The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลักเพื่อการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ส31102

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธนวรรธน์ พาสศรี, 2019-11-02 11:24:18

แผนหลักเพื่อการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ส31102

แผนหลักเพื่อการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ส31102

แผนหลักเพ่อื การจัดการเรียนรู้
รหสั วชิ า ส31102 รายวิชา สังคมศึกษา

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4

จัดทาโดย
นายจารญู บญุ ที ตาแหนง่ ครู
นางสาวพชั รี ทองทวี ตาแหน่ง ครู
นายธนวรรธน์ พาสศรี ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย

กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรยี นพทุ ไธสง อาเภอพุทไธสง จังหวัดบรุ รี มั ย์
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 32
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
28 ตุลาคม 2562

บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนพทุ ไธสง จังหวดั บุรีรมั ย์

ท่ี วก /2562 วนั ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2562

เร่อื ง ส่งแผนหลักเพื่อการจดั การเรียนรู้

เรียน ผู้อานวยการโรงเรยี นพทุ ไธสง

ตามที่โรงเรียนพุทไธสง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ได้มีนโยบายให้คณะครูและ
บุคลากรทางการศึกษาจัดทาแผนหลักเพอ่ื จัดการเรียนรู้ ใช้เป็นแนวทางในการกาหนดทิศทางการจัดการเรียนการ
สอนในรายวิชาท่ีรับผิดชอบ ดังน้ัน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายข้างต้น ข้าพเจ้าได้จัดทาแผนหลักเพื่อการจัดการ

เรยี นรใู้ นรายวชิ าสงั คมศึกษา (ส31102) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เรียบรอ้ ยแลว้ จึงขอส่งแผนหลกั เพ่ือการจดั การ
เรียนรู้เสนอต่อฝา่ ยบริหารรายละเอยี ดตามเอกสารนี้

จึงเรียนมาเพ่อื โปรดทราบ

ลงช่อื ................................................

(นายธนวรรธน์ พาสศรี)
ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย

ลงชอื่ ................................................
(นางสาวพชั รี ทองทวี)

ตาแหนง่ ครู
ลงช่ือ................................................

(นายจารูญ บญุ ที)

ตาแหนง่ ครู

ความเหน็ ของหัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ ความเหน็ ของรองผูอ้ านวยการฝ่ายบริหารวิชาการ
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………

(นายสุริยันต์ แสงมล) (นายชาญ สิว่ ไธสง)
รองผูอ้ านวยการฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ
หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม ............/..................../................

............/..................../................

ความเหน็ ของผอู้ านวยการโรงเรยี น

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(นายประชยั พรสง่ากลุ )
ผู้อานวยการโรงเรียนพทุ ไธสง
............/..................../................

จุดหมายหลกั สตู ร

------------------------------------------------
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ป็นคนดี มีปญั ญา มีความสขุ มศี กั ยภาพใน
การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จงึ กาหนดเปน็ จุดหมายเพื่อใหเ้ กิดกับ
ผเู้ รียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ดงั นี้
1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี งึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี นิ ัยและปฏิบตั ติ นตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชีวิต
3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี มีสุขนิสยั รักการออกกาลงั กาย
4. มคี วามรักชาติ มีจติ สานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวติ และการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ
5. มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย และการอนุรักษ์และพฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม
มีจติ สาธารณะทีม่ งุ่ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ทดี่ ีงามในสงั คม และอยู่ร่วมกันในสงั คมอย่างมีความสุข

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

------------------------------------------------
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มงุ่ พัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอ่ื ใหส้ ามารถอยู่
รว่ มกบั ผู้อื่นในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซือ่ สัตย์สุจริต
3. มวี ินยั
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทางาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ิตสาธารณะ

สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

------------------------------------------------
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ม่งุ พัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงการ
พฒั นาผู้เรยี นใหบ้ รรลมุ าตรฐานการเรยี นร้ทู ี่กาหนดน้นั จะช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการส่อื สาร (Communication Capacity) เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร
มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเองเพอื่ แลกเปลย่ี น
ขอ้ มูลขา่ วสารและประสบการณอ์ นั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพือ่ ขจัด
และลดปญั หาความขัดแย้งต่างๆ การเลอื กรบั หรือไมร่ บั ขอ้ มูลขา่ วสารนั้นดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถกู ตอ้ ง ตลอดจน
การเลอื กใช้วิธกี ารส่อื สารท่ีมีประสิทธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทมี่ ีตอ่ ตนและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด (Thinking Capacity) เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและการคดิ เปน็ ระบบ เพ่อื นาไปสกู่ ารสร้างองคค์ วามรูห้ รอื สารสนเทศเพอ่ื
การตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา (Problem – solving capacity) เป็นความสามารถในการแก้ปัญหา
และอปุ สรรคตา่ งๆ ทีเ่ ผชิญไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ตา่ งๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแกไ้ ขปัญหาและมกี ารตัดสนิ ใจ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขึ้น ต่อตนเอง สังคม
และส่ิงแวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ (Capacity for Applying Life skills) เปน็ ความสามารถในการนา
กระบวนการตา่ งๆไปใช้ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง การทางานและ
การอยู่ร่วมกันในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพนั ธอ์ ันดีระหว่างบคุ คล การจัดการปญั หาและความขดั แยง้ ต่างๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการร้จู กั หลกี เลยี่ งพฤติกรรม
ไม่พึงประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อื่น

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี (Capacity for Technological Application) เป็นความสามารถ
ในการเลอื กและใช้เทคโนโลยีดา้ นต่างๆและมีทกั ษะกระบวนการเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ น
การเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม

ทักษะและกระบวนการ

------------------------------------------------
ในการเรียนสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมนน้ั ผูเ้ รียนควรจะได้พฒั นากระบวนการตา่ งๆ จนเกิดทกั ษะและ
กระบวนการ ดังน้ี

• ทักษะการคิด เช่น การสรปุ ความคิด การแปลความ การวเิ คราะห์หลกั การและการนาไปใช้ ตลอดจนการคดิ
อย่างมวี จิ ารณญาณ

• ทักษะการแกป้ ัญหา ตามกระบวนการทางสงั คมศาสตร์ กระบวนการสืบสอบ เชน่ ความสามารถในการต้ัง
คาถามและการตง้ั สมมติฐานอย่างมรี ะบบ การรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมลู การทดสอบสมมตุ ิฐานและสรปุ เปน็
หลกั การ

• ทกั ษะการเรียนรู้ เชน่ ความสามารถในการแสวงหาข้อมลู ความร้โู ดยการอา่ น การฟงั และการสังเกต
ความสามารถในการสือ่ สารโดยการพดู การเขยี น และการนาเสนอ ความสามารถในการตีความ การสรา้ งแผนภูมิ
แผนที่ ตารางเวลา และการจดบันทึก รวมท้ังการใช้เทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นการ
แสวงหาความรู้

• ทักษะกระบวนการกล่มุ เช่น ความสามารถในการเปน็ ผนู้ าและผ้ตู ามในการทางานกลุ่ม มีส่วนรว่ มในการ
กาหนดเป้าหมายการทางานของกลมุ่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทตี่ ามที่ ได้รบั มอบหมายดว้ ยความรบั ผิดชอบ สร้างสรรคผ์ ลงาน
ช่วยลดข้อขัดแย้งและแก้ปญั หาของกลุ่มไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

คณุ ภาพผ้เู รยี น

------------------------------------------------

ผเู้ รียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เมอื่ ผ่านหลกั สูตร จะมีคุณภาพดงั น้ี

 มคี วามรเู้ กี่ยวกบั ความเปน็ ไปของโลกอยา่ งกว้างขวางและลกึ ซึ้งยิง่ ขึ้น

 เป็นพลเมืองท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบตั ิตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ รวมทงั้

มคี า่ นิยมอันพงึ ประสงค์ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนและอยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข รวมทั้งมศี กั ยภาพเพ่อื

การศกึ ษาตอ่ ในช้ันสูงตามความประสงค์ได้

 มคี วามรู้เรอ่ื งภูมปิ ญั ญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัตศิ าสตรข์ องชาตไิ ทย ยดึ มน่ั ใน

วิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ

 มีนิสยั ท่ดี ีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มีจติ สานึก และมีสว่ นรว่ มในการ

อนรุ กั ษป์ ระเพณวี ัฒนธรรมไทย และสิง่ แวดลอ้ ม มีความรกั ท้องถิ่นและประเทศชาติ มงุ่ ทาประโยชน์ และ

สร้างสิ่งท่ดี ีงามให้กับสังคม

 มคี วามร้คู วามสามารถในการจัดการเรยี นรขู้ องตนเอง ชี้นาตนเองได้ และสามารถแสวงหาความรู้จากแหลง่

การเรียนรูต้ ่างๆในสังคมไดต้ ลอดชวี ิต

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กล่มุ สำระกำรเรียนร้สู ังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม สำระกำรเรียนรพู้ น้ื ฐำน

