The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mbakru1, 2022-06-29 14:04:18

วารสารวิทยาการจัดการปีที่9ฉบับที่1

Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University

Keywords: วารสารวิทยาการจัดการ

สรปุ ตามเสน้ ทางของแบบจาลอง ความรู้ทางด้านการเงิน (Financial Literacy) สง่ ผลกับปจั จัยในการตัดสินใจ
ลงทุน (Factors of Investment Decision) และส่งผลต่อแรงจูงใจในการตัดสินใจลงทุน (Motivation of
Investment Decision) และส่งผลตอ่ พฤตกิ รรมการลงทุนในตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย (Investment
Behavior) ในท่ีสุด พฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนนั้น ได้รับอิทธิพลทางตรงจากปัจจัยท้ัง 3 อย่างคือ
ความร้ทู างด้านการเงนิ ปจั จัยในการตดั สนิ ใจลงทุน และ แรงจงู ใจในการตัดสินใจลงทนุ

แผนภาพ 1 แบบจาลองโครงสร้าง ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ของนักลงทุนในเขตกรงุ เทพมหานคร

ตารางท่ี 2 อิทธพิ ลทางตรง อทิ ธพิ ลทางออ้ ม และอทิ ธิพลรวมของ ปัจจัยทม่ี ีอิทธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรม

การลงทุนในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทยของนักลงทนุ ไทย

ตวั แปร ตวั แปรผลลพั ธ์ DE IB TE
สาเหตุ FD MD IE
DE IE TE DE IE TE 0.385**
0.403**
FL 0.768** - 0.768** -0.111 0.566** 0.454** 0.116** 0.268**
FD 0.737** - 0.737** 0.132** 0.270** 0.366**

MD 0.366** -

คา่ ความเทย่ี ง R2 0.719 0.615 0.788

หมายเหตุ: R2 = 18886.06**, CFI = 1.00, RMSEA = 0.000,DE=Direct effect, IE= Indirect effect, TE=Total effect.

335 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

จากตารางท่ี 2 และภาพท่ี 1 เมื่อพิจารณาค่าความเท่ียงของตัวแปรสังเกตได้ของตัวแฝง ความรคู้ วาม
เข้าใจทางด้านการเงิน พบว่า นักลงทุนมีวิธีการออมเงินที่เหมาะสมกับตัวเอง (FL22) มีค่าความเท่ียงสูงสุด
เท่ากบั 0.700 รองลงมา คือ นกั ลงทุนต้งั เป้าหมายทางการเงินในระยะยาวและพยายามทาให้ได้ตามเป้าหมาย
ท่ีต้งั ไว้ (FL25) มคี ่าความเทีย่ ง เทา่ กับ 0.620 และลาดับที่ 3 คอื นกั ลงทนุ จะไตร่ตรองอย่างถีถ่ ว้ นว่ามีเงินพอ
จ่ายได้ (FL23) ตามลาดบั

เมื่อพิจารณาค่าความเที่ยงของตัวแปรสังเกตได้ของ ปัจจัยในการตัดสินใจลงทุน พบว่า นักลงทุนเห็น
ว่าการวิเคราะห์เศรษฐกิจท้ังภายในและภายนอกประเทศ ช่วยในการลดความเส่ียงจากการลงทุนของพวกเขา
ได้ (FD6) มีค่าความเที่ยงสูงสุด เท่ากับ 0.693 รองลงมา คือ เลือกลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษัทท่ีมีผล
ประกอบการเติบโตและมั่นคง (FD3) มีค่าความเท่ียง เท่ากับ 0.627 และลาดับท่ี 3 คือ นักลงทุนใช้ผล
ประกอบการท่ผี า่ นมาของบริษัท เพ่ือประเมินความเสย่ี ง ก่อนตัดสนิ ใจลงทุน (FD5) ตามลาดบั

เม่ือพิจารณาค่าความเท่ียงของตัวแปรสังเกตได้ของ แรงจูงใจในการตัดสินใจลงทุน พบว่า นักลงทุน
คิดว่าการลงทนุ ในตลาดหลักทรัพย์ทาให้รทู้ ันขา่ วสารต่าง ๆ มากขน้ึ (MD6) มคี ่าความเที่ยงสงู สุด เท่ากบั 0.681
รองลงมา มีค่าความเท่ียงสูงสุด 2 ค่า ได้แก่ การลงทุนในหลักทรัพย์ต่าง ๆ ทาให้นักลงทุนรู้จักบริษัทต่าง ๆ
มากขึ้น (MD7) และ นักลงทุนคิดว่าการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์เป็นการกระจายความเส่ียงทางด้านการเงิน
(MD10) มีค่าความเท่ียง เท่ากับ 0.570 และลาดับที่ 3 คือ นักลงทุนเห็นวา่ การลงทุนในหลักทรัพย์เป็นโอกาส
ในการเพิม่ รายได้จากการเกง็ กาไรของราคาหลกั ทรพั ย์ได้ (MD4) ตามลาดบั

ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบแบบจาลองโครงสร้าง ท่ีมีการปรับแก้มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิง
ประจกั ษใ์ นเกณฑ์ดี เม่ือพิจารณาค่า R2 พบว่า ความร้ทู างด้านการเงิน (FL) สามารถอธิบายตัวแปรปัจจัยใน
การตัดสินใจลงทุน (FD) ได้ร้อยละ 71.9 อธิบายตัวแปรแรงจูงใจในการตัดสินใจลงทุน (MD) ได้ร้อยละ 61.5
และอธิบายตวั แปรพฤติกรรมการลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย (IB) ไดร้ อ้ ยละ 78.8

5. สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรุปและอภิปรายผล
การวิเคราะหข์ อ้ มูลสามารถอภปิ รายผลการวิจัย ตามวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั ดงั น้ี
วัตถุประสงค์ข้อท่ี 1 เพ่ือศึกษาลักษณะประชากรของนักลงทุนชาวไทย และความเกี่ยวข้องต่อ
พฤติกรรมการลงทุน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 40-49 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า
50,001 บาทข้ึนไป และมีแหล่งของการลงทุนท่ีมาจากเงินออม สอดคล้องกับทฤษฎีหรือปัจจัยสาคัญที่
กอ่ ใหเ้ กดิ การลงทนุ นักลงทนุ สว่ นใหญ่ส่งคาส่ังผ่านอนิ เตอรเ์ นต็ สะท้อนให้เห็นถงึ เทคโนโลยีท่เี ข้ามามบี ทบาทใน
ดา้ นการเงนิ การลงทุนอย่างหลีกเลยี่ งไม่ได้ (กนกดล สริ ิวัฒนชัย และ อิทธิกร ขาเดช, 2557) สว่ นใหญ่ส่งคาสั่ง
ที่บ้านอาจจะเป็นเพราะช่วงท่ีเก็บตัวอย่างเป็นช่วงที่เกิดโรคระบาดโควิด19 ด้วย และสอดคล้องกับแนวคิด
กระบวนการตัดสินใจซ้ือของนักลงทุนหรือผู้บริโภค ของ Stanton and Futrell (1987) พบว่า ปัจจัยของผู้
ลงทุน (เช่น อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ ประสบการณ์ในการลงทุน) มีอิทธิพลในการตัดสินใจลงทุน ในขณะ
น้ัน (Stanton & Futrell,1987) ส่วนในบริบทของประเทศไทย วิไล เอ้ือปิยฉัตร (2560) พบว่า ปัจจัยด้าน
ประชากรมผี ลตอ่ ระดับความร้ทู างการเงนิ และระดับความรู้ทางการเงินท่เี พิ่มข้นึ ก็มผี ลต่อการเพิ่มขนึ้ ของระดับ
การออมหรือพฤตกิ รรมการลงทุนด้วย
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อศึกษาความรู้ทางด้านการเงิน ที่มีผลต่อปัจจัยในการตัดสินใจลงทุน
แรงจูงใจการลงทุนและพฤติกรรมการลงทุน พบว่า ความรู้ทางด้านการเงิน (Financial Literacy) ส่งผล

336 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

โดยตรงกับปัจจัยในการตัดสินใจลงทุน (Factors of Investment Decision) และ พฤติกรรมการลงทุนใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Investment Behavior) ในเชิงบวก แต่ส่งผลทางอ้อมต่อแรงจูงใจในการ
ตัดสินใจลงทุน (Motivation of Investment Decision) อีกนัยหนึ่ง นักลงทุนท่ีมีความรู้ทางด้านการเงินมาก
จะส่งเสริมให้เกดิ การศึกษาวิเคราะหป์ ัจจยั ท่ีเกยี่ วข้องกับการตัดสนิ ใจลงทุนทีม่ ากข้ึนดว้ ย รวมถงึ สง่ เสรมิ ให้เกิด
การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการลงทุน ในขณะท่ีอาจจะทาให้เกิดแรงจูงใจในการตัดสินใจลงทุนมากขึ้นอีกด้วย
สอดคล้องกับแนวคิด Gould (2016) และงานวิจัย ของ วิไล เอื้อปิยฉัตร (2560) แสดงหลักฐานว่า ระดับ
ความรู้ทางการเงินที่เพิ่มขึ้นก็มีผลต่อการเพ่ิมข้ึนของระดับการออมหรือพฤติกรรมการลงทุนด้วย ยังพบว่านัก
ลงทุนที่มีทักษะทางการเงินที่สูงน้ัน จะมีความสามารถในการจับจังหวะของตลาด (Market timing) ได้ดีกว่า
(Van Rooij, Lusardi & Alessie, 2011; Almenberg & Dreber, 2012) ในงานวิจัยของ Calcagno and
Monticone (2015) แนะนาว่า การท่นี กั ลงทนุ มีทักษะทางการเงินที่แย่ เพราะมรี ะดับทักษะทางการเงินที่ไม่ดี
นัน้ อาจทดแทนได้โดยการใช้คาแนะนาด้านการเงินการลงทนุ หรือผู้ใหบ้ รกิ ารทางการเงนิ ซึ่งจะทาใหผ้ ลกระทบ
ของทกั ษะทางการเงนิ ที่ไม่ดที ่ีมีต่อการตัดสนิ ใจทางการเงินท่ีผิดพลาดนั้นลดลงได้

วัตถุประสงค์ข้อท่ี 3 เพ่ือศึกษาปัจจัยในการตัดสนิ ใจลงทุน ท่ีมีผลต่อแรงจูงใจในการตัดสินใจลงทุน
และพฤติกรรมการลงทุน พบว่า ปัจจัยในการตัดสินใจลงทุน (Factors of Investment Decision) ส่งผล
ทางตรงต่อไปกับแรงจูงใจในการตัดสินใจลงทุน (Motivation of Investment Decision) ในเชิงบวก และ
ส่งผลทางตรงต่อ พฤติกรรมการลงทุน (Investment Behavior) ในเชิงบวกด้วย อธิบายได้ว่า นักลงทุนที่มี
การศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจลงทุนที่มากขึ้น ทาให้เกิดแรงจูงใจในการตัดสินใจลงทุน
มากข้ึนด้วย รวมถึงส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนนั้น ๆ ได้ผลท่ีเกิดขึ้นน้ี
สอดคล้องกับแนวความคิดเกี่ยวกับการตัดสินใจลงทุน ทฤษฎีเก่ียวกับการตัดสินใจของ Kotler (2003)
กระบวนการตดั สินใจของผูบ้ ริโภค 5 ขน้ั ตอน การตดั สนิ ใจซ้ือของผู้บริโภคน้ันจะถูกมองผ่าน ทศั นคติของผู้อื่น
และปจั จยั สถานการณท์ คี่ าดไมถ่ งึ รวมถงึ ความรูใ้ นดา้ นนน้ั ๆ ด้วย

วตั ถุประสงค์ข้อที่ 4 เพือ่ ศึกษาแรงจูงใจการลงทุน ที่มีผลตอ่ พฤติกรรมการลงทุน พบวา่ แรงจูงใจใน
การตัดสินใจลงทุน (Motivation of Investment Decision) ส่งผลทางตรงต่อ พฤติกรรมการลงทุน
(Investment Behavior) ในเชิงบวก นักลงทุนที่เกิดแรงจูงใจในการตัดสินใจลงทุนมากข้ึนอาจส่งเสริมให้เกิด
การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนได้ พบผลเช่นเดียวกันนี้กับงานวิจัยของ กนกวรรณ ศรีนวล
(2558) พบว่า ด้านพฤติกรรมการลงทุนมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ และแรงจูงใจในการทางานมีอิทธิพลต่อการ
ตัดสินใจลงทุน แต่ก็มีความขัดแย้งกับผลการศึกษาของ คมสันต์ สันติประดิษฐกุล (2563)พบว่า แรงจูงใจใน
การลงทุนด้านโอกาสการเพ่ิมรายได้ ไม่มีผลต่อการตัดสินใจลงทุน ทาให้เห็นถึงเหตุผลว่า อาจเป็นเพราะ
ช่วงเวลาที่เก็บแบบสอบถามมีส่วนประกอบด้านความเสี่ยงในการลงทุน และสภาพเศรษฐกิจปัจจุบนั ที่ประสบ
ปัญหาทางเศรษฐกิจอยู่ ทาให้นกั ลงทุนไม่มั่นใจในการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่าจะมีโอกาส
เพ่มิ รายไดใ้ นการลงทุนได้

337 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

5.2 ขอ้ เสนอแนะในเชิงนโยบาย
1. ควรมีการส่งเสริมให้ประชาชนท่ัวไปหรอื นักลงทุน ให้มีความรู้ความเข้าใจในด้านการเงิน

แก่ประชาชนในรูปแบบต่างๆ ผ่านวิธีการหลากหลายรูปแบบ เช่น มีการจัดอบรมความรู้ การสัมมนา การ
เรยี นรู้ส่ิงใหม่ สร้างเวทีสาธารณะเพอ่ื เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนได้สอบถาม แลกเปล่ียนใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจ
ในด้านการเงิน เพ่ือจะช่วยให้ประชาชนท่ัวไปมีความเข้าใจในด้านการเงินมากขึ้น โดยเน้นความเข้าใจในการ
การวางแผนทางด้านการเงินรายได้ ค่าใช้จ่าย การมีวินัยในการชาระค่าใช้จ่าย การต้ังเป้าหมายทางการเงิน
ระยะยาวและความพยายามทาให้ได้ตามเป้าหมายท่ีตั้งไว้ การจัดสรรรายได้ และการให้ความสาคัญกับการ
เก็บออม ทาใหป้ ระชาชนรู้จกั การออมเพื่อลงทนุ

2. ควรจัดทาการสรุปข้อมูลเกี่ยวกับหลักทรัพย์ในสื่อสาธารณะ ให้เข้าถึงกลุ่มนักลงทุนและ
ประชาชนโดยทั่วไป เช่น ทีวี ข่าว ส่ือสังคมออนไลน์ Facebook สร้างกลุ่มline เพ่ือกระตุ้นให้มีการพิจารณา
ผลประกอบการในหลักทรัพย์ที่เติบโตและม่ันคง สถานการณ์ต่าง ๆ ผลการวิเคราะห์เศรษฐกิจ แนวโน้ม
ทางดา้ นต่าง ๆ อยา่ งแพรห่ ลาย เป็นปัจจยั ทที่ าใหน้ ักลงทนุ ตดั สินใจลงทุน

3. ควรสร้างแรงจูงใจในการลงทุนโดยให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างสม่าเสมอ เก่ียวกับ
ผลตอบแทนท่ีได้รับ ความงอกเงยในการลงทุน ข้อมูลเก่ียวกับงบการเงินของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ การ
วางแผนทางการเงนิ หลังเกษยี ณอายุ การกระจายความเสีย่ ง ซ่ึงท้ังหมดจะนาไปสกู่ ารปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มี
แนวโน้มทาให้เกิดความสนใจในการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมากข้ึน จะเสริมสร้างสถานะ
การเงนิ ของนักลงทนุ ให้เติบโตได้ เปน็ การสง่ เสรมิ การระดมทุนของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ให้แข็งแกรง่ และ
สามารถแข่งขนั ในเวทีโลกได้

5.3 ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวจิ ยั ในครง้ั ตอ่ ไป
1. ควรมีการใช้เคร่ืองมือวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย เช่น การทาการวัดผลระดับความรู้

ด้านการเงินของกลุ่มตัวอย่างเดียวกันก่อนและหลังการอบรมความรู้ด้านการเงิน และสัมภาษณ์เชิงลึกถึง
พฤติกรรมการลงทุนก่อนและหลังการอบรมมาเปรียบเทียบกัน เพื่อให้ทราบถึงสามารถในการเพ่ิม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการรับรู้ความรู้ความเข้าใจด้านการเงินอย่างเป็นรูปธรรมมากข้ึน เพื่อท่ีจะ
นาไปพฒั นารปู แบบกจิ กรรม หรอื ส่ิงสนบั สนุนใหต้ รงวตั ถุประสงค์อยา่ งมปี ระสิทธิภาพสงู สดุ ตอ่ ไป

2. ควรเพ่ิมกลุ่มตัวอย่างนักลงทุน ในต่างจังหวัด หรือในภูมิภาค เพื่อเป็นการสนับสนุนข้อมลู
เก่ยี วกับพฤติกรรมการลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์แห่งประเทศไทย ซึง่ ผลจาการการศกึ ษาน้ี กลมุ่ ตัวอย่างเปน็ นัก
ลงทุนในกรุงเทพมหานคร ไม่ได้กระจายไปยังต่างจังหวัดท่ัวประเทศ ซ่ึงมีนักลงทุนการกระจายตัวในจังหวัด
ต่างๆ ดังนั้น งานวิจัยในอนาคตสามารถเข้าถึงนักลงหลากหลายกลุ่มในหลายจังหวดั ท่ัวประเทศได้มากข้ึน ทั้ง
ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ทาให้เป็นการเพ่ิมข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ เพ่ือการพัฒนาการลงทุนใน
ตลาดหลักทรัพย์ตอ่ ไป

6. กิตตกิ รรมประกาศ

ขอขอบคุณ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ในการ
สนบั สนนุ ทุนวจิ ัย และการเผยแพร่บทความวจิ ยั ในครั้งนี้

338 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เอกสารอา้ งอิง

กนกวรรณ ศรนี วล.(2558). การศึกษาปัจจัยสว่ นบคุ คล พฤตกิ รรมการลงทุน และแรงจงู ใจในการลงทุน ท่ี
มผี ลต่อการตัดสินใจลงทุนในตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย.การค้นควา้ อสิ ระ.บรหิ ารธรุ กจิ
มหาบัณฑติ .มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ

กนกดล สิริวัฒนชัย และอิทธิกร ขาเดช. (2557). การตัดสินใจลงทุนในหนุ้ ของคนรุ่นใหม่ที่มีอายรุ ะหว่าง 18 -
48 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการเงินการลงทุนการตลาดและการบริหารธุรกิจ,
4(1),521-542.

คมสนั ต์ สนั ตปิ ระดษิ ฐกุล. (2563). การตัดสินใจลงทุนในตลาดหลกั ทรพั ย์แห่งประเทศไทย ของนักศึกษา
ปรญิ ญาโทมหาวิทยาลยั รามคาแหง. การคน้ คว้าอสิ ระ.คณะบริหารธรุ กิจ. มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2557). ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ
,14 สงิ หาคม 2564 จาก http://www.set.or.th/th/products/equities/equities_p1.html.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563). สรุปภาพรวมตลาด. [ออนไลน์]. สืบค้นเม่ือ,14 สิงหาคม 2564
จาก https://marketdata.set.or.th/mkt/marketsummary.do

วิไล เอื้อปิยฉัตร (2560).ความรู้ทางการเงิน : ตัวกาหนดผลกระทบที่มีตอ่ พฤติกรรมการออม.วารสารวิชาการ
มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา, 25(47), 67-93.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส พับลิ
เคชนส.

Almenberg, J., & Dreber, A. (2 0 1 2 ) . Gender, Stock Market Participation and Financial
Literacy. SSE/EFI Working Paper Series No. 737, Retrieved July 23, 2021, from SSRN:
https://ssrn.com/abstract=1880909 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.188090

Baker, H. K., & Haslem, J. A. (1974). The impact of investor socioeconomic characteristics on
risk and return preferences. Journal of Business Research, 2(4),469- 476.

Calcagno, R., & Monticone, C. (2015). Financial literacy and the demand for financial advice.
Journal of Banking & Finance, 50(1), 363-380.

Gould, D. (2016). Quality coaching counts. Retrieved July 23, 2021, from
https://journals.sagepub.com/doi/abs/10.1177/0031721716647012

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis.
(7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Kotler P. (2003). Marketing Management. (11th ed.). New Jersey: Prentice Hall. Upper
Saddle River.

OECD. (2005). Improving Financial Literacy: Analysis of issues and policies. Paris,
France. Financial Education: Preliminary International Guidance. Retrieved July 23,
2021, from http://www.OECD.org/finance/financial-education/48212634.pdf

OECD. (2019). Measuring Financial Literacy: Results of the OECD / International Network on
Financial Education (INFE) Pilot Study,16-20.

OECD (2020). Economic Surveys Thailand economic assessment of Thailand. The

339 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

Assessment is Published under the responsibility of Secretary-General of the
OECD. Retrieved July 23, 2021, from https://www.oecd.org/economy/surveys/ -
Economic-assessment-thailand overview-2020.pdf
Qureshi, S. A., Rehman, K. U., & Hunjra, A. I. (2012). Factors Affecting Investment Decision
Making of Equity Fund Managers. Wulfenia Journal, 19(10), 280-291.
Schiffman, L. G; & Kanuk, L. L. (1994) Consumer Behavior. (5th ed.). New Jersey.
Stanton,W. J., & Futrell,C. (1987). Fundamentals of Marketing. (8th ed.) New York :McGraw-
Hill
Van Rooij, M., Lusardi, A., & Alessie, R. (2011). Financial literacy and stock market participation.
Journal of Financial Economics, 101, 449-472

340 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ปจั จยั ท่สี ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจบรโิ ภคอาหารมงั สวริ ัติในรา้ นอาหารของประชากรวัยทางาน
ในกรุงเทพมหานคร

Factor Affecting the Decision in Consuming Vegetarian Food
of People in Bangkok

ภควดี เจรญิ รตั น์*
(Pakavadee Jaroenrat)

บทคัดย่อ

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยการตัดสินใจ
บริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานคร จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล
2) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของ
ประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาปัจจัยจิตวิทยาส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหาร
มังสวิรัตใิ นร้านอาหารของประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานคร

วธิ ีการดาเนนิ การวิจยั การวิจัยครง้ั นเ้ี ป็นการวิจยั เชงิ ปรมิ าณ โดยใชข้ อ้ มูลแบบทตุ ิยภูมิและข้อมูลแบบ
ปฐมภูมิ โดยกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ ผู้บริโภคอาหารมังสวิรัติวัยทางานในที่อาศัยอยู่ใน
กรงุ เทพมหานคร จานวน 400 คน เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการวิจยั โดยอาศัยแบบสอบถามท่ีมคี วามเท่ียงตรงและด้าน
ความเชื่อม่ัน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถ่ี การหาค่าร้อยละ และส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน การทดสอบแบบ และการวิเคราะหค์ ่าสหสัมพันธ์ของเพยี ร์สัน ทร่ี ะดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05

ผลการวิจัยพบว่า (1) ค่าเฉลี่ยการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติของประชากรวัยทางานใน
กรุงเทพมหานคร แตกต่างกันเม่ือจาแนกตามปัจจัยประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้
สถานภาพ (2)ปัจจัยดา้ นสว่ นประสมทางการตลาดท่ีส่งผลต่อการตดั สินใจบริโภคอาหารมงั สวริ ัติในรา้ นอาหาร
ของประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านบุคลากร ด้านผลิตภัณฑ์ ด้า น
กระบวนการ ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด ด้านช่องทางจัดจาหน่าย ดา้ นราคา ตามลาดบั (3) ปจั จยั ด้านทัศนคติ
ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานคร ได้แก่
ความสะอาด การลดการทารณุ สัตว์ ไม่ทาลายสง่ิ แวดล้อม คณุ ภาพดปี ลอดภยั ตามลาดบั

คาสาคญั : ปจั จัยสว่ นประสมทางการตลาด การตดั สินใจ ทัศนคติ รา้ นอาหารมงั สวิรตั ิ

*นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี 10250 วิทยานิพนธ์ภายใต้การ
ควบคมุ ของ ดร.สพุ ิชา บูรณะวิทยาภรณ์
Master of Business Administration Thesis in Hospitality Business Management Dusit Thani College 10250

Corresponding author: [email protected]

341 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ABSTRACT

The objective of this research 1) To compare the average differences about vegetarian
food consumption decisions in restaurants of the working-age population in Bangkok which
were classified by personal factors 2) Study the marketing mix factors (7Ps) toward vegetarian
food consumption decisions in restaurants of the working-age population in Bangkok and 3)
To study the psychological factors affecting the decision to consume vegetarian food in
restaurants among working age populations in Bangkok.

Methods of this research is quantitative research using secondary data and primary
data. The sample group used in this research consisted of 400 working-age vegetarian
consumers living in Bangkok. The research instrument was a questionnaire with accuracy and
validity. The statistics used for data analysis were frequency distribution, percentage and
standard deviation, One-Way ANOVA, and Pearson's correlation analysis at a level of statistical
significance of 0.05

The results of the research were found that (1) the average of vegetarian food
consumption decisions in restaurants of the working-age population in Bangkok was
significantly different on demographic factors; genders, ages, education levels, incomes, and
marriage status (2) the marketing mix factors (7Ps) which influence vegetarian food
consumption decisions in restaurants of the working-age population in Bangkok consisted of
physical area, personnel factor, product factor, process factor, marketing promotion factor,
channel of distribution factor, and pricing factor, respectively. (3) attitude factors also influence
vegetarian food consumption decisions in restaurants of the working-age population in
Bangkok which were considered on cleanness, reducing animal cruelty, remaining
environmental resources, food’s high quality and safety.

