The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:12:56

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม1

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม1

365

ศึกษาการจัดการธาตุอาหารเพื่อลดความรนุ แรงของโรคใบขาวจังหวัดขอนแกน่
Study on White Leaf Disease Reduction by Using Nutrient Balance

in Khon-Kaen Province

วนั ทนา เลศิ ศริ ิวรกลุ 1* ศุจริ ัตน์ สงวนรังศิรกิ ลุ 1 เนติรัฐ ชมุ สุวรรณ1
ศิริพร อนิ ทรเ์ นตร1 วนั รงุ่ เสอื ปู่ และนทิตา กันเมล์1

รายงานความก้าวหน้า
การจดั การธาตุอาหารเพือ่ ลดความรนุ แรงของโรคใบขาว ดำเนินการทดลองในไร่เกษตรกร จำนวน
2 แปลง แปลงที่ 1 ดำเนนิ การท่ี บ้านคอ้ ตำบลบา้ นค้อ อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น แปลงท่ี 2 ดำเนินการ
ท่ีบ้านกุดขอนแก่น ตำบลหนองไฮ อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำ
เทคโนโลยกี ารจัดการสมดุลธาตุอาหารมาใช้ลดความรนุ แรงของโรคใบขาวในออ้ ย วางแผนการทดลองแบบ
RCB 4 ซำ้ กรรมวธิ ีทดลอง คอื การจดั การธาตุอาหาร 5 วธิ ี ไดแ้ ก่ 1) ใส่ปยุ๋ ตามวธิ ีเกษตรกร 2) ใส่ปุ๋ย N-P-
K ตามค่าวิเคราะห์ดิน 3) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg ตามค่าวิเคราะห์ดิน 4) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Zn ตามค่าวิเคราะห์
ดิน และ 5) ใส่ปยุ๋ N-P-K + Mg+ Zn ตามคา่ วเิ คราะห์ดิน โดยใช้อ้อยพันธ์ุขอนแกน่ 3 จากแปลงที่ไม่พบโรคใบขาว
ผลการทดลองพบว่า แปลงที่ 1 อำเภอเมืองผลผลติ อ้อยปลูกคอ่ นข้างต่ำเน่ืองจากอ้อยกระทบแล้ง
วิธีท่ี 1 การใสป่ ุ๋ย 15-15-15 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ให้ผลผลิตเฉล่ียและผลผลิตน้ำตาลเฉลยี่ สงู ท่ีสดุ 10.1
และ 1.6 ตันต่อไร่ ตามลำดับ รองลงมาคือวิธีที่ 4 การใส่ปุ๋ย 18-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ +
ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัมต่อไร่ให้ผลผลติ เฉลี่ย และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 9.7 และ 1.5 ตันต่อไรต่ ามลำดบั
ในอ้อยตอ 1 วิธีที่ 5 การใส่ปุ๋ย 27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 40 กิโลกรัมต่อไร่ +
ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ยสูงที่สุด 6.9 และ 1.0 ตันต่อไร่
ตามลำดบั รองลงมาคือวธิ ที ่ี 3 การใสป่ ยุ๋ 27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 40 กโิ ลกรัมต่อ
ไร่ให้ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 6.3 และ 0.9 ตันต่อไร่ตามลำดับ แปลงที่ 2 อำเภอมัญจาคีรี
ผลผลิตอ้อยปลูกวิธีที่ 3 การใส่ปุ๋ย 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมต่อไร่ให้
ผลผลิตเฉล่ียและผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ยสูงทส่ี ุด 13.9 และ 1.9 ตันต่อไร่ รองลงมาคือวิธีที่ 4 การใส่ปุ๋ย 18-6-
18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ใหผ้ ลผลิตเฉลย่ี และผลผลติ นำ้ ตาลเฉลี่ย
12.5 และ 1.8 ตนั ตอ่ ไร่ ตามลำดับ ส่วนอ้อยตอ 1 วิธีที่ 4 การใส่ปุ๋ย 27-3-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ +
ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่ให้ผลผลิตเฉลี่ยและผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ยสูงที่สุด 15.6 และ 2.7 ตันต่อไร่
ตามลำดับรองลงมาคือวิธีที่ 2 การใส่ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ยและผลผลิต
นำ้ ตาลเฉลย่ี 14.4 และ 2.4 ตนั ตอ่ ไร่ ตามลำดบั

1ศูนยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแก่น สถาบันวจิ ัยพชื ไร่และพืชทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น
* Corresponding Author E-mail: [email protected]

366

การขยายผลเทคโนโลยีการจัดการธาตอุ าหารโดยใชก้ ารใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg+ Zn ในพ้ืนท่ีปลูกอ้อย
อำเภอน้ำพอง และอำเภอเขาสวนกวาง อำเภอละ 1 แปลง รวม 2 แปลง โดยใช้อ้อยสะอาดพันธุข์ อนแกน่
3 ร่วมกบั การใสป่ ยุ๋ N-P-K + Mg+ Zn เปรยี บเทียบกบั วธิ ีการใส่ปยุ๋ ของเกษตรกร ดำเนินการปลูกออ้ ยแปลง
ใหญ่ ในปี 2562 เก็บเกี่ยวผลผลิตในปี 2563 พบว่า แปลงที่ 1 อำเภอน้ำพอง วิธีแนะนำใส่ปุ๋ย 27-9-12
กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่+ โดโลไมท์ 50 กิโลกรัมต่อไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตสูง
กว่าวิธีเกษตรกรท่ใี ส่ปยุ๋ 20-12-10 อัตรา 100 กิโลกรัมตอ่ ไร่ โดยวธิ แี นะนำและวิธเี กษตรกรให้ผลผลติ เฉล่ีย
9.2 และ 8.2 ตัน/ไร่ ตามลำดับ สำหรับแปลงที่ 2 อำเภอเขาสวนกวาง วิธีแนะนำใส่ปุ๋ย 27-6-12 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 30 กิโลกรัมต่อไร่+ZnSO4.7H2O7.6 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงกว่าวิธี
เกษตรกรที่ใส่ปุ๋ย 16-16-8 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ โดยวิธีแนะนำและวิธเี กษตรกรให้ผลผลิตเฉลี่ย 15.9
และ 13.5 ตนั /ไร่ ตามลำดับ และไม่พบโรคใบขาวทั้งสองแปลง
คำสำคัญ: อ้อย, โรคใบขาว, ธาตอุ าหาร

คำนำ
เน่อื งจากพน้ื ทีป่ ลูกอ้อยในเขตภาคตะวันออกเฉยี งเหนือซ่งึ เปน็ แหลง่ ปลูกใหญ่ของประเทศเป็นพื้นท่ี
ปลูกในดินทราย และมกี ารระบาดของโรคใบขาวรนุ แรง โรคนท้ี ำใหผ้ ลผลิตออ้ ยลดลงและไว้ตอไม่ได้ซึ่งสร้าง
ความเสียหายต่อผลผลิตอ้อยเป็นอย่าง จากผลการวิจัยโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรคใบขาว
ของอ้อยปี 2549-2553 (นฤทัย และคณะ, 2553) พบว่าการเพิ่มความทนทานให้อ้อยท่ีมีต่อโรคใบขาวทำ
ได้โดยการจัดการสมดุลของธาตุอาหารในดินปลูกอ้อย โดย กอบเกียรติและคณะ (2553) พบว่าความ
รุนแรงของโรคใบขาวอ้อยในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักระบาดมากในปีฤดูกาลปลูกที่ประสบภัยแล้ง
รุนแรง (ฝนน้อยและท้ิงช่วงเป็นเวลานานกว่าปกติ) ในปี 2552/2553 พบว่า มีการระบาดของใบขาวอ้อย
ตั้งแต่ 0.001-50.0 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเกิดโรคกับอ้อยตอมากกว่าอ้อยปลูกพบในดินเนื้อหยาบ (ทรายจัด)
มากกว่าดินเนื้อละเอียด (ดินเหนียว) และที่ระดับความลึก 10-20 เซนติเมตรของดิน มีความช้ืนและความ
แน่น (มีชั้นดานเทียม) สูงกว่าปกติ สำหรับอ้อยที่มีเชื้อไฟโตพลาสมาจะแสดงอาการใบขาวหรือไม่ความ
รุนแรงของโรคมีความสัมพันธ์กับสมดุลธาตุอาหารพืช อ้อยที่เป็นโรคใบขาวจะมีการดูดใช้ฟอสฟอรัสมาก
เกินไป ความเข้มข้นของฟอสฟอรัสในพืชที่มีมากเกินไป มีธาตุสังกะสีและแมกนีเซียมน้อยกว่าอ้อยปกติ
ปริมาณความเข้มข้นและสัดส่วนของธาตุอาหารต่างๆ ในพืชมีแนวโน้มสัมพันธ์กับในดินแต่ไม่มีนัยสำคัญ
ทางสถิติการที่พืชดูดใช้ Fe มากไป จะทำให้อ้อยดูดใช้ Zn น้อยลง เม่ือสัดสว่ นของธาตอุ าหารพืชผิดปกติ
โดยเฉพาะเหล็ก/โพแทสเซียม (Fe/K ratio) เหล็ก/ไนโตรเจน (Fe/N ratio) จะทำให้กระบวนการชีวเคมี
เช่นการเคลือ่ นย้ายสารอาหาร ในอ้อยเปล่ียนแปลงไป ในทางตรงข้ามอาจทำให้อ้อยอ่อนแอลง ง่ายต่อการ
เข้าทำลายของเชื้อ และพบวา่ การใสป่ ยุ๋ ไนโตรเจนท่ีพอเพียงกบั อ้อยปลกู มีแนวโน้มทำให้เปอร์เซ็นต์ใบขาวใน
อ้อยตอ 1 ลดลง การใส่โดโลไมท์ และ/หรือซิลิคอนร่วมกับปุ๋ยเคมีก็ให้ผลเช่นเดียวกัน จากผลงานวิจัยด้าน
การจัดการธาตุอาหารที่จะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคใบขาวอ้อยที่ผ่านมาควรที่จะต่อยอดนำไปทดสอบ
เพื่อยืนยนั ผลและขยายผลในวงกว้างและใช้เป็นต้นแบบในการปอ้ งกนั กำจัดโรคใบขาวในไร่เกษตรกรตอ่ ไป

367

วิธีดำเนินการ
อปุ กรณ์

1) อ้อยพนั ธ์ุขอนแก่น 3 จากแปลงที่ไมพ่ บโรคใบขาว
2) ปุ๋ยเคมีเกรด 46-0-0 18-46-0 0-0-60 และ ZnSO4
3) ปยุ๋ คอก ปุ๋ยหมกั และกากตะกอนหม้อกรองออ้ ย
4) ปูนขาว ยบิ ซม่ั โดโลไมท์
5) สารเคมปี อ้ งกนั กำจดั ศัตรูพชื
6) สารเคมสี ำหรับวเิ คราะห์คณุ สมบตั ิทางกายภาพ และเคมขี องดนิ
7) สารเคมีสำหรับวเิ คราะหป์ ริมาณเชอ้ื ไฟโตพลาสมาในตัวอยา่ งอ้อย
8) สารเคมสี ำหรับวิเคราะห์ค่าความหวาน
9) วสั ดุ อปุ กรณ์ สำหรับเกบ็ และ บันทึกข้อมูล
วธิ กี าร
แปลงทดลอง
แบบและวธิ ีการทดลอง วางแผนการทดลองแบบ RCB 4 ซำ้
กรรมวธิ ี: การจดั การธาตอุ าหาร 5 วธิ ี

1) ใสป่ ุ๋ยตามวิธเี กษตรกร
2) ใสป่ ุ๋ย N-P-K ตามคา่ วิเคราะหด์ นิ
3) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg ตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน
4) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Zn ตามค่าวิเคราะห์ดิน
5) ใส่ปยุ๋ N-P-K + Mg+Zn ตามคา่ วิเคราะห์ดนิ
แปลงขยายผลเทคโนโลยี
แบบและวธิ ีการทดลอง ทดสอบแปลงใหญ่ไมใ่ ชแ้ ผนการทดลอง
กรรมวธิ ี: การจัดการธาตุอาหาร 2 วิธี
1) ใสป่ ยุ๋ ตามวธิ เี กษตรกร
2) ใสป่ ยุ๋ N-P-K + Mg+Zn ตามค่าวเิ คราะห์ดิน
วธิ ีปฏิบตั ิการทดลอง
ก่อนเก็บเกี่ยวอ้อยปลูกแปลงขยายผลเทคโนโลยี ทำการวัดความสูง บันทึกข้อมูลเปอร์เซ็นต์กอท่ี
เปน็ โรคใบขาว เก็บเกีย่ วอ้อยทอ่ี ายุ 10-12 เดือน บนั ทึกข้อมลู ผลผลติ และองคป์ ระกอบผลผลิต วดั ค่าซีซเี อส
การดูแลรักษาอ้อยตอ 1 หลังเก็บเกี่ยวอ้อยตอ 1 แล้วรีบแต่งตอ หากดินมีความชื้นเพียงพอ ใส่ปุ๋ยรองพนื้
โดยธาตุอาหารหลักใส่อตั ราครึ่งหน่ึงของค่าวิเคราะห์ดนิ ตามกรรมวิธี สว่ นธาตุรองใสค่ ร้งั เดยี วในช่วงรองพ้ืน
แปลงท่ีมคี ่าวเิ คราะหธ์ าตุแคลเซยี มไม่เหมาะสมให้ใส่ยปิ ซัม่ ทกุ Plot ในชว่ งใส่ป๋ยุ รองพน้ื ด้วย และธาตุอาหาร
หลกั ใส่อกี ครั้งตอนใสป่ ยุ๋ ครั้งที่ 2 โดยใส่เมือ่ ออ้ ยอายุ 5 เดือนใหค้ รบตามกรรมวิธีทดลอง โดยใช้ค่าวเิ คราะห์ดิน
เดิมของออ้ ยปลูก ไมต่ ้องเกบ็ ดินส่งวเิ คราะหใ์ หม่

368

การบนั ทกึ ข้อมลู
1) ผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต และค่าความหวานเมื่อเก็บเกี่ยว ของอ้อยปลูกแปลงขยายผล

เทคโนโลยี
2) ปริมาณธาตุอาหารในอ้อยตอ 1 แปลงขยายผลเทคโนโลยี เมื่ออายุ 6 เดือน ได้แก่ %N %P %K

%Ca %Mg %Zn และ%Fe
3) การเจริญเตบิ โตของอ้อยตอ1 แปลงขยายผลเทคโนโลยี จำนวนหนอ่ ต่อกออายุ 4 เดอื น จำนวน

ลำตอ่ กออายุ 6 เดอื น
4) เปอร์เซ็นต์กอเป็นโรคใบขาวอายุ 4 8 เดอื น และก่อนเกบ็ เกี่ยว
5) ปรมิ าณเช้อื โรคใบขาวของออ้ ยแปลงขยายผลเทคโนโลยี กอ่ นและหลงั การใส่ปยุ๋ ออ้ ยตอ 1

เวลาและสถานที่
-ระยะเวลา เรม่ิ ตน้ ตุลาคม 2558 สนิ้ สดุ กันยายน 2564
-สถานที่ทำการทดลอง ไรเ่ กษตรกร จงั หวัดขอนแกน่

ผลและวจิ ารณผ์ ลการทดลอง
ดำเนินการทดลองในไร่เกษตรกร จำนวน 2 แปลง แปลงที่ 1 ดำเนินการที่ บ้านค้อ ตำบลบ้านค้อ
อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน่ เปน็ ตัวแทนพืน้ ท่ีปลูกอ้อยท่ีมีการระบาดของโรคใบขาวน้อยพน้ื ท่ี 2 ไร่ แปลงท่ี
2 ดำเนนิ การที่บา้ นกุดขอนแก่น ตำบลหนองไฮ อำเภอมัญจาครี ี จังหวัดขอนแก่น เป็นตวั แทนพ้ืนที่ปลูกอ้อย
ที่มกี ารระบาดของโรคใบขาวปานกลางพนื้ ที่ 2 ไร่ รวม 4 ไร่
การจัดการธาตุอาหารอ้อยตอ 1 ได้นำหลักการจัดการสมดุลธาตุอาหารเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการ
เปน็ โรคใบขาวมาปรับใช้ ดังนี้ การปรับค่าความเปน็ กรดเปน็ ดา่ งของดนิ ให้เหมาะสม ถ้าดินมพี เี อช 4.5-5.0
ปรบั ปรงุ โดยการหว่านปูนขาวอัตรา 100 กิโลกรัมตอ่ ไร่ หรือใสฟ่ ิลเตอร์เค้ก 1 ตนั ตอ่ ไร่ ดินมีพีเอชน้อยกว่า
4.5 ปรับปรุงโดยการหว่านปูนขาวอตั รา 200 กิโลกรมั ต่อไร่ หรือใส่ฟิลเตอร์เค้ก 2 ตนั ต่อไร่ การจัดการธาตุ
อาหารถา้ ดนิ มีอินทรยี วัตถตุ ำ่ มาก (%OM < 0.5%) จะใสป่ ยุ๋ ไนโตรเจนเพม่ิ ข้ึน 0.5 เท่าของคำแนะนำ ในที่นี้
คำแนะนำการใส่ป๋ยุ ตามค่าวิเคราะห์ดินของออ้ ยปกติถ้า %OM < 0.5% แนะนำให้ใส่ไนโตรเจน 18 กิโลกรัม
ต่อไร่ ในอ้อยตอจะใส่ปุ๋ยไนโตรเจนเพิ่มเป็น 27 กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากนี้ยังได้นำสัดส่วนของธาตุ
โพแทสเซียมกับธาตุฟอสฟอรัสมาพิจารณาร่วมด้วย ถ้าสัดส่วนของ K/P มากกว่า 4.55 ควรเพิ่มปุ๋ย
ฟอสฟอรัสให้มากกว่าเดิม 0.3 เทา่ เนอื่ งจากดินมีคา่ K/P เกนิ ปกติ (กอบเกียรต,ิ 2553)
จากผลวเิ คราะห์ดนิ ท่ีระดับความลึก 0-30 เซนตเิ มตรพบว่า แปลงที่ 1 ลกั ษณะเนื้อดินเป็นดินร่วน
ปนทราย มคี ่าความเปน็ กรด-ดา่ ง 5.45 ปรมิ าณอนิ ทรยี วัตถุ 0.27 เปอรเ์ ซ็นต์ ฟอสฟอรสั ท่เี ป็นประโยชน์ 9
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 9 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 33
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 20 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เหล็กที่เป็นประโยชน์ 14
มิลลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรัม และสังกะสที เ่ี ปน็ ประโยชน์ 0.5 มิลลิกรมั ต่อกิโลกรมั สำหรบั แปลงที่ 2 เน้ือดินเป็นดิน
รว่ นปนทราย มีคา่ ความเป็นกรด-ด่าง 7.0 ปริมาณอนิ ทรียวตั ถุ 0.08 เปอร์เซน็ ต์ ฟอสฟอรัสทเ่ี ป็นประโยชน์

369

45.7 มิลลิกรัมตอ่ กโิ ลกรมั โพแทสเซยี มทแี่ ลกเปลีย่ นได้ 226 มิลลกิ รมั ต่อกิโลกรมั แคลเซียมทีแ่ ลกเปล่ียนได้
73 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 12.1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เหล็กที่เป็นประโยชน์ 65
มิลลิกรัมตอ่ กิโลกรัม และสงั กะสีทเ่ี ป็นประโยชน์ 2.7 มลิ ลกิ รัมตอ่ กโิ ลกรัม ซึง่ ผลวเิ คราะห์ดินแสดงในตารางที่ 1

จากค่าวิเคราะห์ดินพบว่าทั้ง 2 แปลง มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำมากมีความจำเป็นต้องจัดการธาตุ
อาหารหลกั และรองให้สมดุลและเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของออ้ ย โดยเพ่ิมเตมิ การจดั การธาตอุ าหารรองท่ี
คาดว่าจะมีผลตอ่ การลดการแสดงอาการโรคใบขาวคือธาตุแมกนเี ซียม ธาตุสังกะสี และธาตุแคลเซียม โดย
ธาตแุ มกนเี ซยี มใสใ่ นรปู ของโดโลไมท์(CaCO3 + MgCO3) ซ่งึ มี Ca 22% และมี Mg 13.5% ธาตุสังกะสี ใส่
ในรปู ZnSO4 .7H2O ซง่ึ มี Zn 21% จึงใส่ ZnSO4.7H2O = (1.6*100)/21 = 7.6 กก./ไร่ และธาตุแคลเซียม ใน
รูปยิบซ่มั (CaSO4.2H2O) ซึง่ มี Ca 23% โดยมกี ารจัดการธาตอุ าหารในออ้ ยตอ ดังน้ี

แปลงที่ 1
1) ใส่ปยุ๋ ตามวิธีเกษตรกร ใสป่ ยุ๋ 15-15-15 อตั รา 100 กิโลกรมั ต่อไร่
2) ใส่ปุ๋ย N-P-K ตามคา่ วิเคราะหด์ ิน ใส่ปยุ๋ 27-6-18 กโิ ลกรัม N-K2O-P2O5 ตอ่ ไร่
3) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg ตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย 27-6-18 กิโลกรัม N-K2O-P2O5 ต่อไร่ +
โดโลไมท์ 40 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
4) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Zn ตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย 27-6-18 กิโลกรัม N-K2O-P2O5 ต่อไร่ +
ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัมตอ่ ไร่
5) ใสป่ ุ๋ย N-P-K + Mg+Zn ตามคา่ วิเคราะห์ดิน ใสป่ ุย๋ 27-6-18 กโิ ลกรมั N-K2O-P2O5 ต่อไร่
+ โดโลไมท์ 40 กิโลกรมั ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัมตอ่ ไร่

แปลงท่ี 2
1) ใสป่ ุ๋ยตามวิธีเกษตรกร ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่
2) ใสป่ ุ๋ย N-P-K ตามค่าวเิ คราะห์ดิน ใสป่ ุ๋ย 27-3-6 กิโลกรมั N-K2O-P2O5 ต่อไร่
3) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg ตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรัม N-K2O-P2O5 ต่อไร่ +
โดโลไมท์ 50 กิโลกรัมต่อไร่
4) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Zn ตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรัม N-K2O-P2O5 ต่อไร่ +
ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่
5) ใสป่ ยุ๋ N-P-K + Mg+Zn ตามคา่ วเิ คราะห์ดนิ ใสป่ ๋ยุ 27-3-6 กิโลกรมั N-K2O-P2O5 ตอ่ ไร่ +
โดโลไมท์ 50 กโิ ลกรมั ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่

370

ตารางที่ 1 การจัดการธาตอุ าหารอ้อยตอ 1 จังหวัดขอนแก่น

parameter ขอนแกน่ แปลง 1 ขอนแก่น แปลง 2 หน่วย
ค่าวิเคราะห์ ใส่ป๋ยุ คา่ วเิ คราะห์ ใสป่ ุ๋ย
pH
OM (%) 5.45 ไมต่ ้องปรับ pH 7.00 ไมต่ ้องปรบั pH กก.ปนู ขาว/ไร่
Avai. P (ppm) 0.27 27
Exch. K (ppm) 96 0.08 27 กก.N/ไร่
Ca (ppm) 9 18
Mg (ppm) 33 100 45.7 3 กก.P2O5/ไร่
Zn (ppm) 20 40
BD * (g/cc) 0.5 7.6 226 6 กก.K2O/ไร่
นำ้ หนกั ดิน (กก./ไร่) 1.43
K (%) 457,600 73 100 กก.ยิบซม่ั /ไร่
P (%) 0.0009
Total K (กก./ไร่) 0.0009 12.1 50 กก.โดโลไมต์ /ไร่
Total P (กก./ไร)่ 22.12
K/P 10.12 2.7 3.8 กก. ZnSO4.7H2O/ไร่
* ใชค้ ่า BD = 1.43 2.19 1.43

457,600

0.0226

0.00457

109.42

24.81

4.41

ผลผลิตออ้ ยปลกู
แปลงที่ 1 อำเภอเมืองผลผลิตออ้ ยปลกู ค่อนข้างต่ำเน่ืองจากอ้อยกระทบแล้ง แปลงอำเภอเมอื งได้

ผลผลิตเฉลยี่ 8.5 ตนั ต่อไร่ กรรมวิธที ีใ่ ห้ผลผลิตเฉลย่ี สงู ท่ีสดุ คือกรรมวิธีท่ี 1 การใส่ปุ๋ยแบบเกษตรกร ใส่ปุ๋ย
15-15-15 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ให้ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 10.1 และ 1.6 ตันต่อไร่
ตามลำดับ รองลงมาคือกรรมวิธที ี่ 4 การใส่ปุ๋ย 18-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6
กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ใหผ้ ลผลิตเฉล่ีย และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 9.7 และ 1.5 ตันต่อไร่ตามลำดับ

แปลงที่ 2 อำเภอมัญจาคีรใี ห้ผลผลติ ออ้ ยปลูกเฉล่ีย 12.2 ตนั ต่อไร่ กรรมวิธที ีใ่ หผ้ ลผลติ เฉลย่ี สูงท่ีสุด
คือกรรมวิธีที่ 3 การใส่ปุ๋ย 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมต่อไร่ให้ผลผลิต
เฉลยี่ และผลผลิตนำ้ ตาลเฉลี่ย 13.9 และ 1.9 ตันต่อไร่ ตามลำดบั รองลงมาคือกรรมวธิ ที ่ี 4 การใสป่ ยุ๋ 18-6-
18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรมั ต่อไร่ใหผ้ ลผลติ เฉลย่ี และผลผลติ นำ้ ตาลเฉล่ีย
12.5 และ 1.8 ตนั ตอ่ ไร่ ตามลำดับ (ตารางที่ 2)