รำยวชิ ำ สงั คมศึกษำ รหัสวิชำ ส31102 จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี 4 ภำคเรียนที่ 2 เวลำเรยี น 40 ชัว่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาวเิ คราะห์ สืบคน้ เกีย่ วกับประวตั ิ ความสาคญั ศาสนา หลกั ธรรมหรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื หรือศาสนา

อื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและการปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขเก่ียวข้องกับเร่ืองต่อไปน้ี

ลักษณะสังคมชมพูทวปี และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า การก่อตั้งพระพุทธศาสนา วิธีการสอน

และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพทุ ธจริยา พระพุทธศาสนามที ฤษฎีและวิธกี ารที่เปน็ สากล และข้อปฏบิ ัติที่

ยึดหลกั ทางสายกลาง พระพุทธศาสนาเนน้ การพัฒนาศรทั ธาและปญั ญาที่ถูกต้อง พระรัตนตรัย ความหมายคุณค่า

แห่งพุทธะ ธรรม สังฆะ พุทธสุภาษิต พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง วิธีการศึกษาและ

คน้ คว้าพระไตรปฎิ กและคัมภรี ์ศาสนาอ่ืนๆ การสังคายนา และการเผยแผพ่ ระไตรปฎิ ก ความสาคัญและคุณค่าของ

พระไตรปิฎก โยนิโสมนสิการด้วยวิธีการคิดแบบอริยสัจ ปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธท่ีดีต่อพระภิกษุ ปฏิบัติตนเป็น

สมาชิกที่ดีของครอบครัวและสังคม ประเภทของศาสนพิธีในพระพุทธศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การ

ปฏิบัติตนถูกต้องในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ศึกษาวิเคราะห์ สืบค้นเก่ียวกับโครงสร้างทางสังคมไทย

กฎหมายแพ่งเกีย่ วกับตนเองและครอบครัว กหมายทีเ่ กย่ี วกับนติ กิ รรมสญั ญา พลเมอื งดขี องประเทศชาติและสังคม

โลก ความหมายและความสาคัญของสิทธิมนุษยชน สาระสาคัญของปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน การ

ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมุข รปู แบบของรฐั

โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการสืบค้นทาง

เทคโนโลยีสมัยใหม่ กระบวนการขดั เกลาทางสังคม

เพ่ือให้เห็นความสาคัญของศาสนาท่ีมีต่อสังคมไทย การเข้าร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างถูกตอ้ ง

และสามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ รวมทง้ั การปฏิบตั ิตนเปน็ ชาวพุทธท่ดี ีในสังคมไทยและเห็นความสาคญั ของ

วิธีการแกป้ ญั หาในการพฒั นาสังคม การเป็นพลเมอื งท่ีดีในสังคมประชาธิปไตย วา่ ด้วยเรื่องของสิทธิมนุษยชนซึ่งมี

คุณธรรม จริยธรรมเป็นหลักในการดาเนินชีวิต ปฏิบัติตนและมีส่วนสนบั สนุนใหผ้ ู้อ่ืนปฏบิ ัติตามเพอ่ื เป็นพลเมืองดี

ของประเทศชาติและสังคมโลก

มำตรฐำน/ตวั ชี้วัด จำนวน 2 มำตรฐำน 21 ตวั ช้ีวัด

มำตรฐำน ส 1.1 ร้แู ละเขำ้ ใจประวตั ิ ควำมสำคัญ ศำสดำ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศำสนำหรอื ศำสนำทต่ี น

นับถอื และศำสนำอน่ื มศี รทั ธำท่ถี ูกต้อง ยึดม่นั และปฏิบตั ติ ำมหลกั ธรรม เพ่อื อยรู่ ่วมกันอย่ำงสนั ติสุข

ตัวชี้วดั ม.4-6/1 วเิ คราะห์สงั คมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมยั กอ่ นพระพุทธเจ้าหรอื สงั คมสมัย

ของศาสดาท่ตี นนบั ถอื

ตวั ชว้ี ดั ม.4-6/2 วเิ คราะหพ์ ระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนษุ ย์ผูฝ้ กึ ตนได้อย่างสงู สุดในการตรัสรู้ การกอ่ ต้ัง

วธิ ีการสอนและการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาหรือวเิ คราะห์ประวตั ิศาสตร์ที่ตนนบั ถือตามทก่ี าหนด

ตัวชวี้ ดั ม.4-6/3 วเิ คราะห์พทุ ธประวัตดิ า้ นการบริหารและการธารงรกั ษาศาสนาหรือวเิ คราะห์

ประวัตศิ าสตร์ท่ีตนนับถือตามที่กาหนด

ตัวช้ีวดั ม.4-6/4 วเิ คราะหข์ อ้ ปฏบิ ัตทิ าสายกลางในพระพทุ ธศาสนาหรอื แนวคิดของศาสนาทตี่ นนับถอื

ตามท่ีกาหนด

ตัวชี้วดั ม.4-6/5 วิเคราะหก์ ารพัฒนาศรัทธาและปญั ญาที่ถกู ตอ้ งในพระพทุ ธศาสนาหรอื แนวคิดของศาสนา

ทต่ี นนับถอื ตามท่กี าหนด

ตวั ชว้ี ดั ม.4-6/6 วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาทตี่ นนบั ถือ
ตามท่ีกาหนด

ตัวชี้วัด ม.4-6/7 วิเคราะห์หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์หรอื แนวคิดของศาสนาท่ตี นนับ
ถือตามที่กาหนด

ตัวช้ีวดั ม.4-6/8 วิเคราะห์การฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การพ่ึงตนเองและการมงุ่ อสิ รภาพในพระพทุ ธศาสนา

หรือแนวคิดของศาสนาท่ีตนนับถือตามทก่ี าหนด
ตัวช้วี ัด ม.4-6/9 วเิ คราะหพ์ ระพุทธศาสนาว่าเปน็ ศาสตรแ์ หง่ การศึกษา ซงึ่ เน้นความสัมพนั ธข์ องเหตุปัจจัย

กับวิธีการแก้ปญั หาหรอื แนวคดิ ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามทีก่ าหนด
ตวั ชี้วัด ม.4-6/10 วิเคราะหพ์ ระพุทธศาสนาในการฝกึ ตนไมใ่ ห้ประมาท มงุ่ ประโยชนแ์ ละสนั ตภิ าพบคุ คล

สังคมและโลกหรอื แนวคดิ ของศาสนาท่ีตนนับถอื ตามท่กี าหนด

ตวั ชว้ี ัด ม.4-6/11 วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและการพฒั นาประเทศแบบ
ยั่งยนื หรอื แนวคดิ ของศาสนาทตี่ นนบั ถอื ตามท่ีกาหนด

ตัวชว้ี ัด ม.4-6/12 วเิ คราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการศกึ ษาท่ีสมบูรณ์ การเมอื งและ
สนั ติภาพหรอื แนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนับถอื ตามที่กาหนด

ตัวชว้ี ัด ม.4-6/13 วเิ คราะห์หลกั ธรรมในกรอบ อริยสัจ ๔ หรือหลักคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

ตัวชวี้ ัด ม.4-6/14 วเิ คราะหข์ อ้ คดิ และแบบอย่างการดาเนินชีวิตจากประวัติสาวก ชาดก เรอ่ื งเลา่ และศา
สนิกชนตวั อยา่ งตามทีก่ าหนด

ตัวชี้วัด ม.4-6/15 วเิ คราะห์คุณค่าและความสาคัญของการสังคายนาพระไตรปฏกหรือคัมภีรข์ องศาสนาที่
ตนนับถือและการเผยแผ่

ตัวชี้วัด ม.4-6/16 เช่อื ม่นั ต่อผลของการทาความดี ความช่ัว สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ที่ตอ้ งเผชิญและ

ตัดสินใจเลอื กดาเนินการหรอื ปฏบิ ัติตนได้อยา่ งมเี หตุผลถกู ตอ้ งตามหลกั ธรรม จริยธรรมและกาหนดเปา้ หมาย
บทบาทการดาเนินชีวติ เพือ่ การอย่รู ่วมกันอย่างสนั ตสิ ุข และอยรู่ ว่ มกนั เป็นชาตอิ ย่างสมานฉันท์

ตวั ชี้วัด ม.4-6/19 เห็นคุณค่า เชอื่ ม่นั และมุ่งมั่นพฒั นาชวี ิตดว้ ยการพัฒนาจิตและพฒั นาการเรียนรด้ ว้ ยวิธี
คิดแบบโยนิโสมนสิการ หรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ

ตัวช้ีวัด ม.4-6/20 สวดมนต์ แผ่เมตตาและบริหารจติ และเจริญปญั ญาตามหลักสติปฏั ฐานหรือตามแนวทาง

ของศาสนาทต่ี นนับถือ
ตวั ชี้วัด ม.4-6/21 วเิ คราะหห์ ลักธรรมสาคัญในการอยู่รว่ มกันอยา่ งสันติสขุ ของศาสนาอื่นๆ และชักชวน

ส่งเสรมิ สนับสนุนให้บุคคลอ่นื เหน็ ความสาคัญของการทาความดีต่อกนั
มำตรฐำน ส 1.2 เข้ำใจ ตระหนักและปฏบิ ัตติ นเป็นศำสนกิ ชนที่ดี และธำรงรักษำพระพุทธศำสนำหรือศำสนำ
ทต่ี นนับถอื

