The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:12:56

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม1

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม1

215

การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีต่อสภาวะเครียดแล้งจากการขาดน้ำและความร้อนในออ้ ยพันธุ์สุพรรณบรุ ี
72 และ UT10-015R ทดสอบในตู้ควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต :

พบว่า กิจกรรมเอ็นไซม์ในกลุ่ม oxidative stress ได้แก่ Ascorbate peroxidase (APX) และ
Guaicol peroxidase (GPX) มีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันใน 2 พันธุ์นี้ แต่มีปริมาณการเพิ่มขึ้นของ
กิจกรรมเอ็นไซม์ต่ำกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีกิจกรรมเอ็นไซม์ทั้ง 2 ชนิดนี้เพิ่มขึ้น 2.94 และ 2.06 เท่า
ตามลำดับเมื่อทดสอบในสภาวะเดียวกัน และพบว่าปริมาณของ Proline และ Glycine betaine ของพันธุ์
สพุ รรณบรุ ี 72 และ UT10-015R ไมแ่ ตกตา่ งกันระหว่างการทดสอบใน 2 สภาวะ (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ระดับการเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีและกิจกรรมเอ็นไซม์ของอ้อย 2 พันธ์ุจากการทดสอบ

สภาวะแล้งในตู้ควบคุมการเจริญเติบโตนาน 2 และ 4 วัน (หน่วย : จำนวนเท่าของการเพิ่ม

ปรมิ าณเทยี บกับกลมุ่ ควบคมุ ท่ีไมไ่ ดท้ ดสอบสภาวะแล้ง)

ชนดิ สารชีวเคมี สพุ รรณบุรี 72 UT10-015R
2 วัน 4 วนั 2 วนั 4 วนั

APX 0.41 1.00 0.58 1.88

GPX 0.78 2.50 1.68 0.97

H2O2 1.37 1.90 0.90 1.03
Proline 1.00 1.03 1.04 1.09

Glycine betaine NT 2.78 1.13 1.84

NT : ไม่ได้ทดสอบ

การทดสอบใน 2 พนั ธนุ์ ี้ ได้ข้อมูลทไ่ี มส่ มบูรณ์ และมปี ัญหาโรคใบขาว

จากผลการทดสอบปฏกิ ิรยิ าการทนแล้งในสภาพร้อนและขาดน้ำเป็นเวลา 4 วัน ในอ้อยพันธท์ุ นแลง้
ไดแ้ ก่ ขอนแกน่ 3 มคี ่ากิจกรรมเอ็นไซม์ APX, GPX สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สะสม โพรลนี และ ไกลซีนบี
เทน สูงกว่ากลุ่มควบคุมทั้งหมด ในขณะที่พันธุ์อ่อนแอต่อสภาวะแล้ง ได้แก่ สุพรรณบุรี72 มีค่ากิจกรรม
เอ็นไซม์เฉพาะ APX สารไกลซีนบีเทน และสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สะสมสูงกว่ากลุ่มควบคุม แต่ค่า
กิจกรรมเอ็นไซม์ GPX และสารโพรลีนไม่เปลี่ยนแปลงจากกลุ่มควบคุม ส่วนในพันธุ์ทดสอบที่ไม่ทราบ
ลักษณะการทนแล้ง ได้แก่ UT10-015R ซึ่งเป็นพันธุล์ ูกผสมที่ไดจ้ ากการคัดในรุ่นอ้อยตอ พบว่ามีกิจกรรม
เอ็นไซม์ APX สูงขนึ้ แต่น้อยกว่าพนั ธุ์ขอนแก่น 3 มคี า่ กจิ กรรมเอน็ ไซม์ GPX และสารโพรลีนไมเ่ ปล่ียนแปลง
แต่พบวา่ ไม่มีการสะสมสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เพ่ิมแม้อยู่ในสภาพแลง้ และมสี ารไกลซนี บเี ทนใกล้เคียง
กบั พนั ธุข์ อนแกน่ 3 (ภาพท่ี 5) จากการทดลองนี้จะสงั เกตไดว้ า่ การสรา้ งสารโพรลีนรว่ มกับไกลซีนบีเทนอาจ
สง่ ผลตอ่ การรักษาสภาพเตง่ ของเซลล์ในสภาวะแล้งจากความร้อนและการขาดน้ำ และจากผลการทดลองนี้
พันธ์ุ UT10-015R อาจมีคุณสมบตั ไิ มท่ นแลง้ เมือ่ เทยี บกบั พนั ธุ์ขอนแก่น 3

216

ภาพที่ 5 ระดับจำนวนเท่าของค่าการเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีในกลุ่ม osmoprotectant และกิจกรรม
เอ็นไซม์กลุ่ม oxidative stress จำนวน 5 ชนิดในอ้อย 3 พันธุ์อายุประมาณ 60 วนั หลงั ปลกู จาก
การทดสอบสภาวะแล้งในต้คู วบคมุ การเจริญเติบโต ที่ 33°C (มืด) 39°C (สวา่ ง) ความชื้นสมั พัทธ์ที่
55% RH ความเข้มแสง 20,000 LUX และการส่องสว่าง 14/10 ชั่วโมง (สว่าง/มืด) นาน 4 วัน
ไม่ให้น้ำ เทียบกับผลของกลุ่มควบคุมท่ีให้น้ำตามปกตินาน 4 วัน ลูกศรชี้ : ระดับเท่ากับกลุ่ม
ควบคุม

การรวั่ ไหลของสารอเิ ลคโตรไลต์ในภาวะขาดนำ้ ในสภาพโรงเรอื น เปรยี บเทยี บระหวา่ งพันธ์ุทนแล้งและ
พันธ์ุอ่อนแอ

ดำเนินการในอ้อยพันธุข์ อนแก่น 3 ท่มี ลี ักษณะทนแลง้ และพันธุบ์ าดิลล่าท่ีออ่ นแอตอ่ สภาพแล้งขาด
น้ำโดยการทดลองชักนำสภาวะการขาดน้ำด้วยการงดให้นำ้ ในกระถาง โดยปลูกอ้อยในกระถางในโรงเรือน
ทดลองศนู ย์วจิ ยั พชื ไร่ขอนแก่น รดนำ้ ใหด้ นิ ทุกกระถางมีความชืน้ ท่ีระดบั ความจุช้ืนสนาม (11.43%) จนกระ
ท้งั อ้อยมีอายุ 124 วันหลงั ปลูก ชกั นำใหอ้ อ้ ยกลมุ่ ทดลองอยใู่ นสภาวะเครียดแล้ง โดยงดให้นำ้ จนความช้ืนใน
ดินลดลงจนถึงระดับ 1/3 AW (8.79%) ต่าง ๆ เป็นเวลา 14 วัน แล้วให้น้ำกลับตรวจสอบการคืนสภาพ
(Recovery) ของอ้อย โดยรดน้ำในกระถางให้มีความชื้นที่ระดับความจุความชื้นสนาม เป็นเวลา 7 วัน
จนกระท่ังอ้อยอายุครบ 145 วัน บันทึกข้อมลู เก็บตัวอย่างใบบนสดุ ที่แผ่เตม็ ท่ีและเหน็ คอใบชัดเจน (Top
Visible Dewlap (TVD) leaf ) ตรวจการรั่วไหลของสารอิเลคโตรไลต์ พบว่าในภาวะขาดน้ำ ทั้งสองพันธ์ุ
แสดงการร่ัวไหลของสารอิเลคโตรไลท์ โดยพันธุ์ขอนแก่น 3 มีค่าการรัว่ ไหล 32.73 % ในขณะที่พันธุ์บาดิล
ลา่ มีค่าการรว่ั ไหล 53.86% (ภาพท่ี 6) ซึง่ สงู กวา่ พนั ธุข์ อนแก่น 3 แสดงถึงภาวะผนงั เซลล์ถูกทำลายมากกว่า
สอดคล้องกับผลการตรวจสารในกลุ่ม osmoprotectant ในอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่พบว่ามีค่าสูงกว่าพนั ธ์ุ
อน่ื ที่ทดสอบ

217

ภาพที่ 6 การทดลองตรวจวัดการรั่วไหลของสารอิเลคโตรไลต์ในอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 และพันธุ์บาดิลล่า
B=อ้อยพันธุ์ Badila (สีเหลือง), K= อ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 (สีเขียว), C= กลุ่มควบคุม, D=กลุ่ม
ทดสอบการขาดน้ำ, R=กลมุ่ ท่ใี หน้ ้ำกลับ

การทดสอบการทนแล้งในอ้อยลูกผสม 5 โคลนด้วยการตรวจวัดการเจริญเตบิ โตร่วมกบั การรั่วไหลของ
อิเลคโตรไลทแ์ ละปริมาณนำ้ สมั พทั ธ์ในสภาพโรงเรอื น

การทดสอบในอ้อย 5 โคลน ได้แก่ โคลนรหัส 103, 307, 315, 318 และ 320 โคลนละ 4 ซ้ำต่อ
โดยหน่ึงชุดประกอบดว้ ย 3 กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื กลุ่มควบคมุ กลมุ่ ทดสอบสภาวะแล้ง และกลุ่มทดสอบการคืน
สภาพ (recovery) มผี ลการทดลอง ดงั น้ี

การเจริญเติบโต
ประกอบด้วย ความสงู ตน้ ความยาวราก น้ำหนักต้นสด นำ้ หนกั ต้นแหง้ น้ำหนกั รากสด และนำ้ หนกั
รากแห้ง พบว่าโคลนรหัส 315 มีค่าการฟื้นตัวได้ดีกว่าโคลนอื่น โดยมีค่าความยาวราก ( root length)
นำ้ หนักตน้ สดและแหง้ (shoot fresh weight, shoot dry weight) ในกลุ่มใหน้ ้ำกลับสงู กว่ากลุ่มอื่น รหัส
307 มีน้ำหนักรากสดและแหง้ มากท่สี ดุ ส่วนรหสั 103 มีนำ้ หนักรากสดและแห้งน้อยที่สุด (ภาพที่ 7)

218

Shoot height (cm) 40 Root lenght (cm) 150.00
30
Shoot fresh weight (g) 20 Shoot dry weight (g) 100.00
10
50.00
0
พันธุ์ 381 พันธุ์ 103 พนั ธุ์ 307 พนั ธุ์ 315 พันธุ์ 320 0.00
พนั ธุ์ 381 พนั ธุ์ 103 พนั ธุ์ 307 พนั ธุ์ 315 พนั ธุ์ 320
Control Drought Recovery
Control Drought Recovery
100
80 20
60 15
40 10
20
0 5
พันธุ์ 381 พันธุ์ 103 พันธุ์ 307 พนั ธุ์ 315 พนั ธุ์ 320 0

Control Drought Recovery พันธุ์ 381 พนั ธุ์ 103 พันธุ์ 307 พนั ธุ์ 315 พนั ธุ์ 320
Control Drought Recovery

Root fresh weight (g) 50 Root dry weight (g) 12
40 10
30
20 8
10 6
4
0 Conพันtrธoุ์ 3l81 พDนั rธoุ์ 1u03ghtพนั ธุ์ 30R7ecoพvันeธุ์r3y15 พนั ธุ์ 320 2
0

พนั ธุ์ 381 พันธุ์ 103 พนั ธุ์ 307 พันธุ์ 315 พนั ธุ์ 320

Control Drought Recovery

ภาพที่ 7 ความสูงต้น ความยาวราก น้ำหนักต้นสด น้ำหนักต้นแห้ง น้ำหนักรากสด และน้ำหนักรากแห้ง
ในออ้ ยกลมุ่ ควบคุม กล่มุ เครียดแล้ง และกลุ่มให้น้ำกลบั

ลักษณะทางสรีรวทิ ยา
พบว่าโคลนรหัส 103 และ 320 มีปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในกลุ่มทดสอบแล้งต่ำที่สุด และโคลนรหัส
103, 320 และ 315 มีปรมิ าณนำ้ สัมพทั ธ์ในกลมุ่ ใหน้ ำ้ กลบั สงู กวา่ โคลนอืน่ (ภาพที่ 8)

219

ภาพท่ี 8 คา่ ปริมาณนำ้ สัมพัทธ์ (Relative water content; RWC) ในใบออ้ ยในอ้อยกลมุ่ ควบคมุ กล่มุ
เครียดแล้ง และกลุม่ ใหน้ ำ้ กลับ
แตใ่ นการทดสอบการรัว่ ไหลของอิเลคโตรไลทท์ ีแ่ สดงถงึ การแตกของเซลลภ์ ายใน พบว่าโคลนรหัส

103 พบการรว่ั ไหลอิเลคโตรไลท์ในกลุ่มทดสอบสภาวะแลง้ สงู ทีส่ ดุ ในขณะทโี่ คลนรหสั 307, 315 และ 320
พบการรั่วไหลตำ่ กวา่ กลมุ่ อืน่ ซึง่ ใหผ้ ลสอดคล้องกบั การตรวจการเจริญเติบโต (ภาพท่ี 9)

ภาพท่ี 9 การรั่วไหลของสารอเิ ลก็ โทรไลต์ในใบออ้ ยในอ้อยกลมุ่ ควบคุม กลมุ่ เครียดแลง้ และกลุ่มให้นำ้ กลับ
จากผลการทดสอบนี้แสดงให้เห็นวา่ แต่ละโคลนมีการตอบสนองตอ่ การขาดน้ำท่ีตา่ งกัน โคลนรหสั

103 และ 381 คอ่ นข้างออ่ นแอต่อสภาพแลง้ จากการขาดน้ำ เมอ่ื เทยี บกับ โคลน 307, 315 และ 320 โดย
วิเคราะห์จากการเจริญเติบโตและการรั่วไหลของอิเลคโตรไลท์ โดยที่การวิเคราะห์ตัวแปรดังกล่าวนี้อาจ
นำมาใช้ในการพิจารณาคัดเลือกการทนแล้งของอ้อยได้ แต่ทั้งนี้ยังต้องอาศัยข้อมูลการเปลี่ยนแปลงทาง
ชีวเคมมี าใช้ในการตดั สนิ

220
ชุดที่ 1 การทดสอบในอ้อยลกู ผสมออ้ ยป่า 6 พันธุ์
ทำการทดสอบในอ้อยลูกผสมอ้อยและ S. spontaneum 6 พันธุ์ ได้แก่ KK08-053 และ KK06-

381, KK07-234 และ KK07-370, KK09-0358 และ KK09-0857 เปรียบเทียบกับ ขอนแก่น 3 (KK3) ใน
กระถางภายใตส้ ภาพโรงเรอื น

จากการวัดความชื้นของดินในกระถางในช่วงการทดลอง พบว่า ดินในกระถางกลุ่มที่ได้รับน้ำ
ตามปกติมีความชืน้ ในดินเฉลี่ยเท่ากับ 12.37 ± 0.42 % ส่วนกลุม่ ขาดน้ำท่ีระดบั 1/3 AW มีความชื้นเฉลีย่
เทา่ กบั 5.87 ± 0.48 % และเม่อื รดน้ำกลบั ความช้นื ของดินมีคา่ เฉล่ยี เท่ากับ 11.12 ± 2.11 % (ภาพท่ี 10)

ภาพที่ 10 ความช้นื ดนิ ในกระถางทดลองของออ้ ยกลุ่มควบคุม กลมุ่ ขาดนำ้ และกล่มุ ทใ่ี หน้ ำ้ กลบั คนื

ผลต่อการเจรญิ เติบโต
เมื่ออ้อยอยู่ในสภาวะขาดน้ำ พบว่า อ้อยทั้ง 7 พันธุ์ มีค่าเฉลี่ยความสูงต้นและความยาวรากลดลง
เมื่อเทียบกับกลุ่มที่รดน้ำปกติ (กลุ่มควบคุม) แต่เมื่อได้รับน้ำกลับคืนส่งผลให้ค่าดังกล่าวเพิ่มขึ้นมีค่า
ใกล้เคียงกบั กลุม่ ควบคุม เมอ่ื ให้นำ้ กลบั คนื แกอ่ ้อยอกี ครง้ั พบวา่ ออ้ ยพนั ธ์ขุ อนแก่น 3 (KK3), KK07-234 และ
KK09-0358 มีค่าเฉลีย่ ความสงู ต้นและความยาวรากเพิ่มสูงขนึ้ มากกว่าพันธุอ์ ืน่ ๆ เมื่อเทยี บกับกล่มุ ที่ขาดน้ำ
ซงึ่ มคี ่าเฉล่ยี ความสูงตน้ เท่ากับ 29.33, 31.00 และ 60.00 เซนติเมตร ตามลำดับ และค่าเฉล่ยี ความยาวราก
เท่ากับ 123.00, 84.00 และ 73.10 เซนติเมตร ตามลำดับ ในขณะที่กลุ่มขาดน้ำมีค่าเฉลี่ยความสูงต้น
เท่ากับ 17.75, 23.00 และ 45.50 เซนติเมตร ตามลำดับ และค่าเฉลี่ยความยาวรากเท่ากับ 45.67, 45.00
และ 50.25 เซนตเิ มตร ตามลำดบั (ภาพที่ 11) ในการทดลองน้พี บวา่ กลุ่มลูกผสมรหัส KK09 ทัง้ 2 หมายเลข
มกี ารเจริญเติบโตดา้ นยอดเรว็ กว่ากลุ่มอนื่ แต่พนั ธ์ขุ อนแกน่ 3 มีความยาวรากท่ีมากกวา่

221

80.00 Control Drought Recovery ก
70.00
Shoot length (cm) 60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00

0.00

KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

160.00 Control Drought Recovery ข
140.00
Root length (cm) 120.00
100.00

80.00
60.00
40.00
20.00

0.00

KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

ภาพที่ 11 ค่าเฉลี่ยความสูงต้น (ก) และความยาวราก (ข) เมื่ออ้อยอยู่ในสภาวะขาดน้ำและให้น้ำกลับ
(Control คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ กลุ่มขาดน้ำ และ Recovery คือ กลุ่มให้น้ำ
กลับคนื )

นอกจากนี้ยังพบว่า เมื่อให้น้ำแก่อ้อยอีกครั้งอ้อยพันธุ์ KK3, KK08-053, KK07-234, KK07-370
และ KK09-0857 มคี า่ เฉลี่ยน้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งรากเพ่ิมข้ึนเม่ือเทียบกับกลุ่มท่ีขาดน้ำ โดยในกลุ่มท่ี
ไดร้ ับน้ำกลบั คนื มีค่าเฉล่ียน้ำหนักสดรากเทา่ กับ 36.39, 33.30, 36.42, 32.27 และ 47.36 กรมั ตามลำดับ
และมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักแห้งของรากเท่ากับ 6.24, 6.67, 9.21, 5.96 และ 9.45 กรัม ตามลำดับ ส่วนกลุ่มที่
ขาดน้ำมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักสดรากเท่ากับ 27.44, 27.20, 29.81, 27.96 และ 34.82 กรัม ตามลำดับ และ
ค่าเฉลี่ยน้ำหนกั แห้งของรากเท่ากับ 5.34, 6.20, 7.48, 4.71 และ 8.48 กรัม ตามลำดับ (ภาพที่ 12ค, 12ง)
ในขณะที่อ้อยพันธุ์ KK08-053, KK06-381 และ KK07-370 ในกลุ่มที่ขาดน้ำมีค่าเฉลีย่ ความยาวรากไมต่ ่าง
จากกลุ่มท่ไี ด้รบั น้ำปกติ (ภาพท่ี 11ข) ในสภาวะขาดนำ้ ส่งผลทำให้ออ้ ยพันธุ์ KK06-381, KK07-370, KK09-
0358 และ KK09-0857 มคี า่ เฉล่ียนำ้ หนักสดต้นและนำ้ หนกั แห้งตน้ ลดลงเมือ่ เทียบกับกลุ่มท่ีรบั น้ำตามปกติ
และเมื่อได้รับน้ำกลับคืนพบว่าค่าดังกล่าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งเมื่อให้น้ำแก่อ้อยอีกครั้ง พบว่า อ้อยพันธุ์
KK3 มคี ่าเฉลี่ยน้ำหนกั สดต้นและนำ้ หนกั แหง้ ต้นเพิ่มขน้ึ อยา่ งมากเมือ่ เทียบกับกลุ่มท่ีไดร้ ับน้ำตามปกติ กลุ่ม
ทไ่ี ดร้ บั นำ้ กลับคนื มีคา่ เฉล่ยี น้ำหนักสดต้นเท่ากับ 72.08 กรัม และคา่ เฉลย่ี น้ำหนกั แหง้ ตน้ เทา่ กบั 14.63 กรัม
ส่วนในกลุ่มที่ได้รับน้ำปกติมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักสดต้นเท่ากับ 23.29 กรัม และค่าเฉลี่ยน้ำหนักแห้งต้นเท่ากับ
3.95 กรัม (ภาพที่ 12ก, 12ข) ในการทดลองนี้ยังคงพบว่ากลุ่มลูกผสมรหัส KK09 ทั้ง 2 หมายเลขมีการ