Keywords: Marketing Mix Factors, Making Decision, Attitude, Vegetarian Restaurant

Article history:

Received 8 December 2021 Revised 4 January 2022

Accepted 7 January 2022 SIMILARITY INDEX = 5.76 %

342 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

1. บทนา

ในปัจจุบันความนิยมบริโภคอาหารมังสวิรัติขยายตัวเพิ่มขึ้นออกไปอย่างกว้างขวางในกลุ่มคนรุ่นใหม่
ท่ัวโลก ท้ังนี้เพราะปรากฏว่ามีผู้ป่วยและเสียชีวิตจากโรคเร้ือรัง เช่น โรคหัวใจ มะเร็ง หลอดเลือดในสมอง
ความดันโลหิตสูง เพ่ิมสูงขึ้นทุกปี จากสถิติผู้เสียชีวิตจากโรคสาคัญในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2558-2560
(กองยุทธศาสตร์และแผนงานสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2561) ปรากฏว่าใน 5 อันดับแรก ได้แก่
1) มะเร็งและเน้ืองอก 2) โรคหลอดเลือดในสมอง 3) โรคหัวใจ 4) โรคเบาหวาน และ 5) ความดันโลหิตสงู ซ่ึง
โรคเหล่าน้ขี ้อมลู ทางการแพทยเ์ ป็นที่แน่ชัดว่าเกิดจากการสะสมของไขมันประเภทอมิ่ ตวั (LDL) ที่เป็นไขมันเลว
และพบมากในอาหารเน้ือสัตว์ (Red Meat) ในทางตรงข้ามอาหารจากพืชผัก ผลไม้ จะช่วยป้องกันและรักษา
โรคเหล่านี้

จากการศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด Harvard University ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1979 ปัจจุบันเกี่ยวกับ
ความเส่ียงของการเกิดโรคเรื้อรังของผู้บริโภคอาหารมังสวิรัติแบบเคร่งครัด พบว่าผู้บริโภคมังสวิรัติเส่ียงต่อ
การเกิดโรคหัวใจน้อยกว่าคนท่ัวไปร้อยละ 25 เช่นเดียวกับการศึกษาของมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ดในกรณี
เดียวกันพบวา่ ผกู้ ินมงั สวริ ัติลดความเสี่ยงจากการเสียชีวติ จากโรคหัวใจน้อยกว่าคนทั่วไป รอ้ ยละ 19 (แก้ว กังส
กาดอาไพ, 2561) ด้วยเหตุผลนค้ี นรุ่นใหม่ท่ีให้ความสาคัญต่อการมีสุขภาพที่ดี จงึ เปล่ียนพฤติกรรมการบริโภค
อาหารโดยการเลิกกินเนื้อสัตว์หันมาบริโภคอาหารมังสวิรัติ ซ่ึงอาจมีหลายกลุ่ม เช่น แบบกึ่งมังสวิรัติ (semi-
vegetarian) แบบแมคโคไบโอติก (macrobiotic) ซ่ึงเป็นกลุ่มที่ไม่บริโภคเนื้อสัตว์ 4 เท้า 2 เท้า แต่ยังบริโภค
สัตว์น้าขนาดเล็ก ซ่ึงแตกต่างจากมังสวิรัติแบบเคร่งครัด strict-vegetarian or Vegan) ท่ีไม่บริโภคเนื้อสัตว์
และผลิตภณั ฑจ์ ากสตั วท์ ุกอยา่ ง

แนวโน้มความนิยมบริโภคอาหารมังสวิรัติเพิ่มข้ึนทุกปีทั่วโลก มีผลทาให้เกิดการขยายตัวของธุรกิจท่ี
เกี่ยวขอ้ งกับอาหารมงั สวริ ตั ิ รวมถึงมลู คา่ ทางการตลาดขยายตวั มากขนึ้ อย่างต่อเนื่อง ในประเทศไทย ศนู ยว์ ิจัย
กสิกรไทย (2562) ทาการสารวจพฤติกรรมการใช้จ่ายของคนกรุงเทพ ในช่วงเทศกาลกินเจในช่วงปี พ.ศ.
2557-2561 พบว่ามีเม็ดเงนิ ค่าใชจ้ า่ ยในชว่ งเทศกาลกินเจเพ่มิ เฉลยี่ ปีละ 7.9 โดยมีมลู ค่าเฉลย่ี ปีละ 5,000 ล้าน
บาท เม็ดเงินเหล่านี้กระจายไปสู่ธุรกิจต่าง ๆ เก่ียวกับอาหารมังสวิรัติ อาทิ ธุรกิจเครื่องด่ืมน้าผลไม้ เคร่ืองด่ืม
สมุนไพรของขบเคี้ยวต่าง ๆ เป็นต้นจานวนผู้นิยมอาหารมังสวิรัติ ในปัจจุบันแนวโน้มการนิยมบริโภคอาหาร
มงั สวริ ัติเพมิ่ ข้นึ ทุกปีซ่งึ เปน็ ไปตามกระแสของความนิยมการรกั สขุ ภาพของคนร่นุ ใหม่

ธุรกิจร้านอาหารมังสวิรัติเป็นอีกธุรกิจหน่ึงท่ีขยายตัวตามกระแสความนิยมการบรโิ ภคอาหารมงั สวิรัติ
ในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร มีธุรกิจร้านอาหารที่ขออนุญาตจัดตั้งกับหน่วยงานของกรุงเทพมหานครท้ังหมด
139 ร้าน กระจายอยูใ่ นเขตการปกครองของกรงุ เทพมหานคร 43 เขต ซ่ึงเป็นธรุ กิจท่ีมีทั้งผผู้ ลติ และผูจ้ าหน่าย
จานวนลูกค้าท่ีมาใช้บริการมีความสาคัญย่ิงต่อความสาเร็จของธุรกิจ ดังน้ัน ผู้ประกอบการต้องรู้จักปรับใช้กล
ยุทธ์ทางการตลาดมาใชผ้ สมผสานกับการดาเนินการภายในองค์การอย่างเหมาะสม นั่นคือ ผู้ประกอบการต้อง
เข้าใจคุณลักษณะของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายและใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่เหมาะสมกับลูกค้า เพ่ือการบรรลุ
เป้าหมายทตี่ ้งั ไว้ (Kotler & Armstrong, 2003)

ในการวิจัยเร่ือง ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของประชากรวัย
ทางานในกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยเป็นผู้นิยมบริโภคอาหารมังสวิรัติ สนใจท่ีจะศึกษาการประกอบธุรกิจ
ร้านอาหารมังสวิรัติ เพราะเห็นว่าธุรกิจร้านอาหารมังสวิรัติมีความสาคัญต่อผู้เก่ียวข้องอ่ืน ๆ เช่น เกษตรกร
ผู้ผลิตพืชผัก ผลไม้ ผู้ประกอบธุรกิจค้าขายผักผลไม้ปลอดสารพิษ ผลการวิจัยน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารมังสวิรัติ นาไปปรับปรุงกลยุทธ์ทางการตลาด กระบวนการบริการและ
ผลิตภัณฑ์ให้เป็นท่ีพึงพอใจของลูกค้า สามารถดาเนินธุรกิจไปได้อย่างดี ซ่ึงจะเป็นประโยชน์กับผู้เก่ียวข้องท่ี

343 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

กล่าวมาข้างต้น รวมทั้งยังจะเป็นผลดีต่อลูกค้าท่ีจะได้บริโภคอาหารมังสวิรัติที่มีคุณภาพและได้รับบริการท่ีดี
อกี ด้วย

วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั
1.เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียการตัดสินใจบรโิ ภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของ

ประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานครจาแนกตามปจั จยั ส่วนบุคคล
2.เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติใน

รา้ นอาหารของประชากรวัยทางานในกรงุ เทพมหานคร
3.เพือ่ ศึกษาปัจจยั จิตวทิ ยาส่งผลต่อการตัดสินใจบรโิ ภคอาหารมังสวริ ตั ใิ นร้านอาหารของประชากร

วัยทางานในกรุงเทพมหานคร

2. เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

2.1 แนวคดิ และทฤษฎีทีเ่ กยี่ วกบั ขอ้ งพฤติกรรมการบริโภค
Solomon, (2004: 4) กล่าวว่า พฤติกรรมการบริโภค คือ การศึกษาถึงกระบวนการ ที่

เกี่ยวข้องเม่ือผู้บริโภคเลือกซ้ือ ใช้หรือไม่ใช้สินค้าหรือบริการ เพ่ือสร้างความพึงพอใจให้กับ ความต้องการ
ของตน เช่นเดียวกับ Sheth & Mittal (2004: 3) กล่าวว่า พฤติกรรมผู้บริโภคนั้นเป็นการศึกษา ปัจจัยทาง
จิตวิทยาและด้านกายภาพของผู้บริโภค ท่ีมีผลการตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการท่ีนักการตลาดจาเป็นต้อง
เขา้ ใจเพ่ือปรับเข้ากับเคร่อื งมือสื่อสารทต่ี รงกับกลมุ่ เป้าหมายเพอื่ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพสงู สุด

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2550: 3) อธิบายว่า พฤติกรรมผู้บริโภคเป็นกระบวนการท่ีบุคคลค้นหา
(Searching) ซื้อ (Purchasing) การใช้ (Using) การประเมินผล (Evaluating) และการใช้จ่าย (Disposing)ใน
สินค้าและบริการท่ีโดยท่ีธุรกิจจะต้องตอบสนองความต้องการของลูกค้า หรืออีกความหมายหน่ึงคือ ขั้นตอน
หรือกระบวนการของการการตัดสินใจของแต่ละบุคคล ตามลักษณะของกิจกรรมที่เกิดขึ้นเก่ียวกับสินค้าหรือ
บรกิ าร

จากนิยามข้างต้นสรุปได้ว่า พฤติกรรมผู้บริโภคเป็นกระบวนการจัดหาและการบริโภคสินค้า
และบริการ ซ่ึงประกอบด้วย การหาข้อมูล การซ้ือ การใช้ การประเมินหลังการใช้ รวมทั้งการกาจัดสินค้าและ
บรรจุภัณฑ์หลงั การใชส้ ินคา้ ซึ่งตอ้ งผ่านกระบวนการตัดสินใจ ความพงึ พอใจและความต้องการของผู้บรโิ ภค

ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค นักวิชาการทางการตลาดได้กล่าวถึง ทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับ
พฤติกรรมผบู้ รโิ ภคไวใ้ นลกั ษณะทค่ี ลา้ ยคลงึ กัน ดังนี้

Levitt, (1988: 197) กล่าวว่า ผู้บริโภคจะแสดงพฤตกิ รรมอย่างหนงึ่ อย่างใดออกมา จะต้องมี
สิ่งกระตุ้นทาให้เกิดความต้องการและจากความต้องการดังกล่าว จะทาให้เกิดแรงจูงใจแสดงพฤติกรรมออกมา
จากทฤษฎดี งั กลา่ วสามารถนามาอธิบายพฤตกิ รรมของผบู้ ริโภคไดด้ งั น้ี

1.พฤตกิ รรมผู้บรโิ ภคจะเกดิ ได้ก็ต่อเมือ่ มสี าเหตุมากระต้นุ ทาใหเ้ กิดความต้องการข้ึน
2. พฤติกรรมผบู้ ริโภคจะเกิดข้นึ ไดต้ ้องมสี ิง่ จูงใจใหแ้ สดงพฤติกรรมตา่ ง ๆ ออกมา
3. พฤติกรรมผูบ้ ริโภคทีเ่ กิดขึน้ ย่อมมเี ป้าหมายของการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
จากแนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปได้ว่า เป็นกระบวนการพิจารณาเลือก
สินค้าหรือบริการสนองความต้องการของตน ซ่ึงได้รับอิทธิพลมาจากปัจจัยทางวัฒนธรรม ปัจจัยทางสังคม
ลกั ษณะส่วนบุคคลและปัจจยั ทางจิตวทิ ยา โดยผูซ้ อื้ จะพิจารณาเลือกตามความสนใจของตน

344 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

2.2 แนวคิด และทฤษฎที ่ีเกยี่ วขอ้ งกับสว่ นประสมทางการตลาด
ส่วนประสมทางการตลาด เป็นกลยุทธ์ทางการตลาดท่ีนักการตลาดนามาใช้เป็นเครื่องมือ

กระตุ้นการตัดสินใจซ้ือสินค้าหรือบริการ ซึ่งเป็นท่ียอมรับกันมาแต่เดิม คือ 4 P’s (Kotler & Armstrong,
2003) แตถ่ า้ เปน็ ธุรกจิ เก่ยี วกบั การบรกิ ารจะมสี ว่ นประสมทางการตลาดเพิ่มขึ้นอีก 3 ดา้ น ได้แก่ ด้านบุคลากร
กระบวนการบริการและด้านกายภาพ หรือเรียกว่า 7 P’s (Kotler & Keller, 2006: 28 ) ปัจจัยเหล่านี้จะถูก
นามาใช้เป็นกลยุทธ์ทางการตลาดที่ให้สนิ ค้าหรือบริการของตนมีคุณค่าแตกต่างจากสินค้าหรือบริการอื่น รู้สึก
พึงพอใจและพร้อมจะตัดสินใจเลือกซ้ือ เช่นเดียวกับ (Payne’ 1993 อ้างถึงใน ธธีร์ธร ธีรขวัญโรจน์ และ สุ
พจน์ กฤษฎาธาร (2563) กลา่ ววา่ ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) ของสนิ คา้ นนั้ โดยพน้ื ฐานจะมี
อยู่ 4 ตัว ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจาหน่าย และการส่งเสริมการตลาด (Kotler, 2003) แต่จะมี
ความแตกตา่ งของสว่ นประสมทางการตลาด และส่วนประสมของตลาดสินค้าทั่วไป

กล่าวคือส่วนที่เป็นปัจจัยหลักในการเพ่ิมการส่งมอบการบริการท่ีดีท่ีต้องเน้นถึงพนักงาน
กระบวนการให้บริการ และสิ่งแวดล้อมท่ี สัมผัสได้และสัมผัสไม่ได้หรือส่ิงแวดล้อมทางกายภาพอันเป็นปัจจัย
หลักในการสง่ มอบการบรกิ ารทดี่ ี

สรปุ แนวคดิ ดา้ นส่วนประสมทางการตลาดบริการ 7P’s ท่สี าคัญท่ีนักการตลาดใช้เป็นกลยุทธ์
ในการดาเนินงานเพ่ือให้สินค้า ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพควบคู่กับการบริการที่รวดเร็ว สะดวกสบายให้กับ
ผู้ใช้บริการ สื่อสารให้ครอบคลุม โดยใช้ส่ือทางอินเตอร์เนต็ การใช้บุคลากรในองค์กร ท่ีมีความรู้มีศักยภาพใหม้ ี
ความเหมาะสม ถูกต้องเกิดความประทับใจในสินค้าและบริการนั้นและทาให้ผู้บริโภคเกิดความจงรักภักดีใน
สินค้าในการเข้ามาใช้บริการในร้านอาหารผู้บริโภคจะต้องได้รับความสะดวกสบาย มีสถานท่ีสะอาดเป็น
ระเบยี บ พรอ้ มด้วยการตอ้ นรับ การสง่ มอบและการแกไ้ ขปัญหาใหก้ ับลูกค้าได้ดี

2.3 แนวคิด และทฤษฎีที่เกยี่ วข้องกับการตัดสนิ ใจซอื้
ในปัจจุบันซ่ึงเป็นยุคดิจิทัล เส้นทางผู้บริโภค (customer journey) เปล่ียนแปลงไปผู้บริโภค

หนั มาบริโภคทางออนไลนม์ ากข้ึน (ณงลกั ษณ์ จารุวัฒน์ 2564) กลา่ วว่า Kotler, Kartajaya and Setawan ได้
เสนอโมเดล 5 A ท่ใี ช้วิเคราะห์การตดั สนิ ใจซื้อ 5 ขั้นตอน ดงั นี้

ขน้ั ที่ 1 การรับ (A1 = Aware)
ขัน้ ที่ 2 การดงึ ดดู ใจ (A2 = Appeal)
ขน้ั ที่ 3 สอบถาม (A3 = Ask)
ข้ันท่ี 4 การซอ้ื (A4 = Act)
ขั้นท่ี 5 การสนับสนนุ (A5 = Advocate)
มุมมองใหม่ด้านการตลาดต่อเนื่องจากการตลาด 4.0 ของคอตเลอร์ ฟิลิป, จนมีผลงานเพิ่ม
ในหนังสือการตลาด 5.0 คอตเลอร์ได้กล่าวว่า โมเดลเส้นทางลูกค้า 5A’s ในยุคปัจจุบันผู้บริโภคมีการแบ่งปัน
ประสบการณ์กันทุกวินาทีสะท้อนให้เห็นได้ว่าการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคจาเป็นต้องหันไปพึ่งแหล่งข้อมูลท่ี
น่าเช่ือถือมากที่สุด ส่วนใหญ่ก็คือคนใกล้ตัว เช่นเพื่อน หรือบุคคลในครอบครัวเมื่อเกิดกระแสท่ีมีความนิยม
แรงและรวดเร็วมากข้นึ การประมวลผลของผบู้ รโิ ภคเรว็ ชัดเจนเกิดขอ้ มลู ท่ีมากมายและประสบการณ์จากการ
สอบถาม ผู้บริโภคเร่ิมสนใจ จนมีความมั่นใจและเช่ือถือในสินค้าได้เร็ว จนถึงการตัดสินใจใช้บริการ และเกิด
ความรสู้ ึกดีตอ่ สินค้าและผลิตภัณฑแ์ ละการซ้อื ซา้ มาเปน็ การสนับสนุนผลติ ภัณฑ์แทน
จากแนวคิดทฤษฎีเกย่ี วกับการตัดสินใจซื้อที่กล่าวมาขา้ งตน้ จะเห็นได้ว่ามีกระบวนการท่ีคล้ายคลึงกัน
คือ จะเริ่มจากการรู้ความต้องการ การค้นหาข้อมูล การประเมินทางเลือกและตัดสินใจซื้อ การใช้และ

345 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

พฤติกรรมหลังการใช้ ในการวิจัย ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของ
ประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานครนี้จะนาแนวคิดการตัดสินใจซื้อในยุคปัจจุบันของ Kotler, Kartajaya
and Setawan มาใช้เป็นตัวแปรตามวัดการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารมังสวิรัติของลูกค้า (ฟิลิป คอต
เลอร์, เหมะวนั การตะจายา และ ไอวนั เซเตียวาน 2564)

สรปุ แล้วจากแนวคดิ ทฤษฎเี กีย่ วกบั พฤติกรรมการบริโภคการตดั สินใจซ้ือ รวมทัง้ กลยุทธท์ างการตลาด
ส่วนประสมทางการตลาดเป้าหมายสาคัญก็เพื่อทาให้ผู้บริโภคท่ัวไป กลายเป็นลูกค้า มีความผูกพันระหว่าง
ผู้บริโภคกับแบรนด์หรือตราสินค้าโดยมุ่งใช้ปัจจัยทางการตลาด ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ ราคา กระบวนการ
ให้บริการ และองค์ประกอบอื่น ๆ น้ัน มาช่วยสร้างคุณค่าให้แบรนด์หรือตราสินค้าให้มีความโดดเด่นแตกต่าง
จากคแู่ ข่งขัน และเป็นท่ยี อมรับของลูกค้า ธุรกจิ ร้านอาหารมงั สวริ ัติเปน็ ธุรกิจบริการท่ใี หบ้ ริการผู้บริโภคเฉพาะ
กลุ่มซึ่งมีจานวนจากัด ดังน้ันจาเป็นต้องสร้างแบรนด์ของตนใหเ้ ป็นท่ีรู้จกั ไม่ว่าจะเป็นชื่อ สัญลักษณ์ สโลแกน
การตกแต่งอาคาร สถานท่ี คุณภาพผลิตภัณฑ์ และการบริการท่ีดี รวมทั้งการสื่อสารให้เกิดการรับรู้ไปสู่
กลุ่มเป้าหมายผ่านสื่อต่าง ๆ โดยเฉพาะสื่อออนไลน์ท่ีสามารถเข้าถึงได้ง่าย นอกจากน้ัน จะต้องมีโครงการ
ส่งเสริมการตลาดดึงดูดลูกค้าให้กลับมาใช้การซ้า เช่น การเป็นสมาชิก การสะสมคะแนนเพ่ือการลดราคาใน
คร้ังต่อไป รวมท้ังมีการตรวจสอบความรู้สึกของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายเป็นระยะ ๆ เพ่ือการปรับปรุงการบริการ
ตา่ ง ๆ ใหต้ รงกับความต้องการของกลุม่ ลกู ค้าเปา้ หมายอยเู่ สมอ

กรอบแนวคิดในการทาวจิ ยั

ผวู้ จิ ัยได้นาแนวคดิ ทฤษฎี เหล่าน้มี าประยกุ ตก์ าหนดเปน็ กรอบแนวคดิ การวิจัยได้ดงั นี้

ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม

ปจั จยั ดา้ นประชากรศาสตร์ การตดั สนิ ใจบรโิ ภคอาหาร

- เพศ Model (5 A’s)
- การรับรู้ (aware)
- อายุ - การดึงดดู ใจ (appeal)
- รายได้ - การสอบถาม (ask)
- การตดั สินใจ (act)
- ระดับการศึกษา -การสนบั สนุน (Advocate)

- สถานภาพสมรส

ปจั จยั สว่ นประสมการตลาด (7 P’s)
- ผลิตภัณฑ์ (product)
- ราคา (price)
- ช่องทางจาหน่าย (place)
-การสง่ เสรมิ การขาย (promotion)
- บคุ ลากร (people)
-กระบวนการบรกิ าร (process)
- สิง่ แวดล้อมกายภาพ (physical
Evidence)

ทศั นคติ

ความร้สู ึก (affective)

แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย

346 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

3. วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย

การวิจัยนม้ี ่งุ ศกึ ษา ปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ การตดั สินใจบริโภคอาหารมงั สวิรัตใิ นรา้ นอาหารของประชากรวัย
ทางานในกรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้วิธีวิจัยเชิงสารวจ
(Survey Research) ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติของประชากรวัย
ทางานในกรุงเทพมหานคร ท่ีมาบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารมังสวิรัติที่ถูกสุ่มมาเป็นแหล่งเก็บข้อมูล
โดยใช้แบบสอบถามเปน็ เครอ่ื งมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริโภคอาหารมังสวิรัติในกรุงเทพมหานคร จานวน 1.2 ล้านคน
(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, 2562) ประชากรวัยทางาน อายุ 18 – 60 ปี ทั้งนี้เพราะประชากรวัยทางานมักจะออก
ทางานนอกบ้าน เป็นเจ้าหน้าท่ี พนักงาน ลูกจ้าง หน่วยงานราชการหรือเอกชน มีเวลาว่างไม่มากนักมักอาศัย
การบริโภคในร้านอาหารมังสวิรัติในบริเวณใกล้เคียง ผู้วิจัยขอกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างเป็นจานวน 400
ตวั อยา่ งใช้วธิ สี มุ่ ตวั อย่างแบบหลายข้ันตอน

แบง่ เขตการปกครองกรุงเทพมหานครทง้ั หมด จานวน 50 เขต ออกเป็น 5 กลมุ่ ตามพ้ืนที่เขตท่ตี ้ัง คอื
กลมุ่ ตอนกลาง กลุ่มเหนอื กลมุ่ ตะวนั ออก กลุม่ ตะวนั ตก และกลุม่ ใต้ ซงึ่ ในแตล่ ะสว่ นจะสุ่มเขตการปกครองมา
1 เขต ด้วยการสุ่มแบบง่ายรวมท้ังหมด 5 เขตปกครอง ในแต่ละเขตการปกครองท่ีสุ่มได้จะสุ่มร้านอาหาร
มังสวิรัติที่ข้ึนทะเบียนไว้กับกรุงเทพมหานคร ท้งั หมด 139 รา้ น กระจายอยู่ในเขตต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร
(สานกั งานเศรษฐกิจการคลัง กรุงเทพมหานคร) มาเขตละ 1 รา้ นดว้ ยการสุ่มแบบงา่ ย จะได้ร้านอาหารมังสวิรัติ
ทั้งหมด 5 ร้าน (โดยขอสงวนชื่อร้านอาหารมังสวิรัติที่ถูกสุ่มและยอมให้เก็บข้อมูล) ใช้เป็นแหล่งเก็บข้อมูลฃ
แต่ละร้านอาหารมังสวิรัติท่ีถูกสุ่ม จะสุ่มเก็บข้อมูลจากลูกค้าที่สมัครใจตอบแบบสอบถาม ด้วยวิธีสุ่มแบบ
บังเอิญ (Accidental Sampling) จานวน 80 คน ผลการส่มุ ปรากฏ ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 กลุ่มพื้นท่ีเขตปกครอง เขตปกครอง รา้ นอาหารมังสวิรัตทิ ี่ถกู สุ่มและจานวนตวั อย่าง

กลมุ่ เขตปกครอง เขตปกครอง จานวนรา้ นอาหารมังสวริ ัติ จานวนตวั อยา่ ง

กลุ่มตอนกลาง บางรกั 1 80

กลุ่มเหนือ บางเขน 1 80

กล่มุ ใต้ คลองสาน 1 80

กลมุ่ ตะวันออก พระโขนง 1 80

กลมุ่ ตะวนั ตก จตจุ ักร 1 80

รวม 5 5 400

ผลการทดสอบคุณภาพเครื่องมือ พบว่าแบบสอบถามผ่านความตรงเชิงเนื้อหา และความเช่ือม่ัน
สามารถนาแบบสอบถามไปจดั เก็บเพอ่ื วเิ คราะห์ข้อมลู ได้
สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลประกอบไปด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าT การ
วเิ คราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดยี ว การวิเคราะหถ์ ดถอยพหุ

