The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวการจัดการสอนวิทย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nonglak Sritong, 2019-07-13 05:31:19

แนวการจัดการสอนวิทย์

แนวการจัดการสอนวิทย์

ERSION 2

เอกสารแนวทางการจดั การเรยี นการสอน

ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 )
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ACT สรปุ หลกั สตู ร
LEIAVRENING
วʏทิ ɿΥ ยʊาʘศʐาสʘตʒɽร์ ʋΰหนังสือเรียนรายวิชMา;พ*Sนื้ LฐYOาน_EDW ;ETDI-V T@;hY 2T; คำอธบิ ายรายวชิ า
ʃ˺ʮ 1 -hS;=ER8CJ$X KT=9 gW 4 _G C โครงสรา้ งรายวชิ า

2560$GC Z LTER$TE_EWD;E I[ 9V DTJTL7E7 T C¤,C<T7<S E=2ET;<S $=TEE*Z_E WD@;ªJE [`ª GR7IS -hWI6S ) ตวั อยา่ งหนงั สอื เรยี น
ʚʍʉγ 1 7TCMGS$L[7E`$;$GT*$TEJ$X KT%;Sh @Yh;2T; @Z9:JS$ET- ®±±­ แผนการจดั การเรยี นรู้

โครงสรา้ งแผน ฯ
ตวั อยา่ งแผน ฯ

คโคมู่ รอืงสครรา้ ูงคมู่ อื ครู

ตวั อยา่ งคมู่ อื ครู

ตวั อยา่ งแบบฝกึ หดั

ตวั อยา่ ง PowerPoint

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูใอนารจะหมวีกาางรสปงรตับร4ปวรจ8ุงพแ.กิจ-าไขรณาIV9DTJTL7E =ª° _GC ® ÐàÞéâ · ®­­¢ ¬%;T6=$ ¾± ¬ +U;I;M; T M;T ¬LS;=$M;T àê« ¬ET'T ±µ <T9 ¥OT+C_W =GgWD;¦ ¬ @VC@ ± LW ¥ÀÊÖȦ

M;*S LYO_EWD;ETDIV-T@h;Y 2T;

ʃʚʍʉγ ˺ʮ2 ʏɿΥ ʊʘʐʘʒɽʋ2 ΰ4$GC Z 7LTTCERM$GT$S EL_E7[ DW E;`E$I [ ;V9$DGTTJ*T$L T7E-EJS;h 7X$ TK=¤C,TEC%<RS;hT<S 78@=EY;hC2E2TJ<S T;=;$X$ ETK@*ZEZ9T _E@:=DW Jª; 9JS$EªEW g` [ T2G-R5 7®_6G±IS ±0-C ­WhI )6S

6Eª_@f‰@$S 7E B[ JGV =
6Eª@GOD9ETD aOPTCT

ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ O-NET 6Eª_@f‰@$S 7E 6Eª@GOD9ETD รยี มความพรอ้ ม
ใชข้ น้ั ตอนการสอน นำ-สอน-สรปุ -ประเมนิ
สรา้ งทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 6Eª@GOD9ETD aOPTC T
พฒั นาทกั ษะและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ Th4ail.a0nd6Eª_@f‰@$S 7E B J[ VG=

สง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ บบ Active Learning เต 48.-
ไทย
สร้างนักเรียน

































มวล 1º··Õè

(mass) áç⹌Á¶Ç‹ §¢Í§âÅ¡

น�้าหนกั

(weight)

15

แรงโนม้ ถว่ ง áç⹌Á¶‹Ç§¢Í§âÅ¡ Key words
Áռŵ‹ÍÇѵ¶Ø
(gravitational force) • gravitational force
?Í‹ҧäà • mass
กิจกรรม นาํ สกู ารเรียน • weight

53
หนังเนสื้อือหเลามอนาี้อจมยีกูในารระปหรวับางปสรงุงตแกรไวขจพิจารณา

1. áçâ¹ÁŒ ¶Ç‹ §¢Í§âÅ¡
นักเรียนเคยสังเกตหรือไม่ว่า สิ่งของต่าง ๆ
รอบตัวเราน้ันล้วนวางอยู่บนพื้นโดยที่ไม่ลอยอยู่
ในอากาศ ที่เปนเช่นนี้ เพราะโลกของเรา
มีแรงชนิดหน่ึงมากระท�าต่อส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่
บนโลก เรียกว่า แรงโน้มถ่วงของโลก
หรือแรงดงึ ดูดของโลก

แรงโน้มถ่วงของโลกเปนแรงท่ีโลกกระท�าต่อมวลของวัตถุต่าง ๆ บนโลก
และวตั ถุท่อี ย่ใู กลโ้ ลก เช่น โลกดึงดูดดาวเทยี ม หรือโลกดึงดูดดวงจนั ทร์ โดยท่ี
วตั ถนุ ั้นไมไ่ ดส้ มั ผสั กบั ผวิ โลก แรงโน้มถว่ งของโลกจึงจดั เปนแรงไม่สมั ผัส

กระโดดรม่ ฝนตก

กระจกหลน่ แตก ใบไม้ร่วง

เล่นกฬี า áç⹌Á¶Ç‹ §à¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ §¡ºÑ ¡ÒÃ㪪Œ ÕǵÔ
»ÃШíÒÇ¹Ñ ¢Í§¹¡Ñ àÃչ͋ҧäúŒÒ§
หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา
54

16

¡Ô¨¡ÃÃÁ·èÕ 1 2หนว ยการเรียนรูที่

ผลของแรงโนม ถว งของโลก áç⹌Á¶Ç‹ §¢Í§âÅ¡áÅеÇÑ ¡ÅÒ§¢Í§áʧ
ทักษะกระบวนกำร
จดุ ประสงค ทำงวทิ ยำศำสตร์ทใ่ี ช้

สงั เกตและอธบิ ายผลของแรงโน้มถว่ งของโลกท่ีมตี อ่ วัตถุ 1. การสงั เกต
2. การลงความเห็นจากข้อมูล
3. การพยากรณห์ รอื การคาดคะเน
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงขอ้ สรปุ

ตองเตรยี มตอ งใช 2. ถงุ พลาสติก 1 ใบ
4. ใบไม้แหง้ 1 ใบ
1. กระดาษ 1 แผน่
3. ยางลบ 1 กอ้ น

ลองทาํ ดู

1. สงั เกตวตั ถทุ น่ี า� มาใชท้ า� กจิ กรรม จากนนั้ คาดคะเนวา่
เมอ่ื โยนวตั ถตุ า่ ง ๆ ขน้ึ ไปในอากาศ วตั ถจุ ะตกลงสพู่ น้ื
หรือไม่ แล้วบันทกึ ผลลงในสมดุ

2. ท�ากิจกรรมเพื่อตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยขย�า
แผน่ กระดาษแล้วโยนขน้ึ ไปในอากาศ จากนน้ั สงั เกต
การเคล่อื นท่ีของกอ้ นกระดาษและบันทกึ ผล

3. ทา� การทดลองซ้า� ข้อ 2. แต่เปล่ียนวัตถเุ ปนใบไม้แห้ง
ถงุ พลาสติก และยางลบ ตามล�าดบั

4. รว่ มกนั อภปิ รายขอ้ มลู จากการสงั เกตและสรปุ ผลการ
ทา� กจิ กรรม แลว้ น�าเสนอหนา้ ช้นั เรยี น

หนตู อบได หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

1. กิจกรรมในชวี ิตประจ�าวันใดบา้ ง เปนผลมาจากแรงโนม้ ถว่ งของโลกทก่ี ระทา� ตอ่ วัตถุ
2. เพราะเหตุใด เมือ่ โยนวัตถุขึน้ ไปในอากาศ วตั ถุจงึ ตกลงสูพ่ น้ื เสมอ
3. “แรงโน้มถ่วงของโลกทา� ใหท้ ุกสง่ิ บนโลกไม่ลอยไปในอากาศ จงึ ถอื ว่าเปนผลดตี ่อส่ิงมีชีวติ

บนโลก” นักเรียนเหน็ ด้วยกับขอ้ ความนห้ี รือไม่ เพราะอะไร

55

17

1.1 ัลกษณะของแรงโ ้นม ่ถวงของโลก แรงโน้มถ่วงของโลก ีม ิทศพุ่งเข้าหา ุจดศูนย์กลางของโลก
เ ่ืมอลากเ ้สนสม ุม ิตตามทิศทาง ีท่ ัวตถุท้ังหลายตกลง ่สูพ้ืนโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก ืคอ แรงที่โลกกระ �ทา ่ตอมวลของ ัวต ุถทุกชนิดบนโลก
และวัต ุถ ี่ทอยู่ใกล้โลก โดยจะดึง ูดด ัวตถุเข้า ู่ส ูศนย์กลางของโลก ท�าใ ้หวัต ุถต่าง ๆ แรงโ นมถวงของโลก
ีม ้น�าหนักและตกลงสู่ ้ืพนโลกเสมอ เราและวัตถุต่าง ๆ บนโลกจึงสามารถอ ูย่บน
้พืนโลกได้โดยไม่ลอยข้ึนไปในอากาศ 18

เซอ ์ร ไอแซก นิว ัตน ันกวิทยาศาสต ์รชาวอังกฤษ หหนนังังสสือือเลเลมเมเนนนนื้อี้อื้อี้อหยหยาูใาูในอนอราราะจะจหหมมววีกีกาาางางรสรสปปงงรตรตับับรรปวปวรจรจุงพุงพแแิจิจกกาาไไรขรขณณาา56
ืคอ ูผ้ค้นพบทฤษ ีฎแรงโน้มถ่วงของโลก ่ึซงค้นพบ
โดย ับงเ ิอญจากการสังเกตผลแอปเปล ีท่หลุดจากต้น
แ ้ลวร่วงลง ืพ้น นิว ัตนเกิดความสง ัสยและได้ ึศกษาจน
ได้ข้อส ุรปว่า “ ัวตถุ ุทกอยางจะออกแรงดึง ูดดซ่ึง ักน
และกัน เหมือนกับแรงโนมถวงของโลก ี่ทกระ ํทาตอ
ัวตถุ ุทกอ ยางในโลก”

