The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mbakru1, 2022-06-29 14:04:18

วารสารวิทยาการจัดการปีที่9ฉบับที่1

Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University

Keywords: วารสารวิทยาการจัดการ

สานักงานยุทธศ์ าสตร์กล่มุ จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน 1. (2563). สภำพทว่ั ไป. [ออนไลน์].
สืบค้นเม่อื 20 กุมภาพันธ์ 2563, จาก http://www.osmnortheast-
n1.moi.go.th/ud/index.php?option=com_content&view=article&id=54&Itemid=87

สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์. (2563). ข้อมูลวัฒนธรรม. [ออนไลน์]. สืบค้นเม่ือ 20 กุมภาพันธ์ 2563,
จาก https://www.m-culture.go.th/buriram/main.php?filename=index

สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ. (2558). ข้อมูลวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563, จาก
https://www.m-culture.go.th/sisaket/more_news.php?cid=7&filename=index

สานักวฒั นธรรมจังหวดั สุรินทร์. (2558). ประเพณแี ละงานท่องเทีย่ วประจาปี ของจงั หวัดสุรนิ ทร.์ สบื ค้นเมอ่ื
20 กุมภาพนั ธ์ 2563, จาก https://www.m-culture.go.th/surin/ ewt_dl_link.php?nid
=684&filename=index

Aiken, K., Campbell, R., & Koch, E. (2009). Exploring the Relationship between Brand Personality
and Geographic Personality: Consumer Perceptions of Sport Teams and Cities.
Advances in Consumer Research, 36, 933-934.

Cox, M., & Cox, T. (2008). Multidimensional Scaling. In Chen, C., Hardie, W., & Unwin, A. (Eds.),
Handbook of Data Visualization. Heidelberg: Springer.

Gigauri, I. (2019). Applying Perceptual Mapping Method for Successful Positioning Strategy.
International Journal of Management and Business Sciences, 1(1), 14-23.

Hastings, G., Angus, K., & Bryant, C. (2011). The Sage Handbook of Social Marketing. Calif:
SAGE Publications.

Hunt, C., & Mello, J. (2015). Marketing. New York: McGraw-Hill.
Kotler, P., & Armstrong, G. (2020). Principles of Marketing (18th ed.). Harlow: Pearson.
Kotler, P., & Keller, K. (2016). Marketing Management. New Jersey: Pearson.
Krejcie, R., & Morgan, D. (1970). Determining Sample Sizes for Research Activities. Educational

and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Krustal, J., & Wish, M. (1978). Multidimensional Scaling. Newbury Park: SAGE Publications.
Najat, B. (2017). Importance of Customer Knowledge in Business Organizations. International

Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 7(11), 175-187.
Natalia Jaworska, N., & Chupetlovska‐Anastasova, A. (2009). A Review of Multidimensional

Scaling (MDS) and its Utility in Various Psychological Domains. Tutorials in
Quantitative Methods for Psychology, 5(1), 1-10.
Positioning. (2563). เมืองรองมำแรง! อโกด้ำเปิดสถิติคนไทยเท่ียวในประเทศต้องกำรสถำนท่ีแปลกใหม่
สงู ข้ึน.[ออนไลน์]. สืบค้นเมอ่ื 26 เมษายน 2563 จาก https://positioningmag.com/1299995
Raguindin, G. (2019). The Experiences of Repositioning Products by Toy Collectors: A
Descriptive Phenomenological Study. International Journal of Business Marketing
and Management, 4(4), 66-82.

185 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

Sophonsiri, S., & Polyorat, K. (2009). The Impact of Brand Personality Dimensions on Brand
Association and Brand Attractiveness: The Case Study of KFC in Thailand. Journal of
Global Business and Technology, 5(2), 51-62.

Tybout, A., & Calder, B. (2010). Kellogg on Marketing. New Jersey: Wiley.
Wirtz, B., & Daiser, P. (2018). Business Model Development: A Customer-Oriented Perspective.

Journal of Business Models, 6(3), 24-44.
World Health Organization. (2020). WHO Thailand Situation Report-95. Retrieved April 7,

2020, from https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/2020-06-29-tha-
sitrep-94-covid-19.pdf?sfvrsn=b057e665_4
World Tourism Organization. (2010). The Power of the Youth Travel. Madrid: Spain.

186 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

กลยุทธก์ ารบริหารเงนิ สดเพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการทากาไรในกลุม่ อตุ สาหกรรมเทคโนโลยี
Cash Management Strategies to Increase Profitability in the Technology
Industry

โชษิตา เปสตันยี *
(Chosita Pestonji)

บทคัดย่อ

การวิจัยในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหน้ี ระยะเวลาในการ
จาหน่ายสินค้า และระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ีที่ส่งผลต่อวงจรเงินสด และศึกษาวงจรเงินสดท่ีส่งผลต่อ
ความสามารถในการทากาไร โดยเกบ็ รวบรวมข้อมูลทตุ ยิ ภมู ิใน พ.ศ.2560 ถึง พ.ศ.2562 จากกล่มุ อตุ สาหกรรม
เทคโนโลยีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย วิเคราะห์ผลการวิจัยด้วยวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่าง
ง่าย ผลการศึกษา พบว่า ระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหน้ีและระยะเวลาในการจาหน่ายสินค้าคงเหลือส่ง
ผลกระทบเชิงบวกต่อวงจรเงินสด ในขณะท่ี ระยะเวลาในการจ่ายชาระหนี้ส่งผลกระทบเชงิ ลบต่อวงจรเงนิ สด
นอกจากนี้ ผลการศึกษาพบว่า วงจรเงินสดส่งผลกระทบเชิงลบกับความสามารถในการทากาไร ดังนั้น กิจการ
สามารถลดระยะเวลาของวงจรเงินสดได้ด้วยการลดระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหน้ีและลดระยะเวลาใน
การจาหน่ายสินค้าคงเหลือ และเพิ่มระยะเวลาในการจ่ายชาระหนี้ โดยการลดลงของวงจรเงินสดจะนาไปสู่
ความสามารถในการทากาไรท่ีเพิ่มขึน้

คาสาคญั : การบริหารเงินสด วงจรเงินสด ความสามารถในการทากาไร

*อาจารย์ประจาสาขาวิชาการเงิน คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน 30000
Lecturer School of Finance, Business Administration, Rajamangala University of Technology Isan, 30000
Corresponding author: [email protected]

187 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ABSTRACT

This research aimed to study the impact of receivables collection period, inventory
conversion period, and payable deferral period on the cash conversion cycle. In addition, this
research is to investigate the impact of cash conversion cycle on profitability. The study is
based on secondary financial data obtained from technology industry in the Stock Exchange
of Thailand for the period from 2017 to 2019. Simple linear regression analysis was used to
draw analyze the results of the study. The study found that receivables collection period and
inventory conversion period have a positive impact on cash conversion cycle. Whereas payable
deferral period has a negative impact on cash conversion cycle. In addition, the study found
that the cash conversion cycle has a negative impact on firm profitability. Consequently, a
companies can shorten the cash conversion cycle by shortening receivables collection period
and inventory conversion period and to increase the payable deferral period. A decline in the
cash conversion cycle leads to increased profitability.

Keywords: Cash Management, Cash Conversion Cycle, Profitability

Article history: Revised 10 July 2021
SIMILARITY INDEX = 2.87 %
Received 22 April 2021
Accepted 16 July 2021

1. บทนา

การเพิ่มผลกาไรเป็นวตั ถุประสงคห์ ลักในการดาเนินธุรกจิ ซ่งึ ส่วนหน่งึ สามารถเพ่ิมกาไรไดจ้ ากการเพิ่ม
ยอดขายของกิจการ แต่การขายสินค้านั้นอาจไม่สามารถรับเงินสดได้ทันที โดยปกติแล้วบริษัทต่าง ๆ จะมี
ช่องว่างระหว่างการผลิตสินค้าและการรับเงินสดจากการขายสินค้า ซ่ึงช่องว่างดังกล่าวหากมีระยะเวลาที่
ยาวนานเกินไปอาจส่งผลต่อความอยู่รอดของกิจการ (Shabbir, Iftikhar and Raja, 2018) ทาให้การ
หมุนเวยี นเงนิ สดในกิจการมีความสาคญั ต่อการดาเนินธรุ กจิ