ตัวชี้วดั ม.4-6/2 ปฏบิ ัติตนถกู ต้องตามศาสนพธิ ี พธิ ีกรรมตามหลกั ศาสนาทีต่ นนับถือ
ตวั ชว้ี ดั ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คตธิ รรมท่ีเกี่ยวเนอ่ื งกับวันสาคัญทางศาสนา และเทศกาลที่สาคญั ของ

ศาสนาท่ีตนนบั ถือ และปฏบิ ัตติ นไดถ้ กู ตอ้ ง

ตารางท่ี 1 ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตัวชี้วดั หรอื ผลการเรยี นรู้กับพทุ ธพิ สิ ัย ทักษะพิสยั และจิตพสิ ัย
รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31102 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4

สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ตี นนับถอื

และศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาที่ถูกตอ้ ง ยดึ มนั่ และปฏิบตั ิตามหลักธรรม เพื่ออยรู่ ่วมกันอย่างสนั ติสขุ

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนกั และปฏิบัติตนเปน็ ศาสนิกชนที่ดี และธารงรกั ษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน

นบั ถอื

พทุ ธพิ ิสยั

ความรู้/มติ ขิ องกระบวนการทางสตปิ ัญญาตาม ทักษะพิสยั จติ
แนวคดิ พสิ ยั

มาตรฐานและตัวชว้ี ดั คาสาคญั ของบลูมฉบบั ปรบั ปรุงใหม่

การจา ทกั ษะ คุณ
การเ ้ขาใจ กระบวนการ ลกั ษณะ
การประ ุยก ์ตใช้ /สมรรถนะ
การ ิวเคราะ ์ห
การประเ ิมนค่า
การสร้างสรรค์

ส 1.1 ม.4-6/1 วเิ คราะห์สงั คมชมพทู วปี   
และคตคิ วามเชือ่ ทางศาสนาสมยั กอ่ น วิเคราะห์
พระพุทธเจ้าหรือสงั คมสมยั ของศาสดา   
ท่ีตนนับถอื 
  
ส 1.1 ม.4-6/2 วเิ คราะหพ์ ระพทุ ธเจา้ ใน   
  
ฐานะเป็นมนุษยผ์ ู้ฝกึ ตนได้อยา่ งสงู สุดใน  

การตรสั รู้ การก่อตงั้ วธิ กี ารสอนและ วิเคราะห์

การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาหรอื

วิเคราะห์ประวัติศาสตร์ทตี่ นนบั ถือ

ตามทีก่ าหนด

ส 1.1 ม.4-6/3 วิเคราะหพ์ ทุ ธประวัติ

ด้านการบรหิ ารและการธารงรกั ษา วเิ คราะห์

ศาสนาหรอื วิเคราะห์ประวัตศิ าสตรท์ ่ีตน

นบั ถือตามที่กาหนด

ส 1.1 ม.4-6/4 วิเคราะห์ขอ้ ปฏบิ ัตทิ าง วิเคราะห์

สายกลางในพระพทุ ธศาสนาหรอื แนวคดิ

ของศาสนาทตี่ นนบั ถือตามท่ีกาหนด

ส 1.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์การพฒั นา วิเคราะห์

ศรัทธาและปัญญาทถี่ ูกต้องใน

พระพุทธศาสนาหรือแนวคดิ ของศาสนา

ทตี่ นนับถือตามทก่ี าหนด

ส 1.1 ม.4-6/6 วิเคราะหล์ กั ษณะ วิเคราะห์

ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรอื

แนวคิดของศาสนาท่ตี นนับถอื ตามท่ี

กาหนด

พุทธิพิสยั ทักษะพสิ ัย จติ
พสิ ยั
ความร้/ู มติ ิของกระบวนการทางสตปิ ญั ญาตาม
มาตรฐานและตัวชว้ี ัด คาสาคัญ แนวคิด

ของบลมู ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่

การจา ทกั ษะ คณุ
การเ ้ขาใจ กระบวนการ ลักษณะ
การประ ุยก ์ตใช้ /สมรรถนะ
การ ิวเคราะ ์ห
การประเมินค่า
การสร้างสรรค์

ส 1.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์หลักการของ   
พระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์   
หรอื แนวคดิ ของศาสนาทตี่ นนับถือตามท่ี   
กาหนด   
  
ส 1.1 ม.4-6/8 วิเคราะห์การฝกึ ฝนและ   
  
พฒั นาตนเอง การพึ่งตนเองและการมงุ่

อสิ รภาพในพระพุทธศาสนาหรือแนวคดิ วเิ คราะห์

ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามทก่ี าหนด

ส 1.1 ม.4-6/9 วิเคราะห์

พระพทุ ธศาสนาวา่ เป็นศาสตร์แหง่

การศกึ ษา ซงึ่ เน้นความสัมพนั ธ์ของเหตุ วิเคราะห์

ปัจจัยกบั วธิ ีการแกป้ ัญหาหรอื แนวคิด

ของศาสนาท่ีตนนับถอื ตามท่ีกาหนด

ส 1.1 ม.4-6/10 วิเคราะห์

พระพทุ ธศาสนาในการฝกึ ตนไมใ่ ห้

ประมาท มุ่งประโยชนแ์ ละสันตภิ าพ วเิ คราะห์

บุคคล สงั คมและโลกหรือแนวคิดของ

ศาสนาทต่ี นนับถอื ตามที่กาหนด

ส 1.1 ม.4-6/11 วเิ คราะห์

พระพุทธศาสนากับปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงและการพฒั นา วิเคราะห์

ประเทศแบบย่ังยนื หรอื แนวคดิ ของ

ศาสนาที่ตนนบั ถือตามทีก่ าหนด

ส 1.1 ม.4-6/12 วเิ คราะห์ความสาคญั

ของพระพุทธศาสนาเก่ยี วกับการศกึ ษาที่

สมบรู ณ์ การเมอื งและสนั ติภาพหรอื วิเคราะห์

แนวคดิ ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่

กาหนด

ส 1.1 ม.4-6/13 วเิ คราะหห์ ลักธรรมใน

กรอบ อริยสัจ ๔ หรือหลักคาสอนของ วิเคราะห์

ศาสนาทต่ี นนบั ถือ

พุทธพิ ิสัย ทกั ษะพิสยั จิต
พิสยั
ความร/ู้ มิตขิ องกระบวนการทางสติปญั ญาตาม
มาตรฐานและตัวช้วี ัด คาสาคญั แนวคดิ

ของบลูมฉบบั ปรบั ปรุงใหม่

การจา ทกั ษะ คุณ
การเ ้ขาใจ กระบวนการ ลักษณะ
การประ ุยก ์ตใช้
การ ิวเคราะ ์ห /สมรรถนะ
การประเมินค่า
การสร้างสรรค์

ส 1.1 ม.4-6/14 วิเคราะห์ขอ้ คดิ และ วิเคราะห์ 
แบบอย่างการดาเนินชวี ติ จากประวตั ิ
สาวก ชาดก เร่ืองเลา่ และศาสนกิ ชน 
ตวั อยา่ งตามทก่ี าหนด 

ส 1.1 ม.4-6/15 วเิ คราะห์คุณค่าและ 

ความสาคญั ของการสงั คายนาพระ วเิ คราะห์  
ไตรปฏกหรือคัมภรี ์ของศาสนาทีต่ นนบั 

ถือและการเผยแผ่

ส 1.1 ม.4-6/16 เชื่อมน่ั ต่อผลของการ

ทาความดี ความชว่ั สามารถวิเคราะห์ เช่อื มน่ั

สถานการณ์ท่ตี ้องเผชญิ และตดั สินใจ

เลือกดาเนนิ การหรอื ปฏบิ ตั ติ นไดอ้ ยา่ งมี วิเคราะห์

เหตผุ ลถูกตอ้ งตามหลกั ธรรม จริยธรรม 

และกาหนดเป้าหมาย บทบาทการ ตัดสนิ ใจ

ดาเนนิ ชีวติ เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ

สขุ และอยรู่ ว่ มกนั เป็นชาติอยา่ ง ปฏบิ ัติตน

สมานฉันท์

ส 1.1 ม.4-6/19 เหน็ คุณค่า เชอื่ มน่ั เห็นคณุ คา่

และมงุ่ มน่ั พฒั นาชีวติ ดว้ ยการพัฒนาจิต เชื่อมนั่

และพฒั นาการเรยี นร้ด้วยวิธีคดิ แบบ ม่งุ มน่ั  

โยนโิ สมนสิการ หรือการพัฒนาจติ ตาม

แนวทางของศาสนาทต่ี นนับถอื

ส 1.1 ม.4-6/20 สวดมนต์ แผเ่ มตตา

และบรหิ ารจิตและเจริญปญั ญาตามหลกั สวดมนต์  
สตปิ ัฏฐานหรอื ตามแนวทางของศาสนา

ที่ตนนบั ถอื

ส 1.1 ม.4-6/21 วเิ คราะห์หลักธรรม วเิ คราะห์

สาคญั ในการอย่รู ว่ มกนั อย่างสันตสิ ุขของ

ศาสนาอ่ืนๆ และชกั ชวนสง่ เสรมิ 

สนบั สนนุ ใหบ้ คุ คลอืน่ เหน็ ความสาคญั

ของการทาความดตี ่อกัน

พทุ ธิพิสยั ทักษะพสิ ยั จติ
พสิ ยั
ความร/ู้ มิตขิ องกระบวนการทางสติปัญญาตาม
มาตรฐานและตัวชว้ี ัด คาสาคญั แนวคิด