371

ตารางท่ี 2 จำนวนลำเก็บเก่ียวตอ่ ไร่ ผลผลิต(ตัน/ไร)่ ผลผลิตน้ำตาล(ตนั /ไร่) และซซี ีเอส ของอ้อยปลูก

แปลงทดลองการจัดการธาตุอาหารเพอื่ ลดความรนุ แรงของโรคใบขาวจงั หวัดขอนแกน่

แปลงที่ 1 (อ.เมือง) แปลงท่ี 2 (อ.มัญจาคีร)ี

กรรม จำนวนลำเกบ็ ผลผลติ ผลผลิต กรรม จำนวนลำ ผลผลติ ผลผลติ
วธิ ี เก่ยี วต่อไร่ (ตนั /ไร่) น้ำตาล ซซี ีเอส วธิ ี เก็บเกยี่ ว (ตัน/ไร่) น้ำตาล ซซี ีเอส
(ตนั /ไร่) (ตัน/ไร่)
ต่อไร่

1 7,510 10.1 1.6 15.8 1 7,413 12.3 1.8 14.5

2 6,867 7.9 1.3 15.7 2 7,441 11.2 1.6 14.2

3 5,538 6.3 1.0 15.5 3 8,685 13.9 1.9 13.8

4 6,951 9.7 1.5 15.6 4 8,308 12.5 1.8 14.4

5 6,727 8.7 1.4 15.8 5 8,028 11.0 1.6 14.6

เฉลี่ย 6,719 8.5 1.3 15.7 เฉลยี่ 7,975 12.2 1.7 14.3

F-test ns ns ns ns F-test ns ns ns ns

C.V. (%) 26.10 38.34 38.44 3.39 C.V. (%) 22.67 29.63 24.06 1.08

หมายเหตุ : แปลงที่ 1 (อ.เมอื ง) แปลงท่ี 2 (อ.มัญจาคีร)ี

1 = ใสป่ ยุ๋ 15-15-15 อตั รา 100 กโิ ลกรัมต่อไร่ 1 = ใส่ปยุ๋ 15-15-15 อตั รา 100 กิโลกรัมตอ่ ไร่

2 = ใส่ปุ๋ย 18-6-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ 2 = ใสป่ ุ๋ย 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
3 = ใสป่ ยุ๋ 18-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 3 = ใสป่ ๋ยุ 18-3-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

+ โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรมั ตอ่ ไร่

4 = ใสป่ ยุ๋ 18-6-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 4 = ใสป่ ุ๋ย 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

+ ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

5 = ใส่ปุ๋ย 18-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 5 = ใส่ปยุ๋ 18-3-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

+ โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัมตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรมั ต่อไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่

ผลผลติ อ้อยตอ 1
แปลงที่ 1 อำเภอเมอื งผลผลิตอ้อยตอ 1 คอ่ นขา้ งต่ำเนื่องจากจำนวนหลมุ หายไปมากตงั้ แต่ช่วงเป็น

อ้อยปลูก แปลงอำเภอเมืองได้ผลผลิตเฉลี่ย 5.6 ตันต่อไร่ กรรมวิธีทีใ่ ห้ผลผลิตเฉลี่ยสูงที่สุดคือกรรมวิธีที่ 5
การใสป่ ุ๋ย 27-6-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 40 กโิ ลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัม
ตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลิตเฉลย่ี และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 6.9 และ 1.0 ตันตอ่ ไร่ ตามลำดบั รองลงมาคอื กรรมวิธีท่ี 3
การใส่ปยุ๋ 27-6-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 40 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ใหผ้ ลผลิตเฉลี่ย และผลผลิต
นำ้ ตาลเฉล่ีย 6.3 และ 0.9 ตนั ตอ่ ไร่ตามลำดบั

แปลงที่ 2 อำเภอมัญจาคีรีให้ผลผลิตอ้อยตอ 1 เฉลี่ย 13.2 ตันต่อไร่ กรรมวิธีที่ให้ผลผลิตเฉลี่ยสงู
ที่สุดคือกรรมวิธีที่ 4 การใส่ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่ให้
ผลผลิตเฉลย่ี และผลผลิตนำ้ ตาลเฉลี่ย 15.6 และ 2.7 ตนั ตอ่ ไร่ ตามลำดบั รองลงมาคอื กรรมวิธีที่ 2 การใส่ปุ๋ย

372

27-3-6กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ยและผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 14.4 และ 2.4 ตันต่อไร่
ตามลำดับ (ตารางท่ี 3)

ตารางท่ี 3 จำนวนลำเกบ็ เกี่ยวต่อไร่ ผลผลติ (ตัน/ไร่) ผลผลิตนำ้ ตาล (ตัน/ไร)่ และซีซีเอส ของอ้อยตอ 1

แปลงทดลองการจดั การธาตอุ าหารเพื่อลดความรุนแรงของโรคใบขาวจังหวัดขอนแก่น

แปลงที่ 1 แปลงที่ 2

กรรมวิธี จำนวนลำ ผลผลติ ผลผลิต ซีซเี อส กรรมวิธี จำนวนลำ ผลผลิต ผลผลติ ซซี เี อส

เกบ็ เกยี่ ว (ตัน/ไร)่ นำ้ ตาล เก็บเกีย่ ว (ตนั /ไร่) น้ำตาล

ต่อไร่ (ตัน/ไร่) ตอ่ ไร่ (ตนั /ไร่)

1 5,329 4.0 0.6 13.9 1 7,298 b1/ 10.5 b1/ 1.7 b1/ 16.5

2 6,056 5.2 0.7 14.1 2 9,663 a 14.4 ab 2.4 ab 16.5

3 6,531 6.3 0.9 14.7 3 8,981 ab 13.2 ab 2.2 ab 16.2

4 6,462 5.5 0.8 14.4 4 9,519 a 15.6 a 2.7 a 17.2

5 7,888 6.9 1.0 14.5 5 8,490 ab 12.4 ab 2.1 ab 17.0

เฉล่ยี 6,453 5.6 0.8 14.3 เฉลย่ี 8,790 13.2 2.2 16.7

F-test ns ns ns ns F-test * * * ns

C.V.(%) 42.44 65.82 62.79 6.91 C.V.(%) 9.57 15.38 17.56 4.05

1/ตัวอักษรทีเ่ หมอื นกันแสดงวา่ ไมม่ คี วามแตกต่างกนั ทางสถิตทิ ่ีระดับความเชอื่ มั่น 95% แปลงท่ี 2 (อ.มญั จาคีรี)
* มีความแตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สำคญั ย่ิงทางสถิติทรี่ ะดับความเช่ือมนั่ 95% ด้วยวิธี DMRT
ns ไม่แตกตา่ งกันทางสถติ ิ

หมายเหตุ : แปลงท่ี 1 (อ.เมอื ง)

1 = ใสป่ ุ๋ย 15-15-15 อตั รา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ 1 = ใสป่ ุ๋ย 15-15-15 อตั รา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่

2 = ใสป่ ุ๋ย 27-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 2 = ใสป่ ยุ๋ 27-3-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
3 = ใสป่ ยุ๋ 27-6-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ 3 = ใสป่ ุ๋ย 27-3-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

+ โดโลไมท์ 40 กิโลกรมั ต่อไร่ + โดโลไมท์ 50 กิโลกรัมต่อไร่

4 = ใสป่ ยุ๋ 27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 4 = ใสป่ ุ๋ย 27-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

+ ZnSO4.7H2O 7.6 กโิ ลกรมั ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

5 = ใส่ปุ๋ย 27-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 5 = ใสป่ ๋ยุ 27-3-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่

+ โดโลไมท์ 40 กิโลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัมต่อไร่ + โดโลไมท์ 50 กิโลกรัมตอ่ ไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ต่อไร่

การขยายผลเทคโนโลยี
วิเคราะห์กรรมวธิ ีทีส่ ามารถลดความรุนแรงของโรคใบขาวในสภาพไร่ เพื่อการขยายผลเทคโนโลยี

การลดความรุนแรงของโรคใบขาวโดยการจัดการสมดลุ ของธาตอุ าหารในแปลงปลกู อ้อยจังหวัดขอนแกน่
แปลงท่ี 1 (อ.เมอื ง) พบว่าด้านผลผลติ ในออ้ ยปลกู วิธที ี่ 1 การใส่ปุ๋ย 15-15-15 อตั รา 100 กิโลกรมั

ตอ่ ไร่ ให้ผลผลิตสงู ท่ีสุด 10.1 ตนั /ไร่ แต่ในออ้ ยตอ 1 วิธีท่ี 5 การใสป่ ๋ยุ 27-6-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อ
ไร่ + โดโลไมท์ 40 กิโลกรมั ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ใหผ้ ลผลิตสงู สดุ 6.9 ตนั /ไร่ เมื่อพจิ ารณา
ผลผลิตเฉลี่ยทั้งออ้ ยปลกู และอ้อยตอ 1 แล้วพบว่า วิธีที่ 5 การใส่ปุย๋ N-P-K+Mg+Zn ให้ผลผลิตสูงสุด 7.8
ตัน/ไร่ สำหรบั ในด้านการเป็นโรคใบขาวในอ้อยปลูกวธิ ีที่ 1 การใสป่ ุ๋ย 15-15-15 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่

373

มีเปอร์เซ็นต์การเป็นโรคใบขาวร้อยละ 0.1 เพียงกรรมวิธีเดียว ส่วนในอ้อยตอ 1 ไม่พบโรคใบขาวในวิธที ี่ 3
การใสป่ ๋ยุ 27-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 40 กโิ ลกรมั ต่อไร่ และพบใบขาวมากท่ีสุดร้อย
ละ 0.99 ในวิธีที่ 2 การใส่ปุ๋ย 27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ และเมื่อพจิ ารณาการเป็นใบขาวเฉล่ีย
ท้งั ในออ้ ยปลูกและอ้อยตอ 1 แลว้ ไมพ่ บโรคใบขาวใน วธิ ที ่ี 3 การใส่ปุย๋ 27-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อ
ไร่ + โดโลไมท์ 40 กิโลกรัมต่อไร่ และพบใบขาวในระดับต่ำร้อยละ 0.1 ในวิธีที่ 5 การใส่ปุ๋ย 27-6-18
กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่+โดโลไมท์ 40 กโิ ลกรัมต่อไร่+ZnSO4.7H2O 7.6 กโิ ลกรมั ต่อไร่ (ตารางท่ี 4)

แปลงที่ 2 (อ.มัญจาครี )ี พบว่าด้านผลผลติ ในออ้ ยปลูกวิธีที่ 3 ใส่ปุ๋ย 27-3-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O
ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 50 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ใหผ้ ลผลิตอ้อยปลูกสูงท่ีสุด 13.9 ตัน/ไร่ แต่ในออ้ ยตอ 1 วธิ ีที่ 4 การใส่
ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลิตสูงสุด 15.6 ตนั /ไร่
เมือ่ พจิ ารณาผลผลติ เฉลีย่ ทัง้ อ้อยปลูกและอ้อยตอ 1 แลว้ พบว่า วธิ ที ี่ 4 ใสป่ ุ๋ย 27-3-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O
ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่ ใหผ้ ลผลิตเฉลย่ี สูงสดุ 14.1 ตัน/ไร่ สำหรับในด้านการเปน็ โรคใบขาว
ในอ้อยปลกู วธิ ที ่ี 3 ใส่ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 50 กโิ ลกรัมต่อไร่ และ วธิ ีที่ 5
การใสป่ ุย๋ 27-3-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 50 กิโลกรัมตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรมั ต่อ
ไร่ มเี ปอร์เซน็ ต์การเปน็ โรคใบขาวร้อยละ 0.1 ส่วนในออ้ ยตอ 1 มีการเปน็ โรคใบขาวเพ่มิ ข้นึ จากออ้ ยปลูกมาก
โดยวธิ ีที่ 3 ใสป่ ุ๋ย 27-3-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 50 กโิ ลกรมั ต่อไร่ พบใบขาวมากทีส่ ุดรอ้ ย
ละ 3.07 และวิธีท่ี 5 ใสป่ ยุ๋ 27-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 50 กโิ ลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O
3.8 กิโลกรัมต่อไร่พบใบขาวนอ้ ยทส่ี ุดรอ้ ยละ 0.31 เมื่อพิจารณาจากค่าเฉลี่ยของการพบโรคใบขาวทั้งในอ้อย
ปลูกและออ้ ยตอ 1 พบว่าให้ผลในลักษณะเดยี วกัน (ตารางท่ี 5)

เมือ่ พิจารณาจากผลผลติ เฉลยี่ และเปอร์เซ็นต์การเป็นโรคใบขาวแลว้ จงึ เลือกเทคโนโลยีการจดั การ
ธาตอุ าหารโดยนำการใสป่ ๋ยุ N-P-K + Mg+ Zn ไปขยายผลในพื้นท่ปี ลูกอ้อยอำเภอนำ้ พอง และอำเภอเขา
สวนกวาง อำเภอละ 1 แปลง รวม 2 แปลง โดยใช้ออ้ ยสะอาดพนั ธุ์ขอนแก่น 3 ร่วมกบั การใส่ปุ๋ย N-P-
K+Mg+Zn เปรียบเทยี บกับวิธเี กษตรกร ดำเนินการคดั เลือกแปลงปลกู อ้อย แปลงท่ี 1 นายยงคย์ ุทธ บญุ มาก
บา้ นเลขท่ี 242 หมู่ 1 บา้ นกุดนำ้ ใส ต.มว่ งหวาน อ.นำ้ พอง จ.ขอนแก่น และแปลงที่ 2 นางแพงศรี แพง
บวั โฮม บ้านเลขท่ี 226 หมู่ 9 บา้ นโนนสงา่ ต.คำม่วง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแกน่ ดำเนินการปลกู ออ้ ยแปลง
ใหญใ่ นปี 2562 เกบ็ เกยี่ วผลผลติ ในปี 2563 (ตารางท่ี 6) การขยายผลในแปลงใหญ่ โดยการใส่ป๋ยุ N-P-
K+Mg+Zn ตามค่าวเิ คราะห์ดนิ พบว่า แปลงที่ 1 วธิ ีแนะนำใส่ป๋ยุ 27-9-12 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่+
โดโลไมท์ 50 กิโลกรมั ต่อไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงกว่าวิธีเกษตรกรทใ่ี สป่ ุ๋ย 20-12-
10 อตั รา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ โดยวธิ ีแนะนำและวิธีเกษตรกรให้ผลผลิตเฉล่ีย 9.2 และ 8.2 ตนั /ไร่ ตามลำดับ
สำหรบั แปลงที่ 2 วิธีแนะนำใส่ปุ๋ย 27-6-12 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 30 กโิ ลกรมั ต่อ
ไร่+ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรมั ต่อไร่ ใหผ้ ลผลติ สูงกวา่ วิธีเกษตรกรทใี่ สป่ ยุ๋ 16-16-8 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่
โดยวธิ ีแนะนำและวธิ เี กษตรกรให้ผลผลิตเฉลีย่ 15.9 และ 13.5 ตนั /ไร่ ตามลำดบั และไม่พบโรคใบขาวท้งั
สองแปลง

374

ตารางที่ 4 ผลผลิต ผลผลติ น้ำตาล และ เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารเปน็ โรคใบขาวของออ้ ยปลกู และอ้อยตอ 1 ของ

แปลงท่ี 1 อำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น

กรรมวิธี ผลผลิตออ้ ยปลูก ผลผลิตออ้ ยตอ 1 ผลผลิตเฉลีย่ % ใบขาว % ใบขาว % ใบขาว

(ตนั /ไร่) (ตัน/ไร่) (ตนั /ไร่) อ้อยปลูก ออ้ ยตอ 1 เฉลี่ย

1 10.1 4.0 7.1 0.1 0.59 0.34

2 7.9 5.2 6.6 - 0.99 0.49

3 6.3 6.3 6.3 - 0.00 0.00

4 9.7 5.5 7.6 - 0.67 0.34

5 8.7 6.9 7.8 - 0.21 0.10

เฉลย่ี 8.5 5.6 7.1 0.02 0.49 0.26

F-test ns ns ns - - -

C.V.(%) 38.34 65.82 28.62 - - -

ns ไมแ่ ตกต่างกันทางสถติ ิ การใส่ปุ๋ยอ้อยตอ 1
หมายเหตุ : การใสป่ ยุ๋ อ้อยปลกู
1 = ใสป่ ุ๋ย 15-15-15 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่
1 = ใสป่ ยุ๋ 15-15-15 อตั รา 100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ 2 = ใส่ปุ๋ย 27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
2 = ใส่ปยุ๋ 18-6-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 3 = ใส่ปุย๋ 27-6-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 40
3 = ใส่ปยุ๋ 18-6-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่
กิโลกรัมตอ่ ไร่
+ โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ 4 = ใส่ป๋ยุ 27-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6
4 = ใสป่ ยุ๋ 18-6-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
+ ZnSO4.7H2O 7.6 กโิ ลกรมั ต่อไร่ 5 = ใสป่ ุ๋ย 27-6-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 40 กโิ ลกรมั
5 = ใสป่ ุ๋ย 18-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
ตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6 กิโลกรัมต่อไร่
+ โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 7.6 กโิ ลกรมั ต่อไร่

ตารางที่ 5 ผลผลิต ผลผลิตน้ำตาล และ เปอร์เซ็นตก์ ารเปน็ โรคใบขาวของออ้ ยปลูก และออ้ ยตอ 1 ของ

แปลงที่ 2 อำเภอมัญจาครี ี จังหวัดขอนแกน่

กรรมวิธี ผลผลิตออ้ ยปลูก ผลผลติ ออ้ ยตอ 1 ผลผลติ เฉล่ยี % ใบขาว % ใบขาว % ใบขาว
ออ้ ยปลูก ออ้ ยตอ 1 เฉลี่ย
(ตัน/ไร)่ (ตนั /ไร)่ (ตัน/ไร)่

1 12.3 10.5 b 11.4 - 1.60 0.80

2 11.2 14.4 ab 12.8 - 0.49 0.25

3 13.9 13.2 ab 13.6 0.1 3.07 1.59

4 12.5 15.6 a 14.1 0.1 1.95 1.02

5 11.0 12.4 ab 11.7 - 0.31 0.15

เฉล่ีย 12.2 13.2 12.7 0.04 1.48 0.76

F-test ns * ns - - -

C.V.(%) 29.63 15.38 13.79 - - -

ns ไม่แตกต่างกันทางสถติ ิ

375

หมายเหตุ : การใสป่ ุ๋ยอ้อยปลูก การใสป่ ุ๋ยอ้อยตอ 1

1 = ใสป่ ยุ๋ 15-15-15 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ 1 = ใสป่ ยุ๋ 15-15-15 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่
2 = ใส่ปุ๋ย 18-3-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ 2 = ใส่ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
3 = ใส่ปุ๋ย 18-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 3 = ใสป่ ุ๋ย 27-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่

+ โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรัมต่อไร่ + โดโลไมท์ 50 กิโลกรัมต่อไร่
4 = ใสป่ ๋ยุ 18-3-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 4 = ใส่ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่

+ ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ต่อไร่
5 = ใส่ปุ๋ย 18-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ 5 = ใสป่ ุย๋ 27-3-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

+ โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 50 กิโลกรัมต่อไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมตอ่ ไร่

ตารางที่ 6 ผลผลิต ผลผลิตนำ้ ตาล และ เปอร์เซ็นต์การเป็นโรคใบขาวของออ้ ยปลกู แปลงขยายผลเทคโนโลยี

การจัดการธาตอุ าหารเพอื่ ลดความรุนแรงของโรคใบขาวจังหวดั ขอนแกน่

แปลงท่ี 1

กรรมวธิ ี จำนวนลำ ผลผลิต ผลผลิต ซีซเี อส % ใบขาว

เก็บเกยี่ วตอ่ ไร่ (ตนั /ไร)่ นำ้ ตาล(ตัน/ไร่) ออ้ ยปลูก

1. วธิ ีเกษตรกร 11,182 8.9 1.62 18.1 0.

2. วิธีแนะนำ 12,533 9.2 1.75 18.9 0

เฉลย่ี 11,857 9.1 1.69 18.5 0

แปลงท่ี 2

กรรมวิธี จำนวนลำ ผลผลติ ผลผลติ ซีซเี อส % ใบขาว

เกบ็ เกีย่ วตอ่ ไร่ (ตัน/ไร่) นำ้ ตาล(ตัน/ไร)่ ออ้ ยปลกู

1. วิธีเกษตรกร 10,400 13.5 1.36 10.0 0

2. วิธีแนะนำ 10,800 15.9 1.62 10.23 0

เฉลี่ย 10,600 14.7 1.49 10.12 0

หมายเหตุ : แปลงที่ 1 (อำเภอน้ำพอง)

1. วิธเี กษตรกร ใส่ป๋ยุ 20-12-10 อัตรา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

2. วิธแี นะนำ ใสป่ ุ๋ย 27-9-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 50 กิโลกรัมตอ่ ไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่
แปลงท่ี 2 (อำเภอเขาสวนกวาง)

1. วิธเี กษตรกร ใส่ปยุ๋ 16-16-8 อัตรา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่

2. วิธแี นะนำ ใสป่ ยุ๋ 27-6-12 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 30 กิโลกรัมต่อไร่+ZnSO4.7H2O 7.6 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

376

สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
สรุปจงั หวดั ขอนแก่น

แปลงทดลอง
- ด้านผลผลิต การใส่ปุ๋ย N-P-K + Zn ตามค่าวิเคราะหด์ ินให้ผลผลิตอ้อยสูงที่สุดเฉล่ีย 10.9 ตนั /ไร่
- การเปน็ โรคใบขาว การใสป่ ยุ๋ N-P-K+Mg+Zn ตามคา่ วเิ คราะห์ดนิ อ้อยแสดงอาการใบขาวนอ้ ยท่ีสดุ

แปลงขยายผลเทคโนโลยี
การขยายผลในแปลงใหญ่ โดยการใส่ปุ๋ย N-P-K+Mg+Zn ตามคา่ วิเคราะหด์ ินพบวา่ วิธแี นะนำ

ใหผ้ ลผลิตสูงกว่าวิธีเกษตรกร โดยวธิ แี นะนำและวธิ ีเกษตรกรให้ผลผลิตเฉลยี่ 12.6 และ 11.2 ตัน/ไร่
ตามลำดบั โดยไมพ่ บโรคใบขาวในแปลงขยายผลเทคโนโลยที ้งั สองแปลง

เอกสารอา้ งองิ

กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ ธงชัย ตงั้ เปรมศรี ศภุ กาญจน์ ล้วนมณี ศจุ ริ ัตน์ สงวนรงั ศริ กิ ุล วันทนา ตั้งเปรมศรี นลิ บุ ล ทวกี ุล
ทกั ษณิ า ศนั สยะวชิ ัย เกษม ชูสอน. 2553. การจดั การสมดลุ ธาตอุ าหารพชื เพ่อื เพม่ิ ความทนทานของออ้ ยท่ีมีต่อโรค
ใบขาวในเขตภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ. หนา้ 302-304. ใน รายงานผลงานวจิ ยั ศูนยว์ จิ ัยพชื ไร่ขอนแก่น ประจำปี
2553. ศูนย์วิจัยพชื ไร่ขอนแก่นสถาบันวิจยั พืชไร่ กรมวชิ าการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

นฤทยั วรสถิตย์ วรี ะพล พลรักดี ศจุ ริ ตั น์ สงวนรังศิริกลุ กาญจนา กิระศกั ด์ิ นลิ บุ ล ทวีกลุ ทกั ษณิ า ศันสยะวชิ ัย ปรีชา กา
เพ็ชร รังษี เจรญิ สถาพร อิสระ พทุ ธสมิ มา สุนี ศรสี งิ ห์ สุพตั รา ดลโสภณ กนกพร เมาลานนท์ วิภาวรรณ กิตติ
วชั ระเจรญิ ณัฐกฤต พิทกั ษ์ อมรา ไตรศริ ิ สุพจน์ กติ ตปิ ัญญา และ ประพันธ์ ประเสรฐิ ศักดิ์. 2553. การวจิ ัยและ
พฒั นาเพอ่ื แกป้ ญั หาโรคใบขาวของอ้อย. หน้า 5051-5073. ใน : ผลงานแผนงานฉบบั สมบรู ณ์ ปี 2549-2553. กรม
วิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ศุจริ ตั น์ สงวนรังศิรกิ ุล ธรี วฒุ ิ วงศว์ รัตน์ ทักษณิ า ศนั สยะวิชัย สุนี ศรีสงิ ห์ รังสี เจรญิ สถาพรประพันธ์ ประเสรฐิ ศักดิ์
และ กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ. 2558. วธิ ีตรวจและวินิจฉยั โรคใบขาวของอ้อยด้วยเทคนคิ พีซอี าร์. ผลงานวิจยั ดเี ด่น
กรมวชิ าการเกษตร ประจำปี 2557 กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 69-89.