347 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

4. ผลการวจิ ัย

1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม พบว่าส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง (ร้อยละ65.00)
มีอายุ 41-50 ปี (ร้อยละ37.50) ระดับการการศึกษาปริญญาตรี (ร้อยละ60.00) รายได้ต่อเดือน 15,001-
30,000 บาท (รอ้ ยละ29.00) สถานภาพโสด (รอ้ ยละ 61.00)

2. การวิเคราะห์ปัจจัยทางด้านส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) พบว่าปัจจัยด้านบุคลากรโดยรวม
และปัจจยั ด้านกายภาพโดยรวม มีค่าเฉลีย่ อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ

3. การวิเคราะห์ระดับความสาคัญเกย่ี วกับปจั จัยด้านทัศนคติ พบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามรูส้ ึกพอใจใน
การรับประทานอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารที่สะอาด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด และพบว่าผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความรู้สึกว่าการรับประทานอาหารมังสวิรัติทาให้ได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่ มีค่าเฉล่ียอยู่ใน
ระดบั น้อยทส่ี ดุ

4. การวิเคราะห์ระดับความสาคัญเก่ียวกับปัจจัยด้านการตัดสินใจบริโภค ด้านการรับรู้ พบว่ารู้จัก
ร้านอาหารมังสวิรัติเพราะเคยมาใช้บริการร้านอาหารมังสวิรัติด้วยตนเอง มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากที่สุด ด้าน
การดึงดูด พบว่าเห็นว่าการรับประทานอาหารมังสวิรัติช่วยลดภาวะโลกร้อนลดและลดการทารุณสัตว์ มี
ค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านการสอบถาม พบว่าค้นหาข้อมูลร้านอาหารมังสวิรัติในสื่อสังคมออนไลน์
โซเชียลมีเดีย มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านการซ้ือ พบว่ามีความพร้อมเสมอท่ีจะรับประทานอาหาร
มังสวิรัติในร้านอาหารท่ีสะอาดและรสชาติดี มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านการสนับสนุน พบว่ามีความ
ประทบั ใจท่ีได้รับประทานอาหารมังสวิรัตมิ ีคณุ ภาพและรสชาติดี มีค่าเฉลีย่ อยู่ในระดับมากทีส่ ุด

5. ผลการเปรยี บเทียบและการวเิ คราะห์ความแปรปรวน ในกลุ่มผบู้ ริโภคอาหารมังสวิรัติทม่ี ี เพศ,อายุ
,รายได้ แตกต่างกัน พบว่ามีการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหาร โดยรวมและรายด้าน ไม่ต่างกัน
ส่วนในกลุ่มผู้บริโภคอาหารมังสวิรัติท่ีมี ระดับการศึกษา แตกต่างกัน พบว่ามีการตัดสินใจบริโภคอาหาร
มังสวิรัติในร้านอาหาร โดยรวม ต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่า ด้านท่ีไม่ต่างกันมี 3 ด้าน คือ ด้านการสอบถาม ด้านการซ้ือ และด้านการสนับสนุน ส่วนด้านที่มีความ
ต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 มี 2 ด้าน คือ ด้านการรับรู้ และด้านการดึงดูด และในกลุ่ม
ผู้บริโภคอาหารมังสวิรตั ิที่มี สถานภาพ แตกต่างกัน พบว่าผู้บริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารที่มีสถานภาพ
ท่ีแตกต่างกัน จะมีการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวริ ัติในร้านอาหาร โดยรวม ต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ท่ีระดับ 0.05 และเม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านท่ีไม่ต่างกันมี 4 ด้าน คือ ด้านการรับรู้ ด้านการดึงดูด
การสอบถาม และด้านการซ้ือ ส่วนด้านที่มีความต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มี 1 ด้าน คือ
ด้านการสนบั สนุน

6. ผลการวิเคราะห์สถิติถดถอยพหุคูณพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ด้านผลิตภัณฑ์
ดา้ นราคา ดา้ นชอ่ งทางการจัดจาหน่าย และด้านกายภาพ มคี า่ (P-value) น้อยกว่า 0.05 จึงยอมรับสมมติฐาน
H1 แสดงว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย
และด้านกายภาพ ส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของประชากรวัยทางานใน
กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 โดยมีค่า (P-value) เท่ากับ 0.007, 0.004, 0.033,
และ 0.000 ตามลาดับ ในขณะที่ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านบุคลากร และปัจจัยด้าน
กระบวนการ มีค่า (P-value) เท่ากับ 0.090, 0.142, และ 0.122 ตามลาดับ มากกว่า 0.05 จึงยอมรับ
สมมติฐาน H0 แสดงว่า ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านบุคลากร และปัจจัยด้านกระบวนการ ไม่
ส่งผลต่อระดับความสาคัญของการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของประชากรวัยทางานใน
กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยเม่ือพิจารณาตัวแปรอิสระท่ีมีอานาจในการ

348 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ทางานการเปลี่ยนแปลงของระดับความสาคัญของการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของ
ประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานคร ได้ดีที่สุดคือ ปัจจัยด้านกายภาพ (β=0.192) ปัจจัยด้านราคา
(β=0.156) ปจั จัยดา้ นผลติ ภณั ฑ์ (β=0.142) และปัจจัยด้านช่องทางการจัดจาหนา่ ย (β=0.124) ตามลาดับ

เม่ือวิเคราะห์ค่าขนาดความผันแปรของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแประตาม (Adjust
R^2= 0.543) พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัด
จาหน่าย และด้านกายภาพ ส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรตั ิในร้านอาหารของประชากรวยั ทางาน
ในกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 54.30

7. ผลการวเิ คราะห์โดยการใชก้ ารวเิ คราะหถ์ ดถอยพหุ (Multiple Regression Analysis) ดว้ ยวิธีแบบ
ปรกติ (Enter Regression) ท่ีระดับนัยสาคัญ 0.05 ดังน้ันการยอมรับสมมติฐานหลัก H0 และปฏิเสธ สมมติ
ฐานรอง H1 ก็ตอ่ เมื่อความนา่ จะเปน็ (P-value) มีค่ามากกวา่ 0.05 และปฏิเสธ สมมตฐิ านหลัก H0และยอมรับ
สมมติฐานรอง H1ก็ตอ่ เมื่อมคี วามนา่ จะเป็น (P-value) มคี า่ นอ้ ยกว่า 0.05

โดยเมอ่ื พิจารณาตัวแปรอสิ ระที่มีอานาจในการทานายการเปลี่ยนแปลงของระดับความสาคญั ของการ
ตดั สินใจบริโภคอาหารมงั สวริ ตั ิในรา้ นอาหารของประชากรวัยทางานในกรงุ เทพมหานครได้ดีทีส่ ดุ ( =0.766)
เมื่อวิเคราะห์ค่าขนาดความผันแปรของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม (Adjust 2=
0.585) พบว่าปัจจัยด้านทัศนคติ ส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของประชากรวัย
ทางานในกรงุ เทพมหานคร รอ้ ยละ 58.50

5. สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรปุ และอภิปรายผล
1. ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของประชากร

วัยทางานในกรุงเทพมหานครเม่ือจาแนกตามปัจจัยข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่าปัจจัยด้านเพศ
อายุ รายไดต้ อ่ เดอื น ไม่มีผลทาให้การตัดสินใจแตกตา่ งกัน ผลการวจิ ัยน้ี สอดคล้องกบั การศึกษาของ ศศอิ ารียา
แสวงทรพั ย์ (2561) ทศี่ ึกษาเร่ืองแนวทางการพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดของธรุ กิจอาหารเพ่ือสุขภาพ
สาหรบั ผ้หู ญงิ วยั ทางาน จงั หวดั ราชบุรี

2.จากผลการศึกษาปจั จัยสว่ นประสมทางการตลาด (7P’s) พบว่ากลุม่ ตวั อยา่ งให้ความสาคัญ
กับปัจจยั สว่ นประสมทางการตลาด(7P’s) โดยรวมอย่ใู นระดับมาก เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายดา้ นพบว่า ปจั จัยดา้ น
ลักษณะทางกายภาพโดยรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และช่องทาง
การจัดจาหน่ายอยู่ในระดับมาก ตามลาดับ ซึ่งผลการวิจัยสอดคล้องกับการวิจัยของ ดลนัสม์ โพธิ์ฉาย (2562)
ทศี่ กึ ษา เรื่อง การศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสนิ ใจบริโภคผลไม้พรเี ม่ยี ม : กรณศี ึกษาผู้บริโภค
ในอาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการแสวงหาข้อมูล ด้านการรับรู้ปัญหา
และดา้ นการประเมินผลทางเลือกอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ ส่วนด้านการตดั สินใจซ้ือและพฤติกรรมหลังการขายอยู่
ในระดับมาก และยังสอดคล้องกับการวิจัยของ จิตตวุฒิ รัตตกุล (2560) ที่ศึกษาเรื่อง การศึกษาปัจจัยส่วน
ประสมทางการตลาดบริการและทัศนคติที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารเพ่ือสุขภาพของพนักงานเอกชนใน
เขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้บริโภคให้ความสาคัญปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในแต่ละองค์ประกอบต่อ
การตัดสินใจซื้อในระดับมากตามลาดับ คือ ด้านบุคลากร ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านลักษณะทางกายภาพ
กระบวนการให้บรกิ าร ช่องทางจาหน่ายและการสง่ เสรมิ การขาย ตามลาดบั

349 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

5.2 ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย
1. ผลที่ไดจ้ ากการวิจัยสามารถระบุปจั จยั ทส่ี ่งผลต่อการตดั สินใจบริโภคอาหารมังสวิรตั ใิ น

ร้านอาหารของประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานคร พร้อมท้ังได้ระบุถึงระดับความสาคัญของแต่ละปัจจัย
ซึ่งจากการวิจัยคร้ังนี้ พบว่า ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ สาคัญอยู่ท่ีระดับการศึกษา และสถานภาพเป็นปจั จัย
เชิงบวกท่ีสาคัญท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติในร้านอาหารของประชากรวัยทางานใน
กรุงเทพมหานคร โดยผลการวิจัยดังกล่าวนี้มีประโยชน์ต่อผู้ประกอบการร้านอาหารมังสวิรัติสามารถวางแผน
กลยุทธ์ทางการตลาดจัดทาแผนเพอื่ ใหล้ กู ค้ากล่มุ ลกู คา้ เป้าหมาย

2. กลยทุ ธส์ ่วนประสมทางการตลาดท่มี ีผลต่อการตัดสินใจบรโิ ภคอาหารมังสวิรตั ิในร้านอาหาร
ของประชากรวัยทางานในกรุงเทพมหานคร ผู้ประกอบการควรให้ความสาคัญอันประกอบด้วย (1) ด้านระดับ
การศึกษา ให้ความสาคัญกับสุขภาพและคุณประโยชน์จากการได้รับสารอาหารท่ีครบในแต่ละมื้อและได้รับ
แคลอรี่ที่สมดุลต่อร่างกาย (2) ด้านลักษณะทางกายภาพ ผู้ประกอบการควรจะมีการจัดสถานที่ให้สะอาด มี
ความ โปรง่ ดรู ่มร่นื มกี ารเว้นระยะห่างตามความเหมาะสม (3)ดา้ นผลติ ภณั ฑ์และราคา ร้านอาหารควรพัฒนา
ให้สินค้ามีคุณภาพดี รสชาติอร่อย มีความหลากหลาย เหมาะสมท้ังคุณภาพและปริมาณ (4)ด้านช่องทางการ
จัดจาหน่าย ผู้ประกอบการควรพัฒนาช่องทางการตลาดออนไลน์เพ่ิมขึ้น เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารจากร้านค้าได้รวดเร็ว

5.3 ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวิจยั ในครงั้ ตอ่ ไป
1. ควรมีการขยายของเขตของงานวิจัยน้ีให้มากข้ึน โดยการขยายกลุ่มตัวอย่างออกไปยัง

ตา่ งจงั หวดั เพือ่ ให้ครอบคลมุ ประชากรท่บี รโิ ภคอาหารมังสวิรตั ใิ นร้านอาหารไดม้ ากขน้ึ
2.ควรศึกษาปัจจัยอื่นๆเพ่ิมเติมโดยอาจเลือกศึกษาปัจจัยท่ีเกี่ยวกับลักษณะเชิงธุรกิจหรือ

รายละเอียดกลไกทางการตลาด เพ่ือหากลยุทธ์ที่เหมาะสมในการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค และ
เพื่อพฒั นากลยทุ ธเ์ พอ่ื ให้สามารถสรา้ งความได้เปรียบเชงิ การแขง่ ขนั ได้

3. ควรเพิ่มเติมเคร่ืองมือในการเก็บข้อมูลอื่น ๆ เช่น การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth
Interview)ควบคไู่ ปกับการแจกแบบสอบถามเพื่อให้ได้ข้อมลู เชิงลึกเก่ียวกับการตดั สนิ ใจบรโิ ภคอาหารมงั สวิรัติ
ในร้านอาหารของผ้บู ริโภคทห่ี ลากหลายหรอื เฉพาะเจาะจงมากข้นึ

350 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เอกสารอ้างอิง

กองยุทธศาสตร์และแผนงานสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.(2561).สถิติสาธารณสุข 2561.[ออนไลน์]
สื บ ค้ น เ มื่ อ 6 ก ร ก ฎ า ค ม 2 5 6 4 , จ า ก http://www.pcko.moph.go.th/Health-
Statistics/stratistics61.pdf

แก้ว กันสกาดอาไพ. (2561). มูลนิธิโลกสีเขียว “กินดีอยู่ดี”. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 6 กรกฎาคม 2564, จาก
www.greenworld.or.th (doi.org/10.1136/4131).

จิตตวุฒิ รัตตกุล. (2560). การศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการและทัศนคติท่ีมีผลต่อการ
ตัดสินใจซ้ืออาหารเพ่ือสุขภาพของพนักงานบริษัทเอกชนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์
บรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั กรุงเทพ.

ดลนัสม์ โพธิ์ฉาย. (2562). การศกึ ษาปัจจัยทางการตลาดต่อการตดั สินใจบริโภคผลไม้พรเี ม่ียม : กรณีศกึ ษา
ผู้บริโภคในอาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร.

ธธีร์ธร ธีรขวัญโรจน์ และ สุพจน์ กฤศฎสธาร . (2563). การตลาดบริการ Services Marketing. กรุงเทพฯ:
ซเี อด็ ยเู คชั่น

ฟิลิป คอตเลอร์, เหมะวัน การตะจายา และ ไอวนั เซเตียวาน. (2564) การตลาด 5.0 (ณงลกั ษณ์ จารวุ ัฒน์, ผู้
แปล). กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์เนชน่ั บุ๊คส์

ศริ ิวรรณ เสรีรัตน.์ (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. (พมิ พค์ ร้งั ท่ี 3). กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์ไดมอนด์ธุรกิจ.
ศศิอารียา แสวงทรัพย์. (2561). แนวทางการพัฒนากลยทุ ธ์สว่ นประสมการตลาดของธรุ กิจอาหารเพ่ือสุขภาพ

สาหรบั ผ้หู ญิงวยั ทางาน จงั หวดั ราชบรุ ี. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภฎั นครปฐม, 5(2),
30–44. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2018.19
ศูนยว์ ิจยั กสิกรไทย. (2562). Analysis SME. ไมจ่ าเจปรบั กลยุทธร์ ับเทศกาลกนิ เจ ค้นเมือ่ วันท่ี 6 กรกฎาคม
2564 จาก www.kesikornresearch (vegetarian.pdf kasikornresearch.com)
Kotler, P. and Armstrong G. (2003). Marketing: An Introduction. (6 th ed). Upper Saddle River,
NJ. Prentice-Hall.
Kotler, P. (2003). Marketing management. (11 th ed). NJ. Pentic - Hall.
Kotler. P. and Keller. L.K. (2006). Marketing Management. NJ. Pearson Education.
Leavitt, J.H. (1988). Managerial Psychology: Managing Behavior in Organization. (5 the ed).
NY. Prentice-Hall.
Seth, J.N. and Mittal. B. (2004). Consumer Behavior. A Managerial Perspective. (2 nd.ed)
Manson, OH. Thomson South-West.
Solomon, M.R., (2004). Consumer Behavior. Buying, Having and Buying. Upper Saddle River,
NJ.Prentice-Hall.

351 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

แรงจูงใจในการตดั สินใจเลือกศึกษาต่อหลักสตู รบญั ชบี ณั ฑติ (นานาชาต)ิ ของนกั เรยี นระดบั
มธั ยมศึกษาตอนปลายในหลกั สูตรท่ีจัดการเรยี นการสอนเป็นภาษาอังกฤษ

Motivations to Choose the Bachelor of Accountancy (International) Program
Among the Senior High School Students Studying in International Programs

ธนดิ า อทุ ยาพงษ์* และคณะ
(Thanida Uthayapong et al.)

บทคัดยอ่

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสตู รบัญชบี ัณฑิต (นานาชาติ)
ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในหลักสูตรท่ีจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษในประเทศไทย
โดยมีกลุ่มตัวอย่างจานวน 289 ตัวอย่างจากหลักสูตรท่ีจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษท้ังสิ้น 154
หลักสูตร และมีแบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการรวบรวมข้อมูล งานวิจัยนี้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ
เชิงพรรณนา (ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน) และวิธีการวิเคราะห์การถดถอย
โลจิสตคิ

ผลการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติค พบว่า แรงจูงใจที่สาคัญที่สุดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายท่ีหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ) ควรพิจารณาคือ “การประชาสัมพันธ์” เพราะการประชาสัมพันธ์ท่ี
เข้าถึงนักเรียนกลุ่มเป้าหมายจะเพ่ิมความสนใจในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ) อย่างมีนัยสาคัญ
ผลงานวิจัยยังพบว่า สถานท่ีตั้งของมหาวิทยาลัย และรูปแบบการเรียนการสอน เป็นปัจจัยสาคัญท่ีอยู่ในการ
พิจารณา และมแี นวโนม้ ทจี่ ะทาใหน้ ักเรียนสนใจเรียนในหลักสตู รนี้ ผลการวิจัยยงั บ่งช้ีว่า ในการประชาสัมพันธ์
หลกั สูตร เนือ้ หาท่ีสาคญั ท่ีควรเน้นคือ รปู แบบการเรยี นการสอนและกจิ กรรมในหลักสูตร เนื่องจากท้ังสองด้าน
น้ีมแี นวโนม้ ที่จะเพ่ิมความสนใจของนกั เรยี นต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑติ (นานาชาต)ิ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ

คาสาคญั : หลักสตู รบัญชบี ณั ฑติ โรงเรียนนานาชาติ แรงจงู ใจในการตดั สินใจเลอื กเรียนระดับปริญญาตรี

* อาจารย์ประจาหลกั สตู รการบญั ชี คณะบริหารธุรกจิ และการบัญชี มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 40002
Lecturer in the Department of Accountancy, Khon Kaen Business School, Khon Kaen University 40002
** คณะผวู้ ิจยั ประกอบดว้ ย 1. ธนดิ า อุทยาพงษ์ 2. ปน่ิ ประภา แสงจันทร์ 3. ปิยดา ดาวดึงษ์ 4. อนุรกั ษ์ ทองสุโขวงศ์ และ
5. ศริ ลิ ักษณ์ ศุทธชัย
(Thanida Uthayapong, Pinprapa Sangchan, Piyada Daowadueng, Anurak Thongsukhowong and Siriluck
Sutthachai)

Corresponding author: [email protected]

352 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ABSTRACT
This research aims to investigate the senior high school students’ motivations in
selecting the Bachelor of Accountancy (International) Program (B.Acc International Program)
for their undergraduate education. The research samples are the students who are studying
in the international/English programs, which are taught in 1 5 4 schools in Thailand. The
questionnaires were sent to these schools and 2 8 9 respondents answered. The descriptive
statistics (such as frequency, percentage, mean, and standard deviation) and the logistic
regression method were employed to analyze data.
The results show that the most significant motivation that the B.Acc program should
pay attention is ‘advertisement and public relations’, because it could significantly increase
the interest of the senior high school students toward the B.Acc program, consequently the
students possibly choose the program for their undergraduate level. Furthermore, findings
indicate that the location and learning system including extracurricular activities could increase
the students’ interest in the B.Acc International Program.

Keywords: Bachelor of Accountancy Program, International school, Motivations in selecting
undergraduate programs

Article history:

Received 8 December 2021 Revised 7 January 2022
Accepted 10 January 2022 SIMILARITY INDEX = 2.36 %

353 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

1. บทนา

การทาการคา้ ระหว่างประเทศ (Cross-Border) ที่ทวีความสาคญั ในยคุ ธรุ กิจไรพ้ รมแดน (Borderless-
Business Globalization) ส่งผลโดยตรงต่อความต้องการแรงงานที่มีศักยภาพเพียงพอในการทางาน พร้อมท่ี
จะปรับตัวให้เข้ากบั ยคุ Borderless-Business (ธรุ กจิ แบบไร้พรมแดน) และมีความเปน็ สากล ดังนั้น ภาคธรุ กิจ
เริ่มมีความต้องการบุคคลากรที่มีทั้งความสามารถเชิงวิชาชีพและภาษา โรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาได้มีการ
ปรับตัวเพื่อรองรับการเจริญเติบโตในลักษณะของ Cross-Border เช่นกัน ตามข้อมูลของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ณ วันท่ี 26 เมษายน 2560 ประเทศไทยมีจานวน
โรงเรียนนานาชาติ (International schools) ท่ีเปิดในระดับมัธยมศึกษาจานวน 43 โรงเรียน และมีโรงเรียน
จานวน 111 โรงเรยี น ท่ีมีการเรยี นการสอนภาคภาษาอังกฤษ (English Program: EP) ควบคกู่ ับการเรยี นการ
สอนภาคภาษาไทย (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ., 2560: 1) เพื่อผลิตนักเรียนที่มีคุณสมบัติ
พร้อมสาหรบั การเจรญิ เตบิ โตของสภาพแวดลอ้ มแบบ Cross-Border

นอกเหนือจากระดับมัธยมศึกษา สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาก็ได้ทาการเปิดการเรียนการสอน
ระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรนานาชาติเพ่ิมมากข้ึน ท้ังมหาวิทยาลัยรัฐบาลและเอกชน โดยท่ีหลักสูตร
นานาชาติที่เปิดมาแล้วจากอดีตถึงปัจจุบันมีหลากหลายสาขาและความเชี่ยวชาญ อาทิเช่น วิศวกรรมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ และบริหารธุรกิจ เป็นต้น (วัลลภา สัมฤทธิ์, 2560: 63) จานวนหลักสูตรนานาชาติใน
ระดบั อุดมศกึ ษามีจานวนเพ่มิ ข้ึน โดยเฉพาะหลักสตู รด้านบริหารธุรกิจสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาการตลาด
สาขาการจัดการระหว่างประเทศ สาขาการเงิน รวมทั้งสาขาการบัญชี โดยในส่วนของสาขาบัญชีน้ัน
สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ได้มกี ารเปดิ หลักสูตรนานาชาติทัง้ ในรูปแบบหลักสูตรบริหารธุรกจิ บัณฑิต (บัญช)ี และ
บัญชีบัณฑิต (งานวิจัยนี้ใช้ตัวย่อ “หลักสูตรฯ” แทนคาว่า “หลักสูตรนานาชาติสาขาบัญชีท้ังในรูปแบบ
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บัญชี) และบัญชีบัณฑิต) การเปิดหลักสูตรเหล่าน้ีสอดรับกับแนวโน้มความ
ต้องการบุคคลากรด้านการเงินและบัญชีทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งจะเห็นได้จากรายงานของ International
Federation of Accountants (2020: 1) ท่ีกล่าวไว้วา่ การเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกจิ จะยังคง
มีอยู่อย่างสืบเนื่อง ดังนั้น ธุรกิจจะต้องปรับตัวให้เติบโตและประสบความสาเร็จท่ามกลางความไม่แน่นอนของ
ส่ิงแวดล้อมทางด้านธุรกิจให้ได้ ทรัพยากรบุคคลถือเป็นสิ่งที่สาคัญท่ีจะขับเคลื่อน โดยเฉพาะบุคคลากรด้าน
การเงินและการบัญชีท่ีจะช่วยให้ธุรกิจสามารถประเมินสถานะทางการเงิน และผลการดาเนินงาน เพ่ือการ
ตัดสินใจเชิงธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรตาม FJWilson Talent Services ซึ่งเป็นบริษัท
Recruitment ที่มีชื่อเสียงได้แสดงผลการสารวจท่ีทาให้เหน็ ว่า ในปัจจุบันภาคธุรกิจขาดแคลนนักการเงินและ
การบัญชี (Accounting and Finance Professionals) ที่มีพร้อมท้ังทักษะด้านเทคนิค (Technical Skill)
ดา้ นธุรกจิ (Business Skill) และดา้ นอารมณแ์ ละสังคม (Soft Skill) (Robert Half, 2020: 1)