222

เจรญิ เติบโตด้านยอดเร็วกว่ากลุม่ อ่นื และมปี ริมาณรากทมี่ ากกวา่ กลุ่มอ่ืนแต่มีความอ่อนแอต่อสภาพแล้งเม่ือ
เทียบกบั กลุ่มอ่ืนจากการทดสอบการฟ้ืนตัวทีไ่ ม่สามารถกลบั คืนสสู่ ภาพปกติได้

Shoot fresh weight (g) 500.00 Control Drought Recovery ก
400.00

300.00

200.00

100.00

0.00
KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

120.00 Control Drought Recovery ข
100.00
Shoot dry weight (g)
80.00
60.00
40.00
20.00

0.00

KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

Root fresh weight (g) 120.00 Control Drought Recovery ค
100.00

80.00
60.00
40.00
20.00

0.00

KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

25.00 Control Drought Recovery ง
20.00
Root dry weight (g)
15.00

10.00

5.00

0.00
KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

ภาพที่ 12 ค่าเฉลี่ยน้ำหนักสดตน้ (ก) น้ำหนักแห้งของต้น (ข) น้ำหนักสดราก (ค) และน้ำหนักแห้งราก (ง)
เมื่ออ้อยอยู่ในสภาวะขาดน้ำและให้น้ำกลับ (Control คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ,
Drought คอื กลุ่มขาดนำ้ และ Recovery คือ กลมุ่ ใหน้ ้ำกลบั คนื )

223

ผลของการขาดน้ำต่อการตอบสนองทางสรรี วิทยาและการเปลย่ี นแปลงทางชวี เคมี
ในสภาวะขาดน้ำเป็นเวลา 14 วนั ความชน้ื ในดินในชว่ งระหว่างการงดให้นำ้ มีคา่ ตำ่ ซึง่ ส่งผลให้อ้อย
มีการเปลี่ยนแปลงค่าปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบ โดยในกลุ่มขาดน้ำ พบว่าค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบ
ลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับน้ำตามปกติ โดยกลุ่มที่ได้รับน้ำตามปกติมีค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบ
เท่ากับ 87.42% ในขณะที่กลุ่มขาดน้ำมีค่าเฉลี่ยปรมิ าณน้ำสัมพทั ธ์ในใบเท่ากับ 85.37% และเมื่อให้น้ำแก่
อ้อยอีกครั้งทำให้ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มขาดน้ำ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
90.32% (ภาพที่ 13ก) การเปลี่ยนแปลงค่าปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบมีค่าใกล้เคียงกันในตัวอย่างกลุ่มนี้ท่ี
ทดสอบ
ในสภาวะขาดน้ำทำให้เกิดความเสียหายต่อเยื่อหุ้มเซลล์ ส่งผลทำให้ค่าเฉลี่ยของการรั่วไหลสาร
อิเล็กโทรไลต์เพิ่มขึน้ เมื่อเทียบกบั กลุ่มท่ีได้รับนำ้ ตามปกติ ซึ่งพบว่าอ้อยพันธ์ุ KK08-053, KK06-381 และ
KK09-0358 มคี ่าเฉลยี่ การร่วั ไหลของสารอเิ ล็กโทรไลต์เพิ่มขึ้นมากท่ีสุดเม่ือเทียบกบั กลุ่มทีไ่ ด้รบั น้ำตามปกติ
โดยในกล่มุ ขาดนำ้ มคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 17.93, 26.20 และ 28.97% ตามลำดบั ส่วนในกลมุ่ ทไ่ี ด้รับน้ำตามปกติ
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.27, 13.40 และ 19.75% ตามลำดับ และเมื่อให้น้ำแก่อ้อยอีกครั้งทำให้ค่าการรั่วไหล
ของสารอิเลก็ โทรไลต์มคี ่าลดลงเม่อื เทียบกับกลมุ่ ขาดนำ้ และมีคา่ ใกล้เคยี งกบั กล่มุ ท่ีได้รับนำ้ ตามปกติ (ภาพที่
13ข)
นอกจากนี้ในสภาวะขาดน้ำยังทำให้อ้อยสร้างสารอนุมูลอิสระเพิ่มมากขึ้น โดยมีค่าเฉลี่ยของ
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับน้ำตามปกติ ซึ่งในกลุ่มที่ขาดน้ำมีค่าเฉลี่ยของ
ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์เท่ากบั 110.92 mg/Lส่วนกลุม่ ท่ไี ด้รับน้ำตามปกติมคี า่ เฉลี่ยเทา่ กับ 72.33 mg/L ซง่ึ
ในกลุ่มขาดนำ้ อ้อยพนั ธ์ุ KK08-053 มคี า่ เฉล่ียของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซดส์ งู ที่สดุ มีคา่ เฉล่ยี เท่ากับ 148.75
mg/L เมือ่ อ้อยไดร้ ับน้ำกลับคนื พบวา่ คา่ เฉลย่ี ปรมิ าณไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีค่าลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่ม
ขาดน้ำ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 95.89 mg/L อย่างไรก็ตามเมื่อให้น้ำแก่อ้อยอีกครั้ง พบว่า อ้อยพันธุ์ KK06-
381, KK07-370 และ KK09-0857 ยังมีค่าเฉลี่ยของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซดส์ ูงกว่ากลุม่ ท่ีได้รับน้ำตามปกติ
ซงึ่ มคี า่ เฉลี่ยเท่ากับ 91.44, 93.08 และ 126.00 mg/L ตามลำดับ กลุ่มท่ีได้รบั นำ้ ตามปกติมีค่าเฉล่ียเท่ากับ
52.67, 65.50 และ 70.00 mg/L ตามลำดับ (ภาพท่ี 13ค)

224

Relative water content (%) 120.00 Control Drought Recovery ก

100.00 KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

Electrolyte leakage (%) 80.00 Control Drought Recovery ข

60.00 KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

Hydrogen peroxide (mg/L) 40.00 Control Drought Recovery ค

20.00

0.00

40.00
35.00
30.00
25.00
20.00
15.00
10.00

5.00
0.00

180.00
160.00
140.00
120.00
100.00

80.00
60.00
40.00
20.00

0.00

KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

ภาพที่ 13 ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบ (ก) ร้อยละการรั่วไหลของสารอิเล็กโทรไลต์ (ข) และปริมาณ
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในใบอ้อย (ค) เมื่ออยู่ในสภาวะขาดน้ำและให้น้ำกลับ (Control คือ
กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ กลุ่มขาดน้ำ และ Recovery คือ กลุ่มให้น้ำ
กลับคนื )

ความเครียดแล้งทำให้อ้อยพันธุ์ KK3, KK08-053 และ KK06-381 มีปริมาณโพรลีนเพิ่มขึ้นเมื่อ
เทียบกับกลุ่มควบคุม ซึ่งในกลุ่มขาดน้ำอ้อยทั้ง 3 พันธุ์ มีค่าเฉลี่ยปริมาณโพรลีนเท่ากับ 1.02, 2.28 และ
2.02 ug/g FW ตามลำดบั ส่วนในกลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ยี เทา่ กับ 0.59, 0.41 และ 0.31 ug/g FW ตามลำดับ
ในขณะที่อ้อยพันธุ์ KK07-234 และ KK07-370 มีค่าเฉลี่ยของโพรลีนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับกลุ่ม
ควบคุม และเมื่อได้รับนำ้ กลับอ้อยทุกพนั ธ์ุมีค่าเฉล่ียของโพรลีนลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มขาดนำ้ ยกเว้นอ้อย
พันธุ์ KK0-0358 และ KK09-0857 ค่าเฉลี่ยของโพรลีนไม่ต่างจากกลุ่มขาดน้ำ (ภาพที่ 14ก) นอกจากนี้ใน

225

กลมุ่ ขาดนำ้ ยังพบวา่ ปริมาณของไกลซนี บีเทนมีคา่ เฉลี่ยเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม ซงึ่ ออ้ ยพนั ธุ์ KK08-
053, KK07-234 และ KK09-358 มีค่าเฉลี่ยไกลซีนบีเทนเท่ากับ 11.01, 17.37 และ 11.58 µmol/ gFW
ตามลำดับ ส่วนในกลุ่มควบคมุ มีค่าเฉลี่ยเทา่ กบั 8.26, 13.58 และ 8.22 µmol/ gFW ตามลำดับ เม่ือให้น้ำ
แก่อ้อยอีกครั้ง พบว่าปริมาณไกลซีนบีเทนลดลงใกล้เคียงกับกลุ่มควบคุม (ภาพที่ 14ข) ในทำนองเดียวกนั
กล่มุ ขาดนำ้ มปี ริมาณมาลอนไดอัลดีไฮด์เพมิ่ ข้นึ ยกเวน้ อ้อยพนั ธ์ุ KK3 และ KK09-0857 มีค่าไมต่ า่ งจากกลุ่ม
ควบคุม และเมื่อไดร้ บั น้ำกลับ พบวา่ ปรมิ าณมาลอนไดอัลดไี ฮด์มีคา่ ลดลงเมื่อเทียบกับกล่มุ ขาดน้ำ แต่อ้อย
พันธุ์ KK09-0358 และ KK09-0857 มีค่าเฉลี่ยมาลอนไดอัลดีไฮด์เพิ่มขึ้นเมื่อเทยี บกับกลุ่มขาดน้ำและกลมุ่
ควบคุม (ภาพที่ 14ค)

จากการศึกษาผลของการขาดน้ำต่อการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมของเอนไซม์ guaiacol
peroxidase พบว่า อ้อยพันธุ์ KK06-381 และ KK09-0857 มีกิจกรรมของเอนไซม์ guaiacol peroxidase
เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม ซึ่งในกลุ่มขาดน้ำมีค่าเท่ากับ 5.77 และ 5.06 [∆A470 (mg protein)–1
min–1] ตามลำดับ ส่วนในกลุ่มควบคุมมีค่าเท่ากับ 1.38 และ 3.67 [∆A470 (mg protein)–1 min–1]
ตามลำดับ ในขณะที่อ้อยพันธ์ุ KK3, KK07-234, KK07-370 และ KK09-0358 มีค่าลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่ม
ควบคุม และเมื่อให้น้ำกลบั พบว่า อ้อยมีกจิ กรรมของเอนไซม์ guaiacol peroxidase เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ
กลุ่มขาดน้ำ ยกเว้นอ้อยพันธุ์ KK06-381 และ KK07-370 มีกิจกรรมของเอนไซม์ guaiacol peroxidase
ลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มขาดน้ำ (ภาพที่ 15ข) นอกจากนี้ในกลุ่มขาดน้ำอ้อยทุกพันธุ์มีปริมาณโปรตีนลดลง
ในขณะท่อี ้อยพันธ์ุ KK07-234 มีปรมิ าณโปรตนี เพม่ิ ขึน้ เม่ือเทียบกบั กลมุ่ ควบคมุ และเมอ่ื ให้นำ้ กลบั ออ้ ยพนั ธ์ุ
KK3, KK08-053 และ KK06-381 มีปริมาณโปรตีนเพิ่มขึ้น แต่อ้อยพันธุ์ KK07-234, KK07-370, KK09-
0358 และ KK09-0857 มีปรมิ าณโปรตนี ลดลงเมือ่ เทยี บกับกลมุ่ ขาดน้ำ (ภาพที่ 15ก)

สรุปผลการทดสอบการขาดน้ำในสภาพโรงเรอื นในออ้ ยลูกผสมอ้อยป่า 6 พนั ธ์เุ ปรยี บเทียบกับพันธุ์
ขอนแก่น 3 พบว่าพนั ธ์ุทส่ี ามารถฟน้ื คืนและมีการเจริญเตบิ โตต่อได้ ไดแ้ ก่ พันธุ์ KK07-234 โดยมีการเติบโต
ทางยอดและราก รวมทั้งมีน้ำหนักแห้งของทั้งยอดและรากที่เพิ่มขึ้น มีการสะสมของสารไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์ลดลง โดยมีการเพิ่มขึ้นของสารโพรลีนและไกลซีนบีเทนที่รกั ษาสภาพเต่งของเซลลใ์ นระหว่างการ
ขาดน้ำและลดลงเมื่อเข้าสูก่ ารฟื้นตวั รวมถึงมีการทำลายของเซลล์ที่ตรวจดว้ ยปริมาณ MDA ลดลงหลังฟ้นื
แต่ไม่มากเท่าพันธุ์ขอนแก่น 3 และมีเอ็นไซม์ GPX ที่ลดระดับสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น ส่วน
พันธุ์ท่ีอ่อนแอตอ่ การขาดน้ำมากทีส่ ุดในกลุ่มทีท่ ดสอบนี้ ได้แก่ KK09-0358 และ KK09-0857 ที่พบว่าการ
เจริญเตบิ โตท้ังยอดและรากหลังการฟน้ื ตัวนอ้ ยกวา่ ก่อนทดสอบ รวมทั้งยงั ตรวจพบการรว่ั ไหลของอิเลคโตร
ไลท์ สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สะสมที่สูงหลังการฟ้ืนตัวแม้จะพบว่าพันธ์ุ KK09-0857 มเี อ็นไซม์ GPX สูง
มากในช่วงการฟ้ืนตัว ไม่มกี ารสร้างสารโพรลีนเพ่มิ แต่มีสารไกลซีนบีเทนเพ่ิมขน้ึ ในระหว่างทดสอบการขาด
น้ำ และพบว่ามีการทำลายของเซลลส์ ูงมากหลังการฟ้ืนตัว

226

3.00 Control Drought Recovery ก

Proline (ug g–1 FW) 2.50

2.00

1.50

1.00

0.50

0.00
KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

Glycine betaine (µmol g–1 35.00 Control Drought Recovery ข
FW) 30.00
25.00
20.00
15.00
10.00

5.00
0.00

KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

MDA (mM g–1 FW) 9.00 Control Drought Recovery ค

8.00

7.00

6.00

5.00

4.00

3.00

2.00

1.00

0.00
KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

ภาพที่ 14 ค่าเฉลี่ยปริมาณโพรลีน (ก) ไกลซีนบีเทนในใบอ้อย (ข) และมาลอนไดอัลดีไฮด์ (ค) เมื่ออยู่ใน
สภาวะขาดน้ำและให้น้ำกลับ (Control คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ กลุ่ม
ขาดนำ้ และ Recovery คือ กลมุ่ ให้นำ้ กลบั คืน)

227

9.00 Control Drought Recovery ก
8.00
Protein (mg g–1 FW) 7.00
6.00
5.00 KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857
4.00
GPX [∆A470 (mg protein)–1 3.00 Control Drought Recovery ข
min–1] 2.00
1.00
0.00

14.00
12.00
10.00

8.00
6.00
4.00
2.00
0.00

KK3 KK08-053 KK06-381 KK07-234 KK07-370 KK09-0358 KK09-0857

ภาพที่ 15 ค่าเฉลยี่ ปรมิ าณโปรตนี (ก) และกิจกรรมของเอนไซม์ guaiacol peroxidase (GPX) (ข) เม่ืออยู่
ในสภาวะขาดน้ำและใหน้ ำ้ กลับ (Control คือ กล่มุ ควบคมุ ในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ กลุ่ม
ขาดน้ำ และ Recovery คือ กลมุ่ ใหน้ ำ้ กลบั คนื )

ชดุ ที่ 2 การทดสอบในออ้ ยลกู ผสม 8 พันธุ์
ทำการทดสอบในอ้อยลูกผสม 8 พันธุ์ ได้แก่ KK07-370, ทองภูมิ6, KK06-381, KK07-250,
KK120-85, UT15 และ UT10-175 เปรียบเทยี บกบั ขอนแก่น 3 (KK3) ในกระถางภายใตส้ ภาพโรงเรอื น
จากการวัดความชื้นของดินในกระถางในช่วงการทดลอง พบว่า ดินในกระถางกลุ่มที่ได้รับน้ำ
ตามปกติมีความชื้นในดินเฉลี่ยเท่ากับ 12.37 % ส่วนกลุ่มขาดน้ำที่ระดับ 1/3 AW มีความชื้นเฉลี่ยเท่ากบั
7.32 % (ภาพท่ี 16)

228

ภาพที่ 16 ความชื้นดนิ ในกระถางทดลองของอ้อยกล่มุ ควบคมุ กลุ่มขาดนำ้ และกลุ่มท่ใี หน้ ำ้ กลับคืน

ผลต่อการเจรญิ เตบิ โต
ในสภาวะขาดน้ำส่งผลให้การเจริญเติบโตของต้นอ้อยลดลง ซึ่งอ้อยพันธุ์ KK3 (ปี62), KK07-370,
ทองภูมิ6, KK06-381 และ KK07-250 มีค่าเฉลี่ยความสูงต้นลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับน้ำตามปกติ
ยกเว้นอ้อยพันธุ์ KK3 (ปี63), KK120-85, UT15 และ UT10-175 มีค่าเฉลี่ยความสูงต้นไม่ต่างจากกลุ่ม
ควบคุม และเมื่อได้รับน้ำกลับคืนพบว่าอ้อยทุกพันธุ์มีค่าเฉลี่ยความสูงต้นเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มขาดน้ำ
(ภาพที่ 12ก) ในสภาวะขาดน้ำทำให้อ้อยพันธุ์ KK07-370, ทองภูมิ6, KK3 (ปี63), UT15 และ UT10-175
มคี า่ เฉลี่ยความยาวรากลดลง แตพ่ ันธ์ุ KK3 (ป6ี 2) และ KK06-381 มีค่าเฉล่ียความยาวรากเพิ่มขึ้น เม่อื เทียบ
กับกลุ่มควบคุมในสภาวะขาดนำ้ (Control 1) เมื่อให้น้ำกลับคืน พบว่า อ้อยพันธ์ุ KK3 (ปี62), KK07-370,
ทองภูมิ6, KK3 (ปี63) และ UT15 มีค่าเฉลี่ยความยาวรากเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (Control 2)
(ภาพท่ี 17ข)
ในสภาวะขาดน้ำทำให้ค่าเฉลี่ยน้ำหนักสดต้นและน้ำหนักแห้งต้นของอ้อยทุกพันธุ์มีค่าลดลง เม่ือ
เทียบกับกลุ่มที่ไดร้ ับน้ำปกติ (Control 1) ซึ่งในกลุ่มที่ขาดน้ำอ้อยมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งตน้
เท่ากบั 79.09 และ 19.92 กรมั ตามลำดบั ส่วนในกลุ่มทไี่ ดร้ ับนำ้ ปกตมิ ีคา่ เฉลี่ยน้ำหนักสดและน้ำหนักแห้ง
ต้นเท่ากับ 110.07 และ 22.27 กรัม ตามลำดับ อย่างไรก็ตามเมื่อให้น้ำแก่อ้อยอีกครั้ง พบว่า ค่าเฉลี่ย
น้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งต้นเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับกลุ่มขาดน้ำ ซึ่งในกลุ่มที่ได้รับน้ำกลับคืนมีค่าเฉลี่ย
น้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งต้นเท่ากับ 159.67 และ 32.87 กรัม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อให้น้ำแก่อ้อยอีกคร้ัง
พบว่า อ้อยพันธ์ุ KK3 (ปี62) และ KK06-381 มคี ่าเฉล่ียน้ำหนักสดต้นและน้ำหนักแห้งต้นเพิ่มข้ึนอย่างมาก
เม่ือเทยี บกบั กลมุ่ ควบคมุ (Control 2) ซึ่งในกลมุ่ ทีไ่ ด้รบั น้ำกลบั มคี า่ เฉลี่ยน้ำหนักสดต้นเท่ากับ 239.48 และ
253.20 กรัม ตามลำดบั และค่าเฉลย่ี น้ำหนักแหง้ ตน้ เท่ากับ 34.00 และ 41.91 กรมั ตามลำดับ ส่วนในกลุ่ม
ควบคุม (Control 2) มีค่าเฉลี่ยน้ำหนักสดต้นเท่ากับ 153.34 และ 150.44 กรัม ตามลำดับ และค่าเฉล่ีย
น้ำหนกั แหง้ ต้นเท่ากบั 23.85 และ 27.68 กรมั ตามลำดับ (ภาพที่ 18ค)