ของบลมู ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่

การจา ทกั ษะ คุณ
การเ ้ขาใจ กระบวนการ ลกั ษณะ
การประ ุยก ์ตใช้ /สมรรถนะ
การ ิวเคราะ ์ห
การประเมินค่า
การสร้างสรรค์

ส 1.2 ม.4-6/2 -ปฏิบตั ติ น  
ปฏบิ ตั ิตนถกู ตอ้ งตามศาสนพธิ ี พิธีกรรม  
ตามหลกั ศาสนาทตี่ นนบั ถือ -วเิ คราะห์
-ปฏบิ ัตติ น
ส 1.2 ม.4-6/4 วเิ คราะหห์ ลักธรรม คติ
ธรรมท่ีเก่ยี วเนอื่ งกับวันสาคญั ทาง

ศาสนา และเทศกาลท่สี าคัญของศาสนา
ท่ตี นนบั ถอื และปฏิบตั ิตนได้ถกู ต้อง

ตารางที่ 2 ตารางวิเคราะห์ความเช่ือมโยงของมาตรฐานและตัวชวี้ ัดหรือผลการเรยี นรูก้ ับ
รายวชิ า สังคมศกึ ษา รหสั วิชา ส31102

มาตรฐานและตัวชว้ี ัด คาสาคัญ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ดา้ นความ
(Knowledg
ส 1.1 ม.4-6/1 วิเคราะห์ - วิเคราะห์ - ลักษณะของสังคมชมพูทวปี
สังคมชมพูทวีป และคติ และคติความเชอ่ื ทางศาสนา ผ้เู รยี นวิเคราะห์สงั คม
ความเชื่อทางศาสนา สมยั กอ่ นพระพทุ ธเจ้า และคติความเชื่อทาง
สมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรอื สมัยก่อนพระพุทธเจ
สังคมสมัย ของศาสดาที่ตน สมยั ของศาสดาทตี่ น
นบั ถือ
- พระพทุ ธเจา้ ในฐานะเป็น ผเู้ รียนวิเคราะห์พระ
ส 1.1 ม.4-6/2 วเิ คราะห์ - วเิ คราะห์
พระพทุ ธเจ้าในฐานะเป็น มนษุ ย์ผฝู้ ึกตนได้อยา่ งสงู สุด ฐานะเปน็ มนุษยผ์ ้ฝู กึ
มนษุ ยผ์ ูฝ้ กึ ตนได้อย่าง
สงู สุดในการตรัสรู้ การ (การตรัสรู้) อย่างสูงสดุ ในการตร
ก่อต้งั วธิ กี ารสอนและการ
เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา - การกอ่ ตง้ั พระพทุ ธศาสนา กอ่ ต้ัง วิธีการสอนแล
หรือวิเคราะห์
ประวตั ิศาสตรท์ ตี่ นนบั ถือ วิธีการสอนและการเผยแผ่ แผ่พระพทุ ธศาสนาห
ตามท่กี าหนด
พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธ วิเคราะหป์ ระวตั ศิ าส

จรยิ า นบั ถือตามท่ีกาหนด

บพฤตกิ รรมการเรียนรู้

พฤตกิ รรมการการเรยี นรู้

มรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะ ด้านคณุ ลักษณะ
ge) (Attribute)
(Process) (Competencies)
มชมพูทวีป มวี ินัย
งศาสนา ความสามารถในการสื่อสาร ใฝ่เรยี นรู้
จ้าหรือสังคม มุ่งมน่ั ในการทางาน
นนบั ถอื ความสามารถในการคดิ

ะพุทธเจา้ ใน ความสามารถในการสื่อสาร มวี นิ ัย
กตนได้ ความสามารถในการคิด ใฝเ่ รียนรู้
รสั รู้ การ มงุ่ มนั่ ในการทางาน
ละการเผย
หรอื
สตร์ทีต่ น


มาตรฐานและตัวชีว้ ัด คาสาคญั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ด้านความ
(Knowledg
ส 1.1 ม.4-6/3 วิเคราะห์ - วเิ คราะห์ - พทุ ธประวตั ิดา้ นการบริหาร
พุทธประวัติด้านการ และการธารงรกั ษา ผเู้ รยี นวิเคราะหพ์ ุทธ
บรหิ ารและการธารงรกั ษา พระพทุ ธศาสนา ดา้ นการบรหิ ารและ
ศาสนาหรอื วิเคราะห์ รักษาศาสนาหรือวิเค
ประวตั ิศาสตรท์ ่ตี นนบั ถอื ประวัตศิ าสตร์ทตี่ นน
ตามทก่ี าหนด ตามที่กาหนด

ส 1.1 ม.4-6/4 วเิ คราะห์ - วิเคราะห์ -พระพุทธศาสนามที ฤษฎแี ละ ผเู้ รยี นวเิ คราะหข์ ้อป
ข้อปฏบิ ัตทิ างสายกลางใน วิธีการที่เป็นสากลและมขี อ้ สายกลางในพระพทุ
พระพุทธศาสนาหรือ ปฏบิ ตั ิทย่ี ดึ ทางสายกลาง หรือแนวคดิ ของศาส
แนวคิดของศาสนาทต่ี น
นับถอื ตามที่กาหนด นบั ถือตามที่กาหนด

ส 1.1 ม.4-6/5 วเิ คราะห์ - วิเคราะห์ - พระพุทธศาสนาเน้นการ ผ้เู รยี นวเิ คราะห์การ
การพัฒนาศรทั ธาและ - วิเคราะห์ พฒั นาศรัทธาและปัญญาที่ ศรัทธาและปัญญาท
ปญั ญาที่ถูกต้องใน ถกู ต้อง พระพทุ ธศาสนาหรอื
พระพทุ ธศาสนาหรือ ของศาสนาท่ีตนนับถ
-ลกั ษณะประชาธปิ ไตยใน กาหนด
แนวคดิ ของศาสนาที่ตน พระพทุ ธศาสนา
นับถอื ตามท่ีกาหนด ผู้เรยี นวเิ คราะห์ลกั ษ
ประชาธิปไตยใน
ส 1.1 ม.4-6/6 วเิ คราะห์ พระพุทธศาสนาหรือ
ลักษณะประชาธปิ ไตยใน ของศาสนาทตี่ นนบั ถ
พระพุทธศาสนาหรือ กาหนด

แนวคิดของศาสนาที่ตน
นบั ถือตามที่กาหนด

พฤตกิ รรมการการเรียนรู้

มรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะ ด้านคุณลักษณะ
ge) (Attribute)
(Process) (Competencies)
ธประวัติ มวี ินยั
ะการธารง ความสามารถในการสื่อสาร ใฝ่เรยี นรู้
คราะห์ มุง่ ม่นั ในการทางาน
นับถือ ความสามารถในการคิด

ปฏิบตั ิทาง ความสามารถในการสื่อสาร มวี ินัย
ทธศาสนา ความสามารถในการคดิ ใฝ่เรยี นรู้
สนาที่ตน มุ่งมั่นในการทางาน

ความสามารถในการสื่อสาร มวี ินัย
รพัฒนา ความสามารถในการคดิ ใฝ่เรยี นรู้
ท่ีถกู ต้องใน มงุ่ มน่ั ในการทางาน
อแนวคิด
ถอื ตามท่ี ความสามารถในการสื่อสาร มีวินยั
ความสามารถในการคิด ใฝ่เรยี นรู้
ษณะ มุ่งม่ันในการทางาน

อแนวคดิ
ถือตามท่ี

มาตรฐานและตวั ชีว้ ัด คาสาคญั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ด้านความ
(Knowledg
ส 1.1 ม.4-6/7 วเิ คราะห์ - วเิ คราะห์ - หลกั การของ
หลักการของ พระพทุ ธศาสนากับหลัก ผเู้ รยี นวเิ คราะห์หลกั
พระพทุ ธศาสนากับหลกั วทิ ยาศาสตร์ พระพทุ ธศาสนากับห
วิทยาศาสตรห์ รอื แนวคดิ - การคดิ ตามนัยแห่ง วทิ ยาศาสตร์หรอื แน
ของศาสนาท่ตี นนับถอื พระพทุ ธศาสนาและการคิด ศาสนาท่ตี นนับถอื ต
ตามทีก่ าหนด แบบวิทยาศาสตร์ กาหนด