377

ศกึ ษาการจัดการธาตอุ าหารเพอื่ ลดความรุนแรงของโรคใบขาวจังหวดั กาฬสินธุ์
Study on White Leaf Disease Reduction by Using Nutrient Balance

in Kalasin Province

วนั ทนา เลศิ ศิรวิ รกุล1* ศจุ ริ ตั น์ สงวนรังศริ กิ ลุ 1 เนตริ ฐั ชมุ สุวรรณ1
ศิริพร อนิ ทรเ์ นตร1 วันรุง่ เสือปู่1 และนทิตา กันเมล์1

รายงานความกา้ วหน้า
การจดั การธาตุอาหารเพอื่ ลดความรนุ แรงของโรคใบขาว ดำเนนิ การทดลองในไร่เกษตรกร จำนวน
2 แปลง แปลงท่ี 1 ดำเนนิ การที่ บา้ นหาดทรายมลู อำเภอห้วยเมก็ จงั หวัดกาฬสินธุ์ แปลงท่ี 2 ดำเนินการท่ี
บ้านห้วยยางดง ตำบลโคกเครือ อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำ
เทคโนโลยกี ารจัดการสมดุลธาตุอาหารมาใช้ลดความรนุ แรงของโรคใบขาวในอ้อย วางแผนการทดลองแบบ
RCB 4 ซำ้ กรรมวิธที ดลอง เปน็ การจดั การธาตุอาหาร 5 วธิ ี ไดแ้ ก่ 1) ใสป่ ุย๋ ตามวธิ เี กษตรกร 2) ใสป่ ๋ยุ N-P-
K ตามค่าวิเคราะห์ดิน 3) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg ตามค่าวิเคราะห์ดิน 4) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Zn ตามค่าวิเคราะห์ดิน
และ 5) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg+ Zn ตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน โดยใชอ้ อ้ ยพนั ธุข์ อนแก่น3 จากแปลงทไี่ มพ่ บโรคใบขาว
ผลการทดลองพบว่า แปลงที่ 1 อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธ์ุ วิธีที่ 1 การใส่ปุ๋ย 16-8-8 อัตรา
100 กิโลกรัมต่อไร่ให้ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ยสูงที่สุด 18.8 และ 2.1 ตันต่อไร่ ตามลำดับ
รองลงมาคือวิธีที่ 2 และ 3 คือการใส่ปุ๋ย 18-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ และการใส่ปุ๋ย 18-6-6
กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 15.0 ตันต่อไร่เท่ากัน แต่ให้
ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 1.8 และ 2.0 ตันต่อไร่ ตามลำดับ เนื่องจากกรรมวิธีที่ 3 ให้ค่าซีซีเอส 13.3 สูงกว่า
กรรมวิธีที่ 2 ที่ให้ค่าซีซีเอส 12.3 ส่วนผลผลิตอ้อยตอ 1 วิธีท่ี 2 การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน 27-6-6
กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ยสูงที่สุด 9.9 และ 1.6 ตันต่อไร่
ตามลำดับ รองลงมาคอื วธิ ที ่ี 5 การใส่ปุ๋ย 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่+ โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ต่อไร่
+ ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 9.6 ตันต่อไร่ และให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 1.6 ตันต่อไร่
ตามลำดบั แปลงที่ 2 อำเภอหนองกงุ ศรี จงั หวัดกาฬสินธ์ุ วธิ ที ่ี 1 การใสป่ ยุ๋ 16-8-8 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อ
ไร่ ใหผ้ ลผลิตเฉลีย่ และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ยสูงที่สุด 16.1 และ 2.3 ตนั ต่อไร่ ตามลำดับ รองลงมาคือวิธีที่ 2
ใสป่ ยุ๋ 18-9-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลติ เฉลยี่ และผลผลิตนำ้ ตาลเฉลี่ย 16.0 และ 2.3 ตนั ตอ่ ไร่
ตามลำดับ ในอ้อยตอวิธที ่ี 3 การใส่ป๋ยุ 27-15-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 45 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
ให้ผลผลิตเฉลย่ี และผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ยสูงที่สุด 9.3 และ 1.2 ตันต่อไร่ รองลงมาคอื วิธีที่ 1 การใส่ปยุ๋ 16-8-
8 อัตรา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลติ เฉล่ียและผลผลิตนำ้ ตาลเฉลย่ี 8.9 และ 1.3 ตนั ตอ่ ไร่ ตามลำดับ

1ศูนย์วจิ ัยพืชไรข่ อนแก่น สถาบนั วจิ ัยพชื ไร่และพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น

* Corresponding Author E-mail: [email protected]

378

การขยายผลเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารโดยการใส่ปุ๋ย N-P-K+Mg+Zn ในพื้นที่ปลูกอ้อย
อำเภอห้วยเมก็ และอำเภอหนองกงุ ศรี อำเภอละ 1 แปลง รวม 2 แปลง โดยใช้อ้อยสะอาดพันธุข์ อนแก่น 3
ร่วมกับการใส่ปุ๋ย N-P-K+Mg+Zn เปรียบเทียบกับวิธีเกษตรกร ดำเนินการปลูกอ้อยแปลงใหญ่ในปี 2562
เก็บเกี่ยวผลผลิตในปี 2563 พบว่า แปลงที่ 1 อำเภอห้วยเม็ก วิธีแนะนำใส่ปุ๋ย 27-9-18 กิโลกรัม N-P2O5-
K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 65 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ให้ผลผลิตเฉล่ีย 10.6 ตัน/ไร่ สูง
กว่าวิธเี กษตรกรทใ่ี ส่ป๋ยุ 21-4-10 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใหผ้ ลผลิตเฉลยี่ 9.4 ตนั /ไร่ พบใบขาวในวิธี
แนะนำร้อยละ 0.5 น้อยกว่าวธิ ีเกษตรกรซึ่งพบใบขาวร้อยละ 0.7 สำหรับแปลงที่ 2 อำเภอหนองกุงศรี วิธี
เกษตรกรใสป่ ยุ๋ 27-27-27 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลติ เฉลยี่ 17.0 ตนั /ไร่ สงู กวา่ วธิ แี นะนำใส่ปุ๋ย
27-6-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 75 กิโลกรัมต่อไร่+ZnSO4.7H2O7.6 กิโลกรัมต่อไร่ โดย
ให้ผลผลติ เฉลยี่ 16.0 ตนั /ไร่ และทง้ั สองกรรมวิธไี ม่พบโรคใบขาว
คำสำคัญ: อ้อย, โรคใบขาว, ธาตุอาหาร

คำนำ
เนอ่ื งจากพ้ืนทป่ี ลูกอ้อยในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงเป็นแหลง่ ปลกู ใหญข่ องประเทศเป็นพ้ืนที่
ปลกู ในดนิ ทราย และมกี ารระบาดของโรคใบขาวรนุ แรง โรคน้ีทำใหผ้ ลผลิตอ้อยลดลงและไวต้ อไมไ่ ด้ซึ่งสร้าง
ความเสียหายต่อผลผลิตอ้อยเป็นอย่าง จากผลการวิจัยโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรคใบขาว
ของอ้อยปี 2549-2553 (นฤทัย และคณะ, 2553) พบว่าการเพ่ิมความทนทานให้อ้อยท่ีมีต่อโรคใบขาวทำ
ได้โดยการจัดการสมดุลของธาตุอาหารในดินปลูกอ้อย โดย กอบเกียรติและคณะ (2553) พบว่าความ
รุนแรงของโรคใบขาวอ้อยในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักระบาดมากในปีฤดูกาลปลูกที่ประสบภัยแล้ง
รุนแรง (ฝนน้อยและท้ิงช่วงเป็นเวลานานกว่าปกติ) ในปี 2552/2553 พบว่า มีการระบาดของใบขาวอ้อย
ตั้งแต่ 0.001-50.0 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเกิดโรคกับอ้อยตอมากกว่าอ้อยปลูกพบในดินเนื้อหยาบ (ทรายจัด)
มากกว่าดินเน้ือละเอียด (ดินเหนียว) และที่ระดับความลึก 10-20 เซนติเมตรของดิน มีความช้ืนและความ
แน่น (มีชั้นดานเทียม) สูงกว่าปกติ สำหรับอ้อยที่มีเชื้อไฟโตพลาสมาจะแสดงอาการใบขาวหรือไม่ความ
รุนแรงของโรคมีความสัมพันธ์กับสมดุลธาตุอาหารพืช อ้อยที่เป็นโรคใบขาวจะมีการดูดใช้ฟอสฟอรัสมาก
เกินไป ความเข้มข้นของฟอสฟอรัสในพืชที่มีมากเกินไป มีธาตุสังกะสีและแมกนีเซียมน้อยกว่าอ้อยปกติ
ปริมาณความเข้มข้นและสัดส่วนของธาตุอาหารต่างๆ ในพืชมีแนวโน้มสัมพันธ์กับในดินแต่ไม่มีนัยสำคัญ
ทางสถิติการที่พืชดูดใช้ Fe มากไป จะทำให้อ้อยดูดใช้ Zn น้อยลง เมอื่ สดั สว่ นของธาตอุ าหารพืชผิดปกติ
โดยเฉพาะเหล็ก/โพแทสเซียม (Fe/K ratio) เหล็ก/ไนโตรเจน (Fe/N ratio) จะทำให้กระบวนการชีวเคมี
เช่นการเคลื่อนย้ายสารอาหาร ในอ้อยเปล่ียนแปลงไป ในทางตรงข้ามอาจทำใหอ้ อ้ ยอ่อนแอลง ง่ายต่อการ
เขา้ ทำลายของเชือ้ และพบวา่ การใส่ปยุ๋ ไนโตรเจนทพี่ อเพยี งกับอ้อยปลกู มีแนวโนม้ ทำให้เปอรเ์ ซ็นต์ใบขาวใน
อ้อยตอ 1 ลดลง การใส่โดโลไมท์ และ/หรือซิลิคอนร่วมกับปุ๋ยเคมีก็ให้ผลเช่นเดียวกัน จากผลงานวิจัยด้าน
การจัดการธาตุอาหารที่จะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคใบขาวอ้อยที่ผ่านมาควรที่จะต่อยอดนำไปทดสอบ
เพ่ือยนื ยันผลและขยายผลในวงกวา้ งและใช้เปน็ ต้นแบบในการป้องกนั กำจัดโรคใบขาวในไรเ่ กษตรกรตอ่ ไป

379

วิธดี ำเนนิ การ
อปุ กรณ์

1) ออ้ ยพันธข์ุ อนแก่น 3 จากแปลงท่ีไม่พบโรคใบขาว
2) ป๋ยุ เคมเี กรด 46-0-0 18-46-0 0-0-60 และ ZnSO4
3) ปุ๋ยคอก ปยุ๋ หมกั และกากตะกอนหมอ้ กรองอ้อย
4) ปนู ขาว ยบิ ซัม่ โดโลไมท์
5) สารเคมปี อ้ งกันกำจัดศัตรพู ืช
6) สารเคมีสำหรบั วเิ คราะห์คณุ สมบัตทิ างกายภาพ และเคมขี องดนิ
7) สารเคมสี ำหรับวิเคราะห์ปรมิ าณเชื้อไฟโตพลาสมาในตัวอย่างอ้อย
8) สารเคมสี ำหรบั วิเคราะห์ค่าความหวาน
9) วัสดุ อุปกรณ์ สำหรบั เก็บ และ บนั ทกึ ขอ้ มูล
วิธีการ
แปลงทดลอง
แบบและวิธกี ารทดลอง วางแผนการทดลองแบบ RCB 4 ซำ้
กรรมวิธี: การจดั การธาตุอาหาร 5 วิธี

1) ใสป่ ุ๋ยตามวธิ เี กษตรกร
2) ใสป่ ยุ๋ N-P-K ตามคา่ วิเคราะห์ดิน
3) ใสป่ ยุ๋ N-P-K + Mg ตามค่าวิเคราะหด์ ิน
4) ใสป่ ยุ๋ N-P-K + Zn ตามคา่ วเิ คราะหด์ นิ
5) ใส่ปยุ๋ N-P-K + Mg+Zn ตามคา่ วเิ คราะห์ดนิ
แปลงขยายผลเทคโนโลยี
แบบและวิธีการทดลอง ทดสอบแปลงใหญ่ไมใ่ ชแ้ ผนการทดลอง
กรรมวิธี: การจดั การธาตอุ าหาร 2 วธิ ี
1) ใส่ปยุ๋ ตามวธิ ีเกษตรกร
2) ใสป่ ยุ๋ N-P-K + Mg+Zn ตามค่าวิเคราะหด์ นิ
วิธีปฏบิ ัตกิ ารทดลอง
ก่อนเก็บเกี่ยวอ้อยปลูกแปลงขยายผลเทคโนโลยี ทำการวัดความสูง บันทึกข้อมูลเปอร์เซ็นต์กอท่ี
เป็นโรคใบขาว เก็บเกี่ยวออ้ ยท่อี ายุ 10-12 เดือน บนั ทึกขอ้ มลู ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลติ วัดคา่ ซซี เี อส
การดูแลรักษาอ้อยตอ 1 หลังเก็บเกี่ยวอ้อยตอ 1 แล้วรีบแต่งตอ หากดินมีความชื้นเพียงพอ ใส่ปุ๋ยรองพนื้
โดยธาตอุ าหารหลักใสอ่ ตั ราครงึ่ หนง่ึ ของค่าวิเคราะหด์ นิ ตามกรรมวิธี ส่วนธาตรุ องใส่ครง้ั เดียวในช่วงรองพ้ืน
แปลงทมี่ คี ่าวิเคราะหธ์ าตแุ คลเซียมไมเ่ หมาะสมให้ใส่ยปิ ซม่ั ทุก Plot ในช่วงใสป่ ุ๋ยรองพื้นด้วย และธาตอุ าหาร
หลักใสอ่ กี ครัง้ ตอนใส่ป๋ยุ ครัง้ ท่ี 2 โดยใส่เม่ือออ้ ยอายุ 5 เดือนใหค้ รบตามกรรมวธิ ที ดลอง โดยใชค้ า่ วเิ คราะห์ดิน
เดิมของออ้ ยปลูก ไมต่ อ้ งเกบ็ ดนิ ส่งวเิ คราะห์ใหม่

380

การบนั ทึกขอ้ มูล
1) ผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต และค่าความหวานเมื่อเก็บเกี่ยว ของอ้อยปลูกแปลงขยายผล
เทคโนโลยี
2) ปริมาณธาตุอาหารในอ้อยตอ 1 แปลงขยายผลเทคโนโลยี เมื่ออายุ 6 เดือน ได้แก่ %N %P %K
%Ca %Mg %Zn และ%Fe
3) การเจริญเติบโตของอ้อยตอ 1 แปลงขยายผลเทคโนโลยี จำนวนหน่อต่อกออายุ 4 เดือน
จำนวนลำตอ่ กออายุ 6 เดือน
4) เปอร์เซ็นตก์ อเป็นโรคใบขาวอายุ 4 8 เดือน และกอ่ นเกบ็ เก่ียว
5) ปรมิ าณเช้ือโรคใบขาวของอ้อยแปลงขยายผลเทคโนโลยี กอ่ นและหลังการใสป่ ุ๋ยอ้อยตอ 1

เวลาและสถานที่
-ระยะเวลา เรม่ิ ตน้ ตุลาคม 2558 ส้นิ สุด กันยายน 2564
-สถานที่ทำการทดลอง ไร่เกษตรกร จงั หวดั กาฬสินธ์ุ

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
ดำเนินการทดลองในไร่เกษตรกร จำนวน 2 แปลง แปลงท่ี 1 ดำเนนิ การท่ี บา้ นหาดทรายมลู อำเภอ
หว้ ยเมก็ จงั หวดั กาฬสินธุ์ เปน็ ตวั แทนพื้นท่ีปลกู อ้อยท่มี ีการระบาดของโรคใบขาวน้อย แปลงที่ 2 ดำเนินการ
ท่ีบ้านห้วยยางดง ตำบลโคกเครือ อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นตัวแทนพื้นที่ปลูกอ้อยที่มีการ
ระบาดของโรคใบขาวปานกลาง พื้นที่ 2 ไร่ รวม 4 ไร่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำเทคโนโลยีการ
จัดการสมดุลธาตุอาหารมาใช้ลดความรนุ แรงของโรคใบขาวในออ้ ย
การจัดการธาตุอาหารอ้อยตอ 1 ได้นำหลักการจัดการสมดุลธาตุอาหารเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการ
เป็นโรคใบขาวมาปรบั ใช้ ดงั น้ี การปรับค่าความเป็นกรดเปน็ ด่างของดนิ ให้เหมาะสม ถา้ ดินมีพเี อช 4.5-5.0
ปรบั ปรุงโดยการหว่านปนู ขาวอัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ หรือใส่ฟิลเตอร์เคก้ 1 ตนั ต่อไร่ ดินมีพีเอชน้อยกว่า
4.5 ปรบั ปรุงโดยการหว่านปูนขาวอตั รา 200 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ หรือใสฟ่ ลิ เตอรเ์ ค้ก 2 ตนั ตอ่ ไร่ การจัดการธาตุ
อาหารถ้าดนิ มีอินทรยี วตั ถุต่ำมาก (%OM < 0.5%) จะใส่ปุย๋ ไนโตรเจนเพิ่มขึน้ 0.5 เทา่ ของคำแนะนำ ในท่ีน้ี
คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะหด์ ินของอ้อยปกติถ้า %OM < 0.5% แนะนำให้ใสไ่ นโตรเจน 18 กิโลกรัม
ต่อไร่ ในอ้อยตอจะใส่ปุ๋ยไนโตรเจนเพิ่มเป็น 27 กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากนี้ยังได้นำสัดส่วนของธาตุ
โพแทสเซียมกับธาตุฟอสฟอรัสมาพิจารณาร่วมด้วย ถ้าสัดส่วนของ K/P มากกว่า 4.55 ควรเพิ่มปุ๋ย
ฟอสฟอรสั ให้มากกวา่ เดมิ 0.3 เท่า เน่ืองจากดินมคี า่ K/P เกินปกติ (กอบเกียรต,ิ 2553)
จากผลวิเคราะหด์ ินท่ีระดับความลึก 0-30 เซนติเมตรพบว่า แปลงที่ 1 มีค่าความเป็นกรด-ด่าง 5.0
ปริมาณอินทรียวัตถุ 0.58 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 9.6 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โพแทสเซียมท่ี
แลกเปลี่ยนได้ 94 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 331 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แมกนีเซียมที่
แลกเปลี่ยนได้ 29.3 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เหล็กที่เป็นประโยชน์ 116 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และสังกะสีที่เปน็
ประโยชน์ 2.2 มิลลิกรมั ตอ่ กิโลกรัม สำหรับแปลงที่ 2 มีค่าความเปน็ กรด-ดา่ ง 5.3 ปริมาณอินทรยี วัตถุ 0.97

381

เปอรเ์ ซน็ ต์ ฟอสฟอรสั ทีเ่ ป็นประโยชน์ 6.9 มลิ ลิกรัมตอ่ กโิ ลกรัม โพแทสเซยี มทแ่ี ลกเปลย่ี นได้ 170 มลิ ลิกรัม
ต่อกโิ ลกรัม แคลเซยี มที่แลกเปลี่ยนได้ 107 มลิ ลิกรัมต่อกิโลกรัม แมกนเี ซียมท่ีแลกเปลี่ยนได้ 14.9 มิลลิกรัม
ต่อกิโลกรัม เหล็กที่เป็นประโยชน์ 366 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และสังกะสีที่เป็นประโยชน์ 3.9 มิลลิกรัมต่อ
กิโลกรมั ซ่ึงผลวิเคราะหด์ ินแสดงในตารางท่ี 1

จากค่าวิเคราะห์ดินพบว่าทั้ง 2 แปลง มีความอุดมสมบูรณต์ ่ำมีความจำเป็นต้องจัดการธาตอุ าหาร
หลักและรองใหส้ มดุลและเพยี งพอกบั ความต้องการของออ้ ย โดยเพิ่มเติมการจัดการธาตุอาหารรองที่คาดว่า
จะมีผลต่อการลดการแสดงอาการโรคใบขาวคือธาตุแมกนีเซียม ธาตุสังกะสี และธาตุแคลเซียม โดยธาตุ
แมกนีเซยี มใสใ่ นรูปของโดโลไมท์(CaCO3 + MgCO3) ซงึ่ มี Ca 22% และมี Mg 13.5% ธาตสุ ังกะสี ใสใ่ นรูป
ZnSO4 .7H2O ซ่งึ มี Zn 21% จงึ ใส่ ZnSO4.7H2O = (1.6*100)/21 = 7.6 กก./ไร่ และธาตแุ คลเซยี ม ในรปู ยิบ
ซม่ั (CaSO4.2H2O) ซ่งึ มี Ca 23% โดยมีการจดั การธาตุอาหาร ดงั น้ี

แปลงท่ี 1
1) ใสป่ ๋ยุ ตามวิธเี กษตรกร ใสป่ ยุ๋ 16-8-8 อตั รา 100 กิโลกรัมตอ่ ไร่
2) ใส่ปุ๋ย N-P-K ตามค่าวเิ คราะห์ดนิ ใสป่ ุ๋ย 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
3) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg ตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ +
โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ต่อไร่
4) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Zn ตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ +
ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ต่อไร่
5) ใสป่ ุ๋ย N-P-K + Mg+Zn ตามคา่ วิเคราะหด์ นิ ใสป่ ยุ๋ 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ +
โดโลไมท์ 25 กิโลกรมั ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมต่อไร่

แปลงที่ 2
1) ใสป่ ยุ๋ ตามวธิ ีเกษตรกร ใสป่ ุย๋ 16-8-8 อตั รา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่
2) ใส่ปุ๋ย N-P-K ตามคา่ วเิ คราะหด์ นิ ใส่ปุ๋ย 27-11-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
3) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg ตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย 27-11-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ +
โดโลไมท์ 45 กิโลกรมั ต่อไร่
4) ใส่ปุ๋ย N-P-K + Zn ตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย 27-11-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ +
ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ต่อไร่
5) ใสป่ ุ๋ย N-P-K + Mg+Zn ตามค่าวเิ คราะห์ดนิ ใส่ป๋ยุ 27-11-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่
+ โดโลไมท์ 45 กโิ ลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ต่อไร่

382

ตารางท่ี 1 การจดั การธาตอุ าหารอ้อยตอ 1 จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์

parameter กาฬสนิ ธุ์ แปลง 1 กาฬสนิ ธ์ุ แปลง 2 หน่วย
ค่าวเิ คราะห์ ใส่ปุ๋ย
ค่าวิเคราะห์ ใสป่ ุย๋ กก.ปนู ขาว/ไร่
กก.N/ไร่
pH 5.00 ไมป่ รบั pH 5.30 ไมป่ รับ pH กก.P2O5/ไร่
กก.K2O/ไร่
OM (%) 0.58 27 0.97 27 กก.ยิบซมั่ /ไร่
กก.โดโลไมต์ /ไร่
Avai. P (ppm) 9.6 6 6.9 11 กก. ZnSO4.7H2O/ไร่

Exch. K (ppm) 94 6 170 6

Exch. Ca (ppm) 331 - 107 100

Exch. Mg (ppm) 29.3 25 14.9 45

Avai. Zn (ppm) 2.2 3.8 3.9 3.8

BD * (g/cc) 1.43 1.43

น้ำหนกั ดิน (กก./ไร)่ 457,600 457,600

K (%) 0.0094 0.017

P (%) 0.00096 0.00069

Total K (กก./ไร)่ 49.01 83.79

Total P (กก./ไร)่ 12.19 14.86

K/P 4.02 5.64

* ใช้คา่ BD = 1.43

ผลผลติ ออ้ ยปลกู
แปลงที่ 1 อำเภอหว้ ยเม็ก จังหวดั กาฬสินธ์ุ เกบ็ เก่ยี วออ้ ยเมอ่ื วันท่ี 23 ธันวาคม 2559 อายุเกบ็ เกย่ี ว

14 เดอื น ผลผลติ ออ้ ยปลูกค่อนขา้ งสูง มจี ำนวนลำเกบ็ เกย่ี วมาก แปลงอำเภอหว้ ยเมก็ ได้ผลผลติ เฉลี่ย 15. 0
ตันต่อไร่ กรรมวิธีที่ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงที่สุดคือกรรมวิธีที่ 1 การใส่ปุ๋ยแบบเกษตรกร ใส่ปุ๋ย 16-8-8 อัตรา
100 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตนำ้ ตาลเฉลีย่ 18.8 และ 2.1 ตันต่อไร่ ตามลำดับ รองลงมา
คือกรรมวิธีที่ 2 และ 3 คือการใส่ปุ๋ย 18-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ และการใส่ปุ๋ย 18-6-6 กิโลกรมั
N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 15.0 ตันต่อไร่เท่ากัน แต่ให้ผลผลิต
นำ้ ตาลเฉล่ยี 1.8 และ 2.0 ตนั ต่อไร่ ตามลำดบั เนอ่ื งจากกรรมวธิ ที ่ี 3 ใหค้ า่ ซีซเี อส 13.3 สูงกวา่ กรรมวิธที ี่ 2
ท่ใี หค้ ่าซีซีเอส 12.3