หากกจิ การบรหิ ารเงินสดตามแนวทางของกลยุทธแ์ บบเชิงรกุ (Aggressive Strategy) จะทาใหก้ ิจการ
มรี อบระยะเวลาการหมนุ เวียนเงนิ สดท่สี ้ัน จะทาใหม้ เี งินสดในการหมนุ เวยี นสาหรับการดาเนินงานท่เี ร็วขน้ึ ซึง่
สามารถนาเงินสดไปลงทุนในกิจกรรมอ่ืน ๆ เพิ่มเติม รวมทั้งลดการพึ่งพาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอก จึง
ทาให้เกิดการเพ่ิมโอกาสในการสร้างผลกาไรให้กับกิจการ ในทางกลับกัน หากกิจการมีรอบระยะเวลาของการ
หมุนเวียนเงินสดที่ยาวนาน จะทาให้มีเงินสดในการหมุนเวียนสาหรับการดาเนินงานช้า ซ่ึงอาจทาให้ชาระหน้ี
ให้กับเจ้าหน้ีการคา้ ได้ไมท่ ันเวลาที่กาหนด ซง่ึ อาจต้องพ่ึงพาแหล่งเงนิ ทุนภายนอกในการชาระหนี้ดงั กล่าว และ
เกิดต้นทุนทางการเงิน และอาจนาไปสู่ความสามารถในการทากาไรท่ีลดลง (Tran, Abbott and Jin-Yap,
2017 ; Lyngstadaas and Berg, 2016)

อย่างไรก็ตาม การศึกษาของ Laghari and Chengang (2019) สนับสนุนว่า การบริหารเงินสดที่มี
ระยะเวลาการหมนุ เวยี นทย่ี าวนานจะทาใหค้ วามสามารถในการทากาไรเพม่ิ ข้ึน ซงึ่ สะทอ้ นถึงการบรหิ ารเงินสด

188 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ตามแนวทางของกลยุทธ์แบบอนุรักษ์นิยม (Conservative Strategy) เน่ืองจาก เกิดการกระตุ้นยอดขายจาก
สินเชื่อทางการค้า และยังมีผลการศึกษาอีกจานวนหน่ึงท่ีสนับสนุนให้กิจการมีรอบระยะเวลาของการบริหาร
วงจรเงินสดท่ียาวนานจะเพ่ิมความสามารถในการทากาไร (Altaf and Shah, 2017; Gachira, Chiwanza,
Nkomo and Chikore, 2014; Abuzayed, 2012)

จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ของการศึกษาท่ีผ่านมาท่ีขัดแย้งกับทฤษฎกี ารบริหารรอบระยะเวลาของเงิน
สด ทาให้การศึกษาคร้ังนี้ต้องการศึกษาผลกระทบของวงจรเงินสดท่ีส่งผลต่อความสามารถในการทากาไรใน
บริบทของประเทศไทยว่าควรมีการบรหิ ารการหมุนเวียนเงินสดของกิจการในลักษณะใดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการทากาไรของกิจการ โดยการศึกษาในคร้ังนี้จะศึกษาในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ในตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย เน่ืองจาก กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีในประเทศไทยมีการเติบโตข้ึนอย่างรวดเร็ว จากการ
ทาธุรกิจในปัจจุบันสามารถเปล่ียนผ่านสู่ดิจิทัลได้อย่างเต็มรูปแบบเพื่อต่อยอดความสาเร็จ ซึ่งเป็นผลมาจาก
การผลักดันให้เกิดการลงทุนด้านดิจิทัลสาหรับใช้ในการดาเนินธุรกิจ (เอกภาวิน สุขอนันต์, 2563) โดยในปี
2563 หุ้นในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีปรับเพ่ิมขึ้นกว่าปีก่อนมากท่ีสุดท่ีร้อยละ 37.66 ซ่ึงสวนทางดัชนีหุ้น
ไทยที่ปรับลดลงท่ีร้อยละ 5.92 (ฐานเศรษฐกิจ, 2564) จึงเป็นอุตสาหกรรมท่ีน่าสนใจในการศึกษา โดยผล
การศึกษาจะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้บริหารดา้ นการเงินของอตุ สาหกรรมเทคโนโลยีในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ
ไทยในการประยกุ ตใ์ ชว้ ิธกี ารบรหิ ารเงินสดตอ่ ไป

วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
1. เพ่อื ศึกษาระยะเวลาในการเกบ็ เงนิ จากลูกหนี้ ระยะเวลาในการจาหน่ายสินค้าคงเหลือ และ

ระยะเวลาในการจา่ ยชาระหนี้ที่ส่งผลตอ่ วงจรเงนิ สด
2. เพื่อศึกษาวงจรเงนิ สดทสี่ ่งผลตอ่ ความสามารถในกาไร

2. เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้อง

2.1 การบริหารวงจรเงินสด
การบริหารเงินสดเป็นการตรวจสอบการหมุนเวียนเงินสดของกิจการ ซึ่งสามารถวัดได้โดย

วงจรเงินสด (Cash Conversion Cycle) ซึ่งวงจรเงินสดพิจารณาจาก ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ และเจ้าหนี้
การค้า โดยวงจรเงินสดเร่ิมจากการซื้อวัตถุดิบหรือสินค้าเข้ามาในกิจการ เพื่อนามาผลิตและขายสินค้าออกไป
จนกระทั่งลูกค้านาเงินสดมาชาระ และกิจการจ่ายชาระหน้ีให้กับเจ้าหน้ีการค้า (Brigham and Houston,
2007) ท้ังนี้ วงจรเงินสดเป็นการพิจารณาว่ากิจการมีกระแสเงินสดเพียงพอท่ีจะยังคงดาเนินธุรกิจตามปกติ
หรือไม่ และมีการหมุนเวียนเงินสดได้ทันเวลาในการชาระหน้ีให้กับเจ้าหนี้การค้าหรือไม่ (Mansoori and
Muhammad, 2012)

วงจรเงินสดประกอบด้วยระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหนี้ (Receivables Collection
Period: RCP) ระยะเวลาในการจาหนา่ ยสินค้าคงเหลือ (Inventory Conversion Period: ICP) และระยะเวลา
ในการจ่ายชาระหน้ี (Payable Deferral Period: PDP) (Abiodun and Samuel, 2014; Deloof, 2003;
Hawawini, Viallet and Vora, 1986) วงจรเงนิ สดสามารถคานวณได้ ดังน้ี

CCC = RCP + ICP - PDP

189 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

โดยระยะเวลาของวงจรเงินสดนับตั้งแต่วันท่ีต้องจ่ายชาระหน้ีให้กับเจ้าหนี้การค้าสาหรับนา
วัตถุดิบมาผลิตสินค้า จนกระทั่งขายสินค้าออกไป และลูกหนี้การค้านาเงินสดมาชาระคืน ดังน้ัน ถ้ามีการจ่าย
ค่าวัตถุดิบหรือสินค้าเร็วกว่าการรับชาระหนี้จากลูกหน้ีการค้า ธุรกิจจาเป็นต้องมีการจัดหาเงินทุนหมุนเวียน
เพ่ิมเติมเพ่ือให้เพียงพอต่อการดาเนินงาน (Atseye, Ugwu and Takon, 2015; Brigham and Houston,
2007)

Samson, Mary, Yemisi and Erekpitan (2012) กล่าวไว้ว่า การวัดค่าของวงจรเงินสดสามารถ
อธิบายได้ 3 สถานะ ดังนี้

1. วงจรเงินสดมีค่าเป็นบวก หมายถึง กิจการจะต้องจ่ายชาระค่าวัตถุดบิ หรือสนิ ค้า กอ่ นท่ีจะ
ได้รับเงินสดจากลูกหน้กี ารคา้ กรณนี ้กี ิจการจะตอ้ งมีการสารองเงินทนุ หมนุ เวยี นไว้ล่วงหน้าเพื่อไม่ใหเ้ กิดปัญหา
การขาดสภาพคล่องของกิจการ

2. วงจรเงินสดมคี ่าเป็นศูนย์ หมายถงึ กจิ การสามารถจ่ายชาระค่าวตั ถดุ ิบหรือสินค้า ดว้ ยเงนิ
สดทีไ่ ด้รับจากลกู หนี้การค้า ซง่ึ ไม่จาเปน็ ต้องจัดหาเงินทนุ หมุนเวยี นเพิม่ เติมจากแหลง่ เงนิ ทุนอืน่

3. วงจรเงินสดมีค่าเป็นลบ หมายถึง กิจการจะได้รับการชาระเงินจากลูกหน้ีการค้าก่อนที่
จะต้องจ่ายชาระเงินเงินสดให้แก่เจ้าหน้ีการค้า ซึ่งกิจการจะสามารถนาเงินที่ได้ไปลงทุนในกิจกรรมอ่ืน ๆ ก่อน
ถึงกาหนดการชาระเงินหน้ี