ส 1.1 ม.4-6/8 วิเคราะห์ - วิเคราะห์ - พระพทุ ธศาสนาเน้นการ ผเู้ รยี นวเิ คราะห์การ
การฝึกฝนและพัฒนา - วิเคราะห์
ตนเอง การพึ่งตนเองและ ฝึกหดั อบรมตน การพงึ่ ตนเอง พฒั นาตนเอง การพ
การมุ่งอสิ รภาพใน
พระพทุ ธศาสนาหรือ และการม่งุ อสิ รภาพ และการมงุ่ อิสรภาพ
แนวคิดของศาสนาที่ตน
นบั ถอื ตามท่ีกาหนด พระพทุ ธศาสนาหรือ

ส 1.1 ม.4-6/9 วิเคราะห์ ของศาสนาท่ตี นนับถ
พระพุทธศาสนาวา่ เป็น
ศาสตร์แหง่ การศกึ ษา ซง่ึ กาหนด
เนน้ ความสมั พนั ธ์ของเหตุ
ปจั จยั กบั วธิ กี ารแกป้ ัญหา - พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์ ผู้เรียนวิเคราะห์
แหง่ การศึกษา พระพุทธศาสนาว่าเ
หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ี - พระพุทธศาสนาเน้น แหง่ การศกึ ษา ซงึ่ เน
ตนนับถือตามท่ีกาหนด ความสัมพนั ธข์ องเหตุปัจจัย ความสัมพนั ธ์ของเห
และวธิ ีการแกป้ ัญหา วิธีการแกป้ ัญหาหรอื

ของศาสนาท่ตี นนับถ
กาหนด

พฤติกรรมการการเรียนรู้

มรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะ ด้านคณุ ลกั ษณะ
ge) (Attribute)
(Process) (Competencies)
กการของ มวี ินยั
หลัก ความสามารถในการสื่อสาร ใฝเ่ รียนรู้
นวคดิ ของ มุ่งมนั่ ในการทางาน
ตามที่ ความสามารถในการคิด

รฝึกฝนและ ความสามารถในการส่ือสาร มวี นิ ัย
พึ่งตนเอง ความสามารถในการคดิ ใฝเ่ รยี นรู้
พใน
อแนวคดิ มุ่งมน่ั ในการทางาน
ถอื ตามท่ี
ความสามารถในการสอ่ื สาร มีวนิ ยั
เป็นศาสตร์ ความสามารถในการคดิ ใฝ่เรยี นรู้
น้น
หตปุ จั จัยกบั มุ่งมั่นในการทางาน
อแนวคิด
ถอื ตามท่ี

มาตรฐานและตัวชี้วัด คาสาคัญ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ด้านความ
(Knowledg
ส 1.1 ม.4-6/10 - วเิ คราะห์ - พระพุทธศาสนาฝกึ ตนไมใ่ ห้
ประมาท ผู้เรียนวิเคราะห์
วิเคราะหพ์ ระพทุ ธศาสนา - พระพุทธศาสนามุง่ พระพทุ ธศาสนาในก
ประโยชน์สขุ และสันตภิ าพแก่ ไมใ่ ห้ประมาท มงุ่ ปร
ในการฝึกตนไมใ่ ห้ บคุ คล สงั คมและโลก และสันติภาพบุคคล
โลกหรือแนวคิดของ
ประมาท มุ่งประโยชน์ ตนนับถือตามทกี่ าห

และสันตภิ าพบคุ คล

สังคมและโลกหรอื แนวคิด

ของศาสนาทต่ี นนับถอื

ตามทก่ี าหนด

ส 1.1 ม.4-6/11 - วิเคราะห์ - พระพทุ ธศาสนากับปรชั ญา ผเู้ รียนวิเคราะห์
ของเศรษฐกจพอเพยี งและ พระพทุ ธศาสนากับป
วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนา การพฒั นาแบบยั่งยืน ของเศรษฐกิจพอเพ
พัฒนาประเทศแบบ
กบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ แนวคิดของศาสนาท
ตามท่กี าหนด
พอเพยี งและการพฒั นา

ประเทศแบบยง่ั ยนื หรือ

แนวคดิ ของศาสนาท่ตี น

นับถอื ตามท่ีกาหนด

ส 1.1 ม.4-6/12 - วิเคราะห์ - ความสาคญั ของ ผ้เู รยี นวิเคราะห์ควา

วเิ คราะห์ความสาคัญของ พระพทุ ธศาสนากบั การศึกษา ของพระพทุ ธศาสนา

พระพทุ ธศาสนาเกย่ี วกับ ที่สมบรู ณ์ การศึกษาที่สมบรู ณ

การศึกษาทส่ี มบรู ณ์ - ความสาคญั ของ และสันตภิ าพหรือแ

การเมอื งและสันตภิ าพ พระพุทธศาสนากับการเมอื ง ศาสนาที่ตนนบั ถอื ต

หรือแนวคิดของศาสนาที่ - ความสาคัญของ กาหนด

ตนนับถือตามทกี่ าหนด พระพทุ ธศาสนากบั สนั ติภาพ

พฤติกรรมการการเรียนรู้

มรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะ ด้านคุณลักษณะ
(Attribute)
ge) (Process) (Competencies)
มวี ินยั
ความสามารถในการส่ือสาร ใฝเ่ รยี นรู้

การฝึกตน ความสามารถในการคดิ ม่งุ มั่นในการทางาน

ระโยชน์

ล สงั คมและ

งศาสนาท่ี

หนด

ปรัชญา ความสามารถในการสอื่ สาร มวี นิ ัย
พียงและการ ความสามารถในการคิด ใฝ่เรยี นรู้
บย่ังยืนหรอื
ทตี่ นนบั ถอื มงุ่ ม่ันในการทางาน

ามสาคญั ความสามารถในการสอ่ื สาร มวี ินยั
าเก่ยี วกบั ความสามารถในการคิด ใฝเ่ รยี นรู้
ณ์ การเมือง
แนวคิดของ มงุ่ มน่ั ในการทางาน

ตามท่ี

ส 1.1 ม.4-6/13 - วเิ คราะห์ - พระรตั นตรยั ผเู้ รียนวิเคราะห์หลัก
วิเคราะห์หลักธรรมใน - วเิ คราะหค์ วามหมายและ กรอบ อรยิ สัจ ๔ หร
กรอบ อรยิ สัจ ๔ หรอื คณุ คา่ ของพทุ ธะ ธรรมะ สอนของศาสนาทตี่ น
หลกั คาสอนของศาสนาที่ สงั ฆะ
ตนนบั ถอื - อรยิ สัจ ๔

- ทกุ ข์ (ธรรมทคี่ วรรู)้
- ขันธ์ ๕
- นามรูป
- โลกธรรม ๘
- จิต . เจตสกิ
- สมทุ ัย (ธรรมทีค่ วรละ)
- หลักกรรม
- นิยาม ๕
- กรรมนยิ าม (กรรม
๑๒)

- ธรรมนิยาม
(ปฏจิ จสมุปบาท)

- วติ ก ๓
- มจิ ฉาวณชิ ชา ๕
- นิวรณ์ ๕
- อปุ าทาน ๔
- นโิ รธ (ธรรมทคี่ วรบรรลุ)

- ภาวนา ๔
- วมิ ตุ ติ ๕
- นิพพาน

- มรรค (ธรรมทค่ี วร
เจริญ)

- พระสัทธรรม ๓
- ปญั ญาวฒุ ธิ รรม ๔
- พละ ๕

กธรรมใน ความสามารถในการสอ่ื สาร มีวนิ ยั
รอื หลกั คา ความสามารถในการคิด ใฝ่เรยี นรู้
นนบั ถอื มุง่ ม่ันในการทางาน

- อุบาสกธรรม ๕
- อปริหานยิ ธรรม ๗
- ปาปณิกธรรม ๓
- ทฏิ ฐธัมมิกตั ถสัง
วตั ตนกิ ธรรม ๔

- โภคอาทิยะ ๕
- อรยิ วฑั ฒิ ๕
- อธปิ ไตย ๓
- สาราณยี ธรรม ๖
- ทศพิธราชธรรม
๑๐
- วปิ สั สนาญาณ ๙
- มงคล ๓๘

- สงเคราะห์บุตร
- สงเคราะห์

ภรรยา
- สันโดษ
- ถูกโลกธรรมจติ

ไมห่ วน่ั ไหว
- จติ ไม่เศรา้ โศก
- จิตไมม่ ัวหมอง
- จติ เกษม
- ความเพยี รเผา่

กิเลส
- ประพฤติ

พรหมจรรย์
- เห็นอริยสัจ
- บรรลุนิพพาน

- พุทธศาสนสภุ าษิต



- จิตตฺ ทนตฺ สุขาวห จิต
ฝึกดแี ลว้ นาสุขมาให้

- นอจุ ฺจาวจ ปณฑฺ ิตา
ทสสฺ ยนตฺ ิ บัณฑิตยอ่ มไม่
แสดง

อาการขึ้นๆ ลงๆ
- นตฺถิ โลเก อนินทฺ โิ ต คน
ไมถ่ ูกนินทา ไมม่ ีในโลก
- โกธ ฆตฺวา สขุ เสติ ฆ่า
ความโกรธไดย้ ่อมอยู่เปน็ สุข
- ปฏริ ูปการี ธรุ วา อฎุ ฐ์ า
ตา วินฺทเต ธน คนขยันเอา
การ