ในปี 2562 ประเทศไทยมีจานวนหลักสูตรนานาชาติสาขาบัญชีท้ังในรูปแบบหลักสูตรบริหารธุรกิจ
บัณฑิต (บัญชี) และบัญชีบัณฑิตท้ังส้ิน 11 หลักสูตร ประกอบด้วยหลักสูตรท่ีมีการจัดการเรียนการสอนเป็น
ภาษาอังกฤษ จานวน 3 หลักสูตร และหลักสูตรนานาชาติ จานวน 8 หลักสูตร (สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรม
ราชูปถัมภ์, 2562: 1) ซ่ึงจะเห็นว่า จานวนหลักสูตรฯ ในประเทศไทยยังมีจานวนจากัด ดังนั้น แนวโน้มความ
ต้องการบุคคลากรด้านการเงินและบัญชีของธุรกิจท่ีเพิ่มขึ้น น่าจะทาให้หลักสูตรฯ เหล่าน้ีเป็นท่ีต้องการของ
นกั เรยี นระดบั มัธยมปลายจานวนมากในการเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี อย่างไรกต็ าม หลักสตู รฯ เหลา่ น้ีก็มี
การเปิดสอนในต่างประเทศเช่นกัน ทาให้นักเรียนระดับมัธยมปลายไม่ได้มีทางเลือกเฉพาะหลักสูตรฯ ใน
ประเทศไทยเท่านั้น แต่มีทางเลือกท่ีจะไปทาการศึกษาในต่างประเทศด้วยเชน่ กัน กาญจนา สมมิตร และจิณห์
นิภา สุทธิกุล (2554: 45) ได้กล่าวไว้ว่า จุดเด่นของการศึกษาต่อระดับปริญญาตรีหลักสูตรนานาชาติใน

354 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ประเทศไทย เม่ือเปรียบเทียบกับการศึกษาในต่างประเทศ คือค่าใช้จ่ายในการเรียนและการอยู่อาศัยต่ากว่า
และมีโอกาสในการสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจเพื่อประโยชน์ในการทางานในอนาคตสูงกว่า ซึ่งเหตุผลนี้อาจ
ทาให้หลักสูตรฯ ในประเทศเป็นทางเลือกของนักเรียนระดับมัธยมปลายท่ีต้องการศึกษาต่อระดับปริญญาตรี
นานาชาติก็ได้ แต่กระนั้นก็ตาม เหตุผลดังกล่าวอาจจะยังไม่มากพอท่ีจะทาให้หลักสูตรฯ ในประเทศไทยเป็น
ทางเลือกอันดับต้น ๆ ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย ดังน้ัน การหาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ
หลกั สตู รบญั ชีบณั ฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) ของนักเรยี นระดบั มธั ยมปลายน่าจะทาใหห้ ลักสูตรฯ ในประเทศได้
มีแนวทางในการพัฒนากลยุทธ์ต่าง ๆ เพ่ือดึงดูดให้นักเรียนระดับมัธยมปลายเลือกหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
(หลกั สูตรนานาชาติ) ในการศึกษาตอ่ สาหรบั ระดับปริญญาตรี

วตั ถุประสงค์ของการวิจัย
เพ่ือศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) ของ

นกั เรียนระดบั มัธยมปลายในหลักสตู รทจ่ี ดั การเรยี นการสอนเป็นภาษาอังกฤษ

2. เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

งานวิจัยจานวนมากได้มีการศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อหลักสู ตรในระดับปริญญาตรี
เพ่ือหาแนวทางในการดึงดูดกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายซึ่งถือเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สาคัญของ
สถาบันการศึกษา และใช้ในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรให้มีความน่าสนใจมากข้ึน งานวิจัยน้ีพิจารณาว่า
ปัจจัยต่างๆ ท่ีงานวิจัยท่ีผ่านมาทาการศึกษา มีนัยยะที่คล้ายคลึงกับแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อใน
หลักสูตรต่างๆ ตามวัตถุประสงค์งานวิจัยน้ี ดังน้ัน งานวิจัยที่ศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ
หลักสูตรในระดับปริญญาตรีจึงเป็นประโยชน์ในการให้แนวทางในการทาวิจัยครั้งน้ี จากการทบทวน
วรรณกรรมพบว่า งานวิจัยในด้านนี้สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่โดยใช้เกณฑ์ประเภทของกลุ่มตัวอย่างใน
การแบง่ กลุ่ม

กลุ่มแรกทาการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาปัจจุบันของหลักสูตร โดยทาการสอบถามความ
คิดเห็นของนักศึกษาท่ีได้ตัดสินใจเลือกเรียนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีแล้ว งานวิจัยในกลุ่มน้ี เช่น ธันยากร
ช่วยทุกข์เพื่อน (2558 : 266) ที่ได้สอบถามนักศึกษาจาก 12 คณะของมหาวิทยาลัยบัณฑิตธุรกิจเพื่อศึกษา
ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาเลือกเรียน
มหาวิทยาลัยนี้โดยให้ความสาคัญกับ 3 ปัจจัยคือ 1) ด้านหลักสูตร 2) ด้านอาจารย์ผู้สอน และ 3) ด้าน
สวัสดิการและบริการ นอกจากนี้ยังมีพิมพ์พร ธรรมวิหารคุณและภักตรา ประเสริฐวงษ์ (2552: 129) ท่ีทาการ
สอบถามนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมเพ่ือศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิชาการ
บัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจของนักศึกษา และพบว่า ปัจจัยทางสังคมด้านทัศนคติต่อสถาบัน ค่านิยมใน
สาขาวิชา และค่าตอบแทนท่ีจะได้รับจากการประกอบวิชาชีพและความม่ันคงในอาชีพ เป็นปัจจัยที่นักศึกษา
พิจารณาในการตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิชาบัญชีของมหาวิทยาลัย ภัทรสุดา จารุธีรพันธ์ุ (2558: 41) ก็ไ ด้
ทาการศึกษาในลักษณะเดียวกัน โดยทาการสอบถามนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย
ถึงปัจจัยในการเลือกเรียนระดับปริญญาตรีของนักศึกษา ผลการวิจัยของภัทรสุดาพบว่า นักศึกษาให้
ความสาคญั ปัจจยั 5 ดา้ นเรียงตามลาดับได้ดงั น้ี ด้านคุณลักษณะของสาขาวิชาเปน็ อนั ดับแรก รองลงมาคือด้าน
การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ด้านสถานที่ (ได้แก่ ด้านภูมิทัศน์ ด้านอาคารสถานที่ ด้านสิ่งอานวยความ
สะดวก และดา้ นการเดินทาง) ด้านการมีอิทธิพลตอ่ การตัดสินใจเลือกเรยี น (ไดแ้ กอ่ ิทธิพลของครูในสถานศึกษา

355 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ระดับมัธยม อิทธิพลของครอบครัว และอิทธิพลของกลุ่มเพื่อน) และด้านค่าใช้จ่ายเป็นลาดับสุดท้าย และท้ัง
5 ด้านมคี วามสัมพันธ์ที่มีนยั สาคญั กบั ตวั แปรสาขาวชิ าท่เี ลือกเรียน

ส่วนกลุ่มที่สองทาการศึกษากลุม่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซ่ึงเป็นกลุ่มที่อยู่ในระหว่างการ
ตัดสินใจเลือกเรียนหลักสูตรในระดับปริญญาตรี งานวิจัยในกลุ่มนี้ เช่น วิทวัส เหล่ามะลอ (2562 : 38) ได้ทา
การสอบถามนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 755 คน เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ
ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2562 ผลการวิจยั พบว่า ในความคิดเหน็ ของกลมุ่
ตวั อยา่ ง ปจั จัยทางดา้ นสถาบันการศึกษาได้ค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปจั จัยด้านหลักสตู ร และปจั จัยทางด้าน
สังคม ตามลาดับ และเม่ือวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยด้านสถาบันการศึกษาเป็น
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจสูงสุด โดยเฉพาะเรื่องของความมีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยและเป็นท่ียอมรับของ
สังคม รวมทัง้ สงั คมให้การยกย่องในความรู้ความสามารถของผูท้ ีจ่ บการศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

นอกจากวิทวัส เหล่ามะลอ (2562) แล้ว วัลภา สัมฤทธิ์ (2560: 64) ได้ทาการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธพิ ล
ต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อปริญญาตรี หลักสูตรนานาชาติของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดย
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนในกรุงเทพมหานครจานวน 400 ตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างให้คะแนน
ด้านองคป์ ระกอบของสถานศึกษามีความสาคัญเปน็ อันดับหนึ่ง รองลงมาคือ ด้านกระบวนการจดั การเรียนการ
สอน และด้านบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับนกั ศึกษา ตามลาดับ ในขณะเดียวกันนักเรียนที่มีเกรดเฉลยี่ สะสมต่างกันให้
ความสาคัญกับปัจจยั ด้านการสง่ เสริมการตลาด และด้านผลผลติ และคณุ ภาพของนกั เรยี นในการตัดสนิ ใจเลือก
ศกึ ษาตอ่ ปริญญาตรีหลกั สตู รนานาชาติแตกตา่ งกัน นอกจากนี้ นกั เรยี นทตี่ ้องการศึกษาหลกั สูตรที่ตา่ งกนั จะให้
ความสาคัญกบั ปัจจัยดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาด และด้านบุคคลทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั นักศกึ ษาตา่ งกนั

ผลการวิจัยของงานวิจัยที่ผ่านมามุ่งเน้นศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตร
ระดับปริญญาตรีท่ีเปิดสอนเป็นภาษาไทยเป็นหลัก มีเพียงวัลภา สัมฤทธ์ิ (2560: 64) เท่านั้นที่มีการศึกษา
สาหรับหลักสตู รนานาชาติ แต่เป็นการศึกษาสาหรับหลกั สูตรนานาชาติ หลากหลายสาขา ทาให้อาจยังไม่ตอบ
โจทย์สาหรับหลักสูตรนานาชาติเฉพาะสาขาใดสาขาหนึ่ง ซ่ึงต้องการพัฒนาแนวทางที่ชัดเจนในการกระตุ้น
ความสนใจของนกั เรียนกลุ่มเป้าหมายต่อหลักสตู ร งานวจิ ยั นจี้ งึ ได้ศึกษาแรงจงู ใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ
ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิตโดยเฉพาะ แต่ได้พัฒนาวิธีการวิจัยตามแนวทางของ
งานวิจัยก่อนๆ โดยทาการศกึ ษาแรงจงู ใจในการตัดสนิ ใจทงั้ ส้ิน 13 ปจั จัยไดแ้ ก่ ตนเอง ผูป้ กครอง เพ่ือนรว่ มช้ัน
เรียน ครูแนะแนว รุ่นพ่ีท่ีสาเร็จการศึกษา สถานที่ต้ังมหาวิทยาลัย ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย การ
ประชาสัมพันธ์ รูปแบบการเรียนการสอน ลักษณะรายวิชาในหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน ส่ือการเรียนการสอน
และกิจกรรมในหลักสูตร ซ่ึงทั้ง 13 ปัจจัยนี้สามารถจัดกลุ่มเป็น 3 ด้านใหญ่ๆ คือ ด้านสถาบันการศึกษา ด้าน
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับผู้ท่ีตัดสินใจ และด้านหลักสูตร และใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการถดถอยโลจิสตกิ ส์
เพื่อระบแุ รงจูงใจในการตดั สินใจให้มคี วามชัดเจน

3. วธิ ีดาเนินการวจิ ัย

วธิ ีการดาเนนิ การวิจัยใช้การวิจยั เชงิ ปรมิ าณ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยคร้ังน้ีเป็นนักเรียนมัธยมปลายท้ังในโรงเรียนนานาชาติและใน
โรงเรียนที่มีหลักสูตร EP รวมท้ังส้ิน 154 โรงเรียน และทาการเลือกเฉพาะโรงเรียนที่มีหลักสูตรสอนถึงระดับ
มัธยมปลาย ทาให้จานวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเหลือเพียงจานวน 87 โรงเรียน หลังจากนั้น ผู้วิจัยได้ทาการ
ประสานงานกับอาจารย์แนะแนว และ/หรือ อาจารย์ที่ปรึกษาชั้นมัธยมปลาย เพ่ือขอความร่วมมือ ในการแจง้

356 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ให้นักเรียนระดับมัธยมปีท่ี 6 หรือเทียบเท่าของโรงเรียนได้ทาแบบสอบถามผ่านระบบ google form และได้
ทาการติดตามการตอบแบบสอบถามจานวน 2 ครั้งผ่านทางอาจารย์ที่ปรึกษา และ/หรือ อาจารย์แนะแนว
เพ่ือให้ได้จานวนตัวอย่างที่เพียงพอต่อการวิเคราะห์ทางสถิติ เม่ือดาเนินการติดตามเสร็จส้ิน มีผู้ตอบ
แบบสอบถามในระบบ google form ทั้งส้ิน 289 คน โดยกลุ่มตัวอย่างอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาก
ที่สุด และโดยส่วนใหญ่เรียนในโรงเรียนที่มีหลักสูตร EP ควบคู่กับหลักสูตรภาคภาษาไทย ข้อมูลเป็นไปตาม
ตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 ลกั ษณะของกลมุ่ ตัวอยา่ งแบ่งตามพื้นที่และหลกั สูตรมัธยมศึกษาตอนปลายที่เรยี น

ส่วนที่ 1 : ภูมศิ าสตรข์ องผู้ตอบแบบสอบถาม

ภมู ภิ าค N รอ้ ยละ

ภาคกลาง 41 14.20

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 168 58.10

ภาคตะวันออก 21 7.30

ภาคตะวนั ตก 59 20.40

รวม 289 100.00

ส่วนที่ 2: หลกั สูตรทก่ี าลงั ศึกษา N ร้อยละ

หลักสตู ร 247 85.00
29 10.00
หลักสูตร EP 13 4.00
หลกั สตู รนานาชาติ
อน่ื ๆ 289 100.00

รวม

3.2 วธิ เี ก็บรวบรวมข้อมลู
ผู้วิจัยได้ทาการทดสอบแบบสอบถาม (Pre-test) กับนักเรียนระดับมัธยมปลายจานวน 35 คน เพื่อ

ทดสอบความน่าเช่ือถือ (Reliability test) พบว่า ข้อคาถามมีค่าความเชื่อมั่น (Cronbach’s alpha) มากกว่า
0.7 ในทกุ ด้าน ซึง่ เป็นคา่ ที่ยอมรับในเชงิ วชิ าการด้านการวัดคณุ ภาพของเคร่ืองมือวิจัย (อารยา องคเ์ อยี่ ม และ
พงศ์ธารา วจิ ติ เวชไพศาล, 2561: 42) ดงั นัน้ แบบสอบถามทใ่ี ชใ้ นงานวจิ ยั ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
สว่ นท่ี 2 ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั หลกั สูตรบัญชบี ณั ฑติ (นานาชาติ) ในส่วนนจ้ี ะให้ผูต้ อบแบบสอบถามให้
ค่าคะแนนความสาคัญของปัจจัยที่ระบุในแบบสอบถามว่ามีผลต่อการตัดสินใจระดับใด โดยมีคะแนนต้ังแต่ 0
(หมายถึง ไม่มีผลต่อการตัดสินใจ) ถึง 5 (หมายถึง มีผลต่อการตัดสินใจมากที่สุด) อาทิเช่น ปัจจัยด้านรูปแบบ
การจัดการเรียนการสอน (Project-based-learning และ Lecture and Discussion เป็นต้น) สื่อการเรียน
การสอน อาจารย์ผู้สอน และกิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสูตร เป็นต้น นอกจากน้ี ส่วนน้ียังให้ผู้ตอบ
แบบสอบถามให้ค่าคะแนนสาหรับปัจจยั ท่ีจะมีผลทาใหผ้ ู้ตอบแบบสอบถามมีความสนใจในหลกั สูตรฯ มากข้ึน
โดยมีคะแนนต้ังแต่ 1 (หมายถึง ความสนใจไม่เพิ่มข้ึน) ถึง 3 (ความสนใจเพิ่มขึ้นมาก) เช่น การสอบถามเก่ียว
รปู แบบการประชาสัมพนั ธ์ (สื่อ social media Roadshow และ Open House เปน็ ต้น)

357 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

3.3 การใช้สถติ ิท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
ผู้วิจยั ไดท้ าการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการสถิตเิ ชิงพรรณนา อนั ได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อย
ละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพอ่ื พจิ ารณาลักษณะ
โดยทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง และจานวนนักเรียนที่สนใจและไม่สนใจท่ีจะศึกษาต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
(นานาชาติ) รวมทง้ั ค่าคะแนนความสาคัญของปจั จัยทนี่ ักเรียนพิจารณาในการตัดสินใจศึกษาต่อหลักสูตรบัญชี
บัณฑิต (นานาชาติ) และค่าคะแนนของปัจจัยที่จะส่งผลให้นักเรียนมีความสนใจในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
(นานาชาต)ิ เพมิ่ มากขน้ึ
ผูว้ ิจยั ได้ใชว้ ิธสี ถิตเิ ชิงอนมุ าน (Inference Statistics) คือ การวิเคราะห์การถดถอยโลจสิ ติค (Logistic
Regression Analysis) เพื่อระบุว่า ปัจจัยใดบ้างที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจท่ีจะเลือกศึกษาต่อหลักสูตร
บัญชีบัณฑิต (นานาชาติ) โดยกาหนดให้ตัวแปรตาม (ตัวแปร Y) ในการวิเคราะห์คือ 1 หมายถึง “สนใจศึกษา
ต่อในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ)” และ 0 หมายถึง “ไม่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
(นานาชาติ)” และตัวแปรต้น ผู้วิจัยใช้เคร่ืองมือ Factor Analysis ในการสร้างองค์ประกอบแต่ละด้านจากข้อ
คาถามย่อยเพ่ือเป็นตัวแปรต้น จะได้ป้องกันการวัดข้อมูลหรือนับปัจจัยที่ซ้ากันใน Logistic Regression
Model โดยผลของการวิเคราะห์ด้วยวธิ ี Factor analysis แสดงค่า Factor loading ของแตล่ ะข้อคาถามย่อย
ในแต่ละองค์ประกอบอยู่ระหว่างค่า 0.70 – 0.88 ซ่ึงเป็นไปตามเงื่อนไขทางสถิติ ผู้วิจัยจึงนาองค์ประกอบ
เหล่านั้นมาเป็นตัวแปรต้นในการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค ซึ่งตัวแปรต้นเหล่านี้แสดงให้เห็นแรงจูงใจที่จะ
ทาให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างตัดสินใจเลือกหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ) ได้ ดังน้ัน สมการ Logistic
Regression ทใี่ ช้ในการศกึ ษาจึงเปน็ ดงั น้ี

Y(1,0) = β0 +β1ตนเอง +β2ผปู้ กครอง +β3เพื่อนรว่ มชน้ั +β4ครูแนะแนว +β5รุ่นพี่ท่ีสาเรจ็
การศกึ ษา +β6สถานท่ตี ัง้ โรงเรยี น +β7ชื่อเสยี งมหาวิทยาลยั +β8การประชาสัมพนั ธ์
+β9รูปแบบการเรียนการสอน +β10ลกั ษณะรายวิชาในหลักสตู ร +β11อาจารยผ์ ูส้ อน
+β12ส่อื การเรียนการสอน +β13กจิ กรรมในหลกั สตู ร +ε

4. ผลการวิจัย

4.1 ข้อมูลทว่ั ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง

จากตารางที่ 2 กลุ่มตัวอย่างมีความสนใจในการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

(นานาชาติ) ประมาณร้อยละ 40 ในขณะท่ีมีจานวนร้อยละผู้ท่ีไม่สนใจประมาณร้อยละ 60 แสดงให้เห็นว่า มี

จานวนผู้ท่ีสนใจน้อยกว่าจานวนผู้ที่ไม่สนใจ และเมื่อพิจารณารายได้ของครอบครัวของท้ังสองกลุ่มพบว่า มี

ความใกล้เคียงกัน ค่าเฉลี่ยรายได้ของครอบครัวของกลุ่มตัวอย่างประมาณ 91,000-93,000 บาทต่อเดือน ซึ่ง

ถือว่าเป็นรายได้เฉลี่ยท่ีสูงกว่ารายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนของทั้งประเทศท่ีอยู่ประมาณ 26,000 บาทต่อเดือน

(สานกั งานสถติ แิ ห่งชาติ, 2563) เท่านั้น

ตารางท่ี 2 ข้อมูลท่วั ไปของกล่มุ ตวั อยา่ ง

ส่วนท่ี 1: ความสนใจในการศึกษาตอ่ ในหลักสูตรบัญชบี ัณฑิต (นานาชาติ)

สนใจ 116 40%

ไมส่ นใจ 173 60%

รวม 289 100%

358 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ส่วนที่ 2: รายได้เฉล่ยี ของครอบครัว (บาท/เดือน)

รายการ N Min Max Mean Std.
1,000,000 91,142 135,057
รายได้เฉลย่ี ของครอบครัว 116 10,000
1,000,000 93,693 144,614
(กล่มุ ผู้สนใจ)

รายได้เฉลี่ยของครอบครัว 173 8,000

(กลมุ่ ผู้ไมส่ นใจ)

4.2 ข้อมูลสถติ ิเชิงพรรณนา

จากตารางท่ี 3 ด้านตัวบุคคล (ข้อ 1-5) จะเห็นว่า ตัวนักเรียนเองมีอิทธิพลในการตัดสินใจ

เลือกเรียนหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ) มากที่สุด (ค่าคะแนนเฉล่ียของ “ตนเอง” ของกลุ่มที่สนใจฯ

เท่ากับ 4.04 และกลุ่มท่ีไม่สนใจฯ เท่ากับ 3.86) ในขณะท่ีผู้ปกครองเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในลาดบั

ถัดมาของทั้งสองกลุ่ม สาหรับปัจจัยด้านมหาวิทยาลัย (ข้อ 6-8) กลุ่มตัวอย่างท้ังสองกลุ่มให้ความสาคัญกับ

สถานท่ีตั้งและช่ือเสียงของมหาวิทยาลัยไม่แตกต่างกันนัก โดยค่าคะแนนเฉล่ียที่ได้รับอยู่ระหว่าง 3.00-3.40

แสดงว่าชื่อเสียงและสถานที่ต้ังของมหาวิทยาลัยเป็นแรงจูงใจอย่างหนึ่งที่อาจดึงดูดนักเรียนมาศึกษาใน

หลักสตู รฯ เมอ่ื พิจารณาคะแนนเฉล่ียของปัจจัยด้านลกั ษณะของหลักสตู ร (ข้อ 9-13) พบว่า มีคา่ คะแนนเฉลี่ย

โดยรวมน้อยกว่าด้านอ่ืนๆ แสดงว่า ลักษณะของหลักสูตรไม่น่าจะเป็นแรงจูงใจท่ีสาคัญในการตัดสินใจเลือก

เรียนหลักสูตรฯ และเม่ือพิจารณาลักษณะของหลักสูตรในแต่ละเร่ือง กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มให้ระดับ

ความสาคัญท่ีเท่าๆ กัน โดยคะแนนเฉล่ียเท่าๆ กันทั้งในเรื่องลักษณะรายวิชาในหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน สื่อ

การเรียนการสอน และ กิจกรรมในหลักสูตร แต่กลุ่มที่สนใจหลักสูตรฯ (2.6-2.7) มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่สูงกว่า

กลมุ่ ทไี่ ม่สนใจหลกั สตู รฯ (2.3-2.4) เล็กน้อย

ตารางท่ี 3 ค่าคะแนนเฉลี่ยของปัจจัยท่ีมีอิทธิพลหรือส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรบัญชี

บณั ฑิต (นานาชาติ) จาแนกตามกล่มุ ทส่ี นใจและไม่สนใจ

ปัจจัยท่ีมีอิทธพิ ลหรือสง่ ผลต่อการตดั สนิ ใจ สนใจ ไม่สนใจ
Mean SD Mean SD
1. ตนเอง 4.04 1.38 3.86 1.43
2. ผปู้ กครอง 3.22 1.34 3.20 1.52
3. เพ่ือนรว่ มชนั้ เรียน 2.09 1.47 2.11 1.65
4. ครูแนะแนว 2.15 1.42 2.24 1.54
5. ร่นุ พี่ที่สาเรจ็ การศึกษา 2.23 1.50 2.22 1.51
6. สถานทตี่ ัง้ มหาวทิ ยาลยั 3.46 1.30 3.09 1.45
7. ช่อื เสียงของมหาวทิ ยาลยั 3.22 1.46 3.20 0.45
8. การประชาสมั พนั ธ์ 2.58 0.41 2.09 0.45
9. รปู แบบการเรียนการสอน 2.45 0.44 2.10 0.53
10. ลกั ษณะรายวชิ าในหลกั สูตร 2.70 0.41 2.39 0.50
11. อาจารย์ผู้สอน 2.64 0.44 2.29 0.51
12. สือ่ การเรียนการสอน 2.70 0.41 2.40 0.52
13. กจิ กรรมในหลักสูตร 2.69 0.37 2.41 0.52
หมายเหตุ จานวนกลมุ่ ตัวอยา่ งท้ังสิ้น (N) 289 ตัวอย่าง ประกอบด้วย กลุ่มตวั อย่างทส่ี นใจหลกั สตู รฯ

จานวน 116 ตวั อย่าง และกลุ่มตวั อยา่ งที่ไมส่ นใจหลักสตู รฯ 173 ตัวอยา่ ง

359 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ด้วยวธิ ี Logistic Regression Analysis
ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียน

หลักสูตรบญั ชีบัณฑิต (นานาชาต)ิ กอ่ นการวเิ คราะห์การถดถอยโลจิสติค โดยใช้เทคนิค Pairwise-Correlation
ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ เพ่ือพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตามเป็นเบอ้ื งต้น และ
เพ่ือตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา Multicollinearity ในการวิเคราะห์
Logistic Regression Analysis

