ัติตนของเด็กเปน ระยะๆ ตลอดป
การศกึ ษา มีจาํ นวนครง้ั ในการสังเกตพฤติกรรมอยา งเหมาะสมและเพียงพอกอนจะสรปุ หรือใหร ะดับคุณภาพ
ของพฤติกรรมตามสภาพท่ีพึงประสงคในแตล ะวยั
๔.ประเมนิ พฒั นาการตามสภาพจรงิ จากกิจกรรมประจําวนั ดว ยเครอ่ื งมือและวธิ ีการท่ีหลากหลาย ไม
ควรใชแบบทดสอบ เนื่องจากแนวคิดการจัดการศกึ ษาปฐมวัยใหความสาํ คญั กบั ตวั เด็ก ทั้งการพัฒนาเด็กโดย
องครวมและการปฏบิ ัตทิ ่ีเหมาะสมกับพัฒนาการ การอบรมเล้ยี งดูและใหการศึกษา การเลน และการเรยี นรูของ
เด็กภายใตบ ริบทสงั คมและวัฒนธรรมทเี่ ด็กอาศยั อยู ดังน้ัน การประเมนิ พฒั นาการตามสภาพจรงิ จากการจดั
ประสบการณการเรยี นรู หรือการปฏิบัตกิ ิจวตั รประจําวัน ดว ยวิธีการสงั เกต การบนั ทึกพฤตกิ รรม การ
สนทนา การสมั ภาษณ การวิเคราะหข อมลู จากผลงานเด็ก จงึ เปนวิธกี ารประเมนิ ที่เหมาะสมและสอดคลองกบั
เด็กวัยน้ี ผูส อนจึงไมควรใชแ บบทดสอบท่ีใชกระดาษและดินสอในการเขยี นตอบ เพอ่ื ประเมินพัฒนาเด็กวัยนี้

๙๔

๕. สรุปผลการประเมิน จัดทําขอ มูลและนาํ ผลการประเมินไปใชพฒั นาเด็ก ขอมลู ทไี่ ดจากการสังเกต
พฤติกรรมของเด็กแตละคนตามสภาพที่พงึ ประสงค รวบรวมไดจากการจัดประสบการณก ารเรยี นรูในแตล ะ
หนวยการเรียนรแู ละการปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจาํ วัน ผสู อนตอ งนําไปเทยี บเกณฑก ารใหระดบั คุณภาพใจ แตละ
สภาพท่พี งึ ประสงค ตัวบง ช้ีและมาตรฐานคุณลกั ษณท ่ีพงึ ประสงค พรอมจดั ทําเปนขอ มูลสารสนเทศในระดบั

หองเรยี นวา เด็กแตล ะคนมพี ฒั นาการใดบางเปนจุดเดน หรือควรไดรบั การสง เสรมิ และนาํ ไปใชใ นการพัฒนา
เด็กเปน รายบคุ คลและใชเปน ขอ มลู สื่อสารกับผปู กครองในการเสริมศักยภาพเด็กเปนรายบุคคลตอ ไป

แนวทางการประเมินพัฒนาการตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบบั ปรบั ปรุง

พุทธศักราช ๒๕๖๒)

หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒) กําหนด

เปาหมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั โดยยึดพัฒนาการเด็กปฐมวัยดานรางกาย อารมณ จติ ใจ สังคม และ
สตปิ ญญา ดงั น้ี

๑) พัฒนาการดานรางกาย เปนการเปลี่ยนแปลงความสามารถของรางกายในการเคล่ือนไหวสขุ ภาพ

อนามัยทดี่ รี วมถึงการใชม อื กับตาท่ปี ระสานสัมพันธก ันในการทํากิจกรรมตางๆ

การประเมนิ พฒั นาการดา นรางกาย ประกอบดวย การประเมินน้ําหนักและสวนสูงตามเกณฑ

สขุ ภาพอนามัย สุขนิสัยทด่ี ี การรูจักความปลอดภยั การเคล่อื นไหวและการทรงตัว การเลนและการออกกาํ ลัง

กายและการใชก ลา มเนอ้ื เล็กอยา งประสานสมั พันธกัน
๒) พฒั นาการดานอารมณ จิตใจ เปน ความสามารถในการแสดงอารมณและความรูสกึ โดยท่ีเด็ก

รูจักควบคุมอารมณแ ละแสดงออกอยางเหมาะสมกับวัยและสถานการณ เพื่อเผชิญกับเหตุการณต างๆ

ตลอดจนการรสู ึกท่ดี ีตอตนเองและผอู ืน่

การประเมนิ พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ประกอบดวย การประเมินความสามารถในการ

แสดงออกทางอารมณอยา งเหมาะสมกบั วัยและสถานการณ ความรสู กึ ที่ดีตอตนเองและผูอ่นื มีความเห็นอกเหน็

ใจ ความสนใจ ความสามารถ และมคี วามสขุ ในการทาํ งานศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหวความรบั ผิดชอบ

ในการทํางาน ความซื่อสตั ยสุจริตและรสู ึกถูกผดิ ความเมตตากรณุ า มนี ้ําใจและชวยเหลอื แบงปนตลอดจนการ

ประหยดั อดออม และพอเพยี ง

๓) พัฒนาการดานสงั คม เปนความสามารถในการสรา งสัมพันธภาพกับผูอื่น ปรับตัวในการเลน และ
อยูรว มกบั ผูอ่ืน สามารถทําหนา ท่ีตามบทบาทของตน ทํางานรว มกบั ผูอ่ืน มคี วามรบั ผิดชอบ รูกาลเทศะ

สามารถชวยเหลือตนเองในชวี ิตประจําวัน เรยี นรูการปรับตัวใหเขากบั เด็กอ่ืน รูจักรวมมือในการเลน กับกลุม

เพอ่ื น ปฏิบัตติ ามขอตกลงในการเลน รจู ักรอคอยตามลาํ ดับกอน-หลงั

การประเมนิ พฒั นาการดา นสังคม ประกอบดว ย การประเมินความมีวินัยในตนเอง การชวยเหลือ

ตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจําวัน การระวงั ภายจากคนแปลกหนา และสถานการณที่เสย่ี งอันตราย การดูแล

รกั ษาธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม การมีสมั มาคาระและมารยาทตามวฒั นธรรมไทย รักความเปน ไทย การ

๙๕

ยอมรับความเหมือนความแตกตา งระหวางบุคคล การมีปฏสิ ัมพันธท ่ีดกี ับผูอ่ืน การปฏบิ ัติตนเบื้องตน ในการ

เปนสมาชกิ ท่ดี ขี องสงั คมในระบอบประชาธิปไตยอันมีประมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข

๔) พัฒนาการดานสติปญญา เปนการเปลี่ยนแปลงความสามารถทางสมองท่ีเกดิ ขนึ้ จากการเรียนรสู ่งิ

ตางๆ รอบตัว และความสมั พนั ธร ะหวางตนเองและสิ่งแวดลอ ม ดวยการรบั รู สังเกต จดจํา วเิ คราะห รูคิด

รูเหตุผล และแกปญหา ทาํ ใหสามารถปรบั ตัวและเพมิ่ ทักษะใหม ซงึ่ แสดงออกดวยการใชภาษา ส่อื
ความหมายและการกระทํา เด็กวยั นี้สามารถโตตอบหรอื มปี ฏสิ ัมพันธกับวัตถุและสิ่งของทอี่ ยูรอบตัวได