2หนวยการเรียนรูท ่ี

áç⹌Á¶‹Ç§¢Í§âÅ¡áÅеÑÇ¡ÅÒ§¢Í§áʧ

แรงโน้มถ่วงของโลกอาจท�าให้เกิดประโยชน์และท�าให้เกิดข้อจ�ากัดต่าง ๆ
ในการใชช้ วี ติ ประจา� วนั ของเราได้ เช่น
ประโยชน์

• ท�าให้สิง่ ของตา่ ง ๆ ไมล่ อยไปมาในอากาศ
• ทา� ให้เรายืนอย่บู นโลกไดโ้ ดยไมล่ อยไปมา
• ทา� ใหน้ ้า� ไหลจากทีส่ งู ลงสทู่ ตี่ า่�
• ทา� ให้น�า้ ฝนตกลงสู่พนื้ โลก

ข้อจ�ำกัด

• การท�ากิจกรรมบางอย่างที่สวนทางกับแรงโนม้ ถ่วง

ของโลกจะรสู้ ึกเหน่อื ยและทา� ไดล้ �าบาก เช่น
เดินข้นึ บันได ปนจักรยานขนึ้ เขา เปน ตน้

• เม่อื ท�าสิ่งของบางอย่างหล่นพน้ื จะทา� ใหช้ า� รุดเสียหาย
• ท�าใหไ้ ม่สามารถกระโดดใหส้ งู มาก ๆ ได้
• ท�าใหย้ กสิง่ ของท่ีมีน้า� หนักมาก ๆ ไมไ่ ด้

1¡Ô¨¡ÃÃÁ ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ·Õè

ใหด้ ภู ำพแลว้ ตอบวำ่ ภำพหมำยเลขใดเปน ผลกระทบมำจำกแรงโนม้ ถว่ งของโลก
พร้อมให้เหตผุ ลประกอบ
123

ดวงอาทิตยข์ น้ึ ยกน้า� หนกั ปน จักรยานหนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
19
57

¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 2 ทกั ษะกระบวนกำร
ทำงวิทยำศำสตร์ท่ีใช้
แรงดึงดูดของโลกกับนา้ํ หนักของวัตถุ 1. การวดั
2. การสังเกต
จดุ ประสงค 3. การลงความเห็นจากขอ้ มลู
4. การพยากรณห์ รอื การคาดคะเน
สังเกตและอธิบายการวดั น้า� หนกั ของวตั ถุโดยใช้เคร่อื งช่งั สปริง 5. การตคี วามหมายขอ้ มลู และการลงขอ้ สรุป

ตองเตรียมตอ งใช 2. ถุงทราย 1 ถงุ
4. ถา่ นไฟฉาย 1 กอ้ น
1. หนงั สือ 1 เล่ม 6. เครอื่ งช่งั สปรงิ แบบตงั้ 1 เครอ่ื ง
3. ก้อนหิน 1 กอ้ น 8. เครอ่ื งช่ังสปรงิ แบบแขวน 1 เครอื่ ง
5. ดินนา้� มนั 1 กอ้ น 10. ผลไม้ 1 ชนิด (ครูเตรยี มไว)้ เชน่ ฝร่งั เปนตน้
7. ถุงพลาสติก 1 ใบ
9. กล่องดินสอ 1 กล่อง

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา ลองทําดู µÍ¹·Õè 1

1. สงั เกตเคร่ืองช่งั สปริงแบบแขวนและตวั เลขบนเครอ่ื งชั่ง จากน้นั วาดภาพลงในสมดุ
2. รว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับวธิ ีการใช้งานเครอ่ื งช่ังสปริงแบบแขวน
3. สังเกตถ่านไฟฉาย ดินน้�ามัน ถุงทราย และก้อนหิน แล้วคาดคะเนว่า วัตถุเหล่านั้น

มีน�า้ หนกั เทา่ ใด แล้วบนั ทึกผล
4. ทา� กจิ กรรมเพอื่ ตรวจสอบผลการคาดคะเน

โดยนา� ถา่ นไฟฉายใสถ่ งุ พลาสตกิ แลว้ แขวน
กบั ตะขอของเครอื่ งชง่ั สปรงิ จากนนั้ สงั เกต
ตัวเลขบนเครื่องชั่ง แล้วบันทึกน�้าหนัก
(ทา� ซ้�าอกี 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลยี่ *)
5. ทา� กจิ กรรมซา้� ขอ้ 4. โดยเปลยี่ นวตั ถเุ ปน
ดนิ นา�้ มนั ถงุ ทราย และกอ้ นหนิ ตามลา� ดบั
จากนัน้ รว่ มกันวิเคราะห์และสรปุ ผล

*หมำยเหตุ : การหาค่าเฉลย่ี ทา� ได้โดยนา� ค่าท่ีหาไดท้ ง้ั หมดบวกกนั แลว้ หารดว้ ยจ�านวนคร้งั

58

20

µÍ¹·èÕ 2 2หนวยการเรียนรูท ่ี

1. สังเกตเครื่องช่ังสปริงแบบต้ังและตัวเลข áç⹌Á¶Ç‹ §¢Í§âÅ¡áÅеÑÇ¡ÅÒ§¢Í§áʧ
บนเครื่องชงั่ แลว้ วาดภาพลงในสมดุ
àÍЍ ...
2. ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธี ˹¡Ñ à·‹ÒäùÐ
การใช้งานเครื่องช่ังสปริงแบบตัง้

3. สงั เกตกลอ่ งดนิ สอ หนงั สอื ถงุ ทราย และ
ผลไมท้ ค่ี รเู ตรยี มไว้ แลว้ คาดคะเนวา่ วตั ถุ
เหล่านี้มนี ้า� หนกั เทา่ ใด และบันทึกผล

4. ช่วยกันท�ากิจกรรมเพื่อตรวจสอบผล
การคาดคะเน โดยวางเครื่องช่ังสปริง
แบบตั้งให้อยู่ในระดับเดียวกับพื้นราบ
แลว้ นา� กลอ่ งดนิ สอวางบนถาดชงั่ จากนน้ั
สังเกตตัวเลขบนเคร่ืองช่ังแล้วบันทึกค่า
(ท�าซ้า� อกี 2 ครงั้ แล้วหาค่าเฉลยี่ *)

5. ทา� ซา�้ ขอ้ 4. โดยเปล่ยี นวตั ถุทใี่ ช้ชัง่ เปน
หนังสอื ถุงทราย และผลไม้ ตามลา� ดับ
จากนนั้ รว่ มกนั สรปุ เกยี่ วกบั การวดั นา้� หนกั
ของวัตถโุ ดยใช้เครอื่ งชัง่ สปริง

หนตู อบได หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

1. แรงโนม้ ถว่ งของโลกมีความสมั พันธก์ ับมวลของวตั ถุหรือไม่ อยา่ งไร
2. วัตถแุ ต่ละชนิดบนโลกมีมวลเทา่ กนั หรอื ไม่ เพราะอะไร
3. เพราะเหตใุ ด วัตถุตา่ ง ๆ บนโลกจึงมนี ้า� หนักแตกต่างกัน
4. หากต้องการทราบวา่ ฝร่ัง 1 ผล มีนา้� หนกั เทา่ ไร เราควรเลือกใช้เครอ่ื งมือชนิดใดเพือ่ หา

นา้� หนกั ของฝรงั่ ระหวา่ งใชเ้ ครอื่ งชง่ั สปรงิ แบบแขวนกบั เครอ่ื งชง่ั สปรงิ แบบตง้ั เพราะอะไร

59

21

1.2 มวลและนำ�้ หนกั ของวตั ถุ

ทตี่ า� แหนง่ เดยี วกนั บนโลก จะมแี รงโนม้ ถว่ งของโลกหรอื แรงดงึ ดดู ของโลก
ทกี่ ระทา� ตอ่ วตั ถตุ า่ ง ๆ ดงั นนั้ วตั ถตุ า่ ง ๆ จงึ มนี า�้ หนกั แตส่ งิ่ ทท่ี า� ใหว้ ตั ถมุ นี า้� หนกั
ไมเ่ ทา่ กัน เปนเพราะวตั ถุเหลา่ น้ันมมี วลต่างกัน

มวล คือ ปริมาณของเนื้อสารท้ังหมดท่ี น้�ำหนัก คือ ปริมาณของแรงโน้มถ่วงของ
มีอยู่ในวัตถุน้ัน ซึ่งมีค่าคงที่ไม่ว่าจะอยู่ โลกท่ีกระท�าต่อมวลของวัตถุต่าง ๆ บนโลก
ทใ่ี ดบนโลก มวลมหี นว่ ยเปน กรมั (g) หรอื โดยดึงดูดให้วัตถตุ กลงมาที่พ้ืนโลก น้า� หนัก
กิโลกรัม (kg) มีหน่วยเปนนิวตนั (N)

นํ้าหนัก 9.8 นวิ ตัน มีคาเทากับ
น้ําหนักของมวล 1 กิโลกรัม

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา ¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡Òä´Ô ¢é¹Ñ ʧÙ

“การทแ่ี รงโนม ถว งของโลกดงึ ดดู ใหส ง่ิ ตา งๆ ตกลงสพู นื้ โลก ทาํ ใหต วั เราและวตั ถตุ า งๆ มนี า้ํ หนกั
เชนเดียวกนั เพราะถาไมมแี รงโนม ถว ง ตวั เราและวัตถุตา ง ๆ กจ็ ะอยใู นสภาพไรน ้าํ หนัก”
นกั เรียนคดิ วา่ คนเราสามารถอยูใ่ นสภาพไรน้ �า้ หนักได้หรอื ไม่ เพราะอะไร
60