แปลงท่ี 2 อำเภอหนองกงุ ศรี จงั หวดั กาฬสินธ์ุ เก็บเกี่ยวออ้ ยเมอ่ื วันท่ี 13 มกราคม 2560 อายุเก็บ
เกี่ยว 14 เดือน ให้ผลผลิตอ้อยปลูกเฉลี่ย 14.4 ตันต่อไร่ กรรมวิธีที่ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงที่สุดคือกรรมวิธีที่ 1
การใสป่ ๋ยุ แบบเกษตรกร ใส่ปุ๋ย 16-8-8 อตั รา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ใหผ้ ลผลิตเฉลี่ย และผลผลติ น้ำตาลเฉล่ีย
16.1 และ 2.3 ตนั ต่อไร่ ตามลำดบั รองลงมาคือกรรมวธิ ีท่ี 2 การใส่ปยุ๋ 18-9-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
ให้ผลผลติ เฉล่ยี และผลผลติ นำ้ ตาลเฉลี่ย 16.0 และ 2.3 ตนั ตอ่ ไร่ ตามลำดบั (ตารางท่ี 2)

383

ตารางท่ี 2 จำนวนลำเก็บเกี่ยวตอ่ ไร่ ผลผลิต(ตัน/ไร่) ผลผลิตนำ้ ตาล(ตนั /ไร)่ และซซี ีเอส ของอ้อยปลกู

แปลงทดลองการจดั การธาตอุ าหารเพอ่ื ลดความรุนแรงของโรคใบขาวจงั หวัดกาฬสินธ์ุ

แปลงท่ี 1 (อ.ห้วยเมก็ ) แปลงที่ 2 (อ.หนองกงุ ศร)ี

กรรม จำนวนลำเกบ็ ผลผลติ ผลผลติ ซซี เี อส กรรม จำนวนลำ ผลผลติ ผลผลิต ซีซี
วิธี เกี่ยวตอ่ ไร่ (ตนั /ไร่) นำ้ ตาล วธิ ี เก็บเก่ียว (ตัน/ไร)่ นำ้ ตาล เอส
(ตัน/ไร่) ตอ่ ไร่ (ตัน/ไร่)

1 10,262 a1/ 18.8 a1/ 2.1 11.2 1 9,620 16.1 2.3 14.4

2 9,353 ab 15.0 ab 1.8 12.3 2 9,570 16.0 2.3 14.3

3 9,225 ab 15.0 ab 2.0 13.3 3 7,793 13.1 1.8 14.1

4 8,435 ab 14.3 ab 1.3 11.5 4 9,037 14.5 2.0 14.0

5 7,832 b 11.6 b 1.7 12.0 5 8,030 12.3 1.8 14.5

เฉล่ยี 9,021 15.0 1.8 12.0 เฉลยี่ 8,810 14.4 2.0 14.3

F-test * * ns ns F-test ns ns ns ns

C.V.(%) 11.43 18.97 30.87 13.43 C.V.(%) 19.80 24.72 23.77 2.8

1/ตัวอักษรท่ีเหมือนกนั แสดงว่าไมม่ คี วามแตกตา่ งกันทางสถิติที่ระดับความเชอ่ื มัน่ 95%

* มีความแตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สำคญั ย่ิงทางสถิตทิ ่ีระดับความเชอ่ื มน่ั 95% ด้วยวธิ ี DMRT

ns ไมแ่ ตกต่างกันทางสถิติ

หมายเหตุ : แปลงที่ 1 (อ.ห้วยเมก็ ) แปลงท่ี 2 (อ.หนองกงุ ศร)ี

1 = ใส่ป๋ยุ 16-8-8 อัตรา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ 1 = ใสป่ ุย๋ 16-8-8 อัตรา 100 กิโลกรมั ต่อไร่

2 = ใสป่ ยุ๋ 18-6-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 2 = ใส่ปยุ๋ 18-9-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
3 = ใส่ปยุ๋ 18-6-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 3 = ใส่ปุ๋ย 18-9-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

+ โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรัมต่อไร่

4 = ใส่ปุ๋ย 18-6-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ 4 = ใสป่ ุ๋ย 18-9-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
+ ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่

5 = ใส่ปุย๋ 18-6-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + 5 = ใส่ปุ๋ย 18-9-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ +
โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O3.8 กิโลกรัมต่อไร่ โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมต่อไร่

ผลผลิตออ้ ยตอ1
แปลงท่ี 1 อำเภอห้วยเม็กไดผ้ ลผลิตอ้อยตอ 1 เฉลี่ย 9.3 ตันตอ่ ไร่ กรรมวิธที ่ีใหผ้ ลผลิตเฉล่ียสูงท่ีสุด

คือกรรมวิธีที่ 2 การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย และ
ผลผลิตนำ้ ตาลเฉล่ีย 9.9 และ 1.6 ตนั ต่อไร่ ตามลำดบั รองลงมาคือกรรมวิธที ี่ 5 การใส่ปยุ๋ 27-6-6 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่+ โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ใหผ้ ลผลติ เฉลย่ี 9.6 ตนั
ต่อไร่ และใหผ้ ลผลติ นำ้ ตาลเฉล่ยี 1.6 ตันตอ่ ไร่ตามลำดับ

แปลงที่ 2 อำเภอหนองกุงศรีให้ผลผลิตออ้ ยตอ 1 เฉลี่ย 7.8 ตันต่อไร่ กรรมวธิ ีทีใ่ ห้ผลผลิตเฉลี่ยสูง
ที่สุดคือกรรมวิธีที่ 3 การใส่ปุ๋ย 27-11-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 45 กิโลกรัมต่อไร่ให้
ผลผลิตเฉลย่ี และผลผลิตน้ำตาลเฉล่ีย 9.3 และ 1.2 ตันต่อไร่ ตามลำดับรองลงมาคือกรรมวิธีท่ี 1 การใส่แบบ
เกษตรกรใส่ปยุ๋ 16-8-8 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลิตเฉล่ียและผลผลิตน้ำตาลเฉลย่ี 8.9 และ 1.3 ตัน
ตอ่ ไร่ ตามลำดับ (ตารางท่ี 3)

384

ตารางท่ี 3 จำนวนลำเก็บเกี่ยวตอ่ ไร่ ผลผลิต(ตัน/ไร)่ ผลผลติ น้ำตาล(ตัน/ไร)่ และซีซเี อส ของออ้ ยตอ1

แปลงทดลองการจดั การธาตุอาหารเพอ่ื ลดความรุนแรงของโรคใบขาวจังหวัดขอนแกน่

แปลงท่ี 1 แปลงที่ 2

กรรมวิธี จำนวนลำ ผลผลติ ผลผลิต ซซี ี กรรมวธิ ี จำนวนลำ ผลผลิต ผลผลติ ซีซี
น้ำตาล เอส เก็บเกยี่ วตอ่ (ตัน/ นำ้ ตาล เอส
เกบ็ เก่ยี วตอ่ (ตนั / (ตัน/ไร)่ (ตัน/ไร)่
ไร่ ไร่) ไร่ ไร่)

1 6,750 9.3 1.5 16.2 1 7,783 8.9 1.3 13.8
2 7,079 9.9 1.6 16.3 2 6,208 6.6 0.9 13.0
3 6,400 9.1 1.5 16.4 3 8,417 9.3 1.2 13.1
4 6,286 8.8 1.4 16.3 4 6,967 6.4 0.9 13.2
5 6,950 9.6 1.6 16.4 5 7,800 7.7 1.0 13.3

เฉลีย่ 6,693 9.3 1.5 16.3 เฉล่ีย 7,435 7.8 1.1 13.3

F-test ns ns ns ns F-test ns ns ns ns

C.V.(%) 13.80 16.41 16.18 2.95 C.V.(%) 37.75 49.30 55.95 10.52

ns ไม่แตกต่างกนั ทางสถติ ิ

หมายเหตุ : แปลงที่ 1 (อ.ห้วยเม็ก) แปลงท่ี 2 (อ.หนองกงุ ศร)ี

1 = ใสป่ ุย๋ 16-8-8 อัตรา 100 กโิ ลกรัมต่อไร่ 1 = ใส่ปุ๋ย 16-8-8 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่

2 = ใส่ป๋ยุ 27-6-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ 2 = ใสป่ ุย๋ 27-11-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
3 = ใส่ปยุ๋ 27-6-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ 3 = ใสป่ ุ๋ย 27-11-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

+ โดโลไมท์ 25 กิโลกรมั ต่อไร่ + โดโลไมท์ 45 กิโลกรัมต่อไร่

4 = ใส่ปยุ๋ 27-6-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 4 = ใสป่ ยุ๋ 27-11-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่
+ ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ต่อไร่

5 = ใสป่ ๋ยุ 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + 5 = ใสป่ ๋ยุ 27-11-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ +
โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่ โดโลไมท์ 45 กิโลกรัมต่อไร่+ ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่

การขยายผลเทคโนโลยี

วิเคราะห์กรรมวิธีที่สามารถลดความรุนแรงของโรคใบขาวในสภาพไร่ เพื่อการขยายผลเทคโนโลยี
การลดความรุนแรงของโรคใบขาวโดยการจดั การสมดลุ ของธาตอุ าหารในแปลงปลูกออ้ ยจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์

แปลงที่ 1 (อ.หว้ ยเมก็ ) พบว่าด้านผลผลิตในอ้อยปลกู การใส่ปยุ๋ วิธีเกษตรกรท่ีใช้ปุย๋ 16-8-8 อัตรา
100 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงที่สุด 18.8 ตัน/ไร่ แต่ในอ้อยตอ 1 การใส่ปุ๋ย 27-11-6 กิโลกรัม N-P2O5-
K2O ตอ่ ไร่ให้ผลผลิตสงู สุด 9.9 ตนั /ไร่ เมือ่ พจิ ารณาผลผลิตเฉลีย่ ทั้งอ้อยปลกู และอ้อยตอ 1 แล้วพบว่า การ
ใส่ปุ๋ย 16-8-8 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงสุด 14.1 ตัน/ไร่ สำหรับในด้านการเป็นโรคใบขาว
อ้อยปลูกไม่พบโรคใบขาว ส่วนในอ้อยตอ 1 พบโรคใบขาวน้อยที่สุดในกรรมวิธีใส่ปุ๋ย 18-6-6 กิโลกรัม N-
P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรมั ต่อไร่ โดยพบร้อยละ 0.23 และ
พบมากที่สุดในกรรมวิธีการใส่ปุ๋ย 18-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ร้อยละ 3.36 และเมื่อพิจารณาการ
เปน็ ใบขาวเฉล่ียท้ังในอ้อยปลกู และอ้อยตอ 1 แลว้ ให้ผลในทำนองเดียวกับออ้ ยตอ 1 คอื พบโรคใบขาวน้อย
ทีส่ ุดในกรรมวธิ ีใสป่ ุ๋ย 18-6-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรมั ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8

385

กิโลกรัมต่อไร่ โดยพบร้อยละ 0.1 และพบมากที่สุดในกรรมวิธกี ารใสป่ ุ๋ย 18-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
ร้อยละ 1.7 (ตารางที่ 4)

แปลงที่ 2 (อ.หนองกุงศรี) ด้านผลผลิตในอ้อยปลูกการใส่ปุ๋ยวิธีเกษตรกรที่ใช้ปุ๋ย 16-8-8 อัตรา
100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลิตสูงทีส่ ุด 16.1 ตนั /ไร่ แต่ในออ้ ยตอ 1 การใส่ปยุ๋ 18-6-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O
ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ให้ผลผลติ สูงสุด 9.3 ตัน/ไร่ เมอื่ พจิ ารณาผลผลิตเฉลยี่ ทัง้ อ้อยปลูกและ
อ้อยตอ 1 แล้วพบว่า การใส่ปุ๋ย 16-8-8 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงสุด 12.5 ตัน/ไร่ สำหรับ
ในด้านการเป็นโรคใบขาว อ้อยปลูกไม่พบโรคใบขาวในกรรมวิธีใส่ปุ๋ย 18-9-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
+ ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมต่อไร่ วธิ ีเกษตรกรพบใบขาวมากทสี่ ุดรอ้ ยละ 0.4 ส่วนในอ้อยตอ 1 พบโรคใบ
ขาวนอ้ ยที่สุดในกรรมวิธีใสป่ ุ๋ย ใสป่ ุ๋ย 18-9-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ต่อไร่ +
ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่ โดยพบร้อยละ 2.2 และพบมากที่สุดในกรรมวิธีการใส่ปุ๋ยใส่ปุ๋ย 18-9-6
กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ รอ้ ยละ 10.3 และเม่อื พิจารณาการเป็นใบขาว
เฉลี่ยทั้งในอ้อยปลูกและอ้อยตอ 1 แล้วให้ผลในทำนองเดียวกับอ้อยตอ 1 คือ พบโรคใบขาวน้อยที่สุดใน
กรรมวิธีใส่ปุ๋ย 18-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กิโลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8
กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ โดยพบร้อยละ 1.3 และพบมากทีส่ ดุ ในกรรมวธิ ีการใสป่ ุย๋ 18-6-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
รอ้ ยละ 5.3 (ตารางท่ี 5)

เมือ่ พจิ ารณาจากผลผลติ เฉลย่ี และเปอร์เซน็ ตก์ ารเป็นโรคใบขาวแล้ว จึงเลือกเทคโนโลยีการจัดการ
ธาตุอาหารโดยใช้การใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg+ Zn ไปขยายผลในพื้นที่ปลูกอ้อยอำเภอห้วยเม็ก และอำเภอ
หนองกงุ ศรี อำเภอละ 1 แปลง รวม 2 แปลง โดยใช้อ้อยสะอาดพันธุ์ขอนแก่น 3 ร่วมกับการใส่ปุ๋ย N-P-K
+ Mg+ Zn เปรียบเทียบกบั วธิ ีเกษตรกร ดำเนินการคัดเลือกแปลงปลูกอ้อย แปลงที่ 1 นายคำใหม่ จันทร์
ลอด 93 หมู่ 4 บ้านแสงจนั ทร์ ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเมก็ จ.กาฬสินธุ์ และแปลงที่ 2 นางณัฐริณี เพียป้อง
หมู่ 8 บ้านคำไฮ ต.หนองกุงศรี อ.หนองกุงศรี จ.กาฬสินธุ์ ดำเนินการปลูกอ้อยแปลงใหญ่ในปี 2562 เก็บ
เกี่ยวผลผลิตในปี 2563 (ตารางที่ 6) การขยายผลในแปลงใหญ่ โดยการใส่ปุ๋ย N-P-K + Mg+ Zn ตามค่า
วิเคราะห์ดินพบว่า แปลงที่ 1 วิธีแนะนำใส่ปุ๋ย 27-9-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 65
กิโลกรัมตอ่ ไร่+ZnSO4.7H2O3.8 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงกว่าวธิ ีเกษตรกรที่ใส่ปุ๋ย 21-4-10 อัตรา 100
กิโลกรมั ตอ่ ไร่ โดยวธิ ีแนะนำและวิธเี กษตรกรให้ผลผลิตเฉลย่ี 10.6 และ 9.4 ตนั /ไร่ ตามลำดบั พบใบขาวใน
วิธีแนะนำ ร้อยละ 0.5 น้อยกว่าวิธีเกษตรกรซึ่งพบใบขาวร้อยละ 0.7 สำหรับแปลงที่ 2 วิธีเกษตรกรใส่ปยุ๋
27-27-27 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลิตสงู กว่าวิธแี นะนำใส่ปยุ๋ 27-6-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ +
โดโลไมท์ 75 กิโลกรัมต่อไร่+ZnSO4.7H2O7.6 กิโลกรมั ต่อไร่ โดยวิธีเกษตรกรและวิธีแนะนำให้ผลผลิตเฉลี่ย 17.0
และ 16.0 ตนั /ไร่ ตามลำดบั และท้ังสองกรรมวธิ ไี ม่พบโรคใบขาว

386

ตารางท่ี 4 ผลผลิต ผลผลิตนำ้ ตาล และ เปอรเ์ ซ็นต์การเปน็ โรคใบขาวของออ้ ยปลูก และอ้อยตอ 1 ของ

แปลงท่ี 1 อำเภอหว้ ยเม็ก จังหวดั กาฬสนิ ธุ์

กรรมวิธี ผลผลติ อ้อยปลกู ผลผลติ อ้อยตอ 1 ผลผลติ เฉลย่ี % ใบขาว % ใบขาว % ใบขาว

(ตัน/ไร)่ (ตนั /ไร)่ (ตนั /ไร)่ อ้อยปลกู ออ้ ยตอ 1 เฉลย่ี

1 18.8 9.3 14.1 0 1.84 0.9

2 15.0 9.9 12.5 0 3.36 1.7

3 15.0 9.1 12.1 0 2.19 1.1

4 11.6 8.8 10.2 0 1.27 0.6

5 14.3 9.6 12.0 0 0.23 0.1

เฉล่ยี 15.0 9.3 12.2 0 1.78 0.9

หมายเหตุ : การใส่ปุย๋ ออ้ ยปลูก การใส่ปยุ๋ ออ้ ยตอ 1

1 = ใส่ปยุ๋ 16-8-8 อตั รา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ 1 = ใสป่ ุ๋ย 16-8-8 อตั รา 100 กิโลกรัมต่อไร่
2 = ใสป่ ๋ยุ 18-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ 2 = ใส่ปยุ๋ 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
3 = ใส่ปุ๋ย 18-6-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั 3 = ใสป่ ยุ๋ 27-6-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่

ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่
4 = ใสป่ ุ๋ย 18-6-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 4 = ใส่ปยุ๋ 27-6-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

กโิ ลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรมั ต่อไร่
5 = ใส่ปยุ๋ 18-6-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ต่อ 5 = ใส่ปุ๋ย 27-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ +

ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรัมต่อไร่ โดโลไมท์ 25 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมตอ่ ไร่

ตารางท่ี 5 ผลผลิต ผลผลิตนำ้ ตาล และ เปอรเ์ ซ็นต์การเป็นโรคใบขาวของอ้อยปลกู และอ้อยตอ 1 ของ

แปลงท่ี 2 อำเภอหนองกงุ ศรี จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ

กรรมวิธี ผลผลิตอ้อยปลกู ผลผลติ อ้อยตอ 1 ผลผลิตเฉลี่ย % ใบขาว % ใบขาว % ใบขาว
ออ้ ยปลกู อ้อยตอ 1 เฉลยี่
(ตนั /ไร)่ (ตนั /ไร่) (ตัน/ไร่)

1 16.1 8.9 12.5 0.4 4.2 2.3
2 16.0
3 13.1 6.6 11.3 0.2 4.9 2.5
4 14.5
5 12.3 9.3 11.2 0.3 10.3 5.3

6.4 10.5 0.0 8.6 4.3

7.7 10.0 0.3 2.2 1.3

เฉลย่ี 14.4 7.8 11.1 0.2 6.0 3.1

หมายเหตุ : การใสป่ ๋ยุ ออ้ ยปลกู การใส่ป๋ยุ ออ้ ยตอ 1

1 = ใส่ปุ๋ย 16-8-8 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ 1 = ใส่ปยุ๋ 16-8-8 อตั รา 100 กิโลกรมั ต่อไร่
2 = ใสป่ ุ๋ย 18-9-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ 2 = ใสป่ ุย๋ 27-11-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่
3 = ใสป่ ุย๋ 18-9-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 3 = ใส่ปุ๋ย 27-11-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 45 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่

4 = ใส่ปุย๋ 18-9-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 4 = ใส่ป๋ยุ 27-11-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่

กโิ ลกรัมต่อไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่

5 = ใส่ปุ๋ย 18-9-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 25 5 = ใสป่ ๋ยุ 27-11-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ +

กิโลกรัมตอ่ ไร่ + ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรมั ต่อไร่ โดโลไมท์ 45 กโิ ลกรมั ต่อไร่+ ZnSO4.7H2O 3.8 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่

387

ตารางท่ี 6 ผลผลิต ผลผลติ น้ำตาล และ เปอร์เซน็ ตก์ ารเปน็ โรคใบขาวของออ้ ยปลูกแปลงขยายผล

เทคโนโลยกี ารจัดการธาตอุ าหารเพือ่ ลดความรนุ แรงของโรคใบขาวจังหวดั กาฬสินธ์ุ

แปลงที่ 1

กรรมวิธี จำนวนลำ ผลผลติ ผลผลติ ซซี ีเอส % ใบขาว

เก็บเกยี่ วต่อไร่ (ตัน/ไร)่ นำ้ ตาล(ตนั /ไร)่ ออ้ ยปลกู

1. วิธเี กษตรกร 8,325 9.4 1.64 17.6 0.7

2. วิธแี นะนำ 10,079 10.6 1.88 17.7 0.5

เฉลย่ี 9,202 10.0 1.76 17.7 0.6

แปลงที่ 2

กรรมวิธี จำนวนลำ ผลผลติ ผลผลิต ซซี เี อส % ใบขาว

เกบ็ เกย่ี วต่อไร่ (ตัน/ไร่) นำ้ ตาล(ตนั /ไร)่ อ้อยปลกู

1. วิธเี กษตรกร 9,123 17.0 3.0 17.9 0

2. วิธีแนะนำ 8,561 16.0 2.8 17.3 0

เฉล่ยี 8,842 16.5 2.9 17.6 0

หมายเหตุ :

แปลงท่ี 1 (อำเภอหว้ ยเมก็ )

1. วิธีเกษตรกร ใสป่ ุ๋ย 21-4-10 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่

2. วิธีแนะนำ ใส่ปยุ๋ 27-9-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ + โดโลไมท์ 65 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่
แปลงที่ 2 (อำเภอหนองกุงศรี)

1. วิธีเกษตรกร ใส่ปุ๋ย 27-27-27 อตั รา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

2. วิธีแนะนำ ใสป่ ุ๋ย 27-6-12 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 75 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่+ZnSO4.7H2O 7.6 กโิ ลกรมั ต่อไร่

สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ

สรุปจังหวัดกาฬสนิ ธุ์
แปลงทดลอง
- ด้านผลผลติ การใส่ป๋ยุ 16-8-8 อตั รา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ใหผ้ ลผลติ ออ้ ยสงู ทีส่ ดุ เฉล่ีย 13.3 ตัน/ไร่
- การเปน็ โรคใบขาว การใส่ปยุ๋ N-P-K + Mg+ Zn ตามคา่ วิเคราะหด์ ินอ้อยแสดงอาการใบขาวน้อย

ทส่ี ดุ ท้งั ในอ้อยปลกู และออ้ ยตอ
แปลงขยายผลเทคโนโลยี
- การขยายผลในแปลงใหญ่ โดยการใสป่ ๋ยุ N-P-K + Mg+ Zn ตามคา่ วเิ คราะห์ดินพบว่า วธิ แี นะนำ

และวิธีเกษตรให้ผลผลติ เฉลีย่ ใกล้เคยี งกัน โดยวิธแี นะนำและวิธีเกษตรกรใหผ้ ลผลิตเฉลี่ย 13.3 และ 13.2
ตัน/ไร่ ตามลำดับ โดยวิธีแนะนำพบโรคใบขาวเฉลี่ยร้อยละ 0.25 ส่วนวิธีเกษตรกรพบโรคใบขาวเฉลี่ยร้อยละ
0.35

388

เอกสารอ้างอิง

กอบเกยี รติ ไพศาลเจรญิ ธงชัย ต้ังเปรมศรี ศภุ กาญจน์ ล้วนมณี ศุจิรัตน์ สงวนรังศิริกุล วันทนา ตั้งเปรมศรี นิลบุ ล ทวกี ุล
ทักษณิ า ศันสยะวชิ ยั เกษม ชสู อน. 2553. การจัดการสมดุลธาตอุ าหารพชื เพ่อื เพิ่มความทนทานของอ้อยทีม่ ีต่อโรค
ใบขาวในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. หน้า 302-304. ใน รายงานผลงานวิจยั ศนู ย์วจิ ัยพืชไรข่ อนแก่น ประจำปี
2553. ศูนยว์ ิจยั พืชไรข่ อนแก่นสถาบนั วิจยั พืชไร่ กรมวชิ าการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

นฤทยั วรสถิตย์ วรี ะพล พลรักดี ศุจิรตั น์ สงวนรังศิริกลุ กาญจนา กิระศกั ด์ิ นิลุบล ทวีกลุ ทักษิณา ศันสยะวิชยั ปรีชา กา
เพ็ชร รังษี เจริญสถาพร อสิ ระ พุทธสมิ มา สุนี ศรีสงิ ห์ สพุ ัตรา ดลโสภณ กนกพร เมาลานนท์ วภิ าวรรณ กติ ติ
วชั ระเจริญ ณฐั กฤต พิทกั ษ์ อมรา ไตรศิริ สุพจน์ กติ ตปิ ญั ญา และ ประพันธ์ ประเสริฐศักดิ์. 2553. การวจิ ัยและ
พฒั นาเพ่อื แก้ปญั หาโรคใบขาวของออ้ ย. หน้า 5051-5073. ใน : ผลงานแผนงานฉบับสมบูรณ์ ปี 2549-2553. กรม
วชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ศุจริ ตั น์ สงวนรังศิรกิ ุล ธรี วุฒิ วงศ์วรตั น์ ทกั ษิณา ศนั สยะวชิ ยั สุนี ศรสี ิงห์ รงั สี เจริญสถาพรประพนั ธ์ ประเสริฐศักดิ์
และ กอบเกียรติ ไพศาลเจรญิ . 2558. วิธีตรวจและวินิจฉัยโรคใบขาวของออ้ ยด้วยเทคนิคพีซอี าร์. ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่
กรมวชิ าการเกษตร ประจำปี 2557 กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 69-89.