229

90.00 Control1 Drought Control2 Recovery ก
80.00 KK3 (ปี62) KK07-370
Shoot length (cm) 70.00 UT15
60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00

0.00

ทองภูมิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175

Root length (cm) 160.00 Control1 Drought Control2 Recovery ข
140.00 KK3 (ปี62) KK07-370 ทองภมู ิ6 KK06-381 KK3 (ปี63)
120.00 UT15
100.00

80.00
60.00
40.00
20.00

0.00

KK07-250 KK120-85 UT10-175

ภาพที่ 17 ค่าเฉลี่ยความสูงต้น (ก) และความยาวราก (ข) เมื่ออ้อยอยู่ในสภาวะขาดน้ำและให้น้ำกลับ
(Control1 คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ กลุ่มขาดน้ำ, Control 2 คือ กลุ่ม
ควบคุมในสภาวะให้น้ำกลบั และ Recovery คือ กล่มุ ให้นำ้ กลบั คืน)

230

350.00 Control1 Drought Control2 Recovery ก
300.00
UT15
Shoot fresh weight (g) 250.00

200.00

150.00

100.00

50.00

0.00 ทองภมู ิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175
KK3 (ปี62) KK07-370

60.00 Control1 Drought Control2 Recovery ข
50.00

Shoot dry weight (g) 40.00

30.00

20.00

10.00

0.00 ทองภูมิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175 UT15
KK3 (ปี62) KK07-370

ภาพที่ 18 ค่าเฉลี่ยน้ำหนักสดต้น (ก) และน้ำหนักแห้งของต้น (ข) เมื่ออ้อยอยู่ในสภาวะขาดน้ำและให้น้ำ
กลับ (Control1 คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ กลุ่มขาดน้ำ, Control 2 คือ
กล่มุ ควบคมุ ในสภาวะให้น้ำกลบั และ Recovery คอื กลุ่มใหน้ ำ้ กลับคนื )

ในสภาวะขาดน้ำทำใหค้ ่าเฉลี่ยน้ำหนกั สดรากลดลง เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับนำ้ ปกติ (Control 1)
และเมื่อได้รบั น้ำกลับค่าดังกลา่ วมแี นวโน้มเพ่ิมขึน้ เม่ือเทียบกับกลุ่มขาดน้ำ ในทำนองเดียวกนั เมื่อให้น้ำแก่
อ้อยอีกครั้ง พบว่า อ้อยพันธุ์ KK3 (ปี62), KK07-370, ทองภูมิ6, KK06-381 และ UT10-175 มีค่าเฉลี่ย
นำ้ หนักแหง้ รากเพ่มิ ข้นึ เมอ่ื เทียบกบั กลมุ่ ขาดนำ้ (ภาพที่ 19)

231

Control1 Drought Control2 Recovery ก

140.00 UT15

120.00

Root fresh weight (g) 100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 ทองภมู ิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175
KK3 (ปี62) KK07-370

35.00 Control1 Drought Control2 Recovery ข
30.00
UT15
Root dry weight (g) 25.00

20.00

15.00

10.00

5.00

0.00 ทองภมู ิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175
KK3 (ปี62) KK07-370

ภาพท่ี 19 ค่าเฉล่ยี น้ำหนักสดราก (ก) และนำ้ หนักแห้งราก (ข) เมอ่ื อ้อยอยู่ในสภาวะขาดน้ำและให้น้ำกลับ
(Control1 คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ กลุ่มขาดน้ำ, Control 2 คือ กลุ่ม
ควบคมุ ในสภาวะใหน้ ำ้ กลบั และ Recovery คอื กลุ่มให้นำ้ กลับคนื )

ผลของการขาดน้ำตอ่ การตอบสนองทางสรีรวทิ ยาและการเปลย่ี นแปลงทางชีวเคมี
จากการศึกษาผลของการขาดน้ำต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมีในอ้อยพันธุ์ KK3,
KK07-370, ทองภมู ิ6, KK06-381, KK07-250, KK120-85, UT15 และ UT10-175 พบวา่ ในสภาวะขาดน้ำ
พบวา่ ออ้ ยมีปรมิ าณนำ้ สมั พทั ธใ์ นใบลดลงเมือ่ เทยี บกับกล่มุ ควบคุม (Control1) ซงึ่ ในกลุ่มขาดน้ำมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 78.04% ส่วนกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 88.12% และเมื่อให้น้ำกลับปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบมี
คา่ เฉลยี่ เพมิ่ ขน้ึ โดยมคี า่ เท่ากับ 85.00% ในกล่มุ ขาดนำ้ อ้อยพนั ธ์ุ KK120-85, UT10-175 และ UT15 มีค่า
ปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (Control1) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 64.82,
75.82 และ 68.36% ตามลำดับ ในกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 91.03, 88.22 และ 90.07% ตามลำดับ
(ภาพท่ี 20ก)
ในสภาวะขาดน้ำอ้อยมคี ่าการรั่วไหลของสารอิเล็กโทรไลต์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม ซึ่งใน
กลุ่มขาดน้ำมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 35.50% ส่วนในกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.70% ซึ่งอ้อยพันธุ์ KK3

232

(ปี62), KK07370, ทองภูมิ6 และ KK06-381 มีค่าการรั่วไหลของสารอเิ ล็กโทรไลต์เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนเมอ่ื
เทียบกับกลุ่มควบคมุ และเมือ่ ใหน้ ้ำกลบั พบว่า ออ้ ยมคี า่ การรว่ั ไหลของสารอเิ ล็กโทรไลต์ลดลง ซึ่งมคี า่ เฉล่ีย
เท่ากับ 23.04% ซงึ่ มีคา่ ไมต่ า่ งจากกลุ่มควบคมุ (ภาพท่ี 20ข)

นอกจากนี้ในสภาวะขาดน้ำยังส่งผลทำให้อ้อยมีปริมาณไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โพรลีน และมา
ลอนไดอัลดีไฮด์เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอ้อยพันธุ์ KK06-381, KK120-85 และUT10-175 มีปริมาณไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซดเ์ พมิ่ ขนึ้ อย่างชดั เจนเมอื่ เทียบกับกล่มุ ควบคมุ (Control1) ในขณะที่อ้อยพันธ์ุ KK3 (ป6ี 2) และ ทอง
ภูมิ 6 มีค่าไม่ต่างจากกลุ่มควบคุม และเมื่อให้น้ำกลับ อ้อยพันธุ์ ทองภูมิ 6, KK06-381, KK07-250 และ
UT10-175 มีปริมาณไฮโดรเจนเปอร์ออกไซดล์ ดลงเมอ่ื เทียบกบั กลมุ่ ขาดนำ้ (ภาพท่ี 20ค)

233

120.00 Control1 Drought Control2 Recovery ก

Relative water content (%) 100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 ทองภมู ิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175 UT15
KK3 (ปี62) KK07-370

70.00 Control1 Drought Control2 Recovery ข

Electrolyte leakage (%) 60.00 UT15

50.00

40.00

30.00

20.00

10.00

0.00 ทองภูมิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175
KK3 (ปี62) KK07-370

140.00 Control1 Drought Control2 Recovery ค
120.00
Hydrogen peroxide (mg/L)
100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 ทองภูมิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175 UT15
KK3 (ปี62) KK07-370

ภาพที่ 20 ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำสัมพัทธ์ในใบ (ก) ร้อยละการรั่วไหลของสารอิเล็กโทรไลต์ (ข) และปริมาณ
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในใบอ้อย (ค) เมื่ออยู่ในสภาวะขาดน้ำและให้น้ำกลับ (Control1 คือ
กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คอื กลุม่ ขาดน้ำ, Control 2 คือ กลุม่ ควบคุมในสภาวะ
ใหน้ ้ำกลบั และ Recovery คือ กล่มุ ใหน้ ำ้ กลบั คนื )

ในสภาวะขาดนำ้ พบวา่ ออ้ ยพนั ธุ์ KK3 (ป6ี 2) , KK07-250, KK120-85, UT10-175 และ UT15 มี
ปริมาณโพรลีนเพิ่มข้ึนอย่างมากเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (Control1) แต่เมื่อให้นำ้ แก่อ้อยอีกครัง้ ส่งผลทำ

234

ใหอ้ ้อยทคี่ า่ ปริมาณโพรลนี ลดลงมีค่าไม่ตา่ งจากกลุ่มควบคุม (Control2) (ภาพที่ 16ก) ในทำนองเดียวกัน ใน
กลุ่มขาดน้ำอ้อยมีปริมาณมาลอนไดอัลดีไฮด์เพิม่ สงู ขึ้น แต่เมื่อไดร้ ับน้ำกลับปริมาณมาลอนไดอัลดีไฮด์มีคา่
ลดลงมคี ่าไม่ต่างจากกลุ่มท่ีได้รับน้ำตามปกติ (ภาพท่ี 21ข)

Proline (ug g-1 fresh weight ) 12.00 Control1 Drought Control2 Recovery ก
10.00

8.00

6.00

4.00

2.00

0.00 ทองภูมิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175 UT15
KK3 (ปี62) KK07-370

MDA (mM g-1 fresh weight ) 8.00 Control1 Drought Control2 Recovery ข
7.00

6.00

5.00

4.00

3.00

2.00

1.00

0.00 ทองภมู ิ6 KK06-381 KK3 (ปี63) KK07-250 KK120-85 UT10-175 UT15
KK3 (ปี62) KK07-370

ภาพที่ 21 ค่าเฉลี่ยปริมาณโพรลีน (ก) และมาลอนไดอัลดีไฮด์ (ข) เมื่ออยู่ในสภาวะขาดนำ้ และให้น้ำกลับ
(Control1 คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ กลุ่มขาดน้ำ, Control 2 คือ กลุ่ม
ควบคุมในสภาวะใหน้ ้ำกลับ และ Recovery คอื กล่มุ ให้นำ้ กลับคนื )

ความเครียดจากการขาดน้ำทำให้อ้อยทุกพันธุ์ มีกิจกรรมของเอนไซม์ ascorbate peroxidase
(APX) เพิ่มสูงขึ้น ยกเว้น อ้อยพันธุ์ KK3 (ปี62) และ KK06.381 มีค่าลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม
(Control1) ในสภาวะขาดน้ำ พบว่า อ้อยพนั ธุ์ KK3 (ปี62), ทองภูมิ 6, KK06-381, KK120-85 และ UT15
มีปริมาณโปรตีนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (Control1) และเมื่อให้น้ำกลับอ้อยทุกพันธุ์มีปริมาณ
โปรตีนลดลงเมอ่ื เทยี บกบั กล่มุ ขาดน้ำ และมีค่าใกลเ้ คยี งกับกลุ่มควบคมุ (Control2) ยกเว้นออ้ ยพันธุ์ KK07-
370 มปี รมิ าณโปรตีนเพมิ่ ข้นึ เมื่อเทียบกบั กลมุ่ ขาดนำ้ (ภาพที่ 22)

12.00 Control1 Drought Control2 Recovery 235
10.00 ก
Protein (mg g-1 FW)
8.00 ข
6.00
4.00
2.00
0.00

APX [Unit (μmol ascorbate (mg protein)–1 6.00 Control1 Drought Control2 Recovery
min–1)] 5.00
4.00
3.00
2.00
1.00
0.00

ภาพที่ 22 ค่าเฉลี่ยปริมาณโปรตีน (ก) และกิจกรรมของเอนไซม์ ascorbate peroxidase (APX) (ข) เม่ือ
อยู่ในสภาวะขาดน้ำและให้น้ำกลับ (Control1 คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะขาดน้ำ, Drought คือ
กลุ่มขาดน้ำ, Control 2 คือ กลุ่มควบคุมในสภาวะให้น้ำกลับ และ Recovery คือ กลุ่มให้น้ำ
กลบั คนื )

สรุปผลการทดสอบการขาดน้ำในสภาพโรงเรือนในอ้อยลูกผสม 8 พันธุ์เปรียบเทียบกับพันธุ์
ขอนแกน่ 3 พบวา่ พนั ธท์ุ ่ีสามารถฟืน้ คนื และมีการเจรญิ เตบิ โตตอ่ ได้ ได้แก่ พันธ์ุ KK07-370, KK06-381และ
อ่ทู อง 15 โดยมีการเตบิ โตทางยอดและรากของรวมท้ังมนี ำ้ หนักแห้งของทง้ั ยอดและรากที่เพิ่มขึ้น ตรวจพบ
การร่วั ไหลสารอเิ ลคโตรไลทแ์ ต่มีปรมิ าณท่ีลดลงเมื่อทดสอบการฟ้ืนตวั เช่นเดยี วกับพนั ธขุ์ อนแกน่ 3 แตย่ ังคง
มีการสะสมของสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่สูงกวา่ กลมุ่ ควบคุมแม้จะมเี อนไซม์ APX สูงขนึ้ ในภาวะขาดน้ำ
และลดลงต่ำกว่ากลุ่มควบคุมเมื่อฟื้นตวั KK07-370 ไม่มีการสร้างสารโพรลีนเพิม่ ขึน้ เม่ืออยู่ในภาวะขาดน้ำ
แต่พันธุ์ KK06-381 มีสารโพรลีนสูงขึ้น และลดลงสู่ปกติเมื่อฟื้น การทำลายของเซลล์ที่ตรวจด้วยปริมาณ

236

MDA พบวา่ ลดลงทง้ั สองพนั ธ์หุ ลงั ฟื้น ส่วนพันธุ์ที่ออ่ นแอต่อการขาดนำ้ ในกลมุ่ ทที่ ดสอบนมี้ ีหลายพันธ์ุ ไดแ้ ก่
KK07-250, KK120-85, UT10-175 และ UT15 ทพ่ี บว่าการเจริญเติบโตท้ังยอดและรากหลังการฟื้นตัวน้อย
กวา่ กอ่ นทดสอบ รวมท้ังยังตรวจพบการรัว่ ไหลของอเิ ลคโตรไลท์ สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซดส์ ะสมที่สูงหลัง
การฟื้นตัวแม้จะพบว่าพันธ์ุ KK09-0857 มีเอ็นไซม์ APX สูงมากในช่วงการฟืน้ ตัวมีการสร้างสารโพรลีนสงู
มากในระหวา่ งทดสอบการขาดนำ้ และลดลงส่ภู าวะปกติหลงั การฟนื้ คนื สภาพ และพบว่ามกี ารทำลายของเซลล์สูง
มากหลังการฟื้นตัว

สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การทดสอบการทนแลง้ ในอ้อยโดยใช้สภาวะที่ควบคมุ สภาพแวดล้อมได้ ทำให้ได้ข้อมลู ท่แี มน่ ยำกว่า
การทดสอบในแปลงทดลองที่ควบคุมตัวแปรได้ยาก การทดสอบในตู้ควบคุมสภาพแวดล้อมทำให้สามารถ
ตรวจวิเคราะห์ผลกระทบของสภาวะแลง้ จากการขาดน้ำและความรอ้ นได้ สว่ ยการทดสอบในสภาพโรงเรือน
ทำใหต้ รวจผลกระทบแล้งจากการขาดน้ำเพียงอยา่ งเดียวได้ การตรวจวดั การเจริญเตบิ โตร่วมกับการตรวจวัด
ตัวแปรด้านสรรีระวิทยาและชีวเคมีที่เปลี่ยนแปลงไปในการทดสอบในสภาวะควบคุมทั้งสองสภาพทำให้
สามารถนำมาใช้ประกอบการคัดเลือกพันธุ์ที่มีลักษณะทนแล้งได้อย่างแท้จริง ในพันธุ์ที่มีลักษณะทนแล้ง
พบว่าวา่ มกี ารฟืน้ ตัวกลับคืนด้านการเจรญิ เตบิ โตได้ดี โดยวัดได้จากความยาวยอดและรากที่มีการเติบโตได้
เท่ากบั หรือมากกวา่ กลุ่มควบคมุ หลงั การทดสอบการฟน้ื ตัวจากสภาวะแล้ง การวเิ คราะหผ์ ลจากตัวแปรด้าน
สรรี ะวทิ ยาและชวี เคมี ไดแ้ ก่ ปรมิ าณนำ้ สมั พัทธ์ในใบจะแสดงถึงการสญู เสยี น้ำในสภาพแล้ง และการรั่วไหล
ของสารอิเลคโตรไลทจ์ ะแสดงถึงการเสียสภาพของเซลล์ ซึ่งเปน็ ผลจากการรกั ษาสภาพเต่งของเซลล์โดยสาร
โพรลีนและไกลซีนบีเทน โดยสารมาลอนไดอัลดีไฮด์จะแสดงถึงการทำลายของเซลล์ ในขณะที่การสะสม
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์จะบ่งบอกสภาวะเครียดออกซิเดชั่นที่เกิดจากการขาดน้ำ โดยมีเอ็นไซม์ APX และ
GPX เป็นตัวลดระดับสารนี้ลง จากการตรวจวิเคราะห์สารเหล่านี้จะพบว่าในพันธุท์ นแล้ง (ขอนแก่น 3) มี
การสร้างทั้งสารโพรลีนและไกลซีนบีเทนที่สามารถรักษาสภาวะความเต่งของเซลล์ได้เมื่ออยู่ในสภาวะแล้ง
และมีการเพิ่มกิจกรรมเอ็นไซม์ทั้งสองชนิดหลังผ่านสภาวะแล้งทำให้สามารถลดปริมาณไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์สะสมลงได้ ทำใหเ้ ซลล์ถกู ทำลายน้อยลง ซงึ่ สามารถตรวจวัดได้จากค่าการร่วั ไหลของอิเลคโตรไลท์
และมาลอนไดอัลดีไฮด์ อย่างไรก็ตามจากการศึกษานี้พบว่ามีปัญหาด้านจำนวนต้นที่ใช้ในการทดสอบ
สืบเน่ืองจากความสมบรู ณข์ องท่อนพนั ธุ์ทท่ี ำให้คัดต้นสมบรู ณ์สำหรับทำการทดลองไดน้ อ้ ย โดยเฉพาะพันธ์ุ
ท่อี ่อนแอต่อสภาพแลง้ ซ่ึงมจี ำนวนน้อย การใชต้ ัวอยา่ งทม่ี ากขึ้นจะทำใหไ้ ดข้ ้อมลู ที่สมบรู ณ์มากกว่าน้ี

การนำผลงานใชป้ ระโยชน์
อยู่ระหว่างการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการเผยแพร่ต่อยอดวิธีการและผลการทดลองในโครงการ
ปรบั ปรงุ พนั ธอุ์ อ้ ยปี 2565-2567 ของสถาบันวิจยั พชื ไร่และพืชทดแทนพลงั งาน

237

คำขอบคุณ
ขอขอบคุณโรงงานน้ำตาลภาคตะวันออกท่ีเอื้อเฟ้ือพนั ธุ์อ้อยเพ่ือการศึกษา ขอขอบคุณ อ.ทักษิณา
ศันสยะวชิ ยั ผชช.วรี ะพล พลรักดี ท่ีใหค้ ำปรึกษาดา้ นพนั ธุ์ และใหต้ วั อยา่ งในการทดสอบ

เอกสารอา้ งอิง

ศุจิรตั น์ สงวนรงั ศริ ิกุล, ทักษิณา ศันสยะวชิ ัย และสุนี ศรีสงิ ห.์ 2557. การศกึ ษาการเปล่ียนแปลงของสารชวี เคมบี างชนดิ ใน
ออ้ ยทเี่ ปน็ โรคใบขาว. รายงานไตรมาส 2 ประจำปี 2557. สถาบนั วิจัยพชื ไร่ กรมวชิ าการเกษตร

Aprile, A., L. Havlickova, R.Panna, C.Marè, G. M. Borrelli, D.Marone,C.Perrotta, P. Rampino, L. De Bellis, V.
Curn, A. M.Mastrangelo, F.Rizzaand L.Cattivelli. 2013. Different stress responsive strategies to
droughtand heat in two durum wheat cultivars withcontrasting water use efficiency. BMC
Genomics 2013, 14:821.