22

9.8 ¹ÇÔ µ¹Ñ วัตถุช้ินเดียวกันจะมีน้�าหนักไม่เท่ากัน เม่ือน�าไปชั่งในสถานที่ต่างกัน 2. ระยะห่ำงจำกจดุ ศนู ยก์ ลำงของโลก • ถ้าวตั ถุใดมีมวลนอ้ ย แรงโนม้ ถ่วง 1. มวลของวัตถุ แรงโนม้ ถว่ งของโลกทา� ใหว้ ตั ถมุ นี า้� หนกั ซง่ึ นา�้ หนกั ของวตั ถตุ า่ ง ๆ จะมาก
เพราะคา่ แรงโนม้ ถว่ งของโลกในตา� แหนง่ ตา่ ง ๆ มคี า่ ไมเ่ ทา่ กนั โดยขน้ึ อยกู่ บั ระยะ ของโลกที่กระท�าต่อวัตถุนั้นจะมี หรือนอ้ ยขนึ้ อยู่กบั ปจจัย ดงั น้ี
49 ¹ÇÔ µÑ¹ หา่ งจากจุดศูนยก์ ลางของโลก หากวัตถุอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของโลกมากขน้ึ คา่ น้อย วัตถุจึงมีน้า� หนักน้อย
เทา่ ใด แรงโนม้ ถว่ งของโลกท่ีกระท�าตอ่ วัตถุนน้ั จะยิ่งลดน้อยลง
23 • ถ้าวัตถุใดมีมวลมาก แรงโน้มถ่วง
ของโลกที่กระท�าต่อวัตถุนั้นจะมี
ค่ามาก วัตถุจึงมีน�า้ หนักมาก

ปจจยั ทมี่ ีผลตอ นาํ้ หนกั ของวตั ถุ 29.4 ¹ÇÔ µÑ¹ 65 kg 40 kg 2หนวยการเรียนรทู ่ี

หนังเนสื้อือหเลามอนาี้อจมยีกูในารระปหรวับางปสรงุงตแกรไวขจพิจารณา61 áçâ¹ÁŒ ¶‹Ç§¢Í§âÅ¡áÅеÇÑ ¡ÅÒ§¢Í§áʧ

1.3 กำรวดั น�้ำหนกั ของวตั ถุ

เราสามารถวัดน้�าหนักของวัตถุท่ีเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกได้โดยใช้
เคร่ืองช่ังสปริง ซึ่งค่าที่อ่านได้จะเท่ากับขนาดของแรงท่ีโลกดึงดูดวัตถุและเปน
น�้าหนกั ของวัตถุนั่นเอง น้า� หนักของวัตถจุ ะมีหน่วยเปน นิวตนั (N)

เครอ่ื งชงั่ สปริงสา� หรับวัดน�้าหนักจะอาศัยหลักการยืดของสปรงิ ซงึ่ เปน ผล
มาจากการท่โี ลกดงึ ดดู วตั ถใุ นแนวดงิ่ ท�าให้สปรงิ ยืดออกตามแรงทโ่ี ลกกระทา� ต่อ
มวลของวัตถนุ ั้น เคร่ืองชัง่ สปรงิ แบง่ ออกเปน 2 แบบ ได้แก่

เครอ่ื งชงั่ สปรงิ แบบแขวน เคร่อื งชั่งสปรงิ แบบต้ัง

ดวงจนั ทร์มีมวลน้อยกว่าโลกมาก แรงดึงดูดของดวงจันทรจ์ งึ นอ้ ยกวา่ โลก
6 เท่า ดังน้ัน หากชั่งน้�าหนักของวัตถุช้ินเดียวกันบนพื้นโลกและบนดวงจันทร์
นา้� หนกั ของวตั ถชุ ้ินนนั้ ทช่ี ัง่ บนดวงจนั ทรจ์ ะมีน้�าหนกั น้อยกวา่ ท่ชี ่งั บนโลก 6 เท่า

โลก ดวงจนั ทร์
62
9.8 ¹ÇÔ µÑ¹

58.8 ¹ÇÔ µ¹Ñ

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา ¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡Òä´Ô ¢¹éÑ Ê§Ù

น�า้ หนักของวัตถุ มีความเก่ียวขอ้ งกับ
แรงโน้มถว่ งของโลกอย่างไร

24

ฝกิจกกทรรักมษะ º··Õè 1

1. ตอบคำ� ถำมตอ่ ไปน้ี
1) เพราะเหตุใดเม่อื เราเดนิ ขนึ้ บนั ไดจงึ รูส้ ึกเหนือ่ ยงา่ ยกวา่ การเดินลงบนั ได
2) ลกู กอลฟ์ และลูกปง ปองทม่ี ีขนาดเท่ากนั เมื่อนา� ไปชั่งน้�าหนกั พบวา่ ลูกกอล์ฟ
มีน้า� หนักมากกว่าลูกปง ปอง นักเรียนคิดว่าเปน เพราะเหตุใด
3) นักเรียนคดิ วา่ หากโลกไม่มีแรงโน้มถ่วง จะส่งผลกระทบต่อส่ิงต่าง ๆ บนโลก
หรือไม่ เพราะอะไร
4) มวลของวตั ถจุ ะมผี ลต่อการเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนทข่ี องวัตถุอยา่ งไร
5) นกั เรียนคดิ วา่ ระหวา่ งรถบรรทุกหนิ กับรถตู้ รถคนั ใดสามารถเคล่ือนทไ่ี ด้ง่าย
กวา่ กนั เพราะอะไร

2. ขดี ✓ หนำ้ ขอ้ ทเี่ ปนผลมำจำกแรงโน้มถ่วงของโลกโดยตรง
………..… 1) วตั ถุทกุ ชนดิ ที่อยบู่ นโลกมีนา�้ หนัก
………..… 2) พืน้ ท่เี ปยกน้�าทา� ให้เกิดการลืน่ ไถล
………..… 3) ลูกฟุตบอลกล้ิงได้ไกลบนพน้ื ที่เรยี บ
………..… 4) ผลไมท้ ่ีสกุ งอมรว่ งจากตน้ ลงสพู่ ้นื ดิน
………..… 5) จกั รยานเคล่อื นทไ่ี ด้ เพราะออกแรงปน

3. สงั เกตภำพและใหเ้ หตผุ ลวำ่ เกย่ี วขอ้ งกบั แรงโนม้ ถว่ งของโลกอย่ำงไร
1) 2)
ส ุมดับปนร ึทะก�จผาลัตวลงใน

หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
66

25

หนวยการเ ีรยน รู ีท่ 2 1) เ ่ืมอดวง ัจนทร์ ีมแรงดึงดูดน้อยกว่าโลก ึถง 6 เ ่ทา ันกเรียนคิดว่า จะ ่สงผล ีด ่ตอ 67
ภาร ิกจ �สารวจดวงจันท ์รอย่างไร ้บาง
áç⹌Á¶‹Ç§¢Í§âÅ¡áÅеÑÇ¡ÅÒ§¢Í§áʧ ัดดแปลงจาก : หนังสือ ุจดประกายความคิด ชุด ูรวิทย คิดเ ปน กิจกรรม ทาทายการ ิคด ้ัขน ูสง แบงกลุม แลวชวย ักนออกแบบและสรางกลองกันกระแทก
2) หากนนท์ ่ัชง ้�นาห ันกของตนเองบนโลกไ ้ด 60 นิวตัน เ ืม่อไปอ ู่ยบนดวงจันทร์ เ ่พือ ปองกันความเ ีสยหายของสิ่ง ตาง ๆ หากตกห ืรอห ลนจาก ีท่ ูสง
ันก ิบนอวกาศบนดวงจันท ร นน ์ทจะมี �้นาห ันกเ ่ทาไร โดยกําหนดใ ห ใช ัวสดุเห ืลอใ ช 2-3 ชนิด จาก ้ันนนําเสนอแนวคิด 26
และทดสอบผลงาน แ ลวป ัรบป ุรง เ ืพ่อนําไป ัจดแสดง
4. อ่ำน ้ขอ ูมลที่ก�ำหนด แ ้ลวตอบ �คำถำม มวลของดวง ัจนทรนอยกวามวลของโลกมาก แรงโนมถวงบนดวง ัจนทรึจงนอยกวาบนโลก ึถง 6 เทา ดัง ้ันนันก ิบนอวกาศจะ ีม ้นําหนักบนดวง ัจนทรลดลง 6 เทา ํทาใ หเค ่ืลอนไหวรางกายและเค ่ลือน ีท่ไดสะดวก ในทางกลับ ักนบนดาวพฤหัสบ ีด ึซ่งเปนดาวเคราะหีท่ ใหญ ีท่ ุสดในระบบสุ ิรยะ ีมแรงดึงดูดมากกวาโลกถึง 2.5 เทา หากนัก ิบนอวกาศ ืยนอ ยูบนดาวพฤหัสบ ีด ้นําหนักจะเ ิพ่มมากขึ้น จึง ํทาใหแมแตการเ ิดนก็ทําไดยาก ํลาบาก 3) หากนน ์ทไป ั่ชง ้�นาหนักบนดาวพฤหัสบดี นน ์ทจะมีน้�าหนักเ ่ทาไร จงแสดงวิธีคิด ิกÊจÃŒกÒร§รÊมÃ䏼ŧҹ ใน ัวน ิวชาการของโรงเ ีรยน หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา

ÊÃ»Ø ÊÒÃÐÊÒí ¤ÑÞ 2»ÃШÒí ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

เคร่ืองชั่งสปเรคิงแร่ือบงบชแั่งขสวปนริงแบบต้ัง

ไปมาในอากาศ มวลของวัตถุ
ทําให้ ่สิง ่ตาง ๆ ไ ่มลอย ปนัจ้ํจาหัยนทัก่ีมขีผอลงตว่อัตถุ ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของโลก

เค ่รือง ืมอ ีท่ใช้ ัวด ผคู้ น้ พบ เซอร์ ไอแซก นิวตัน
ประโยชน์และข้อจํากัด ลกั ษณะ
มีทิศทางพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลางของโลก
ทาํ ใหย้ กส่งิ ของทม่ี นี ้าํ หนั แรขงอโงนโม้ ลถก่วง ดงึ ดดู ใหว้ ตั ถตุ กลงสพู่ ้นื โลก

เปน็ แรงไมส่ มั ผสั

กมากไดย้ าก

ใส เดวิันตทถุทางี่ยผอ่ามนใไห้แ
สงด้ทั้งหมดตวั กลางของแสงัตวกลางโป ่รง
เชน่ กระจกใส
วตั ถทุ ไี่ มเ่ ปน็ ตวั กลางของแสง วตั

วตั ถทุ บึ แสง วตั ถุ

เชน่ กลอ่ งลงั
ทเี่ ปน็ ตวั กลางของแสง น้าํ แกว้ ใส

ตวั กลางโปรง่ แสง

วตั แถสทุ ง่ีไเมดย่ นิ อทมาใงผ่ านไ ้ห ้ด ถทุ ยี่ อมใหแ้ สงเดนิ ทางผา่ นไดบ้ างสว่ น
เชน่ หมอก กระดาษไข ควนั
หนงั สอื แผน่ ไม้ หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

75

27

แผนการจดั การเรยี นรู หลกั สูตรตปรวั บัอยปา่รงงุ ’60

รายวชิ าพืน้ ฐาน

วทิ ยาศาสตร ป.4
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ัด กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

แผนการจดั การเรยี นรู้ ปรบั หปลรักงุ ส'6ูต0ร แผรายวิชาพื้นฐาน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
ʃ˺ʮ1ʏɿΥ ʊʘʐʘʒɽʋΰ ปเล.ม 41 ʃ˺ʮ ʏɿΥ นʊกʘาʐรʘจʒดั ɽกʋาΰ รเรเยลีปนม .ร4้2ูʚʍʉγ
M;S*LYO_EDW ;ETDI-V T@Yh;2T; รายวิชาพื้นฐานÐàÞéâ · ®­­¢ ¬%;T6=$ ¾± ¬ +U;I;M;T M; T ¬L;S =$M;T àê« ¬ET'T ±µ <T9 ¥OT+CW_=GDWg ;¦ ¬ @VC@ ± L W ¥ÀÊÖȦ

4 1$GCZ LT7ETRC$MTEG_S$EWDL;[7EE[ I`9V$D; T$-JGT;hSTL*=7$7TEE ET RJ C 8¤$XC,KCT<T7J<S%E;hS2$X=T@KE;;hYS<$T2=T=TEE;_9 *ZE WD@W g @;Z9Eª:J [`J_GªG$S R2E7 CT5IS-6- ®IhW0±6S ± )­ M;S*LYO_EWD;ETDIV-T@h;Y 2T; ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ปหรลับักปสรตู ุงร'60

I9V DTJTL7E =ª° _GC ® ʚʍʉγ 2 4 2$GC Z 7LTTCERM$GTS$EL_E7[ WDE;`E$I[ ;9V $DGTTJ*T$LT 7E-JE $Xh;S7 K T¤=,CT%E<ChS;RT<S @78=EYh;CE22TS<JT;;=X$$ ET@KZ*EZ9 _TE@:=WDJª;J$S 9EEªW g[ ` T2G-R5 ®7_6±ISG±0-­C hIW )6S

48 .- 6Eª_@f‰@$S 7E 6Eª@GOD9ETD

6Eª_@‰f @$S 7E B [JVG=
6Eª@GOD9ETD aOPTC T 6Eª_@f‰@S$7E B[ JVG=
6Eª@GOD9ETD aOPTC T
วทิ ยาศาสตร์ 48.-
2560 วทิ ยาศาสตร64์ .-ตกาตลมามุ มมสาหาตลรรกัะฐกสาตูานรรกเแรากียรนนเรกรียูวลนทิารงยแูกาลาศะราตศสวัึกตชษรว้ี าดั ข(นั้ฉพบ้ืนบั ฐปานรบั พปุทรธุงศักพร.าศช. 2551 )
2560ตกาตลมาุมหมสลมาัการสตะตู กรรฐาแารกนเรนกียกานรลรเาูวรงทิียกนยาารรูแศศลาึกะสษตตาัวรขช ัน้ ้วี (พัดฉ้นื บฐับานปรพับุทปธรศุงักรพาช.ศ2.551
)

28







หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วธิ สี อน/วธิ ีการจดั ทักษะท่ีได้ การประเมิน เวลา
2. แรงโน้มถว่ งของโลกและ แผนที่ 2 การหาน้าหนักของ กิจกรรมการเรียนรู้ - ทักษะการสังเกต - ตรวจการทากิจกรรมในสมดุ หรอื (ชวั่ โมง)
แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทกั ษะการต้งั สมมติฐาน แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์
ตัวกลางของแสง (ตอ่ ) วตั ถุ (5Es Instructional Model) - ทักษะการทดสอบสมมติฐาน - การนาเสนอผลการทากจิ กรรม 3
- ทักษะการสรปุ อา้ งอิง - สังเกตพฤติกรรมการทางาน 3
แผนที่ 3 มวลกับ แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทกั ษะการเปรียบเทยี บ รายบคุ คล 3
การเปล่ยี นแปลง (5Es Instructional Model) - สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่
การเคลอ่ื นทีข่ องวัตถุ - ทกั ษะการสังเกต - สังเกตคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
- ทักษะการตั้งสมมติฐาน
32 - ทักษะการทดสอบสมมติฐาน - ตรวจการทากิจกรรมในสมดุ หรือ
- ทกั ษะการสรุปอ้างองิ แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
แผนท่ี 4 ตวั กลางของแสงและ แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทกั ษะการเปรียบเทียบ - การนาเสนอชนิ้ งาน/ผลงาน
วตั ถทุ บึ แสง (5Es Instructional Model) - ทักษะการเชอื่ มโยง - ตรวจช้นิ งาน/ผลงาน
(กลอ่ งกันกระแทก)
- ทกั ษะการสงั เกต - สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน
- ทกั ษะการต้งั สมมติฐาน รายบคุ คล
- ทักษะการทดสอบสมมติฐาน - สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่
- ทกั ษะการสารวจคน้ หา - สงั เกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- ทักษะการจาแนกประเภท - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น
- ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู - ตรวจการทากจิ กรรมในสมุดหรือ
แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
- การนาเสนอช้ินงาน/ผลงาน
- ตรวจช้ินงาน/ผลงาน
(สมุดภาพการจาแนกวตั ถุ)
- สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน
รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
- สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

โครงสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 2

เวลา 40 ช่ัวโมง

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วิธีการจดั ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมนิ เวลา
3. วสั ดุและสสาร แผนท่ี 1 ประเภทของวสั ดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ทักษะการสงั เกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น (ชวั่ โมง)
แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทกั ษะการสารวจ - ตรวจการทากจิ กรรมในสมดุ หรอื
(5Es Instructional Model) - ทกั ษะการจาแนกประเภท แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ 2
- ทักษะการใหเ้ หตผุ ล - การนาเสนอผลการทากิจกรรม 3
แผนท่ี 2 ความแข็งของวสั ดุ แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทกั ษะการสรปุ อา้ งอิง - ตรวจแผนภาพประเภทของวัสดุ 3
(5Es Instructional Model) - การนาเสนอช้ินงาน/ผลงาน
33 - ทกั ษะการสังเกต - สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน
- ทกั ษะการสารวจ รายบคุ คล
แผนท่ี 3 สภาพยืดหยนุ่ ของวสั ดุ แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะการสารวจคน้ หา - สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ
(5Es Instructional Model) - ทักษะการตัง้ สมมติฐาน - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
- ทกั ษะการทดสอบสมมติฐาน - ตรวจการทากจิ กรรมในสมุดหรอื
- ทักษะการสรปุ อา้ งอิง แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์
- ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ - การนาเสนอผลการทากจิ กรรม
ประโยชน์ - สงั เกตพฤติกรรมการทางาน
- ทกั ษะการสงั เกต รายบุคคล
- ทักษะการสารวจค้นหา - สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม
- ทกั ษะการตั้งสมมติฐาน - สังเกตคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
- ทกั ษะการทดสอบสมมติฐาน - ตรวจการทากิจกรรมในสมุดหรอื
- ทักษะการสรปุ อ้างองิ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
- ทักษะการนาความรไู้ ปใช้ - การนาเสนอผลการทากิจกรรม
ประโยชน์ - สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
- สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ วธิ ีสอน/วธิ กี ารจัด ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมิน เวลา
3. วัสดแุ ละสสาร (ตอ่ ) แผนท่ี 4 การนาความรอ้ นของ กจิ กรรมการเรียนรู้ - ทกั ษะการสังเกต - ตรวจการทากิจกรรมในสมดุ หรอื (ชว่ั โมง)
แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทกั ษะการสารวจคน้ หา แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์
วัสดุ (5Es Instructional Model) - ทกั ษะการตั้งสมมตฐิ าน - การนาเสนอผลการทากิจกรรม 3
- ทักษะการทดสอบสมมติฐาน - ตรวจใบความรกู้ ารใช้ประโยชนจ์ าก 4
แผนที่ 5 การนาไฟฟ้าของวัสดุ แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทกั ษะการสรปุ อ้างองิ สมบัติด้านการนาความร้อนของวัสดุ
(5Es Instructional Model) - ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ - การนาเสนอช้นิ งาน/ผลงาน 2
ประโยชน์ - สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 4
34 - ทักษะการสังเกต - สงั เกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
- ทักษะการสารวจค้นหา - ตรวจการทากจิ กรรมในสมุดหรอื
แผนที่ 6 สถานะของสสาร แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทกั ษะการตั้งสมมติฐาน แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
(5Es Instructional Model) - ทักษะการทดสอบสมมตฐิ าน - การนาเสนอผลการทากจิ กรรม
- ทักษะการสรปุ อ้างองิ - ตรวจแผ่นพับการใชป้ ระโยชนจ์ าก
แผนที่ 7 สมบตั ิของของแขง็ แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ สมบตั ิดา้ นการนาไฟฟา้ ของวสั ดุ
(5Es Instructional Model) ประโยชน์ - ตรวจชนิ้ งาน/ผลงาน
(ประดิษฐส์ ่ิงของจากสมบตั ขิ องวสั ดุ)
- ทักษะการสงั เกต - การนาเสนอช้ินงาน/ผลงาน
- ทกั ษะการตง้ั สมมติฐาน - สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน
- ทกั ษะการสารวจค้นหา รายบุคคล
- ทักษะการสรปุ อา้ งองิ - สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
- ทักษะการระบุ - สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
- ทักษะการสงั เกต - ตรวจการทากิจกรรมในสมุดหรอื
- ทกั ษะการตงั้ สมมตฐิ าน แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
- ทกั ษะการสารวจคน้ หา - การนาเสนอผลการทากิจกรรม
- ทักษะการสรุปอา้ งอิง - สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน
รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
- ตรวจการทากิจกรรมในสมดุ หรอื
แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
- การนาเสนอผลการทากจิ กรรม
- สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วธิ สี อน/วธิ กี ารจัด ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมิน เวลา
3. วสั ดแุ ละสสาร (ตอ่ ) แผนท่ี 7 สมบตั ิของของแขง็ (ต่อ) กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ทักษะการระบุ - สงั เกตพฤติกรรมการทางาน (ชว่ั โมง)
รายบคุ คล
แผนที่ 8 สมบตั ิของของเหลว แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทกั ษะการสงั เกต - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 3
(5Es Instructional Model) - ทกั ษะการตงั้ สมมตฐิ าน - ตรวจการทากิจกรรมในสมุดหรอื 4
- ทกั ษะการสารวจค้นหา แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์
แผนที่ 9 สมบัตขิ องแก๊ส แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะการสรปุ อา้ งอิง - การนาเสนอผลการทากิจกรรม 3
(5Es Instructional Model) - ทักษะการระบุ - สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
- ทกั ษะการสงั เกต - สังเกตคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
- ทกั ษะการต้ังสมมติฐาน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น
- ทักษะการสารวจค้นหา - ตรวจการทากิจกรรมในสมดุ หรอื
- ทกั ษะการสรปุ อ้างองิ แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
- ทกั ษะการระบุ - การนาเสนอผลการทากจิ กรรม
- ตรวจช้ินงาน/ผลงาน
35 (สมดุ ภาพจาแนกสถานะของสสาร)
- การนาเสนอช้ินงาน/ผลงาน
4. ระบบสรุ ิยะและการปรากฏ แผนท่ี 1 องคป์ ระกอบของ แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะการสงั เกต - สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน
ของดวงจนั ทร์ ระบบสรุ ิยะ (5Es Instructional Model) - ทกั ษะการตงั้ สมมติฐาน รายบคุ คล
- ทกั ษะการสารวจคน้ หา - สังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ
- ทกั ษะการสรุปอา้ งองิ - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
- ทกั ษะการสรปุ อ้างองิ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
- ทกั ษะการระบุ - ตรวจการทากจิ กรรมในสมดุ หรอื
แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
- การนาเสนอผลการทากิจกรรม
- สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม
- สงั เกตคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
- การนาเสนอผลการทากิจกรรม
- สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่
- สังเกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ วธิ สี อน/วิธีการจดั ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา
4. ระบบสรุ ิยะและการปรากฏ แผนท่ี 2 แบบจาลองระบบ กิจกรรมการเรียนรู้ - ทักษะการสงั เกต (ชวั่ โมง)
แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทักษะการตั้งสมมติฐาน - ตรวจการทากจิ กรรมในสมดุ หรือ
ของดวงจันทร์ (ตอ่ ) สุรยิ ะ (5Es Instructional Model) - ทักษะการสรปุ อ้างอิง แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ 3
- ทกั ษะการระบุ - การนาเสนอผลการทากจิ กรรม
แผนท่ี 3 การข้นึ และตกของ แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทกั ษะการเปรยี บเทียบ - ตรวจแผนภาพจาลองระบบสรุ ยิ ะ 3
ดวงจนั ทร์ (5Es Instructional Model) - ทกั ษะการสารวจคน้ หา - การนาเสนอชิ้นงาน/ผลงาน 3
- ทักษะการสงั เกต - สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
แผนที่ 4 การเปลยี่ นแปลงรปู รา่ ง แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะการตง้ั สมมตฐิ าน - สังเกตคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ของดวงจนั ทร์ (5Es Instructional Model) - ทักษะการสารวจคน้ หา - ตรวจการทากจิ กรรมในสมดุ หรือ
36 - ทักษะการสรปุ อา้ งองิ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
- ทกั ษะการให้เหตผุ ล - การนาเสนอผลการทากิจกรรม
- ทกั ษะการสังเกต - สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่
- ทกั ษะการตัง้ สมมติฐาน - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
- ทกั ษะการสารวจ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
- ทักษะการสรปุ อา้ งอิง - ตรวจการทากจิ กรรมในสมดุ หรือ
- ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
- การนาเสนอผลการทากจิ กรรม
- ตรวจช้ินงาน/ผลงาน
(แบบจาลองการเปลย่ี นแปลงรูปรา่ ง
ของดวงจันทร์)
- การนาเสนอช้นิ งาน/ผลงาน
- สงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ
- สงั เกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2
แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตัวกลางของแสง

เวลา 13 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ัด

ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ
รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ว 2.2 ป.4/1 ระบุผลของแรงโนม้ ถ่วงทมี่ ตี อ่ วัตถจุ ากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
ป.4/2 ใชเ้ ครือ่ งชงั่ สปรงิ ในการวดั น้าหนักของวัตถุ
ป.4/3 บรรยายมวลของวัตถุทม่ี ผี ลต่อการเปล่ยี นแปลงการเคลอื่ นที่ของวัตถจุ ากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์

ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน
พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้ง
นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
ว 2.3 ป.4/1 จาแนกวตั ถเุ ป็นตวั กลางโปร่งใส ตัวกลางโปรง่ แสง และวตั ถุทึบแสง โดยใชล้ กั ษณะการมองเห็นสงิ่ ตา่ ง ๆ
ผา่ นวัตถุนั้นเปน็ เกณฑ์จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์

2. สาระการเรียนรู้

2.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
1) แรงโนม้ ถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดดู ท่ีโลกกระทาต่อวัตถุต่าง ๆ บนโลก มีทิศทางเข้าสู่จุดศูนย์กลางของโลก จึงมีผลทาให้
วตั ถตุ กลงส่พู ืน้ โลกเสมอ
2) แรงโนม้ ถว่ งของโลกทาใหว้ ัตถมุ นี า้ หนัก โดยวดั นา้ หนกั ของวตั ถไุ ดจ้ ากเครอ่ื งชั่งสปรงิ
3) มวลของวตั ถุ คอื ปริมาณเนอ้ื ของสารทง้ั หมดท่ปี ระกอบกนั เป็นวตั ถุ ซึ่งมีผลต่อการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุ
4) เมอ่ื นาวัตถุต่างชนิดกันมากนั้ แสงจะทาให้มองเหน็ ส่งิ ตา่ ง ๆ ผ่านวัตถุนนั้ ไดต้ ่างกนั จึงจาแนกวัตถุได้เป็นตัวกลางโปร่งใส
ตัวกลางโปรง่ แสง และวัตถทุ ึบแสง

2.2 สาระการเรียนรูท้ ้องถิ่น
(พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

3. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดที่โลกกระทาต่อมวลของวัตถุทุกชนิดท่ีอยู่บนโลกและที่อยู่ใกล้โลก ซึ่งเป็นแรงไม่สัมผัส
และมีทศิ ทางเข้าสู่จุดศนู ย์กลางของโลก ทาให้วตั ถุมีน้าหนักและตกลงสู่พื้นโลกเสมอ ซึ่งเราสามารถวัดน้าหนักของวัตถุได้โดยใช้
เครือ่ งช่ังสปรงิ

มวลของวัตถุ คือ ปริมาณเนอื้ ของสารท้งั หมดทป่ี ระกอบกันเปน็ วัตถุ ซึ่งมีผลตอ่ การเปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุ
ท่ีมีมวลมากจะเปลีย่ นแปลงการเคลือ่ นท่ีหรอื เคลือ่ นยา้ ยได้ยากกว่าวตั ถทุ ี่มีมวลนอ้ ย

เมือ่ มองสิ่งต่าง ๆ โดยมวี ัตถุตา่ งชนดิ กันมากัน้ แสง จะทาให้มองเหน็ สิง่ นั้น ๆ ชัดเจนแตกต่างกันไป จึงจาแนกวัตถุที่ก้ันแสง
ได้เปน็ ตวั กลางโปร่งใส ตวั กลางโปร่งแสง และวัตถทุ บึ แสง

4. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ยั
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้
1) ทกั ษะการสงั เกต 3. มุ่งม่ันในการทางาน
2) ทกั ษะการจาแนกประเภท

37

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
3) ทกั ษะการจาแนกประเภท
4) ทกั ษะการสารวจค้นหา
5) ทักษะการระบุ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

1) ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
2) ช้ินงานกล่องกันกระแทก
3) ชิ้นงานสมุดภาพจาแนกวตั ถโุ ปร่งใส วัตถุโปร่งแสง และวัตถทุ บึ แสง