ค่าสหสัมพันธ์ของกลุ่มตวั อย่างท่ีเปน็ เชิงบวกท่ีมีระดับนัยสาคัญทางสถิติต่อความสนใจศึกษา
ตอ่ ในหลักสูตรบญั ชีบัณฑิต (นานาชาต)ิ ทม่ี ีระดบั นยั สาคัญทางสถิติ > 0.01 ประกอบด้วยปจั จัยดา้ นสถานที่ตั้ง
ของมหาวิทยาลัย การประชาสัมพันธ์ รูปแบบการเรียนการสอน ลักษณะรายวิชาในหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน
ส่ือการเรียนการสอน และกิจกรรมในหลักสูตร ตามลาดับ ในขณะเดียวกัน ตัวแปรอิสระหลายๆ ตัวก็มี
ความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับความน่าเช่ือถือ 99 เปอร์เซ็นต์ เช่น การประชาสัมพันธ์มี
ความสัมพันธ์ที่มีนัยสาคัญกับรูปแบบการเรียนการสอน อย่างไรก็ตาม ค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ
ทั้งหมดยังไม่เกิน 0.8 ดังน้ัน ปัญหา Multicollinearity ระหว่างตัวแปรจึงไม่น่ากังวลในการวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยวธิ ีการถดถอยโลจสิ ตคิ

ตารางท่ี 4 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค (Logistic Regression Analysis) ซึ่ง
แสดงให้เห็นถึงแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ) ของนักเรียนระดับ
มัธยมปลายในหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ จากค่า Coefficient ที่ปรากฎสามารถ
เรยี งลาดับความมนี ัยสาคัญของความสัมพนั ธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับความสนใจในการเลือกศึกษาต่อหลักสูตร
บญั ชบี ัณฑิต (นานาชาต)ิ ไดด้ ังน้ี

1. ด้านการประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อตัวแปรตาม (coefficient =
2.531, p<0.01) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และการคานวนผลกระทบจากค่า Adjusted Odd Ratio (OR)
พบว่าการประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ สามารถเพ่ิมโอกาสที่กลุ่มเป้าหมายจะสนใจในการศึกษาต่อในหลักสูตรฯ
ได้ถึง 12.567 เท่า ผลดังกล่าวเสนอแนะแนวทางในการนาไปพัฒนาหลักสูตรฯ ได้ว่า หากหลักสูตรฯ ทาการ
ประชาสัมพันธ์อย่างท่ัวถึงแลเข้าถึงกลุ่มเปา้ หมาย (กลุ่มนักเรียน EP และนักเรียนในโรงเรียนนานาชาติ) ได้จะ
เพ่ิมโอกาสทีน่ ักเรียนระดับมธั ยมปลายจะให้ความสนใจในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลกั สตู รนานาชาติ) และอาจ
ตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรดงั กล่าว

2. ด้านรูปแบบการเรียนการสอนมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อตัวแปรตาม (coefficient =
0.801, p<0.10) โดยมีค่า OR เท่ากับ 2.228 เท่า ซึ่งผลดังกล่าวสามารถนามาพัฒนาหลักสูตรฯ ได้ โดยนา
ข้อมูลจากคาตอบจากคาถามย่อย เช่น Project based method และ Problem based method เป็นต้น
มาออกแบบการเรียนการสอนในหลักสูตรได้ ซึ่งจะเป็นการเพ่ิมโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายสนใจในหลักสูตรบัญชี
บณั ฑิต (หลกั สตู รนานาชาต)ิ มากขึ้น

3. ดา้ นสถานทีต่ ง้ั มหาวิทยาลยั มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อตัวแปรตาม (coefficient = 0.282,
p<0.05) และสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมีแนวโน้มเพิ่มโอกาสที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเลือกศึกษาต่อใน
หลกั สูตร 1.326 เท่า แสดงใหเ้ ห็นว่า หากทาเลทต่ี ้งั ฯ อยูใ่ นพื้นที่ทน่ี กั เรียนพงึ พอใจหรอื สะดวก อาจเพ่มิ โอกาส
ทนี่ ักเรียนจะสนใจเลอื กเรียนหลกั สูตรบญั ชีบณั ฑิต (หลักสตู รนานาชาติ)

4. ด้านผู้ปกครองมีความสัมพันธ์เชิงลบต่อตัวแปรตาม (coefficient = -0.252, p<0.10)
แสดงให้เหน็ วา่ ผ้ปู กครองอาจมอี ทิ ธิพลในการตดั สินใจไม่เลือกเข้าศึกษาต่อในหลักสตู รบญั ชบี ณั ฑิต (นานาชาติ)
เม่ือคานวณเป็นค่า OR พบว่า ผู้ปกครองอาจลดความน่าจะเป็นที่นักเรียนระดับมัธยมปลายจะตัดสินใจเลือก

360 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เข้าเรียนในหลักสูตรฯ 1.2867 เท่า ผลดังกล่าวเสนอแนะได้ว่า การทาให้ผู้ปกครองมีความมั่นใจในหลักสูตร
บญั ชีบณั ฑติ (หลกั สตู รนานาชาติ) มากขึน้ อาจชว่ ยลดสภาวะความกังวลของผ้ปู กครองได้

5. ด้านกิจกรรมในหลักสูตรฯ มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อตัวแปรตาม (coefficient = 0.080,
p=0.10) กิจกรรมท่ีจัดโดยหลักสูตรฯ (เช่น การแลกเปล่ียน การให้ทุนการศึกษา และกิจกรรม outing เป็น
ต้น) แม้ความสัมพันธ์ดังกล่าวจะอยู่ระดับท่ีไม่มากเหมือนเช่นตัวแปรท่ีกล่าวก่อหน้า แต่จากผลช้ีให้เห็นว่า
กิจกรรมในหลักสูตร (extracurricular activities) ท่ีน่าสนใจอาจสามารถเพิ่มโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายสนใจ
และอาจตัดสนิ ใจเลอื กศึกษาตอ่ ในหลกั สตู รฯ ได้ 1.083 เท่า

ตารางที่ 4 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจสิ ติค (Logistic Regression Analysis)

ตัวแปร Coefficient t-statistic

Constant -8.164*** [-6.00]

ตนเอง 0.028*** [0.21]

ผู้ปกครอง -0.252*** [-1.83]

เพื่อนรว่ มช้ันเรยี น 0.127** [0.80]

ครูแนะแนว -0.087*** [-0.62]

รนุ่ พ่ที ส่ี าเรจ็ การศกึ ษา -0.063*** [-0.41]

สถานท่ีตัง้ มหาวทิ ยาลยั 0.282** [1.97]

ช่อื เสียงมหาวิทยาลัย -0.005*** [-0.04]

การประชาสมั พันธ์ 2.531*** [4.72]

รปู แบบการเรียนการสอน 0.801** [1.83]

ลักษณะรายวชิ าในหลกั สูตร -0.165*** [-0.29]

อาจารย์ผ้สู อน 0.378** [0.68]

สอื่ การเรียนการสอน -0.214*** [-0.39]

กจิ กรรมในหลักสูตร 0.080** [0.10]

ความสนใจในหลกั สตู รฯ สนใจ (1)/ไม่สนใจ (0)

No. of obs = 289 LR chi square (13) = 92.60

Prob > chi2 = 0.0000 Pseudo R2 = 0.2379

* คา่ ระดับนยั สาคญั ทางสถิติ (Significance) ระดบั 0.10

** คา่ ระดบั นัยสาคญั ทางสถิติ (Significance) ระดบั 0.05

*** คา่ ระดบั นัยสาคัญทางสถิติ (Significance) ระดบั 0.01

จากผลการวิจัยโดยวิธีการสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ พบว่า นักเรียน

ระดบั มัธยมปลายเห็นว่า การตดั สนิ ใจในการเลือกเรียนหลักสูตรในระดับปรญิ ญาตรีขนึ้ อยู่กับตนเองเป็นสาคัญ

ลาดับถัดมาคือผู้ปกครอง อย่างไรก็ตามผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์พบว่า ผู้ปกครองมีแนวโน้มท่ีจะ

เปล่ียนแปลงความสนใจในหลักสูตรบัญชบี ัณฑิต (หลักสตู รนานาชาติ) ของนักเรยี นได้ นัน่ คอื ถงึ แมว้ า่ นักเรียน

จะสนใจหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) แต่ถ้าผู้ปกครองมีความคิดเห็นเป็นอย่างอื่น ก็อาจมี

แนวโน้มที่จะทาให้นักเรียนลดความสนใจในหลักสูตรดังกล่าว ซ่ึงอาจนาไปสู่การตัดสินใจไม่เลือกศึกษาต่อใน

361 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) ดังน้ัน ด้านตัวบุคคลแล้ว แรงจูงใจท่ีสาคัญท่ีต้องพิจารณาก็คือ
ผปู้ กครองนั่นเอง

นอกจากน้ี ในความคิดเห็นของนักเรียน สถานท่ีต้ังและช่ือเสียงของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจ
ในการเลือกหลักสูตรฯ ในระดับท่ีเท่าๆ กันจากข้อมูลสถิติเชิงพรรณนา แต่สมการของ logistic regression
analysis แสดงให้เห็นวา่ ช่ือเสียงของมหาวทิ ยาลัยไมม่ คี วามสมั พนั ธอ์ ย่างมนี ยั สาคญั ต่อความสนใจในหลักสูตร
ของนักเรียน ในขณะท่ีสถานท่ีตั้งมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความสนใจต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ)
ของนักเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ นั่นหมายความว่า ช่ือเสียงของมหาวิทยาลัยอยูใ่ นการพิจารณาตัดสินใจ
เลือกหลักสูตร แต่ไม่ทาให้ความสนใจในหลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงได้ ในขณะท่ี สถานท่ีต้ังของมหาวิทยาลัย
อยู่ในการพิจารณาของนักเรียน และมีแนวโน้มที่จะทาให้ความสนใจของนักเรียนต่อหลักสูตรเพิ่มข้ึนได้หาก
สถานท่ีต้ังน้ันอยู่ในพ้ืนที่ที่นักเรียนพอใจ ดังน้ัน สถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยจงึ ถือเป็นแรงจูงใจอย่างหนง่ึ ที่อาจ
มผี ลต่อการตัดสนิ ใจเลอื กหลกั สตู รของนกั เรยี น

ด้านลักษณะของหลักสูตร สถิติเชิงพรรณนาแสดงให้เห็นว่า ในความคิดเห็นของนักเรียนระดับมัธยม
ปลายให้ความสาคัญในด้านน้ีไม่มากนักในการตัดสินใจเลือกหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ) เมื่อเทียบกับ
ด้านบคุ คลและตวั มหาวิทยาลัย และนักเรยี นให้คะแนนระดบั ความสาคัญที่เท่าๆ กันใน 4 เรอื่ งไดแ้ ก่ ลกั ษณะ
รายวิชาในหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน สื่อการเรียนการสอน และ กิจกรรมในหลักสูตร อย่างไรก็ตาม ผลการ
วิเคราะห์ logistic regression แสดงให้เห็นว่า รูปแบบการเรียนการสอนและกิจกรรมในหลักสูตรมี
ความสัมพนั ธ์เชงิ บวกอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิกับความสนใจในหลักสูตรบัญชบี ณั ฑิต (นานาชาติ) ของนกั เรยี น
ดงั นนั้ ตวั แปรท้งั 2 ตัวนา่ จะเป็นแรงจูงใจท่ีจะเพิม่ ความสนใจในหลักสตู รของนักเรียนใหม้ ากข้นึ ได้ และอาจทา
ให้นักเรียนตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรดังกล่าว การพัฒนาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (นานาชาติ) จึงควรมี
การออกแบบหลกั สตู รในสว่ นของรูปแบบการเรียนการสอนและกจิ กรรมในหลักสูตรให้มคี วามน่าสนใจและโดด
เดน่ เพือ่ ดึงดดู นกั เรยี นระดบั มัธยมปลายให้สนใจและเลือกเรยี นในหลักสตู ร

5. สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรปุ และอภปิ รายผล
เนื่องจากในปัจจุบัน Borderless-Business มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้

สถาบันอุดมศึกษาหลายแห่งในประเทศไทยได้มีการเปิดการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติในหลายสาขา
และความเช่ียวชาญ รวมท้ังหลักสูตรนานาชาติ สาขาการบัญชี ท่ีทาการเปิดหลักสูตรท้ังที่เป็นหลักสูตร
บริหารธรุ กิจบัณฑิต (บัญช)ี และหลกั สูตรบัญชีบัณฑิต ซ่ึงสถาบนั การศึกษาในตา่ งประเทศก็มกี ารเปิดหลักสูตร
เหล่าน้ีเช่นกัน ดังนั้น นักเรียนระดับมัธยมปลายมีโอกาสในการเลอื กสถาบันการศึกษาในการเรียนต่อหลักสตู ร
บัญชีบัณฑิตท่ีมีการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งในและต่างประเทศ สถาบันการศึกษาท่ีต้องการ
เปิดหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) จึงควรต้องทราบแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตนานาชาติ) ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดึงดูด
นักเรียนระดบั มธั ยมปลายและพัฒนาหลกั สูตรฯ ให้มคี วามนา่ สนใจ

งานวิจัยนี้จึงได้ทาการสารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับมัธยมปลายเพื่อหาแรงจูงใจใน
การตัดสินใจเลือกเรียนหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตนานาชาติ) โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายที่เรียนในโรงเรียน
นานาชาติและโรงเรียนที่มีหลักสูตร EP โดยในการสารวจ ผู้วิจัยได้สอบถามความสนใจของนักเรียนท่ีมีต่อ
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตนานาชาติ) โดยพิจารณาว่า ถ้านักเรียนมีความสนใจในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
(หลักสูตนานาชาติ) แสดงว่า นักเรียนมีแนวโน้มที่จะตัดสินใจเลือกเรียนในหลักสูตรดังกล่าว นอกจากนี้ ได้ทา

362 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

การสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนถึงสิ่งท่ีทาให้นักเรียนสนใจ หรือสิ่งที่จะเพ่ิมความสนใจของนักเรียนใน
หลักสตู รน้ีมากขน้ึ เพ่อื หาแรงจงู ใจของนักเรียนในการตัดสนิ ใจเลือกเรยี นหลกั สูตรดังกล่าว และระบุแรงจูงใจที่
มีผลต่อการเลือกศึกษาต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) ในเชิงสถิติ งานวิจัยนี้ยังได้วิเคราะห์
ขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการถดถอยโลจสิ ตกิ ส์

ผลจากการสารวจและวิเคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นว่า แรงจูงใจท่ีสาคัญท่ีสุดของนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) ควรพิจารณาคือการประชาสัมพันธ์
ถึงแม้ว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจะพบว่า ผู้ปกครองอาจจะสามารถลดความสนใจในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
(หลักสูตรนานาชาติ) ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้ และอาจทาให้นักเรียนตัดสินใจไม่ศึกษาต่อ
ในหลักสูตร อย่างไรก็ตาม การประชาสัมพันธ์อาจทาให้อิทธพิ ลด้านลบของผู้ปกครองต่อหลกั สูตรบัญชบี ัณฑติ
(หลักสตู รนานาชาติ) ลดลงได้ เนือ่ งจากผลของการวิเคราะห์การถดถอยโลจสิ ติกส์แสดงใหเ้ หน็ วา่ การใชว้ ิธกี าร
ประชาสัมพันธท์ เี่ ขา้ ถึงนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสเพิม่ ความสนใจในหลกั สูตรของนักเรียนอย่างมนี ยั สาคัญ
และจะส่งผลต่อเน่ืองไปที่ผู้ปกครอง โดยนักเรียนอาจจะใช้ข้อมูลในการประชาสัมพันธ์ดังกล่าวพิสูจน์ให้
ผู้ปกครองเห็นด้วยในการเลือกศึกษาต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตนานาชาติ) ดังน้ัน การประชาสัมพันธ์
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) จงึ เปน็ เรอื่ งที่หลักสูตรควรใหค้ วามสาคัญเป็นอยา่ งมาก นอกจากนี้
ผลการวิจัยยังได้ช้แี นะเพ่ิมเติมว่า รูปแบบการเรยี นการสอนและกิจกรรมในหลกั สตู รมีแนวโน้มเพ่ิมความสนใจ
ของนักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายดว้ ย นั่นหมายความว่า ในการประชาสัมพนั ธห์ ลักสตู ร เนื้อหาที่สาคัญ
ท่ีควรเน้นคือ รูปแบบการเรียนการสอนและกิจกรรมในหลักสูตร เพ่ือเพิ่มความสนใจของนักเรียนต่อหลักสูต
บัญชบี ัณฑติ (หลกั สตู รนานาชาติ) ซึ่งจะนาไปสู่การเพม่ิ แรงจงู ใจในการตดั สนิ ใจเลือกศึกษาตอ่ ในหลักสตู ร

5.2 ข้อเสนอแนะในเชงิ นโยบาย
งานวิจัยน้ีทาการศึกษาแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตร

นานาชาติ) ของนกั เรียนระดับมธั ยมปลายในหลักสูตรทจี่ ัดการเรียนการสอนเปน็ ภาษาองั กฤษ เพือ่ หาแนวทาง
ในการเพิ่มโอกาสให้กลุ่มเป้าหมาย (ในที่น้ีคือนักเรียนระดับมัธยมปลาย) สนใจและตัดสินใจเลือกศึกษาต่อใน
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) ในประเทศไทย ผู้ท่ีสนใจสามารถนาข้อมูลเชิงนโยบายจาก
ผลงานวิจัยนี้ไปสู่การพัฒนาหลักสูตรใหเ้ ป็นท่ีต้องการของนักเรยี นระดับมัธยมปลายในหลักสตู รที่จัดการเรียน
การสอนเปน็ ภาษาองั กฤษได้

5.3 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวจิ ยั ในคร้ังตอ่ ไป
1. ผู้ที่สนใจอาจมีการขยายไปยังกลุ่มท่ีจัดการเรียนการสอนปกติเพ่ือศึกษาแรงจูงใจของ

นักเรียนระดับมัธยมปลายต่อการตัดสินใจเลือกหลกั สตู รในการศึกษาต่อระดับอดุ มศึกษาในอนาคต
2. ผู้ที่สนใจอาจมีการขยายขอบเขตการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้ปกครองของนักเรียน

กลมุ่ เปา้ หมายเพม่ิ ขน้ึ อาทิเช่น คณุ ลักษณะของผปู้ กครองของกลุ่มนกั เรียนทสี่ นใจกับกล่มุ ท่ีไม่สนใจ เป็นต้น

363 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เอกสารอา้ งอิง

กาญจนา สมมิตร และจิณห์นิภา สุทธิกุล. (2554). ความต้องการศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ในหลักสูตร
นานาชาตขิ อง นกั เรยี นในจังหวัดเชยี งใหม.่ FEU Academic Review, 4(S), 40-47.

ธันยากร ช่วยทุกข์เพื่อน. (2558). การศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการเลือกเรียนในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัย
ธรุ กจิ บณั ฑิตยข์ องนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตร.ี สุทธปิ รทิ ศั น์, 29 (90), 256-271.

พิมพ์พร ธรรมวิหารคุณ และภักตรา ประเสริฐวงษ์. (2552). ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิชาการ
บัญชีหลักสูตร บริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจดั การมหาวทิ ยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม. วารสารวิชาการ
อุตสาหกรรมศกึ ษา, 3 (1), 126-132.

ภัทรสุดา จารุธีรพันธ์ุ. (2558). ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเลือกเรียนสาขาวิชา ในระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 10 (32), 35-
46.

วิทวัส เหลา่ มะลอ (2562). รายงานการวจิ ัยเรือ่ ง ปจั จัยทม่ี ผี ลต่อการตัดสินใจเข้าศกึ ษาต่อระดับปริญญาตรี
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2562 โดยผ่านการคัดเลือกด้วยระบบ
TCAS. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแกน่ .

วลั ลภา สัมฤทธ.ิ์ (2560). ปจั จัยทีม่ อี ิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับปรญิ ญาตรี หลักสตู รนานาชาติ
ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนรัฐบาล ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์, 3 (1), 61-72.

สานักงานวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. (2560). การประชมุ ยกระดับมาตรฐานโรงเรียนในโครงการ
English Program: EP [ออนไลน์]. สืบค้นเม่ือ 27 พฤษภาคม 2564 จาก http://ltu.obec.go.th/
english/2013/index.php/th/2012-08-08-10-26-5/194-english-program

สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). รายได้เฉลี่ยต่อเดอื นของครัวเรอื นเป็นรายภาคและรายจังหวัด [ออนไลน์].
สบื ค้นเม่ือ 25 พฤษภาคม 2564 จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/
th/08.aspx.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2562). หลักสูตรสถาบันท่ีผ่านการรับรองจากสภาวิชาชีพบัญชี
หลักสูตรใหม่หรือหลักสูตรปรับปรุงตั้งแต่ พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 27
พฤษภาคม 2564 จาก http://eservice.tfac.or.th/edu/edu_degree_list.php

อารยา องค์เอี่ยม และพงศ์ธารา วิจิตเวชไพศาล. (2561). การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวิจัย. วิสัญญีสาร,
44 (1), 36-42.

International Federation of Accountants. (2020). Accountancy Skills Evolutions: Impact of
COVID-19 & the Path Forward. Retrieved May 4, 2021, from https://www.ifac.org/
knowledge-gateway/preparing-future-ready-professionals.

Robert Half. ( 2020) . 6 reasons to hire an Accountant during the COVID- 19 pandemic.
Retrieved January 4, 2021, from https: / / www. roberthalf. com. au/ blog/ employers/ 6-
reasons-hire-accountant-during-covid-19-pandemic.

364 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

บพุ ปัจจยั ตอ่ การรบั รู้การสนบั สนนุ ขององค์การและพฤตกิ รรมการเปน็ สมาชกิ ท่ดี ีขององคก์ าร
ท่มี ผี ลตอ่ การคงอยูข่ องผู้แทนยากลุม่ อตุ สาหกรรมยาในประเทศไทย

Antecedents of perceived organization support and organizational citizenship
behavior towards medical representative retention in pharmaceutical
industry of Thailand

ทิพสคุ นธ์ สบื สายอ่อน1* และ วงศธ์ รี า สุวรรณนิ 2
(Tipsukhon Suepsaion and Wongtheera Suvannin)

บทคดั ย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุของตัวแบบสมการโครงสร้างบุพ
ปัจจัยต่อการรับรู้การสนับสนุนขององค์การและการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่มีผลต่อการคงอยู่ของ
ผู้แทนยากลุ่มอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย และ (2) ศึกษาความคิดเห็นของผู้แทนยาท่ีมีความเชี่ยวชาญใน
ประเด็นเกี่ยวกับบุพปัจจัยต่อการรับรู้การสนับสนุนขององค์การและการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่มีผล
ต่อการคงอยู่ของผู้แทนยากลุ่มอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย ใช้การวิจัยแบบผสมผสานวิธี โดยงานวิจัยเชิง
ปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้แทนยา 533 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายข้ันตอน ประมวลผลด้วย
การวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้าง งานวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บผู้ให้ข้อมูลหลัก จานวน 5 คน เลือกตัวอย่าง
แบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีอุปนัย เพื่อสนับสนุนผลการวิจัยเชิงปริมาณ

ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบจาลองเชิงสาเหตุของงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ สอดคล้องกลมกลืน

ดี โดยมีค่า /df =1.30 P=0.07 และ RMSEA=0.02 อธิบายความแปรปรวนของการคงอยู่ของผู้แทนยา

ได้ร้อยละ 88 และการรับรู้การสนับสนุนขององค์การมีค่าอิทธิพลโดยรวมต่อการคงอยู่ของพนักงานสูงสุด
เท่ากับ 0.75 และการมีส่วนร่วมในงานส่งผลทางลบต่อการคงอยู่ของพนักงาน เท่ากับ -0.20 อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (2) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสนับสนุนผลการวิจัยเชิงปริมาณทุก
ประเด็น โดยเฉพาะตัวแปรการมีส่วนร่วมในงานที่มีผลทางลบต่อการคงอยู่ของพนักงาน จากการสัมภาษณ์
พบว่า เมื่อผู้แทนยามีส่วนร่วมในการวางแผนยอด การรับรู้ค่าตอบแทนตามเป้าหมาย ทาให้ผู้แทนยาเกิด
การเปรียบเทียบกับบริษัทคู่แข่ง เป็นสาเหตุทาให้มีการโยกย้ายไปทางานบริษัทอ่ืน

คาสาคัญ: การรับรู้การสนับสนุนขององค์การ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ความพึงพอใจใน
งาน การมีส่วนร่วมในงาน ความผูกพันองค์การ และการคงอยู่ของพนักงาน

1,2 คณะบรหิ ารธุรกิจ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหงแขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร 10240
Faculty of Business Administration Ramkhamheang University, Hua Mak, Bang Kapi, Bangkok 10240

Corresponding author: [email protected]

365 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ABSTRACT

The objectives of this research were (1) to study the antecedents of causal factors
influencing the perceived organization support and organizational citizenship behavior toward
the employee retention of medical representatives of the pharmaceutical industry in Thailand
and (2) to study the opinions of specialize medical representatives in the antecedents of casual
factors toward the perceived organization support and organizational citizenship behavior
influencing the employee retention of medical representatives of the pharmaceutical industry
in Thailand. Mixed Method Research were used in this research. Quantitative research data
were collected by questionnaires from 5 3 3 medical representatives by multi-stage sampling
and analyzed by structural equation modeling. Qualitative research data were from five key
informants who were random by purposive sampling and analyzed by inductive method to
support quantitative research results.

The results indicated that: (1) Research casual model and empirical data were

concordant. The variance of medical representative retention was 8 8 percent, with /df=
1 . 3 0 P=0 . 0 7 and RMSEA=0 . 0 2 . Perceived organizational support had the highest overall
influence on employee retention at 0.75 and job involvement had a negative effect toward
employee retention at -0.20on statistically significant at the 0.05 level. (2) Qualitative research
results supported all quantitative results. In particular, job involvement had a negative effect
toward employee retention. The finding from the interview found that if the medical
representatives were involved in recognizing targeted compensation, they compared it with
other companies which caused job transference to other companies.