Arnon, D. I. 1949. Copper enzymes in isolated chloroplasts. Polyphenoloxidase in Beta vulgaris. Plant
physiology 24 (1), 1-15.

Barrs, H.D. and Weatherley, P.E. 1962. A Re-Examination of the Relative Turgidity Techniques for Estimating
Water Deficits in Leaves. Australian Journal of Biological Sciences, 15, 413-428.

Bates L.S., Waldren R.P. and Teare I.D. 1973. Rapid determination of free proline for water-stress studies.
Plant and Soil 39, 205–207.

Begcy K, E.D. Mariano, A. Gentile, C.G. Lembke, S.M. Zingaretti, G. M. Souza and M.Menossi. 2012. A novel
stress-induced sugarcane gene confers tolerance to drought, salt and oxidative stress in
transgenic tobacco plants. PLoS ONE 7(9): e44697.

Bradford M.M. 1976. A rapid and sensitive method for the quantitation of microgram quantities of protein
utilizing the principle of protein-dye binding. Analytical Biochemistry. 72 (1-2), 248-254.

Cia, M.C., A.C.R. Guimarães,L.O. Medici, S.M. Chabregas and R.A. Azevedo. 2012. Antioxidant responses
to water deficit by drought-tolerant and -sensitive sugarcane varieties. Annals of Applied Biology,
161 (3), 313–324.

Da Silva, M.D., R. L. de Oliveira Silva, J. R. C. F. Neto, A. C. R. Guimarães, D. T. Veiga, S. M. Chabregas, W. L.
Burnquist, G. K. A. Benko-Iseppon and E. A. Kido. 2013. Expression Analysis of Sugarcane
Aquaporin Genes under Water Deficit. J. of Nuc. Acids. Vol. 2013, Article ID 763945, 14 pages.
http://dx.doi.org/10.1155/2013/763945 สบื คน้ เมื่อ 16 มิ.ย. 2557.

Dionisio-Sese, L.M. and Tobita S. 1998. Antioxidant responses of rice seedling to salinity stress. Plant
Science 135, 1-9.

Ghamsari L., Keyhani E.and Golkhoo S. (2007). Kinetics Properties of Guaiacol Peroxidase Activity in Crocus
sativus L. Corm during Rooting. Iranian Biomedical Journal 11 (3): 137-146.

Heath R. L.and Packer L. 1968. Photoperoxidation in isolated chloroplasts. I. Kinetics and stoichiometry of
fatty acid peroxidation. Archives in Biochemistry and Biophysics. 125, 189–198.

Kaur C. and KapoorH.C. 2002. Anti-oxidant activity and total phenolic content of some Asian vegetables.
International Journal Food Science Technology. 37, 153-161

238

Lopes, M.S. and M.P. Reynolds M.P. 2011. Drought adaptive traits and wide adaptation inelite lines derived
from resynthesized hexaploid wheat. Crop Sci. 51:1617–1626.

Patade V. Y., Bhargava S.and Suprasanna P. 2011. Salt and drought tolerance of sugarcane under iso-
osmotic salt and water stress: growth, osmolytes accumulation, and antioxidant defense. Journal
of Plant Interactions. Vol. 6, No. 4, 275-282.

Rampino P. 2006. Drought stress response in wheat: physiological and molecular analysis of resistant and
sensitive genotypes. Plant Cell Environ. 29:2143–2152.

Sakuanrungsirikul, S., T. Wongwarat, S. Sankot, K. Kawabe, Y. Kobori and S. Ando. 2013. Sugarcane white
leaf and sugarcane grassy shoot diseases in Thailand and their detection methods. Proc. Int. Soc.
Sugar cane technol., Vol 28, 2013.

Shinozaki K, and K. Yamaguchi-Shinozaki. 2000. Molecular responses to dehydration and low
temperature: differences and cross-talk between two stress signaling pathways. CurrOpin Plant
Biol 3: 217–223.

TURNER, N.C., 1981. Techniques and experimental approaches for the measurement of plant water status.
Pant Soil. 58,339-366.

239

การทดสอบปฏกิ ริ ิยาของโคลนอ้อยต่อโรคแส้ดำ
The Reaction of Sugarcane Clones to Smut

มัทนา วานิชย์1* แสงเดือน ชนะชัย 1 และปยิ ะรัตน์ จังพล1

บทคัดยอ่
การทดลองน้ีมีวตั ถุประสงค์เพอื่ ทดสอบปฏิกริ ยิ าของโคลนอ้อยต่อโรคแสด้ ำ จำนวน 18 โคลน/พันธุ์
โดยประเมินความรุนแรงของโรคทุกเดือนจนอ้อยอายุ 6 เดือน พบว่า การเกิดโรคแตกต่างกัน โดยพันธ์ุ
ขอนแก่น 3 (ต้านทานปานกลาง) เกิดโรคร้อยละ 10.4 พบโคลนอ้อยที่เกิดโรคน้อยกวา่ ขอนแก่น 3 จำนวน
4 โคลนแต่ไม่แตกต่างทางสถิติ คือ KK09-1155 KK3/E09-1 KK 07-210 และ KK 05-559 โดยเกิดโรค
รอ้ ยละ 2.1 -10.4 ในขณะท่พี ันธุ์มาร์กอส (คอ่ นขา้ งออ่ นแอ) เกิดโรครอ้ ยละ 37.5 และมโี คลนออ้ ยท่ีเกิดโรค
มากกวา่ พนั ธม์ุ ารก์ อส จำนวน 6 โคลน การเก็บเกี่ยวผลผลิต พบวา่ ผลผลิตอ้อยในแต่ละโคลนพันธุ์แตกต่าง
กันทางสถิติ โดยพบพันธุ์ที่ให้ผลผลิตมากกว่าพันธุ์มาร์กอส จำนวน 10 โคลน/พันธุ์ ได้แก่ KK05-211
KK09-0857 KK07-253 KK09-0844 KK10-308 KK3/E09-1 KK07-210 KK05-559 ขอนแกน่ 3 และ
อู่ทอง 1
คำสำคัญ: โรคแส้ดำ แส้ดำออ้ ย Ustilago scitaminea Sporisorium scitamineum Sugarcane smut

คำนำ
อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย สร้างงานสร้างรายได้ให้กับประชาชนไทยไม่ต่ำกว่า 2 แสน
ครัวเรือน ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการทำธุรกิจไร่อ้อยให้ประสพความสำเร็จคือการเลือกใช้พันธุ์อ้อยท่ี
เหมาะสมกบั สภาพพน้ื ท่ี พนั ธอุ์ ้อยท่นี ยิ มใชใ้ นปัจจุบนั ท้ังหมดเปน็ พนั ธุ์ท่ีพฒั นาข้ึนในประเทศ อย่างไรก็ตาม
การปรบั ปรุงพนั ธเ์ุ พื่อให้ได้ออ้ ยพันธ์ุดีเปน็ งานที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง เพราะต้องพัฒนาเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ และ
การที่ใช้พนั ธุ์เดิมต่อเนื่องยาวนานจะเกิดการเสื่อมของพันธุ์เนื่องจากศัตรูพืชได้มีการปรับตวั จนสามารถเข้า
ทำลายอ้อยพนั ธ์ุนั้นๆได้ การเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ ม มผี ลทำให้พันธุ์ออ้ ยทีเ่ คยให้ผลผลิตสงู ในแต่ละ
เขตมีผลผลิตลดลง

โรคแส้ดำเปน็ โรคทเ่ี กดิ จากเชอ้ื Ustilago scitaminea Syd. พบเกือบทุกพื้นที่ปลกู ออ้ ยในประเทศ
ไทย ความรุนแรงของโรคและความเสียหายทางด้านผลผลิตขึ้นอยู่กับระดับความต้านทานของพันธุ์อ้อย
สำหรับในประเทศไทยมีรายงานการระบาดและทำความเสยี หายคร้ังแรกในปี พ.ศ. 2506 โดยทำให้ผลผลิต
อ้อยน้ำหนักลดลงถงึ 70-75 เปอรเ์ ซน็ ต์ คุณภาพความหวานต่ำลง 6-11 เปอรเ์ ซ็นต์ และค่าซซี ีเอสลดลง 10-
28 เปอร์เซน็ ต์ (ธวัช, 2542) ทำให้เกดิ ผลเสยี หายต่ออตุ สาหกรรมอ้อยและน้ำตาลเปน็ มูลค่าปีละหลายร้อย
ล้านบาท (เลศิ วทิ ย์, 2534)

1ศนู ย์วจิ ยั พืชไรข่ อนแกน่ สถาบันวิจัยพชื ไร่และพืชทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

240

อ้อยที่เป็นโรคแส้ดำมักมีการเจริญโดยแตกยอดใหม่ทีต่ าข้างมากผิดปกติ ลำต้นที่แตกกอใหม่มักมี
ขนาดเล็กข้อสั้นเตี้ย ใบตั้งเรียวบาง และไม่สามารถออกดอกเพราะเชื้อรายับยั้งการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
anther lopes (cell differentiation) จากนั้นพืชจะสร้างอวัยวะรูปร่างคล้ายแส้สีดำ บริเวณยอด (whip)
หลังจากที่เชื้อเขา้ ไปในต้นอ้อย 3-5 เดือน แส้ที่ยังอายุนอ้ งถูกปกคลุมด้วยแผ่นสีขาวบางคล้ายเยื่อกระดาษ
ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อชั้น epidermis ของอ้อยที่เป็นพืชอาศัยนั่นเอง เมื่อแส้อายุมากขึ้นจะสร้างสปอร์สีดำเล็กๆ
เรียกว่า teliospores หลังจากที่อ้อยยอดแรกสร้าง whip ขึ้นมาแล้ว ยอดใหม่ที่เกิดจากตาข้างมักสรา้ ง whip
ขนาดส้ัน ๆ ขึ้นตามไปดว้ ย (Comstock and Lentini, 1998)

วิธีดำเนินการ
สิง่ ทใ่ี ช้ในการทดลอง

อ้อยลกู ผสมจำนวน 15 โคลน และพันธุต์ รวจสอบ 3 พันธุ์ คอื ขอนแก่น 3 อู่ทอง 1 และ มาร์กอส
สารปอ้ งกันกำจดั ศตั รูพชื ปยุ๋ เคมเี กรด 15-15-15 ปนู มารล์

เตรียมเชื้อราสาเหตุโรคโดยเก็บรวบรวมยอดอ้อยที่เป็นโรคแส้ดำ จากแหล่งปลูกในภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ นำมาเคาะเอาสปอร์ของเชอื้ รา U. scitaminea เชอื้ สาเหตุโรคนำไปผึง่ ลมใหแ้ ห้งแล้ว
บรรจุขวด เกบ็ ไว้ในโถดูดความช้ืนเพื่อเกบ็ ไว้ใช้ปลูกเชือ้ เพ่อื ทดสอบปฏกิ ิริยาของสายพันธ์ุอ้อยต่อโรคแส้ดำ
นำท่อนพันธุ์ออ้ ยขนาด 1 ตา แช่ในน้ำท่ปี ระกอบดว้ ยสารจบั ใบ และสปอรข์ องเช้อื รา U. scitaminea ความ
เข้มข้น 5x106 สปอรต์ อ่ มิลลิลิตร นาน 30 นาที แล้วบม่ ไว้ 1 คืน ก่อนนำข้อตาออ้ ยไปเพาะในถุงเพาะ เม่ือ
อ้อยงอก ดแู ลรดนำ้ เป็นเวลา 45 วนั ก่อนนำไปปลูกในแปลงทดลอง

เตรียมดินปลูกอ้อยโดยการไถพรวนและใส่ปูนมาร์ลเพื่อปรับ pH ของดิน ให้ได้ประมาณ 5.5-5.8
แลว้ นำกลา้ อ้อยที่ผา่ นการแช่เชื้อมาปลกู โดยใช้ระยะปลกู 1.5x0.5 เมตร หลุมละ 2 ต้น ในแปลงยอ่ ยขนาด
2.0x 8.0 เมตร ใสป่ ุย๋ เคมีสูตร 15-15-15 อตั รา 50 กก./ไร่ กลบดิน หลังจากนั้น 1 วนั พน่ สารกำจัดวัชพืช
ตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร และใสป่ ๋ยุ เคมีสูตร 15-15-15 อตั รา 50 กก./ไร่ อกี ครง้ั เม่อื อ้อยอายุ
90 วัน กำจัดวัชพชื และให้น้ำ หากพบว่ามีฝนทิ้งช่วงเกนิ 3 สัปดาห์ ตรวจเช็คการเกิดโรคแสด้ ำในอ้อยปลูก
แต่ละโคลน ทกุ ๆ เดือน จนกระท่งั เก็บเกยี่ วออ้ ย
กรรมวิธกี ารทดลอง

แบบและวธิ กี ารทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 3 ซ้ำ ใช้พันธุ์เป็นกรรมวิธี ประกอบด้วยอ้อยโคลนดีเด่น 15 โคลน
และพันธ์ตุ รวจสอบ 3 พนั ธ์ุ คือ ขอนแก่น 3 อู่ทอง 1 และ มารก์ อส

การบันทกึ ข้อมูล
วันปฏิบัติการต่างๆ ตรวจนับจำนวนกอที่เป็นโรค และระดับความรุนแรงของโรคทุกๆ เดือน
(Comstock, 1977) ตรวจเชค็ คุณภาพความหวาน (คา่ บรกิ ซ)์ ตรวจเชค็ องคป์ ระกอบผลผลิต ไดแ้ ก่ จำนวน
กอเก็บเกี่ยว จำนวนลำ ขนาดลำ ความยาวลำ นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความแตกต่างของการเกิดโรค
ผลผลิต และคณุ ภาพ

241

การประเมินความต้านทานโรค ใช้ Smut rating scale ของ Comstock (1977) ซึ่งมีรายละเอยี ด
ดงั น้ี

1. ปฏิกริ ิยาต้านทาน = อ้อยปลกู และอ้อยตอแสดงอาการนอ้ ยกว่า 3 และ 6 เปอร์เซน็ ต์ ตามลำดบั
2. ปฏิกิริยาต้านทานปานกลาง = อ้อยปลูกแสดงอาการระหว่าง 4-12 เปอร์เซ็นต์ อ้อยตอแสดง
อาการระหวา่ ง 7-20 เปอรเ์ ซน็ ต์
3. ปฏิกิริยาอ่อนแอปานกลาง = อ้อยปลูกแสดงอาการระหว่าง 13-50 เปอร์เซ็นต์ อ้อยตอแสดง
อาการระหว่าง 21-60 เปอร์เซ็นต์
4. ปฏิกริ ยิ าอ่อนแอ = ออ้ ยปลกู และออ้ ยตอแสดงอาการระหวา่ ง 61-100 เปอรเ์ ซ็นต์ ตามลำดบั

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
การทดสอบปฏิกิริยาของโคลนอ้อยต่อโรคแส้ดำ จำนวน 18 โคลน/พันธ์ุ โดยบันทึกข้อมูลการเกดิ
โรคทุกเดือนจนอ้อยมีอายุ 6 เดือน พบว่าการเกิดโรคแตกต่างกันทางสถิติ โดยพันธุ์ขอนแก่น 3 (ต้านทาน
ปานกลาง) เกดิ โรคร้อยละ 10.4 พบโคลนอ้อยทีเ่ กิดโรคน้อยกวา่ ขอนแก่น 3 จำนวน 4 โคลนแต่ไม่แตกต่าง
ทางสถิติ คือ KK09-1155 KK3/E09-1 KK 07-210 และ KK 05-559 โดยเกิดโรคร้อยละ 2.1 -10.4
ในขณะที่พันธุ์มาร์กอส (ค่อนข้างอ่อนแอ) เกิดโรคร้อยละ 37.5 และมีโคลนอ้อยที่เกิดโรคมากกว่าพันธ์ุ
มาร์กอส จำนวน 6 โคลน (ตารางท่ี 1)
ผลผลิตอ้อยในแต่ละโคลนพันธแุ์ ตกต่างกนั ทางสถิติ โดยพบพันธุ์ท่ีให้ผลผลติ มากกว่าพันธุ์มาร์กอส
จำนวน 10 โคลน/พนั ธุ์ ไดแ้ ก่ KK05-211 KK09-0857 KK07-253 KK09-0844 KK10-308 KK3/E09-1
KK07-210 KK05-559 ขอนแกน่ 3 และ อู่ทอง 1 (ตารางท่ี 2)

242

ตารางท่ี 1 การเกิดโรคแสด้ ำต่อโคลนออ้ ย จำนวน 18 โคลน/พนั ธุ์ (เกบ็ ข้อมูลออ้ ยปลูกอายุ 6 เดือน)

ลำดับ พันธ์/ุ โคลนพนั ธ์ุ อ้อยปลูก (2563) ปฏิกริ ิยา
การเกิดโรค(%)
1 KK03-187 อ่อนแอ
2 KK09-0939 64.6 j อ่อนแอ
3 KK07-245 60.4 ij อ่อนแอ
4 KK09-0358 54.2 hij ออ่ นแอ
5 KK05-211 52.1 hij คอ่ นข้างอ่อนแอ
6 KK08-214 50.0 g-j ค่อนขา้ งออ่ นแอ
7 KK09-0857 45.8 f-i ค่อนข้างออ่ นแอ
8 KK10-226 37.5 e-h คอ่ นขา้ งอ่อนแอ
9 KK07-253 33.3 d-g ค่อนข้างอ่อนแอ
10 KK09-0844 27.1 cde คอ่ นขา้ งอ่อนแอ
11 KK10-308 20.8 b-e คอ่ นข้างอ่อนแอ
12 KK09-1155 16.7 a-d ต้านทานปานกลาง
13 KK3/E09-1 10.4 abc ตา้ นทานปานกลาง
14 KK07-210 6.3 ab ตา้ นทานปานกลาง
15 KK05-559 4.2 ab ตา้ นทาน
16 ขอนแกน่ 3 2.1 a ตา้ นทานปานกลาง
17 อ่ทู อง 1 10.4 abc ค่อนขา้ งอ่อนแอ
18 มาร์กอส 29.2 def ค่อนขา้ งอ่อนแอ
37.5 e-h
CV (%) 35.8

243

ตารางท่ี 2 องค์ประกอบผลผลิตของโคลนพันธ์อุ ้อย จำนวน 18 โคลน/พันธ์ุ (อ้อยปลกู )

พันธ/์ุ โคลนพนั ธ์ุ ผลผลิตอ้อย brix (%) ความยาวลำ เส้นผ่านศนู ย์กลางลำ
(ตนั /ไร)่ (ซม.) (ซม)
KK03-187 9.9 ij
KK09-0939 13.46 b-g 18.3 bc 395 ab 1.8 i
KK07-245 12.91 c-g 15.0 ef 440 a 2.6 cde
KK09-0358 9.90 efg 13.3 fg 335 bc 2.3 fg
KK05-211 6.67 g 12.1 gh 364 abc 2.4 ef
KK08-214 17.52 a-d 16.6 cde 423 ab 2.1 gh
KK09-0857 11.59 d-g 17.9 bcd 395 ab 1.9 hi
KK10-226 16.97 a-e 12.8 gh 403 ab 2.8 abc
KK07-253 14.11 a-f 13.4 fg 441 a 2.3 fg
KK09-0844 18.03 a-d 15.3 e 403 ab 2.5 def
KK10-308 19.80 abc 16.3 de 378 abc 2.7 bcd
KK09-1155 20.44 ab 12.8 gh 429 ab 2.3 f
KK3/E09-1 14.33 a-f 20.3 a 433 a 2.4 def
KK07-210 15.61 a-e 11.2 hi 378 abc 2.6 cde
KK05-559 17.13 a-e 9.1 j 400 ab 1.9 hi
ขอนแก่น 3 20.96 a 19.6 ab 448 a 2.0 hi
อู่ทอง 1 14.72 a-e 17.4 cd 375 abc 2.8 abc
มารก์ อส 14.99 a-e 17.2 cd 415 ab 2.9 ab
ค่าเฉลย่ี 7.18 fg 14.92 285 c 3.0 a
% C.V. 14.80 7.54 397 2.40
29.48 14.68 5.85

สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
จากผลการทดสอบปฏิกิริยาของโคลนอ้อยต่อโรคแส้ดำ พบโคลน/พันธุ์ที่แสดงปฏิกิริยาต้านทาน
จำนวน 1 โคลน/พนั ธ์ุ แสดงปฏกิ ริ ยิ าตา้ นทานปานกลาง จำนวน 4 โคลน/พันธ์ุ และแสดงปฏิกิริยาค่อนข้าง
อ่อนแอถึงออ่ นแอ จำนวน 13 โคลน/พนั ธ์ุ ซ่ึงเปน็ ขอ้ มูลท่ีจะต้องนำไปประกอบการพิจารณาคัดเลือกพันธ์ุดี
ต่อไป

244

เอกสารอ้างอิง

ธวัช ตนิ นังวฒั นะ. 2542. เทคนคิ การปลกู อ้อยและการจดั การ. เอกสารประกอบการฝึกอบรมความรู้ดา้ นอ้อยและนำ้ ตาล
ทราย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน) วนั ที่ 3-5 พฤศจกิ ายน 2542 ณ โรงแรมอดุ รโฮเตล็ จ.อดุ รธาน.ี
สถาบันวจิ ยั อ้อยและน้ำตาลทรายร่วมกับศูนยเ์ กษตรอ้อย 4 ภาค สำนกั งานคณะกรรมการอ้อยและนำ้ ตาลทราย
กระทรวงอตุ สาหกรรม. สว่ นท่ี 4.