สามารถจาํ สิง่ ตา งๆ ท่ีไดก ระทาํ ซ้าํ กันบอยๆ ไดด ี เรียนรสู ง่ิ ตา งๆ ไดด ีขน้ึ แตยังอาศัยการรบั รูเปนสวนใหญ

แกป ญ หาการลองผิดลองถูกจากการับรมู ากกวา การใชเหตผุ ล ความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับสิ่งตา งๆ ทอี่ ยูรอบตัว

พัฒนาอยางรวดเร็วตามอายุทเ่ี พ่ิมข้นึ ในสว นของพฒั นาการทางภาษาของเด็กวยั นี้ เปนระยะพฒั นาภาษาอยาง

รวดเรว็ โดยมีโอกาสใชภาษาจากการทํากิจกรรมตา งๆ ในรูปของการสนทนา ตอบคําถาม เลาเรื่องนิทานและ

ทาํ กิจกรรมตา งๆ
การประเมนิ พฒั นาการดานสตปิ ญญา ประกอบดวย การประเมินความสามารถในการสนทนา

โตตอบและเลาเร่ืองใหผ ูอนื่ เขาใจ ความสามารถในการอา น เขยี นภาพ และสญั ลักษณ ความสามารถในการ

คิดรวบยอม การคดิ เชิงเหตผุ ล การคดิ แกปญ หาและตัดสินใจ การทาํ งานศลิ ปะ การแสดงทา ทาง/เคล่ือนไหว

ตามจนิ ตนาการและความสรา งสรรค การมเี จตคติทีด่ ีตอการเรยี นรูและความสามารถในการแสดงหาความรู

สาํ หรับหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒)ได

กาํ หนดมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคที่ตอ งการใหเกิดขึ้นในตวั เด็ก เพ่ือใหส ถานศกึ ษาและหนวยงานที่
เก่ียวขอ งที่มีหนา ทรี่ ับผดิ ชอบในการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัยใชเปนจดุ หมายในการพัฒนาและการประเมนิ เดก็

ใหบรรลคุ ุณภาพตามมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค จํานวน ๑๒ ขอ ดังน้ี

๑. พฒั นาการดานรา งกาย ประกอบดว ย ๒ มาตรฐาน คือ

มาตรฐานที่ ๑ รา งการเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยทด่ี ี

มาตรฐานท่ี ๒ กลา มเน้ือใหญและกลา มเนอ้ื เล็กแข็งแรง ใชไ ดอ ยางคลอ งแคลวและประสาน

สัมพันธกัน

๒. พัฒนาการดานอารมณ จติ ใจ ประกอบดว ย ๓ มาตรฐาน คือ

มาตรฐานท่ี ๓ มสี ุขภาพจติ ดีและมคี วามสุข

มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม

๓. พฒั นาการดานสงั คม ประกอบดวย ๓ มาตรฐาน คือ

มาตรฐานที่ ๖ มีทกั ษะชีวิตและปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม วฒั นธรรมและความเปน ไทย

มาตรฐานท่ี ๘ อยูรวมกับผูอื่นไดอ ยางมคี วามสขุ และปฏบิ ัตติ นเปน สมาชกิ ทดี่ ขี องสังคมใน

ระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมุข รวมท้งั เกิดวฒั นธรรมตอตา นการทจุ รติ สรา งความ

๙๖

ตระหนักใหนักเรยี น ยดึ ถือประโยชนสว นรวมมากกวาประโยชนส ว นตน มีจิตพอเพียงตา นทจุ รติ ละอายและเกรง
กลวั ท่ีจะไมทจุ รติ และไมท นตอการทุจรติ ทกุ รปู แบบ

๔. พัฒนาการดานสตปิ ญญา ประกอบดวย ๔ มาตรฐาน คือ

มาตรฐานท่ี ๙ ใชภาษาสอื่ สารไดเหมาะสมกบั วยั
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เปนพืน้ ฐานในการเรยี นรู

มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคิดสรางสรรค
มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติท่ดี ีตอการเรยี นรูและมีความสามารถในการแสวงหาความรูได
เหมาะสมกับวัย
แผนภาพแสดงความเช่ือมโยงของหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ (ฉบับ

ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๒) กับการประเมินพัฒนาการ

หลักสูตรสถานศึกษา กจิ วัตรประจําวัน การประเมิน
ปฐมวัย การจัด

มาตรฐาน หนวยการจดั ๑. การวิเคราะห
คณุ ลกั ษณะ ประสบการณ มาตรฐาน ตวั บงชี้
ท่พี ึงประสงค สภาพท่ีพึงประสงคและ
แผนการจดั
ตัวบงชี้ ประสบการ ๒. การกําหนดวิธีการ
และเครื่องมือที่ใช
สภาพทพี่ ึงประสงค ณ
๓. การกําหนดเกณฑ
สาระการเรยี นรู - จุดประสงคการ การประเมนิ และระดับ
- ประสบการณส าํ คัญ เรยี นรู
- สาระท่ีควรเรียนรู - สาระการเรียนรู ๔. การดําเนินการเกบ็
- กิจกรรมการเรยี นรู รวบรวมขอ มลู
- สื่อ
- การประเมินผล ๕. การสรุปผลการ
- บนั ทกึ หลงั การจดั ประเมินพฒั นาการ

๖. การรายงานผลการ
ประเมนิ และการนํา

๙๗

ขน้ั ตอนการประเมินพัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพน้ัน เกิดขึ้นใน

หอ งเรียนขณะจดั ประสบการณก ารเรียนรแู ละการปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจาํ วันของเดก็ มีขัน้ ตอนดงั น้ี
๑. การวิเคราะหมาตรฐาน ตัวบงช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค และการกําหนดประเด็นการประเมนิ
ผูสอนตองวิเคราะหมาตรฐาน ตัวบงช้ี สภาพท่ีพึงประสงค และกําหนดส่ิงท่ีจะประเมินจากการ

จัดประสบการณการเรียนรูและการปฏิบัติกิจกวัตรประจําวัน เพ่ือวางแผนการประเมินพัฒนาการและการ
ตรวจสอบทบทวนความถูกตอง ความครอบคลุมและความเชื่อมโยง อันจะเปนประโยชนในการดําเนินงาน
ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั อยา งเปน ระบบ ดังน้ี

๑.๑ การวเิ คราะหมาตรฐาน ตัวบงชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค
การนําหลักสูตรสถานศึกษาไปสูการจัดประสบการณ ไดมีวิเคราะหสาระการเรียนรูรายปที่

สอดคลองของมาตรฐาน ตัวบงชี้ สภาพท่ีพึงประสงค และสาระการเรียนรูเพ่ือกําหนดหนวยการเรียนรู โดย
การนําสภาพที่พึงประสงคไดจากการวิเคราะหมากําหนดเปนจุดประสงคการเรียนรูของหนวยการเรียนรูนั้นๆ
และกําหนดกิจกรรมหนัก ๖ กิจกรรม หรือใชรูปแบบการจัดประสบการณตามท่ีสถานศึกษากําหนดในการ
พัฒนาเด็กปฐมวัยใหบรรลุตามจุดประสงคการเรียนรู ดังนั้น ผูสอนตองวางแผนการประเมินพัฒนาการให
เหมาะสมและสอดคลองกบั มาตรฐาน ตัวบงชแ้ี ละสภาพที่พงึ ประสงค