เอางาน กระทา
เหมาะสม ยอ่ มหาทรพั ย์ได้

- วายเมถว ปรุ ิโส ยาว
อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเป็นคน
ควร

จะพยายามจนกว่าจะ
ประสบความสาเรจ็

- สนตฺ ฎฺฐี ปรม ธน ความ
สนั โดษเปน็ ทรัพย์อย่างยง่ิ

- อิณาทาน ทกุ ข โลเก
การเปน็ หนี้เปน็ ทุกข์ในโลก

- ราชา มุข มนสุ ฺสาน

พระราชาเปน็ ประมขุ ของ
ประชาชน

- สติ โลกสมฺ ิ ชาคโร สติ
เปน็ เคร่อื งต่นื ในโลก



มาตรฐานและตวั ช้วี ัด คาสาคญั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ดา้ นความ
(Knowledg
- นตฺถิ สนฺตปิ ร สขุ สุข
อน่ื ยงิ่ กวา่ ความสงบไม่มี

- นิพพฺ าน ปรม สุข
นิพพานเปน็ สุขอย่างยงิ่

พฤตกิ รรมการการเรียนรู้

มรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะ ดา้ นคณุ ลักษณะ
(Attribute)
ge) (Process) (Competencies)

ส 1.1 ม.4-6/14 -วเิ คราะห์ - พุทธสาวก พุทธสาวิกา ผเู้ รยี นวเิ คราะหข์ อ้ ค
วิเคราะหข์ อ้ คดิ และ - พระอัสสชิ แบบอย่างการดาเนิน
แบบอย่างการดาเนินชวี ติ ประวัตสิ าวก ชาดก
จากประวตั สิ าวก ชาดก - พระกสิ าโคตมเี ถรี และศาสนิกชนตัวอย
เรื่องเลา่ และศาสนิกชน - พระนางมลั ลกิ า กาหนด

ตัวอยา่ งตามทีก่ าหนด - หมอชวี ก โกมารภัจ

- พระอนุรทุ ธะ
- พระองคุลิมาล

- พระธมั มทินนาเถรี
- จติ ตคหบดี

- พระอานนท์
- พระปฏาจาราเถรี

- จฬู สุภทั ทา
- สมุ นมาลาการ
ชาดก

- เวสสนั ดรชาดก

- มโหสธชาดก
- มหาชนกชาดก

- ชาวพุทธตวั อย่าง
- พระนาคเสน - พระยา

มลิ นิ ท์
- สมเด็จพระวันรัต (เฮง

เขมจารี)
- พระอาจารย์มั่น ภูรทิ ตฺ

โต
- สุชพี ปญุ ญานภุ าพ

- สมเดจ็ พระนารายณ์
มหาราช

- พระธรรมโกศาจรย์
(พทุ ธทาสภิกขุ)

คิดและ ความสามารถในการสอื่ สาร มวี ินัย
นชีวิตจาก ความสามารถในการคดิ ใฝเ่ รียนรู้
เรือ่ งเล่า
ย่างตามท่ี มุ่งมน่ั ในการทางาน

มาตรฐานและตัวชวี้ ัด คาสาคญั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ดา้ นความ
-วเิ คราะห์ (Knowledg
ส 1.1 ม.4-6/15 - พระพรหมมงั คลาจารย์
วเิ คราะหค์ ุณคา่ และ (ปญั ญานันทภิกขุ) ผู้เรียนวเิ คราะหค์ ณุ
ความสาคญั ของการ ความสาคัญของการ
สงั คายนาพระ - ดร.เอ็มเบดการ์ พระไตรปฏกหรอื คัม
ไตรปฏกหรอื คมั ภีร์ของ - พระบาทสมเด็จพระ ศาสนาทีต่ นนับถือแ
ศาสนาทต่ี นนับถือและ จุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั แผ่
การเผยแผ่ - พระโพธญิ าณเถร (ชา
สุภทโฺ ท)
- พระพรหมคุณาภรณ์
(ป.อ.ปยุตโต)
- อนาคาริก ธรรมปาละ
- วธิ ีการศึกษาและค้นควา้
พระไตรปฏิ กและคัมภรี ข์ อง
ศาสนาอ่นื ๆ การสงั คายนา
และการเผยแผพ่ ระไตรปิฎก
- ความสาคญั และคณุ คา่ ของ
พระไตรปฏิ ก

พฤตกิ รรมการการเรียนรู้

มรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
(Attribute)
ge) (Process) (Competencies)

ณคา่ และ ความสามารถในการสื่อสาร มวี นิ ัย
รสังคายนา ความสามารถในการคดิ ใฝเ่ รียนรู้
มภีรข์ อง
และการเผย มงุ่ ม่นั ในการทางาน

มาตรฐานและตวั ชีว้ ัด คาสาคัญ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ด้านความ
(Knowledg
ส 1.1 ม.4-6/16 เชอ่ื ม่ัน - ตัวอย่างผลท่ีเกดิ จากการทา
ตอ่ ผลของการทาความดี -เชือ่ ม่นั ความดี ความชวั่ -ผเู้ รยี นเชื่อมน่ั ต่อผล
ความชั่ว สามารถ - โยนิโสมนสิการด้วยวิธคี ิด ทาความดี ความชัว่
วเิ คราะห์สถานการณ์ท่ี -วิเคราะห์ แบบอริยสจั -ผู้เรียนวิเคราะห์สถ
ตอ้ งเผชิญและตัดสินใจ - หลักธรรมตามสาระการ ต้องเผชิญ
เลือกดาเนนิ การหรือ -ตัดสนิ ใจ เรยี นรู้ข้อ 13 -ผู้เรยี นตัดสินใจเลอื
ปฏบิ ตั ติ นได้อยา่ งมเี หตุผล ดาเนนิ การอย่างมีเห
ถูกต้องตามหลกั ธรรม -ปฏิบัตติ น ถูกต้องตามหลกั ธรร
จรยิ ธรรมและกาหนด จรยิ ธรรมและกาหน
เปา้ หมาย บทบาทการ เป้าหมาย บทบาทก
ดาเนินชีวิตเพื่อการอยู่
รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ขุ และ ชีวิตเพ่ือการอยรู่ ่วมก
อย่รู ่วมกนั เป็นชาติอย่าง สันตสิ ุข และอยรู่ ่วม
สมานฉนั ท์ ชาตอิ ย่างสมานฉันท

พฤติกรรมการการเรียนรู้

มรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะ ดา้ นคุณลักษณะ
ge) (Attribute)
ลของการ (Process) (Competencies)
ซือ่ สัตย์สจุ รติ
ถานการณท์ ี่ -ผู้เรียนปฏบิ ัติตนได้ ความสามารถในการคดิ มีวินัย
ใฝเ่ รยี นรู้
อก อยา่ งมีเหตผุ ลถกู ตอ้ ง ความสามารถในการแกป้ ัญหา
หตุผล
รม ตามหลกั ธรรม ความสามารถในการใช้ทักษะ
นด
การดาเนนิ จริยธรรมและกาหนด ชีวิต
กนั อยา่ ง
มกันเป็น เป้าหมาย บทบาทการ
ท์
ดาเนินชีวิตเพ่ือการอยู่

รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข

และอยู่รว่ มกนั เป็นชาติ

อย่างสมานฉนั ท์

มาตรฐานและตัวช้ีวัด คาสาคญั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ดา้ นความ

ส 1.1 ม.4-6/19 เห็น -เห็นคณุ ค่า (Knowledg
คุณค่า เชอ่ื มน่ั และมุง่ มน่ั -เชื่อม่นั
พฒั นาชีวติ ด้วยการพฒั นา -มุ่งม่ัน - พฒั นาการเรียนรูด้ ้วยวิธคี ดิ -ผเู้ รียนเห็นคณุ คา่ เ
จิตและพัฒนาการเรยี นรู้ -พัฒนา
ดว้ ยวิธีคิดแบบโยนโิ ส แบบโยนโิ สมนสกิ าร 10 วธิ ี มุง่ มัน่ พัฒนาชีวิตดว้
มนสิการ หรือการพฒั นา
จิตตามแนวทางของ (เนน้ วิธคี ดิ แบบแยกแยะ พฒั นาจิตและพัฒนา
ศาสนาทตี่ นนับถอื
สว่ นประกอบ แบบสามัญญ เรยี นรู้ด้วยวิธคี ดิ แบบ