เลิศวทิ ย์ ศศิปรยิ จนั ทร์. 2534. การถ่ายทอดโรคและการจำแนกสายพนั ธุ์ของเชอ้ื รา Ustilago scitaminea Syd. สาเหตุโรค
แส้ดำของอ้อย. วิทยานพิ นธ์บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์

Comstock, J.C., Lentini, R.S. 1998. แหลง่ ทม่ี า htt://edis.ifas.ufl.edu/pdffiles/SC/SC00800.pdf; สบื คน้ วันท่ี 5 มิย.
2557.

ภาคผนวก

ภาพกจิ กรรม
การเตรยี มเชอ้ื

การปลกู เช้อื

245

ปลกู ชำขอ้ และดแู ลในถุงเพาะก่อนนำไปปลกู ลงแปลงตามแผนการทดลอง

เมอ่ื ตน้ กล้าอายุ 2 เดอื น นำไปปลูกในแปลงงานทดลอง ดูแลรักษาแปลงเก็บขอ้ มูลโรคทุกเดือนจนอ้อยอายุ
6 เดือน

246
การเกดิ โรคแสด้ ำในออ้ ย

247

การทดสอบปฏกิ ิริยาของโคลนอ้อยตอ่ โรคเห่ยี วเน่าแดง
The Reaction of Sugarcane Clones to Red Rot Wilt Diseases

มทั นา วานิชย์1* แสงเดือน ชนะชยั 1 และปยิ ะรัตน์ จังพล1

บทคัดยอ่
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบปฏิกิริยาของโคลนอ้อยต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง จำนวน 15
โคลน/พันธุ์ โดยใช้อ้อย 15 ลำ ต่อ 1 โคลน/พันธุ์ หลังจากปลูกเชือ้ เป็นเวลา 2 เดือน ประเมินความรุนแรง
ของโรค พบว่า การเกิดโรคแตกต่างกัน โดยอ้อยแสดงปฏิกิริยาต้านทานปานกลาง จำนวน 6 โคลนพันธ์ุ
ไดแ้ ก่ โคลนพันธุ์ KK11-443 KK11-621 KK11-650 KK08-418 K84-200 และ KK 3 อกี จำนวน 9 โคลน
พันธุ์ แสดงปฏิกิริยาค่อนข้างอ่อนแอถึงอ่อนแอมาก ได้แก่ โคลนพันธุ์ KK11-1009 KK08-471 LK92-11
KK11-1558 KK11-211 KK11-1031 KK08-319 KK08-059 และ UT 3
คำสำคัญ เห่ียวเนา่ แดง ออ้ ย Red Rot Wilt Diseases

คำนำ
อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย สร้างงานสร้างรายได้ให้กับประชาชนไทยไม่ต่ำกว่า 2 แสน
ครัวเรือน ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการทำธุรกิจไร่อ้อยให้ประสพความสำเร็จคือการเลือกใช้พันธุ์อ้อยท่ี
เหมาะสมกับสภาพพ้นื ที่ พันธ์อุ อ้ ยที่นิยมใชใ้ นปัจจุบนั ทั้งหมดเป็นพันธ์ุที่พฒั นาขน้ึ ในประเทศ อย่างไรก็ตาม
การปรับปรงุ พันธุ์เพื่อให้ได้อ้อยพันธุ์ดีเป็นงานท่ีต้องทำอย่างต่อเน่ือง เพราะต้องพฒั นาเพ่ิมขึ้นเรือ่ ยๆ และ
การที่ใช้พนั ธ์ุเดิมต่อเนื่องยาวนานจะเกิดการเส่ือมของพันธุ์เนื่องจากศตั รูพืชได้มีการปรับตวั จนสามารถเขา้
ทำลายออ้ ยพนั ธุ์นัน้ ๆได้ การเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อม มีผลทำให้พนั ธ์อุ ้อยท่เี คยให้ผลผลิตสงู ในแต่ละ
เขตมีผลผลิตลดลง การปรับปรุงพันธุ์อ้อยเพื่อให้ได้ผลผลิตและคุณภาพจึงมีความสำคัญ โดยเฉพาะอ้อย
ลกู ผสมท่จี ะตอ้ งศกึ ษาปฏกิ ิรยิ าสายพนั ธุ์ตอ่ การตา้ นทานโรคเหีย่ วเน่าแดง เพอ่ื ใช้ในการรับรองพันธ์ุอ้อยที่มี
คุณภาพต่อไป
โรคเหยี่ วเน่าแดงเปน็ โรคท่ีเกดิ จากเชือ้ Colletotrichum falcatum สามารถเข้าทำลายไดท้ างรอย
แผลท่ีเกิดจากหนอนหรือแผลแตกของลำหรือทางรอยเปิดธรรมชาติ และเชื้อ Fusarium moniliforme อยู่
ในดิน สามารถเข้าทำลายได้ทางรากและโคนต้น โรคนี้ระบาดรุนแรงในพื้นที่ที่มีความชื้นสูงเช่นในเขต
ชลประทานหรอื พื้นที่นา ทำใหผ้ ลผลติ เสยี หาย 30-100 เปอร์เซ็นต์ (สถาบนั วิจัยพชื ไร่, 2544)
ลกั ษณะอาการทพี่ บ บริเวณปล้องทีถ่ กู ทำลายจะเปล่ียนเป็นสีมว่ ง หลังจากนั้นใบจะเร่ิมเหลืองและ
แหง้ ตายในทส่ี ุด เม่ือผ่าลำอ้อยตามยาวจะเหน็ อาการภายใน เน้ือออ้ ยมสี ีแดง ในพันธุท์ ่ีอ่อนแอจะมีจุดแต้มสี

1ศนู ย์วิจยั พชื ไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจยั พืชไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมอื ง จังหวัดขอนแกน่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

248

ขาวเปน็ จำ้ ค่นั ในรอยแผลในลกั ษณะต้ังฉากกับความยาวลำอ้อย และส่งกลิ่นเหมน็ เปรี้ยว รอยแตม้ ขาวน้ีเป็น
เซลล์พืชทต่ี ายแล้วสถาบนั วจิ ัยพืชไร่ (สถาบนั วิจัยพืชไร่, 2554)

วธิ ดี ำเนนิ การ
สิง่ ท่ีใชใ้ นการทดลอง

อ้อยลกู ผสมจำนวน 11 โคลน และพันธุ์ตรวจสอบ 4 พันธุ์ คือ พนั ธ์ุขอนแกน่ 3 อู่ทอง 3 K84-200
และ LK92-11 สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช ปุ๋ยเคมีเกรด 15-15-15 ปูนมาร์ล เชื้อรา Colletotrichum
falcatum และ Fusarium moniliforme สาเหตโุ รค cork borer ปุ๋ยเคมีเกรด 15-15-15 กระบะทราย
วิธีปฏิบัติการทดลอง

เตรียมดินปลูกอ้อยโดยการไถพรวนและใส่ปูนมาร์ลเพื่อปรับ pH ของดิน ให้ได้ประมาณ 5.5-5.8
แล้วนำท่อนพันธุอ์ ้อยลูกผสม จำนวน 11 โคลน และพันธุ์ตรวจสอบ 4 พันธุ์ ที่ชำข้อแล้วลงปลูกในแปลงที่
เตรยี มไว้ โดยปลูกระยะ 2.0x0.5 เมตร การใสป่ ยุ๋ และกำจดั วชั พืชตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร เม่อื
อ้อยอายุ 8 เดอื น ตัดอ้อยเพ่ือนำไปทดสอบปฏิกริ ิยาโรคเห่ียวเนา่ แดงต่อไป

วิธีการ ได้แก่ เก็บตัวอย่างอ้อยทแ่ี สดงอาการเหย่ี วเน่าแดงจากไร่เกษตรกร นำมาแยกเชอ้ื สาเหตุโดย
วิธี tissue transplanting บนอาหารเลี้ยงเชื้อพีดีเอ ตรวจสอบลักษณะสัณฐานของเชื้อภายใต้กล้อง
จุลทรรศน์ เก็บรกั ษาเชอื้ บรสิ ทุ ธิเ์ พื่อใช้ในการปลกู เชอื้ ปลกู ชำอ้อยโคลนทดสอบในกระบะทราย (ออ้ ยอายุ 8
เดือน) จำนวน 15 ลำตอ่ โคลน จากนน้ั เล้ียงขยายเช้อื ราสาเหตุโรคเหีย่ วเน่าแดง บนอาหารพดี ีเอ เป็นเวลา 2
สัปดาห์ กอ่ นนำไปปลูกเชื้อ โดยใช้ cork borer เจาะลำตน้ ออ้ ยกลางลำ เพือ่ ใสก่ ้อนอาหารเล้ียงเช้ือท่ีมีเส้น
ใยของเชอ้ื สาเหตุ เข้าไปในรูเจาะบนลำต้น ปิดรเู จาะด้วยแผ่นพาราฟลิ ม์

บนั ทึกลักษณะอาการของอ้อย ประเมนิ ความรนุ แรงของโรคโดยการผ่าลำตน้ และวัดการลกุ ลามของ
เช้ือภายในลำต้น หลังจากปลกู เชือ้ สาเหตุเปน็ เวลา 2 เดือน (อปั สร และคณะ, 2535)

อาการทแ่ี สดงภายนอก
ระดับที่ 1 หลงั ปลูกเช้ือ 2 เดือน ออ้ ยยังมอี าการปกติ
ระดับที่ 2 หลงั จากปลูกเชื้อ 2 เดือนอ้อยเร่มิ แสดงอาการเหลือง
ระดบั ท่ี 3 หลังจากปลูกเช้อื แล้ว 1 เดอื นออ้ ยเรม่ิ เหลอื ง และยอดแห้งภายใน 2 เดอื น
ระดับท่ี 4 หลงั จากปลูกเชอ้ื แล้ว 1 เดือน อ้อยเหลือง และแห้งตายภายใน 1 เดือน
ระดบั ความรนุ แรงของโรควัดจากการลามของเชอ้ื ในลำออ้ ย
ระดบั ที่ 1 แผลไมข่ ยายเกนิ ปล้องท่ปี ลกู เชื้อ
ระดบั ท่ี 2 แผลลามข้ามไป 2-3 ปลอ้ ง
ระดับท่ี 3 แผลลามข้ามไป 4-5 ปลอ้ ง
ระดับที่ 4 แผลลามเกนิ 5 ปลอ้ งถึงเกือบท้งั ลำ แตไ่ มเ่ น่ากลวง
ระดบั ท่ี 5 เนา่ กลวงทั้งลำ

อาการภายนอก Rating system 249
1 อาการลามของเช้อื ในลำ
1 ปฏกิ ิรยิ า
2 1 R (ตา้ นทาน)
3 2 MR (ตา้ นทานปานกลาง)
4 2-3 MS (ค่อนขา้ งอ่อนแอ)
3-4 S (อ่อนแอ)
4-5 HS (อ่อนแอมาก)

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
การทดสอบปฏิกริ ยิ าของโคลนอ้อยตอ่ โรคเห่ียวเน่าแดง จำนวน 15 พันธุ์/โคลนพันธ์ุ เมื่อวันท่ี 20
ก.พ. 63 และผ่าประเมินความรุนแรงของโรค เมื่อวันที่ 5 ต.ค. 63 พบว่า การเกิดโรคแตกต่างกัน โดยอ้อย
แสดงปฏิกิริยาต้านทานปานกลาง จำนวน 6 โคลนพันธุ์ อีกจำนวน 9 โคลนพันธุ์ แสดงปฏิกิริยาค่อนข้าง
อ่อนแอถึงอ่อนแอมาก (ตารางที่ 1) การตัดสินใจคัดเลือกโคลนพันธุ์เพื่อนำไปใช้ประกอบข้อมูลการรับรอง
พนั ธคุ์ วรพิจารณาประกอบกบั ข้อมูลปจั จยั การผลิตดา้ นอ่ืนๆ

ตารางท่ี 1 ระดบั ความรนุ แรงของโรคเน่าแดงต่อโคลนอ้อย จำนวน 15 สายพนั ธุ์ (ออ้ ยอายุ 6 เดือน)

ลำดับ สายพันธุ์ ระดับความรนุ แรงของโรค ปฏกิ ิรยิ า

1 KK11-1558 4.3 c ออ่ นแอมาก

2 KK11-211 4.3 c ออ่ นแอมาก

3 KK11-443 1.9 ab ตา้ นทานปานกลาง

4 KK11-1009 2.7 b คอ่ นข้างออ่ นแอ

5 KK11-1031 4.5 c อ่อนแอมาก

6 KK11-621 1.5 a ตา้ นทานปานกลาง

7 KK11-650 1.5 a ตา้ นทานปานกลาง

8 KK08-319 4.7 c อ่อนแอมาก

9 KK08-059 7.2 d ออ่ นแอมาก

10 KK08-471 2.5 b ค่อนข้างอ่อนแอ

11 KK08-418 1.9 ab ตา้ นทานปานกลาง

12 LK92-11 2.6 b คอ่ นขา้ งออ่ นแอ

13 K84-200 1.1 a ต้านทานปานกลาง

14 KK 3 1.9 ab ตา้ นทานปานกลาง

15 UT 3 12.3 e ออ่ นแอมาก

CV (%) 15.97

250

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
จากผลการทดสอบปฏิกิรยิ าของโคลนออ้ ยต่อโรคเหี่ยวเนา่ แดง พบอ้อยแสดงปฏกิ ิริยาต้านทานปาน
กลาง จำนวน 6 โคลนพนั ธุ์ แสดงปฏกิ ริ ิยาค่อนขา้ งอ่อนแอถึงออ่ นแอมาก จำนวน 9 โคลนพนั ธุ์ ซง่ึ เปน็ ขอ้ มูล
ทีจ่ ะต้องนำไปประกอบการพิจารณาคัดเลือกพนั ธ์ุดตี ่อไป

เอกสารอา้ งองิ

สถาบนั วิจัยพชื ไร่. 2554. เอกสารวชิ าการ เทคโนโลยกี ารผลิตออ้ ย กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 33
หน้า.

สถาบนั วิจัยพชื ไร.่ 2544. เอกสารวชิ าการ การป้องกนั กำจัดศัตรอู ้อย กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
104 หน้า.

อัปสร เปล่ยี นสนิ ไชย นพิ นธ์ เอย่ี มสภุ าษติ อุดม เลยี บวัน วนั ทนา ตั้งเปรมศรี และวนั ทนยี ์ อู่วาณิชย์. 2535. การทดสอบ
ปฏิกิริยาของสายพันธ์ุออ้ ยต่อโรคเห่ียวเน่าแดง. รายงานผลงานวิจยั ประจำปี 2535. ศูนยว์ ิจัยพชื ไรส่ พุ รรณบุรี
สถาบนั วจิ ัยพชื ไร่ กรมวิชาการเกษตร. หนา้ 9-21.