๑.๒ การกําหนดประเด็นการประเมิน เปนการกําหนดพัฒนาการท่ีตองการประเมิน คือ สภาพ
ท่พี ึงประสงคท่ีนํามากําหนดเปนจุดประสงคก ารเรียนรูของหนวยการเรยี นรูซึ่งครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง ๔ ดานใน
แตละหนวยการเรียนรู และเช่ือมโยงไปยังจุดประสงคของแผนการจัดประสบการณในแตละวัน ดังนั้นประเด็น
การประเมินจึงประกอบไปดวยจุดประสงคของแผนการจัดประสบการณท่ีสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู
ของหนวยการเรยี นรูน น้ั ๆ

เมื่อกําหนดประเด็นการประเมินไดแลวใหพิจารณาวา ในแตละจุดประสงคการเรียนรูของ
หนวยการเรียนรูสามารถเก็บขอ มูลการประเมินไดจากการจัดประสบการณก ารเรียนรู และจากกิจวัตรประจาํ วัน
โดยการตรวจสอบขอมูลท่ีเกิดจากจัดกิจกรรมในแตละแผนการจัดประสบการณและการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจําวัน
เนื่องจากกิจวัตรประจําวันของเด็กเปนสิ่งท่ีปฏิบัติเปนประจําซํ้าๆ จนเกิดเปนทักษะและมีการพัฒนาจนเปน
ลักษณะนสิ ยั

๒. การกาํ หนดวิธกี ารและเครื่องมือที่ใชใ นการประเมินพัฒนาการ
เม่ือผูสอนกําหนดประเด็กการประเมินพัฒนาไดชัดเจนแลว ขั้นตอนตอไปคือ การกําหนดวิธีการ

และเครื่องมือท่ีใชในการประเมินพัฒนาการ ครูผูสอนตองวางแผนและกําหนดวิธีการประเมนิ ใหเหมาะสมกับ
กิจกรรม เชน ใชการสังเกตพฤติกรรม การประเมินผลงาน/ช้ินงาน การพูดคยุ หรอื สัมภาษณเ ดก็ ฯลฯ วิธกี าร
ท่ีครูผูสอนเลือกใชตองมากกวา ๒ วิธีการ หรือใชวิธีการหลากหลาย ซึ่งวธิ ีการท่ีเหมาะสมและนิยมใชในการ
ประเมินเด็กปฐมวยั มีดงั ตอไปน้ี

๒.๑ การสังเกตและการบันทึก แบงออกเปน ๒ แบบ ไดแก ๑) การสังเกตแบบเปนทางการ
คอื การสังเกตอยางมีจุดมุงหมายทแ่ี นน อนตามแผนท่ีวางไว และ ๒) การสงั เกตแบบไมเปน ทางการ

๙๘

คือ การสังเกตในขณะที่เด็กทํากิจกรรมประจําวันและเกิดพฤติกรรมที่ไมคาดคิดวาจะเกิดข้ึน ครูผูสอนตองจด
บันทึกส่ิงที่รวบรวมไดจากการสังเกตอยางเหมาะสม ทั้งนี้การบันทึกพฤติกรรมความสําคัญอยางยิ่งท่ีตองทํา
อยางชัดเจนและสม่ําเสมอ เน่ืองจากเด็กเจริญเติบโตและมีเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว การสังเกตและบันทึก
พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั สามารถใชแ บบงายๆ ดงั น้ี

๑) แบบบันทึกพฤติกรรมแบบเปนทางการ โดยกําหนดประเด็นหรือพัฒนาการที่ตองการ
สังเกต (สอดคลอ งกับสภาพท่ีพึงประสงคหรือจุดประสงคการเรียนรขู องหนวยการเรียนรู) ระบุชือ่ นามสกุลเด็ก
วนั เดอื น ป เกิด ไวลว งหนา รวมทง้ั ช่ือผทู ําการสังเกต ดําเนินการสงั เกตโดยบรรยายพฤตกิ รรมเด็กทีส่ ังเกต
ไวต ามประเด็น ผูสังเกตตองบนั ทึกวัน เดือน ปท่ีทําการสังเกตแตละครั้ง ขอมูลการสังเกตที่ครูผูสอนบันทึกลง
ในแบบบันทึกพฤติกรรมน้ีจะชวยใหครผู ูสอนเขาใจพฤติกรรมเดก็ ไดดีข้ึน และทราบวาเด็กแตละคนมีจุดเดน มี
ความตอ งการ มคี วามสนใจ หรอื ตอ งการความชวยเกลือในเร่ืองใดบาง

๒) แบบบันทึกพฤติกรรมแบบไมเปนทางการ เปนการบันทึกพฤติกรรม เหตุการณ หรอื
จากการจัดประสบการณท่ีเกดิ ขึ้นในชั้นเรียนทุกวัน โดยระบุชื่อ นามสกุล วัน เดือน ปเกิดเด็ก ผูสังเกต วัน
เดือน ปท่ีบันทึก อาจบันทึกโดยใชการบรรยาย ใคร ทําอะไร ท่ีไหน ทําอยางไร ซึ่งจะเนนเฉพาะเด็กราย
กรณีท่ีตองการศึกษา ควรมีรายละเอียดและขอมูลที่ชัดเจน ครูผูสอนควรบรรยายส่ิงท่ีเด็กทําไดมากกวาสิ่งท่ี
เด็กทําไมได และวิเคราะหประเดน็ การประเมินตามสภาพท่ีพึงประสงคอยา งเปนระบบ ขอมูลในการบันทึกตอ ง
เปนตามความเปนจริง ซึ่งขอดีของการบันทึกรายวัน คือ การช้ีใหเห็นความสามารถเฉพาะอยางของเด็ก จะ
ชวยครูผูสอนไดพิจารณาปญหาของเด็กเปนรายบุคคล รวมท้ังชวยใหผูเชี่ยวชาญมีขอมูลสําหรับวินิจฉัยเด็กได
ชัดเจนขึ้นวาสมควรจะไดรับคําปรึกษาเพ่ือลดปญหา หรือสงเสริมพัฒนาการของเด็กไดอยางถูกตองและเปน
ขอ มลู ในการพิจารณาปรับปรุงแกไขหรือพัฒนาการจดั กิจกรรมและประสบการณของครใู หดียิง่ ขึ้น

๓) แบบสํารวจรายการ โดยกําหนดประเด็กหรือพัฒนาการท่ีตองการสํารวจ (สอดคลองกับ
สภาพท่พี ึงประสงคหรือจุดประสงคการเรียนรูของหนวยการเรียนรู) ระบุช่ือ นามสกุลเด็ก วัน เดือน ป เกิด
ลวงหนา มีการกําหนดรายการพฤติกรรมท่ีตองการสํารวจละเอียดข้ึน และกําหนดเกณฑในการสํารวจ
พฤติกรรม เชน ปฏิบัติ-ไมปฏิบัติ ทําได-ทําไมได เปนตน ชวยใหครูสามารถบันทึกไดสะดวกข้ึน ควรมีการ
สาํ รวจพฤตกิ รรมในเรอื่ งเดยี วกนั อยางนอย ๓ ครั้ง เพือ่ ยนื ยนั วาเดก็ ทําไดจรงิ

ขอพึงระวงั ในการสังเกตพฤตกิ รรมของเด็ก
ระหวา งการสังเกต ไมควรแปลความพฤติกรรมของเดก็ ใหสงั เกตการแสดงออกของเด็กทีเ่ ดก็ ใช