389

การทดสอบเทคโนโลยีการป้องกนั กำจดั โรคใบขาวในพืน้ ท่เี ส่ียงภัยต่อการเปน็ โรคใบขาว
Testing of Sugarcane White Leaf Disease Protection Technology in Risks Area

วันทนา เลิศศริ ิวรกลุ 1* ศจุ ริ ตั น์ สงวนรงั ศริ ิกลุ 1 เนติรัฐ ชมุ สุวรรณ1 ศุภชยั อติชาติ1
ศิริพร อนิ ทรเ์ นตร1 และวนั รงุ่ เสือปู่1

รายงานความกา้ วหนา้
ดำเนินการจัดทำแปลงขยายผลเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาว เพื่อเป็นต้นแบบการผลิต
และกระจายพนั ธุ์ออ้ ยสะอาดสำหรับนำไปใชใ้ นพ้นื ทีเ่ สย่ี งภัยต่อการเปน็ โรคใบขาว วธิ กี ารดำเนนิ งานการนำ
อ้อยชำข้อจากการเพาะเล้ียงเนื้อเยือ่ ไปปลูกแบบมี border area วิเคราะห์เชื้อไฟโตพลาสมาในใบอ้อยชำข้อ
ทุกต้น ผลการวิเคราะห์เชื้อไฟโตพลาสมา หากเป็นรหัสสีแดง และสีส้ม ทำการขุดกอทิ้งออกจากแปลง ผล
วเิ คราะหร์ หัสสฟี ้าและรหัสสีเขียว แบง่ ออ้ ยเป็น 2 ส่วนๆท่ี 1 นำไปปลูกขยายพันธ์ุแบบวางลำ ส่วนที่ 2 นำลำ
ไปชำขอ้ แลว้ นำอ้อยชำข้อกลับเข้าสู่การปลูกแบบมี border area รอบท่ี 2 เพ่ือดูการเปน็ โรคใบขาว และการ
กลับมาติดเชื้อใหม่ สำหรับการดูแลรักษาเพื่อป้องกันการกลับมาติดเชื้อใหม่ ได้แก่ การป้องกันกำจัดเพลี้ย
จักจั่นในระยะต้นกล้าอ้อยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และในแปลงปลูกโดยใช้สารเคมีไทอะมีโทแซน และการใส่ปุ๋ย
ตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน
ผลการดำเนนิ งาน พบว่าการถา่ ยทอดเชื้อโรคใบขาวไปยังออ้ ยตอ 1 จากแปลงพนั ธุ์ออ้ ยสะอาดจาก
การตรวจคัดกรองเช้ือสาเหตุโรคใบขาวและการจัดการแปลงพนั ธ์แุ บบมี border area ท่ตี รวจพบเชื้อโรคใบ
ขาวรหสั สีฟ้า(มีระดบั เช้ือ 0-0.5 copy/ul in 25 ng plant DNA) ร้อยละ 52.6 และรหัสสเี ขียว (มรี ะดบั เชอ้ื
0.5-1 copy/ul in 25 ng plant DNA) ร้อยละ 31.4 ทั้งสองรหัสสีดังกล่าวมีเชื้อโรคใบขาวอยู่ในระดับ
ปลอดภัยที่จะนำไปทำพันธุ์รวมกันร้อยละ 84 ซึ่งถือว่าเป็นแปลงพันธุ์อ้อยสะอาดที่มีสุขภาพดีตามผลการ
ตรวจคัดกรองเชื้อโรคใบขาว เมื่อมีการตรวจเชื้อโรคใบขาวใหม่ในรุ่นที่เป็นอ้อยตอ 1 จากรหัสสีฟ้าและสี
เขยี วให้ผลวเิ คราะหเ์ ชอ้ื ในระดบั ปลอดภัยต่อการเกิดโรคใบขาวเปน็ รหสั สฟี ้าและสเี ขยี วเฉลย่ี ร้อยละ 9 ให้ผล
วิเคราะห์เชื้อในระดับเฝ้าระวังไม่ให้เกิดสภาวะเครียดเป็นรหัสสีเหลือง ( มีระดับเชื้อ1-10 copy/ul in 25
ng plant DNA) ร้อยละ 91 ไม่พบเชื้อโรคใบขาวในระดับไม่ปลอดภัยต่อการเกิดโรคใบขาว สำหรับการ
ถ่ายทอดเชื้อไปยังแปลงอ้อยปลูกใหม่ โดยการใช้ท่อนพันธุ์อ้อยสะอาดจากลำที่มีผลตรวจโรครหัสสีฟ้ามี
ระดับเช้ือน้อยมาก (0-0.5 copy/ul in 25 ng plant DNA) และรหัสสเี ขียวท่ีตรวจพบเช้ือในระดบั ต่ำ (0.5-
1 copy/ul in 25 ng plant DNA) ซึ่งเป็นระดับที่สามารถนำไปทำพันธุ์ได้ เมื่อนำไปทำพันธุ์ปลูกให้ผล
วิเคราะห์เชื้อในระดับปลอดภัยต่อการเกิดโรคใบขาวเป็นรหัสสีฟ้าและสีเขียวเฉลี่ยร้อยละ 37 ให้ผล
วเิ คราะห์เช้ือในระดบั เฝ้าระวังไม่ให้เกิดสภาวะเครียดเป็นรหัสสเี หลือง(มรี ะดับเชื้อ1-10 copy/ul in 25 ng
plant DNA) ร้อยละ 49 และ ให้ผลวเิ คราะห์เชอื้ ในระดบั ไมป่ ลอดภัยตอ่ การเกดิ โรคใบขาวรหสั สสี ้มรอ้ ยละ 14

1ศูนยว์ จิ ยั พชื ไรข่ อนแกน่ สถาบนั วิจัยพชื ไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่

* Corresponding Author E-mail: [email protected]

390

คำสำคญั : อ้อย, โรคใบขาว, ทดสอบ
คำนำ

โรคใบขาวอ้อยเป็นโรคที่สำคัญมีผลกระทบต่อผลผลิตอ้อยของประเทศไทย มีสาเหตุจากเชื้อ
Phytoplasma มกี ารแพร่ระบาดโดยเช้ือติดไปกบั ทอ่ นพันธแุ์ ละมีเพลี้ยจักจ่นั สนี ำ้ ตาล Matsumuratettix
hiroglyphicus และ Yamatotettix flavovitatus เปน็ แมลงพาหะนำโรค (พรทพิ ย์, 2542) โรคใบขาวพบ
ไดใ้ นอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต โดยพบในอ้อยตอมากกวา่ อ้อยปลกู ออ้ ยที่เปน็ โรคอาจไม่ให้ผลผลิต หรือ
ให้ผลผลิตได้บ้าง แต่ผลผลิตจะลดลงมากและไม่สามารถไวต้ อได้ ความรุนแรงของโรคจะทำให้ผลผลิตอ้อย
ลดลงตง้ั แต่ 6.1-74.4% (กนกพร และคณะ, 2552) ทำให้ต้นทุนการผลิตสงู ขนึ้ มีรายงานการระบาดรุนแรง
และทำความเสยี หายในพืน้ ท่ปี ลกู ออ้ ยหลายจังหวดั ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ นับต้งั แต่ปี 2532 เปน็ ตน้ มา
และในปัจจบุ นั ยงั พบการระบาดของโรคใบขาวอยา่ งรนุ แรงในหลายพน้ื ที่ กระจายอยู่ท่วั ไปแหลง่ ปลูกในเขต
ดนิ ทรายของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มูลค่าความเสียหายจากโรคใบขาวยงั คงสงู ข้นึ เรอ่ื ยๆ

ในการปอ้ งกันกำจัดโรคใบขาวจำเปน็ ต้องมีข้อมูลเชิงพนื้ ที่ทแี่ สดงถึงความเสยี่ งของการระบาดของ
โรคใบขาวในพื้นที่ปลูกอ้อยเพื่อใช้ในการวางแผนการควบคุม ป้องกันกำจัดโรคใบขาวที่เหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งในแต่ละเขตการระบาดต้องใช้วธิ ีการป้องกันกำจัดหลายวธิ ีควบคู่กันไป ในพื้นที่ ๆ มีการ
ระบาดมากหรือเป็นเขตเสย่ี งมาก ควรมกี ารปลกู พืชหมุนเวยี นเพอื่ ตัดวงจรของโรคก่อน ไมน่ ำอ้อยจากแปลง
ที่มีการระบาดของโรคใบขาวไปทำพันธุ์ ใช้พันธุ์สะอาด และการจัดการสมดุลธาตุอาหารให้เหมาะสม ใน
พืน้ ท่ี ๆ มีการระบาดนอ้ ยหรอื เขตท่ีมีโรคนอ้ ย จะใช้เปน็ แหลง่ ของแปลงพนั ธ์สุ ะอาดในการปลกู เพื่อกระจาย
พันธุ์ การศึกษาในครง้ั น้มี วี ัตถุประสงค์เพอ่ื ทดสอบเทคโนโลยกี ารป้องกนั กำจดั โรคใบขาวและจัดทำคำแนะนำการ
ใชเ้ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมในการป้องกนั กำจดั โรคใบขาวในพื้นทเ่ี ส่ยี งภัย สำหรับแนะนำเกษตรกรทีป่ ระสบปัญหา
การระบาดของโรคใบขาวตอ่ ไป

วิธดี ำเนินการ
อุปกรณ์

1) ออ้ ยพนั ธ์ุขอนแก่น 3 จากการเพาะเลย้ี งเนอื้ เยื่อ
2) เมล็ดพันธพ์ุ ืช ได้แก่ ถ่วั มะแฮะ ปอเทอื ง และถั่วลสิ ง
3) สารเคมปี ้องกันกำจดั ศตั รพู ืช
4) สารเคมสี ำหรับวเิ คราะห์คณุ สมบัตทิ างกายภาพ และเคมขี องดนิ
5) สารเคมีสำหรับวิเคราะห์ปริมาณเชอ้ื ไฟโตพลาสมาในตวั อย่างอ้อย
6) วัสดุ อุปกรณ์ สำหรบั เก็บ และ บันทึกขอ้ มูล
วธิ ีการ
แบบและวิธีการทดลอ ทดสอบแปลงใหญใ่ นไรเ่ กษตรกร

391

วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารทดลอง
จัดทำแปลงขยายผลเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาวเพ่อื เปน็ ต้นแบบการผลิตและกระจาย

พันธุ์อ้อยสะอาดสำหรับนำไปใช้ในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเป็นโรคใบขาว วิธีการดำเนินงานการนำอ้อยชำข้อ
จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปปลูกแบบมี border area วิเคราะห์เช้ือไฟโตพลาสมาในใบอ้อยชำข้อทุกต้น ผล
การวิเคราะห์เชื้อไฟโตพลาสมา หากเป็นรหัสสีแดง และสีสม้ ทำการขุดกอท้ิงออกจากแปลง ผลวิเคราะห์รหัส
สีฟ้า แบ่งอ้อยเป็น 2 ส่วนๆท่ี 1 นำไปปลูกขยายพันธุ์แบบวางลำ ส่วนที่ 2 นำลำไปชำข้อแล้วนำอ้อยชำข้อ
กลับเข้าสู่การปลูกแบบมี border area ใหม่ และผลวิเคราะห์รหัสสีเขียว แบ่งอ้อยเป็น 2 ส่วน ๆ ท่ี 1 นำไป
ปลูกขยายพันธุ์แบบวางลำ ส่วนที่ 2 นำลำไปชำข้อแล้วนำอ้อยชำข้อกลับเข้าการปลูกแบบมี border area
รอบที่ 2 เทียบกับการนำไปปลูกขยายพันธุ์แบบวางลำ ดูการเป็นโรคใบขาว และการกลับมาติดเชื้อใหม่
สำหรับการดูแลรักษาเพื่อป้องกันการกลับมาติดเชื้อใหม่ ไดแ้ ก่ การปอ้ งกันกำจัดเพล้ียจักจั่นในระยะต้นกล้า
อ้อยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และในแปลงปลูกโดยใช้สารเคมีไทอะมีโทแซน การงดน้ำเป็นเวลา 1 เดือนหลังปลูก
เพอื่ ใหต้ ้นท่ียงั คงมีเชอื้ โรคใบขาวแสดงอาการเพ่อื กำจัดต้นใบขาวทงิ้ และการใส่ปยุ๋ ตามค่าวิเคราะห์ดิน
การบนั ทึกข้อมูล

1) คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน pH OM (%) Avail. P Exch. K Exch.Ca Exch.Mg
Avail.Zn Avail.Fe เก็บตัวอยา่ งดินแบบ Composite sample ท่ีความลกึ 0-30 เซนติเมตร

2) วเิ คราะห์ปรมิ าณธาตอุ าหารในอ้อย N P K Ca Mg Zn Fe
3) การเจริญเติบโต จำนวนหนอ่ ต่อกอที่อายุ 4 เดือนหลังงอก จำนวนลำตอ่ กอทอี่ ายุ 6 เดือนหลังงอก
4) จำนวนกอที่แสดงอาการใบขาวต่อไร่ ที่อายุ 4 8 เดือนหลังงอก และ ก่อนเก็บเกี่ยว แต่ละ

กรรมวิธนี บั จำนวนกอท่เี ป็นโรคใบขาวทั้งหมดในพื้นที่ทดลอง
5) ปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาในอ้อยแปลงขยายผลเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาว 400

กอ
6) บันทึกจำนวนตน้ ทเ่ี ป็นโรคใบขาวในแปลงขยายผลเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาวทุก

กอ แลว้ ขุดทง้ิ
เวลาและสถานท่ี

-ระยะเวลา เรม่ิ ต้น ตลุ าคม 2558 สนิ้ สุด กันยายน 2564
-สถานท่ีทำการทดลอง ศูนย์วิจยั พชื ไรข่ อนแกน่

ผลและวิจารณผ์ ลการทดลอง
จากแนวทางการแก้ไขโรคใบขาวอ้อย ได้แก่ 1) การขจดั แหล่งเชื้อโรค โดยการตรวจแปลงขดุ กอเป็น
โรคทิ้ง 2) การลดการสะสมโรคและแมลงพาหะดว้ ยการปลกู พชื หมุนเวียน 3) การปรับปรุงบำรุงดินให้อุดม
สมบรู ณแ์ ละใหน้ ำ้ อย่างเพยี งพอ 4) การใชท้ ่อนพนั ธุ์สะอาด การใชต้ น้ อ้อยจากการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยื่อ 5)การ
ดูแลรกั ษาอ้อยให้สมบูรณ์แข็งแรง และ 6) ไม่นำทอ่ นพันธุ์จากกอทีม่ อี าการโรคใบขาวไปขยายพนั ธ์ุต่อ และ
จากผลงานวิจัยเรอ่ื งการศกึ ษาวธิ ีการตรวจวนิ ิจฉัยเชอ้ื ไฟโตพลาสมาซ่งึ มีความแม่นยำในระดับ 0.5 copy/ul

392

ของ ศุจิรัตน์ และคณะ (2558) ได้ออกแบบวิธีการรายงานผลการตรวจโรคโดยใช้รหัสสี โดยรหัสสีจะแสดง
ถึงปรมิ าณเช้ือ ระดับความปลอดภัยในการนำทอ่ นพนั ธ์ุไปใช้ขยายตอ่ และโอกาสในการแสดงอาการใบขาว
โดยใช้รหสั สีแทนปริมาณการตรวจพบเชอ้ื ไฟโตพลาสมาในอ้อยออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดบั สีฟ้ามีปริมาณ
เชอ้ื น้อยมาก (0 - 0.5 copy/ul in 25 ng plant DNA) สามารถนำไปขยายพันธตุ์ ่อได้จะยังไม่เกดิ อาการใบ
ขาวในรุ่นต่อมา ระดับสีเขียวตรวจพบเชื้อในระดับต่ำ (0.5 - 1 copy/ul in 25 ng plant DNA) สามารถ
นำไปขยายพนั ธุ์ต่อได้น่าจะยังไม่เกิดอาการใบขาวในรุ่นน้ี และในรุ่นตอต่อมาแต่อาจพัฒนามเี ชื้อมากขึน้ ได้
หากผ่านสภาวะเครียด ระดับสีเหลืองมีปริมาณเชื้อน้อย (1-10 copy/ul in 25 ng plant DNA) ควรเฝ้า
ระวังอาจเกิดโรคใบขาวได้ ระดบั สีส้มมเี ชื้อระดับปานกลาง (10-100 copy/ul in 25 ng plant DNA) อาจ
เกดิ ใบขาวไดภ้ ายในร่นุ น้ี และอาจเกิดใบขาวในอ้อยตอหากผา่ นสภาวะเครยี ด และระดบั สแี ดงมปี ริมาณเช้ือ
สูง (> 100 copy/ul in 25 ng plant DNA) ร่วมกับผลงานวิจัยเรื่อง Movement ability of vector
insects of sugarcane white leaf disease ของ Kobori, Y. et al. (2015) ที่กล่าวว่า เพลี้ยจักจั่นอ้อย
Matsumuratettix hiroglyphicus สามารถเคลื่อนที่ได้ระยะทางเฉลี่ย 162 เมตรภายใน 20 วัน และ
Yamatotettix flavovittatus สามารถเคลือ่ นที่ได้ระยะทางเฉล่ยี 387 เมตรภายใน 20 วนั และผลงานวิจยั
เรือ่ งพฤตกิ รรมการเคลอ่ื นท่ีของเพล้ียจัดจนั่ พาหะนำโรคใบขาวอ้อย ของ ยุพา และทนุธรรม (2559) พบว่า
ตวั เตม็ วยั ของเพล้ียจกั จ่ันปีกลายจุดสีน้ำตาล ชอบออกหากนิ ในช่วงเวลากลางคืน และมีพฤติกรรมชอบเกาะ
และดดู กินบริเวณส่วนยอดของต้นอ้อยมากทีส่ ุด ซึง่ ขณะดูดกนิ แมลง มีการถา่ ยทอดเชื้อไฟโตพลาสมาสาเหตุ
โรคใบขาวอ้อย เขา้ สูบ่ ริเวณยอดนัน้ ด้วย นอกจากน้ีตัวอ่อนของเพล้ียจักจน่ั ปีกลายจุดสนี ้ำตาล มีพฤติกรรม
ชอบหลบซ่อนและชอบเกาะอยู่บนตน้ อ้อย ตัวออ่ นสามารถเคลอ่ื นทไี่ ดเ้ ปน็ ระยะทางมากท่ีสุด 1.2-1.5 เมตร
การนำมาใชโ้ ดยการทำแปลงปลูกออ้ ยให้มีระยะหา่ งที่เหมาะสมจากแปลงที่มีแมลงพาหะ อาจทำให้ลดการ
ระบาดของโรคใบขาวออ้ ยได้ จงึ นำมาประยุกต์ใช้ในแปลงขยายผลเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาว
โดยการการจัดทำแปลงผลิตพันธุ์อ้อยสะอาดโดยการตรวจคัดกรองเชื้อสาเหตุโรคใบขาวและการ
จัดการแปลงพันธ์ุแบบมี border area ดังภาพที่ 1

393

ภาพที่ 1 การจัดทำแปลงผลติ พนั ธอุ์ อ้ ยสะอาดโดยการตรวจคัดกรองเช้อื สาเหตุโรคใบขาวและการจัดการ
แปลงพันธุแ์ บบมี border area

การจัดทำแปลงพนั ธุ์อ้อยสะอาดรอบที่ 1 ดำเนนิ การปลูกอ้อยชำข้อเพาะเล้ียงเนอื้ เยือ่ จำนวน 351
ต้น เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2561 โดยใช้ระยะระหว่างแถว 1.5 เมตร ระยะหลุม 0.6 เมตร จำนวน 20 แถวๆ
ยาว 12 เมตร ขนาดของพื้นที่ปลูกอ้อยเพาะเล้ยี งเนอื้ เยื่อ 360 ตารางเมตร ในสว่ นของ border area ซ่ึงเป็น
พื้นที่รอบแปลงอ้อยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อปลูกอ้อยชำข้อจากอ้อยปกติใช้ระยะของ border area 15 เมตรใน
พ้ืนท่ี 1,530 ตารางเมตร ปลกู เมือ่ วันท่ี 18 พฤษภาคม 2561 ดังภาพท่ี 2 เก็บตัวอยา่ งใบอ้อยทุกตน้ ส่งวิเคราะห์เช้ือไฟโต
พลาสมาวนั ท่ี 15 สงิ หาคม 2561 ได้รบั ผลวิเคราะหว์ ันท่ี 19 ธนั วาคม 2561 ผลวิเคราะหแ์ สดงในภาพที่ 3 ได้ทำการขดุ กอ
ทีม่ ีผลวิเคราะห์เปน็ รหัสสีส้ม จำนวน 1 กอ และกอเป็นโรคใบขาว จำนวน 1 กอ ท้งิ ออกจากแปลง รวม 2 กอ

border area

15 ม.

พนื้ ท่ีปลูกออ้ ยชำขอ้ จาก 15 ม.
ออ้ ยเพาะเลยี้ งเน้อื เยอ่ื
15 ม. 13 แถว x 27 หลุม

15 ม.

ภาพที่ 2 ผังการปลูกออ้ ยแปลงผลติ พันธุ์ออ้ ยสะอาดโดยการตรวจคัดกรองเชือ้ สาเหตโุ รคใบขาวและการ
จัดการแปลงพันธ์แุ บบมี border area

394

การใส่ปุ๋ยตามผลวิเคราะห์ดิน โดยใส่ปุ๋ย 27-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ + โดโลไมท์ 5
กิโลกรัมต่อไร่+ZnSO4.7H2O 3.8 กิโลกรัมต่อไร่ (ตารางที่ 1) วิธีการในช่วงใส่ปุ๋ยรองพื้นใส่ธาตุอาหารหลัก
อัตราครึ่งหนึ่งของค่าวิเคราะห์ดิน ธาตุรองใส่ครั้งเดียวในช่วงรองพื้น ถ้าค่าวิเคราะห์ธาตุแคลเซียมไม่
เหมาะสมใส่ยปิ ซม่ั ในชว่ งใส่ปุ๋ยรองพื้น และธาตุอาหารหลกั ใสอ่ กี คร้ังตอนใส่ปยุ๋ ครง้ั ที่ 2 โดยใสเ่ มอ่ื อ้อยอายุ 5
เดอื นใหค้ รบตามคา่ วเิ คราะหด์ นิ และมกี ารใหน้ ำ้ เสรมิ ในชว่ งทอ่ี อ้ ยขาดน้ำ

ผลการตรวจเช้อื โรคใบขาวในอ้อยปลูกแปลงผลิตพนั ธอ์ุ ้อยสะอาดโดยการตรวจคัดกรองเชื้อสาเหตุ
โรคใบขาวและการจัดการแปลงพันธุแ์ บบมี border area รอบท่ี 1 พบเชื้อรหสั สีฟ้า จำนวน 184 กอคิดเป็น
รอ้ ยละ 52.6 สีเขียว 110 กอ 31.4 สีเหลอื ง 54 กอ 15.4 และสีส้ม 1 กอ 0.3 ดงั ภาพท่ี 3

ออ้ ยตอ 1 ดูแลรักษาแปลง border area รอบที่ 1 โดยกำจัดวัชพืชใส่ปุ๋ยอ้อยตอ และเกบ็ ตวั อย่างส่ง
วิเคราะห์เชื้อไฟโตพลาสมาเพื่อติดตามการติดเชื้อในอ้อยตอประมาณร้อยละ 10 ของจำนวนกอทั้งหมด
จำนวน 35 ตัวอย่าง แบ่งเป็นตัวอยา่ งจากอ้อยตอทมี่ ีเชอื้ ตงั้ ตน้ เปน็ รหัสสีฟ้าจำนวน 25 ตวั อย่าง และจากอ้อย
ตอที่มีเช้ือตงั้ ต้นเปน็ รหัสสีเขยี วจำนวน 10 ตัวอยา่ งเพ่ือตดิ ตามการถา่ ยทอดเชื้อในอ้อยตอจากกอตง้ั ต้นท่ีมีเช้ือ
นอ้ ยมากและกอตั้งตน้ ท่ีมกี ารตรวจพบเช้ือในระดับต่ำเมอื่ อ้อยดงั กล่าวอยู่ในแปลงปลูกอ้อยเป็นเวลา 1 ปีจะมี
ปริมาณเชื้อเพิ่มขึ้นหรือไม่ ได้สำรวจกอเป็นโรคใบขาวในอ้อยตอ 1 ที่อายุ 4 เดือนพบกอเป็นโรคใบขาว
จำนวน 2 กอ ไดท้ ำการขุดกอท้ิง สำหรับผลการตรวจเชือ้ โรคใบขาวในออ้ ยตอ 1 แปลงผลิตพันธ์ุอ้อยสะอาด
โดยการตรวจคัดกรองเชื้อสาเหตุโรคใบขาวและการจัดการแปลงพันธุ์แบบมี border area รอบที่ 1 จาก
อ้อยปลูกกอตัง้ ต้นรหัสสีฟ้า 25 กอ ในอ้อยตอ 1 พบเชื้อรหัสสีฟ้า จำนวน 1 กอคิดเป็นร้อยละ 4 สีเขียว 1
กอ รอ้ ยละ 4 สีเหลือง 23 กอ รอ้ ยละ 92 สำหรบั อ้อยปลูกกอตงั้ ตน้ รหสั สีเขียว 10 กอ ในอ้อยตอ 1 พบเชื้อ
รหัสสีเขียว 1 กอ คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 สเี หลอื ง 9 กอ คดิ เปน็ ร้อยละ 90 ดงั น้นั แม้ว่าในอ้อยปลูกจะมีปริมาณ
เชื้อระดบั สฟี ้าซึ่งถือว่าเป็นแปลงออ้ ยทมี่ ีสขุ ภาพดี เม่ือเป็นออ้ ยตอ 1 กส็ ามารถตรวจพบเชอ้ื ในระดบั สเี หลือง
และสีสม้ ไดม้ ากถึงร้อยละ 92 ในสว่ นของการขยายผลได้นำท่อนพนั ธอุ์ อ้ ยตอ 1 ไปขยายผลการจัดทำแปลง
ผลติ พันธุ์อ้อยสะอาดโดยการปลกู แบบวางลำในไร่เกษตรกร โดยให้เกษตรกรนำไปปลกู ในพ้ืนท่อี ำเภอน้ำพอง
เพื่อใช้เป็นแปลงพันธุ์ออ้ ยสะอาดของศูนย์เรียนรูก้ ารเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรหนองหารจาง
ตำบลน้ำพอง อำเภอนำ้ พอง จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2563 อ้อยงอกวันที่ 27 มีนาคม 2563
อ้อยปลูกของเกษตรกรมีความงอกดี มีการเจริญเติบโตดี ได้ติดตามแปลงเกษตรกรยงั ไม่พบโรคใบขาว อยู่
ระหว่างการติดตามแปลงที่เกษตรกรนำไปปลูกขยายในฤดูปลูกปี 2564 ซึ่งคาดว่าจะได้แปลงพันธุ์อ้อย
สะอาดสำหรับการทำเป็นแปลงพันธุ์หลัก และได้แนวทางการทำแปลงพันธุ์อ้อยสะอาดมีคุณภาพดีเพ่ือ
ขยายพนั ธใุ์ นไรเ่ กษตรกรตอ่ ไป

สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
1. การถา่ ยทอดเชื้อโรคใบขาวไปยงั ออ้ ยตอ 1 จากแปลงพนั ธ์อุ อ้ ยสะอาดจากการตรวจคดั กรองเช้ือ
สาเหตุโรคใบขาวและการจัดการแปลงพนั ธ์แุ บบมี border area ท่ีตรวจพบเชื้อโรคใบขาวรหัสสีฟ้า(มีระดับ
เชื้อ 0-0.5 copy/ul in 25 ng plant DNA) ร้อยละ 52.6 และรหัสสีเขียว (มีระดับเชือ้ 0.5-1 copy/ul in

395

25 ng plant DNA) ร้อยละ 31.4 ทั้งสองรหัสสีดังกล่าวมีเชื้อโรคใบขาวอยู่ในระดับปลอดภัยที่จะนำไปทำ
พนั ธุร์ วมกนั ร้อยละ 84 ซง่ึ ถอื ว่าเป็นแปลงพนั ธอ์ุ ้อยสะอาดทีม่ ีสุขภาพดีตามผลการตรวจคัดกรองเช้ือโรคใบ
ขาว เมื่อมีการตรวจเชือ้ โรคใบขาวใหมใ่ นรุ่นท่ีเป็นอ้อยตอ 1 จากรหัสสีฟ้าและสีเขียวใหผ้ ลวิเคราะหเ์ ชื้อใน
ระดับปลอดภัยตอ่ การเกิดโรคใบขาวเปน็ รหัสสีฟ้าและสีเขยี วเฉล่ียร้อยละ 9 ให้ผลวเิ คราะห์เชื้อในระดับเฝ้า
ระวังไม่ให้เกิดสภาวะเครียดเป็นรหัสสีเหลือง ( มีระดับเชื้อ1-10 copy/ul in 25 ng plant DNA) ร้อยละ
91 ไม่พบเช้ือโรคใบขาวในระดับไม่ปลอดภยั ต่อการเกิดโรคใบขาว ดังนั้นแมว้ า่ ในออ้ ยปลูกจะมีปรมิ าณเชอื้
ระดับสฟี ้าและสเี ขียวรอ้ ยละ 84 ซ่ึงถอื ว่าเป็นแปลงอ้อยท่มี ีสุขภาพดี เม่ือเปน็ อ้อยตอ 1 ก็สามารถตรวจพบ
เชื้อในระดบั สเี หลอื งซงึ่ มีปริมาณเช้ือเพ่ิมขึน้ จากเดิมถงึ ร้อยละ 91

2. การถ่ายทอดเชื้อไปยงั แปลงออ้ ยปลกู ใหม่ โดยการใชท้ ่อนพันธ์ุอ้อยสะอาดจากลำท่มี ีผลตรวจโรค
รหัสสีฟ้ามีระดับเชื้อน้อยมาก (0-0.5 copy/ul in 25 ng plant DNA) และรหัสสีเขียวที่ตรวจพบเชื้อใน
ระดบั ตำ่ (0.5-1 copy/ul in 25 ng plant DNA) ซ่งึ เป็นระดับท่ีสามารถนำไปทำพันธไุ์ ด้ เมื่อนำไปทำพันธ์ุ
ปลูกให้ผลวิเคราะห์เชื้อในระดับปลอดภัยต่อการเกิดโรคใบขาวเป็นรหัสสีฟ้าและสีเขียวเฉลี่ยร้อยละ 37
ให้ผลวิเคราะห์เชื้อในระดับเฝ้าระวงั ไม่ให้เกิดสภาวะเครียดเป็นรหัสสีเหลือง(มีระดับเชื้อ1-10 copy/ul in
25 ng plant DNA) รอ้ ยละ 49 และ ใหผ้ ลวเิ คราะหเ์ ชอ้ื ในระดับไม่ปลอดภัยต่อการเกดิ โรคใบขาวรหัสสีส้ม
รอ้ ยละ 14

391 432 429 43
7 418
396 426
0 477
393 พืน้ ท่ีปลกู ออ้ ยชำขอ้ จากออ้ ยเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยือ่
479
394
2 421

27 54 81 108 135 162 189 216 243 269 296 323 350

26 53 80 107 134 161 188 215 242 268 295 322 349

25 52 79 106 133 160 187 214 241 267 294 321 348

24 51 78 105 132 159 186 213 240 266 293 320 347

23 50 77 104 131 158 185 212 239 265 292 319 346

22 49 76 103 130 157 184 211 238 ใบขาว 291 318 345

21 48 75 102 129 156 183 210 237 264 290 317 344 474

20 47 74 101 128 155 182 209 236 263 289 316 343

19 46 73 100 127 154 181 208 235 262 288 315 * 342

18 45 72 99 126 153 180 207 234 261 287 314 341
17 44 71 98 125 152 179 206 233 260 286 313 340

16 43 70 97 124 151 178 205 232 259 285 312 339 476

15 42 69 96 123 150 177 204 231 258 284 311 338 43

14 41 68 95 122 149 176 203 230 257 283 310 337 435

13 40 67 94 121 148 175 202 229 256 282 309 336

12 39 66 93 120 147 174 201 228 255 281 308 335

11 38 65 92 119 146 173 200 227 254 280 307 334

10 37 64 91 118 145 172 199 226 253 279 306 333

9 36 63 90 117 144 171 198 225 252 278 305 332

8 35 62 89 116 143 170 197 224 251 277 304 331

7 34 61 88 115 142 169 196 223 250 276 303 330
6 33 60 87 114 141 168 195 222 249 275 302 329

5 32 59 86 113 140 167 194 221 248 274 301 * 328

4 31 58 85 112 139 166 193 220 247 273 300 327 473

3 30 57 84 111 138 165 192 219 246 272 299 326

2 29 56 83 110 137 164 191 218 245 271 298 325

1 28 55 82 109 136 163 190 217 244 270 297 324

หมายเหตุ : ปรมิ าณเชื้อไฟโตพลาสมาในอ้อยจากการตรวจ

1 = มเี ช้อื น้อยมาก (0 - 0.5 copy/ul in 25 ng plant DNA)

2 = ตรวจพบเช้อื ในระดบั ตำ่ (0.5 - 1 copy/ul in 25 ng plant DNA) 44
3 = มีเชือ้ นอ้ ย (14-0105copy/ul in 25 ng pla4n1t D0NA)

4 = มเี ชื้อระดับปานกลาง (10-100 copy/ul in 25 ng plant DNA) 413 438
434
402 5 = มเี ชอ้ื สงู (> 100 copy/ul in 25 ng plant DNA)

416
ภาพที่ 3 ปริมาณเชื้อโรคใบขาวในอ้อยปลูกแปลงผลิตพันธุ์อ้อยสะอาดโดยการตรวจคัดกรองเชื้อสาเหตุ
โรคใบขาวและการจดั การแป4ล0งพ7นั ธแ์ุ 4บ0บ8มี border area รอบที่ 1
417

403
414

412

411

415
404

397

ตารางที่ 1 ผลวิเคราะห์ดินแปลงผลิตพันธุ์อ้อยสะอาดโดยการตรวจคัดกรองเชื้อสาเหตุโรคใบขาวและ

การจัดการแปลงพันธแ์ุ บบมี border area รอบท่ี 1 และรอบท่ี 2 (ระดับความลึก 0-30 ซม.)

แปลงทดลอง pH EC % OM P K Ca Mg
(1:1) dS/m mg/kg ppm ppm ppm

รอบที่ 1 4.7 0.0225 0.43 65 135 152 25

รอบท่ี 2 แปลง 1 4.6 0.0288 0.5 83 32 119 3

รอบท่ี 2 แปลง 2 4.7 0.0189 0.5 51 33 99 3

เอกสารอ้างองิ

กนกพร เมาลานนท์ ณฐั กฤต พิทกั ษ์ วภิ าวรรณ กติ วิ ัชระเจรญิ ดจุ ลดา พิมรัตน์ และ สุรรี ตั น์ ทองคำ. 2552. ความ
สญู เสียของผลผลติ ออ้ ยเน่อื งจากโรคใบขาวออ้ ย. หน้า 52. ใน :บทคัดยอ่ รายงานผลงานวิจัยและพัฒนาด้านพชื และ
เทคโนโลยกี ารเกษตร การทดลองสิน้ สดุ ปีงบประมาณ 2552. กรมวชิ าการเกษตร.

พรทิพย์ วงศ์แก้ว. 2542. การจดั การโรคใบขาวของออ้ ย. โครงการจัดการโรคใบขาวของออ้ ย สำนักงานกองทุนสนับสนนุ การ
วิจยั ฝา่ ยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเี พ่อื การผลติ และการบรกิ าร. ขอนแก่นพมิ พ์พัฒนาจำกดั ขอนแกน่ . 228 หน้า.

ยพุ า หาญบุญทรง และ ทนุธรรม บญุ ฉิม. 2559. พฤตกิ รรมการเคล่อื นทข่ี องเพล้ยี จกั จนั่ พาหะนำโรคใบขาวออ้ ย. แก่น
เกษตร 44 ฉบบั พิเศษ 1 :2559 73-79.

ศจุ ิรตั น์ สงวนรังศิรกิ ุล ทักษณิ า ศนั สยะวิชยั และ สนุ ี ศรสี ิงห.์ 2557.การศกึ ษาวธิ ีการตรวจวนิ ิจฉัยเชอื้ ดว้ ย reverse
transcriptase และการหาปรมิ าณเชอ้ื ไฟโตพลาสมาโรคใบขาวในอ้อยด้วย real time PCR. ใน : รายงานไตรมาส
2 ประจำปี 2557. สถาบันวจิ ัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร.

ศุจิรตั น์ สงวนรงั ศิริกุล ธีรวุฒิ วงศ์วรัตน์ ทักษิณา ศนั สยะวชิ ัย สุนี ศรสี ิงห์รงั สี เจรญิ สถาพร ประพันธ์
ประเสรฐิ ศักดิ์ และ กอบเกยี รติ ไพศาลเจรญิ . 2558. วธิ ีตรวจและวินิจฉยั โรคใบขาวของอ้อยดว้ ยเทคนิคพซี ีอาร์.
ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ กรมวชิ าการเกษตร ประจำปี 2557. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ หนา้ 69-
89.

Kobori, Y., S.Ando. M.M. Thein, Y.Hanboonsong. 2015. Movement ability of vector insects of sugarcane
white leaf disease. In: Annual Report 2015 (Apr.2015-Mar.2016) Japan International Research
Center for Agricultural Sciences. P.50-51.

398

การศกึ ษาผลของการติดเชอ้ื โรคอน่ื ซำ้ ซ้อนต่อเชอื้ ไฟโตพลาสมาโรคใบขาวของอ้อยในสภาพไร่
Effect of mixed infections in sugarcane preinfected with white leaf disease

phytoplasma in field condition

ศุจริ ตั น์ สงวนรังศิรกิ ลุ 1 วรี กรณ์ แสงไสย์1 วสนั ต์ สิงค์คำ1 จรี นนั ท์ วันชะเอม1 จุฑามาศ สอนเมอื ง1
แตงไท ภญิ โญ1 รวีวรรณ เช้ือกติ ตศิ กั ดิ์1 ภาคภูมิ ถิน่ คำ1 และปิยะรตั น์ จงั พล1

บทคดั ยอ่
การสำรวจเชอื้ สาเหตโุ รคในอ้อยในสภาพไร่เพือ่ การทดสอบผลของการตดิ เชื้อโรคอ่นื ซำ้ ซ้อนต่อเชื้อ
ไฟโตพลาสมาโรคใบขาวของออ้ ยมกี ารทำการสำรวจทัง้ สิ้นจำนวน 9 ครั้ง โดยเช้อื ทสี่ ำรวจได้ทัง้ หมด 4 ชนิด
เป็นเชื้อราบนใบ ซ่ึงอาจไม่มผี ลตอ่ เชือ้ ไฟโตพลาสมาซงึ่ อยูใ่ นท่ออาหารของพืช การทดลองปลกู เช้ือราสาเหตุ
โรคเส้นกลางใบแดงบนใบของตน้ ออ้ ยทีม่ เี ชือ้ ไฟโตพลาสมา แม้เชอื้ สามารถเขา้ ทำลายเนอื้ เยอ่ื ได้ แต่ไมม่ ีการ
ขยายขนาด การเก็บตัวอย่างอ้อยที่มีลักษณะอาการที่พบได้แก่ ก้านใบแดง,ใบขีดแดง,ใบแถบเหลืองและ
กลางใบเหลอื ง จากการนำแบคทีเรยี ที่เพาะแยกเชื้อได้ มาทดสอบจำนวน 20 ไอโซเลต พบว่าเปน็ แบคทีเรีย
แกรมลบ จำนวน 18 ไอโซเลต และแบคทีเรียแกรมบวก 2 ไอโซเลต ผลการทดลองปลูกเชื้อที่สำรวจได้
จำนวน 20 ชนิดในตน้ อ้อยที่มีเชื้อใบขาวซ้ำ 2 ครั้ง พบว่าต้นออ้ ยยงั ไมแ่ สดงอาการของโรคที่เด่นชดั รุนแรง
ทดสอบการปลูกเชอ้ื แบคทเี รียสาเหตุโรคอ้อย 5 ไอโซเลตโดยใช้ตน้ ออ้ ยจำนวน 72 ตน้ พนั ธุ์ : TPJO4-768
อายุ 2 เดอื น ทำการปลกู เชือ้ โดยการฉีดใส่ลำตน้ อ้อยบนั ทกึ ผลทกุ 1 สัปดาหห์ ลงั การปลูกเชือ้ เป็นระยะเวลา
1 เดอื นจากน้นั นำการปลกู เชือ้ ซ้ำอกี สองรอบ พบว่าเช้อื ทง้ั 5 isolates สามารถเพิ่มระดับความรุนแรงได้ถึง
ระดับ 2 และเริ่มแสดงอาการตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 หลังการปลูกเชื้อ การปลูกเชื้อในกลุ่มตน้ ท่ีมีอาการใบขาว
พบวา่ isolate 4 และ 5 ซงึ่ เปน็ กลุ่มโคโลนสี เี หลือง มีตน้ ทีแ่ สดงอาการใบขาวลดลง การปลูกเช้อื กลมุ่ โคโลนี
สเี หลืองท่เี พาะแยกได้จากใบท่ีมีอาการคลา้ ยใบลวก 5 ไอโซเลต ในต้นกล้าพนั ธุ์ขอนแกน่ 3 ท่ีมีการติดโรคใบ
ขาวจำนวน 60 ต้น มีปริมาณเชื้อใบขาวก่อนปลูกเชื้อพบปริมาณเชื้อตั้งแต่ <0.5- 10 copy/ul in 25 ng
plant DNA ดว้ ยวธิ ตี ัดใบ พบว่าเช้อื ทป่ี ลูกมกี ารเขา้ ทำลายมากขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 พบว่า isolate A และ B มี
ความรุนแรงกว่าอีก 3 isolates โดยสามารถทำลายเน้ือเยื่อใบอ้อยไดถ้ งึ ระดบั ท่ี 7 ส่วน isolate C, D และ
E ทำลายได้ถึงระดับ 5 ผลการตรวจเชื้อโรคใบขาวในต้นที่ทดสอบพบว่าในกลุ่มควบคุม มีเชื้ออยู่ในระดับ
น้อยกว่า 10 copies/ul ในดีเอ็นเอพืช 25 นาโนกรมั ท่ี 4 สปั ดาห์หลงั การปลูก ส่วนกลุ่มทดสอบท่ีพบว่ามี
ปริมาณเชื้อใบขาวเพิ่มขี้น ได้แก่ กลุ่ม A, C และ E แต่กลุ่มที่ทดสอบกับ isolate B และ D มีแนวโน้มของ
เชื้อลดลงหรือคงตัว ทั้งนี้อาจเกิดจากผลของเชื้อที่มีต่อการเพิ่มปริมาณของเชื้อใบขาวหรือการเกิดเช้ือ
ซ้ำซ้อนของทั้งสองเชื้อทำใหพ้ ืชแสดงอาการใบขาวได้มากข้ึน ผลการทดลองนี้แสดงพบว่าเชื้อกลุ่มโคโลนีสี
เหลืองทไี่ ด้จากการเพาะแยกจากใบท่ีมอี าการคลา้ ยใบลวกอาจมีผลต่อการลดลงของเช้อื โรคใบขาวอ้อย การ
ทดลองในตวั อยา่ งทมี่ จี ำนวนมากขนึ้ จะทำให้ไดผ้ ลท่ชี ัดเจนข้ึน

1ศูนยว์ จิ ัยพืชไรข่ อนแก่น สถาบันวจิ ัยพชื ไร่และพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่

399

คำสำคญั : อ้อย โรคใบขาวของออ้ ย โรคอ้อย โรคใบลวก โรคเหี่ยว โรคใบจุด โรคราสนิม การตดิ โรคซำ้ ซ้อน
คำนำ

ผลจากการดำเนินงานของศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรีและ
สถาบันวิจยั พืชไร่ โดยสำรวจเช้ือและตรวจปริมาณเช้ือไฟโตพลาสมาในตัวอย่างที่เก็บจากแปลงด้วยเทคนิค
Nested-PCR พบวา่ ตัวอย่างท่ีเก็บสำรวจในสภาพไรห่ ลายตวั อยา่ ง จะพบแถบดีเอน็ เอท่มี ีหลายแถบรว่ มด้วย
กับแถบที่แสดงถึงการติดเชือ้ ไฟโตพลาสมา ซึ่งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การมีเชื้ออื่นปะปนร่วมกับเชื้อไฟโตพลาสมา
ด้วย และจากการตรวจอาการของต้นมักพบอาการทเ่ี กิดจากเชือ้ สาเหตุโรคอนื่ ด้วย เชน่ โรคใบลวก โรคเหีย่ ว
โรคใบจุด โรคราสนมิ เปน็ ต้นตัวอยา่ งเหลา่ นี้มักพบในกลุ่มท่ีมีการปลูกในแปลงเดมิ เป็นเวลานาน การตรวจ
ยืนยันผลด้วย secA gene ที่มีความจำเพาะต่อเชื้อโรคใบขาวของออ้ ยแสดงให้เห็นว่าตัวอย่างที่ติดเชื้ออืน่
บางชนิด เช่น โรคใบลวก มักตรวจไม่พบแถบดีเอ็นเอที่บ่งชี้ถึงการติดเชื้อไฟโพลาสมาโรคใบขาวของอ้อย
หรือพบในปรมิ าณนอ้ ย ในขณะที่ตวั อยา่ งในแปลงเดยี วทีไ่ มพ่ บเชอื้ อ่ืน สามารถตรวจพบเช้อื ไฟโตพลาสมาได้
จงึ อาจมคี วามเป็นไปไดท้ ีเ่ ชอื้ สาเหตโุ รคอนื่ บางชนดิ ท่ี อาจมฤี ทธต์ิ ้านการตดิ เชอ้ื ไฟโตพลาสมาได้

จากการสำรวจพบว่าตัวอย่างอ้อยท่ีติดเชื้อโรคใบลวก (Leaf Scald) มักตรวจไม่พบเชื้อไฟโต
พลาสมาสาเหตุโรคใบขาวด้วยเทคนิคพีซีอาร์ โรคใบลวกเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas
albilineans เชื้อนี้มีการสร้างสารพิษ albicidin ที่ทำลายระบบท่อน้ำท่ออาหารของพืช สารพิษดังกล่าวนี้
อาจมผี ลต่อการดำรงชวี ติ ของไฟโตพลาสมาดว้ ย นอกจากนี้จากการสำรวจในกล่มุ ตวั อยา่ งที่ตรวจพบว่ามีเชื้อ
อน่ื ร่วมด้วยทสี่ ังเกตจากผลการตรวจด้วยเทคนิคพีซอี ารน์ ้ัน มักไมพ่ บเช้อื ไฟโตพลาสมาโรคใบขาวในปริมาณ
ที่สูง แตกต่างจากต้นท่ีตรวจไม่พบเชื้ออืน่ จะเห็นการติดเชื้อเดี่ยวที่มีปรมิ าณเชื้อไฟโตพลาสมาใบขาวมาก
หรือนอ้ ยทช่ี ัดเจน ดังน้นั จึงอาจมีความเป็นไปได้วา่ เช้อื สาเหตุโรคอื่นในออ้ ยบางชนิดอาจเป็นปฏิปักษ์กับเชื้อ
ไฟโตพลาสมาโรคใบขาวของอ้อย ซึ่งอาจเปน็ แนวทางในการพัฒนายาปฏชิ ีวนะหรอื สารในการกำจัดเช้อื ไฟ
โตพลาสมาได้

การติดเชื้อซ้ำซ้อนในพืชสามารถพบได้บ่อยครั้งในธรรมชาติ อาจจะเป็นการติดเชื้อชนิดเดียวกัน
เช่น ไวรัสและไวรสั หรือ การติดเชื้อข้ามชนิด เช่น แบคทีเรียกับไวรสั ซึ่งแต่ละชนิดอาจจะมีปฏิกิริยาชนดิ
สง่ เสรมิ กนั หรอื ตอ่ ตา้ นกันได้ จากรายงานของ Shapiro et al. (2013) พบว่า มะระป่า (Cucurbita pepo
ssp. Texana) ที่ติดเชื้อไวรัส Zucchini yellow mosaic virus (ZYMV) สามารถลดความรุนแรงและ
พฒั นาการในการแสดงอาการเหีย่ วท่เี กดิ จากเช้ือ bacterial wilt (Erwinia tracheiphila) ได้ โดยพบวา่ ต้น
ทีต่ ดิ เช้ือไวรัส ZYMV นน้ั มีการสร้าง Salicylic acid (SA) ซึ่งเป็นไฟโตฮอรโ์ มนทพ่ี ืชสร้างขึ้นในการต่อต้าน
การเกดิ เชอื้ ส่วนตน้ ท่ตี ดิ เชื้อแบคทเี รียโรคเหี่ยวไม่พบสารชนิดน้ี ซ่งึ แสดงว่าแบคทีเรียกดการทำงานของพืช
และยับยั้งการสร้างสารดังกล่าว Thongwai and Kunopakarn (2007) ได้รายงานถึงการจำแนกเชื้อที่
สามารถยบั ยง้ั การเจริญเตบิ โตของเชอ้ื สาเหตุโรคเหย่ี วในปทมุ มาท่ีเกิดจากเชอ้ื Ralstonia solanacearum
ซึ่งสามารถคัดเลือกได้ 5 ชนิด เปน็ แบคทีเรียกลุม่ bacillus และ enterobacteria โดยมีจุดประสงค์ในการ
นำเชอื้ ผสมเหลา่ นไ้ี ปใช้ในการควบคุมโรคเห่ยี วในปทุมมา

400

วัตถุประสงค์ของงานวจิ ยั น้ีเพื่อศกึ ษาผลของการตดิ เชื้อสาเหตุโรคอ่นื ตอ่ อบุ ตั ิการณ์การตรวจพบเชื้อ
ไฟโตพลาสมาโรคใบขาวในอ้อยของตัวอย่างท่ีสำรวจจากไร่เกษตรกร และผลของการติดโรคอ่ืนต่อปริมาณ
เชือ้ ไฟโตพลาสมาในออ้ ยท่ีติดเช้ือโรคใบขาวจากการปลกู เชือ้ ในห้องปฏบิ ัตกิ าร เพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลปฏิกิริยาของ
เช้ือสาเหตุโรคอื่นต่อเชื้อไฟโตพลาสมาโรคใบขาวของอ้อยที่สามารถนำไปพัฒนาต่อเป็นสารหรือยาในการ
ควบคมุ หรือกำจัดเชื้อไฟโตพลาสมาโรคใบขาวท่ไี ด้