ลักษณะ แบบเป็นอยู่ในขณะ มนสกิ าร หรอื การพ

ปจั จบุ ัน และแบบวิภชั ชวาท) ตามแนวทางของศา

1) วิธีคิดแบบสบื สาวเหตุ นบั ถือ

ปจั จัย

2) วิธีคดิ แบบแยกแยะ

สว่ นประกอบ

3) วิธีคดิ แบบสามัญลกั ษณะ

4) วิธีคิดแบบอริยสัจ

5) วิธีคิดแบบอรรถธรรม

สมั พันธ์

6) วิธีคดิ แบบคณุ คา่ แท้-

คณุ คา่ เทยี ม

7) วิธคี ดิ แบบคุณ-โทษ และ

ทางออก

8) วิธีคดิ แบบอุบาย ปลุกเร้า

คณุ ธรรม

9) วิธคี ดิ แบบเป็นอยูใ่ นขณะ

ปจั จุบัน

10) วิธีคิดแบบวภิ ัชชวาท

พฤตกิ รรมการการเรียนรู้

มรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะ ด้านคณุ ลักษณะ
ge) (Attribute)
(Process) (Competencies)
เช่ือม่นั และ ซื่อสตั ย์สุจริต
วยการ -ผูเ้ รยี นพัฒนาชีวิตด้วย -ความสามารถในการคิด มวี นิ ัย
าการ ใฝเ่ รียนรู้
บโยนิโส การพฒั นาจติ และ -ความสามารถในการแกป้ ัญหา
พฒั นาจิต
าสนาทต่ี น พฒั นาการเรยี นรดู้ ้วย -ความสามารถในการใชท้ กั ษะ

วธิ ีคดิ แบบโยนิโส ชวี ติ

มนสกิ าร หรอื การ

พัฒนาจิตตามแนวทาง

ของศาสนาท่ตี นนับถอื

มาตรฐานและตวั ชี้วัด คาสาคัญ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ดา้ นความ

(Knowledg

ส 1.1 ม.4-6/20 สวด -สวดมนต์ - สวดมนต์แปลและแผเ่ มตตา
มนต์ แผ่เมตตาและ
บริหารจติ และเจรญิ - รู้และเข้าใจวิธปี ฏบิ ตั ิและ
ปัญญาตามหลักสติปฏั
ฐานหรอื ตามแนวทางของ ประโยชน์ของการบริหารจติ
ศาสนาที่ตนนบั ถือ
และเจรญิ ปญั า

- ฝกึ การบริหารจิตและเจรญิ

ปญั ญาตามหลักสตปิ ัฏฐาน

- นาวิธีการบรหิ ารจติ และ

เจริญปญั ญาไปใชใ้ นการ

พฒั นา

การเรยี นรู้ คณุ ภาพชวี ติ และ

สงั คม

ส 1.1 ม.4-6/21 -วิเคราะห์ - หลกั ธรรมสาคัญในการอยู่ ผู้เรยี นวิเคราะหห์ ลกั
วเิ คราะหห์ ลักธรรมสาคัญ
ในการอย่รู ่วมกันอย่าง ร่วมกนั อย่างสนั ตสิ ขุ สาคัญในการอยรู่ ่วม

สันตสิ ขุ ของศาสนาอน่ื ๆ - หลักธรรมใน สนั ติสขุ ของศาสนาอ
และชักชวนส่งเสริม
สนับสนนุ ให้บคุ คลอื่นเห็น พระพุทธศาสนา เช่น สา ชกั ชวนสง่ เสริมสนับ
ความสาคัญของการทา
ความดีต่อกัน ราณียธรรม ๖ อธปิ ไตย ๓ บคุ คลอ่นื เหน็ ความส

มิจฉาวณิชชา ๕ อรยิ วฑั ฆิ ๕ การทาความดตี อ่ กนั

โภคอาทยิ ะ ๕

- คริสตศ์ าสนา ไดแ้ ก่ บญั ญัติ

๑๐ ประการ (เฉพาะที่

เกยี่ วข้อง)

- ศาสนาอิสลาม ไดแ้ ก่ หลกั

จรยิ ธรรม (เฉพาะทเี่ กยี่ วขอ้ ง)

พฤตกิ รรมการการเรียนรู้

มรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะ ดา้ นคุณลกั ษณะ

ge) (Process) (Competencies) (Attribute)

ผู้เรียนสวดมนต์ แผ่ ความสามารถในการคิด มีวนิ ยั

เมตตาและบริหารจิต ความสามารถในการสอ่ื สาร ใฝ่เรยี นรู้

และเจริญปญั ญาตาม ความสามารถในการใช้ทกั ษะ มุง่ มั่นในการทางาน

หลักสติปฏั ฐานหรือ ชวี ติ

ตามแนวทางของ

ศาสนาท่ีตนนบั ถอื

กธรรม ความสามารถในการคดิ มวี ินยั
มกนั อยา่ ง ความสามารถในการส่อื สาร ใฝ่เรียนรู้
อนื่ ๆ และ ความสามารถในการใชท้ ักษะ มุ่งม่ันในการทางาน

บสนุนให้ ชีวติ
สาคญั ของ


มาตรฐานและตวั ชี้วัด คาสาคญั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ด้านความ
(Knowledg

ส 1.2 ม.4-6/2 ปฏิบตั ิตน -ปฏบิ ัติตน ประเภทของศาสนพิธใี น
ถูกตอ้ งตามศาสนพิธี พระพทุ ธศาสนา
พิธีกรรมตามหลักศาสนา
ที่ตนนบั ถือ - ศาสนพิธีเนอื่ งด้วยพุทธ
บัญญตั ิ เช่น พิธีแสดงตนเป็น

พทุ ธมามกะ พิธเี วียน
เทยี น ถวายสังฆทาน ถวายผา้
อาบนา้ ฝน พิธีทอดกฐิน พิธี
ปวารณา เปน็ ต้น
- ศาสนพธิ ที ่ีนา

พระพุทธศาสนาเขา้ ไป
เก่ียวเนื่อง เชน่
การทาบญุ เล้ยี งพระใน
โอกาสต่างๆ
- ความหมาย ความสาคัญ
คติธรรมในพธิ กี รรม บทสวด
มนต์ของนักเรียน งานพิธี
คุณคา่ และประโยชน์
- พธิ ีบรรพชาอปุ สมบท
คุณสมบตั ิของผู้ขอบรรพชา

อุปสมบท เคร่ืองอฏั ฐบริขาร
ประโยชน์ของการบรรพชา
อปุ สมบท
- บญุ พิธี ทานพิธี กศุ ลพธิ ี
- คณุ ค่าและประโยชน์ของศา
สนพธิ ี

พฤติกรรมการการเรียนรู้

มรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะ ดา้ นคุณลักษณะ

ge) (Process) (Competencies) (Attribute)

ผู้เรียนปฏิบัตติ นถกู ตอ้ ง ความสามารถในการคิด มวี ินัย

ตามศาสนพธิ ี พิธีกรรม ความสามารถในการสอ่ื สาร ใฝเ่ รียนรู้

ตามหลกั ศาสนาท่ีตน ความสามารถในการใชท้ ักษะ มุ่งม่ันในการทางาน

นบั ถือ ชวี ติ

มาตรฐานและตวั ช้ีวัด คาสาคัญ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ดา้ นความ

(Knowledg

ส 1.2 ม.4-6/4 วเิ คราะห์ -วิเคราะห์ - หลกั ธรรม/คติธรรมที่ ผเู้ รียนวเิ คราะหห์ ลัก
หลักธรรม คตธิ รรมที่ -ปฏิบัติตน
เกยี่ วเนอื่ งกบั วนั สาคัญ เก่ียวเน่ืองกบั วนั สาคญั และ ธรรมทีเ่ กยี่ วเน่อื งกบั
ทางศาสนา และเทศกาล
ท่สี าคัญของศาสนาท่ตี น เทศกาลท่สี าคัญใน ทางศาสนา และเทศ
นบั ถอื และปฏิบัติตนได้
ถูกต้อง พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา สาคัญของศาสนาที่ต

อ่นื และปฏิบัตติ นได้ถูกต

- การปฏิบัติตนท่ถี กู ตอ้ งในวัน

สาคญั และเทศกาลท่ีสาคญั ใน

พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา

อ่นื

หมายเหตุ K/P/A/C นาไปใช้ในการวเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์กบั ตารางที่ 4

พฤตกิ รรมการการเรยี นรู้

มรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะ ดา้ นคุณลกั ษณะ
ge) (Attribute)
(Process) (Competencies)
กธรรม คติ มีวินัย
บวันสาคัญ ผ้เู รียนปฏบิ ตั ติ นได้ ความสามารถในการคิด ใฝเ่ รยี นรู้
ศกาลท่ี มุ่งมนั่ ในการทางาน
ตนนบั ถือ ถูกตอ้ งเกยี่ วเนอื่ งกับวัน ความสามารถในการส่ือสาร
ต้อง
สาคญั ทางศาสนา และ ความสามารถในการใชท้ กั ษะ

เทศกาลทีส่ าคญั ของ ชวี ิต

ศาสนาที่ตนนับถือ

ตารางท่ี 3 กำหนดหนว่ ยกำรเรยี นรู้และกำรกำหนดนำหนักคะแนนกำรวดั และประเมิน
รำยวิชำสังคมศึกษำ รหัสวิชำ ส31102 ชันมธั ยมศึกษำปีท่ี 4

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนและตวั ชวี ัด สำระกำรเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง

หนว่ ยท่ี 1 ส 1.1 ม.4-6/1 วิเครำะห์สังคม - ลักษณะของสงั คมชมพูทวปี
ประวตั แิ ละ ชมพทู วีป และคติควำมเช่ือทำง และคตคิ วำมเชื่อทำงศำสนำ
ควำมสำคัญของ ศำสนำสมัยก่อนพระพุทธเจำ้ หรอื สมัยก่อนพระพทุ ธเจำ้