ประสาทสัมผัสทงั้ ๕ คือ ตา หู จมกู ลน้ิ และรา งกายหรือสมั ผสั การแปลความจะดาํ เนินการหลงั เสร็จส้ิน
การสังเกตในสวนของการบนั ทกึ ครอู าจบันทกึ ยอหรือทาํ สัญลักษณไวและบันทึกเปนหลักฐานทันทีเม่ือมีเวลา

๒.๒ การบันทึกการสนทนา เปนการบันทึกการสนทนาทั้งแบบเปนกลุมหรือรายบุคคล เพื่อประเมิน
ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นและพัฒนาการดานการใชภาษาของเด็ก ความสามารถในการคิดรวบ
ยอด การแกป ญหา รวมถึงพัฒนาการดานสังคม อารมณ จิตใจ และบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึก

๙๙

พฤตกิ รรมหรอื บันทึกรายวัน โดยระบุ ช่ือ นามสกุล อายุเด็ก ภาคเรียนที่ และกิจกรรมที่ใชสนทนา ชองท่ี
ใชในการบันทึกในแบบสนทนาใหระบุ วัน เดือน ป / คําพูดของเด็ก / ความคิดเห็นของครูผูสอนที่สะทอน
พฤติกรรมที่แสดงออกของเด็กสอดคลองกับสภาพที่พึงประสงคหรือจุดประสงคการเรียนรูของหนวยการเรียน
ซึ่งขอมูลเหลา นน้จี ะเปนสวนหน่งึ ในการพิจารณาการผา นสภาพทพี่ ึงประสงคท่ีเก่ียวของในแตละเร่ือง

๒.๓ การสัมภาษณ เปนวิธีการพูดคุยกับเด็กเปนรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดลอมท่ี
เหมาะสมเพื่อไมใหเกิดความเครยี ดและวิตกกังวล ครผู ูสอนควรใชคาํ ถามท่เี หมาะสมเปด โอกาสใหเดก็ ไดค ิดและ
ตอบอยางอิสระจะทําใหค รูผูสอนสามารถประเมินความสามารถทางสติปญญาของเดก็ และคนพบศักยภาพในตัว
เดก็ ไดโ ดยบันทกึ ขอ มูลลงในแบบสัมภาษณ ครผู สู อนควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

การเตรยี มการกอนการสัมภาษณ โดยกําหนดวตั ถุประสงคของการสัมภาษณ กาํ หนดคาํ พูด/
คาํ ถามที่จะพดู กบั เด็ก ควรเปนคําถามทเ่ี ดก็ สามารถตอบโตห ลากหลายไมมผี ดิ /ถูก

การปฏิบตั ิขณะสัมภาษณ ครผู สู อนควรสรา งความคนุ เคยเปนกันเอง สรางสภาพแวดลอ ม ที่
อบอุนไมเครงเครียด ใชคําถามท่ีกําหนดไวถามเด็กท่ีละคําถาม ใหเด็กมีโอกาสคิดและมีเวลาในการตอบคําถาม
อยางอิสระ ใชระยะเวลาสัมภาษณไ มควรเกนิ ๑๐ นาที

หลังการสัมภาษณ บันทึกในแบบสมั ภาษณ ใหบันทึกคําพูดของเด็กตามความเปนจริง หลัง
เสร็จการสัมภาษณครูผูสอนคอยพิจารณาขอมูลจากคําพูดเด็กและลงความคิดเห็นที่สะทอนพฤติกรรมท่ี
แสดงออกของเด็ก สอดคลองกับสภาพที่พึงประสงคห รอื จุดประสงคการเรียนรูของหนว ยการเรยี นรูที่กําหนดไว
ซ่ึงขอมลู เหลา นีจ้ ะเปนสวนหนง่ึ ในการพิจารณาการผา นสภาพทพ่ี งึ ประสงคที่เกยี่ วของในแตล ะเร่อื ง

๒.๔ สารนิทศั นส าํ หรับเดก็ ปฐมวยั เพ่ือการประเมินพัฒนาการ
การจัดทําสารนิทัศน (Documentation) เปนการจัดทําขอมูลท่ีเปนหลักฐานหรือแสดงให

เห็นรองรอยของการเจริญเตบิ โต พัฒนาการและการเรียนรขู องเดก็ ปฐมวยั จากการทํากิจกรรมทั้งรายบุคคลและ
รายกลุม ซ่ึงหลักฐานและขอมูลท่ีบันทึกเปนระยะๆ จะเปนขอมูลอธิบายภาพเด็ก สามารถบงบอกถึง
พฒั นาการทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา สารนิทศั นจึงเปนการประมวลผลที่แสดงให
เห็นถึงกระบวนการจัดประสบการณของครูและรองรอยผลงนของเด็ก จากการทํากิจกรรมที่สะทอนถึง
พัฒนาการในดานตางๆ การจัดทําสารนิทัศนจึงเปนสวนหน่ึงของกระบวนการวัดและประเมินพัฒนากรเด็ก
ปฐมวยั ซึง่ มีหลายรปู แบบ ไดแ ก

๑) พอรตโฟลิโอสําหรับเด็กเปนรายบุคคล เชน การเก็บช้ินงานหรือภาพถายเด็กขณะทํา
กิจกรรมมีการใชเทคโนโลยีตางๆ ในการบันทึกเสียง บันทึกภาพที่แสดงใหเห็นถึงความกาวหนาในงานท่ีเด็กทํา
เปนตน

๒) การบรรยายเก่ียวกับเรื่องราวหรือประสบการณที่เด็กไดรับ เชน การสอนแบบโครงการ
(Project Approach) สามารถใหสารนิทัศนเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กทุกดาน ท้ังประสบการณการเรียนรูของ
เด็กและการสะทอ นตนเองของครู เด็กกับเด็ก การบันทึกของครู การบรรยายของพอแมผปู กครองในรูปแบบ
หนงั สอื หรอื จดหมาย แมกระท่งั การจดั แสดงบรรยายสรปุ ใหเ ห็นภาพการเรยี นรทู ้ังหมด

๓) การสังเกตและบนั ทกึ พฒั นาการเด็ก เชน ใชแบบสงั เกตพัฒนาการ การบันทึกส้ัน

๑๐๐

๔) การสะทอนตนเองของเด็ก เปนคําพูดหรือขอความท่ีสะทอนความรู ความเขาใจ
ความรสู ึกจาการสนทนา การอภิปรายแสดงความคดิ เห็นของเด็กขณะทํากิจกรรม ซึ่งอาจบันทึกดวยเทคโนโลยี
บนั ทกึ เสียง หรือบันทึกภาพ

๕) ผลงานรายบุคคลและรายกลุม ที่แสดงใหเห็นถึงการเรียนรู ความสามารถ ทักษะ จิตนิ
นัยของเด็ก ครูสามารถนําผลงานของเด็กมาใชพิจารณาพัฒนาการและกระบวนการทํางานของเด็ก ครูสวน
ใหญมักจะเก็บผลงานการเขียนและผลงานศิลปะ อยางไรก็ตามครูควรเก็บผลงานหลากหลายประเภทของเด็ก
เชน ภาพเขียน การรวมระดมความคิดเห็นและเขียนออกมาในลักษณะใยแมงมุม การแสดงออกทางดนตรี
การกอสรา งในรปู แบบตางๆ ตัวอยางคําพูด เปนตน ซง่ึ จะเปนประโยชนในการเก็บขอมูลหลกั ฐานเพื่อประเมิน
การเรยี นรแู ละประเมินพัฒนาการของเดก็ วัยขา งตน