Keywords: Perceived Organization Support, Organization Citizenship Behavior, Job Satisfaction,
Job Involvement, Organizational Commitment and Employee Retention

Article history: Revised 26 January 2022
SIMILARITY INDEX = 2.68 %
Received 19 December 2021
Accepted 28 January 2022

366 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

1. บทนา

อุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมมีความสาคัญต่อคุณภาพชีวิตของคนในสังคม
และระบบเศรษฐกิจของประเทศ ในปี 2562 ตลาดยาและเวชภัณฑ์ในประเทศไทยมีมูลค่า 177,000 ล้านบาท
(มาเก็ตต้ี ออนไลน์, 2563) มูลค่าการซื้อขายรวมคิดเป็นร้อยละ 1.2 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
ผู้ประกอบการมีอัตรากาไรสุทธิเฉลี่ยร้อยละ 17.52 (เอม็ เคทีฟาร์ม่า, 2563) การจัดจาหน่ายยาและเวชภัณฑ์มี
ชอ่ งทางผ่านโรงพยาบาลของรฐั รอ้ ยละ 60 โรงพยาบาลเอกชนรอ้ ยละ 20 และรา้ นขายยาร้อยละ 20 (มาเก็ตต้ี
ออนไลน์, 2563) บริษัทยาใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายแบบขายตรง โดยการใช้พนักงานขาย เรียกว่า “ผู้แทน
ยา” เป็นผู้ให้รายละเอียดกับแพทย์และเภสัชกร ผู้แทนยามีบทบาทสาคัญในการจงู ใจให้แพทย์และเภสัชกรสั่ง
ยาของบรษิ ัท ซึง่ จากการวิจัยพบว่า แพทยส์ ่วนใหญใ่ ชข้ อ้ มูลจากผู้แทนยาในการส่งั ยาให้คนไข้ (สราวธุ สนั ติวฒุ ิ
กุล และ ตุลยา ตลุ าดลิ ก, 2563)

ผู้แทนยามีอัตราการคงอยู่กับองค์การค่อนข้างต่า โดยผู้แทนยาร้อยละ 70 เคยเปลี่ยนบริษัทยาและ
เวชภณั ฑ์มาแล้วอย่างน้อย 2-3 บรษิ ัท และมอี ายงุ านเฉลี่ย 3.4 ปตี อ่ บริษทั มกี ารย้ายงานจากบริษัทหน่ึงไปยัง
อีกบริษัทหน่ึงในอัตราท่ีสูง (นพรัตน์ ตั้งเวนิชเจริญสุข, 2560) บริษัทยาและเวชภัณฑ์จึงมีความจาเป็นต้อง
พัฒนาองคค์ วามรแู้ ละความสามารถในการส่งเสริมให้ผแู้ ทนยาท่ีมคี วามสามารถคงอยกู่ ับองค์การ

จากการทบทวนวรรณกรรมพบปัจจัยท่ีมีผลต่อการคงอยู่ของพนักงาน (Management Study
Guide, 2020) ได้แก่ ความพงึ พอใจในงาน (Sittisorn, 2020) การมีสว่ นร่วมในงาน (Iddagoda et al., 2016)
และความผูกพันองค์การ (Jabri and Ghazzawi, 2019) โดยได้รับอิทธิพลจากการรับรู้การสนับสนุนของ
องคก์ าร (Mohamed and Ali, 2015) และพฤตกิ รรมการเป็นสมาชกิ ท่ีดขี ององค์การ (Alkahtani, 2015) การ
วิจัยในคร้ังน้ีจึงทาการศึกษา บุพปัจจัยต่อการรับรู้การสนับสนุนขององค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชกิ ทด่ี ี
ขององค์การท่ีมีผลต่อการคงอยู่ของผู้แทนยากลุ่มอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย ซ่ึงเป็นกลุ่มบุคลากรท่ีมี
ความสาคัญตอ่ ตลาดยาและระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ

วตั ถุประสงค์ของการวิจยั
1. ศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุของตัวแบบสมการโครงสร้างบุพปัจจัยต่อการรับรู้การสนับสนุนขององค์

การและการเปน็ สมาชิกท่ดี ีขององค์การที่มีผลต่อการคงอยู่ของผูแ้ ทนยากลมุ่ อตุ สาหกรรมยาในประเทศไทย
2. ศึกษาความคิดเห็นของผู้แทนยาท่ีมีความเช่ียวชาญในประเด็นเกี่ยวกับบุพปัจจัยต่อการรับรู้การ

สนับสนนุ ขององค์การและการเปน็ สมาชิกท่ีดีขององคก์ ารทม่ี ีผลต่อการคงอยู่ของผู้แทนยากลุ่มอุตสาหกรรมยา
ในประเทศไทย

2. เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

จากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวขอ้ ง ผวู้ จิ ัยไดร้ วบรวมและสงั เคราะหง์ านวจิ ัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง ดังนี้
1. การรับรู้การสนบั สนุนขององค์การ เป็นปัจจัยสาคัญในการผลักดันผลการปฏิบตั ิงานของ

พนักงานไปสู่ความสาเร็จตามเป้าหมายขององค์การ ก่อให้เกิดความยึดม่ัน ผูกพันกับองค์การ พนักงานมี
ความร้สู ึกท่สี ัมพนั ธ์กบั งาน ตอบสนองความรู้สึกในด้านความพงึ พอใจในงานและอารมณ์ดา้ นบวกของพนักงาน
ผู้ปฏิบัติงาน เปน็ ความเชื่อเก่ียวกับระดับของการยอมรับ การใหค้ วามสาคญั รวมถึงการตระหนักถึงคุณค่าและ
เป้าหมายส่วนบุคคลที่องค์การให้กับพนักงาน มี 3 ด้าน ได้แก่ (1) ความยุติธรรมในองค์การ ในการแจกจ่าย
ทรัพยากร กระบวนการหรือวิธีการท่ีได้รับการยอมรับร่วมกัน และการมีปฏิสัมพันธ์กันในการปฏิบัติงาน (2)
ผลตอบแทนที่ได้รับจากองค์การ ได้แก่ เงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง การรับรู้ในความใส่ใจขององค์การ และ

367 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ความก้าวหน้าในอาชีพ และ (3) สภาพการทางาน เพ่ือรับรองว่าองค์การจะรักษาความเป็นพนักงานไว้ใน
อนาคต ความเปน็ อิสระในงาน การฝึกอบรม (Mohamed and Ali, 2015)

2. พฤติกรรมการเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์การ เริ่มต้นโดย Katz (1964) นาเสนอกรอบของ
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์การในลักษณะของพฤติกรรมบทบาทพิเศษนอกเหนือจากงานในหน้าท่ี
เกิดขึ้นจากความเต็มใจในการปฏิบัติตามสถานการณ์ของพนักงานโดยไม่ได้รับรางวัลอย่างเป็นทางการ เป็น
พฤติกรรมเก่ียวกับการสร้างสรรค์ การสนับสนุนและช่วยเหลือ โดยมีผลต่อประสิทธิผลของบุคคลและองค์การ
มี 3 ด้าน ไดแ้ ก่ (1) พฤตกิ รรมการให้ความชว่ ยเหลอื ซึ่งเกิดขึน้ ดว้ ยความสมัครใจในการแก้ปัญหาท่เี กิดข้ึนจาก
การปฏิบัติงาน การช่วยเหลือเพื่อนร่วมงาน การชว่ ยแบง่ เบางานของเพ่ือนรว่ มงาน (2) การมมี ารยาท ด้วยการ
มีพฤติกรรมที่แสดงออกทางกาย วาจา และใจท่ีเป็นมิตร เป็นลักษณะของอุปนิสัยท่ีสามารถป้องกันปัญหาท่ี
เกิดจากความขัดแย้งในการทางาน และ (3) พฤติกรรมความมีน้าใจ เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการมีทัศนคติ
ทางบวก มีความยินดีที่จะอดทนต่อภาวะท่ีไม่เหมาะสมต่าง ๆ โดยไม่บ่นไม่ต่อว่า เช่น การงดเว้นการร้องเรียน
งดเว้นการโต้เถยี งกันด้วยอารมณ์ ซง่ึ เกดิ จากความเต็มใจเพือ่ ผลประโยชน์สว่ นรวม (Alkahtani, 2015)

3. ความพงึ พอใจในงาน Kotler and Armstrong (2001) อธิบายว่า การเกดิ พฤติกรรมของ
มนษุ ย์ตอ้ งอาศัยสิ่งจูงใจ หรอื แรงขับดนั เปน็ ความต้องการท่ีกดดันจนมากพอที่จะจงู ใจให้บุคคลเกิดพฤติกรรม
เพ่ือตอบสนองความต้องการของตนเอง โดยความต้องการของแต่ละคนไม่เหมือนกัน สาหรับความพึงพอใจใน
งานเป็นสภาวะทางอารมณ์ท่ีเกิดความรู้สึกรัก ชอบใจ มีความสุขในการทางาน หากได้รับการตอบสนองด้วย
ผลตอบแทนทคี่ ุ้มคา่ จะเกิดความเตม็ ใจที่จะปฏบิ ัตงิ านให้สาเร็จ มี 3 ด้าน ไดแ้ ก่ (1) สภาพแวดล้อมในทที่ างาน
ซ่ึงเป็นบรรยากาศของระดับความซับซ้อนในการดาเนนิ งาน 3 ระดับ คือ สภาพแวดลอ้ มท่ัวไป สภาพแวดล้อม
ส่วนบุคคล และสภาพแวดล้อมด้านการดาเนินงาน (2) การให้อานาจพนักงาน เป็นลักษณะของการเพิ่มขีด
ความสามารถโดยการให้อานาจและความเป็นอิสระในการดาเนินงาน เพื่อขจัดความไร้ความสามารถในการ
ตอบสนองลูกค้า และ (3) การให้ความสาคัญแก่พนักงาน เป็นแนวคิดการให้รางวัลทั้งทเ่ี ป็นตัวเงินและไม่เป็น
ตัวเงนิ สาหรับผลงานทบ่ี รรลคุ วามสาเรจ็ ตามเปา้ หมายขององค์การ (Sittisorn, 2020)

4. การมสี ่วนร่วมในงาน Yoshimura (1996) นาเสนอแบบจาลองการมีส่วนรว่ มในงาน โดย
ให้เหตุผลวา่ แนวคดิ การมสี ่วนรว่ มในงานเป็นแนวคิดที่มีหลายมิติ โดยแบง่ เปน็ 3 มิติ ได้แก่ (1) อารมณ์ในการ
มีส่วนร่วมในงาน เป็นความรักงาน ความสนใจในงาน และความปรารถนาในงานท่ีถูกต้องเหมาะสม (Robbins
and Judge, 2013) (2) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในงาน เป็นความกระตือรือร้นในการมีส่วน
ร่วม และการรับรู้คุณค่าของตนเอง และ (3) พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในงาน เป็นพฤติกรรมของบุคลากรที่
แสดงออกในการทางาน ได้แก่ การตรงต่อเวลา การเข้าร่วมประชุม ความพยายามในการปฏิบัติงานให้สาเร็จ
ตามเปา้ หมายขององคก์ าร (Iddagoda et al., 2016)

5. ความผูกพันองค์การ เป็นความรู้สึกผูกพันของพนักงานตามบทบาทหน้าที่ด้วยความเต็ม
ใจ การยอมรับการหล่อหลอมเป้าหมายและค่านิยมขององค์การเข้ามาอยู่ในตนเอง มีความภูมิใจในองค์การ
เตม็ ใจทีจ่ ะทางานเพ่ือความกา้ วหน้าและประโยชน์ขององค์การ รวมถงึ มคี วามตง้ั ใจท่จี ะทางานอย่างต่อเนื่องไม่
คิดลาออกไปทางานท่ีอ่ืน Allen and Meyer (1990) ได้นาเสนอแบบจาลองความผกู พันองค์การ 3 มิติ ซึ่งอยู่
บนพ้ืนฐานของการศึกษาด้านทัศนคติและการรับรู้ส่วนบุคคลของพนกั งาน ประกอบด้วย (1) มิติด้านจิตใจ คือ
อารมณ์หรือความรู้สึกที่มีต่อองค์การของพนักงาน (2) มิติด้านความต่อเนื่อง เป็นสัญญาการทางานในองค์การ
ของพนักงานแต่ละคน ข้ึนอยู่กับการประเมินผลประโยชน์ท่ีสร้างให้กับองค์การกับผลตอบแทนที่โดยรับ และ
(3) มิตดิ ้านบรรทดั ฐาน เป็นพฤตกิ รรมการทางานของบคุ คลที่เกิดจากความรสู้ ึกสานึกในหนา้ ที่ ข้อกาหนด และ
ความภักดีตอ่ องค์การทีเ่ กิดจากสามัญสานึกดา้ นศลี ธรรมของพนักงาน (Singh and Gupta, 2015)

368 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

6. การคงอยู่ของพนักงาน เป็นปัจจยั สาคัญทส่ี ง่ ผลต่อความมัน่ คงในการดาเนินงานในระยะยาว
ขององค์การ มีอทิ ธิพลต่อการรักษาความพงึ พอใจของลกู ค้า ประสิทธิภาพขององค์การ การเพม่ิ ยอดขาย ความ
พึงพอใจของเพื่อนรว่ มงานและทีมงาน รวมถึงการวางแผนการสืบทอดตาแหนง่ และอืน่ ๆ (Das and Baruah,
2013) องคป์ ระกอบการคงอยูข่ องพนกั งานมหี ลากหลาย (Kamalaveni et al., 2019) งานวจิ ัยในครงั้ นีศ้ ึกษา
ผแู้ ทนยาใน 2 องคป์ ระกอบ ได้แก่ (1) การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน เพื่อทาความเขา้ ใจความสามารถในการ
ปฏบิ ัตงิ านของพนักงานแต่ละคน ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการพฒั นาและส่งเสริมความก้าวหน้า (Management Study
Guide, 2020) และ (2) การสร้างสมดุลในชีวิต เปน็ การใหค้ วามสาคัญกบั ความต้องการของพนักงานท้งั ในการ
ทางานและชีวติ สว่ นตัวด้วยการจัดการความไมส่ มดุลกันในความตอ้ งการทรพั ยากรระหวา่ งพนกั งานกับ
องค์การ เชน่ ทรพั ยากรดา้ นเวลา การสนับสนนุ และอนื่ ๆ (Brough et al., 2020)

3. วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย

งานวิจัยใช้การวิจัยแบบผสมด้วยการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามและการเก็บข้อมูลเชิง
คุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลกึ กาหนดวธิ กี ารดาเนินงานวจิ ยั เปน็ 3 ขน้ั ตอน ดงั น้ี

ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาด้านเนื้อเอกสารแนวคิดทฤษฎี (Documentary Study) โดยรวบรวมข้อมูล
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับตัวแปรตามกรอบแนวคิดการวิจัยเพ่ือทราบถึงความหมาย แนวคิด
ความเปน็ มา องค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของตวั แปร

ข้ันตอนท่ี 2 การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรเป็นผู้แทนยาสังกัดบรษิ ัทท่ีเปิดดาเนินงานในประเทศไทย
รวมถึงสมาชิกสมาคมผู้วิจัยและผลิตเภสชั ภัณฑ์ (PReMA) และสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์
ไทย (THAIMED) กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามกฎของผู้เช่ียวชาญจานวนไม่น้อยกว่า 500 ตัวอย่าง (Hair et
al., 2014) สุม่ ตวั อย่างแบบหลายขน้ั ตอน (Multistage random sampling)

เคร่ืองมือ ใช้แบบสอบถาม สร้างแบบสอบถามจากทบทวนวรรณกรรม กาหนดเกณฑ์การให้คะแนน
ข้อคาถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบลิเคิร์ทสเกล และเลือกตอบได้เพียง 1 คร้ัง ตามกฎของ
Best and Kahn (1995) โดยหมายเลขตัวเลือกเท่ากับค่าคะแนน 1-5 แปลผลโดยใช้ความกว้างของอันตรภาค
ชน้ั (class interval) และค่าเฉลย่ี (mean)

ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ โดย (1) วัดความตรง (validity) ตามเน้ือหาจากความเห็นของ
ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการ 5 ท่าน ยอมรับข้อคาถามที่มีค่าความสอดคล้องต้ังแต่ 0.5 (Rovinelli, and
Hambleton, 1977) และ (2) วัดความเที่ยง (reliability) โดยใช้สูตรสัมประสิทธิแ์ อลฟาของคอนบาค โดยนา
แบบสอบถามท่ีปรับปรุงแล้วไปทดสอบกับกลุ่มประชากรท่ีใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง 30 ชุด ยอมรับค่า
สมั ประสทิ ธิส์ หสมั พันธ์ท่ีไมต่ ่ากว่า 0.5 (Hinkle et al., 1998) ผลการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื พบว่า ความ
ตรงมีค่าระหว่าง 0.60-1.00 และความเท่ียงมีค่า α ระหว่าง 0.66-0.92 ผ่านเกณฑ์ สามารถนาไปใช้เป็น
เครือ่ งมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้

การเก็บรวบรวมข้อมูล จัดส่งแบบสอบถามผ่านหัวเภสัชกรประจาศูนย์ ได้แก่ ภาคเหนือผ่านศูนย์
จังหวัดเชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือผ่านศูนย์จังหวัดขอนแก่น ภาคใต้ผ่านศูนย์จังหวัดยะลา และภาค
กลางผ่านศูนย์จงั หวัดสงิ หบ์ รุ ี จานวน 533 ชุด

ขั้นตอนท่ี 3 การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยคัดเลือก
ผู้แทนยาระดับเช่ียวชาญโดยดารงตาแหน่งตั้งแต่ Key Account Management ข้ึนไป จานวน 5 คน ซึ่งเป็น
ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ Thomson (1981 อ้างถึงใน สุชาติ ประสิทธิ์รัฐ

369 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

สินธุ์, 2555) วิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย (analytic induction) โดยนาข้อมูลมาเรียบเรียง จาแนก เช่ือมโยง
ความสัมพันธแ์ ละสร้างข้อสรปุ เพอ่ื สนับสนนุ ผลการวิจัยเชิงปรมิ าณ

4. ผลการวจิ ยั

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 533 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 64.90
มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ร้อยละ 50.70 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 77.70 อายุการทางานอยู่
ระหวา่ ง 6-10 ปี รอ้ ยละ 25.50

ตอนที่ 2 ข้อมลู ท่ัวไปของตัวแปรทใ่ี ชใ้ นการศึกษา
1) ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของตัวแปร พบว่า พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ

(OCB) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสดุ (M=4.32) รองลงมา ความผูกพันองค์การ (OC) (M=4.15) การมี
ส่วนร่วมในงาน (JI) (M=4.03) การคงอยู่ของพนักงาน (ER) (M=4.01) ความพึงพอใจในงาน (JS) (M=3.98)
และการรบั รกู้ ารสนับสนุนขององค์การ (POS) (M=3.75) ตามลาดบั

2) ผลการพิจารณาระดับของค่าเฉล่ียรายตัวแปร พบว่า พฤติกรรมการเป็นสมาชิกท่ีดีของ
องค์การ (OCB) ให้ความสาคัญกับด้านการมีมารยาท มากที่สุด โดยผู้แทนยายินดีในการไหว้ การให้ความ
เคารพตามคุณวุฒิ วยั วฒุ ิ รองลงมา ความผูกพันองค์การ (OC) ใหค้ วามสาคญั กับ ความผูกพันดา้ นบรรทัดฐาน
มากท่ีสุด โดยผู้แทนยามีหน้าท่ีให้การสนับสนุนด้านการรักษาพยาบาลและสุขภาพของประชาชน การมีส่วน
ร่วมในงาน (JI) ให้ความสาคัญกับ พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในงาน มากที่สุด โดยผู้แทนยาให้ความสาคัญกับ
การนดั หมาย การตรงตอ่ เวลา การคงอยู่ของพนกั งาน (ER) ให้ความสาคญั กบั การสร้างสมดุลในชวี ติ มากท่สี ุด
โดยบริษัทกาหนดเวลาทางานแบบยืดหยุ่นตามความเหมาะสมกับงานให้บริการลูกค้าของผู้แทนยา ความพึง
พอใจในงาน (JS) ใหค้ วามสาคญั กบั สภาพแวดล้อมในทที่ างาน มากท่ีสุด โดยผู้แทนยารสู้ กึ พอใจกับการทางาน
นอกสถานท่ี การเดินทางพบปะลูกค้า และการรับรู้การสนับสนุนขององค์การ (POS) ให้ความสาคัญกับ ความ
ยตุ ิธรรมในองค์การ มากทีส่ ดุ โดยมีการจัดสวัสดิการใหก้ ับผู้แทนยาทุกคนตามขอ้ กาหนดขององค์การ

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์โมเดลวัดตัวแปรแฝงโดยการตรวจสอบความตรงแบบรวมศูนย์
(Convergent validity) ค่าเฉล่ียของความแปรปรวนที่สกัดได้ (Average Variance Extracted: AVE) มีค่า
ระหว่าง 0.50-0.60 และคา่ ความเช่ือม่นั ของตวั แปรแฝง (Construct Reliability: CR) มีค่าระหวา่ ง 0.86-0.93
ผ่านเกณฑต์ ามกฎของ Hair et al. (2014) ซึ่งกาหนดคา่ AVE ไมน่ ้อยกว่า 0.50 และคา่ CR ไม่นอ้ ยกว่า 0.60

ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะหต์ ัวแบบสมการโครงสร้างของงานวิจัย
1) ผลการวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างของงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์จาก

แบบสอบถามจานวน 533 ชดุ โดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูป ดังภาพ 1

370 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

0.88

ภาพ 1 แสดงผลการวเิ คราะห์ตวั แบบสมการโครงสรา้ ง หลังปรบั โมเดล

2) ผลการวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างของงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์หลังปรับ
โมเดล พบว่า ค่าดัชนีผ่านเกณฑ์ทุกค่า โดยมีค่า /df=1.31, P=0.07, GFI=0.99, CFI=1.00 AGFI=0.96,
RMSEA=0.02 ผ่านเกณฑท์ ุกดัชนี (Hair et al., 2014)

3) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยอิทธิพลและค่าสัมประสิทธ์ิการพยากรณ์ (R2) ของตัวแบบสมการ
โครงสร้างตัวแปรแฝงภายใน พบว่า ตัวแปรการคงอยู่ของพนักงาน (ER) ได้รับอิทธิพลโดยรวมในรูปคะแนน
มาตรฐานจากตัวแปรการรับรู้การสนับสนุนขององค์การที่ส่งผ่านตัวแปรความพึงพอใจในงาน (JS) การมีส่วน
ร่วมในงาน (JI) และความผูกพันองค์การ (OC) โดยมีค่าอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.75** ซึ่งเป็นค่าอิทธิพลรวมท่ีสูง
กว่าตัวแปรพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ (OCB) ท่ีส่งผ่านบุพปัจจัยดังกล่าว และค่าสัมประสิทธ์ิ
การพยากรณ์ (R2) ของตัวแบบสมการโครงสร้างตัวแปรแฝงภายในมีค่าเท่ากับ 0.88 แสดงว่าตัวแปรในโมเดล
สามารถอธิบายความแปรปรวนของการคงอย่ขู องผแู้ ทนยาได้รอ้ ยละ 88 ดงั ตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้าง

ตวั แปรแฝงภายนอก การรับรู้การสนบั สนนุ ขององค์การ พฤตกิ รรมการเปน็ สมาชิกทีด่ ขี อง ตัวแปรผลลัพธ์

(POS) องค์การ (OCB) การคงอยู่ของพนกั งาน (ER)

ตัวแปรแผงภายใน TE IE DE TE IE DE TE IE DE

ความพึงพอใจในงาน (JS) 0.83* - 0.83* 0.31* - 0.31* 0.88* - 0.88*

การมสี ว่ นร่วมในงาน (JI) 0.47* - 0.47* 0.44* - 0.44* -0.20* - -0.20*

ความผูกพันองค์การ (OC) 0.55* - 0.55* 0.73* - 0.73* 0.21* - 0.21*

การคงอยขู่ องพนกั งาน (ER) 0.75* 0.75* - 0.34* 0.34* - - - -

สมการโครงสร้างของตวั แปร JS JI OC ER

R-Squared 1.00 0.60 0.84 0.88

หมายเหตุ:TE=อทิ ธิพลรวม, IE=อิทธิพลทางอ้อม, DE=อิทธพิ ลทางตรง, *p<.05 (t-value ≥ 1.960)