ภาคผนวก

ภาพกิจกรรม
แยกเชือ้ สาเหตโุ รคและเกบ็ รักษา

การปลูกและการเตรียมแปลงพันธุ์ โดยการชำข้ออ้อยแต่ละโคลนทดสอบลงถุงดำ อนุบาลจนอ้อยอายุ 2
เดอื น ย้ายลงแปลงปลูกดูแลรกั ษาแปลง เมือ่ ออ้ ยอายุ 8 เดือน เพือ่ ตดั นำไปทดสอบ

251

การปลูกเชือ้ สาเหตุ

252
การประเมินความรุนแรงของโรคโดยการผ่าลำตน้ และวัดการลุกลามของเช้ือภายในลำต้น หลงั จากปลูกเชื้อ
สาเหตุเปน็ เวลา 2 เดือน

ออ้ ยทแ่ี สดงปฏิกิริยา ต้านทานปานกลาง (MR)
(KK08-418)

อ้อยทแ่ี สดงปฏกิ ริ ยิ า ต้านทานปานกลาง (MR)
(KK11-650)

ออ้ ยที่แสดงปฏกิ ิรยิ า ต้านทานปานกลาง (MR)
(KK3)

อ้อยที่แสดงปฏิกริ ิยา อ่อนแอมาก (HR)
(KK08-319)

ออ้ ยท่แี สดงปฏิกิรยิ า อ่อนแอมาก (HR)
(KK08-059)

ออ้ ยทีแ่ สดงปฏิกริ ิยา ออ่ นแอมาก (HR)
(UT 3)

253

การทดสอบปฏกิ ริ ิยาของพันธ์ุอ้อยต่อโรคใบขาว
Effect of sugarcane varieties to sugarcane white leaf disease

ทนุธรรม บุญฉมิ 1* ปยิ ะรตั น์ จงั พล1 รวีวรรณ เชอื้ กิตตศิ กั ดิ์1 ศุจิรัตน์ สงวนรงั ศริ ิกลุ 1
ปองคุณ ไทยบำรุง1 และยิ่งยศ พาลุกา1

รายงานความกา้ วหนา้
อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสำคญั ของประเทศไทย โดยอุตสาหกรรมออ้ ยสามารถสรา้ งรายได้มหาศาล
ให้แกป่ ระเทศ แตป่ ัญหาหนง่ึ ท่ีสำคัญทที่ ำใหก้ ารผลิตออ้ ยลดลงคือโรคใบขาวออ้ ย ซ่งึ โรคน้ียังไม่มีวิธีป้องกัน
กำจัดทม่ี ีประสิทธภิ าพ และยังไม่มพี นั ธุต์ ้านทานหรือทนทาน ดงั นั้นการคดั เลือกพันธุท์ มี่ ีแนวโน้มทนทานต่อ
โรคใบขาวอ้อยจึงเป็นแนวทางหนึ่งเพื่อลดการเกิดโรคใบขาว การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ปฏิกิริยาของสายพนั ธุ์อ้อยต่อโรคใบขาวอ้อย โดยใช้เพลี้ยจักจั่นตัวเต็มวัยท่ีได้รับเชื้อไฟโตพลาสมาจากตน้
อ้อยใบขาวเป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นบ่มเชื้อบนต้นอ้อยเปน็ เวลา 14 วัน และให้แมลงถา่ ยทอดเชื้อไฟโต
พลาสมาสู่อ้อยสายพันธุ์ต่างๆ โดยในปีงบประมาน 2562 วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 7 ซ้ำ 6
กรรมวิธี คือสายพันธุ์ KK07-037, KK07-250, KK07-599, อู่ทอง 15, อู่ทอง 17 และขอนแก่น 3 โดย
ตรวจสอบเช้อื ดว้ ยวธิ ี Nested PCR และในปีงบประมาณ 2563 วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 3 ซำ้
5 กรรมวิธี คือสายพันธ์ุ KK07-037, KK07-250, KK07-599, อู่ทอง 17 และขอนแกน่ 3 โดยตรวจสอบเชอ้ื
ดว้ ยวิธี Realtime PCR พบวา่ ทั้งสองปงี บประมาณ อ้อยแตล่ ะสายพนั ธไุ์ ม่แสดงอาการใบขาวและมีปริมาณ
เชือ้ ลดลงหลงั จากได้รบั การถา่ ยทอดเช้อื จากแมลง อาจกล่าวไดว้ ่าอ้อยแต่ละสายพนั ธ์มุ ีความทนทานต่อเชื้อ
โรคใบขาวอ้อยในระดบั หน่ึงเมื่ออย่ใู นสภาพทเ่ี หมาะสมตอ่ การเจริญเติบโต ไรค้ วามเครยี ด จึงสามารถทำการ
กำจดั เชือ้ โรคได้ด้วยตัวเอง ขณะนี้รอเกบ็ เกย่ี วอ้อยตอนอายุ 10 เดอื น เพอ่ื บนั ทกึ การแสดงอาการโรคใบขาว
ในอ้อยตอต่อไป
คำสำคญั : อ้อย โรคใบขาว เชอ้ื ไฟโตพลาสมา แมลงพาหะ เพล้ยี จกั จ่ัน

คำนำ
อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ในปี 2562/2563 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกอ้อย
11.95 ลา้ นไร่ ให้ผลผลิตรวม 74.70 ลา้ นตนั ผลผลติ เฉล่ยี 7.03 ตันตอ่ ไร่ ออ้ ยสามารถนำไปผลิตเป็นนำ้ ตาล
ทรายจำหน่ายทั้งในประเทศและส่งออกได้ปีละประมาณ 180,000 ล้านบาท อีกทั้งยังใช้เป็นวัตุดิบใน
อุตสาหกรรมตอ่ เนอ่ื งอืน่ ท่ีสำคัญไดแ้ ก่ โมลาส เอทานอล ไฟฟา้ ชวี มวล เย่ือกระดาษ และวัสดุทนแทนไม้ ทำ
ให้เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจของประเทศอีกหลายแสนล้านบาท (สำนักงานคณะกรรมการอ้อย
และนำ้ ตาลทราย, 2563)

1 ศูนยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแกน่ สถาบนั วจิ ยั พืชไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน่

* Corresponding Author E-mail: [email protected]

254

โรคใบขาวอ้อยมีสาเหตุมาจากเชื้อไฟโตพลาสมา (phytoplasma) เป็นจุลินทรีย์เซลล์เดียวคล้าย
แบคทเี รยี แตไ่ มม่ ีผนังเซลล์ (cell wall) ทำให้มีรูปร่างไมแ่ นน่ อน สามารถทำใหผ้ ลผลติ อ้อยลดลง สรา้ งความ
เสียหายอย่างมากโดยเฉพาะอ้อยตอ อาจทำให้ผลผลิตเสียหายถึง 100 เปอร์เซ็นต์ พบครั้งแรกในประเทศ
ไทยในปี 2495 ที่ อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง ในอ้อยพันธุ์ Co 421 และพบครั้งแรกในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดอุดรธานี เมื่อปี 2532 (พรทิพย์, 2542) โรคใบขาวอ้อยสามารถพบได้ตั้งแต่
อ้อยเริ่มงอกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว อ้อยที่งอกจะแสดงอาการใบขาว มีใบเรียวเล็ก และมีหน่อมากกว่าปกติ
หากมีอาการรุนแรงต้นจะแห้งตาย เนื่องจากคลอโรฟิลล์ถูกทำลาย หากเจริญเติบโตต่อไปได้ลำจะเล็ก ข้อ
ปล้องสั้นกว่าต้นปกติ ตาข้างงอกออกมาแสดงอาการใบขาว ในอ้อยบางต้นไม่แสดงอาการใบขาวแต่มีเช้ือ
สาเหตุโรคแอบแฝงอยู่ เมื่อใช้เปน็ ทอ่ นพันธุไ์ ปปลูกกส็ ามารถแสดงอาการของโรคได้

เช้ือไฟโตพลาสมาสาเหตโุ รคสามารถถ่ายทอดได้ 2 วธิ ี คือ วธิ ที ห่ี นง่ึ การถา่ ยทอดผา่ นทางทอ่ นพันธุ์
อ้อย เมื่อนำท่อนพันธุ์ทีม่ ีเชื้อโรคจากแหล่งหนึง่ ไปปลูก ทำให้เกิดการระบาดของโรคเพิม่ ขึน้ วิธีที่สอง การ
ถ่ายทอดโดยแมลงพาหะคือ เพลี้ยจักจั่นปีกลายจุดสีน้ำตาล ( Matsumuratettix hiroglyphicus
(Matsumura)) (Matsumoto et al., 1969; Chen, 1979) และเพลี้ยจักจั่นหลังขาว (Yamatotettix
flavovittatus Matsumura) (Hanboonsong et al., 2006) โดยแมลงพาหะทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยใช้
ส่วนปากท่ีมลี กั ษณะเปน็ ท่อ (Stylet) เจาะและดูดกินน้ำเลย้ี งจากทอ่ อาหาร (phloem) ของต้นอ้อยที่มีเช้ือ
โรค เมื่อแมลงรับเชื้อเข้าไปเชือ้ สามารถอาศัยและเพิ่มปริมาณภายในลำตัว และสามารถถ่ายทอดไปยังตน้
อ้อยอื่น ๆ ได้โดยการดูดกินของแมลง นอกจากนั้นเชื้อโรคสามารถถ่ายทอดจากแมลงรุ่นสู่รุ่น โดยผ่านทางไข่
เรียกว่า transovarial transmission (Hanboonsong et al., 2002) ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีใดที่มี
ประสิทธิภาพในการปอ้ งกนั กำจัดโรคใบขาว ดังนน้ั การคดั เลือกพันธ์ุที่มแี นวโน้มทนทานต่อแมลงพาหะและ
โรคใบขาว จงึ เป็นหนึ่งแนวทางในการลดการระบาดของโรค อีกทง้ั ยงั เปน็ ขอ้ มลู ท่ีสำคญั ในการปรับปรุงพันธ์ุ
อ้อย

วิธดี ำเนินการ
ปงี บประมาน 2562
1. การเก็บตวั อย่างและการเลีย้ งเพิ่มปรมิ าณแมลง

เลี้ยงเพิ่มจำนวนแมลงพาหะ โดยจับเพลี้ยจักจั่น Matsumuratettix hiroglyphicus จากพื้นที่
ระบาดโดยใช้กับดักแสงไฟ (Black light blue trap) และปล่อยลงในหลอดพลาสติก ที่ครอบต้นอ้อยพันธุ์
ขอนแก่น 3 เลี้ยงเพิ่มปริมาณแมลงในโรงเลี้ยงแมลงที่มีหลังคาโปร่งแสง อุณหภูมิ ความชื้นตามสภาพ
ธรรมชาติ นำแมลงตัวเต็มวัยทเี่ พาะเล้ียงไดใ้ นรุน่ ลกู (F1) มาทำการศึกษาต่อไป
2. ทดสอบปฏกิ ิรยิ าของพนั ธอ์ุ อ้ ยต่อโรคใบขาว

วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 7 ซ้ำ 6 กรรมวิธี คือ สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ KK07-037,
KK07-250, KK07-599, อู่ทอง 15, อทู่ อง 17 และขอนแก่น 3 ใช้ออ้ ยพันธุ์สะอาดปลูกอ้อยลงกระถาง เม่ือ
อ้อยอายุ 1 เดือน ตรวจวัดปริมาณเชื้อโรคใบขาวด้วยวิธี Nested PCR เพื่อให้มั่นใจว่าต้นอ้อยสะอาด นำ

255

เพลี้ยจักจั่น M. hiroglyphicus ตัวเต็มวัยที่ได้จากการเลี้ยงเพิ่มปริมาณมาเลี้ยงด้วยต้นอ้อยที่แสดงอาการ
โรคใบขาวครอบด้วยหลอดพลาสตกิ เป็นเวลา 2 วัน ก่อนที่จะเลีย้ งด้วยอ้อยปกตเิ ปน็ เวลา 15 วัน เพ่อื บม่ เชื้อ
สุ่มตรวจวัดปริมาณเชื้อโรคใบขาวในเพลี้ยจักจั่นเพื่อให้แน่ใจว่าเพลี้ยจักจั่นมีเชื้อภายในตัวพร้อมที่จะ
ถ่ายทอดเชื้อ นำเพลี้ยจักจั่นที่ผ่านการบ่มเชื้อมาปล่อยลงกระถางอ้อยชำข้อที่ครอบด้วยหลอดพลาสติกที่
เตรยี มไวข้ ้างต้น จำนวน 5 ตัว/กระถาง จำนวน 5 กระถาง/ซำ้ เป็นเวลา 3 วัน ตามกรรมวิธีของ จริยา และ
ยุพา (2018); วิสุดา และยุพา (2018) จากนั้นนำแมลงออกแล้วนำอ้อยออกจากกระถางไปปลูกในแปลง
บันทึกการแสดงอาการโรคใบขาวทกุ 2 สปั ดาห์ สุ่มตวั อยา่ งอ้อยมาตรวจวดั ปริมาณเชื้อโรคใบขาวเมื่ออ้อยมี
อายุ 2 เดือนหลังปลูกลงแปลง ดูแลรักษา ใส่ปุ๋ย ให้น้ำตามความเหมาะสม และเมื่อออ้ ยอายุ 10 เดือน ตัด
ออ้ ย บนั ทกึ การแสดงอาการโรคใบขาวในอ้อยตอ
ปงี บประมาน 2563
1. การเก็บตัวอย่างและการเล้ียงเพิ่มปรมิ าณแมลง

เลี้ยงเพิ่มจำนวนแมลงพาหะ M. hiroglyphicus โดยปฏบิ ัตติ ามวธิ ิในปงี บประมาณ 2562
2. ทดสอบปฏิกริ ิยาของพนั ธ์อุ ้อยตอ่ โรคใบขาว

วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 3 ซ้ำ 5 กรรมวิธี คือ สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ KK07-037,
KK07-250, KK07-599, อทู่ อง 17 และขอนแกน่ 3 ใช้อ้อยพันธุ์สะอาดปลูกอ้อยลงกระถาง เมอื่ ออ้ ยอายุ 1
เดือน ตรวจวัดปริมาณเชื้อโรคใบขาวด้วยวิธี Realtime PCR เพื่อให้มั่นใจว่าต้นอ้อยสะอาด หลังจากน้ัน
ปฏบิ ตั ิตามวิธีในปงี บประมาณ 2562

ผลและวจิ ารณผ์ ลการทดลอง
ปีงบประมาณ 2562

การตรวจปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาก่อนการรับเชื้อจากแมลงพาหะ ด้วยวิธี Nested PCR พบว่า
อ้อยทช่ี ำขอ้ ไวท้ ดสอบท้งั 6 สายพนั ธ์ุ ได้แก่ KK07-037, KK07-250, KK07-599, อูท่ อง 15, อทู่ อง 17 และ
ขอนแก่น 3 จำนวนพันธุ์ละ 10 ตัวอย่าง อย่ใู นระดับสเี หลือง คือมีปริมาณเชอ้ื ต่ำกว่า 10 copy/ul ในดีเอ็น
เอพืช 25 นาโนกรัม (ตารางที่ 1) จากนั้นนำเพลี้ยจักจั่น M. hiroglyphicus ตัวเต็มวัยที่ได้จากการเลี้ยง
ขยายมาเล้ียงด้วยต้นออ้ ยทแ่ี สดงอาการโรคใบขาวเปน็ เวลา 2 วัน และยา้ ยมาเลีย้ งดว้ ยออ้ ยปกตเิ ป็นเวลา 15
วัน เพื่อบ่มเชื้อในตัวเพลี้ยจักจั่น จากนั้นสุ่มตรวจวัดปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาในเพลี้ยจักจั่นจำนวน 42
ตัวอย่าง ใชเ้ พลี้ยจกั จัน่ ตัวอย่างละ 5 ตัว พบวา่ ทัง้ 42 ตวั อยา่ งมเี ชอื้ ไฟโตพลาสมา นำเพลีย้ จักจั่นท่ีผ่านการ
บม่ เชอ้ื มาเลย้ี งด้วยตน้ ออ้ ยที่เตรียมไว้ทดสอบปฏกิ ริ ิยาเปน็ เวลา 3 วัน นำตน้ ออ้ ยท่ีถกู เพลยี้ จักจ่ันดูดกินแล้ว
ออกจากกระถางไปปลูกในแปลง บันทึกการแสดงอาการของโรคใบขาวอ้อยที่ใช้ทดสอบปฏิกิริยา ทุก ๆ 2
สัปดาห์ เป็นเวลา 6 เดือน ซึ่งไม่พบอ้อยแสดงอาการใบขาว เมื่ออ้อยอายุ 2 เดือน เก็บตัวอย่างใบอ้อยมา
ตรวจหาเชื้อสาเหตุโรคใบขาว จำนวนพันธ์ุละ 7 ตัวอย่าง พบว่าอ้อยส่วนใหญ่มปี ริมาณเชื้อลดลง สามารถ
แสดงเปน็ ระดบั สีและปรมิ าณเช้ือดงั ตารางที่ 2 เม่อื ออ้ ยอายุ 10 เดือน เก็บเก่ียวอ้อย สังเกตการแสดงอาการ
ของโรคในอ้อยตอ ซึ่งไมพ่ บการแสดงอาการของโรคใบขาวออ้ ยจากออ้ ยตออายุ 1 เดือน

256

ตารางท่ี 1 ระดบั สีและปรมิ าณเชอ้ื ไฟโตพลาสมาทตี่ รวจพบในอ้อยสายพันธ์ุต่าง ๆ กอ่ นรบั เช้ือจากเพลี้ยจักจ่ัน
M. hiroglyphicus ปงี บประมาณ 2562

พันธ์ุ/โคลน ปริมาณเชอื้ ไฟโตพลาสมา (copy/ul ในดีเอ็นเอพืช 25 นาโนกรัม) และระดับสีในตวั ยา่ งอ้อย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
KK07-037 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10
KK07-250 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10
KK07-599 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10
อู่ทอง 15 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10
อทู่ อง 17 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10
ขอนแก่น 3 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10 <10
หมายเหตุ ระดบั สีฟา้ มปี รมิ าณเชื้อ <0.5 copy/ul ในดเี อ็นเอพชื 25 นาโนกรัม
ระดับสีเขยี ว มีปริมาณเช้อื >0.5 copy/ul ในดีเอน็ เอพืช 25 นาโนกรัม
ระดบั สีเหลือง มีปรมิ าณเชื้อ 1 ถึง <10 copy/ul ในดีเอน็ เอพืช 25 นาโนกรมั
ระดบั สีสม้ มีปรมิ าณเชอ้ื 10 ถึง 100 copy/ul ในดเี อน็ เอพชื 25 นาโนกรัม
ระดบั สีแดง มปี รมิ าณเชอ้ื 1,000 ถงึ 100,000 copy/ul ในดเี อน็ เอพืช 25 นาโนกรมั

ตารางที่ 2 ระดับสแี ละปริมาณเช้ือไฟโตพลาสมาที่ตรวจพบในอ้อยสายพนั ธุ์ตา่ ง ๆ หลังจากรับเชอ้ื จากเพล้ีย
จักจ่นั M. hiroglyphicus ปีงบประมาณ 2562

พนั ธ์/ุ โคลน ปรมิ าณเชอ้ื ไฟโตพลาสมา (copy/ul ในดีเอน็ เอพืช 25 นาโนกรมั ) และระดับสีในตัวยา่ งใบ
ออ้ ย
KK07-037
KK07-250 1234567
KK07-599 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5
อู่ทอง 15 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5
อูท่ อง 17
ขอนแก่น 3 1 >0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5
หมายเหตุ <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5
<10 <10 >0.5 >0.5 >0.5 >0.5 >0.5
>0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5 <0.5
ระดับสีฟา้ มปี รมิ าณเช้อื <0.5 copy/ul ในดีเอ็นเอพชื 25 นาโนกรมั
ระดบั สีเขยี ว มีปริมาณเช้ือ >0.5 copy/ul ในดีเอน็ เอพชื 25 นาโนกรมั
ระดบั สีเหลอื ง มปี รมิ าณเชอื้ 1 ถงึ <10 copy/ul ในดีเอน็ เอพชื 25 นาโนกรัม
ระดบั สสี ม้ มีปริมาณเชอื้ 10 ถึง 100 copy/ul ในดเี อน็ เอพืช 25 นาโนกรมั
ระดบั สีแดง มีปริมาณเชอื้ 1,000 ถึง 100,000 copy/ul ในดีเอน็ เอพืช 25 นาโนกรมั

257

ปงี บประมาณ 2563
การตรวจปริมาณเชือ้ ไฟโตพลาสมาก่อนการรับเช้ือจากแมลงพาหะ ด้วยวิธี Realtime PCR พบว่า