 การจัดทําสารนิทัศนท่ีหลากหลายจะชวยครใู นแงข องการตรวจสอบคุณภาพของการศึกษาที่ดี
เน่ืองจากการศึกษาในปจจุบันเนนการประเมินเพ่ือตรวจสอบความเขมแข็งของการศึกษา ซึ่งสงผลให
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและหนวยงานที่จัดการศึกษาปฐมวัย ตองปรับปรุงประสิทธิภาพ
ของการจัดการศึกษาอยางสมํ่าเสมอ ทําใหบางหนวยงานนําแบบทดสอบมาตรฐานซึ่งไมเหมาะสมมา
ประเมนิ เด็กปฐมวยั

 ผสู อนที่จัดทําสารนิทัศนอ ยางสมํ่าเสมอ จะจัดประสบการณใหกับเด็กไดสอดคลองปญหาและ
พฒั นาการเด็ก ซ่งึ นําไปสูการพัฒนาสมองอยางชัดเจน สารนิทัศนส ามารถชวยครูใหจัดประสบการณไดตรง
ประเดน็ เนื่องจากงานวิจัยเกี่ยวกบั สมอง พบวา เด็กจะเกิดการเรียนรไู ดดี หากเขาไปมสี วนรวมและลงมือ
ปฏิบัติ กระบวนการเรียนรูท่ีสัมพันธกับความรูสึกและอาวรณมีความสําคัญอยางยิ่งตอการเรียนรูของเด็ก
เชน เด็กรูสึกตอการอานอยางไร? เด็กตองการเรียนอานหรือไม? ความรูสึกน้ีจะมีผลกระทบตอการอาน
ของเด็กในระยะวาว ดังน้ันการทดสอบดวยขอสอบมาตรฐานไมช วยเด็กเลยในดานจิตใจและความสามารถ
ซ่ึงตางจากการใชสารนิทัศนในการประเมิน จากผลการวิจับ พบวา สมองจะทํางานตอเนื่อง ไมแยกสวน
เปนวิชาหรือเปนเร่ือง ดังนั้น การใชแบบทดสอบประเมินเปนการแยกสวนของสมอง ซ่ึงจะไมบอกถึง
ความสามารถในการบูรณาการความรูของเด็กท่ีแทจริง แตการรวบรวมผลงานของเด็กจะบอกใหครูรูวา
เดก็ คดิ และบรู ณาการความคิดของตนอยา งไร

๒.๕ การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก เปนการประเมนิ การเจริญเตบิ โตดานรางกายของเด็ก
ซ่ึงการพิจารณาการเจริญเติบโตในเด็กท่ีใชทั่วๆ ไปอยางตอเน่ือง ไดแก นํ้าหนัก สวนสูง เสนรอบศีรษะ ฟน
และการเจรญิ เตบิ โตของกระดูก สําหรับแนวทางประเมนิ การเจรญิ เตบิ โต มีดังนี้

๒.๕.๑ การประเมินการเจริญเติบโต โดยการช่ังน้ําหนักและวัดสวนสูงเด็กแลวนําไป
เปรยี บเทียบกับเกณฑปกติในการแสดงนํา้ หนักตามเกณฑอ ายุของกระทรวงศึกษาธกิ าร ซึ่งใชสําหรบั ติดตามการ
เจรญิ เติบโตโดยรวม

๑๐๑

ขอ ควรคาํ นึงในการประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก
๑) เด็กแตล ะคนมีความแตกตางกันในดานการเจรญิ เตบิ โต บางคนรูปรางอวนบางคนผอม บางคน
รางใหญ บางคนรา งเล็ก
๒) ภาวะโภชนาการเปนตวั สําคัญที่เก่ยี วขอ งกับขนาดของรูปราง แตไ มใ ชส าเหตเุ ดยี ว
๓) กรรมพันธุ เด็กอาจมีรปู รา งเหมือนพอหรือแมคนใดคนหนึ่ง ถาพอหรือแมเตี้ย ลกู อาจเต้ยี และ
กรณีน้อี าจมนี ํ้าหนักต่าํ กวา เกณฑเฉลี่ยไดและมักจะเปน เด็กทีท่ านอาหารไดนอย
๔) ชวงคร่ึงหลังของขวบปแรก นํ้าหนักเด็กจะข้ึนชา เน่ืองจากหวงเลนมากขึ้นและความอยาก
อาหารลดลง

๒.๕.๒ การตรวจสุขภาพอนามัย เปนการตรวจสอบท่ีแสดงคุณภาพชีวิตของเด็ก โดย
พจิ ารณาความสะอาด สง่ิ ผดิ ปกตขิ องรา งกายที่จะสงผลตอ การดําเนนิ ชีวติ และการเจริญเติบโตของเด็ก

๓. การกาํ หนดเกณฑการประเมินและระดบั คุณภาพ
การกําหนดเกณฑการประเมินและการใหระดับคุณภาพ ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กทั้ง ๔

ดาน ในแตละสภาพที่พึงประสงค เพ่ือเชื่อมโยงไปสูการผานตัวบงชี้และมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค
ดังน้ัน ในระดับช้ันเรียนและระดับสถานศึกษาควรกําหนดในลักษณะเดียวกัน สถานศึกษาสามารถกําหนด

เกณฑการประเมินและการใหระดับคุณภาพผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กท่ีสะทอนมาตรฐานคณุ ลักษณะที่
พึงประสงค ตัวบงช้ี สภาพท่ีพึงประสงคหรือพฤติกรรมที่จะประเมิน เปนระบบตัวเลข เชน ๓, ๒, ๑ หรือ

เปน ระบบท่ใี ชค ําสาํ คัญ เชน ด,ี พอใช, ควรสง เสริม ตามท่ีสถานศึกษากําหนด

การกําหนดเกณฑก ารประเมินและการใหระดับคุณภาพ

ระบบ ระบบที่ใช ความหมาย
ตัวเลข คาํ สําคัญ

๓ ดี ปรากฏพฤติกรรมตามชวงอายุ เปนไปตามสภาพทีพ่ ึงประสงค

๒ พอใช ปรากฏพฤติกรรมตามชว งอายุ เปน ไปตามสภาพทพี่ ึงประสงค โดยมีการกระตุน

๑ ควรสงเสรมิ ไมป รากฏพฤตกิ รรมตามชวงอายทุ ี่เปน ไปตามสภาพท่ีพึงประสงค

เพ่ือนําไปสูการกําหนดเกณฑการประเมนิ ตามสภาพที่พึงประสงคท่ีกําหนดไวตามหลักสูตรการศกึ ษา

ปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๒) สถานศึกษาอาจกําหนดคําอธิบายคณุ ภาพ