6. การวัดและการประเมนิ ผล วิธีวดั เครื่องมอื
รายการวัด - แบบประเมนิ ช้ินงาน/ เกณฑ์การประเมิน
6.1 การประเมนิ ชนิ้ งาน/ - ตรวจผลงานกลอ่ งกัน - ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ภาระงาน (รวบยอด) กระแทก ภาระงาน - ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจผลงานสมุดภาพ - แบบประเมินชิน้ งาน/ - ประเมินตามสภาพจริง
จาแนกวัตถุ
ภาระงาน - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
6.2 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น
- แบบทดสอบก่อน ก่อนเรยี น - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
เรียน หนว่ ยการ - สมุดประจาตัว หรือ - ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
เรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ แบบฝกึ หัด - ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ถ่วงของโลกและ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 - ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ตวั กลางของแสง เลม่ 1
6.3 ประเมนิ ระหวา่ ง
การจดั กิจกรรม - ใบงานท่ี 2.1
การเรียนรู้ - แบบประเมนิ การ
1) บันทกึ ผลการทา - ตรวจสมุดประจาตัว นาเสนอผลงาน
กจิ กรรม หรอื แบบฝึกหดั - แบบสงั เกตพฤติกรรม
วทิ ยาศาสตร์ ป.4 การทางานรายบุคคล
เล่ม 1 - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
2) ระบผุ ลของแรงโน้ม - ตรวจใบงานที่ 2.1 การทางานกลุ่ม
ถว่ งของโลก
3) การนาเสนอผลงาน/ - ประเมินการนาเสนอ
ผลการทากจิ กรรม ผลงาน/ผลการทา
กิจกรรม
4) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม
การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล
5) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม
การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม

38

รายการวดั วิธวี ดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
6) คุณลกั ษณะ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมนั่ คุณลักษณะ
ในการทางาน อนั พงึ ประสงค์
6.4 การประเมนิ หลังเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรยี น - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- แบบทดสอบหลงั หลงั เรยี น
เรยี น หน่วยการ
เรียนรู้ท่ี 2 แรงโน้ม
ถว่ งของโลกและ
ตัวกลางของแสง

7. กจิ กรรมการเรียนรู้ เวลา 4 ชว่ั โมง
 แผนฯ ที่ 1 : ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก เวลา 3 ชว่ั โมง
เวลา 3 ชั่วโมง
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es) เวลา 3 ชั่วโมง

 แผนฯ ท่ี 2 : การหาน้าหนกั ของวตั ถุ (รวมเวลา 13 ชว่ั โมง)

แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es)

 แผนฯ ท่ี 3 : มวลกบั การเปลี่ยนแปลงการเคลือ่ นท่ขี องวัตถุ

แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es)

 แผนฯ ที่ 4 : ตวั กลางของแสงและวตั ถทุ บึ แสง

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es)

8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้

8.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนงั สือเรยี น วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
3) หนงั สอื จุดประกายคิด ชุด รวู้ ทิ ย์ คิดเปน็ เร่ืองแรงโนม้ ถ่วงของโลก
4) วสั ดุ-อุปกรณท์ ใี่ ช้ในกจิ กรรม เรอื่ ง ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
5) วสั ดุ-อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นกิจกรรม เรอื่ ง แรงดงึ ดดู ของโลกกบั น้าหนักของวัตถุ
6) วัสดุ-อุปกรณ์ท่ใี ช้ในกจิ กรรม เร่อื ง มวลของวัตถุกับการเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนท่ี
7) วัสดุ-อุปกรณท์ ีใ่ ช้ในกิจกรรม เรือ่ ง ตวั กลางของแสง
8) ใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
9) PowerPoint เรอื่ ง แรงโนม้ ถว่ งของโลก
10) PowerPoint เรอ่ื ง ตวั กลางของแสง
11) QR Code เร่อื ง แรงโน้มถ่วงของโลก
12) QR Code เร่ือง ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อนา้ หนักของวตั ถุ
13) บัตรภาพการเคลือ่ นย้ายวตั ถตุ ่าง ๆ
14) บตั รภาพใบไม้ร่วง
15) บัตรภาพวตั ถตุ า่ ง ๆ

8.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องเรยี น
2) อินเทอรเ์ นต็

39

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2

คาชี้แจง : ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. ถา้ โลกไม่มีแรงดงึ ดดู ผลจะเปน็ อยา่ งไร 6. ส่ิงใดของวตั ถุท่ีมีผลต่อการเคล่อื นท่ีในแนวดิง่ ของวัตถุ
ก. นา้ หนักตัวของเราจะเพิ่มข้ึน ก. สีของวัตถุ
ข. คนจะปีนขึ้นไปบนท่ีสงู ไม่ได้ ข. ชนดิ ของวัตถุ
ค. วัตถุทุกชนดิ จะมีนา้ หนักเทา่ กนั ค. นา้ หนักของวัตถุ
ง. วตั ถุทกุ ชนดิ จะลอยอยู่ในอากาศ ง. ความแข็งของวตั ถุ

2. เพราะเหตใุ ด เม่อื เดนิ ลงจากภเู ขา เราจงึ ไม่รู้สึก 7. วัตถตุ า่ ง ๆ มนี า้ หนกั มากหรอื นอ้ ยข้นึ อยู่กับสง่ิ ใด
เหน่อื ย ก. สขี องวตั ถุ
ก. เพราะมลี มพัดอยูต่ ลอดเวลา ข. มวลของวตั ถุ
ข. เพราะมอี ากาศชว่ ยพยุงตวั เราอยู่ ค. พนื้ ผิวของวตั ถุ
ค. เพราะรองเท้าช่วยให้เราไถลไปตามพืน้ ได้ ง. ความแข็งของวัตถุ
ง. เพราะทิศทางการเดินลงภูเขาเป็นทิศทาง
เดียวกับแรงดงึ ดดู ของโลก 8. หมอก เปน็ ตัวกลางชนดิ ใด
ก. ตวั กลางโปร่งแสง
3. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ ผลจากแรงดงึ ดูดของโลก ข. ตวั กลางโปร่งใส
ก. ใบพัดของกงั หนั ลมหมนุ ค. วตั ถุทึบแสง
ข. น้าตกไหลลงสู่แอง่ น้า ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ค. รถว่งิ ลงภเู ขาอย่างรวดเร็ว
ง. ใบไม้รว่ งจากต้นไม้ลงสู่พ้นื โลก 9. ขอ้ ใดเปน็ การใช้ประโยชนจ์ ากตวั กลางโปรง่ แสง
ก. ใช้กระจกใสทาตู้ปลา
4. เซอร์ ไอแซก นิวตนั เกีย่ วข้องกบั ข้อใด ข. ใชแ้ ผ่นไม้กัน้ ผนงั ห้อง
ก. ทฤษฎพี ที าโกรสั ค. ใช้กระดาษสหี อ่ ของขวัญ
ข. ทฤษฎีแรงโนม้ ถว่ ง ง. ใช้กระดาษไขลอกลายภาพวาด
ค. ทฤษฎสี ัมพนั ธภาพ
ง. ทฤษฎีแรงเสียดทาน 10. วัตถทุ ึบแสง มลี ักษณะอย่างไร
ก. วัตถทุ ไ่ี มย่ อมให้แสงผ่านไดเ้ ลย
5. เครื่องมือชนิดใดทีใ่ ช้หลกั ของแรงดึงดูดของโลก ข. วตั ถุทีย่ อมใหแ้ สงผ่านไดบ้ างสว่ น
ก. คอ้ น ค. วตั ถทุ ่ยี อมให้แสงผา่ นไดม้ ากท่ีสดุ
ข. เล่ือย ง. ข้อ ก. ข. และ ค. ถูก
ค. สวา่ น
ง. เครอื่ งชง่ั

เฉลย 1. ง 2. ง 3. ก 4. ข 5. ง 6. ค 7. ข 8. ก 9. ง 10. ก

40

แบบทดสอบหลงั เรียน

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2

คาช้แี จง : ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ขอ้ ใดเปน็ การใช้ประโยชนจ์ ากตัวกลางโปรง่ แสง 6. เคร่อื งมือชนิดใดท่ใี ชห้ ลักของแรงดึงดดู ของโลก
ก. ใชก้ ระจกใสทาตู้ปลา ก. ค้อน
ข. ใช้แผ่นไมก้ ัน้ ผนังหอ้ ง ข. เล่ือย
ค. ใชก้ ระดาษสีหอ่ ของขวัญ ค. สวา่ น
ง. ใชก้ ระดาษไขลอกลายภาพวาด ง. เครอ่ื งช่ัง

2. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ผลจากแรงดึงดูดของโลก 7. เซอร์ ไอแซก นวิ ตัน เกย่ี วข้องกบั ข้อใด
ก. ใบพัดของกงั หนั ลมหมนุ ก. ทฤษฎพี ีทาโกรัส
ข. นา้ ตกไหลลงสูแ่ อ่งนา้ ข. ทฤษฎแี รงโนม้ ถ่วง
ค. รถวิง่ ลงภเู ขาอยา่ งรวดเรว็ ค. ทฤษฎสี ัมพันธภาพ
ง. ใบไมร้ ่วงจากตน้ ไมล้ งสพู่ น้ื โลก ง. ทฤษฎแี รงเสยี ดทาน