อ้อยที่ชำข้อไว้ทดสอบทั้ง 5 พันธุ์ ๆ ละ 6 ตัวอย่าง ได้แก่ KK07-037 KK07-250 KK07-599 อู่ทอง 17
และขอนแก่น 3 มีปริมาณเชื้อเฉลี่ยอยู่ที่ 4,753.83 2,975.00 4,336.67 5,013.33 และ 2,404.50
copy/ul ในดีเอ็นเอพชื 25 นาโนกรัม (ตารางที่ 3) จากนนั้ นำเพล้ยี จักจน่ั M. hiroglyphicus ตวั เตม็ วัยที่ได้
จากการเลี้ยงขยายมาเลี้ยงด้วยต้นอ้อยที่แสดงอาการโรคใบขาวเป็นเวลา 2 วัน และย้ายมาเลี้ยงด้วยอ้อย
ปกติเป็นเวลา 15 วัน เพื่อบ่มเชื้อในตัวเพลี้ยจักจั่น จากนั้นสุ่มตรวจวัดปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาในเพล้ีย
จักจั่นจำนวน 5 ตัวอย่าง ใช้เพลี้ยจักจั่นตัวอย่างละ 5 ตัว พบว่าทั้ง 5 ตัวอย่างมีเชื้อไฟโตพลาสมาอยู่เฉลย่ี
105,340.00 copy/ul ในดีเอ็นเอพืช 25 นาโนกรัม (ตารางที่ 4) นำเพลี้ยจักจั่นที่ผ่านการบ่มเชื้อมาเลี้ยง
ด้วยต้นอ้อยที่เตรียมไว้ทดสอบปฏิกิริยาเป็นเวลา 3 วัน นำต้นอ้อยที่ถูกเพลี้ยจักจั่นดูดกินแล้วออกจาก
กระถางไปปลูกในแปลง จากนั้นบันทึกการแสดงอาการของโรคใบขาวอ้อยที่ใช้ทดสอบปฏิกิริยา ทุก ๆ 2
สัปดาห์ เป็นเวลา 6 เดือน ซึ่งไม่พบอ้อยแสดงอาการใบขาวในทุกสายพันธุ์ เมื่ออ้อยอายุ 2 เดือน เก็บ
ตัวอย่างใบอ้อยมาตรวจหาเชื้อสาเหตุโรคใบขาว (ตารางที่ 5) พบว่า ทุก ๆ พันธุ์มีปริมาณเชื้อลดลงต่ำกวา่
ก่อนได้รับเชื้อจากเพลี้ยจกั จน่ั (ภาพที่ 1) การที่ต้นอ้อยไม่แสดงอาการของโรคใบขาวอาจเป็นเพราะเช้อื ไฟโต
พลาสมามีปริมาณต่ำเกินไป เชื้อไม่เจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณจนมีความรุนแรงเพียงพอ ซึ่งอาจเกิดจาก
สภาพแวดล้อมทไี่ ม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเช้อื แมลงพาหะถา่ ยทอดเช้ือได้ต่ำ หรือตน้ อ้อยมีความ
สมบรู ณ์ แข็งแรง ไม่มคี วามเครยี ดเนอ่ื งจากการการให้ปุ๋ย และให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ อาจทำให้อ้อยสามารถ
กำจัดเชื้อโรคไดด้ ้วยตวั เอง (ศจุ ริ ัตน์ และคณะ, 2557) แตกต่างจากการทดลองของ จริยา และยุพา (2018)
และ วิสุดา และยุพา (2018) ได้ใช้เพลี้ยจักจ่ัน M. hiroglyphicus ที่ได้รับเชื้อจากการบ่มเชื้อในตวั 21-42
วัน สามารถถ่ายทอดเชื้อไฟโตพลาสมาสู่ต้นออ้ ยทีเ่ ลีย้ งไว้ในกระถางในสภาพโรงเรอื น โดยเชื้อสามารถเพมิ่
ปริมาณและแสดงอาการใบขาวได้ ซงึ่ อาจเกิดจากต้นอ้อยอยู่ในกระถางมีพื้นที่จำกดั รากอ้อยไม่สามารถหา
อาหารได้เต็มที่ทำใหอ้ ้อยเกิดความเครียด ในขณะนี้รอเก็บเกี่ยวอ้อยเพ่ือสังเกตการแสดงอาการของโรคใบ
ขาวในออ้ ยตอตอ่ ไป

ตารางที่ 3 ปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาที่ตรวจพบในอ้อยสายพันธุ์ต่างๆก่อนรับเชื้อจากเพลี้ยจักจั่น
M. hiroglyphicus ปีงบประมาณ 2563

พันธุ/์ โคลน ปรมิ าณเช้ือไฟโตพลาสมา (copy/ul ในดีเอน็ เอพชื 25 นาโนกรมั ) ในตวั ยา่ งอ้อย

KK07-037 123456 ค่าเฉลย่ี
KK07-250
KK07-599 4,970 8,540 183 3,240 6,210 5,380 4,754
อทู่ อง 17
ขอนแก่น 3 5,630 4,970 1,460 1,240 3,220 1,330 2,975

3,550 3,900 3,820 4,520 5,150 5,080 4,337

7,210 1,110 3,850 6,870 6,760 4,280 5,013

1,070 1,010 997 5,120 1,260 4,970 2,405

258

ตารางที่ 4 ปริมาณเชอ้ื ไฟโตพลาสมาทต่ี รวจพบในเพลย้ี จักจ่นั หลงั จากดดู กินตน้ อ้อยทีแ่ สดงอาการใบขาว

ตวั อย่างที่ 1 2 3 4 5 ค่าเฉล่ีย
ปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมา 104,000 95,000 144,000 97,100 86,600 105,340
(copy/ul ในดเี อ็นเอพืช 25 นาโนกรัม)

ตารางที่ 5 ปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาที่ตรวจพบในอ้อยสายพันธุ์ต่างๆหลังจากรับเชื้อจากเพลี้ยจักจั่น
M. hiroglyphicus ปงี บประมาณ 2563

พนั ธ/์ุ โคลน ปรมิ าณเช้ือไฟโตพลาสมา (copy/ul ในดเี อน็ เอพชื 25 นาโนกรมั ) ในตวั ย่างอ้อย
1 2 3 4 5 คา่ เฉลีย่
KK07-037 124 118 132 200 208 156
KK07-250 111 102 143 131 124 122
KK07-599 200 142 100 103 245 158
อทู่ อง 17 203 238 234 228 234 227
ขอนแก่น 3 341 320 308 300 189 292
ขอนแก่น 3 (ไม่ 101 111 120 301 300 187
ผา่ นการรบั เชือ้ )

ปริมาณเช้ือไฟโตพลาสมา 6,000.00 กอ่ นรบั เชอื้
(copy/ul ใน ีดเอ็นเอ ืพช 25 นาโนกรัม) 5,000.00 หลังรับเชื้อ
4,000.00
3,000.00
2,000.00
1,000.00

0.00

KK07-037 KK07-250 KK07-599 อู่ทอง 17 ขอนแก่น 3 ขอนแกน่ 3
(Control)

พันธ/์ุ สายพันธุ์

ภาพท่ี 1 เปรียบเทียบปรมิ าณเชื้อไฟโตพลาสมากอ่ นและหลงั รับเชือ้ จากเพลี้ยจักจ่ัน M. hiroglyphicus

259

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
จากผลการทดสอบปฏกิ ิริยาของพนั ธุ์อ้อยตอ่ โรคใบขาว ในปงี บประมาณ 2562 และ 2563 มีความ
เป็นไปได้ว่าอ้อยแต่ละสายพันธุ์มีความทนทานต่อเชื้อใบขาวในระดับหน่ึง เนื่องจากพันธุ์หรือสายพันธุ์อ้อย
ตา่ งๆทใ่ี ชท้ ดสอบยังไมแ่ สดงอาการใบขาวหลังจากได้รับเชอื้ เพิ่มจากแมลงพาหะ ตรงกันขา้ มปริมาณเช้ือไฟ
โตพลาสมาทีต่ รวจพบในออ้ ยมีจำนวนลดลง เปน็ ไปไดว้ า่ หลังจากปลกู อ้อยลงแปลง อ้อยไดร้ ับนำ้ และอาหาร
อย่างเพียงพอ ทำให้มคี วามสมบูรณ์ มคี วามแข็งแรงไม่เกิดความเครียด โดยความเครียดท่ีเป็นสาเหตขุ องการ
ชักนำให้เกิดโรคใบขาว ทำให้อ้อยสามารถยับยั้งเชื้อไฟโตพลาสมาที่มีอยู่ได้ด้วยตัวเอง หรือกล่าวได้ว่า
สภาพแวดล้อมไมเ่ หมาะสมต่อการเกิดโรค แต่อย่างไรก็ตามการทดสอบปฏกิ ริ ยิ าของพนั ธุ์ออ้ ยต่อโรคใบขาว
ควรเพิ่มปริมาณแมลงเพื่อเพิ่มปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาให้อ้อยได้รับมากขึ้น และชักนำต้นอ้อยให้เกิด
ความเครียดโดยการทำใหอ้ อ้ ยขาดน้ำเพอ่ื กระตุ้นให้ต้นออ้ ยแสดงอาการใบขาวในการทดสอบในปีถัดไป

เอกสารอา้ งองิ

จริยา รอดดี และยุพา หาญบุญทรง. 2561. ระยะเวลาการบ่มและเพิ่มปริมาณเชื้อที่เหมาะสมต่อการถ่ายทอดเชื้อไฟโต
พลาสมาสาเหตุของโรคใบขาวออ้ ยของเพลีย้ จักจน่ั พาหะ. แก่นเกษตร. 46(6): 1067-1074.

พรทิพย์ วงศ์แก้ว. 2542. โครงการจัดการโรคใบขาวของอ้อย. คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่นพิม
พฒั นา จำกัด. 228 หนา้ .

วิสุดา วรชัย และยุพา หาญบุญทรง. 2561. การคัดเลือกพันธุ์อ้อยทนทานต่อแมลงพาหะ Matsumuratettix
hiroglyphicus (Matsumura) สาเหตุโรคใบขาวอ้อยในสภาพโรงเรือน. แก่นเกษตร. 46 (ฉบับพิเศษ 1): 170-
175.

สำนกั งานคณะกรรมการออ้ ยและน้ำตาลทราย. 2563. รายงานสถานการณก์ ารปลกู ออ้ ยปีการผลติ 2562/2563. สำนักงาน
คณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย. หนา้ 5.

ศจุ ริ ัตน์ สงวนรังศริ กิ ุล ทกั ษิณา ศันสยะวชิ ัย และ สนุ ี ศรีสิงห์. 2557. การศกึ ษาการเปลยี่ นแปลงของสารชวี เคมบี างชนิดใน
ออ้ ยที่เป็นโรคใบขาว. ใน :รายงานไตรมาส 2 ประจำปี 2557. สถาบนั วิจัยพืชไร่ กรมวชิ าการเกษตร

Chen, C.T. 1979. Vector-pathogen relationships of sugarcane white leaf disease. Plant Protection Bulletin,
Taiwan 21(1): 105-110.

Hanboonsong, Y., C. Choosai, S. Panyim, and S. Damak. 2002. Transovarial transmission of sugarcane white
leaf phytoplasma in the insect vector Matsumuratettix hiroglyphicus (Matsumura). Insect
Molecular Biology 11: 97-103.

Hanboonsong, Y., W. Ritthison, C. Choosai, and P. Sirithorn. 2 0 0 6 . Transmission of sugarcane white leaf
phytoplasma by Yamatotettix flavovittatus, a new leafhopper vector. Entomolgy. 99: 1531-1537.

Matsumoto, T., C.S. Lee, and W.S. Teng. 1 9 6 9 . Studies on sugarcane white leaf disease of Taiwan, with
special reference to the transmission by a leafhopper, Epitettix hiroglyphicus Mats. Ann.
Phytopath. Soc. Japan 35: 251-259.

260

การปรบั ปรงุ พันธ์ไุ มใ่ ห้อ้อยออกดอกดว้ ยการกลายพันธ์ุ

กมลวรรณ เรยี บร้อย1* รวีวรรณ เชื้อกิตติศักดิ์1 มัทนา วานชิ ย์1 ปยิ ะรตั น์ จงั พล1
และ แสงเดอื น ชนะชยั 1

รายงานความก้าวหนา้
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงพันธุ์อ้อยกลายพันธุ์ไม่ให้ออกดอกหรือออกดอกช้ากว่า
พันธุ์เดิมและมีลักษณะการเกษตร ผลผลิตอ้อยและน้ำตาลสูง ด้วยวิธีการฉายรังสีแกมมาในอ้อยเนื้อเย่ือ
ดำเนินการที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น โดยนำอ้อยที่ให้ผลผลิตสูงแต่พบการออกดอก จำนวน 2 โคลน/พันธ์ุ
ได้แก่ KK07-037 และอู่ทอง 5 ซึ่งออกดอกช่วงกลางเดือนพฤศจิกายน และพันธุ์ที่ออกดอกบางปี หรือไม่
ออกดอกเป็นพนั ธต์ุ รวจสอบ ได้แก่ พันธข์ุ อนแก่น 3 นำช้ินสว่ นเจรญิ ปลายยอดทไี่ ดจ้ ากการเพาะข้อตานำไป
เพาะเล้ียงเนอ้ื เยอ่ื จากนน้ั นำเนื้อเย่อื ออ้ ยทส่ี มบรู ณ์ไปฉายรงั สีแบบเฉียบพลัน โดยใช้รังสีขนาด 0 20 40 60
80 และ 100 Gy (เกรย์) ที่ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บันทึกอัตราการรอด
ชีวิตเพื่อหาค่า LD50 หรือปริมาณรังสีที่ทำให้พชื ตายคิดเป็น 50 เปอร์เซ็นต์ของชุดที่ไม่ฉายรังสี (control)
พบว่า พันธุ์ขอนแกน่ 3 และโคลนพันธุ์ KK07-037 มคี ่า LD50 ของปรมิ าณรังสีที่ได้ คือ 43 Gy ที่ทำให้อ้อย
รอดชีวิตคิดเป็น 50 เปอร์เซ็นต์ของชุดที่ไม่ฉายรังสี ดังนั้น จึงนำ LD50 ที่ได้จากทั้ง 2 พันธุ์มาใช้ในอ้อย 1
พันธ์ุท่เี หลือคอื อทู่ อง 5 เชน่ กัน
จากนั้นเตรียมเน้ือเยือ่ ออ้ ยท่สี มบูรณ์จำนวน 100 ตวั อยา่ ง ตอ่ หนงึ่ โคลน/พนั ธุ์ย้ายลงอาหารแข็งเพื่อ
นำไปฉายรังสีแบบเฉียบพลัน โดยใช้รังสีขนาด 40 Gy ที่ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์เทคโนโ ลยี
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จากนน้ั ย้ายลงอาหารเหลว MS2 ไดอ้ ้อยฉายรังสีรุน่ M1V1 เมื่ออ้อยแตกหน่อ ทำ
การ subculture อกี 2 ครั้งใหไ้ ด้รุ่น M1V3 เพ่อื ลดการเกิดไคเมอรา แล้วจงึ ย้ายลงอาหารสูตร MS3 เพ่ือชัก
นำให้เกิดรากต่อไป เมื่ออ้อยเกิดรากสมบูรณ์ย้ายอ้อยที่ผ่านการฉายรังสี และอ้อยตรวจสอบที่ไม่ได้รับการ
ฉายรังสีลงอนุบาลในถาดหลุม โดยสามารถสร้างอ้อยกลายพันธุ์จากพนั ธุ์ขอนแก่น 3 อู่ทอง 5 และ KK07-
037 จำนวน 522 40 และ 232 โคลน ตามลำดับ เมอื่ อ้อยเจริญเติบโตครบ 1 เดือนย้ายกลา้ อ้อยที่ผ่านการ
ฉายรังสีลงในแปลงปลูก เปรียบเทียบกับอ้อยที่ไม่ผ่านการฉายรังสี ใช้ระยะปลูก 1.5x0.5 เมตร ใส่ปุ๋ยเกรด
15-15-15 พร้อมปลูก อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ จากนั้นตรวจนบั จำนวนหลุมงอก พบหลุมงอกทั้งหมด 100
เปอรเ์ ซ็นตใ์ นทกุ พนั ธ์ุ
จากนั้นจะคัดเลือกโคลนอ้อยกลายพันธุ์ในทั้ง 3 โคลน/พันธุ์ โดยคัดเลือกกอที่ไม่ออกดอก มี
ค่าบริกซ์สูง และลักษณะทางการเกษตรทีด่ ี เพอื่ นำเข้าไปในข้นั ตอนการคัดเลือก 2 เพ่อื ประเมินผลผลิตและ
การแสดงออกของสายพนั ธุ์ต่อไป
คำสำคัญ: ออ้ ยกล้ายพันธ์ุ การออกดอก การปรับปรงุ พันธ์อุ ้อย

1ศนู ย์วิจยั พชื ไร่ขอนแก่น สถาบันวจิ ัยพชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

261

คำนำ
อ้อย เปน็ พชื อุตสาหกรรมท่ีสำคญั ทไี่ ด้รับการสนับสนนุ ให้เปน็ 1 ใน 4 ของพืชขับเคล่ือนสินค้าเกษตร
อาหาร และพืชทดแทนพลงั งาน โดยสำนกั งานอ้อยและน้ำตาลทรายไดก้ ำหนดแผนยุทศาสตร์อ้อยและน้ำตาล
ภายในปี พ.ศ. 2569 ใหเ้ พิ่มพ้นื ทีป่ ลูกอ้อยจาก 10.53 เปน็ 16 ลา้ นไร่ เพม่ิ ปริมาณออ้ ยและน้ำตาลจากเดิม
105.96 ตันและ 11.14 ลา้ นตันเป็น 180 ลา้ นตันและ 20.36 ลา้ นตัน ตามลำดบั เพ่มิ ผลผลติ เอทานอลเป็น
5.38 ล้านลิตรต่อวันและพลังงานไฟฟ้า 4000 MW แต่อย่างไรตาม พันธุ์อ้อยไทยในปัจจุบันมีค่าเฉลี่ย
ผลผลิตต่ำเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกอ้อยสำคัญอื่นๆ ของโลก ทั้งนี้เกิดจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น
ความแห้งแล้ง ดินเค็ม และความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ เป็นต้น การปรับปรุงพันธ์ุอ้อยเพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ท่ี
ให้ผลผลิตสูงขึ้น และปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยแหล่งพันธุกรรมที่มี
ความหลากหลายเพื่อเพิ่มโอกาสในการคดั เลือกลักษณะที่ดีของพ่อและแม่พนั ธุ์ ซึ่งปัจจุบันฐานพนั ธกุ รรม
ของพันธุ์อ้อยในประเทศไทยแคบมาก พันธุ์ที่ได้ส่วนใหญ่เกิดจากพ่อแม่พันธุ์อ้อยไม่เกิน 20 พันธุ์เท่าน้ัน
(ประเสริฐ และคณะ, 2543)
การผสมข้ามระหว่างอ้อยปลูก (Saccharum officinarum) และอ้อยป่า หรือพง (Saccharum
spontaneum) จึงเปน็ อกี หน่งึ ทางเลอื กของการเพมิ่ ความหลากหลายทางพันธุกรรมของออ้ ย โดยพงเปน็ พืช
ในสกลุ เดียวกบั อ้อยทส่ี ามารถผสมกับออ้ ยได้ และมีลักษณะเดน่ คือ ไว้ตอได้นาน ทนแล้ง ทนนำ้ ทว่ มขงั และ
มเี ปอร์เซ็นตเ์ ย่อื ใยสูง วรี ะพล และทักษณิ า (2555) รายงานการรวบรวมเชอื้ พนั ธกุ รรมพงทว่ั ทุกภูมิภาคของ
ประเทศไทยรวม 500 ตัวอย่าง และคัดเลือกมาผสมข้ามระหว่างอ้อยกับพง แล้วผสมกลับไปยังออ้ ย พบว่า
ลูกผสมกลับที่ได้ให้น้ำหนักต่อกอ ค่าบริกซ์ จำนวนลำต่อกอ และขนาดลำสูงกว่าพันธุ์พ่อแม่ โดยพบโคลน
พันธุ์ดีเด่น TPJ04-768 (BC1) และ KK10-371 (BC2) ให้ผลผลิตอ้อย ผลผลิตน้ำตาล และเปอร์เซ็นต์เยือ่ ใย
สูง ซึง่ เหมาะสมกบั การผลิตนำ้ ตาลและออ้ ยพลังงานได้ อย่างไรก็ตาม โคลนพนั ธุ์ลกู ผสมดังกล่าวพบการออก
ดอกค่อนข้างมาก รวมถึงอ้อยโคลนพันธุ์ดีเด่น KK07-037 ที่ให้ผลผลิตสูงแต่ออกดอกและพันธุ์อู่ทอง 5 ท่ี
ให้ผลผลิตอ้อยและน้ำตาลสูงมาก และเกษตรกรยังนิยมปลูกแม้จะออกดอก ซึ่งการออกดอกของอ้อยใน
สภาพแปลงส่งผลเสียต่อปริมาณและคุณภาพของผลผลิตอ้อยทำให้ผลผลิตลดลง 56.6% และ 33.8% ใน
อ้อยปลูกและอ้อยตอ และผลผลิตน้ำตาลลดลง 69.1% และ 35.4% ในอ้อยปลูกและอ้อยตอ ตามลำดับ
(Rao et al., 1977) และ Rao (1982) รายงานการลดลงของผลผลิตในพันธุ์ที่ออกดอกยากสองพันธุ์คือ
D158/41 และ B62138 ภายใตส้ ภาพควบคมุ แสงเพือ่ กระตุ้นใหอ้ อ้ ยออกดอก พบวา่ ผลผลิตอ้อยลดลง 7%
และ 32% ในอ้อยปลกู และอ้อยตอ ตามลำดบั การออกดอกของออ้ ยสง่ ผลให้ปรมิ าณน้ำตาลลดลงหลังอ้อย
ออกดอก 2-3 เดือนซึ่งอยู่ในช่วงระยะเวลาของการส่งอ้อยเข้าหีบ (Lalitha et. al., 1968; Shitahun,
2017)
พันธุ์อ้อยที่เกษตรกรนิยมปลูกในปัจจุบันถูกพัฒนาพันธุ์ไม่ให้ออกดอก แต่เมื่อนำมาปลูกใน
สภาพแวดล้อมท่ีตา่ งกนั ออ้ ยบางสว่ นก็อาจออกดอกได้ พบการรายงาน ยีนที่เกี่ยวข้องกบั กระบวนการออก
ดอกของอ้อยมีมากกว่า 10 ยีน (Glassop et al., 2014) การกลายพันธุ์ เป็นอีกหนึ่งวิธีการปรับปรุงพันธุ์
อ้อยให้มีความแปรปรวนทางพันธุกรรม แล้วคัดเลือดอ้อยที่ออกดอกช้าหรือไม่ออกดอกที่มีผลผลิตและ