หากวงจรเงินสดมีรอบระยะเวลาที่ส้ันจะสะท้อนถึงกลยุทธ์แบบเชิงรุก (Aggressive
Strategy) โดยกิจการจะมีเงินสดสาหรับการหมุนเวียนเพื่อดาเนินงานเร็ว ซ่ึงจะทาให้กิจการลดการพ่ึงพา
เงนิ ทนุ จากแหล่งเงินทุนภายนอกซงึ่ มตี น้ ทนุ ทางการเงนิ สงู อกี ทัง้ ยังสามารถนาเงนิ สดไปลงทนุ ในกจิ กรรมอืน่ ๆ
เพ่ิมเติมเพื่อเพ่ิมผลกาไร ดังนั้น เม่ือวงจรเงินสดส่งผลกระทบเชิงลบต่อความสามารถในการทากาไรแสดงให้
เหน็ วา่ กจิ การมกี ลยุทธ์การบริหารวงจรเงินสดแบบเชงิ รกุ (Tauringana and Afrifa, 2013)

ในทางกลับกัน หากกิจการมีระยะเวลาของวงจรเงินสดที่ยาวนานจะสะท้อนถึงกลยุทธ์แบบ
อนุรักษ์นิยม (Conservative Strategy) ซึ่งทาให้มีเงินสดเข้ามาหมุนเวียนในกิจการช้า และอาจทาให้ไม่
สามารถชาระหนีใ้ ห้กบั เจ้าหนก้ี ารค้าไดต้ ามกาหนด จึงอาจจะต้องพึง่ พาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอก และ
เกิดต้นทุนทางการเงิน ทาให้กิจการอาจมีความสามารถในการทากาไรที่ลดลง (Tran, Abbott and Jin-Yap,
2017; Lyngstadaas and Berg, 2016; Tauringana and Afrifa, 2013) แต่ท้ังนี้ วงจรเงินสดที่มีระยะเวลา
ยาวมักใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์ในการกระตุ้นยอดขาย โดยการเพ่ิมระยะเวลาการจ่ายชาระหน้ีให้กับลูกหนี้การค้า
ท้ังน้ี ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการให้สินเชื่อทางการค้าไม่ควรต่ากว่าต้นทุนทางการเงินที่ใช้ลงทุนในลูกหน้ี
การค้า ดังนั้น เม่ือวงจรเงินสดส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความสามารถในการทากาไรแสดงใหเ้ ห็นวา่ กิจการมกี ล
ยุทธ์การบริหารวงจรเงนิ สดแบบแบบอนุรักษน์ ิยม (Tauringana and Afrifa, 2013)

อีกท้ัง การที่กิจการจะบริหารวงจรเงินสดให้มีประสิทธิภาพต้องดูจากระยะเวลาในการเก็บ
เงินจากลูกหน้ี ระยะเวลาในการจาหนา่ ยสนิ ค้าคงเหลือ และระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ี อกี ดว้ ย วา่ ควรเน้น
การบริหารอัตราส่วนทางการเงินตัวใดเพื่อให้วงจรเงินสดมีประสิทธิภาพที่สุด ท้ังน้ี การศึกษาของ
Shrivastava, Kumar and Kumar (2017) ได้ทาการศึกษาในประเทศอินเดีย พบว่า ระยะเวลาในการ
จาหน่ายสินค้าคงคลังและระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหน้ีมีผลกระทบเชิงบวกต่อวงจรเงินสด ที่ระดับ
นยั สาคัญทางสถติ ิ 0.01 และระยะเวลาในการจา่ ยชาระหนี้มผี ลกระทบเชิงลบต่อวงจรเงินสด ทรี่ ะดบั นยั สาคัญ
ทางสถิติ 0.05 โดยท่ีระยะเวลาในการจาหน่ายสินค้าคงคลังมีขนาดของอิทธิพลท่ีมีต่อวงจรเงินสดมากท่ีสุ ด

(β = 0.692) รองลงมาคือ ระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหน้ี (β = 0.509) และระยะเวลาในการจ่ายชาระ

หนี้ (β = - 0.194) ตามลาดับ ซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่าการบริหารวงจรเงินสดให้มีประสิทธิภาพควรไปเน้นที่การ

190 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

บริหารสินค้าคงคลัง เช่นเดียวกับผลการศึกษาของ Tran, Abbott and Jin-Yap (2017) ในขณะท่ีผล
การศึกษาของ Makori and Jagongo (2013) ท่ีศึกษาในประเทศเคนย่า พบว่า ระยะเวลาในการเก็บเงินจาก
ลูกหน้ีมีขนาดของอิทธิพลท่ีมีต่อวงจรเงินสดมากท่ีสุด (β = 0.549) รองลงมาคือ ระยะเวลาในการจ่ายชาระ
หน้ี (β = - 0.407) และระยะเวลาในการจาหนา่ ยสินค้าคงคลงั (β = 0.344) ตามลาดบั สาหรับการศึกษาของ
Almazari (2014) ศกึ ษาในประเทศซาอุดอิ าราเบีย พบว่า ระยะเวลาในการจา่ ยชาระหนม้ี ีผลกระทบเชงิ ลบต่อ
วงจรเงินสด (β = - 0.349) ท่ีระดับนัยสาคัญ 0.05 แต่ระยะเวลาในการจาหน่ายสินค้าคงคลังและระยะเวลา
ในการเก็บเงนิ จากลูกหนผ้ี ลกระทบเชงิ บวกต่อวงจรเงินสด แต่ไมม่ นี ยั สาคญั ทางสถติ ิ

จากผลการศึกษาท่ีผ่านมา การทราบขนาดของอิทธิพลของระยะเวลาในการเก็บเงินจาก
ลูกหนี้ ระยะเวลาในการจาหน่ายสินค้าคงเหลือ และระยะเวลาในการจ่ายชาระหนี้ จะทาให้กิจการลาดับ
ความสาคัญในการบรหิ ารวงจรเงินสด เพือ่ นาไปสูว่ งจรเงินสดที่มีประสิทธภิ าพและเพ่ิมความสามารถในการทา
กาไรในท่สี ุด จงึ เปน็ ท่ีมาของสมมติฐาน ดังนี้

H1 ระยะเวลาในการเก็บเงนิ จากลูกหนี้มีอทิ ธพิ ลต่อวงจรเงินสด
H2 ระยะเวลาในการจาหนา่ ยสนิ คา้ คงเหลือมอี ิทธิพลตอ่ วงจรเงินสด
H3 ระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ีมอี ิทธิพลตอ่ วงจรเงนิ สด

สาหรับการศึกษาของวงจรเงินสดท่ีมีผลต่อความสามารถในการทากาไร มีทั้งผลการศึกษาท่ี
สอดกับแนวคิดด้านวงจรเงินสด และผลการศึกษาที่ขัดแย้งกับแนวคิดด้านวงจรเงินสด โดยการศึกษาของ
Pirttilä, Virolainen, Lind and Kärri (2020) ได้ศึกษาในประเทศรัสเซีย ผลการศึกษาพบว่า วงจรเงินสดมี
ผลกระทบเชิงลบต่อความสามารถในการทากาไร ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาในประเทศปากีสถานของ
Ahmed et al. (2016) Anser and Malik (2013) และ Azam and Haider (2011) อีกทั้ง ผลการศึกษา
ดังกล่าวสอดคล้องกับการศึกษาของ Lyngstadaas and Berg (2016) ที่ทาการศึกษาในประเทศนอร์เวย์
การศึกษาของ Jayarathne (2014) ที่ทาการศึกษาในประเทศศรีลังกา และสอดคล้องกับการศึกษาของ
Ukaegbu (2014) ที่ทาการศึกษาในประเทศแอฟริกา ซึ่งผลการศึกษาได้ให้ข้อสนับสนุนว่า การมีระยะของ
วงจรเงินสดท่ีสั้น จะนาไปสู่ความสามารถในกรทากาไรท่ีเพ่ิมขึ้น

สาหรับการศึกษาที่ขัดแย้งกับแนวคิดด้านวงจรเงนิ สด ได้ให้การสนับสนุนว่า การมี
ระยะเวลาของวงจรเงินสดที่ยาวนานเป็นผลมาจากการให้สินเชื่อทางการค้าเพื่อกระตุ้นยอดขาย และการมี
สินค้าคงเหลือในปริมาณสูงเพ่ือเกิดการประหยัดต่อขนาด ซ่ึงจะนาไปสู่ความสามารถในการทากาไรท่ีเพิ่มขึ้น
(Altaf and Shah, 2017; Gachira, Chiwanza, Nkomo and Chikore, 2014; Abuzayed, 2012) โดย
การศึกษาของ Laghari and Chengang (2019) พบว่า วงจรเงินสดมีผลกระทบเชิงบวกกับความสามารถใน
การทากาไรในบริษัทจากประเทศจีน ผลการศึกษาดังกล่าวสอดคล้องกับการศึกษาในอินเดียของ Altaf and
Shah (2017) ในสหราชอาณาจักรของ Afrifa and Padachi (2016)ในประเทศตุรกีของ Samiloglu and
Akgun (2016) ในซิมบับเวของ Gachira, Chiwanza, Nkomo and Chikore (2014) ในกานาของ Akoto,
Awunyo-Vitor and Angmor (2013) และในแอฟริกาตะวนั ออกของ Omesa, Maniagi, Musiega and
Makori (2013) ซึ่งสนับสนุนว่าระยะเวลาของวงจรเงินสดที่ยาวจะทาให้ความสามารถในการทากาไรของ
กิจการเพิ่มข้ึน