371 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

4) ผลการพัฒนาตัวแบบสมการโครงสร้างและการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า ความ
พึงพอใจในงาน (JS) เป็นปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการคงอยู่ของพนักงาน (ER) มากท่ีสุด รองลงมา ความผูกพัน
องค์การ (OC) โดยมคี ่าอิทธพิ ลรวม (TE) เท่ากบั 0.88* และ 0.21* ตามลาดับ สาหรับตวั แปรการมสี ว่ นรว่ มใน
งาน (JI) มีผลกระทบต่อการคงอยู่ของพนักงาน (ER) ในเชิงลบซึ่งเป็นทิศทางท่ีตรงข้ามกับทฤษฎี โดยมีค่า
อิทธิพลรวม (TE) เท่ากับ -0.20* และอิทธิพลโดยรวมของตัวแปรการรับรู้การสนับสนุนขององค์การ (POS) ที่
ส่งผา่ นตัวแปรแฝงภายในไปสกู่ ารคงอยขู่ องพนักงาน (ER) มคี ่าอทิ ธิพลโดยรวมเทา่ กบั 0.75* สงู กวา่ คา่ อทิ ธพิ ล
โดยรวมของตัวแปรพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ (OCB) ที่ส่งผ่านบุพปัจจัยไปสู่การคงอยู่ของ
พนกั งาน (ER) และผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา่ สนับสนุน ยกเวน้ สมมติฐานท่ี 8 ดังตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 ผลการทดสอบสมมตฐิ าน สัมประสทิ ธิ์ t ผลการ
เส้นทาง value ทดสอบ
สมมติฐาน
0.83* 13.03 สนบั สนนุ
H1 การรับรกู้ ารสนบั สนนุ ขององคก์ ารมอี ทิ ธพิ ลทางตรงเชิงบวกตอ่ ความพงึ พอใจในงาน 0.47* 9.69 สนับสนนุ
H2 การรบั รกู้ ารสนับสนุนขององคก์ ารมอี ิทธิพลทางตรงเชงิ บวกต่อการมีส่วนรว่ มในงาน 0.55* 8.21 สนับสนุน
H3 การรับรูก้ ารสนับสนุนขององคก์ ารมอี ทิ ธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความผกู พันองค์การ 0.31* 6.54 สนบั สนุน
H4 พฤตกิ รรมการเปน็ สมาชิกทดี่ ขี ององคก์ ารมีอทิ ธพิ ลทางตรงเชิงบวกต่อความพงึ พอใจในงาน 0.44* 8.54 สนบั สนุน
H5 พฤติกรรมการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี ององคก์ ารมอี ิทธพิ ลทางตรงเชงิ บวกต่อการมสี ่วนรว่ มในงาน 0.73* 8.96 สนบั สนุน
H6 พฤตกิ รรมการเปน็ สมาชกิ ทด่ี ขี ององคก์ ารมอี ทิ ธิพลทางตรงเชงิ บวกตอ่ ความผกู พันองค์การ 0.88* 7.63 สนับสนุน
H7 ความพงึ พอใจในงานมอี ิทธิพลทางตรงเชงิ บวกต่อการคงอยูข่ องพนกั งาน -0.20* -2.89 ไม่สนับสนนุ
H8 การมสี ่วนรว่ มในงานมีอทิ ธิพลทางตรงเชงิ บวกต่อการคงอยู่ของพนักงาน 0.21* 2.08 สนบั สนุน
H9 ความผูกพันองคก์ ารมอี ทิ ธิพลทางตรงเชิงบวกตอ่ การคงอย่ขู องพนักงาน

หมายเหตุ. *p ≤ .05 (t-value ≥ 1.960)

ข้ันตอนท่ี 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นผูแ้ ทน
ยาระดับเช่ียวชาญ 5 คน เพ่ือสนับสนุนผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักทุกคนมีความเห็น
สอดคลอ้ งกับผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชิงปรมิ าณในทุกประเดน็ ดงั นี้

1) การรับรู้การสนับสนุนขององค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความพึงพอใจในงาน
เนอ่ื งจากการปฏิบัติดว้ ยความยุตธิ รรมขององค์การ การใหผ้ ลตอบแทนทจ่ี ูงใจ การฝึกอบรม การใหเ้ กียรติ การ
ส่งเสริมให้พนักงานพัฒนาตนเอง รวมถึงการทางานเป็นทีม การช่วยเหลือกันเป็นปัจจัยที่ทาให้มีความสุขใน
การทางานและเกิดความพงึ พอใจในงาน สอดคลอ้ งกบั ผลการทดสอบสมมตฐิ านท่ี 1

2) การรับรู้การสนับสนุนขององค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการมีส่วนร่วมในงาน
เน่ืองจากเมื่อองค์การให้ความสาคัญ ตระหนักถึงคุณค่า และความต้องการของผู้แทนยา ได้แก่ การให้ความ
เสมอภาค ผลตอบแทน รางวัล การยกย่องให้เกียรติ มีตารางปฏิบัติงาน มีเทคโนโลยีท่ีทันสมัยในการ
ติดต่อสื่อสาร ทาให้ผู้แทนยายนิ ดรี ่วมการประชุมและกิจกรรมตา่ ง ๆ ขององคก์ าร สอดคล้องกบั ผลการทดสอบ
สมมตฐิ านที่ 2

3) การรับรู้การสนับสนุนขององค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความผูกพันองค์การ
เนื่องจากการที่องค์การให้ความยุติธรรม ผลตอบแทน จัดวัสดุอุปกรณ์สนับสนุนการทางาน มีการยกย่องให้
เกียรติพนักงาน ทาให้รู้สึกมีความสุขในทางานในองค์การและเพื่อนร่วมงาน เกิดความรู้สึกผูกพัน และมีความ

372 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

คิดเห็นเพ่ิมเติมว่า การสนับสนุนขององค์การส่งเสริมให้งานสาเร็จ และเม่ือทางานสาเร็จแล้วก็อยากทางาน
อื่น ๆ ใหส้ าเร็จตอ่ เนอ่ื งไปเร่อื ย ๆ สอดคลอ้ งกับผลการทดสอบสมมตฐิ านท่ี 3

4) พฤติกรรมการเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความพึงพอใจ
ในงาน เนื่องจากเมื่อผู้แทนยามีพฤติกรรมการทางานร่วมกันแบบพ่ีน้อง มีความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ ถ้อยทีถ้อย
อาศัยกัน ทาให้เกดิ ความรู้สกึ รกั งาน และมีความคดิ เหน็ เพ่ิมเติมว่า การมีมารยาทและน้าใจ การไม่สรา้ งปัญหา
ให้กับเพ่ือนร่วมงาน ความยุติธรรม ผลตอบแทน รางวัลพิเศษ และความใส่ใจขององค์การเป็นปัจจัยสนบั สนุน
ให้ผแู้ ทนยามคี วามรู้สึกพึงพอใจในงาน สอดคล้องกบั ผลการทดสอบสมมตฐิ านท่ี 4

5) พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการมีส่วนร่วม
ในงาน เน่ืองจากเม่ือผู้แทนยามีพฤติกรรมช่วยเหลือกันในการทางาน มีเป้าหมายร่วมกัน มีความพยายามใน
การบรรลุเป้าหมายร่วมกัน ทาให้มีความผูกพันกัน เม่ือมีกิจกรรม หรือมีการประชุมจะเข้าร่วมแสดงความ
คดิ เห็น และมคี วามคิดเห็นเพิ่มเติมว่า การเปน็ สมาชิกที่ดขี ององค์การทาให้ผู้แทนยาอยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสุข
ทาใหง้ านสาเร็จตามเป้าหมายไดง้ ่ายกวา่ การตา่ งคนตา่ งทา สอดคล้องกบั ผลการทดสอบสมมตฐิ านที่ 5

6) พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความผูกพัน
องค์การ เนื่องจากเม่ือผู้แทนยามีน้าใจต่อกัน มีความสามัคคีช่วยเหลือกันในการทางาน ทาให้เกิดความผูกพัน
ของเพื่อนร่วมงาน มีความสุขและความพึงพอใจในงาน เกิดความรู้สึกผูกพันองค์การ และมีความคิดเห็น
เพ่ิมเติมว่า พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การทาให้เพ่ือนร่วมงานอยากทางานด้วย สร้างความภักดีต่อ
องค์การ สอดคลอ้ งกับผลการทดสอบสมมตฐิ านท่ี 6

7) ความพึงพอใจในงานมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการคงอยู่ของพนักงาน เนื่องจาก
เม่ือผู้แทนยาทางานอย่รู ่วมกันอย่างมีความสุข เกิดความผูกพันกับเพื่อนรว่ มงานและองค์การ เพิ่มอัตราการคง
อยู่ของผู้แทนยา และมีความคิดเห็นเพ่ิมเติมว่า ผู้แทนยาท่ีมีความพึงพอใจในงานจะทุ่มเทกาลังในการทางาน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ไม่คิดย้ายไปทางานท่ีอื่น นอกจากนี้สภาพแวดล้อมในการทางาน ได้แก่ การมีเพ่ือน
ร่วมงานที่ดี การได้รับการสนับสนุนท่ีดีจากองค์การ การให้อานาจในการตัดสินใจ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการคง
อยู่ในองค์การของผแู้ ทนยา สอดคล้องกบั ผลการทดสอบสมมตฐิ านท่ี 7

8) การมีส่วนร่วมในงานมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการคงอยู่ของพนักงาน งานวิจัย
นาเสนอผลทง้ั ดา้ นสนบั สนนุ และคดั คา้ น คือ (1) ผลด้านสนบั สนุน พบวา่ เมื่อผู้แทนยามที ัศนคตแิ ละพฤติกรรม
ด้านดีต่อเพ่ือนร่วมงานและองค์การ มีการร่วมกิจกรรมในองค์การอย่างสม่าเสมอ ทาให้ผู้แทนยาเกิดความ
ผูกพันกับเพื่อนร่วมงานและองค์การ ช่วยลดอัตราการลาออก ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องกับ
แนวคดิ ทฤษฎตี ามสมมติฐานการวิจยั ที่ 8 และ (2) ผลดา้ นคดั ค้าน สาหรับประเด็นการลาออกของผู้แทนยาที่มี
ความเชี่ยวชาญในด้านผลติ ภณั ฑ์และการตลาด ซึ่งเป็นท่ีต้องการตัวของบรษิ ัทอ่ืน และมักจะถูกทาบทามให้ไป
ทางานด้วย โดยเมื่อผู้แทนยามีส่วนร่วมในการวางแผนยอด ได้รับรู้การได้รับค่าตอบแทนตามเป้าหมาย ทาให้
ผู้แทนยาเกิดการเปรียบเทียบกับบริษัทคู่แข่ง เป็นสาเหตุทาให้มีการโยกย้ายไปทางานบรษิ ัทอ่ืน สอดคล้องกับ
ผลการทดสอบสมมติฐานที่ 8 ที่มีผลในเชิงลบ ซ่ึงผู้ให้ข้อมูลหลักใหข้ ้อเสนอแนะเพ่ิมเติมว่า สิ่งท่ีควรปลูกฝังให้
เกิดข้ึนในกลุ่มผู้แทนยา คือ ความภักดีต่อองค์การ ซ่ึงอาจทาได้ยากในกลุ่มคนรุ่นใหม่ และการเพิ่มโอกาส
เตบิ โตภายในองคก์ ารด้วยขยายกจิ การ

9) ความผูกพันองค์การมีอิทธพิ ลทางตรงเชงิ บวกตอ่ การคงอยู่ของพนักงาน เน่ืองจากเม่ือ
ผู้แทนยามีความผูกพันกับเพ่ือนร่วมงาน มีความรู้สึกมีความสุขและมีความพึงพอใจในงาน ทาให้เกิดการ
ยอมรับค่านิยมและเป้าหมายขององค์การ เพ่ิมอัตราการคงอยู่ และมีความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า ความห่วงใย

373 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ระหว่างผู้แทนยาทาให้ผู้แทนยาไม่คิดไปทางานท่ีอื่น ผู้แทนยาที่มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ เป็น
ผ้แู ทนขององคก์ าร มีส่วนชว่ ยลดการลาออกของผู้แทนยา สอดคลอ้ งกบั ผลการทดสอบสมมตฐิ านท่ี 9

5. สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุป และอภปิ รายผล
1. เพ่ือศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุของตัวแบบสมการโครงสร้างบุพปัจจัยต่อการรับรู้การสนับสนุนของ
องค์การและการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่มีผลต่อการคงอยู่ของผู้แทนยากลุ่มอุตสาหกรรมยาในประเทศ
ไทย ผลการวจิ ยั มีข้อคน้ พบดังน้ี

1) ผลการวิเคราะห์อิทธิพลค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางระหว่างตัวแปรแฝงภายนอกกับตัวแปรแฝง
ภายใน เรียงลาดับตามอิทธิพลจากมากไปหาน้อย พบว่า การรับรู้การสนับสนุนขององค์การ (POS) กับความ
พึงพอใจในงาน (JS) มีอิทธิพลมากท่ีสุด รองลงมา พฤติกรรมการเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์การ (OCB) กับความ
ผูกพันองคก์ าร (OC) และการรับรู้การสนับสนนุ ขององคก์ าร (POS) กับความผกู พันองค์การ (OC) ตามลาดับ

2) ผลการวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแฝงภายในกับตัวแปรแฝงภายใน จานวน
3 คู่ พบว่า (1) ความพงึ พอใจในงาน (JS) กับการคงอยู่ของพนักงาน (ER) มอี ทิ ธพิ ลค่าสมั ประสิทธเ์ิ ส้นทางมาก
ท่ีสุด รองลงมา (2) ความผูกพันองค์การ (OC) กับการคงอยู่ของพนักงาน (ER) และ (3) การมีส่วนร่วมในงาน
(JI) กับการคงอยูข่ องพนักงาน (ER) ตามลาดับ

3) ความพึงพอใจในงาน (JS) เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการคงอยู่ของพนักงาน (ER) มากที่สุด รองลงมา
ความผกู พนั องค์การ (OC)

4) ตวั แปรการรบั รู้การสนับสนนุ ขององค์การ (POS) มอี ทิ ธิพลทางตรงส่งผา่ นความพึงพอใจในงาน
(JS) การมีส่วนร่วมในงาน (JI) และความผูกพันองค์การ (OC) ไปสู่การคงอยู่ของพนักงาน (ER) มีค่าผลรวม
อิทธิพล เท่ากับ 0.75 ซึ่งเป็นระดับของค่าผลรวมอิทธิพลที่สูงกว่าตัวแปรพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ
องคก์ าร (OCB) ทสี่ ง่ ผ่านบพุ ปัจจยั ดงั กลา่ วไปสกู่ ารคงอยู่ของพนักงาน (ER) ท่มี ีคา่ ผลรวมอทิ ธิพลเท่ากับ 0.34

5) ตัวแปรในโมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายความแปรปรวนของการคงอยู่ของผู้แทนยา
กลุ่มอตุ สาหกรรมยาในประเทศไทยได้ร้อยละ 88

2. เพ่อื ศึกษาความคิดเห็นของผู้แทนยาทม่ี คี วามเชีย่ วชาญในประเด็นเก่ียวกับบพุ ปัจจยั ต่อการรบั รู้การ
สนบั สนุนขององค์การและการเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีขององคก์ ารทมี่ ีผลต่อการคงอยู่ของผู้แทนยากลุ่มอตุ สาหกรรมยา
ในประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักทุกคนมีความคิดเห็นสอดคล้องกับทฤษฎีตามกรอบแนวคิด
การวิจัยและผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยเฉพาะสมมติฐานท่ี 8 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
พบว่า การมีส่วนร่วมในงานมีอิทธิพลทางตรงเชิงลบต่อการคงอยู่ของพนักงาน ซึ่งเป็นทิศทางท่ีตรงข้ามกับ
ทฤษฎี ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความเห็นว่า เมื่อผู้แทนยามีส่วนร่วมในการวางแผนยอด ได้รับรู้การได้รับค่าตอบแทน
ตามเป้าหมาย ทาให้ผู้แทนยาเกิดการเปรียบเทียบกับบริษัทคู่แข่ง เป็นสาเหตุทาให้มีการโยกย้ายไปทางาน
บรษิ ัทอ่ืน

การอภิปรายผลการวจิ ยั ตามสมมติฐาน จานวน 9 ขอ้ ดงั นี้
สมมติฐานท่ี 1 การรับรู้การสนับสนุนขององค์การ (POS) มีอิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจในงาน
(JS) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า สนับสนุนในระดับสูง สอดคล้องกับงานวิจัยของ Sulistyawati and
Sufriadi (2020) และสอดคล้องกับผลการวิจัยเชงิ คุณภาพ พบว่า การรับรู้การสนับสนนุ ขององค์การมีอิทธพิ ล
ตอ่ ความพงึ พอใจในงาน เน่ืองจากมีการปฏิบัติต่อผแู้ ทนยาดว้ ยความยตุ ิธรรม มีการให้ผลตอบแทนท่ีจูงใจ และ
มกี ารจดั สภาพแวดลอ้ มในท่ีทางานทีส่ ง่ เสรมิ ใหเ้ กิดขวญั กาลงั ใจ

374 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

สมมติฐานท่ี 2 การรับรู้การสนับสนุนขององค์การ (POS) มีอิทธิพลทางตรงต่อการมีส่วนร่วมในงาน
(JI) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า สนับสนุนในระดบั ปานกลาง สอดคลอ้ งกบั ผลการศกึ ษาของ Karim et al.
(2019) และสอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การรับรู้การสนับสนุนขององค์การมีอิทธิพลต่อการมี
ส่วนร่วมในงาน เน่ืองจากองค์การให้ความสาคัญกับบุคลากรกลุ่มผู้แทนยา ตระหนักถึงคุณค่าและความ
ตอ้ งการของผูแ้ ทนยาอย่างสอดคล้อง

สมมติฐานที่ 3 การรับรู้การสนับสนุนขององค์การ (POS) มีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันองค์การ
(OC) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สนับสนุนในระดับปานกลาง สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Albalawi
et al. (2019) และสอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบวา่ การรบั ร้กู ารสนบั สนุนขององค์การมีอิทธิพลต่อ
ความผูกพันองค์การ เน่ืองจากองค์การให้การสนับสนุนท่ีดีแก่ผู้แทนยาทาให้รู้สึกมีความสุขในการทางานเกิด
ความรู้สกึ ผูกพันกบั องคก์ ารและเพ่ือนรว่ มงาน

สมมติฐานที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ (OCB) มีอิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจ
ในงาน (JS) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า สนับสนุนในระดับต่า สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Soetjipto
et al. (2021) และสอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การมี
อิทธิพลต่อความพึงพอใจในงาน เน่ืองจากผู้แทนยามีพฤติกรรมการทางานร่วมกันแบบพ่ีน้อง เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่
ถอ้ ยทถี อ้ ยอาศัยกนั ให้ความชว่ ยเหลอื กันในการทางาน

สมมติฐานที่ 5 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ (OCB) มีอิทธิพลทางตรงต่อการมีส่วนร่วม
ในงาน (JI) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สนับสนุนในระดับปานกลาง สอดคล้องกับผลการศึกษาของ
Mirzaee and Beygadeh (2017) และสอดคล้องกับผลการวิจัยเชงิ คุณภาพ พบว่า พฤติกรรมการเป็นสมาชิก
ที่ดีขององค์การมีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในงาน โดยผู้แทนยามีพฤติกรรมช่วยเหลือกันในการทางาน มีส่วน
รว่ มในงานและกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์การ

สมมติฐานที่ 6 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์การ (OCB) มีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพัน
องค์การ (OC) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สนับสนุนในระดับสูง สอดคล้องกับงานวิจัยของ Saed and
Hussein (2019) และสอดคล้องกับผลการวิจยั เชิงคุณภาพ พบว่า พฤติกรรมการเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์การมี
อิทธิพลต่อความผูกพันองค์การ เน่ืองจากการท่ีผู้แทนยามีน้าใจต่อกัน มีความสามัคคีช่วยเหลือกันในการ
ทางาน ทาให้เกิดความผกู พันของเพอื่ นร่วมงาน

สมมติฐานที่ 7 ความพึงพอใจในงาน (JS) มีอิทธิพลทางตรงต่อการคงอยู่ของพนักงาน (ER) ผลการ
ทดสอบสมมติฐาน พบว่า สนับสนุนในระดับสูง สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Alias et al. (2019) และ
สอดคล้องกับผลการวิจัยเชงิ คุณภาพ พบวา่ ความพึงพอใจในงานมีอิทธิพลต่อการคงอยู่ของพนักงาน เนือ่ งจาก
การที่ผแู้ ทนยาทางานอยู่ร่วมกันอย่างมีความสขุ เกดิ ความร้สู ึกพึงพอใจในงานเพม่ิ อตั ราการคงอย่ขู องผ้แู ทนยา

สมมติฐานที่ 8 การมีส่วนร่วมในงาน (JI) มีอิทธิพลทางตรงต่อการคงอยู่ของพนักงาน (ER) ผลการ
ทดสอบสมมติฐาน พบว่า ไม่สนับสนุน โดยมีอิทธิพลทางตรงในระดับต่าเชิงลบซึ่งเป็นทิศทางท่ีขัดแย้งกับ
ทฤษฎี โดยจากการทบทวนวรรณกรรมต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบันพบว่า การมีส่วนร่วมในงานมีอิทธิพลเชิงบวกต่อ
การคงอยู่ของพนักงาน (Al-Maabadi, 2020) และเม่ือพิจารณาข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
ผู้แทนยาท่ีมีความเชี่ยวชาญ พบว่า เม่ือผู้แทนยาทางานอยู่ในองค์การจนมีความเช่ียวชาญด้านผลิตภัณฑ์และ
การตลาด จะถูกทาบทามให้ไปทางานในบริษัทอื่น แสดงให้เห็นว่า ผู้แทนยาย่ิงมีส่วนร่วมในการวางแผนยอด
การได้รับรู้การได้รับค่าตอบแทนทาให้ผู้แทนยาเกิดการเปรียบเทียบกับบริษัทคู่แข่ง เป็นสาเหตุทาให้มีการ
โยกย้ายไปทางานบริษัทอื่น ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลเชงิ ปริมาณจึงขดั แย้งกับทฤษฎี

375 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

สมมติฐานที่ 9 ความผูกพันองค์การ (OC) มีอิทธิพลทางตรงต่อการคงอยู่ของพนักงาน (ER) ผลการ
ทดสอบสมมตฐิ าน พบวา่ สนับสนนุ ในระดับตา่ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Soenanta et al. (2020) และ
สอดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ัยเชิงคุณภาพ พบวา่ ความผูกพนั องค์การมีอิทธิพลต่อการคงอยขู่ องพนักงาน เนอื่ งจาก
การที่ผู้แทนยามีความผูกพันกับเพ่ือนร่วมงานจะเกิดความพึงพอใจในงานยอมรับค่านิยมแล ะเป้าหมายของ
องค์การเพ่มิ อัตราการคงอยู่ของพนักงาน

5.2 ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย
จากผลการวิจัยที่พบว่า เส้นทางอิทธิพลโดยรวมของการรับรู้การสนับสนุนขององค์การต่อ

ความพึงพอใจในงาน การมีส่วนรว่ มในงาน และความผูกพันองค์การท่ีมีผลต่อการคงอยขู่ องพนักงานมีอิทธพิ ล
รวมสูงทีส่ ดุ โดยผ่านความพงึ พอใจในงาน รองลงมา ความผูกพนั องคก์ าร งานวิจัยมขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี

1) องค์การควรมนี โยบายให้ความสาคัญกบั การจดั สวัสดิการให้ผูแ้ ทนยาตามข้อตกลง ใหก้ าร
สนับสนุนในด้านต่าง ๆ อย่างเสมอภาคกัน และจัดให้มีเทคโนโลยีสนับสนุนการปฏบิ ัติงานท่ีทันสมัยและทัว่ ถงึ
ควบคู่กับนโยบายที่ส่งเสริมความพึงพอใจของผู้แทนยา ได้แก่ การออกทางานนอกสถานที่ การทางานเป็นทีม
การมีเครือข่ายสื่อสารติดต่อกันอย่างท่ัวถึง และมีการกาหนดเป้าหมายของงานอย่างสมเหตุสมผล และควร
ควบคกู่ ับการมนี โยบายสง่ เสริมการคงอยขู่ องผแู้ ทนยา ได้แก่ การกาหนดเวลาการทางานทีย่ ืดหยนุ่ ตามลกั ษณะ
งาน ผลตอบแทนทค่ี ุ้มค่า และจดั สรรเวลางานและเวลาส่วนตัวของผู้แทนยาให้สมดุลเพื่อให้ผู้แทนยามีเวลากับ
ครอบครวั อย่างเพียงพอ

2) นอกจากนโยบายตามข้อ 1) ข้างต้นแล้ว องค์การควรเพิ่มเติมนโยบายด้านการส่งเสริม
ความผูกพันองค์การ ได้แก่ การสร้างจิตสานึกผู้แทนยาเกี่ยวกับการมีบทบาทหนา้ ที่ในการเป็นผสู้ นับสนุนดา้ น
การรักษาพยาบาลและสุขภาพของประชาชน ความผูกพันกับเพ่ือนร่วมงาน และค่านิยมเป็นส่วนหนึ่งของ
องค์การ

3) จากผลการวิจัยท่ีพบว่า การมีส่วนในงานมีอิทธิพลเชิงลบต่อการคงอยู่ของพนักงาน ซ่ึงเกิดใน
กรณีที่ผู้แทนยาถูกทาบทามให้ไปทางานท่ีบริษัทอื่น องค์การควรส่งเสริมให้ความภักดีต่อองค์การกลายเป็น
ค่านยิ มรว่ ม รวมถงึ ควรใชก้ ลยุทธ์เติบโต เชน่ การเพ่ิมผลิตภัณฑ์ใหม่ทท่ี าตลาดในประเทศไทย เพ่อื สร้างโอกาส
ในการเตบิ โตของผ้แู ทนยาดว้ ยการเปน็ ผ้บู ริหารผลิตภณั ฑ์ใหม่ ตามขอ้ เสนอแนะของผู้แทนยา

5.3 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวจิ ัยในคร้งั ต่อไป
ผลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ พบว่า อิทธิพลของการมีส่วนร่วมในงานต่อการคงอยู่ของพนักงาน

มีผลทางตรงเชิงลบซึ่งเป็นทิศทางที่ตรงข้ามกับทฤษฎี ประกอบกับผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่า
สนับสนุนท้ังด้านทฤษฎีและผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักทุกคนเห็นสอดคล้องกันว่า
การมีส่วนร่วมในงานมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการคงอยู่ของพนักงาน และในกรณีการลาออกของผู้แทนยา
เกิดมาจากการอยู่ร่วมกับองค์การเป็นเวลานานทาให้ผู้แทนยาเป็นคนที่มีความรู้และประสบการณ์ในตลาดยา
เป็นท่ีตอ้ งการตวั ของบริษทั ยาอนื่ จงึ มีการทาบทามไปทางาน ผวู้ ิจัยเห็นว่า ปรากฎการณ์ดังกลา่ วนี้ยงั ไม่ชัดเจน
ควรมีการพิสูจน์อย่างเป็นระบบตามระเบียบวิธีวิจัย ดังนั้น ในการวิจัยคร้ังต่อไปจะทาการศึกษาด้วยการ
วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ (Exploratory Factor Analysis) ของตัวแปร “การมีส่วนร่วมในงาน และ
ความตั้งใจในการลาออก” ของผ้แู ทนยา เพื่อให้เกิดความชดั เจนในการอธบิ ายปรากฎการณ์ท่ีค้นพบ

376 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เอกสารอ้างอิง

นพรัตน์ ตั้งเวนิชเจริญสขุ . (2560). ปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ การลาออกของผู้แทนยา. วทิ ยานพิ นธ์เศรษฐศาสตร์
มหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.