วธิ ีดำเนนิ การและอปุ กรณ์
อุปกรณ์ : อุปกรณ์ดูดจ่ายสารละลาย เครื่องปั่นเหวี่ยง หลอดแอพเพนดอร์ฟ กระถางพลาสติก ดิน
สำหรบั เพาะกล้า เคร่ืองเพิม่ ปรมิ าณสารพันธุกรรม เครือ่ งอา่ นผลดเี อน็ เอ เคร่อื งตรวจปริมาณดเี อน็ เอ
วิธกี าร :

แบ่งเปน็ 2 ขั้นตอน ดังนี้
ข้ันตอนท่ี 1 สำรวจและแยกและเพาะเชอ้ื สาเหตโุ รคอ่ืนในออ้ ยสำหรับการทดสอบ
สิ่งที่ใช้ในการทดลอง: ตัวอย่างอ้อยที่แสดงอาการโรคอื่น เช่น โรคใบลวก โรคเหี่ยว โรคใบจุด
โรคราสนมิ จากการสำรวจจากแปลงปลูกของเกษตรกรในแหล่งปลูกตา่ งๆ
แบบและวธิ ีการทดลอง: สำรวจและรวบรวมตวั อยา่ งอ้อยเปน็ โรคจากไรเ่ กษตรกรและแปลงทดลอง
วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารทดลอง
สำรวจและเก็บตัวอย่างอ้อยที่แสดงอาการโรคอ่ืน เช่น โรคใบลวก โรคเหี่ยว โรคใบจุด โรคราสนิม
จากแปลงปลูกของเกษตรกรในแหล่งปลูกต่างๆ เพาะแยกเชื้อ และจำแนกชนิดของเชื้อในห้องปฏิบัติการ
ตามวิธีการจำแนกเชื้อแต่ละชนิดและ เพาะเลี้ยงเชื้อเพื่อการศึกษาในขั้นต่อไป ตรวจปริมาณเชื้อไฟโต
พลาสมาโรคใบขาวและการติดเชื้ออื่นด้วยเทคนิค Nested-PCR และ realtime PCR ตรวจยืนยันการติด
เชื้อโรคใบขาวและปริมาณเชื้อด้วย SecA gene ตามวิธีการ Sakuanrungsirikul et al. (2013) บันทึกผล
การตรวจพบเช้ือไฟโตพลาสมารว่ มกับการพบเชือ้ อื่นในตัวอยา่ งเดยี วกัน
ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาผลของการติดโรคอื่นต่อปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาด้วยการปลูกเชื้อใน
ห้องปฏบิ ตั ิการ
สิ่งที่ใช้ในการทดลอง: ต้นอ้อยอายุประมาณ 2 เดือน ที่ได้จากการเพาะอ้อยที่มีอาการยอดขาว
หรือหนอ่ ขาวและจากลำทไ่ี มม่ อี าการใบขาว
แบบและวิธีการทดลอง: -
วธิ ปี ฏิบัตกิ ารทดลอง
เตรียมตัวอย่างโดยนำอ้อยลำที่มีอาการยอดขาว หรือหน่อขาวและลำที่มาจากกอที่ไม่มีอาการใบ
ขาว ตัดข้อ ระบุตำแหน่งข้อ ระบุพันธุ์ที่ใช้ แช่ข้อในน้ำร้อน 52 องศาเซลเซียส 30 นาที นำมาเพาะใน
กระถาง บันทึก ตำแหน่งข้อที่ปลูก ดูแล รักษา และเพาะเลีย้ งจนได้ตน้ อายุประมาณ 2 เดือน บันทึกข้อมลู
อาการใบขาว ตรวจปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาโรคใบขาวและการติดเชื้ออื่นดว้ ยเทคนิค Nested-PCR และ
realtime PCR ตรวจยืนยันการติดเชื้อโรคใบขาวและปริมาณเชื้อด้วย SecA gene ตามวิธีการ

401

Sakuanrungsirikul et al. (2013) ในต้นที่คัดเลือกก่อนการปลูกเชื้อ นำไปปลูกเช้ือสาเหตุโรคอืน่ เช่นโรค
ใบลวก โรคเหี่ยว โรคใบจุด โรคราสนมิ ในห้องปฏิบัติการตามวิธีการมาตรฐาน จำนวน 50 ซำ้ /เชื้อ 1 ชนิด
บนั ทกึ พัฒนาการของอาการของเชือ้ ชนดิ ตา่ งๆ ท่ีเกิดข้ึนบนใบ ตรวจปริมาณเชอ้ื ไฟโตพลาสมา เม่อื เรม่ิ ตรวจ
พบการแสดงอาการจากการปลูกเชือ้ ต่างๆ และเก็บตัวอย่างเพือ่ ตรวจเชื้อเพ่ิมอีกทุก 14 วัน หลังการแสดง
อาการ จนถงึ 3 เดอื นหลังการปลกู เช้อื บันทึก วเิ คราะห์ และสรปุ ผล
เวลาและสถานที่

เริม่ ต้น : ตลุ าคม 2558 สิ้นสดุ กันยายน 2563
สถานทที่ ำการทดลอง : ศนู ยว์ ิจัยพชื ไรข่ อนแกน่

ผลการทดลองและวจิ ารณ์
การสำรวจเชอ้ื สาเหตโุ รคอ่ืนในอ้อย : การสำรวจเชอื้ สาเหตโุ รคในอ้อยในสภาพไร่เพื่อการทดสอบ
ผลของการติดเช้อื โรคอืน่ ซ้ำซอ้ นต่อเชือ้ ไฟโตพลาสมาโรคใบขาวของอ้อยมกี ารทำการสำรวจท้งั ส้นิ จำนวน 9
คร้ัง ในระยะแรกชว่ งเดอื นตุลาคม จำนวน 3 ครง้ั เชื้อทสี่ ำรวจได้ทง้ั หมด 4 ชนิด เปน็ เชือ้ ราบนใบ ซึ่งอาจไม่
มีผลต่อเช้ือไฟโตพลาสมาซึ่งอยู่ในท่ออาหารของพืช การสำรวจเชื้อเพิ่มอีก 3 ครั้งในช่วงหลังฤดูฝน เก็บ
ตวั อย่างใบอ้อยทส่ี งสยั อาการของโรคพืช จากแปลงทดลองศูนยว์ ิจัยพชื ไร่ขอนแก่น, พ้นื ทปี่ ลกู ออ้ ยในจงั หวัด
หนองคาย, อุดรธานี, ชัยภูมิ, มหาสารคาม,ร้อยเอ็ด, กาฬสินธุ์ และขอนแก่นได้ทั้งหมด 120 ตัวอย่าง โดย
ลักษณะอาการทีพ่ บได้แก่ ก้านใบแดง,ใบขีดแดง,ใบแถบเหลืองและกลางใบเหลือง จากการนำแบคทเี รียท่ี
เพาะแยกเชื้อได้ มาทดสอบจำนวน 20 ไอโซเลต พบว่าเป็นแบคทีเรียแกรมลบ จำนวน 18 ไอโซเลต เป็น
กลุ่ม Psuedomonas จำนวน 11 ไอโซเลต กลุ่ม Xanthomonas/Pantoea จำนวน 7 ไอโซเลต และ
แบคทเี รยี แกรมบวก 2 ไอโซเลต
การทดสอบการปลูกเชื้อในต้นอ้อยที่ติดเชื้อไฟโตพลาสมา : การทดลองเพาะเชื้อเส้นกลาง
ใบแดงบนใบอ้อยที่ของตน้ อ้อยท่ีได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และตรวจพบว่ามีปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมา
ระดบั สูง เร่ิมแสดงอาการสน้ กลางใบแดงหลงั การปลกู เช้ือประมาณ 2 สัปดาห์ แต่จากสภาพอากาศร้อนและ
แล้งจัด ทำให้โรคไม่มีการขยายขนาดบนใบ แม้จะทำการฉีดพ่นน้ำอย่างสม่ำเสมอ การทดลองปลูกเชื้อที่
สำรวจได้จำนวน 20 ไอโซเลต ในต้นอ้อยที่มีเชื้อใบขาวในช่วงระหว่างเดือน ม.ค. 2560 พบว่าต้นอ้อยไม่
แสดงอาการของโรคท่ีเด่นชัดรนุ แรงหลงั การปลูกเช้ือ 7 วัน (ภาพท่ี 1) แต่การปลูกเชื้อซ้ำพบว่าต้นแห้งตาย
ท้งั หมดเน่อื งจากสภาพอากาศแล้ง

402 ลักษณะโคโลนี แกรม กลุ่มเชอื้ อาการหลงั ปลกู เชื้อ 7 วัน
บนอาหารเล้ียงเชอ้ื
อาการบนใบ ลบ กลมุ่ จีนัส
Psuedomonas

ลบ กลุม่ จนี ัส
Psuedomonas

ลบ กลุ่มจนี สั
Xanthomanas/
Pantoea

บวก กลุ่มจีนสั
Bacillus

ภาพที่ 1 ชนิดของเชอ้ื และโรคอ้อยและผลการปลูกเชอื้ ในตน้ ออ้ ยทต่ี ดิ เชื้อโรคใบขาว

การทดสอบการปลูกเชื้อแบคทีเรียสาเหตโุ รคอ้อย 5 ไอโซเลตโดยใช้ต้นอ้อยจำนวน 72 ต้น พันธุ์
TPJO4-768 ทำการเตรียมเซลล์แขวนลอยเชื้อแบคทีเรยี ทั้ง 5 isolates โดยแยกเชื้อสาเหตุโรคพืชจากการ
นำตัวอยา่ งใบออ้ ยท่มี ีอาการเป็นโรค (ภาพที่ 2) บนอาหารเลย้ี งเชอื้ Nutrient Agar (NA) บม่ นาน 48 ชัว่ โมง
ทอี่ ุณหภมู ิ 28 องศาเซลเซียส แล้วนำเซลล์แบคทีเรยี มาเตรียมสารแขวนลอยในน้ำกล่ันฆา่ เช้ือ ทค่ี ่า Optical
density เท่ากับ 0.1 วัดที่ความยาวคลื่น 590 นาโนเมตร (OD590) มีเชื้อเท่ากับ 108 CFU/ml นำต้นอ้อยท่ี
ทำการปลูกมาแล้ว 2 เดือน ทำการปลูกเชื้อโดยการฉีดใส่ลำต้นอ้อยปริมาณต้นละ 2 ml บันทึกผลทุก 1
สปั ดาหห์ ลังการปลูกเชื้อเป็นระยะเวลา 1 เดือนจากนั้นนำการปลูกเช้ือซ้ำอกี สองรอบ และตรวจเชอื้ หลังจาก
ปลกู เชื้อ 1 เดอื น นบั จำนวนต้นทีเ่ ปน็ โรค และวัดอตั ราการเกดิ โรคบนใบอ้อย ตามวิธี Mcmaugh (2008)

ไอโซเลต ลักษณะโคโลนี ชนดิ เชื้อ 403
1.UT1 เชือ้ แบคทีเรยี
unknown อาการทางใบหลังปลูกเชอ้ื
2.UT3
เ ช ื ้ อ แ บ ค ท ี เ รี ย
3.KKFC1 Xanthomonas
sp./Pantoea

เช้ือแบคทเี รยี
unknown

4.XAN1 เ ช ื ้ อ แ บ ค ท ี เ รี ย
5.XAN2 Xanthomonas
sp./Pantoea

เ ช ื ้ อ แ บ ค ท ี เ รี ย
Xanthomonas
sp./Pantoea

ภาพท่ี 2 เช้อื แบคทเี รียสาเหตุโรคอืน่ ในออ้ ย 5 ไอโซเลต และอาการทางใบหลังการปลูกเชื้อของต้นอ้อยท่ีติด
โรคใบขาวท่ใี ช้ทดสอบ

โดยใชก้ ารประเมนิ ระดบั ความรนุ แรงของโรคดว้ ยตาเปลา่ ดังน้ี
ระดับ 0 ไม่ปรากฏอาการของโรค
ระดบั 1 ปรากฏอาการของโรค จำนวน 1-25 % ของพืน้ ที่ใบพืช

404

ระดับ 2 ปรากฏอาการของโรค จำนวน 26-50 % ของพน้ื ท่ีใบพืช
ระดบั 3 ปรากฏอาการของโรค จำนวน มากกวา่ 50% ของพื้นทีใ่ บพืช
ผลการประเมนิ ระดับความรุนแรงของโรคจากการปลูกเชื้อพบวา่ เชือ้ ทั้ง 5 isolates สามารถเพิ่ม
ระดับความรุนแรงได้ถงึ ระดับ 2 และเริ่มแสดงอาการต้ังแต่สัปดาหท์ ี่ 1 หลังการปลูกเชื้อ การปลูกเชื้อใน
กลุ่มตน้ ทมี่ ีอาการใบขาว พบว่า isolate 4 และ 5 ซึ่งเปน็ แบคทเี รียในกลมุ่ Xanthomonas sp./Pantoea
sp.หรือเป็นกลุม่ แบคทเี รียท่ีมีโคโลนีสีเหลือง มีต้นท่ีแสดงอาการใบขาวลดลง ส่วนการทดลองในกลุ่มท่ไี ม่
แสดงอาการใบขาว หลังการปลูกเชื้อสัปดาห์ที่ 7 ไม่มีต้นแสดงอาการใบขาว (ตารางที่ 1) แสดงให้เห็นวา่
เชอื้ กลุม่ น้อี าจสง่ ผลในทางลบต่อโรคใบขาว

ตารางที่ 1 การประเมินความรุนแรงของโรคในต้นอ้อยที่ได้รับการปลูกเชื้อในตน้ กล้าอ้อยทีมีอาการใบขาว

(white leaf) และตน้ ทีไ่ ม่มอี าการใบขาว (Green leaf) จำนวน 6 ซ้ำ และจำนวนตน้ ทกี่ ารแสดง

อาการใบขาวใน ดำเนินการปลูกเชื้อครั้งที่ 1 เมื่อ 3 ต.ค. 2560 ตรวจติดตามการแสดงอาการ

ของตน้ ในสัปดาห์ที่ 1 (10 ต.ค. 2560), 2 (17 ต.ค. 2560) , 3 และ 4 (24 ต.ค. 2560) ปลกู เช้ือ

ครง้ั ที่ 2 (27 พ.ย. 2560) * แสดงอาการโรคอน่ื ร่วมด้วย white : ตน้ แสดงอาการใบขาว

isolate 1Wk1 1Wk2 1Wk3 1Wk4 2wk4 2wk5 2wk6 2wk7 Plant symptom
White leaf group At 1wk1 / 2wk7

control 0 0 0 0 0 0 0 0 6White* / 6 white
1.UT1 0 0 0 0-2 0-2 0-2 0-2 0 5 white* /6 white
2.UT3 0 1 1 1-2 1-2 1-2 1-2 1-2 0 white* /3 white
3.KKFC1 0 0 0 0-2 0-2 0-2 0-2 0 0 white*/4 white
4.XAN1 0-1 0-1 0-1 0-2 0-2 0-2 0-2 0-1 4 white* /2 white
5.XAN2 0 0 0 0 0 0 0 1 1 white* /0 white
Green leaf group

control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 white /0 white
0 white /0 white
1.UT1 0 0 1 1-2 1-2 1-2 1-2 1-2 1 white*/0 white
0 white*/0 white
2.UT3 0 0 0-1 0-1 0-1 0-1 0-1 0 0 white*/0 white
0 white /0 white
3.KKFC1 0 0 0 0 0 0 0 0-2

4.XAN1 0 0 0 0 0 0 0 2

5.XAN2 0-1 0-1 0-1 0-2 0-2 0-2 0-2 0-1

การตรวจปริมาณเชื้อโรคใบขาวก่อนการปลูกเชื้อ และในสัปดาห์ที่ 7 หลังการปลูกเชื้อ ผลการ
วิเคราะห์ปริมาณเชื้อใบขาวในตัวอย่างอ้อยก่อนการปลูกเชื้อพบว่ามีเชื้อใบขาวเริ่มต้นระหว่าง 0.5 –
100.000 copy/ul ในดีเอ็นเอพืช 25 นาโนกรัม (ภาพที่ 3) โดยที่ปริมาณเชื้อต่ำกว่า 1000 copy/ul ในดี
เอน็ เอพืช 25 นาโนกรมั อ้อยยังไม่แสดงอาการใบขาว

405

ภาพที่ 3 ระดับปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาโรคใบขาวอ้อย
ประเมนิ ดว้ ยวธิ ี nested-PCR ใชย้ นี เปา้ หมาย 16S-23S ITS ใน
ใบของอ้อยก่อนทดสอบการปลูกเชื้อแบทีเรยี สาเหตุโรคอื่นใน
ออ้ ย
สฟี ้า : <0.5 copy/ul ในดีเอน็ เอพชื 25 นาโนกรัม
สเี ขยี ว : 0.5-1 copy/ul ในดีเอน็ เอพชื 25 นาโนกรมั
สีเหลอื ง : 1-10 copy/ul ในดีเอน็ เอพชื 25 นาโนกรัม
สีส้ม : 10-1000 copy/ul ในดีเอ็นเอพืช 25 นาโนกรมั
สีแดง* : > 1000 copy/ul ในดีเอ็นเอพชื 25 นาโนกรมั
*แสดงอาการใบขาว

การสำรวจตัวอย่างเชื้อใบลวกจากอ้อยที่ติดเชื้อในเขตจังหวัดนครสวรรค์ สามารถเพาะแยกเชื้อ
Xanthomonas/Pantoea sp หรือกลุ่มโคโลนสี ีเหลืองได้ 5 isolates (ภาพที่ 4) การทดสอบปลูกเชื้อใน
ต้นอ้อยอายุ 2 เดือน จำนวน 30 ต้น พบว่าทุกต้นแสดงอาการของโรค และพบว่า isolate B และ C ให้
คอ่ นขา้ งผลรนุ แรงกว่าอกี 3 isolates

isolate Colony form isolate Colony form
A B

CD ภาพที่ 4 Xanthomonas/Pantoea
E isolates ทใี่ ชใ้ นการปลกู เชือ้ ในตัวอยา่ งอ้อย
ชุดท่ี 2-2561 และตน้ อ้อยอายุ 2 เดอื นที่ใช้
ในการทดสอบการปลูกเช้ือ

406

การปลูกเช้ือแบคทเี รียจำนวน 5 ไอโซเลตที่เพาะแยกได้ใหมจ่ ากออ้ ยท่มี อี าการของโรคคล้ายใบลวก
ไดก้ ล่มุ โคโลนสี เี หลืองจำนวน 5 isolates นำมาทดสอบบนต้นอ้อยทีม่ ีเชอื้ โรคใบขาวดว้ ยวิธีการตัดใบ ใช้ต้น
ออ้ ยพันธุ์ KK3 อายุ 2 เดอื น จำนวน 60 ต้น (ภาพท่ี 5) เก็บตัวอย่างใบไปตรวจวิเคราะหโ์ รคใบขาวก่อนการ
เพาะเชื้อ โดยวิธี PCR และปลูกเชื้อ พบว่ามีผลการตรวจปริมาณเชื้อตั้งแต่ <0.5- 10 copy/ul ในดีเอ็นเอ
พชื 25 นาโนกรัม (ภาคผนวก ตารางท่ี 1) โดยทำการปลกู เชอื้ (inoculation) ดงั นี้

ทำการปลูกเชอ้ื โดยการตัดใบออ้ ยทั้งหมด 60 ต้น โดยใหร้ หัส
W1 – W10 : CONTROL
A1 – A10 : ปลูกเชื้อ ISOLATE A
B1 – B10 : ปลูกเชือ้ ISOLATE B
A1 – A10 : ปลูกเชือ้ ISOLATE C
A1 – A10 : ปลูกเชอ้ื ISOLATE D
A1 – A10 : ปลูกเชอ้ื ISOLATE E
การบนั ทกึ ผลการทดสอบทุก 1 สปั ดาหห์ ลังการปลกู เชือ้ เปน็ เวลา 2 เดือน
โดยการประเมินโรค 5 ระดบั ตามวิธขี อง Andres Felipe Gutierrez Viveros

1 = ไม่ปรากฏอาการ
3 = ปรากฏอาการ 1-2 ขีดเหลอื ง
5 = ปรากฏอาการ 2 ขดี เหลอื ง
7 = ปรากฏอาการเนอื้ เยื่อตาย
9 = ต้นตาย

ภาพท่ี 5 เชือ้ แบคทเี รยี กลุ่มโคโลนีสเี หลอื ง 5 ไอโซเลต ใน Nutrient Agar (NA) และต้นออ้ ยตัดใบหลังการ
ปลกู เชอื้

ผลการทดลองพบว่า isolate A และ B มคี วามรนุ แรงกวา่ อกี 3 isolates โดยพบวา่ สามารถทำลาย
เนือ้ เยือ่ ใบออ้ ยได้ถึงระดับท่ี 7 ส่วน isolate C, D และ E ทำลายไดถ้ ึงระดับ 5 เท่านน้ั เมื่อทำการตรวจสอบ
หลงั การปลูกเช้ือ 4 สปั ดาห์ (ภาคผนวก ภาพท่ี 1) ผลการตรวจเชอื้ โรคใบขาวในต้นที่ทดสอบพบว่าในกลุ่ม

407

ควบคมุ ไม่มีการปลกู เชื้อ มเี ช้อื มเี ชอื้ เพ่ิมขึน้ จากระดับสีเขียวเป็นสีเหลอื ง สว่ นใหญ่อย่ใู นระดบั น้อยกว่า 1-
10 copies/ul ในดีเอน็ เอพชื 25 นาโนกรมั ที่ 4 สปั ดาห์หลงั การปลกู ส่วนในกลมุ่ ทีท่ ดสอบพบวา่ มีปริมาณ
เชื้อใบขาวเพิ่มขี้นเมื่อเทียบจากการเปลี่ยนระดับสี ได้แก่ กลุ่ม A, C และ E แต่พบว่ากลุ่มที่ทดสอบกับ
isolate B และ D มีแนวโน้มของเชื้อลดลงหรือคงตัว พิจารณาจากรหัสสีปริมาณเชื้อ (ภาคผนวก ตารางที่
1) ซึ่งอาจเกิดจากผลของเช้อื ที่ปลูกมีตอ่ การเพ่มิ ปรมิ าณของเช้ือใบขาว หรอื การเกิดเชื้อซ้ำซ้อนของท้ังสอง
เช้ือทำใหพ้ ืชแสดงอาการใบขาวไดม้ ากขึ้นเนอื่ งจากพชื ออ่ นแอลง ทง้ั นกี้ ลุ่มควบคมุ ท่ีใชเ้ กือบทกุ ต้นมีปริมาณ
เชื้อใบขาวต่ำไม่มีการเพิ่มปริมาณเชื้อในระยะเวลา 4 สัปดาห์ การทดสอบซ้ำโดยให้มีจำนวนต้นที่มากข้นึ
ทำการปลูกเชื้อแบคทเี รียกลมุ่ ทมี่ โี คโลนสี เี หลือง 6 ไอโซเลต ที่ได้จากการแยกเชอื้ ใหม่ ทดสอบบนต้นอ้อยท่ี
มีเชื้อโรคใบขาวซ้ำ อายุ 2 เดือน จำนวน 70 ต้น พบว่ามี 3 ไอโซเลตมีความรุนแรงของเชื้ออยูใ่ นระดับ 5
ทง้ั นย้ี ังไม่ไดท้ ำการวิเคราะห์ผลปริมาณเชอ้ื ใบขาว (ภาพที่ 6)

ภาพที่ 6 ความรุนแรงของเชื้อกลุ่มโคโลนีสีเหลืองไอโซเลท F (ซ้าย)ในการทำลายใบอ้อยอายุ 2 เดือนที่
ทดสอบการปลูกเชือ้ ด้วนวิธีตัดใบ ประเมนิ เม่ือ 4 สัปดาห์หลังการปลกู เช้อื เปรียบเทียบกับกลุ่ม
ควบคุม (ขวา)

สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ :
การสำรวจเชื้อสาเหตโุ รคในอ้อยในสภาพไร่พบวา่ ส่วนใหญ่ไมม่ ีผลตอ่ การเกิดโรคใบขาว แต่เชื้อใน
กลุ่มที่ทำให้เกิดอาการคล้ายใบลวก ซึ่งจากการเพาะแยกจะได้กลุ่มแบคทีเรียโคโลนีสีเหลือง เมื่อทำการ
ทดสอบพบการเข้าทำลายใบได้เร็วและรุนแรงในบางไอโซเลท จากการทดสอบในระยะเวลา 4 สัปดาห์ของ
การเข้าทำลาย สามารถตรวจพบผลในทางลบต่อการเพิม่ ปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมา แต่ทั้งนี้การทดสอบใน
จำนวนตน้ ท่ีมากข้ึนจะทำใหไ้ ดข้ ้อมลู ที่ชัดเจนมากข้ึน กลุ่มเชื้อแบคทีเรียโคโลนีสเี หลอื งในการทดลองน้ี จาก
การตรวจด้วยการวิเคราะห์ลำดับนิวคลิโอไทด์ พบว่าเป็นกลุ่ม Pantoea sp ไม่สามารถเพาะแยกเช้ือ
Xanthomonas sp. ต้องใช้อาหาร selective การเพาะด้วยอาหาร PDA และ NA ทำให้เชื้อในกลุ่ม
Panthoea spp. ที่เจริญเตบิ โตได้เร็วกวา่ เกดิ ขึ้นแทนที่ ทำใหก้ ารทดลองไม่เป็นไปตามเปา้ หมาย ท่ีต้องการ
ทดสอบเชอื้ Xanthomonas แมไ้ ด้จากใบที่แสดงอาการคลา้ ยใบลวก อย่างไรก็ตามในการทดลองนต้ี ัวอย่าง

408

ท่ใี ชใ้ นการปลกู เชื้อมีจำนวนจำกัดเน่อื งจากต้องใช้ท่อนพันธุ์ทม่ี โี รคใบขาว ดังนนั้ การทดสอบโดยเทคนิคการ
ใชก้ ารปลูกเชื้อในหอ้ งปฏิบัติการท่รี วดเร็ว การใชเ้ ทคนิค detach leaf, leaf disc รวมถงึ การใช้เทคนิคการ
เพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื จะทำให้ไดผ้ ลท่แี มน่ ยำมากยงิ่ ขึ้น

การนำผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์
อยู่ระหว่างการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการเผยแพร่ ต่อยอดวิธีการและผลการทดลองในโครงการปี
2565-2567 ของสถาบันวิจัยพืชไรฯ่

คำขอบคุณ
ขอขอบคุณผูช้ ว่ ยวจิ ัยทีช่ ว่ ยปฏบิ ัติการทดลอง ทดสอบออ้ ยตามแผนงานทดลอง ขอขอบคุณคุณปิยะ
รัตน์ จังพล คุณรวีวรรณ เชื้อกิตติศักดิ์ คุณภาคภูมิ ถิ่นคำ ที่เอื้อเฟื้อต้นอ้อยเพื่อการทดสอบ ขอขอบคุณ
อ.ทักษณิ า ศันสยะวชิ ัย ผชช.วีระพล พลรกั ดี ทีใ่ หค้ ำปรกึ ษาด้านพันธุ์ และใหต้ ัวอยา่ งในการทดสอบ

เอกสารอา้ งอิง

McMaugh, T. 2008. Guidelines for Plant Pest Surveillance in Asia and the Pacific. ACIAR
Monograph. No. 119 c

Sakuanrungsirikul, S., Wongwarat, T., Sankot, S., Kawabe, K., Kobori, Y. and Ando, S. 2013.
Sugarcane white leaf and sugarcane grassy shoot diseases in Thailand and their detection
methods. Proceedings of International Society Sugar Cane Technology., 28: 1-11.