191 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

จากทิศทางความสัมพันธ์ที่แตกต่างกันในการศึกษาที่ผ่านมา ทาให้การศึกษาครั้งนี้ต้องการ
ศึกษาว่าควรบริหารวงจรเงินสดในทิศทางใดเพื่อเพิ่มความสามารถในการทากาไรในบริบทของประเทศไทย
จึงเป็นท่ีมาของสมมติฐานดังน้ี

H4 วงจรเงินสดมีอิทธพิ ลต่อความสามารถในการทากาไร

2.2 ความสามารถในการทากาไร
ความสามารถในการทากาไรเป็นวัตถุปะสงค์ที่สาคัญประการหนึ่งในการดาเนินธุรกิจ โดย

การได้รับผลกาไรสูงจะสะท้อนถึงผลการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพ (Smith, 1987) ทั้งนี้ การวัด
ความสามารถในการทากาไร (Profitability) สามารถวัดได้โดยอัตราสว่ นทางการเงิน ซึ่งพิจารณาได้ 2
ลักษณะ คือ 1) กาไรที่มีความสัมพันธ์กับยอดขาย และ 2) กาไรที่มีความสัมพันธ์กับเงินลงทุน ( White,
Sondhi and Fried, 1998)

อัตราส่วนวัดความสามารถในการทากาไรท่ีมีความสัมพันธ์กับยอดขาย จะสะท้อนให้เห็นถึง
ประสิทธิภาพในการควบคุมต้นทุนและการทากาไรจากยอดขายของกิจการ เช่น อัตรากาไรข้ันต้น อัตรากาไร
จากการดาเนินงาน และอัตรากาไรสุทธิ สาหรับอัตราส่วนวัดความสามารถในการทากาไรท่ีมีความสัมพันธ์กับ
เงินลงทุน จะสะท้อนให้เห็นถึงการวัดความสามารถในการทากาไรจากเงนิ ลงทนุ ในรปู แบบต่าง ๆ เช่น อัตรา
ผลตอบแทนต่อสินทรัพยร์ วม และอัตราผลตอบแทน ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Paramasivan and
Subramanian, 2012)

ท้ังน้ี จากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้องกับวงจรเงินสดท่ีส่งผลต่อความสามารถในการทา
กาไร พบว่า มีการเลือกใช้การวัดความสามารถในการทากาไรด้วยอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอย่าง
แพร่หลาย ดังเช่น การศึกษาของ Afrifa and Padachi (2016) Anser and Malik (2013) และ Azam and
Haider (2011) ซึ่งได้ทาการศึกษาในประเทศปากีสถาน การศึกษาของ Samiloglu and Akgun (2016) ท่ี
ศึกษาในประเทศตุรกี การศึกษาของ Akoto, Awunyo-Vitor and Angmor (2013) ที่ศึกษาในประเทศ
กานา รวมทั้งการศึกษาของ Omesa, Maniagi, Musiega and Makori (2013) ที่ศึกษาในแอฟริกา
ตะวันออก ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ได้วัดความสามารถในการทากาไรด้วยอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เช่นเดียวกับการศึกษาที่ผ่านมา โดยอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นอัตราส่วนที่แสดงให้เห็นถึง
ผลตอบแทนที่เจ้าของควรจะได้รับจากการนาเงินมาลงทุนในกิจการว่าจะได้ผลตอบแทนกลับมากี่เปอร์เซ็นต์
จากการนาเงินมาลงทุนในการดาเนินงานของกิจการ (Paramasivan and Subramanian, 2012)

กรอบแนวคดิ ในการทาวจิ ยั
การวิจัยครั้งน้ีมุ่งท่ีจะศึกษาถึงระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหนี้ ระยะเวลาในการจาหน่ายสินค้า

และและระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ีที่ส่งผลต่อวงจรเงินสด อีกท้ัง ศึกษาถึงวงจรเงินสดที่ส่งผลต่อ
ความสามารถในการทากาไร โดยรายละเอียดแสดง ดงั แผนภาพท่ี 1

แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

192 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

3. วิธีดาเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ีเป็นวิจัยเชิงปริมาณ โดยประชากรในการวิจัย คือ กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี
ของบรษิ ัทจดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย จานวน 39 บรษิ ทั ข้อมลู ณ วันท่ี 4 เมษายน 2564
(ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, ออนไลน์, 2564) การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจะตัดบริษัทท่ีเข้าข่ายถูกเพิก
ถอน และบริษัทที่อยู่ระหว่างการฟื้นฟูการดาเนินงานออกจากการศึกษา และตัดบริษัทท่ีเข้าตลาดหลักทรัพย์
หลงั 1 มกราคม พ.ศ.2560 เนื่องจากการศึกษาครั้งน้ีศกึ ษาข้อมูลในชว่ ง พ.ศ. 2560 - พ.ศ.2562 ทาใหส้ ุดท้าย
แล้วมขี นาดของกลุม่ ตวั อยา่ งทงั้ สน้ิ 34 ตวั อยา่ ง

สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาคร้ังนี้ จะการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยด้วยสถิติเชิงพรรณนา
ประกอบด้วย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด และค่าเฉล่ีย และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์การ
ถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Analysis) โดยตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาดังตาราง
ต่อไปน้ี

ตารางที่ 1 วธิ ีการคานวณตวั แปรทใ่ี ช้ในการศึกษา

ตัวแปรท่ีใชใ้ นการศึกษา การคานวณ การอ้างองิ
Shrivastava, Kumar, and
ระยะเวลาในการเกบ็ เงนิ จากลูกหนี้ ((ลกู หนก้ี ารคา้ x 365) / ขาย Kumar (2017); Tran,
Abbott, and Jin-Yap (2017);
(RCP) สุทธิ) Almazari (2014); Makori
and Jagongo (2013)
ระยะเวลาในการจาหน่ายสินคา้ คงเหลือ ((สนิ ค้าคงเหลอื x 365) / ต้นทุน
Ahmed et al. (2016); Afrifa
(ICP) ขาย) and Padachi (2016);
Samiloglu and Akgun
ระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ี (PDP) ((เจ้าหน้กี ารคา้ x 365) / ต้นทนุ (2016); Akoto, Awunyo-
Vitor and Angmor (2013);
ขาย) Anser and Malik (2013);
Omesa, Maniagi, Musiega
วงจรเงินสด (CCC) RCP + ICP - PDP and Makori (2013); Azam
and Haider (2011)
อัตราผลตอบแทนต่อสว่ นของผ้ถู อื หุ้น กาไรสทุ ธิ / สว่ นของผ้ถู ือหุ้น

(ROE)

4. ผลการวจิ ยั

การวเิ คราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นด้วยสถิตเิ ชงิ พรรณนาของตัวแปร วเิ คราะห์ด้วย คา่ ตา่ สดุ ค่าสูงสุด
ค่าเฉล่ีย และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ซึง่ แสดงผลการวิเคราะห์ ดังน้ี

193 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ตารางที่ 2 การวเิ คราะหก์ ารวเิ คราะหข์ ้อมลู เบื้องต้นดว้ ยสถิติเชงิ พรรณนาของตวั แปร

ตัวแปร คา่ ต่าสุด คา่ สงู สุด ค่าเฉลยี่

ความสามารถในการทากาไร (ร้อยละ) -130.94 56.25 4.06

วงจรเงินสด (วัน) -121.20 2,094.40 151.56

ระยะเวลาในการเก็บเงนิ จากลูกหน้ี (วัน) 9.05 2,869.57 190.21

ระยะเวลาในการจาหน่ายสินค้าคงเหลือ (วนั ) 0.00 185.39 56.00

ระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ี (วัน) 18.67 802.92 95.02

จากตาราง พบว่า กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ของบริษัทจดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีค่าเฉล่ียของความสามารถในการทากาไร ซ่ึงวัดด้วยอัตราผลตอบแทนต่อ
ส่วนของผู้ถือหุ้นร้อยละ 4.06 มีค่าเฉล่ียของวงจรเงินสด 151.56 วัน มีค่าเฉล่ียของระยะเวลาในการเก็บเงิน
จากลูกหนี้ 190.21 วัน มีค่าเฉลี่ยของระยะเวลาในการจาหน่ายสินค้าคงเหลือ 56 วัน และมีค่าเฉลี่ยขอ ง
ระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ี 95.02 วัน