3. วตั ถทุ ึบแสง มลี กั ษณะอย่างไร 8. สิง่ ใดของวตั ถุที่มผี ลตอ่ การเคล่อื นทใ่ี นแนวดิง่ ของ
ก. วตั ถุทไี่ ม่ยอมให้แสงผา่ นได้เลย วตั ถุ
ข. วตั ถทุ ่ยี อมใหแ้ สงผา่ นไดบ้ างส่วน ก. สีของวตั ถุ
ค. วัตถทุ ี่ยอมใหแ้ สงผ่านไดม้ ากที่สุด ข. ชนดิ ของวัตถุ
ง. ข้อ ก. ข. และ ค. ถูก ค. น้าหนกั ของวัตถุ
ง. ความแข็งของวัตถุ
4. วตั ถุต่างๆ มนี ้าหนกั มากหรือนอ้ ยขึ้นอยู่กับส่ิงใด
ก. สขี องวตั ถุ 9. ถ้าโลกไมม่ ีแรงดงึ ดูด ผลจะเปน็ อยา่ งไร
ข. มวลของวตั ถุ ก. น้าหนกั ตวั ของเราจะเพ่ิมขน้ึ
ค. พน้ื ผวิ ของวัตถุ ข. คนจะปนี ขน้ึ ไปบนท่สี ูงไม่ได้
ง. ความแขง็ ของวัตถุ ค. วตั ถทุ กุ ชนดิ จะมีน้าหนักเทา่ กนั
ง. วตั ถุทุกชนิดจะลอยอยู่ในอากาศ
5. หมอก เปน็ ตวั กลางชนิดใด
ก. ตวั กลางโปรง่ แสง 10. เพราะเหตุใด เม่ือเดินลงจากภูเขา เราจึงไม่รู้สึก
ข. ตัวกลางโปร่งใส เหนอื่ ย
ค. วตั ถุทบึ แสง ก. เพราะมีลมพดั อยู่ตลอดเวลา
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก ข. เพราะมอี ากาศชว่ ยพยุงตัวเราอยู่
ค. เพราะรองเทา้ ช่วยใหเ้ ราไถลไปตามพนื้ ได้
ง. เพราะทิศทางการเดินลงภูเขาเป็นทศิ ทาง
เดียวกบั แรงดงึ ดดู ของโลก

เฉลย 1. ง 2. ก 3. ก 4. ข 5. ก 6. ง 7. ข 8. ค 9. ง 10. ง

41

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและ
ตัวกลางของแสง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เวลา 4 ชวั่ โมง

ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก

1. มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด

ว 2.2 ป.4/1 ระบผุ ลของแรงโนม้ ถ่วงที่มีตอ่ วตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. สังเกตและระบผุ ลของแรงโนม้ ถว่ งที่มีต่อวัตถุได้ (K)
2. ปฏบิ ตั ิการทดลองเกยี่ วกบั ผลของแรงโน้มถ่วงทม่ี ีต่อวัตถุได้ครบทุกขน้ั ตอน (P)
3. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรยี นรู้ (A)

3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรูท้ ้องถน่ิ
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
แรงโน้มถ่วงของโลกมีทิศทางเขา้ สู่จดุ ศูนย์กลาง
ของโลก มีผลทาให้วตั ถุตกลงสู่พื้นโลกเสมอ

4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดที่โลกกระทาต่อมวลของวัตถุทุกชนิดที่อยู่บนโลกและที่อยู่ใกล้โลก ซ่ึงเป็นแรงไม่สัมผัส
และมีทศิ ทางเขา้ สู่จุดศูนยก์ ลางของโลก แรงโน้มถ่วงของโลกทาให้วตั ถุตา่ ง ๆ บนโลกมีนา้ หนักและตกลงสูพ่ น้ื โลกเสมอ

5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี นิ ัย
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้
1) ทักษะการสงั เกต 3. มุ่งม่ันในการทางาน
2) ทักษะการสรุปอา้ งองิ
3) ทกั ษะการระบุ
4) ทกั ษะการให้เหตุผล
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

42

6. กิจกรรมการเรยี นรู้

 แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es)

ชว่ั โมงท่ี 1

ขนั้ นา

ข้นั กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูสนทนากับนักเรียนโดยถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่า วันน้ีจะได้เรียนรู้เก่ียวกับเร่ืองอะไร แล้วให้นักเรียน
ชว่ ยกันตอบคาถาม จากน้นั ครแู จ้งชือ่ เรอ่ื งท่จี ะเรียนรู้ และผลการเรยี นรใู้ ห้นักเรียนทราบ
2. ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพ่อื วัดความรู้เดมิ ของนกั เรยี นกอ่ นเข้าสู่กิจกรรม
3. ให้นักเรียนช่วยกันสังเกตภาพหน้าหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 52 แล้วให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันว่า ภาพนี้เกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลก
หรอื ไม่ อยา่ งไร โดยครูคอยเสรมิ ข้อมูลในส่วนทบี่ กพรอ่ ง
4. ให้นักเรียนเรียนรู้คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในบทท่ี 1 แรงโน้มถ่วงของโลก จากภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
หนา้ 53 โดยครูสุ่มเลือกตัวแทนหรือขออาสาสมัครนักเรียน 1 คน ออกมาหน้าช้ันเรียนเพื่อเป็นผู้อ่านนา และให้เพ่ือน
คนอืน่ ๆ อา่ นตาม ดงั น้ี

Gravitational Force (แกรฟวเิ ท’ชนั เนิล ฟอซ) แรงโน้มถ่วง
Mass (แมส) มวล
Weight (เวท) น้ำหนกั

(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
5. ครูถามคาถามสาคัญประจาบทจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 53 เพื่อกระตุ้นนักเรียนทุกคนก่อนเข้าสู่เน้ือหาว่า

แรงโนม้ ถ่วงของโลกมีผลตอ่ วตั ถุอย่างไร แลว้ ให้นักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็ อย่างอสิ ระในการตอบคาถาม
(แนวตอบ : แรงโน้มถ่วงของโลกทาใหว้ ตั ถุมีนาหนกั และตกลงสพู่ ืนโลกเสมอ)
6. ให้นักเรียนแต่ละคนสืบค้นกิจกรรมในชีวิตประจาวันท่ีเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลกจากหนังสือเรียนหรือส่ืออ่ืน ๆ
ที่ครูเตรียมไว้ให้ เช่น หนงั สอื จดุ ประกายคิด ชดุ รู้วทิ ย์ คิดเป็น เร่ืองแรงโน้มถ่วงของโลก เป็นตน้
7. ให้นักเรยี นวาดภาพหรือตดิ ภาพเก่ยี วกบั กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลก 2-3 กิจกรรม ลงในสมุดประจาตัว
หรอื ใหน้ ักเรียนทากจิ กรรมนาสู่การเรียนในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 54

ขนั้ สอน

ขน้ั สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลและดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 54 จากน้ันครูให้นักเรียนตอบคาถามลงในสมุด
ดังน้ี
1) จากภาพตา่ งๆ ในหนังสือ เป็นเหตกุ ารณ์ใดบ้าง
(แนวตอบ : นาตก คนกระโดดร่ม กระจกหลน่ แตก คนเล่นกีฬา ฝนตก และใบไมร้ ่วง)
2) นักเรยี นคิดว่า วัตถุ สิ่งของ หรอื คนในภาพจะตกลงสู่พนื้ หรือไม่ เพราะอะไร
(แนวตอบ : ตกลงสู่พืน เพราะโลกมีแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัตถุต่าง ๆ จึงทาให้วัตถุ สิ่งของ หรือคนตกลงสู่
พืนเสมอ)
3) นักเรยี นคิดวา่ แรงโน้มถ่วงเกีย่ วขอ้ งกบั การใชช้ วี ิตประจาวนั ของนักเรยี นอย่างไรบ้าง
(แนวตอบ : เชน่ การยกส่ิงของทีม่ นี าหนักมาก ๆ ได้ยาก การทาสงิ่ ของหลน่ พืนจะเกดิ ความเสยี หาย เปน็ ตน้ )

43

2. ครูขออาสาสมัครหรือสุ่มเลือกนักเรียนจากเลขที่ 4-5 คน ให้ออกมาตอบคาถาม จากนั้นให้นักเรียนทุกคนช่วยกัน
อภิปรายคาตอบของเพือ่ น และสรปุ คาตอบทถี่ ูกต้องร่วมกนั โดยมีครูคอยตรวจสอบความถูกตอ้ ง

3. ครูให้คาชมเชยหรือมอบรางวัลให้ตัวแทนนักเรียนท่ีออกมาตอบคาถามได้ถูกต้อง เพื่อเป็นการเสริมแรงในการกล้า
แสดงออก และให้คาชมเชยนักเรียนทกุ คนท่ีชว่ ยกันอภปิ รายคาตอบจากคาถามทคี่ รูตัง้ ไว้