Shapiro, L.R., L. Salvaudon, K. E. Mauck, H. Pulido, C.M. De Moraes, A. G. Stephenson, M. C.
Mescher. 2 0 1 3 . Disease interactions in a shared host plant: effects of pre-existing viral
infection on cucurbit plant defense responses and resistance to bacterial wilt disease.
PLoS ONE 8(10): e77393. doi:10.1371/journal.pone. 0077393

Thongwai N. and J. Kunopakarn. 2 0 0 7 . Growth inhibition of Ralstonia solanacearum PT1 J by
antagonistic bacteria isolated from soils in the northern part of Thailand. Chiang Mai J.
Sci. 2007; 34(3) : 345-354

409
ภาคผนวก
AB

CD

E

ภาพที่ 1 การทำลายของเชอ้ื แบคทเี รยี กลมุ่ โคโลนีสเี หลอื งท่ีใบอ้อยในต้นที่ทดสอบการปลูกเชอ้ื isolate A,
B, C, D และ E Control ใชน้ ำ้ กลั่น

410

ตารางท่ี 1 ปริมาณเชื้อโรคใบขาวตรวจด้วย nested-PCR ท่ีใชย้ ีนเป้าหมาย 16S rDNA และ secA ในใบออ้ ย

ก่อนและหลังการปลกู เช้ือแบคทเี รียกลมุ่ โคโลนีสีเหลือง 5 ไอโซเลต

PCR Product ปรมิ าณเชือ้ copy/ul in 25 ng plant ระดับความรุนแรงของ
DNA โรคทีส่ ัปดาห์ 4**
Isolate/ต้น
isolate ท่ี Nested-PCR SecA ก่อนการปลกู หลังการปลกู เชือ้ 4 13579
700 210 275 เช้ือ* สัปดาห์
A A1 bp bp bp
A2 +/- <10 <0.5
B A3 +/- +/- 10 <0.5
A4 - +/- +/- >0.5 <0.5
A5 - +/- +/- >0.5 >0.5
A6 - 1+ 3+ <10 10
A7 1+ 4+ +/- >0.5 <10
A8 - 4+ +/- >0.5 <10
A9 - 4+ +/- <10 >0.5
A10 - 2+ 1+ >0.5 10
B1 0.5+ 4+ +/- >0.5 <0.5
B2 - +/- +/- <10 <0.5
- +/- 2+ >0.5 >0.5
- +/-

B3 - 2+ 4+ <10 <10
<10
B4 - 4+ 4+ 10 <10
<10
B5 - 4+ <0.5+ >0.5 <10
<10
B6 - 4+ <0.5+ >0.5 >0.5
<0.5
B7 - 4+ +/- >0.5 <0.5
>0.5
B8 - 4+ +/- >0.5 >0.5
>0.5
B9 - 0.5+ +/- >0.5 10
100
B10 - +/- +/- >0.5 <10
<0.5
C C1 - +/- +/- >0.5 100
C2 - 2+ 4+ 10 100

C3 - +/- 2+ <10 <0.5

C4 - +/- 1+ >0.5 <0.5

C5 0.5+ 4+ 4+ >0.5 <0.5

C6 2+ 4+ 4+ <10

C7 - 4+ +/- >0.5

C8 - +/- +/- 10

C9 2+ 3+ 2+ 10

C10 2+ 3+ 2+ <10

D D1 - +/- 0.5+ >0.5
D2 - +/- 1+ >0.5

D3 - +/- 1+ <0.5

D4 - 4+ 4+ >0.5 <10

D5 - +/- ? >0.5 <0.5

411

PCR Product ปริมาณเชอ้ื copy/ul in 25 ng plant ระดบั ความรุนแรงของ
DNA โรคทีส่ ัปดาห์ 4**
Isolate/ต้น
isolate ท่ี Nested-PCR SecA กอ่ นการปลูก หลังการปลูกเช้ือ 4 13579
700 210 275 เช้ือ* สัปดาห์
E D6 bp bp bp
D7 >0.5 <10
control D8 - 4+ <0.5+ >0.5 <10
D9
positive - 4+ <0.5+ 10 >0.5
D10
- 1+ <0.5+ >0.5 <10
E1
E2 - 4+ <0.5+ >0.5 <10
E3
E4 - 4+ +/- 10 >0.5
E5 >0.5 >0.5
E6 - 2+ 1+? >0.5 >0.5
E7 - +/- 0.5+ 100 <10
E8 - 2+ 4+ <10 100
E9 - 4+ 2+ <10 >0.5
E10 2+ 4+ 4+ <10 10
W1 - 1+? ? >0.5 <0.5
W2 1+ 4+ 4+ >0.5 <10
W3 - +/- +/- >0.5 100
W4 - 4+ +/- 10 100?
W5 >0.5 <0.5
W6 2+ 2+ 2+ >0.5 <0.5
W7 >0.5 <10
W8 ? 2+ 4+ >0.5 <10
W9 - +/- +/- >0.5 1
W10 >0.5 <10
ใบขาว - +/- +/- >0.5 <10
>0.5 <10
- 4+ 1+ >0.5 <0.5
- 4+ 2+
- 3+ +/-
- 4+ +/-
- 4+ +/-
- 4+ 0.5+
- <0.5+ +/-
++++ + +

412

การพฒั นาเครอื่ งหมายโมเลกุลใหมแ่ ละวธิ กี ารตรวจเชอ้ื โรคใบขาวดว้ ยเทคนคิ M13-tagged
two steps- PCR ท่ีแมน่ ยำและมคี วามไวสงู

A new molecular marker and efficient M13-tagged two steps- PCR detection
technique for sugarcane white leaf disease

ศุจิรตั น์ สงวนรังศิริกลุ 1 วีรกรณ์ แสงไสย์1 เบญจวรรณ รตั วตั 1 จฑุ ามาศ สอนเมือง1
และรววี รรณ เชือ้ กิตติศักดิ์1

รายงานความก้าวหนา้
ในงานวิจัยนี้ ได้ทำการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลใหม่ สำหรับใช้ในการตรวจโรคใบขาวอ้อยด้วย
เทคนิค M13-tagged two-steps-PCR และเครื่องหมายโมเลกุลในการตรวจยีน Immunodominant
protein (IMP) รวมทั้งมีการทดลองพัฒนาเทคนิคอื่นเพิ่มเติมที่ง่ายและรวดเร็ว ได้แก่ Loop-Mediated
isothermal amplification (LAMP) และ multiplex PCR เพื่อการทดสอบเบื้องต้น ในการพัฒนาวิธีการ
ตรวจเชื้อโรคใบขาวด้วยเทคนิค M13-tagged two steps- PCR ได้พัฒนาไพร์เมอร์ชนิดใหม่ในตำแหน่ง
16S rRNA และ 23S rRNA ของเชือ้ ไฟโตพลาสมาในออ้ ย ทดสอบสภาวะในการเพ่ิมปรมิ าณดเี อน็ เอดว้ ยการ
ปรบั ความเขม้ ข้นของไพร์เมอร์ และจำนวนรอบในการเพิ่มปริมาณดเี อ็นเอ สามารถพฒั นาวธิ ีการที่ตรวจจับ
แถบดเี อ็นเอเป้าหมายไดช้ ดั เจนจำนวน 2 แถบ ขนาดประมาณ 600 และ 300 คูเ่ บส ผลการเปรยี บเทียบกับ
วิธี nested-PCR พบว่ามีความจำเพาะต่อดีเอ็นเอเป้าหมายได้มากกว่า การตรวจพิสูจน์แถบดีเอ็นเอที่ได้
พบว่า ตรงกับตำแหนง่ ของยนี เป้าหมายของเชอื้ ไฟโตพลาสมา การทดสอบในตัวอยา่ งท่ีติดเชอื้ หลายชนดิ ยงั
พบแถบดเี อ็นเอเพิม่ ขึ้น 1 ตำแหน่ง อยรู่ ะหวา่ งการวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขวธิ กี าร การพฒั นาเครอ่ื งหมายโมเลกลุ
ใหม่ด้วยยนี Imp ทำการทดสอบไพรเ์ มอรจ์ ำนวน 3 ค่ไู พรเ์ มอร์ และคดั เลอื กได้ 1 คู่ (Imp1) ผลผลติ มีขนาด
1250 คู่เบส นำมาตรวจลำดับเบส และออกแบบไพร์เมอร์ใหม่ จำนวน 1 คู่ ผลผลิตขนาด 800 คู่เบส
(Imp2) นำมาตรวจในอ้อยที่ติดเชื้อไฟโตพลาสมาทั้ง 3 ชนิด พบว่าสามารถตรวจพบดเี อ็นเอชัดเจน และมี
ความจำเพาะต่อเชือ้ ไฟโตพลาสมาในอ้อย นำผลวิเคราะห์ลำดบั นวิ คลโี อไทด์ของดเี อ็นเอขนาดประมาณ 800
เบสทไี่ ดม้ า เปรียบเทียบกับลำดับนิวคลีโอไทด์ท่ีมีอยู่ในฐานข้อมูลสากล พบว่ามคี วามเหมอื นกับโปรตีนของ
เชอื้ ไฟโตพลาสมาในออ้ ย 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ ทำการออกแบบไพรเมอร์ (Imp 3) ท่มี ีความจำเพาะเพ่ือใช้ในการ
ตรวจหาเชื้อไฟโตพลาสมาทั้ง 3 ชนิด จากขนาด 800 คู่เบส ให้ได้ดีเอ็นเอขนาด 310 คู่เบส นำไปทำการ
ทดสอบตรวจเชื้อไฟโตพลาสมาทั้ง 3 ชนิด พบว่าสามารถตรวจจับดีเอ็นเอของเชือ้ ไฟโตพลาสมาในออ้ ยได้
ผลการตรวจลำดับนิวคลโิ อไทด์ของดีเอน็ เอ 310 คเู่ บสน้ี พบวา่ เปน็ โปรตีนของไฟโตพลาสมาในออ้ ย ท่ีความ
เหมือนระดับ 80 เปอร์เซ็นต์ การจำแนกความแตกตา่ งของ Imp ของเชื้อทั้ง 3 ชนิดพบว่ามีความแตกต่าง
กัน โดยพบว่า SCWL และ SCGS มีความสมั พันธ์ใกลช้ ดิ กนั มากท่ีสุด มคี า่ ความตา่ งกันที่ 1.64 และตัวอย่าง
จาก SCGGS และ SCWL มี ความสัมพันธ์ที่แตกต่างกันมากที่สุด ซึ่งมีค่าความต่างกันที่ 4.82 การ

1ศูนยว์ ิจยั พืชไรข่ อนแกน่ สถาบนั วจิ ยั พืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น

413

ดำเนินงานต่อยอดไดม้ ีการพฒั นาชดุ ไพร์เมอร์ชนิด multiplex – PCR จากยนี 16S rDNA สามารถแยกชนิด
ของ phytoplasma genes ในใบขาวของอ้อยทั้ง 3 ชนิดได้อย่างชัดเจน มีขนาดผลผลิตอยู่ที่ 322, 262
และ 136 bp การพัฒนาวิธีตรวจหาเชื้อไฟโตพลาสมาโรคใบขาวอ้อยด้วยไพรเมอร์ Multiplex โดยใช้
เทคนิค HRM สามารถแยกเชื้อไฟโตพลาสมาด้วยชุดไพรเมอร์ Multiplex ที่ประกอบด้วย (SCWL, SCGS,
SCGS) ได้ด้วย Tm ต่างกนั เชอ้ื ใบขาว SCWL Tm 77.48 ºC เช้อื ใบขาวปนเขียว SCGS Tm 75.53 ºC ละ
เชื้อใบเขียว SCGS Tm 79.13 ºC และการทดลองเบื้องตน้ ด้วยการพฒั นาวิธี (LAMP) ทำการออกแบบไพร์
เมอร์ สำหรับวธิ ี LAMP จากส่วนของยีน groEL ของ phytoplasma ศึกษาสภาวะท่ีเหมาะสมของปฏิกิริยา
LAMP พบว่าสามารถตรวจเช้ือไฟโตพลาสมาในตัวอย่างได้อย่างชัดเจน ใช้เวลาในการตรวจ 60 นาที มี
ผลตรวจเป็นแบบ realtime การทดสอบความไว (Sensitivity) ของ LAMP เทยี บกับวิธี nested-PCR พบวา่
ระดับความเข้มข้นของปริมาณดีเอ็นเอของเชื้อไฟโตพลาสมาที่สามารถตรวจดว้ ยเทคนิค LAMP ตรวจจับดี
เอ็นเอได้ต่ำสุด 1.27X10-1 copy/µl ส่วน nested-PCR ที่ผลผลิตขนาด 700 bp ตรวจได้ที่ 2.66X102
copies/µl การตรวจความจำเพาะของวิธีการต่อเช้ือไฟโตพลาสมาในออ้ ยทดสอบโดยใชด้ ีเอ็นเอจากพืชอื่นท่ี
ติดเชื้อไฟโตพลาสมาชนิดอื่น ได้แก่ มันสำปะหลังติดเชื้อโรคพุ่มแจ้ และหญ้าที่แสดงอาการใบพบว่าไม่
สามารถตรวจเชื้อดงั กลา่ วได้ด้วยวิธี LAMP ในการตรวจความครอบคลุมในการตรวจเช้ือไฟโตพลาสมาของ
ออ้ ย ทดสอบโดยใชด้ ีเอ็นเอท่ไี ด้จากอ้อยท่ีตดิ เชื้อ SCWL, SCGS และ SCGGS ทีท่ ำการตรวจพิสูจน์ชนิดของ
เชื้อแล้วด้วยการตรวจลำดับนิวคลิโอไทด์ พบว่าชุดไพร์เมอร์นี้สามารถตรวจจับเชื้อทั้งสามชนิดนี้ได้ โดย
วิธีการทั้ง 2 วิธีการใหม่นี้มีศักยภาพที่จะนำมาพัฒนาต่อสำหรับการใช้ในการตรวจคัดกรองโรคใบขาวใน
ระดับแปลงทดลองหรือสภาพไร่ ในขณะที่เทคนิค M13 two-steps PCR จะถูกนำมาใช้ทดแทนเทคนิค
nested-PCR เพื่อให้ย่นระยะเวลาและงบประมาณในการตรวจและเป็นการตรวจเพื่อการคัดกรองโรค
สำหรับการขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ส่วนการตรวจยีน Imp จะถูกนำมาใช้ในการตรวจแมลง
พาหะและพชื อาศัยทตี่ อ้ งใชว้ ธิ กี ารตรวจมีความจำเพาะมากขน้ึ

คำนำ
การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคใบขาวในปัจจุบนั ยังไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้ประเทศไทยยังไม่
สามารถควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคนี้ได้ สาเหตุหน่งึ เกิดจากการตรวจคัดกรองโรคที่ไม่ทัว่ ถึง หนว่ ยตรวจ
คัดกรองโรคมีจำนวนจำกัด ซึ่งมีสาเหตมุ าจากวิธีการที่ใช้ในการตรวจโรคปัจจุบันยงั มีความยุ่งยาก ซับซ้อน
ราคาแพง ต้องใชผ้ ชู้ ำนาญงาน การพฒั นาเทคนิคการตรวจคัดกรองโรคทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ใชง้ านง่าย ราคาไม่
แพง จะทำให้สามารถเพิ่มหนว่ ยตรวจโรคในพื้นที่ได้มากข้ึน ซึงจะสง่ ผลต่อประสิทธิภาพในการควบคุมการ
ระบาดไดท้ ันการณ์ สามารถลดพน้ื ที่การระบาดลงได้ การตรวจวินิจฉัยโรคใบขาวที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน มีการ
พัฒนาขึ้นมามาก ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจผลการตรวจมากขึ้น มีการนำผลการตรวจไปปรับใช้กับงานวิจัย
และพัฒนาอ่นื ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น (ศุจริ ตั น์ และคณะ, 2558) แตย่ ังมปี ัญหาของความจำกัดด้านเทคนิคทีใ่ ช้
เนอ่ื งจากเชือ้ ไฟโตพลาสมาสาเหตุของโรคใบขาวหรอื เช้อื ไฟโตพลาสมาสาเหตขุ องโรคในพืชอื่นนั้น
มีปริมาณน้อยในเซลล์พืช รวมทั้งยังไม่สามารถเพาะเลี้ยงเชื้อนี้เพื่อขยายปริมาณในอาหารสังเคราะห์ได้

414

ดังนั้นการตรวจเชื้อจึงต้องตรวจจากเนื้อเยื่อพืช และวิธีตรวจต้องเป็นวิธีที่มคี วามแม่นยำ และมีความไวสูง
สามารถตรวจเชื้อในปริมาณต่ำมากได้ ในปัจจุบันการตรวจหาเชื้อไฟโตพลาสมาในเนื้อเยื่อพืชนิยมใช้วิธี
nested-PCR หรือ semi-nested-PCR ซึ่งเป็นวิธีการที่ต้องทำปฏิกิริยาพีซีอาร์เพื่อเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ
เป้าหมายให้มากขึ้นถงึ 2 ครงั้ แต่ละครั้งมกี ารใช้เครอ่ื งหมายโมเลกุลอยา่ งละชุดแตกต่างกัน ปัญหาที่สำคัญ
ของเทคนิคดงั กล่าวนี้ คือ การปนเปือ้ นชนิด carried-over ซ่งึ เกิดจากการปนเป้อื นท่ีเกิดข้ึนในพีซีอาร์ชุดที่
หนึ่ง แล้วถูกมาขยายเพิ่มปริมาณอีกในพีซีอาร์ชุดที่สอง ทำให้เกิดการแปลผลที่ผิดพลาด ที่มักเป็นชนิด
“ผลบวกปลอม” (false positive) นอกจากนี้ยังเป็นปัญหาในเรื่องของเวลาที่ต้องใช้ในการตรวจผลที่อาจ
ต้องใช้เวลานานกว่า 1 สัปดาห์อีกดว้ ย ดังนั้นจึงมีการนำเทคนิค Realtime PCR มาใช้ในการตรวจผลแทน
การใช้ Conventional PCR ทำให้ติดตามผลการเพ่ิมปรมิ าณดีเอ็นเอไดต้ ามปฏกิ ิริยาทเี่ กดิ ขึน้ จรงิ ในขณะนั้น
สามารถรู้ผลได้ภายในหนึ่งวัน แม้เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในด้านการย่นเวลาการตรวจผล แต่
ประสิทธภิ าพดา้ นความไวของเครือ่ งมอื เทียบเท่ากับเทคนิคอิเลคโตรโฟรซิ ิส (ศุจิรัตน์ และคณะ, 2558) และ
ปญั หาท่ีสำคัญของวิธีการนี้คือเครื่องมอื ท่ใี ชร้ าคาแพงมาก รวมไปถงึ ชุดน้ำยา และอปุ กรณ์ประกอบอน่ื ทีต่ ้อง
เฉพาะสำหรับเครือ่ งและรุ่นของเครอ่ื งมอื นน้ั ๆ ทำใหจ้ ำกัดเฉพาะกลมุ่ หอ้ งปฏิบตั กิ ารท่มี งี บประมาณเพียงพอ
เท่าน้นั อกี ทง้ั ผใู้ ช้งานยังจำกัดเฉพาะผู้ทมี่ ีความชำนาญกับการใช้เครอื่ งมือน้ีเท่าน้ัน จงึ มีความจำกัดมากข้ึน
ไปอีก จึงเป็นสาเหตุสำคัญท่ีทำใหก้ ารตรวจโรคใบขาวไม่เป็นท่ีแพร่หลายและ มีหน่วยตรวจคัดกรองโรคใบ
ขาวจำนวนนอ้ ยมากในประเทศไทย ไมเ่ พยี งพอต่อการคดั กรองยับย้ังการระบาดของโรค

ยีนเป้าหมายที่นิยมใช้ในการตรวจเชื้อไฟโตพลาสมาโรคใบขาวอ้อยและไฟโตพลาสมาชนิดอื่น คือ
ยีน 16S-23S rDNA ซึ่งนิยมใช้ในการตรวจจำแนกเชื้อแบคทีเรียหลายชนิดด้วยเช่นกัน มีรายงานการใช้
เครอ่ื งหมายโมเลกุลหลายชนิดในการตรวจจบั บรเิ วณตำแหนง่ ยนี น้ี ในจำนวนนี้ มีรายงานการออกแบบไพร
เมอร์ชุด MLO-X/ MLO-Y และ P1/P2 สำหรับใช้ตรวจโรคใบขาวอ้อยด้วยเทคนิค nested-PCR
(Hanboonsong, 2006) แม้มีรายงานว่าเครื่องหมายโมเลกลุ ชุดนี้มีความจำเพาะต่อโรคใบขาวอ้อย แต่ผล
จากการศึกษาพบว่าเครื่องหมายโมเลกุลชุดนี้สามารถตรวจพบเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่นได้ด้วย จึงได้พัฒนา
เคร่อื งหมายโมเลกุลชดุ ใหม่ ทม่ี คี วามจำเพาะตอ่ การตรวจจบั ยนี secA ของเช้ือไฟโตพลาสมาโรคใบขาวอ้อย
(ศุจิรตั น์ และคณะ, 2556) และนำมาใชใ้ นการตรวจโรคใบขาวอ้อยรว่ มกับการตรวจยีน 16S-23S rDNA แต่
เน่ืองจากวธิ กี ารตรวจยนี secA ทพี่ ฒั นาขึ้นใหมน่ ี้ ใช้เทคนคิ PCR ซง่ึ ใช้ปฏกิ ิริยาพีซีอารเ์ พยี งคร้ังเดียว จึงทำ
ให้มีความไวน้อยกว่าการตรวจด้วย nested-PCR ซึ่งมีการทำปฏิกิริยาพีซีอาร์ถึง 2 ครั้ง แต่ลดปัญหาการ
ปนเป้อื น และเพิม่ ความแม่นยำมากข้นึ การตรวจโรคใบขาวของอ้อยของศนู ย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแก่น ปัจจุบันมี
การตรวจยนี ท้งั 2 ตำแหน่งดว้ ยทั้ง 2 วธิ กี าร เพือ่ การยนื ยนั ผล ซ่งึ ใช้เวลาในการตรวจประมาณ 1 สัปดาห์จึง
จะรู้ผลได้ หากมีตัวอย่างเป็นจำนวนมาก จะใช้เวลานานยิง่ ขึ้นไปอีก ดังนั้นวัตถุประสงค์ในงานวิจัยน้ไี ด้แก่
การพฒั นาวธิ กี ารตรวจโรคใบขาวใหม่ ด้วยเทคนคิ M13-tagged two steps- PCR ทมี่ คี วามแม่นยำ มีความ
ไวสูง ใช้งานง่าย ราคาไม่แพง สำหรับการใช้งานที่ต้องการความไวในการตรวจเชื้อที่สูง สามารถตรวจเช้ือ
ปริมาณต่ำมากได้ในเวลาที่รวดเร็ว สำหรับทดแทนวิธี nested-PCR เดิม และเครื่องหมายโมเลกุลสำหรับ


Click to View FlipBook Version