การวิเคราะห์ข้อตกลงเบ้ืองต้นเพ่ือทดสอบปัญหาภาวะร่วมเส้นตรงพหุ (Multicollinearity) ใน
การศึกษาครัง้ นี้ดว้ ยวเิ คราะห์การหาค่า VIF (Variance Inflation Factor) แสดงดงั ตารางท่ี 3

ตารางที่ 3 การทดสอบปญั หาภาวะรว่ มเส้นตรงพหุ

ตัวแปรอิสระ Tolerance VIF

ระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหน้ี (วนั ) 0.742 1.348

ระยะเวลาในการจาหน่ายสนิ ค้าคงเหลือ (วัน) 0.992 1.008

ระยะเวลาในการจา่ ยชาระหน้ี (วนั ) 0.738 1.354

จากตารางได้วิเคราะห์ค่า VIF (Variance Inflation Factor) ของตัวอิสระท้ัง 3 ตัว พบว่า ค่า VIF

ของตัวแปรอิสระ 3 ตัว มีค่าไม่เกิน 5.00 ซึ่งหมายความว่าไม่เกิดปัญหาภาวะร่วมเส้นตรงพหุ

(Multicollinearity) (Hair, Black, Babin, and Anderson, 2010)

ตารางท่ี 4 แสดงอิทธพิ ลของระยะเวลาในการเกบ็ เงินจากลูกหน้ี ระยะเวลาในการจาหน่ายสนิ ค้าคงเหลือ และ

ระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ีทส่ี ่งผลต่อวงจรเงนิ สด

ตัวแปรอสิ ระ t p-value

ระยะเวลาในการเก็บเงนิ จากลูกหนี้ (X1) 0.722 5.799 0.000**

ระยะเวลาในการจาหนา่ ยสนิ คา้ คงเหลือ (X2) 0.385 3.573 0.001**

ระยะเวลาในการจ่ายชาระหนี้ (X3) -0.641 -5.136 0.000**

R2 = 0.550 Adj R2 = 0.620

จากตาราง พบว่า ระยะเวลาในการเกบ็ เงนิ จากลูกหนแ้ี ละระยะเวลาในการจาหนา่ ยสินค้าคงเหลือส่ง
ผลกระทบเชงิ บวกต่อวงจรเงินสด ที่ระดับนยั สาคัญทางสถิติ 0.05 ในขณะท่ี ระยะเวลาในการจ่ายชาระหนี้
ส่งผลกระทบเชิงลบต่อวงจรเงินสด ทรี่ ะดบั นยั สาคญั ทางสถิติ 0.05 โดยสามารถเขยี นสมการพยากรณ์ไดด้ ังนี้

194 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

Y = -0.479 + 2.333 (X1) + 1.272 (X2) - 2.578 (X3) เมอื่ คานวณจากคะแนนดิบ
Y = 0.722 (X1) + 0.385 (X2) – 0.641 (X3) เมอื่ คานวณจากคะแนนมาตรฐาน

ตารางท่ี 5 แสดงอทิ ธพิ ลของวงจรเงินสดทีส่ ่งผลตอ่ ความสามารถในการทากาไร

ตวั แปรอสิ ระ t p-value
-2.273 0.030*
วงจรเงนิ สด (X4) -0.373

R2 = 0.139 Adj R2 = 0.112

จากตาราง พบว่า วงจรเงินสดส่งผลกระทบเชิงลบต่อความสามารถในการทากาไร ทรี่ ะดับนัยสาคญั

ทางสถติ ิ 0.05 โดยสามารถเขียนสมการพยากรณ์ได้ดงั นี้

Y = 8.189 – 0.027 (X4) เมอื่ คานวณจากคะแนนดบิ

Y = -0.373 (X4) เมอ่ื คานวณจากคะแนนมาตรฐาน

5. สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ และอภปิ รายผล
จากการทดสอบสมมติฐานของการศึกษาครั้งน้ี พบว่า ระยะเวลาของวงจรเงินสดที่ส้ันจะ

สง่ ผลให้ความสามารถในการทากาไรสูงข้ึนในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีจากตลาดหลักทรัพย์แหง่ ประเทศไทย ซ่งึ
สะท้อนถึงกลยุทธ์แบบเชิงรุกตามแนวคิดของวงจรเงินสด และสอดคล้องกับแนวคิดของวงจรเงินสดท่ีกล่าวไว้
ว่า หากวงจรเงินสดมีรอบระยะเวลาท่ีสั้น จะสามารถนาเงินสดมาหมุนเวียนในกิจการได้เร็ว ทาให้มีช่วง
ระยะเวลาท่ีกิจการมีเงินสดถือครองไว้ในมือก่อนทาไปชาระหนี้กับเจ้าหนี้การค้า ซ่ึงช่วงเวลาดังกล่าวกิจการ
สามารถนาเงินสดไปลงทุนในกิจกรรมอื่น ๆ เพ่ือสร้างรายได้ อีกท้ัง การมีเงินสดเข้ามาหมุนเวียนในกิจการได้
เร็วจะลดการพึ่งพาแหล่งเงินทุนภายนอกซึ่งมีต้นทุนทางการเงิน (Tran, Abbott and Jin-Yap, 2017;
Lyngstadaas and Berg, 2016; Tauringana and Afrifa, 2013) โดยผลการศึกษาคร้ังน้ีสอดคล้องกับผล
การศึกษาของ Pirttilä Virolainen, Lind and Kärri (2020) ท่ีพบว่า วงจรเงินสดมีผลกระทบเชิงลบต่อ
ความสามารถในการทากาไรในประเทศรัสเซีย และยังสอดคล้องกับการศึกษาในประเทศปากีสถานของ
Ahmed et al. (2016) Anser and Malik (2013) และ Azam and Haider (2011) ทสี่ นับสนุนว่า ระยะเวลา
ของวงจรเงินสดท่ีส้ันจะนาไปสสู้การเพ่ิมความสามารถในการทากาไรของกิจการ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ
การศึกษาของ Lyngstadaas and Berg (2016) ที่ทาการศึกษาในประเทศนอร์เวย์ การศึกษาของ
Jayarathne (2014) ที่ทาการศึกษาในประเทศศรีลังกา และการศึกษาของ Ukaegbu (2014) ที่ทาการศึกษา
ในประเทศแอฟริกา ท่ีพบว่าวงจรเงินสดมีผลกระทบเชิงลบต่อความสามารถในการทากาไร ซ่ึงผลการศึกษา
ดงั กล่าวลว้ นแต่สนบั สนนุ กลยทุ ธ์การบริหารวงจรเงินสดแบบเชิงรกุ

อีกทั้ง การศึกษาในครั้งนี้ได้ทาการวเิ คราะห์ระยะเวลาในการเก็บเงนิ จากลูกหนี้ ระยะเวลาในการ
จาหน่ายสินค้าคงเหลือ และระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ีที่ส่งผลต่อวงจรเงินสด เพ่ือให้ได้หลักฐานเชิง
ประจักษ์ว่าอุตสาหกรรมเทคโนโลยีในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยควรมีแนวทางการบริหารวงจรเงินสด
อยา่ งไรใหม้ ีประสทิ ธภิ าพทส่ี ุด ซึง่ ผลการศกึ ษาพบว่า ระยะเวลาในการเก็บเงินจากลกู หนี้และระยะเวลาในการ

จาหน่ายสินค้าคงเหลือส่งผลกระทบเชิงบวกต่อวงจรเงินสด (β = 0.722 และ 0.385 ตามลาดับ) ในขณะท่ี

ระยะเวลาในการจ่ายชาระหนส้ี ่งผลกระทบเชงิ ลบตอ่ วงจรเงินสด (β = -0.641) จากผลการศึกษาครั้งนสี้ ะท้อน
ให้เห็นว่า หากกิจการต้องการลดระยะเวลาของวงจรเงินสด ควรเน้นท่ีการลดระยะเวลาในการเก็บเงินจาก

195 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ลกู หนี้เป็นลาดับแรก และควรเพิ่มระยะเวลาในการจ่ายชาระหนเี้ ป็นลาดบั ถดั มา ผลการศกึ ษาคร้ังนส้ี อดคล้อง
กบั การศกึ ษาของ Makori and Jagongo (2013) พบว่า ในประเทศเคยย่า ระยะเวลาในการเกบ็ เงินจากลกู หนี้
มีขนาดของอิทธิพลที่มีต่อวงจรเงินสดมากท่ีสุด (β = 0.549) รองลงมาคือ ระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ี
(β = - 0.407) นอกจากนีย้ งั สอดคล้องกบั ผลการศกึ ษาของ Almazari (2014) ไดส้ นบั สนนุ วา่ ควรเน้นการเพ่ิม
ระยะเวลาในการจา่ ยชาระหนี้เพื่อลดวงจรเงินสดในประเทศซาอดุ อิ าราเบีย

การศึกษาในคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาปัจจยั ที่ส่งผลต่อวงจรเงินสด และศึกษาวงจรเงินสดทส่ี ่งผล
ต่อความสามารถในการทากาไร ในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผล
การศึกษาสะทอ้ นใหเ้ ห็นว่ากลมุ่ อุตสาหกรรมเทคโนโลยีในตลาดหลักทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทยควรใชแ้ นวทางของ
กลยุทธ์แบบเชิงรุกเข้ามาบริหารเงินสด โดยพยายามลดระยะเวลาของวงจรเงินสดในกิจการ ซึ่งการลด
ระยะเวลาของวงจรเงินสดน้ีสามารถทาได้โดยการลดระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหนี้ และการเพิ่ม
ระยะเวลาในการจา่ ยชาระหน้ี ตามลาดับ ซึ่งการมแี นวทางการบรหิ ารวงจรเงนิ สดแบบเชิงรุกจะนาไปสู่การเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทากาไร จากการที่กิจการสามารถเงินสดเข้ามาดาเนินงานในกิจการได้เร็ว จึงสามารถลด
การพ่งึ พาแหล่งเงินทุนภายนอกท่ีมีต้นทุนทางการเงนิ และสามารถนาเงินสดสว่ นที่เกิดความต้องการขิงกิจการ
ไปลงทุนในกิจกรรมอ่นื ๆ เพ่ือสร้างผลกาไรต่อไป

5.2 ขอ้ เสนอแนะในเชิงนโยบาย
ข้ อ เ ส น อ แ น ะ เ ชิ ง น โ ย บ า ย เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ท า ก า ไ ร ส า ห รั บ

อุตสาหกรรมเทคโนโลยีในตลาดหลักทรัพยแ์ หลง่ ประเทศไทยควรเน้นที่
1. ลดระยะเวลาของวงจรเงินสดให้สั้น เพื่อให้กิจการมีเงินสดมาหมุนเวียนในกิจการเร็วข้ึน

ซงึ่ จะลดการพ่งึ พาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอก และยังสามารถนาเงินสดสว่ นเกนิ จากความต้องการในการ
ดาเนนิ งานไปลงทุนในกจิ กรรมอนื่ ๆ เพิ่มเติม เพอื่ เพิม่ ความสามารถในการทากาไรของกจิ การ

2. ลดระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหน้ี และการเพ่ิมระยะเวลาในการจ่ายชาระหน้ี เพอื่ ลด
ระยะเวลาของวงจรเงนิ สด

5.3 ข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจยั ในครัง้ ต่อไป
นักวิจยั สามารถศึกษาถึงการบรหิ ารเงินสดในประเด็นเพ่ิมเตมิ ดงั นี้
1. ใช้กรอบแนวคิดการวจิ ัยในการศึกษาครั้งนี้กับกล่มุ อุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ในตลาดหลักทรพั ย์

แห่งประเทศไทย หรือในวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (Small and Medium Enterprises: SME)
2. บูรณาการแนวคิดของการศึกษาครั้งนี้ไปยังการวิจัยเชิงคณุ ภาพ เชน่ ทัศนคติของผบู้ ริหาร

ในการบริหารเงนิ สด

196 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เอกสารอา้ งอิง

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2564). ราคาหลักทรัพย์ - ตามกลุ่มอตุ สาหกรรม. [ออนไลน์]. สืบคน้ เม่ือ
4 เมษายน 2564, จาก http://marketdata.set.or.th/mkt/sectorquotation.do?
language=th&country=TH&sector=AGRO.

ฐานเศรษฐกิจ. (2564). “กลุ่มเทคโน” ห้นุ เด่นปี64 รบั วคั ซนี โควิด. [ออนไลน์]. สืบค้นเม่อื 17 มีนาคม 2564,
จาก https://www.thansettakij.com/content/money_market/462527

เอกภาวนิ สขุ อนนั ต.์ (2563). เผย 8 เทรนดเ์ ทคโนโลยีสาหรับองค์กร (Enterprise Technology)
ประจาปี 2563. [ออนไลน์]. สบื ค้นเม่ือ 1 เมษายน 2564, จาก https://www.sanook.com/
hitech/1495785/

Abiodun, S. A., and Samuel, O. L. (2014). A Comparative Analysis on Working Capital
Management of Brewery Companies in Nigeria. International Journal of Finance and
Accounting, 3(6), 356-371.

Abuzayed, B. (2012). Working Capital Management and Firms’ Performance in Emerging
Markets: The Case of Jordan. International Journal of Managerial Finance, 8(2), 155-179.

Afrifa, G. A., and Padachi, K. (2 0 1 6 ) . Working Capital Level Influence on SME Profitability.
Journal of Small Business and Enterprise Development, 23(1), 44-63.

Ahmed, Z., Awan, M. Z., Safdar, M. Z., Hasnain, T., and Kamran, M. (2016). A Nexus between
Working Capital Management and Profitability: A Case Study of Pharmaceutical Sector
in Pakistan. International Journal of Economics and Financial Issues, 6(S3), 153-
160.

Akoto, R. K., Awunyo-Vitor, D., and Angmor, P.L. (2 0 1 3 ) . Working Capital Management and
Profitability: Evidence from Ghanaian Listed Manufacturing Firms. Journal of
Economics and International Finance, 5(9), 373-379.

Almazari, A. A. (2014). The Relationship between Working Capital Management and Profitability:
Evidence from Saudi Cement Companies. British Journal of Economics, Management
& Trade, 4(1), 146-157.

Altaf, N., and Shah, F. (2017). Working Capital Management, Firm Performance and Financial
Constraints: Empirical Evidence from India. Asia-Pacific Journal of Business
Administration, 9(3), 206-219.

Anser, R., and Malik, Q. A. (2013). Cash Conversion Cycle and Firms’ Profitability - A Study of
Listed Manufacturing Companies of Pakistan. Journal of Business and Management,
8(2), 83-87.

Atseye, F. A., Ugwu, J. I., and Takon, S. M. (2015). Determinants of Working Capital Management.
International Journal of Economics, Commerce and Management, 3(2), 1-11.

Azam, M., and Haider, S. I. (2011). Impact of Working Capital Management on Firms’ Performance:
Evidence from Non-Financial Institutions of KSE-3 0 index. Interdisciplinary Journal
of Contemporary Research in Business, 3(5), 48.-492.

197 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

Brigham, E. F., and Houston, J. F. (2 0 0 7 ) . Fundamentals of Financial Management. USA:
Thomson Corporation.

Deloof, M. (2 0 0 3 ) . Does Working Capital Management Affect Profitability of Belgian Firms?.
Journal of Business Finance & Accounting, 30(3-4), 573-588.

Gachira, W., Chiwanza, W., Nkomo, D.J., and Chikore, R. (2014). Working Capital Management
and Profitability of Non-Financial Firms Listed on the Zimbabwe Stock Exchange (ZSE).
European Journal of Business and Economics, 9(2), 12-15.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., and Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis.
New Jersey: Pearson.

Hawawini, G., Viallet, C., and Vora, A. (1 9 8 6 ) . Industry Influence on Corporation Working
Capital Decisions. Sloan Management Review, 27, 15-24.

Jayarathne, T. (2014). Impact of Working Capital Management on Profitability: Evidence from
Listed Companies in Sri Lanka. Paper Presented at the International Conference on
Management and Economics, 3, 269-274.

Laghari, F. and Chengang, Y. (2019). Investment in working capital and financial constraints:
Empirical evidence on corporate performance. International Journal of Managerial
Finance, 15, 164–90.

Lyngstadaas, H., and Berg, T. (2 0 1 6 ) . Working Capital Management: Evidence from Norway.
International Journal of Managerial Finance, 12(3), 295-313.

Mansoori, E., and Muhammad, J. (2012). The Effect of Working Capital Management and Firm’s
Profitability: Evidence from Singapore. Interdisciplinary Journal of Contemporary
Research in Business, 4(5), 472-486.

Makori, D. M. and Jagongo, A. (2013). Working Capital Management and Firm Profitability:
Empirical Evidence from Manufacturing and Construction Firms Listed on Nairobi
Securities Exchange, Kenya. International Journal of Accounting and Taxation, 1(1),
1-14.