262

ลักษณะทางการเกษตรดีได้ ตัวอย่างเช่น Majid et al. (2001) รายงานการใช้รังสีแกมมาเพือ่ ชักนำให้เกดิ
การกลายพันธุ์ในออ้ ยจำนวน 3 ชุด พบว่า อ้อยชุดที่ 1 พบโคลนอ้อยกลายพันธุ์ดีเด่นจำนวน 4 โคลนที่ให้
ผลผลติ คา่ บรกิ ซ์สงู และต้านทานตอ่ โรคเน่าแดง ชุดท่ี 2 คัดเลอื กออ้ ยกลายพันธ์ุดเี ดน่ จำนวน 5 โคลน โดย
พจิ ารณาจากความเขียวของใบ การเจริญเติบโตดีของอ้อยเมือ่ อยู่ในสภาพน้ำขัง ค่าบริกซ์ ผลผลิต และการ
ตา้ นทานต่อโรคเน่าแดง และชุดท่ี 3 คัดเลอื กออ้ ยกลายพนั ธุ์ดีเดน่ จำนวน 4 โคลน ท่ีมีวันออกดอกช้าลงโดย
มโี คลนพนั ธุ์ SCM-28 ทอ่ี อกดอกช้ากว่าพนั ธุเ์ ดมิ 1-291/87 นาน 3 เดือน Khan et al. (2007) รายงานการ
ฉายรงั สแี กมมาแบบเฉียบพลัน (acute) ในอ้อยพันธ์ุ NI-98 NIA-2004 และ BL4 ทร่ี ะดบั 0 10 20 30 และ
40 เกรย์ พบว่า ทรี่ ะดับ 30 เกรย์ และ 40 เกรยส์ ่งผลทางลบต่อลกั ษณะการเกษตรของอ้อย โดยท่ีในระดับ
20Gy สง่ ผลใหค้ วามสูงและผลผลิตของอ้อยเพิ่มสงู ขึน้ Nagatomi (1993) รายงานการฉายรังสีแกมมาแบบ
สะสม (chronic) ในอ้อยรว่ มกบั วิธกี ารเพาะเลยี้ งแคลลัส พบวา่ ในออ้ ยที่ฉายระดับรังสี 100 และ 300 เกรย์
มคี วามแปรปรวนของลกั ษณะปริมาณสงู กว่าประชากรออ้ ยที่ไม่ไดร้ บั การฉายรงั สี เชน่ ลกั ษณะขนาดลำอ้อย
และผลผลิต และพบว่าอ้อยท่ีไดร้ ับการฉายรังสีมีความแปรปรวนของการถา่ ยทอดทางพันธุกรรมแบบกว้าง
สูง ซึ่งบางลักษณะที่ดีสามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้โดยการขยายพันธุ์ดว้ ยโคลนและใช้เป็นแหล่งของ
ฐานพันธุกรรมได้ นอกจากนี้ ยังพบการรายงานความสำเร็จของการฉายรังสีในอ้อยเพื่อให้ต้านทานต่อโรค
(Jagathesan et al., 1974; Srivastava et al., 1986) การไม่ออกดอกของอ้อย (Walker et al., 1969)
โรคใบดา่ ง (sugarcane mosaic virus) (Breanx, 1975; Dermodjo, 1977) โรคเน่าแดงและโรคใบดา่ งของ
อ้อย (Rao, 1974) เป็นต้น งานวจิ ยั ครั้งน้ีจงึ มวี ตั ถุประสงค์ เพ่ือคัดเลอื กโคลนพนั ธอ์ุ อ้ ยดีเด่นให้ออกดอกช้า
หรอื ไมอ่ อกดอกดว้ ยวิธีการฉายรังสแี กมมา

วธิ ีดำเนินการ
ส่งิ ท่ใี ชใ้ นการทดลอง

อ้อยโคลนดีเด่นที่ให้ผลผลิตสูงแต่พบการออกดอก จำนวน 2 โคลน/พันธ์ุ ได้แก่ KK07-037 และอู่
ทอง 5 ออกดอกช่วงกลางเดอื นพฤศจิกายน และพนั ธ์ุที่ออกดอกบางปี หรือไม่ออกดอกเป็นพันธุ์ตรวจสอบ
ได้แก่ พนั ธข์ุ อนแก่น 3

แบบและวิธีการทดลอง
คัดเลอื กข้อตาออ้ ยจำนวน 400 ขอ้ ตาของออ้ ยแต่ละพันธุ์เพาะหา่ งกนั 1 เดอื นในวสั ดปุ ลกู เมอ่ื อ้อย

เริ่มงอกได้ 1 เดือนนำส่วนยอดไปผ่านการฆ่าเชื้อและตัดชิ้นส่วนเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอดภายใต้กล้อง
และนำไปเลยี้ งบนอาหาร MS1 เพอื่ ยดื ขยายยอดอ่อนซ่งึ ชว่ งน้ตี ้องวางในเคร่ืองเขย่าตลอด 1 เดือน จากนั้น
ยา้ ยลงอาหาร MS2 เพ่อื ใหอ้อยแตกกอไดอ้ ายปุ ระมาณ 1 เดือน จึงย้ายตัวอยา่ งออ้ ยลงอาหารแขง็ เพ่ือนำไป
ฉายรังสีแบบเฉียบพลัน โดยใช้รังสีขนาด 0 20 40 60 80 และ 100 Gy (เกรย์) ทำการฉายรังสีชุดละอย่าง
น้อย 40 ตัวอย่างที่ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากนั้นย้ายลงอาหารเหลว
MS2 เพ่ือสังเกตการเปล่ียนแปลงหลงั การฉายรงั สี ภายใตส้ ภาวะควบคุมแสง อณุ หภมู ิ และปลอดเชอ้ื บนั ทึก
อัตราการรอดชวี ติ เพอ่ื หาค่า LD50 หรือปรมิ าณรงั สีที่ทำใหพ้ ชื ตายคิดเปน็ 50 เปอร์เซน็ ต์ของชดุ ที่ไมฉ่ ายรงั สี
(control) จากนั้นนำอ้อยที่รอดมาปลูกในสภาพควบคุม ดูแลรักษา ให้น้ำ ที่ศูนย์วิจัยพื ชไร่ขอนแก่น

263

เปรียบเทยี บระหว่างโคลนพนั ธุ์ท่ฉี ายรังสีกบั โคลนพันธ์ุปกติ คัดเลือกโดยดูลกั ษณะดอกไม่บาน หรือวันออก
ดอกบานช้ากว่าพันธ์ุปกติ ความสูง จำนวนลำต่อกอ ขนาดของลำ และมีลักษณะทางการเกษตรท่ีดี เช่น ไม่
แสดงอาการของโรคใบขาว และแสด้ ำ มีหนอน เจาะลำตน้ เข้าทำลายน้อย ขนทก่ี าบใบน้อยหรอื ไมม่ ี หักล้ม
น้อย เปน็ ตน้

การปฏิบัตดิ ูแลรักษา ปลูกอ้อยเป็นหลมุ ๆละ 1 ต้น ระยะระหว่างแถวและระหวา่ งหลุมเท่ากับ 1.5
และ 0.8 เมตร กำจดั วัชพืชให้รบกวนตลอดการทดลอง ใส่ปยุ๋ เคมตี ามคา่ วเิ คราะห์ดนิ โดยแบ่งใส่ 2 คร้ัง ครั้ง
แรกใส่พร้อมปลูกประมาณ 30 เปอรเ์ ซ็นต์ของปุ๋ยที่จะตอ้ งใสค่ รั้งที่ 2 ใส่หลังจากออ้ ยงอก 3 เดือน
การบันทกึ ขอ้ มลู

บันทึกวันปฏบิ ตั กิ ารต่างๆ วันปลกู เม่ือออ้ ยอายุ 4 เดอื นสมุ่ อ้อยกอละ 5 ลำวดั ความสูงทุก 2 เดอื น
บันทึกโรคและแมลง การเก็บเกี่ยว จำนวนลำและน้ำหนัก สุ่มอ้อยแปลงกอละ 5 ต้น วัดค่าบริกซ์ คำนวณ
ผลผลิตต่อไร่กอ และนำ้ หนกั ลำ
สถานท่ที ดลอง

ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น สถานที่ฉายรังสี ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์ เทคโนโลยี
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตบางเขน จังหวดั กรงุ เทพมหานคร

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
คัดเลือกข้อตาอ้อยที่สมบูรณ์แข็งแรง ไม่มีโรคหรือมีแมลงทำลายในอ้อย 3 พันธ์ุ/โคลนพันธ์ุ ได้แก่
พันธุ์ขอนแกน่ 3 KK07-037 และอทู่ อง 5 จำนวนพันธุล์ ะ 400 ขอ้ ตา นำมาเพาะระยะเวลาห่างกันประมาณ
1-2 เดอื นในวัสดุปลกู เมื่อต้นกล้าออ้ ยอายุ 1 เดือนนำมาตดั เนอ้ื เยอื่ เจริญปลายยอดในสภาพปลอดเชื้อ เมอ่ื
อ้อยเริ่มงอกได้ 1 เดือนนำส่วนยอดไปผ่านการฆ่าเชื้อและตัดชิ้นส่วนเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอดภายใต้
กล้อง และนำไปเลี้ยงบนอาหาร MS1 เพื่อยืดขยายยอดอ่อนซึ่งช่วงนี้ต้องวางในเครื่องเขยา่ ตลอด 1 เดือน
จากนั้นย้ายลงอาหาร MS2 เพื่อให้อ้อยแตกกอได้อายุประมาณ 1 เดือน จากนั้นนำเนื้อเยื่ออ้อยที่สมบูรณ์
จำนวน 200 ตัวอย่างย้ายลงอาหารแข็งเพื่อนำไปฉายรงั สีแบบเฉยี บพลนั โดยใช้รังสีขนาด 0 20 40 60 80
และ 100 Gy (เกรย์) ทำการฉายรังสีระดับละ 40 ตัวอย่างที่ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากน้นั ย้ายลงอาหารเหลว MS2 ทนั ที และสังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังการฉาย
รังสี ภายใต้สภาวะควบคุมแสง อุณหภูมิ และปลอดเชื้อ บันทึกอัตราการรอดชีวิตเพื่อหาค่า LD50 หรือ
ปริมาณรงั สีท่ที ำใหพ้ ชื ตายคิดเป็น 50 เปอร์เซ็นต์ของชดุ ทไี่ มฉ่ ายรังสี (control)
ผลของการฉายรงั สีอ้อยพันธุข์ อนแกน่ 3 พบว่า ระดับรงั สีท่ี 100 Gy ไม่มีเนือ้ เยื่ออ้อยเจริญเติบโต
ได้ ออ้ ยแสดงอาการยอดและใบหงิกงอ ขาว ไม่สามารถเจรญิ เติบโตในอาหาร และตายในที่สุด (ตารางท่ี 1)
ในระดบั 20 Gy มีอ้อยรอดชีวติ ที่ 70 เปอร์เซ็นต์เมอื่ เทยี บกับอ้อยท่ีไมไ่ ด้รับการฉายรังสี (control) ในขณะ
ที่กล่มุ รังสีที่ 40 Gy มอี ้อยรอดชวี ติ ท่ี 58 เปอรเ์ ซ็นตเ์ มอ่ื เทยี บกับอ้อยที่ไมไ่ ด้รบั การฉายรงั สี (control) จาก
ผลการตรวจการรอดชวี ติ ของอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 พบว่า ที่ค่า LD50 ของปริมาณรังสีที่ได้ คือ 43 Gy ที่ทำ
ให้ออ้ ยรอดชวี ิตคิดเปน็ 50 เปอรเ์ ซ็นต์ของชดุ ท่ไี ม่ฉายรงั สี (ภาพที่ 1) จากนัน้ เม่ือไดค้ ่า LD50 ของอ้อยพันธุ์

264

ขอนแก่น 3 แล้วนำขอ้ ตาอ้อยจำนวน 400 ข้อตา มาเพาะในกระบะทรายเม่อื ออ้ ยงอกอายุ 1 เดือน นำส่วน
ยอดไปผ่านการฆ่าเชื้อและตัดชิ้นส่วนเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอดภายใต้กล้อง และนำไปเลี้ยงบนอาหาร
MS1 เพ่อื ยืดขยายยอดอ่อนซ่งึ ชว่ งน้ตี ้องวางในเครอ่ื งเขย่าตลอด 1 เดือน จากนั้นยา้ ยลงอาหาร MS2 เพื่อให้
อ้อยแตกกอได้อายุประมาณ 1 เดือน จากนั้นนำเนื้อเย่ืออ้อยท่ีสมบูรณ์จำนวน 100 ตัวอย่างย้ายลงอาหาร
แขง็ เพ่ือนำไปฉายรงั สแี บบเฉยี บพลนั โดยใชร้ ังสขี นาด 40 Gy ทำการฉายรงั สีทศี่ ูนยว์ จิ ัยนวิ เคลยี ร์เทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากนน้ั ยา้ ยลงอาหารเหลว MS2 ได้อ้อยฉายรังสรี ุ่น M1V1 เมอื่ ออ้ ยแตกหนอ่ ทำ
การ subculture อกี 2 คร้ังให้ไดร้ ุ่น M1V3 เพอ่ื ลดการเกิดไคเมอรา แล้วจงึ ย้ายลงอาหารสูตร MS3 เพ่ือชัก
นำให้เกิดรากต่อไป

โคลนพันธุ์ KK07-037 ทำตามขั้นตอนเดียวกับพันธ์ุขอนแก่น 3 เมื่ออ้อยแตกกอในอาหาร MS2 ได้
อายุประมาณ 1 เดือน นำเนื้อเยื่ออ้อยที่สมบูรณ์จำนวน 200 ตัวอย่างย้ายลงอาหารแข็งเพ่ือนำไปฉายรังสี
แบบเฉียบพลนั โดยใชร้ งั สขี นาด 0 20 40 60 80 และ 100 Gy (เกรย์) ทำการฉายรังสรี ะดบั ละ 40 ตัวอยา่ ง
ท่ีศูนยว์ ิจยั นิวเคลียรเ์ ทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ จากนนั้ ยา้ ยลงอาหารเหลว MS2 ทันทเี พอื่ สงั เกต
การเปลี่ยนแปลงหลังการฉายรังสี ภายใต้สภาวะควบคุมแสง อุณหภูมิ และปลอดเชื้อ บันทึกอัตราการรอด
ชีวติ เพือ่ หาค่า LD50 หรือปริมาณรงั สีทีท่ ำใหพ้ ชื ตายคิดเปน็ 50 เปอร์เซน็ ตข์ องชดุ ทีไ่ ม่ฉายรงั สี (control)

ผลของการฉายรังสีอ้อยโคลนพันธุ์ KK07-037 พบว่า ระดับรังสีที่ 100 Gy ไม่มีเนื้อเยื่ออ้อย
เจริญเตบิ โตได้ ออ้ ยแสดงอาการยอดและใบหงกิ งอ ขาว และตายในที่สุด (ตารางที่ 2) สว่ นในระดับ 20 Gy
มีออ้ ยรอดชวี ติ ที่ 73 เปอร์เซ็นต์เมอ่ื เทียบกับอ้อยทไ่ี มไ่ ดร้ ับการฉายรงั สี (control) ในขณะท่ีกลุ่มรังสีที่ 40
Gy มอี ้อยรอดชวี ิตท่ี 54 เปอร์เซ็นตเ์ ม่ือเทยี บกบั ออ้ ยทไี่ ม่ไดร้ ับการฉายรังสี (control) จากผลการตรวจการ
รอดชวี ิตของอ้อยโคลนพันธุ์ KK07-037 พบว่า ท่ีค่า LD50 ของปรมิ าณรังสีท่ีได้ คือ 43 Gy ที่ทำให้อ้อยรอด
ชวี ติ คดิ เปน็ 50 เปอร์เซ็นตข์ องชุดท่ไี ม่ฉายรงั สี (ภาพท่ี 2) เช่นเดยี วกบั พันธุข์ อนแกน่ 3 ดังน้นั จึงนำ LD50
ที่ได้จากทั้ง 2 พันธุ์มาใช้ในออ้ ย 1 พันธุ์ที่เหลอื คือ อู่ทอง 5 ทั้งนี้ เนื่องจากเปน็ ช้ินสว่ นอ้อยชนดิ เดียวกันจึง
ให้ผลไม่แตกต่างกนั มากนักและเพื่อเปน็ การประหยัดเวลาและงบประมาณในการฉายรังสี

จากนั้น เมื่อได้ค่า LD50 ของอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 และโคลนพันธุ์ KK07-037 นำข้อตาอ้อยพันธ์ุ
อู่ทอง 5 และโคลนพันธุ์ KK07-037 จำนวนพนั ธลุ์ ะ 400 ข้อตา มาเพาะในกระบะทรายเมื่ออ้อยงอกอายุ 1
เดือน นำส่วนยอดไปผา่ นการฆ่าเชอ้ื และตดั ชน้ิ ส่วนเนอ้ื เย่ือเจรญิ สว่ นปลายยอดภายใต้กล้อง และนำไปเลี้ยง
บนอาหาร MS1 เพื่อยืดขยายยอดอ่อนซึง่ ช่วงนี้ต้องวางในเครื่องเขย่าตลอด 1 เดือน จากนั้นย้ายลงอาหาร
MS2 เพื่อใหอ้ ้อยแตกกอได้อายุประมาณ 1 เดอื น จากน้ันนำเนอื้ เย่อื ออ้ ยทสี่ มบูรณพ์ ันธล์ุ ะ 150 ตัวอยา่ งรวม
300 ตัวอย่างย้ายลงอาหารแขง็ เพือ่ นำไปฉายรังสีแบบเฉียบพลัน โดยใช้รังสีขนาด 40 Gy ทำการฉายรังสที ่ี
ศูนย์วิจัยนิวเคลียรเ์ ทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากนั้นย้ายลงอาหารเหลว MS2 ได้อ้อยฉายรงั สี
รนุ่ M1V1 จากน้นั เมอ่ื อ้อยแตกหนอ่ ทำการ subculture อีก 2 คร้ังให้ไดร้ ุ่น M1V3 เพ่อื ลดการเกิดไคเมอรา
แลว้ จงึ ยา้ ยลงอาหารสูตร MS3 เพื่อชักนำให้เกดิ ราก

ออ้ ยท่ผี า่ นการฉายรงั สีและอ้อยตรวจสอบทไ่ี มไ่ ด้รับการฉายรังสแี กมมา ทั้ง 3 พันธุ์ ไดแ้ ก่ ขอนแก่น
3 อู่ทอง 5 และ KK07-037 ได้รับการชักนำให้เกิดรากในอาหารสูตร MS3 ในสภาพปลอดเชื้อ (ภาพที่ 3)


Click to View FlipBook Version