มาเก็ตตี้ ออนไลน.์ (2563). ตลาดยาไทยโตรองแค่อินโด AI เทรนดใ์ หญ่กาหนดทิศทาง. [ออนไลน์]. สบื ค้น
เมือ่ 27 มิถนุ ายน 2563, จาก https://marketeeronline.co/ archives/102120"

สราวุธ สนั ตวิ ุฒกิ ุล และ ตลุ ยา ตลุ าดลิ ก. (2563). การวิเคราะหก์ ารดาเนนิ งานด้านงานขายของหัวหน้าทีม
ขายและผแู้ ทนยา บริษทั มลิ ลิเมด จากดั . วารสารบริหารธุรกจิ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่, 6(3), 82-90.

สชุ าติ ประสทิ ธ์ริ ฐั สนิ ธ์ุ. (2555). ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์คร้ังท่ี 15). กรุงเทพฯ: สามลดา.
เอ็มเคทฟี ารม์ า่ . (2563). ทักษะและความรทู้ ่ีจาเป็นสาหรับนักการตลาดยาในปี 2559. [ออนไลน์]. สืบคน้

เมื่อ 27 มิถนุ ายน 2563, จาก https://mktpharma.wordpress.com/
Albaliwi, A. S., Naugton, S., Elayan, M. B., & Sleimi, M. T. (2019). Perceived organizational

support, alternative job opportunity, organizational commitment, job satisfaction and
turnover intention: A moderated-mediated model. Organizacija, 52(4), 310-324.
Alias, N. E., Zailan, N. A., Jahya, A., Othman, R., & Sahiq, A. N. M. (2019). The effect of
supportive work environment on employee retention at Malaysia Information,
Communication, and Technology (ICT) Industry. International Journal of Academic
Research in Business and Social Sciences, 9(8), 61-77.
Alkahtani, A. (2015). Organizational citizenship behavior and rewards. International Business
Research, 8(4), 210-222.
Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective,
continuance and normative commitment to the organization. Journal of
Occupational Psychology, 63(1), 1-18.
Al-Maabadi, A. A. (2020). Job Involvement, and career retention rate among nursing
personnel in Saudi Arabia. SSRG International Journal of Nursing and Health
Science 6(1), 58-65.
Best, J. W., & Kahn, J. V. (1995). Research in education (7th ed.). New Delhi, India: Prentice
Hall of India.
Brough, P., Timms, C., Chan, X. W., Hawkes, A., & Rasmussen, L. (2020). Work–life balance:
Definitions, causes, and consequences. [Electronic version]. Griffith University,
Queensland, Australia. from https://research-repository.griffith.edu.au/bitstream/
handle/ 10072/399143/Brough431772Accepted.pdf?sequence=2
Das, B. L., & Baruah, M. (2013). Employee retention: A review of literature. IOSR Journal of
Business and Management (IOSR-JBM), 14(2), 8-16.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2014). Multivariate data analysis
(7th ed.). Essex, UK: Pearson Education.
Hinkle, D. E., William, W., & Stephen, G. J. (1998). Applied statistics for the behavior
Sciences (4th ed.). New York: Houghton Mifflin.

377 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

Iddagoda, Y. A., Opatha, H., & Gunawardana, K. D. (2016). Towards a conceptualization and
an operationalization of the construct of employee engagement. International
Business Research, 9(2), 85-90.

Jabri, B. A., & Ghazzawi, I. (2019). Organizational commitment: A review of the conceptual
and empirical literature and a research agenda. International Leadership Journal,
11(1), 78-119.

Kamalaveni, M. A., Ramesh, S., & Vetrive, T. (2019). A review of literature on employee
retention. International Journal of Innovative Research in Management Studies
(IJIRMS), 4(4), 1-10.

Karim, D. N., Baset, M. A., & Rahman, M. M. (2019). The effect of perceived organizational
support on intention to stay: The mediating role of job involvement. The
Jahangirnagar Journal of Business Studies, 8(1), 21-30.

Katz, D. (1964). The motivational basis of organizational behavior. Behavioral Science, 9,
13-46.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2001). Principles of marketing (9th ed.). NJ: Prentice-Hall.
Management Study Guide. (2020). Performance appraisal. Retrieved June 27, 2020,

from https://www.managementstudyguide.com/performance-appraisal.htm
Mirzaee, M., & Beygzadeh, Y. (2017). Study of the impact of organizational citizenship

behavior on job involvement staff self-discipline (A case study case: West Azerbaijan
Tax Affairs Office, Iran). European Journal of Management and Marketing Studies.
2(1), 111-120.
Mohamed, S. A., & Ali, M. (2015). The influence of perceived organizational support on
employees’ job performance. International Journal of Scientific and Research
Publications, 5(4), 1-6.
Robbins, S. P. & Judge, T. A. (2013). Organizational behaviour (15th ed.). Prentice Hall,
United States of America.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the
assessment of criterion referenced test item validity. Dutch Journal of Educational
Research, 2(2), 49-60.
Saed, R. A., & Hussein, A. H. (2019). Impact of organizational citizenship behavior on
organizational commitment on Jordanian frontline employees of Arabic Bank.
European Scientific Journal, 15(10), 184.
Singh, A., & Gupta, B. (2015). Job involvement, organizational commitment, professional
commitment, and team commitment. Benchmarking: An International Journal,
22(6), 1192-1211.
Sittisom, W. (2020). Factors affecting job satisfaction of employees in pharmaceutical
industry: A case study of Thailand. A Multifaceted Review Journal in the Field of
Pharmacy, 11(3), 125-133.

378 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

Soenanta, A., Akbar, M., & Sariwulan, T. (2020). The effect of job satisfaction and
organizational commitment to employee retention in a lighting company. Business
Management and Economics, 8(4), 97-103.

Soetjipto, N., Priyohadi, N. D., Sulastri, S., & Riswanto, A. (2021). The effect of company
climate, organization citizenship behavior, and transformational leadership on work
morale through employee job satisfaction. Management Science Letters, 11, 1197-
1204.

Sulistyawati, U. S., & Sufriadi, D. (2020). Perceived organization support towards employee
engagement and the impact of employee job satisfaction. International Journal of
Social Science and Business, 4(4), 513-518.

Yoshimura, A. (1996). A review and proposal of job involvement (Festschrift for Prof. Yoko
Sano). Keio business review, 33, 175-184.

379 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

แนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษยเ์ พอื่ สร้างความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั
ของวสิ าหกจิ ชุมชนจงั หวดั สุพรรณบุรี

Guideline for Human Resource Management to create competitive advantage
of Community Enterprise in Suphanburi Province

จฑุ ามาส ศรชี มภู*
(Jutamat Srichompu)

บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์และ
ความได้เปรียบในการแข่งขนั ของวิสาหกิจชุมชนจังหวดั สุพรรณบรุ ี 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเหน็ ดา้ น
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพ่ือศึกษา
ปัจจัยด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ท่ีส่งผลต่อความได้เปรียบในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนจังหวัด
สุพรรณบุรี และ 4) เพ่ือศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของ
วสิ าหกจิ ชมุ ชนจงั หวดั สุพรรณบุรี รูปแบบการวิจัยใชร้ ะเบียบวจิ ยั แบบผสม กลุ่มตวั อย่างในการวิจยั เชงิ ปริมาณ
คือ ประธานวสิ าหกจิ ชุมชนหรือตัวแทนวสิ าหกจิ ชุมชนจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ในตาแหน่งประธานกรรมการบริหาร
หรือผู้ที่เคยมีประสบการณ์บริหารกลุ่มฯ รวมจานวน 163 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันภูมิ เคร่ืองมือท่ี
ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามที่ผ่านการทดสอบความตรงเชิงเน้ือหาและความเช่ือม่ันแล้ว สถิติท่ีใช้
ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบ
เก่ียวกับความคิดเห็นด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันจาแนกตาม
ปัจจัยส่วนบุคคล โดยใช้การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหว่างปัจจัยด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์และความได้เปรียบในการแข่งขัน ด้วยการวิเคราะห์ความ
ถดถอยเชงิ พหุคณู แบบขนั้ ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ในส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ เกบ็
รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ประธานวิสาหกิจชุมชนหรือตัวแทนวิสาหกิจชุมชนใน
จังหวัดสุพรรณบุรีจากวิสาหกิจชุมชนท่ีได้รับรางวัลดีเด่น และให้ความร่วมมือในการวิจัย จานวน 5 คน ใช้
วิธีการเลอื กกลมุ่ ตวั อย่างแบบเจาะจง วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยการวเิ คราะห์เนอ้ื หา

*จฑุ ามาส ศรชี มภู สาขาวิชาการจดั การทรัพยากรมนุษย์ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม 73000
Lecturer Faculty of Management Science (Human resource management). Nakhon Pathom Rajabhat
University 73000

Corresponding author: [email protected]

380 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ผลการวิจยั พบว่า
1) ระดบั ความคิดเหน็ ของปจั จยั ดา้ นการจดั การทรัพยากรมนษุ ย์ของวิสาหกิจชุมชนจงั หวัดสุพรรณบุรี
อยูใ่ นระดับมาก และระดบั ความคดิ เหน็ ของความได้เปรยี บในการแข่งขนั อยู่ในระดบั มาก
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ทางานในวิสาหกิจ
ชุมชน และประเภทของวิชาสหกิจชุมชนที่เป็นสมาชิก แตกต่างกันมีระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านการ
จัดการทรัพยากรมนุษย์ของวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรีแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมตฐิ าน
3) ปัจจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ได้แก่ ด้านการสรรหาบุคลากร ด้านการประเมินผลการปฏิบัติ
และ ด้านค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ส่งผลต่อความได้เปรียบในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนจังหวัด
สุพรรณบุรี อย่างมีนัยสาคัญ เป็นไปตามสมมติฐาน ทานายการผันแปรของความได้เปรียบในการแข่งขันของ
วิสาหกิจชุมชนจังหวดั สุพรรณบุรี ไดร้ ้อยละ 80.50 โดยเขียนสมการทานาย ได้ดงั น้ี
Y = 0.364** ** + 0.191X2** + 0.398 X5** + 0.308 X6**
4) แนวทางการจัดการทรัพยากรมนษุ ย์เพ่ือสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันจังหวดั สุพรรณบุรี ส่วน
ใหญ่ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนใช้การศึกษาจากองค์การท่ีประสบความสาเร็จ แล้วนามาประยุกต์ใช้กับ
วิสาหกิจชุมชนของตนเอง หรือการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ ก็จะทาให้สามารถสร้างความ
ไดเ้ ปรียบทางการแข่งขันได้

คาสาคญั : การจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ ความได้เปรยี บในการแขง่ ขัน วิสาหกิจชุมชน

ABSTRACT

The objectives of this study were to; 1) study the opinion to human resource
management and competitive advantage of Suphanburi Community Enterprise, 2) compare
the opinion to human resource management and competitive advantage of Suphanburi
Community Enterprise classified by personal factors, 3) investigate factors affecting to Human
Resource Management to create competitive advantage of Community Enterprise in
Suphanburi Province, and 4) explore the guideline for Human Resource Management to create
competitive advantage of Community Enterprise in Suphanburi Province. This study was
mixed-method research, and the samples of quantitative research were 163 president or
representatives who work as chief executive officers position or have experience in governed
field of Suphanburi Community Enterprise using stratified sampling. The collecting instruments
used in this study were the questionnaire evaluated the content validity and reliability. The
data analysis were percentage, mean, standard deviation, and T-test to compare the factors
as personal factors and human resource management factor affecting to competitive
advantage of Suphanburi Community Enterprise. Also, the data analysis used Fisher’s Least
Significant Difference (LSD) in case of statistically significant difference, Stepwise of Multiple
Regression Analysis to identify the relationship between factors affecting to Human Resource
Management and competitive advantage. For the qualitative study, the data were collected

381 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

using the interview. The samples were 5 main informants who are the representative of
president or representatives of Suphanburi Community Enterprise who received an
outstanding award and cooperated in this research using purposive sampling, and data were
analyzed by content analysis.

The results found that;
1) the opinion to Human Resource Management to create competitive advantage of
Suphanburi Community Enterprise in overall was at a high level, and in each aspect was at a
high level,
2) the different personal factors as age, income per month, experiences in Community
Enterprise field, and types of Community Enterprise members affected to the the opinion to
Human Resource Management to create competitive advantage of Suphanburi Community
Enterprise at the 0.05 statistical significance level followed the hypothesis both in overall and
each aspect, and
3) the Human Resource Management factors as Recruitment, Performance Appraisal,
and Compensation and Benefits affected to the competitive advantage of Suphanburi
Community Enterprise statistically significant followed the predicting hypothesis as 80.50%
variation of the competitive advantage of Suphanburi Community Enterprise as the forecasting
equation
Y = 0.364** ** + 0.191X2** + 0.398 X5** +0 .308 X6**,
4) the guideline for Human Resource Management to create competitive advantage
of Suphanburi Community Enterprise were to study the management from successful
organizations, acknowledged and applied with their own Community Enterprises, or supported
from various agencies so that they can make competitive advantage.

Keywords: Human Resource Management, Competitive Advantage, Community Enterprise

Article history:

Received 24 November 2021 Revised 8 May 2022
Accepted 11 May 2022 SIMILARITY INDEX = 2.69 %

382 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

1. บทนา

การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและโลกในปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งจาก
เปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital disruptive) และสถานการณโ์ รคโควิด 19 (Covid-19 ) สงั คมเกิด
รูปแบบการดาเนินชีวิตแบบปกติใหม่ (New normal) ทุกภาคส่วนต้องปรับตัวกับสถานการณ์ การบริหาร
จัดการในศตวรรษท่ี 21 ปีเตอร์ ดรัคเกอร์ (Drucker, 1999) ได้กล่าวว่า การบริหารในศตวรรษที่ 21 เป็นการ
เปล่ียนแปลง ที่พบกับปัญหาความท้าทายที่สาคัญสาหรับองค์การ นักบริหาร พนักงาน ต้องมีความรู้ ทักษะ
ความสามารถที่จะสามารถจัดการกับปัญหาท่ีเกิดข้ึน และ 1 ใน 6 ประเด็นท่ีสาคัญ คือ ความสามารถในการ
ผลติ ของแรงงานทใ่ี ช้ความรู้ ทักษะ ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน

ประเทศไทยได้มีนโยบาย Thailand 4.0 เป็นโมเดลเศรษฐกิจที่จะนาพาประเทศไทยให้หลุดพ้นจาก
กับดักประเทศรายได้ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้า Thailand 4.0 เป็นนโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจ ที่
เน้นการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ภาครัฐบาลได้ส่งเสริมสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนธุรกิจท่ีสามารถช่วยเหลื อ
เศรษฐกิจของประเทศและสร้างรายได้ ส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน ปัจจุบันการจดทะเบียนวิสาหกิจ
ชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ดาเนินการมาแล้ว 15 ปี มีผลการการดาเนินงานปี พ.ศ. 2562
(ฐานเศรษฐกิจ, 2563) มีวิสาหกิจชุมชนมาข้ึนทะเบียน 90,757 แห่ง สมาชิก 1,530,766 ราย เครือข่าย
วิสาหกจิ ชมุ ชน 540 แหง่ สมาชกิ 12,439 ราย นอกจากนี้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12
(พ.ศ. 2560–2564) มีนโยบายด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม โดยสนับสนุนการวิจัยพัฒนา การดัดแปลงและต่อยอดการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่ความเป็นอัจฉริยะ
โดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและการผสมผสานเทคโนโลยีให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี รวมถึงส่งเสริม
วิสาหกิจชุมชน เพ่ือนาไปการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศให้ก้าวหน้า เป็นการสร้างช่องทางในการดาเนินธุรกิจ
ให้กับผู้ประกอบการ โดยการดาเนินการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการเพ่ือให้วิสาหกิจชุมชนสามารถสร้าง
สินคา้ ผลิตภัณฑ์ การจาหนา่ ยสนิ ค้า และการให้บรกิ ารได้ อีกท้ังชว่ ยสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ กับเศรฐกจิ ประเทศ

มนุษย์เป็นปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการบริหารองค์การ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพ
นาไปสู่การพัฒนาและการเจริญเติบโตขององค์การ การจัดการทรัพยากรมนุษย์เป็นกลยุทธ์ และแนวปฏิบัติที่
สาคัญของผู้นาองค์การ นักบริหาร นักทรัพยากรมนุษย์จาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี
เก่ียวกับการบริหารคน ตามแนวคิดของ Noe et al (2020: 5) ได้กล่าวว่า การจัดการทรัพยากรมนุษย์
หมายถึง นโยบาย แนวการดาเนินงานและระบบการบริหารท่ีมีผลต่อพฤติกรรมบุคลากร เจตคติและผลการ
ปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งการจัดการทรัพยากรมีความเก่ียวข้องกับการบริหารคน เป็นการจัดการเก่ียวกับ
บุคลากรตั้งแต่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนอัตรากาลังคน การสรรหา การคัดเลือกบุคลากร การอบรมและ
พัฒนาบุคลากร การจัดการค่าตอบแทน การประเมินผลการปฏิบัติงาน และแรงงานสัมพันธ์ซ่ึงส่งผลต่อ
ศักยภาพการเติบโตขององค์การ และแนวคิดของณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2555) ได้กล่าวว่าองค์ประกอบของ
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ การสรรหาบุคลากร การคัดเลือกบุคลากร การพัฒนา
บุคลากร การประเมินผลงาน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ นอกจากนี้ในธุรกิจท่ีมีศักยภาพการแข่งขัน เป็น
ปัจจัยสาคัญในเชิงเปรียบเทียบที่ใช้วัดความสามารถหรือสมรรถนะของตนเองเทียบกับคู่แข่ง การพัฒนา
ศักยภาพการแข่งขันให้อยู่เหนือกว่าคู่แข่งจึงเป็นเป้าหมายที่องค์การมุ่งไปสู่ความสาเร็จ อีกทั้งความได้เปรียบ
ในการแข่งขันทางธุรกิจ ตามแนวคิดของ Porter (1998) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับความได้เปรยี บในเชงิ แข่งขันชื่อ
ว่า Competitive Advantage ซึ่งได้กล่าวถึงหลักการไว้วา่ หากต้องการให้ธุรกิจสามารถแข่งขันได้ จะต้องใส่
ใจในกลยุทธ์การแข่งขัน 3 กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ความแตกต่าง กลยุทธ์ต้นทุนต่าและกลยุทธ์ความแตกต่าง
เฉพาะกลมุ่ เพื่อใหธ้ ุรกิจมคี วามสามารถในการแข่งขนั และประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

383 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

จากงานวิจัยของหลายท่านพบว่าการจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความสาคัญกับการดาเนินงานของ
วิสาหกิจชุมชน โดยธีรฉัตร เทียมทอง และเพ็ญณี แนรอท (2561) ได้ศึกษาแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชมุ ชน
ท่ีย่ังยืน พบว่า มีการบริหารจัดการมีปัจจัย 4 ด้าน หรือ 4 M’s ประกอบด้วย กาลังคน งบประมาณ วัสดุ
อุปกรณ์ และวิธีการบรหิ าร และการจัดสรรผลประโยชน์อย่างทั่วถึง ผู้นากลุ่มมีภาวะผู้นา โครงสร้างทางสังคม
ค่านิยมทางสังคม ช่วยส่งเสริมให้วิสาหกิจชุมชนประสบความสาเร็จ และนิภาพรรณ เจนสันติกุล (2562) ได้
ศึกษาการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน พบว่า วิสาหกิจชุมชนควรมีแนวทางในด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือ
สร้างความสามารถในการแข่งขันในประชาคมอาเซียนได้ นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ประกอบการ SMEs มีปัญหา
ด้านบุคลากร โดยขาดทักษะในการแก้ปัญหาทางดา้ นทรัพยากรมนุษย์ในการประกอบธุรกิจของวสิ าหกิจชุมชน
ผู้ประกอบการรายย่อย องค์การยังไม่มีโครงสร้างองค์การท่ีชัดเจน จึงทาให้ยากในการบริหารจัดการด้าน
ตาแหน่งงาน หน้าท่ีความรับผิดชอบ รวมถึงภาระงานหลักและภาระงานรองของบุคคลากรในองค์การ เพื่อ
ควบคุมบุคลากรให้ปฏิบัติตามงานความต้องการขององค์การได้ รวมถึงการวิเคราะห์งาน (Job analysis) และ
คาบรรยายลักษณะงาน (Job description) เพื่ออธิบายขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบงานของตาแหน่ง
งานในองคก์ าร ส่ิงจะสามารถใชใ้ นกระบวนการสรรหาว่าจา้ งและประเมินงานเพื่อเป็นฐานในการบริหารค่าจ้าง
เงนิ เดอื นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (ภาคภมู ิ ภัควภิ าส สธุ ีมนต์ ทรงศิริโรจน์ และรฐั นนั ท์ พงศ์วริ ทิ ธธ์ิ ร, 2561)

แผนพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2565 ทบทวนปี 2563 มีเป้าหมาย
การพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรีให้เป็น “เมืองเกษตรกรรมยั้งยืน เศรษฐกิจเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดีสังคมมีสุข”
โดยมปี ระเดน็ การพฒั นาท่ี 1 ดา้ นการเพมิ่ ศักยภาพการผลติ สินคา้ เกษตร และอุตสาหกรรมใหไ้ ดม้ าตรฐาน เพอ่ื
การ แข่งขันทางการค้าและการพัฒนาท่ีย่ังยืน มีแผนงาน ส่งเสริมธุรกิจเอสเอ็มอี สตาร์ทอัพ โอท็อป วิสาหกจิ
ชุมชน และมีกลยุทธ์ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมวิสาหกิจชุมชน (องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี ,
2563) รวมถึงจากข้อมูลรายงานการประเมินศักยภาพ สรุปผลการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนจังหวัด
สุพรรณบุรี ประจาปี พ.ศ. 2563 พบว่าวิสาหกิจชุมชนท้ังหมด จานวน 684 ราย ประเด็นภาพรวมผลการ
ประเมนิ ศกั ยภาพอยู่ในระดบั ดี จานวน 275 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 40.20 ระดบั ปานกลาง จานวน 289 ราย คดิ
เป็นร้อยละ 42.25 ระดับปรบั ปรุง จานวน 120 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 17.55 (กองสง่ เสรมิ วิสาหกจิ ชมุ ชน, 2564)
พบวา่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนมีปัญหาด้านการบริหารจัดการ ด้านการวางแผน ด้านบุคลากร ด้านการตลาด เปน็ ตน้ ซ่ึง
จากสรุปผลการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนจงั หวัดสพุ รรณบุรี สะท้อนถึงปัญหาท่ีเก่ียวกับด้านการบรหิ าร
จัดการ ด้านการวางแผน ด้านบุคลากรซึ่งเป็นส่วนสาคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์และส่งผลต่อความ
ได้เปรยี บในการแข่งขนั ของวิสาหกิจชุมชนได้

จากข้อมูลแสดงให้เห็นถึงปัญหาและผลการวิจยั ท่ีได้มีผทู้ ี่ศึกษาพบว่าส่วนหนึ่งของการดาเนนิ ธุรกิจใน
วิสาหกจิ ชุมชน วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต้องมอี งค์ประกอบดา้ นการบริหารจัดการคน การพัฒนาคน
หรือการจัดการจดั ทรพั ยากรมนษุ ย์ ยอ่ มนามาซึ่งการทาธรุ กิจทีป่ ระสบความสาเร็จ ช่วยสร้างความไดเ้ ปรียบใน
การแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนได้ ในงานวิจัยนี้เพื่อให้เกิดผลกระทบกับผู้ที่เก่ียวข้องจึงทาเป็นงานวิจัยแบบ
ผสมผสาน (mixed method) ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยผลการศึกษาท่ีได้จะช่วยให้ทราบว่าความ
คิดเห็นด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนจังหวัด
สุพรรณบุรีอยู่ในระดับใด ความคิดเห็นด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์เพ่ือสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
ของวสิ าหกจิ ชุมชนจังหวัดสุพรรณบรุ ี จาแนกตามปัจจยั สว่ นบคุ คลมีความแตกตา่ งกันอยา่ งไร ทราบถงึ ปัจจัยที่
ส่งผลต่อด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์และความได้เปรียบในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนจังหวัด
สุพรรณบุรีมีความสัมพันธ์กันอย่างไร และแนวทางการพัฒนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อความสามารถใน
การแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี นอกจากนี้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องนาผลจากงานวิจัยน้ีไป

384 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022


Click to View FlipBook Version