พระพุทธศำสนำ สงั คมสมยั ของศำสดำท่ีตนนบั ถอื

ส 1.1 ม.4-6/2 วเิ ครำะห์ - พระพุทธเจ้ำในฐำนะเป็น 12
พระพุทธเจำ้ ในฐำนะเป็นมนุษย์ มนษุ ย์ผู้ฝึกตนไดอ้ ยำ่ งสูงสดุ
ผู้ฝึกตนไดอ้ ยำ่ งสูงสุดในกำรตรัส (กำรตรัสรู้)
รู้ กำรก่อตงั วิธกี ำรสอนและกำร - กำรกอ่ ตังพระพุทธศำสนำ
เผยแผ่พระพทุ ธศำสนำหรอื วธิ กี ำรสอนและกำรเผยแผ่
วเิ ครำะหป์ ระวัติศำสตร์ท่ีตนนบั พระพทุ ธศำสนำตำมแนวพุทธ
ถือตำมที่กำหนด จริยำ

ส 1.1 ม.4-6/3 วเิ ครำะห์พุทธ - พุทธประวตั ิดำ้ นกำรบริหำร
ประวัติด้ำนกำรบริหำรและกำร และกำรธำรงรกั ษำ
ธำรงรักษำศำสนำหรือวเิ ครำะห์ พระพทุ ธศำสนำ
ประวัติศำสตรท์ ีต่ นนบั ถอื ตำมที่
กำหนด

คะแนนตำมช่วงเวลำกำรวัดและประเมนิ ผล

คะแนน
ตำมพสิ ัย
นำห ันกคะแนน
กลำงภำค
ปลำยภำค
ระหว่ำงเรยี น รวม

KPACKPACKK

18 22 2 3 3 10 2 3 3 12 - 30

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนและตัวชีวัด สำระกำรเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง

ส 1.1 ม.4-6/4 วิเครำะห์ข้อ -พระพุทธศำสนำมที ฤษฎีและ

ปฏบิ ัติทำงสำยกลำงใน วิธีกำรท่ีเป็นสำกลและมขี ้อ

พระพุทธศำสนำหรือแนวคิดของ ปฏิบตั ทิ ยี่ ึดทำงสำยกลำง

ศำสนำท่ตี นนับถือตำมทกี่ ำหนด

ส 1.1 ม.4-6/5 วิเครำะห์กำร - พระพทุ ธศำสนำเน้นกำร
พัฒนำศรัทธำและปัญญำที่ พัฒนำศรทั ธำและปัญญำท่ี
ถกู ต้องในพระพทุ ธศำสนำหรอื ถูกตอ้ ง
แนวคิดของศำสนำทตี่ นนบั ถอื
ตำมทก่ี ำหนด

ส 1.1 ม.4-6/6 วิเครำะห์ -ลกั ษณะประชำธิปไตยใน

ลกั ษณะประชำธิปไตยใน พระพทุ ธศำสนำ

พระพุทธศำสนำหรอื แนวคิดของ

ศำสนำทตี่ นนบั ถอื ตำมที่กำหนด

ส 1.1 ม.4-6/7 วเิ ครำะห์ - หลกั กำรของ

หลกั กำรของพระพทุ ธศำสนำกับ พระพทุ ธศำสนำกับหลัก

หลกั วทิ ยำศำสตร์หรอื แนวคดิ วทิ ยำศำสตร์

ของศำสนำที่ตนนบั ถอื ตำมท่ี - กำรคดิ ตำมนยั แหง่

กำหนด พระพุทธศำสนำและกำรคิด

แบบวิทยำศำสตร์

คะแนนตำมช่วงเวลำกำรวัดและประเมนิ ผล

คะแนน
ตำมพสิ ยั
นำห ันกคะแนน
กลำงภำค
ปลำยภำค
ระหวำ่ งเรียน รวม

KPACKPACKK

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนและตวั ชวี ัด สำระกำรเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง

ส 1.1 ม.4-6/8 วเิ ครำะห์กำร - พระพทุ ธศำสนำเน้นกำร

ฝึกฝนและพัฒนำตนเอง กำร ฝกึ หัดอบรมตน กำรพงึ่ ตนเอง
พ่ึงตนเองและกำรมงุ่ อิสรภำพใน และกำรมุง่ อิสรภำพ
พระพทุ ธศำสนำหรอื แนวคิดของ
ศำสนำทต่ี นนบั ถอื ตำมท่ีกำหนด

ส 1.1 ม.4-6/9 วเิ ครำะห์ - พระพุทธศำสนำเป็นศำสตร์
พระพทุ ธศำสนำว่ำเป็นศำสตร์ แหง่ กำรศึกษำ
แห่งกำรศกึ ษำ ซงึ่ เนน้ - พระพุทธศำสนำเน้น
ควำมสมั พนั ธข์ องเหตุปจั จยั กบั ควำมสมั พันธข์ องเหตุปจั จัย
วิธีกำรแกป้ ัญหำหรือแนวคิดของ และวิธีกำรแก้ปญั หำ

ศำสนำที่ตนนบั ถือตำมท่ีกำหนด

ส 1.1 ม.4-6/10 วิเครำะห์ - พระพทุ ธศำสนำฝกึ ตนไม่ให้
พระพุทธศำสนำในกำรฝึกตน ประมำท
ไมใ่ ห้ประมำท มุง่ ประโยชนแ์ ละ - พระพทุ ธศำสนำมุง่
สนั ตภิ ำพบุคคล สังคมและโลก ประโยชนส์ ขุ และสันตภิ ำพแก่
หรอื แนวคดิ ของศำสนำทีต่ นนับ บคุ คล สังคมและโลก
ถือตำมท่ีกำหนด

คะแนนตำมช่วงเวลำกำรวัดและประเมนิ ผล

คะแนน
ตำมพสิ ยั
นำห ันกคะแนน
กลำงภำค
ปลำยภำค
ระหวำ่ งเรียน รวม

KPACKPACKK

หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนและตัวชีวัด สำระกำรเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง

ส 1.1 ม.4-6/11 วเิ ครำะห์ - พระพทุ ธศำสนำกับปรชั ญำ
ของเศรษฐกจพอเพยี งและ
พระพทุ ธศำสนำกบั ปรัชญำของ กำรพัฒนำแบบยงั่ ยืน
เศรษฐกจิ พอเพยี งและกำร
พฒั นำประเทศแบบยงั่ ยืนหรอื
แนวคิดของศำสนำทต่ี นนบั ถอื
ตำมทีก่ ำหนด

หน่วยที่ 2 ส 1.1 ม.4-6/12 วิเครำะห์ - ควำมสำคญั ของ
พทุ ธประวตั ิและชำดก ควำมสำคัญของพระพทุ ธศำสนำ พระพทุ ธศำสนำกับกำรศึกษำ
เกย่ี วกบั กำรศกึ ษำที่สมบรู ณ์ ที่สมบูรณ์
กำรเมอื งและสันติภำพหรอื - ควำมสำคญั ของ 4
แนวคดิ ของศำสนำที่ตนนบั ถือ
ตำมที่กำหนด พระพทุ ธศำสนำกบั กำรเมือง
- ควำมสำคัญของ
ส 1.1 ม.4-6/14 วิเครำะห์ข้อคดิ พระพุทธศำสนำกับสนั ตภิ ำพ
และแบบอย่ำงกำรดำเนินชีวิต
จำกประวตั ิสำวก ชำดก เรือ่ งเล่ำ - พทุ ธสำวก พุทธสำวกิ ำ
และศำสนกิ ชนตัวอยำ่ งตำมท่ี - พระอสั สชิ
กำหนด
- พระกิสำโคตมเี ถรี
- พระนำงมลั ลิกำ
- หมอชวี ก โกมำรภจั
- พระอนุรทุ ธะ
- พระองคุลิมำล
- พระธมั มทนิ นำเถรี
- จิตตคหบดี
- พระอำนนท์

คะแนนตำมช่วงเวลำกำรวัดและประเมินผล

คะแนน
ตำมพสิ ัย
นำห ันกคะแนน
กลำงภำค
ปลำยภำค
ระหว่ำงเรยี น รวม

KPACKPACKK

68 114 1 1 4 - 10

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนและตวั ชวี ัด สำระกำรเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง

- พระปฏำจำรำเถรี

- จฬู สุภัททำ
- สมุ นมำลำกำรชำดก
- เวสสันดรชำดก
- มโหสธชำดก
- มหำชนกชำดก
- ชำวพทุ ธตัวอย่ำง
- พระนำคเสน – พระยำมิ
ลินท์
- สมเด็จพระวันรตั (เฮง
เขมจำรี)

- พระอำจำรยม์ ่ัน ภรู ิทตฺ
โต
- สุชีพ ปญุ ญำนุภำพ
- สมเดจ็ พระนำรำยณ์
มหำรำช

- พระธรรมโกศำจรย์ (พุทธ
ทำสภกิ ข)ุ
- พระพรหมมงั คลำจำรย์
(ปญั ญำนันทภิกขุ)
- ดร.เอม็ เบดกำร์

- พระบำทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ วั


Click to View FlipBook Version