ตามระดบั คุณภาพของสภาพที่พึงประสงคของพฒั นาการแตละดานเปน ๓ ระดบั ดังน้ี

๑๐๒

คาํ อธิบายคุณภาพตามระดบั คุณภาพ

ดานรางกาย : กระโดดขาเดียวไปขา งหนาอยางตอเนือ่ งโดยไมเ สยี การทรงตัว

ระดบั คุณภาพ คําอธบิ ายคุณภาพ

๓ หรอื ดี กระโดดขาเดียวไปขางหนาอยางตอเน่อื งโดยไมเสียการทรงตวั ไดอยางคลองแคลว

๒ หรอื พอใช กระโดดขาเดียวไปขางหนา อยา งตอ เนื่องโดยไมเสยี การทรงตัวเปนบางคร้งั

๑ หรือ ควรสงเสริม กระโดดขาเดียวไปขา หนาอยา งตอ เน่ืองไมได

ดา นอารมณ : สนใจ มคี วามสุข และแสดงออกผานงานศลิ ปะ

ระดบั คุณภาพ คาํ อธิบายคุณภาพ

๓ หรอื ดี แสดงสหี นา ทาทางสนใจ และมีความสขุ ขณะทํางานทกุ ชว งกิจกรรมศลิ ปะ

๒ หรอื พอใช แสดงสหี นา ทา ทางสนใจ และมคี วามสขุ ขณะทาํ งานบางชว งกิจกรรมศลิ ปะ

๑ หรอื ควรสงเสริม ไมแ สดงสีหนา ทาทางสนใจ ขณะทาํ งานชวงกิจกรรมศลิ ปะ

ดา นสงั คม : ใชส งิ่ ของเครื่องใชอ ยางประหยัดและเพียงพอดวยตนเอง

ระดบั คณุ ภาพ คําอธิบายคณุ ภาพ

๓ หรอื ดี ใชสงิ่ ของเครอื่ งใชอยางประหยัดและเพียงพอตามความจําเปนทุกครง้ั

๒ หรอื พอใช ใชส ่ิงของเครือ่ งใชอ ยา งประหยัดและเพยี งพอตามความจําเปน เปน บางครัง้
๑ หรอื ควรสงเสริม ใชส่ิงของเคร่อื งใชเ กินความจาํ เปน

ดา นสติปญ ญา : เขียนช่อื ของตนเองตามแบบ เขยี นขอความดวยวิธที ีค่ ดิ ขน้ึ เอง

ระดับคณุ ภาพ คําอธบิ ายคณุ ภาพ

๓ หรอื ดี เขียนช่ือตนเองตามแบบได ตัวอักษรไมกลับหัว ไมกลับดาน ไมสลับท่ี และเขียน

ขอความดว ยวิธที ่คี ิดข้นึ เองได

๒ หรอื พอใช เขียนชื่อตนเองตามแบบได มีอักษรตามตัวกลับหัว กลับดานหรือสลับที่มีความ

พยายามท่ีจะเขยี นขอความที่คิดขึ้นเอง

๑ หรอื ควรสงเสริม เขยี นช่อื ตนเองไมได หรอื เขยี นเปนสญั ลักษณท่ีไมเปนตัวอกั ษร

๔. การดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู
เมื่อผูสอนวางแผนการประเมินพัฒนาการแลวควรทําการสังเกตพฤติกรรมของเด็กเปนรายบุคคล

หรือรายกลุม ดวยวิธีการที่หลากหลาย เชน การพูดคุย หรอื สมั ภาษณเด็ก หรอื การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน
ของเด็กอยางเปนระบบ เพื่อรวบรวมขอ มูลพัฒนาการของเด็กใหครอบคลุมเด็กทุกคนแลวสรุปลงในแบบบันทึก

ผลการประเมินสภาพทพี่ งึ ประสงค
ในการเก็บรวบรวมขอมูลผลการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพที่พึงประสงค ผูสอนควรเก็บ

รวบรวมขอมูลเปนรายบุคคล โดยสภาพท่ีพึงประสงค ๑ ตัว ควรไดรับการประเมินพัฒนาการอยางนอย ๒
คร้ังตอ ๑ ภาคเรียน ระยะแรกควรเปนประเมินเพื่อความกา วหนาไมควรเปนการประเมินเพื่อตดั สินพัฒนาการ

๑๐๓

ของเด็ก ดังน้ัน การเก็บรวบรวมขอมูลการประเมินพัฒนาการตามสภาพที่พึงประสงค จึงเปนการสะสมเพื่อ
ยนื ยันวาเด็กเกิดพฒั นาการตามสภาพท่ีพึงประสงคน นั้ ๆ ชัดเจนและมคี วามนาเชอื่ ถอื

๕. การสรปุ ผลการประเมินพัฒนาการเดก็
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดเวลาเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยตอป

การศึกษา ไมนอยกวา ๑๘๐ วัน สถานศึกษาจึงควรบริหารจัดการเวลาเรียนใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการ
พัฒนาเด็กอยางรอบดานและสมดุล ผูสอนตองเก็บรวบรวมขอมูลพฤติกรรมท่ีแสดงถึงพัฒนาการของเด็กอยาง
ตอเนื่อง มีการประเมินซ้ําของพฤติกรรมน้ันๆ เพื่อยืนยันความเช่ือม่ันของผลการประเมิน สรปุ ผลการประเมนิ
พัฒนาการเด็กตามสภาพท่ีพงึ ประสงคใหครบทุกสภาพท่ีพึงประสงค ซึ่งจะเชอื่ มโยงไปสูการสรุปผลการประเมิน
พัฒนาการเด็กรายตัวบง ช้ี รายมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคแ ละในภาพรวมพัฒนาการรายดานของเดก็ แต
ละคนตามลาํ ดับ

สถานศึกษาควรสรุปผลการประเมินพัฒนาการเด็กรายตัวบงช้ี รายมาตรฐานคุณลักษณท่ีพึง
ประสงค และในภาพรวมของพัฒนาการรายดาน ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง สําหรับแนวทางการสรุปผลการประเมิน
พัฒนาการเด็กตามสภาพที่พึงประสงคในแตละตัวบงชี้ควรใชฐานนิยม (Mode) ไมควรนําคาระดับคุณภาพของ
สภาพท่ีพึงประสงคมาหาคา เฉล่ีย ในกรณีมีฐานนิยมมากกวา ๑ ฐานนิยม คือ มีระดับคุณภาพซ้ํามากกวา ๑
ระดับคุณภาพ การสรปุ ผลการประเมินพัฒนาการเด็กในแตละตัวบงชี้ใหอยูในดลุ ยพินิจของสถานศึกษา โดย
คํานึงถึงปรัชญาการศึกษา และหลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รวมทั้งการนํา
ขอมูลผลการประเมนิ ไปใชเ พือ่ พฒั นาเดก็ ตอไป

๖. การรายงานผลการประเมินพัฒนาการและการนําขอมูลไปใช
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการเปนการสือ่ สารใหพอแม ผูปกครองและผูเก่ียวของไดทราบ

ความกาวหนาในการเรียนรูของเด็ก ซง่ึ สถานศึกษาตองสรุปผลการประเมินพัฒนาการและจัดทําเอกสารรายงาน
ใหผูปกครองทราบเปนระยะๆ หรืออยางนอยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง การรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
สามารถรายงานเปนระดับคุณภาพตามพฤติกรรมที่แสดงออกถึงพัฒนาการแตละดานที่สะทอนมาตรฐาน
คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคท งั้ ๑๒ ขอตามหลักสตู รศึกษาปฐมวยั

๖.๑ จุดมุงหมายการรายงานผลการประเมินพฒั นาการ
๑) เพื่อใหพอ แม ผูปกครอง และผูเกี่ยวของใชเปนขอมูลในการปรับปรุงแกไข สงเสริม และ
พฒั นาเด็กใหม ีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงคในหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั
๒) เพ่ือใหผสู อนใชเปน ขอมลู ในการวางแผนการจัดประสบการณก ารเรียนรูใหมีประสิทธิภาพยิง่ ขน้ึ
๓) เพอื่ เปนขอ มูลสําหรับสถานศกึ ษา เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาและหนวยงานตน สงั กัดใชประกอบในการ
กาํ หนดนโยบายวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