ชวั่ โมงที่ 2

ขั้นสารวจคน้ หา (Explore) (ต่อ)
4. ครูให้นักเรียนทุกคนดบู ัตรภาพใบไมร้ ว่ งจากตน้ หรือใหด้ ู PPT เรอ่ื ง แรงโนม้ ถ่วงของโลก (หน้าใบไม้กาลังร่วงจากต้นไม้)
จากนั้นถามคาถามเพื่อกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่า ใบไม้ในภาพจะหล่นลงสู่พื้นโลกหรือไม่ เพราะอะไร
และใหน้ กั เรยี นตอบคาถามโดยอิสระ ซง่ึ ครยู งั ไม่เฉลยคาตอบ
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
5. ครชู ้แี จงใหน้ ักเรียนฟังวา่ นกั เรยี นจะไดค้ าตอบจากการทากิจกรรมที่ 1 เรอื่ ง ผลของแรงโน้มถว่ ง
6. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแบบคละความสามารถ (เก่ง-ค่อนข้างเก่ง-ปานกลาง-อ่อน) ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน กลุ่มละ 3-4 คน
โดยครเู ปน็ ผู้เลือกนกั เรียนเขา้ กลุ่ม
7. ครูใช้วิธีการสอนแบบการทดลอง (Experiment) เข้ามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงนี้ โดยครูต้ังประเด็น
คาถามเพือ่ กาหนดปัญหาใหน้ กั เรยี นก่อนการทากิจกรรมว่า แรงโนม้ ถว่ งของโลกมีผลต่อวัตถุต่าง ๆ บนโลกอย่างไร แล้ว
ใหน้ ักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั ต้งั สมมติฐาน
8. ครูให้ความรู้ความเข้าใจนักเรียนก่อนทากิจกรรมว่า แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงไม่สัมผัส เพราะแรงดึงดูดของโลก
สามารถดงึ ดดู วัตถุต่าง ๆ บนโลกและทอ่ี ยใู่ กลโ้ ลกใหเ้ ขา้ หาจดุ ศนู ยก์ ลางของโลกไดโ้ ดยท่ีไม่ต้องสมั ผัส
9. ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการทากิจกรรมที่ 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 55 จากน้ันให้สมาชิกแต่ละกลุ่ม
ชว่ ยกันลงมือทากิจกรรม โดยสงั เกตวตั ถตุ ่าง ๆ ท่ีนามาใช้ในการทากิจกรรม แล้วคาดคะเนว่า เมื่อโยนวัตถุต่าง ๆ ข้ึนไป
ในอากาศ วตั ถุจะตกลงสู่พ้นื หรอื ไม่ แล้วบนั ทกึ ผลลงในสมุดประจาตัว หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 56
10. ให้สมาชิกทุกคนช่วยกันทากจิ กรรมเพ่อื ตรวจสอบผลการคาดคะเน ดังน้ี
1) ขยาแผ่นกระดาษใหเ้ ป็นกอ้ น แล้วโยนข้ึนไปในอากาศ
2) สังเกตการเคล่ือนที่ของก้อนกระดาษและบันทึกผล พร้อมวาดภาพการเคล่ือนท่ีลงในสมุดหรือแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หน้า 56
3) ทดลองซ้าโดยเปลี่ยนวัตถุเป็นใบไม้ ถุงพลาสตกิ และยางลบ ตามลาดับ สังเกตและบนั ทึกผล
11. ครูคอยสังเกตการทากิจกรรมของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด พร้อมกับคอยให้คาแนะนากับนักเรียนที่มีข้อสงสัย
ระหวา่ งการทากิจกรรม
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )

ชัว่ โมงที่ 3

ขน้ั อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครูใหน้ กั เรียนดูบัตรภาพใบไมร้ ว่ งจากต้นไม้อีกครั้ง (บัตรภาพจากต้นช่ัวโมงก่อน) จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า
เพราะเหตใุ ดใบไมจ้ งึ ร่วงลงส่พู น้ื โลก
2. ครจู บั สลากเลอื กลาดับของแตล่ ะกลมุ่ ให้ออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรม โดยให้นักเรยี นกลุ่มท่ีถูกเลือกเป็นอันดับแรก
สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการทดลองทีละกลุ่มจนครบ เพื่อตรวจสอบความรขู้ องนกั เรยี นหลังการทากจิ กรรมท่ี 1
3. ให้นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันอภิปรายผลการทาการทดลองจนได้ข้อสรุปว่า วัตถุทุกชนิดจะต้องตกลงสู่พืนโลกเสมอ
เพราะโลกมีแรงโนม้ ถว่ งทีก่ ระทาตอ่ วัตถุตา่ ง ๆ ทาให้วัตถุมีนาหนัก เม่ือโยนวัตถุขึนไปในอากาศหรือปล่อยวัตถุจากที่สูง
วัตถุจะตกลงสพู่ นื โลกเสมอ โดยให้ครคู อยเสนอแนะเพ่มิ เติมในส่วนทบ่ี กพร่อง

44

ขนั้ สรุป

ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ใหน้ ักเรียนศกึ ษาข้อมลู ลกั ษณะของแรงโนม้ ถ่วงของโลกจากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 56-57
2. ให้นักเรียนจับคู่กับเพ่ือนแล้วไปเรียนรู้ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลกเพ่ิมเติมจากสื่อดิจิทัลจากใน
หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ หนา้ 56 โดยใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถอื สแกน QR Code เรื่อง แรงโนม้ ถ่วงของโลก
3. ให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 56-57 และความรู้จากการสแกน
QR Code เรอ่ื ง แรงโนม้ ถ่วงของโลก มาอภิปรายเก่ียวกับลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก
ทม่ี ตี อ่ วตั ถุ และร่วมกันสรุปภายในชัน้ เรียน โดยให้ครคู อยอธบิ ายเสริมเพมิ่ เติม
4. ให้นกั เรียนช่วยกันตอบคาถามจากกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 1 ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 57 โดยให้ครูเป็นผู้
เฉลยและอธบิ ายเพ่ิมเตมิ จากเหตุผลท่ีนักเรียนช่วยกันตอบ
5. ครูแจกใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก ให้นักเรียนทุกคนนากลบั ไปทาเป็นการบ้านแล้วนามาส่งในชั่วโมง
เรียนถดั ไป

ชัว่ โมงท่ี 4
ขั้นขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ต่อ)

6. ครูสอบถามนักเรียนว่า แรงโน้มถ่วงของโลกมีประโยชน์หรือมีข้อจากัดในการใช้ชีวิตประจาวันของเราอย่างไรบ้าง
จากน้ันขออาสาสมัครนักเรียน 8 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 ทีม แล้วให้แต่ละทีมระดมความคิดและหาคาตอบเพื่อนาไป
เขียนบนกระดาน ดังน้ี
1) ทีมที่ 1 ให้ออกมาเขียนบนกระดานถึงประโยชนข์ องแรงโนม้ ถ่วงของโลก
2) ทีมท่ี 2 ใหอ้ อกมาเขยี นบนกระดานถึงข้อจากัดในการใช้ชีวติ ประจาวันจากแรงโนม้ ถว่ งของโลก

7. ครใู ห้นักเรยี นทเี่ หลือในหอ้ งชว่ ยกันตรวจสอบคาตอบบนกระดาน แล้วให้เสนอคาตอบเพ่มิ เติมได้
8. ครใู หค้ าชมหรือรางวลั กับทั้ง 2 ทีม และนักเรียนทเี่ สนอคาตอบเพิม่ เติม เพ่ือเสริมแรงในการเรียนรู้
9. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ อย่างอสิ ระวา่ เพราะเหตุใด เคร่ืองบินท่ีลอยอยู่บนท้องฟ้าจึงไม่ตกลงมาตามแรง

โนม้ ถว่ งของโลก
10. ให้นักเรยี นแตล่ ะคนทากิจกรรมหนตู อบได้จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 55 ลงในสมุดประจาตวั นักเรียนหรือทาใน

แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 57

ขน้ั ปร1ะ1เ.มนิ

ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูสุ่มนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากน้ันให้แต่ละคนอธิบายความรู้เกี่ยวกับผลของแรงโน้มถ่วงของโลกท่ีมีต่อวัตถุ
จากนน้ั ให้นกั เรยี นทงั้ หอ้ งสรปุ ความร้รู ว่ มกัน
2. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจกอ่ นเรยี นของนักเรยี น
3. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล การทางานกลุ่ม และจากการ
นาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชั้นเรยี น
4. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 1 เร่ือง ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 56
5. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก
6. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบได้ในสมุดประจาตัวนักเรยี นหรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 57

45

7. การวัดและประเมินผล
รายการวดั วธิ กี าร เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
7.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ประเมินตามสภาพจริง
- แบบทดสอบก่อน กอ่ นเรียน
เรยี น หนว่ ยการ
เรยี นรทู้ ่ี 2 แรงโน้ม-
ถ่วงของโลกและ
ตวั กลางของแสง
7.2 ประเมินระหว่าง
การจัดกจิ กรรม
การเรยี นรู้
1) ผลบันทึกการทา - ตรวจสมุดประจาตวั หรอื - สมดุ ประจาตัว หรือ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กจิ กรรมที่ 1 แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
ป.4 เลม่ 1 หน้า 56 ป.4 เลม่ 1 หน้า 56
2) ระบุผลของแรงโน้ม - ตรวจใบงานที่ 2.1 - ตรวจใบงานท่ี 2.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ถ่วงของโลก
3) กิจกรรมพัฒนาการ - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตวั - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เรียนร้ทู ่ี 1
4) กจิ กรรมหนูตอบได้ - ตรวจสมุดประจาตวั หรอื - สมดุ ประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ป.4 เล่ม 1 หน้า 57 ป.4 เล่ม 1 หนา้ 57
5) การนาเสนอผลการ - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมินการ - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทากจิ กรรม ผลการทากิจกรรม นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
6) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
7) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
8) คณุ ลักษณะ - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น
อันพงึ ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และม่งุ มนั่ คณุ ลักษณะ เกณฑ์
ในการทางาน อันพึงประสงค์
8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
8.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
3) วัสดุ-อุปกรณก์ ารทดลองในกิจกรรมที่ 1 เชน่ กระดาษ ยางลบ ใบไม้แห้ง ถงุ พลาสติก เปน็ ต้น
4) หนงั สือจดุ ประกายคิด ชุด ร้วู ิทย์ คดิ เป็น เร่ืองแรงโนม้ ถว่ งของโลก
5) ใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก
6) PowerPoint เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก
7) QR Code เรือ่ ง แรงโนม้ ถว่ งของโลก
8) บตั รภาพใบไมร้ ่วง
8.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งเรียน
2) หอ้ งสมุด

46

ใบงานที่ 2.1

เร่อื ง ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก
คาชี้แจง : ให้นักเรียนดูภาพแล้วบอกว่า เกยี่ วขอ้ งกบั แรงโน้มถ่วงของโลกอย่างไร

1. ภาพ
เกย่ี วข้องกับแรงโนม้ ถว่ งของโลกอย่างไร

2. ภาพ
เกีย่ วข้องกบั แรงโน้มถ่วงของโลกอย่างไร

3. ภาพ
เก่ียวข้องกับแรงโนม้ ถ่วงของโลกอย่างไร

47


Click to View FlipBook Version