๑๐๔

๖.๒ ขอมูลในการรายงานผลการประเมินพฒั นาการ
๖.๒.๑ ขอมูลระดับชั้นเรียน ประกอบดวย เวลามาเรียน บนั ทึกผลการประเมินพัฒนาการ

ตามหนว ยการเรียนรู บันทึกผลการประเมนิ พัฒนาการประจาํ ช้ัน และบันทึกผลการพัฒนาการรายบุคคล และ
จัดทําสารนทัศนท่ีสะทอนการเรียนรูของเด็ก เปนขอมูลสําหรับรายงานใหผูมีสวนเกี่ยวของ ไดแก ผูบริหาร
สถานศึกษา ครูผูสอน พอ แม ผูปกครอง ไดรับทราบความกาวหนา ความสําเร็จในการเรียนรูของเด็กเพ่ือ
นาํ ไปใชในการวางแผนกําหนดเปาหมายและวิธกี ารในการพฒั นาเด็ก

๖.๒.๒ ขอมูลระดับสถานศึกษา ประกอบดวย ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคทั้ง ๑๒ ขอ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อใชเปนขอมูลและสารสนเทศในการพัฒนาการจัด
ประสบการณและคุณภาพของเด็ก ใหเปนไปตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค รวมทั้งแจงใหผูปกครอง
และผูเกี่ยวของไดรับทราบขอ มูล โดยผมู หี นาทีร่ บั ผิดชอบแตละฝา ยนําไปใชปรับปรุงแกไขและพัฒนาเด็กใหเกดิ
พัฒนาการอยางถกู ตอ ง เหมาะสม รวมทงั้ นาํ ไปจัดนาํ เอกสารหลักฐานแสดงพฒั นาการของผเู รยี น

๖.๒.๓ ขอมูลระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ไดแก ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค ทั้ง ๑๒ ขอ ตามหลักสูตรเปนรายสถานศึกษา เพ่ือเปนขอมูลสําหรับศึกษานิเทศก ผูบริหาร
การศึกษา ผูเกี่ยวของใชวางแผนและดําเนนิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพื้นที่
การศึกษา ในการยกระดบั คุณภาพเดก็ ปฐมวยั และมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา

๖.๓ ลักษณะขอมูลสาํ หรับการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
การรายงานผลการประเมินพัฒนาการ สถานศึกษาสามารถเลือกลักษณะขอมูลสําหรับการ

รายงานไดหลายรปู แบบใหเหมาะสมกับวิธีการรายงานและสอดคลองกับการใหระดับผลการประเมินพัฒนาการ
โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพของการรายงานและการนําขอมูลไปใชประโยชนของผูรับรายงานแตละฝายลักษณะ
ขอ มูลมีรปู แบบ ดังน้ี

๖.๓.๑ รายงานเปนตวั เลขหรือคําที่เปนตัวแทนระดับคุณภาพการพัฒนาการของเดก็ ท่ีเกิดจาก
การประมวลผล สรุปตดั สินขอ มลู ผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก ไดแ ก

- ระดบั ผลการประเมนิ พัฒนาการมี ๓ ระดบั คอื ๓, ๒ , ๑
- ผลการประเมินคณุ ภาพ “ดี” “พอใช” และ “ควรสง เสริม”
๖.๓.๒ รายงานโดยใชส ถิติ เปนการรายงานจากขอมลู ที่เปนตัวเลข หรือขอความใหเปนภาพ
แผนภูมิหรือเสนพัฒนาการ ซ่ึงจะแสดงใหเห็นพัฒนาการความกาวหนาของเด็กวาดีขึ้น หรือควรไดรับการ
พัฒนาอยา งไร เมื่อเวลาเปลย่ี นแปลงไป
๖.๓.๓ รายงานเปนขอความ เปนการบรรยายพฤติกรรมหรือคุณภาพท่ีครูผูสอนสังเกตพบ
เพื่อรายงานใหทราบวา พอ แม ผูปกครองและผูเกี่ยวของทราบวาเด็กมีความสามารถ มีพฤติกรรมตาม
คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคของหลกั สตู รอยางไร
๖.๔ เปาหมายของการรายงาน
การดําเนินการจัดการศึกษาปฐมวัย ประกอบดวย บุคลากรหลายฝายมารวมมอื ประสานงาน
กันพัฒนาเด็กทั้งทางตรงและทางออม ใหมีพัฒนาการทักษะ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมและ

๑๐๕

คุณลกั ษณะอันพึงประสงคโดยผูมสี วนเกี่ยวของควรไดรับ การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กเพื่อใช
เปนขอมูลในการดําเนนิ งาน ดงั ตารางตอไปนี้

กลุมเปาหมาย การใชขอมูล
ผสู อน - วางแผนและดําเนินการปรับปรงุ แกไขและพัฒนาเดก็
- ปรบั ปรงุ แกไขและพฒั นาการจัดประสบการณ
ผูบ ริหารสถานศกึ ษา - สงเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการจัดประสบการณเรยี นรรู ะดับปฐมวัย
ของสถานศกึ ษา
พอ แม และผูปกครอง - รบั ทราบผลการประเมินพัฒนาการของเดก็
- ปรับปรงุ แกไขและพัฒนาการเรียนรูของเด็ก รวมทั้งการดูแลสุขภาพอนามยั
คณะกรรมการสถานศึกษา รา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คมและพฤตกิ รรมตา งๆ ของเด็ก
ขน้ั พนื้ ฐาน - พฒั นาแนวทางการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา
สํานักงานเขตพืน้ ท่ี
การศกึ ษา/หนวยงานตน - ยกระดับและพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพื้นที่
สงั กดั การศกึ ษา
- นิเทศ กํากบั ติดตาม ประเมินผลและใหความชว ยเหลือการพฒั นาคณุ ภาพ
การศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษาในสังกัด

๖.๕ วิธีการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ

การรายงานผลการประเมินพัฒนาการใหผูเ กี่ยวขอ งรับทราบ โดยบันทึกขอมูลในแบบรายงาน
ตางๆ สามารถใชอางอิง ตรวจสอบ และรับรองผลพัฒนาการของเด็ก เชน แบบบันทึกผลการประเมิน

พัฒนาการประจําช้ัน สมุดรายงานประจําตัวเด็ก แฟมสะสมงานของเด็กรายบุคคล นอกจากนี้ การรายงาน
คุณภาพการศึกษาปฐมวัยใหผูเกี่ยวของทราบในระดับหนวยงานอาจใชรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ปฐมวัยประจําป จุลสารหรือวารสารของโรงเรียน หรืออาจมีการใหขอมูลกับผูปกครองในลักษณะการให
คําปรกึ ษาหรือทางการสง จดหมายสว นตวั ฯลฯ

๑๐๖

๑๑. การบริหารจดั การหลักสูตรศึกษาปฐมวัย
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเปนหัวใจสําคัญของการกําหนดเปาหมายการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย

ของสถานศกึ ษา ผูบรหิ ารสถานศึกษา ผูสอน และผูเกี่ยวของทกุ ฝายจึงมีบทบาทสําคัญในการดําเนินการบริหาร
จดั การหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อเปน การสง เสรมิ ใหมกี ารนําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
ไปสูการปฏิบัติ ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาคุณภาพเด็กการบริหารจัดการหลักสูตรปฐมวัย จึง
ประกอบดวยบคุ คลที่เก่ยี วของหลายฝาย ซง่ึ มีบทบาทหนา ทสี่ าํ คัญ ดงั น้ี

บทบาทหนาทข่ี องผูเกี่ยวของในการบรหิ ารจัดการหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย
๑. ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา
มบี ทบาททสี่ ําคญั ดังน้ี
๑) ศึกษาทําความเขาใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๖๐(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒)
และมวี สิ ยั ทศั นใ นการบรหิ ารจดั การศึกษาตามหลกั การจดั การศึกษาปฐมวยั
๒) เปนผูนําในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาโดยรวมใหความเห็นชอบ กําหนดวิสัยทัศนและ
คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข องเดก็ ทกุ ชวงอายุ
๓) คัดเลือกบุคลากรที่ทํางานกับเด็ก ไดแก ผูสอน พ่ีเล้ียง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและคุณสมบัติ
ของบุคลากร เชน

- มีวุฒิทางการศกึ ษาดานการอนบุ าลศึกษา/การศึกษาปฐมวัย หรือผา นการอบรมเก่ียวกับการ
จัดการศกึ ษาปฐมวัย

- มีความรกั เดก็ จิตใจดี มีอารมณข นั และใจเย็น ใหความเปนกนั เองกับเด็กอยางเสมอภาค
- มบี ุคลกิ ของความเปนผูสอน เขา ใจและยอมรบั ธรรมชาติของเดก็ ตามวัย
- พูดจาสุภาพเรยี บรอย ชัดเจนเปน แบบอยา งได
- มคี วามเปนระเบียบ สะอาด และรูจ ักประหยัด
- มีความอดทน ขยนั ซอ่ื สัตยในการปฏิบตั ิงานในหนาท่แี ละการปฏบิ ัตติ อเด็ก
- มีอารมณรวมกับเด็ก รูจักรับฟง พิจารณาเร่ืองราวปญหาตางๆ ของเด็ก และตัดสินปญหา
ตา งๆ อยา งมเี หตุผลดวยความเปน ธรรม
- มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตดี
๔) สงเสริมและจัดบริการทางการศึกษาใหเด็กไดเขาเรยี นอยางท่ัวถึง เสมอภาค และปฏิบัติการรับเด็ก
ตามเกณฑท ่กี าํ หน
๕) สง เสรมิ ใหผ สู อนและผทู ี่ปฏิบตั ิงานกบั เด็กไดพัฒนาตนเองใหมีความรกู าวหนาอยูเสมอ
๖) สรางความรวมมือและประสานกบั บคุ ลากรทุกฝา ยในการจดั ทาํ หลกั สตู รสถานศึกษา
๗) จัดใหมีขอมูลสารสนเทศเก่ียวกับตัวเด็ก งานวิชาการหลักสูตรอยางเปนระบบและมีการ
ประชาสมั พันธหลักสูตรสถานศึกษา
๘) สนับสนุนการจัดสภาพแวดลอมส่ือ วัสดุ อุปกรณและแหลงเรียนรูท่ีเอื้ออํานวยตอการเรียนรูและ
สง เสรมิ พฒั นาการเด็ก

๑๐๗

๙) นิเทศ กํากับ ติดตามการใชหลักสตู ร โดยจดั ใหมีระบบนเิ ทศภายในอยางมีระบบ
๑๐) กํากับติดตามใหมีการประเมินคุณภาพภายในระดับปฐมวัยในสถานศึกษาและนําผลจากการ
ประเมินไปใชในการพัฒนาคุณภาพเด็ก
๑๑) กํากับติดตามใหมีการประเมินการนําหลักสูตรไปใช เพื่อนําผลจากการประเมินมาปรับปรุงและ
พฒั นาสาระของหลกั สตู รสถานศกึ ษาใหสอดคลองกับความตองการของเดก็ บรบิ ทสงั คมและใหมีความทันสมัย
๒. ผสู อนปฐมวัย

การพัฒนาคุณภาพเด็กโดยถือวาเดก็ มีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริม
ใหเดก็ สามารถพฒั นาตนตามธรรมชาติ สอดคลองกบั พัฒนาและเตม็ ตามศกั ยภาพ ผูสอนจึงมีบทบาทสําคญั ยิ่งใน
การจัดทําหลักสูตร พัฒนาหลักสูตรและนําหลักสูตรสถานศึกษาไปสูการปฏิบัติท่ีมีประสิทธิภาพทําให
กระบวนการจัดการเรียนรูดังกลาวบรรลผุ ลสําเรจ็ ตามเปาหมาย ผสู อนจึงควรมีบทบาทหนา ที่ ดังน้ี

๑) บทบาทในฐานะผูบริหารหลักสูตร
- ทําหนาท่ีวางแผน จัดทําหลักสูตรและพัฒนาหลักสูตร หนวยการเรียนรู การจัดประสบการณการ
เรียนรู การประเมินพฒั นาการ
- จัดทําแผนการจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสําคัญ ใหเด็กมีอิสระในการเรียนรู เปดโอกาสใหเด็ก
เลน /ทาํ งานและเรยี นรูท้งั รายบคุ คลและเปน กลมุ
- ประเมินผลการใชหลกั สูตร เพื่อนําผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยสอคลองกับ
ความตองการผูเ รียน ชมุ ชน และทอ งถ่ิน
๒. บทบาทในฐานะผเู สริมสรา งการเรียนรู
- จัดประสบการณการเรียนรูท่ีเด็กกําหนดขึ้นดวยตัวเด็กเอง และผูสอนกับเด็กรวมกันกําหนด เพ่ือ
พฒั นาเด็กใหครอบคลุมทุกดาน ในชีวิตประจําวันในการแสวงหาคําตอบ หรือหาคาํ ตอบในสิ่งที่เดก็ เรียนรูอยางมี
เหตผุ ล
- จัดประสบการณกระตุนใหเด็กรวมคิด แกปญหา คนควาหาคําตอบดวยตนเอง ดวยวิธีการศึกษาท่ี
นาํ ไปสกู ารใฝรู และพัฒนาตนเอง
- จัดสภาพแวดลอ มและสรางบรรยากาศการเรยี นที่สรา งเสรมิ ใหเด็กปฏิบัติผานการเลนไดเ ตม็ ศักยภาพ
และความสามารถของเด็กแตล ะคน
- สอดแทรกการอบรมดานจริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงคในการจัดการเรียนรกู ิจกวัตรประจําวัน
และกิจกรรมตา งๆ อยางสมาํ่ เสมอ
- จัดกิจกรรมการเลน ทมี่ ีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมการเรียนรูส่ิงแวดลอม ตลอดจนมีปฏิสัมพันธกับผอู ื่น
และเรยี นรูว ธิ กี ารแกปญหาขอขดั แยงตา งๆ
- ใชปฏิสมั พันธท่ดี ีระหวางผสู อนและเด็กในการดาํ เนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอนอยา งสมํา่ เสมอ
- จัดการประเมินพัฒนาการทีส่ อดคลอ งกับสภาพจริงและนําผลการประเมินมาปรบั ปรุงพัฒนาคณุ ภาพ
เดก็ เตม็ ศักยภาพและการจดั ประสบการณของตนใหม ปี ระสทิ ธิภาพ


Click to View FlipBook Version