Omesa, N. W., Maniagi, G. M., Musiega, D., and Makori, G.A. (2013). Working Capital Management
and Corporate Performance: Special Reference to Manufacturing Firms on Nairobi
Securities Exchange. International Journal of Innovative Research and Development,
2(9), 177-183.

Pirttilä, M., Virolainen, V. M., Lind, L. and Kärri, T. (2020.) Working capital management in the
Russian automotive industry supply chain. International Journal of Production
Economics, Elsevier, 221, 1-8.

Paramasivan, C. and Subramanian, T. (2012). Financial Management. India: New Age
International (P) Limited.

Samiloglu, F., and Akgun, A. I. (2016). The Relationship between Working Capital Management
and Profitability: Evidence from Turkey. Business and Economics Research Journal,
7(2), 1-14.

198 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

Samson, A. A., Mary, J., Yemisi, B., and Erekpitan, I. O. (2012). The Impact of Working Capital
Management on the Profitability of Small and Medium Scale Enterprises in Nigeria.
Research Journal of Business Management, 6(2), 61-69.

Smith, K. (1987). Trade Credit and Informational Asymmetry. Journal of Finance, 42, 863-872.
Shabbir, M., Iftikhar, U. and Raja, A. A. (2018). Impact of Working Capital Management on

Profitability and Value of Firm: A Study of Manufacturing Sector of Pakistan. IBT Journal
of Business Studies (JBS), 14(2), 1-12
Shrivastava, A., Kumar, N., and Kumar, P. (2 0 1 7 ) . Bayesian Analysis of Working Capital
Management on Corporate Profitability: Evidence from India. Journal of Economic
Studies, 44(4), 568-584.
Tauringana, V. and Afrifa, G. A. (2013). The Relative Importance of Working Capital Management
and Its Components to SME’s Profitability. Journal of Small Business and
Enterprise Development, 20(3), 453-469.
Tran, H., Abbott, M., and Jin-Yap, C. (2 0 1 7 ) . How Does Working Capital Management Affect
the Profitability of Vietnamese Small- and Medium-Sized Enterprises. Journal of Small
Business and Enterprise Development, 24(1), 2-11.
Ukaegbu, B. (2 0 1 4 ) . The Significance of Working Capital Management in Determining Firm
Profitability: Evidence from Developing Economies in Africa. Research in
International Business and Finance, 31(3), 1-16.
White, G. I., Sondhi, A. C. and Fried, H. D. (1998). The Analysis and Use of Financial
Statements (3th ed.). New Jersey, United States of America: Wiley.

199 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ปัจจยั ที่มอี ทิ ธิพลต่อการตดั สนิ ใจเชา่ อพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยอู่ าศัยในจังหวัดฉะเชงิ เทรา
Factors Influencing the Decision to Stay Living in the Residence
of the Consumers in Chachoengsao.

ชาญบวร เรอื นงาม1 และ สายพิณ ปัน้ ทอง2
(Chanborvorn Ruen-ngam and Saiphin Panthong)

บทคดั ย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นสาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา มวี ัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาปจั จัยส่วนบคุ คลท่ีมคี วามสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเมน้ ท์สาหรับ
การอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา และศึกษาปัจจัยทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์
สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู จากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผูเ้ ช่าอพารท์ เมน้ ท์ภายในจังหวัดฉะเชิงเทรา จานวน 400 คน ด้วยวิธกี าร
เลือกตัวอย่างแบบสะดวก การทดสอบสมมติฐานใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ผลทางสถิติ คือ การวิเคราะห์ค่า
ไคแสวคร์ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์โมเม้นต์ผลคูณอย่างง่ายของเพียร์สัน และการวิเคราะห์
สมการพยากรณว์ เิ คราะห์ความถดถอยพหุคณู

ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 18-25 ปี สถานภาพโสด อาชีพ
พนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ต่อเดือนไม่เกิน 9,000 บาท ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล
ด้านสถานภาพสมรสและอาชีพ มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสนิ ใจเชา่ อพาร์ทเมน้ ท์สาหรับการอยู่อาศัยในจงั หวัด
ฉะเชิงเทรา อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.01 ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์
สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบด้วย ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการสื่อสาร
ณ จุดบริการ และด้านการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ค่าอิทธิพลมี
ประสทิ ธภิ าพ คิดเปน็ ร้อยละ 73.70

คาสาคญั : อพารท์ เมน้ ท์ ผเู้ ชา่ ปัจจัยการตลาด การตดั สินใจ

1สาขาการจดั การธรุ กจิ การค้าสมยั ใหม่ คณะบริหารธุรกจิ สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 10210
Modern Business Management. Faculty of Business. Panyapiwat Institute of Management 10210
2หลักสูตรบรหิ ารธุรกิจมหาบัณฑติ สาขาการจัดการธรุ กิจการคา้ สมยั ใหม่ สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 10210
Faculty of Business Administration, Modern trade business management, Panyaphiwat Institute of
Management 10210

Corresponding author: [email protected]

200 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ABSTRACT

Research on Factors influencing the decision to rent an apartment for living in
Chachoengsao Province. The objective of this research was to study personal factors
influencing the decision making to stay in residence of the consumers in Chachoengsao and
factors of marketing influencing the decision making to stay in residence of the consumers in
Chachoengsao. The sample group was 4 0 0 apartment tenants in Chachoengsao province.
The hypothesis test was used to analyze the statistical results, namely the relationship
analysis, Chi-square test, coefficient analysis, Pearson’s Product Moment Correlation
Coefficient and Multiple's Regression Analysis.

The results showed that most of the samples were female with the age between 18-
25 years old, single status, occupation of private company employees, with the average
income of not more than 9,000 baht per month. test that hypothesis. Marital status and
occupation is related to the decision to rent an apartment for living in Chachoengsao Province
Significantly at the 0.01 level, marketing factors that influence the decision to rent an
apartment to live in the province include the product, price, communications at the point of
service and the customer relationship management. statistically significant at the 0.01 level,
the influence was effective. accounted for 73.70 percent

Keywords: apartment, tenant, marketing mix decision-making process

Article history: Revised 16 July 2021
SIMILARITY INDEX = 2.83 %
Received 15 May 2021
Accepted 20 July 2021

201 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

1. บทนา

จากนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ได้กลายเป็นแรงดึงดูดให้
ผู้ประกอบการภาคอสังหาริมทรัพย์ มาพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจานวนมาก โดยเฉพาะในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ซ่ึงอยู่ใกล้กับกรุงเทพมหานคร มีผู้ประกอบการรายใหญ่แสวงหาโอกาสและเข้ามาลงทุนในจังหวัด
ฉะเชิงเทราเป็นจานวนมาก เมื่อพิจารณาถึงการส่งเสรมิ การลงทุนเปน็ รายจงั หวัดจากสานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการลงทุนดังกล่าวข้างต้นแล้วพบว่า จงั หวัดฉะเชงิ เทราเป็นจังหวัดหน่ึงที่อยู่ในเขตพัฒนาเขตเศรษฐกิจ
พิเศษภาคตะวันออก มีแนวโน้มได้รับอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนระหว่างปี 2558 – 2562 เพ่ิมมากข้ึน จาก
ก า ร พั ฒ น า เ ข ต เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พิ เ ศ ษ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก ( Eastern Economic Corridor) ห รื อ EEC จ า ก
คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้เป็น “พ้ืนท่ีเมืองใหม่สาหรับการอยู่อาศัย”
(สานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการลงทุน, 2564) และตอบโจทย์การเปน็ เมืองใหม่สาหรับอยู่อาศัยท่ีทันสมัย
ระดับสากล จังหวัดฉะเชิงเทราจึงได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วท้ังด้านอสังหาริมทรัพย์ การคมนาคม
สาธารณูปโภคและอุตสาหกรรม ดังน้ันท่ีอยู่อาศัยประเภทให้เช่าในจังหวัดฉะเชิงเทราจึงมีจานวนมากข้ึน
เกิดข้ึนมากมาย เพื่อตอบสนองต่อความต้องการเป็นจานวนเพ่ิมข้ึนทุกปี (Baania Admin, 2562) นอกจากน้ี
จังหวดั ฉะเชิงเทราต้งั อยู่ทางทศิ ตะวันออกของประเทศ มีพนื้ ทีต่ ิดกับกรงุ เทพมหานคร และเกอื บทกุ จงั หวัดของ
ภาคตะวันออก ยกเว้นตราด มีท่ีต้ังทางยุทธศาสตร์ท่ีเช่ือมโยงกับหลายจังหวัดในภาคตะวันออก จึงมีศักยภาพ
ด้านการค้า เป็นศูนย์กลางการขนส่ง และมีทางออกทะเล จึงเป็นจุดเด่นในเชิงภูมิศาสตร์ที่เชื่อมโยงภาคกลาง
และภาคตะวนั ออก รวมถึงภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นอกจากนั้นยังมโี ครงการรถไฟรางคเู่ ชื่อมไปยังแหลมฉบัง
ทาให้การเดินทาง และขนส่งมีความรวดเร็วมากย่ิงขึ้นเมื่อผนวกกับการขยายตัวของอุตสาหกรรม และมีการ
ย้ายถ่ินเข้ามาทางานในจังหวัดฉะเชิงเทรามากข้ึน จึงทาให้การค้าภายในจังหวัดขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
(สานกั งานอุตสาหกรรมจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา, 2560)

จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่าจังหวัดฉะเชิงเทราตอบโจทย์การเป็นเมืองใหม่สาหรับอยู่
อาศัยท่ีทันสมัยระดับสากล รวมถึงได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งด้านการคมนาคม สาธารณูปโภค และ
อุสาหกรรม มีผลทาให้มีแรงงานเคลื่อนย้ายเข้ามาทางานอีกท้ังมีความต้องการที่พักอาศัยเป็นการช่ัวคราว
ระหว่างการทางาน ก่อนการตัดสินใจซ้ือท่ีพักอาศัยเป็นของตนเอง ผู้ประกอบการจึงลงทุนสร้างที่พักอาศัย
สาหรับการอยู่อาศัยรองรับความต้องการดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (Baania Admin, 2562) ประการ
สาคัญ นักลงทุนดังกล่าวจาเป็นต้องทราบเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลกระทบต่อการวางแผนการ
ประกอบธรุ กจิ หอพกั เพ่ือใหเ้ กิดความม่ันใจในการประกอบธรุ กิจ และเปน็ แนวทางในการปรบั ปรุงแกไ้ ขห้องพัก
ให้เป็นไปตามความตอ้ งการของผู้ใช้บริการ รวมทั้งเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการทราบถึงปัจจัยที่สง่ ผลต่อการ
ตัดสนิ ใจเชา่ อาพาร์ทเม้นทข์ องผู้ใชบ้ รกิ าร

ด้วยเหตุดังกล่าว ผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์เพื่อ
อยอู่ าศยั ในจังหวดั ฉะเชิงเทรา เพอ่ื นาผลที่ไดจ้ ากการวิจัยมาเปน็ แนวทางในการปรับปรุง พัฒนาในดา้ นบริการ
ของธุรกิจ นอกจากนน้ั ผลจากงานวิจยั สามารถนาเสนอการคดิ ค้นบริการใหม่ๆ เพือ่ สนองต่อความต้องการของ
ผูใ้ ชบ้ รกิ าร เพื่อใหผ้ ้ใู ช้บรกิ ารมคี วามสะดวกสบายมากขึน้ ตอ่ ไปในอนาคต

202 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
1. เพ่ือศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลท่ีมีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัย

ในจงั หวัดฉะเชิงเทรา
2. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการ

อยอู่ าศยั ในจังหวัดฉะเชงิ เทรา

2. เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง

ผู้วิจัยได้ทาการศึกษางานวิจัยต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องเพื่อสร้างเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย ซึ่งแบ่งสาระ
ของการทบทวนวรรณกรรมได้ดังนี้

1 แนวคดิ และทฤษฎเี กีย่ วกับประชากรศาสตร์
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (2560) กล่าวว่า ลักษณะทางประชากรศาสตร์ประกอบด้วย อายุ

เพศ ขนาดครอบครัว สถานภาพครอบครัว รายได้ อาชีพการศึกษา ซึ่งเกณฑ์ทางด้านประชากรศาสตร์เหล่านี้
เป็นเกณฑ์ที่นักการตลาดนิยมใช้ในการแบ่งส่วนการตลาด เพื่อให้กาหนดตลาดเป้าหมายได้ชัดเจนย่ิงขึ้น และ
Dewey (1999) กลา่ วว่า ความสาคญั ของประชากรศาสตร์ จะสามารถคาดการณก์ ารศึกษาถึงการเปล่ียนแปลง
ประชากร การกระจายของประชากร การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนเชิงพ้ืนท่ี หรือ ช่วงเวลาของประชากรที่มีการ
เกิด การย้ายถ่ิน การเปล่ียนตามวัย และการเสียชีวิต สามารถนาข้อมูลนี้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์เป็น
สถานการณ์ที่นาไปสู่การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระดับต่างๆ ได้ และการศึกษาข้อมูลเหล่านี้ เป็นกระบวนการ
อย่างเป็นทางการซ่ึงสังคมส่งผ่านความรู้ทักษะ จารีตประเพณีและค่านิยมท่ีส่ังสมมาจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่น
หนึ่ง นั่นคือ การสอนในสถานศึกษา สาหรับปัจจุบันนี้มีการแบ่งระดับชั้นทางการศึกษาออกเป็นข้ันๆ เช่น
การศกึ ษาปฐมวยั ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา ท้งั น้รี วมไปถึงระดับอาชีวศกึ ษา อุดมศกึ ษา และการฝกึ งาน

2.2 แนวคดิ และทฤษฎเี กยี่ วกับสว่ นประสมทางการตลาด (7P)
Kotler (2016) กล่าวว่า ส่วนประสมการตลาด ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ ( Product)

ราคา (Price) การจัดจาหน่าย (Place) การส่งเสริมการตลาด (Promotion) และนอกจากน้ันยังต้องอาศัย
เคร่อื งมืออนื่ ๆ เพ่มิ เตมิ ประกอบดว้ ยบุคคล (People) ซึ่งตอ้ งอาศัยการคัดเลือก การฝึกอบรม การจงู ใจเพื่อให้
สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้แตกต่างเหนือคู่แข่งขัน มีความสามารถ มีทัศนคติที่ดี สามารถ
ตอบสนองต่อลูกค้า มีความคิดริเริ่ม มีความสามารถในการแก้ปัญหา และสามารถสร้างค่านิยมให้กับบริษัท
การสร้างและนาเสนอลักษณะทางกายภาพและกระบวนการ และศุภชาต เอ่ียมรัตนกูล (2557) กล่าวว่า ส่วน
ประสมการส่งเสริมการตลาด เปน็ การวางกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด (Promotion Strategy) ประกอบด้วย
ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) ช่องทางจัดจาหน่าย (Place) การส่งเสริมการตลาด (Promotion) บุคคล
(People) กระบวนการทางาน (Process) ลกั ษณะทางกายภาพ (Physical Evidence)

2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกยี่ วกบั การตดั สินใจ
ศุภชาติ เอี่ยมรัตนกูล (2557) กล่าวว่า การตัดสินใจของผู้บริโภค เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ

ตัดสินใจหรือพฤติกรรมการการซื้อของผู้บริโภค รวมถึงความต้องการของผู้บริโภคน้ันด้วย ซึ่งสามารถได้รับ
อิทธิพลที่ออกมาในรูปของปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยทางสังคม กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ความต้องการของ
ผู้บริโภคมีผลมาจากปัจจัยทางส่วนบุคคล และปัจจัยทางสงั คม ซ่ึงปัจจัยทางสังคมมีอิทธิพลต่อการตัดสนิ ใจซื้อ
ของผู้บริโภค ประกอบด้วย อิทธิพลจากสมาชิกในครอบครัว อิทธิพลจากกลุ่ม อิทธิพลจากผู้นาทางความคิด
ผู้นาทางความคิด อิทธิพลจากช้ันสังคมในสังคม และอิทธิพลจากวัฒนธรรม และนันทสารี สุขโต และคณะ
(2558) กล่าวว่า การตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภคแต่ละกลุ่มจะมีแนวทางการกาหนดกระบวนการตัดสินใจซื้อ

203 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เชน่ เดยี วกัน ครอบคลมุ ถงึ การรบั รู้ถึงความต้องการ การค้นหาขอ้ มูล การประเมนิ ผลทางเลือก การตดั สนิ ใจซ้ือ
และการประเมินผล
กรอบแนวคดิ ในการทาวิจัย

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

3. วธิ ีดาเนินการวจิ ยั

3.1 ประชากร และกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากรในงานวจิ ยั คือ ผูท้ ี่เช่าอพารท์ เมน้ ทใ์ นจังหวัดฉะเชงิ เทราซึ่งไม่ทราบจานวนแนน่ อน

ผู้วิจัยคานวณหากลุ่มตัวอย่างกรณีไม่ทราบจานวนประชากรของ Cochran (1953) ได้จานวน 385 คน มีการ
เพมิ่ ขนาดเป็น 400 คน และใชก้ ารเลอื กตวั อยา่ งแบบสะดวก (Convenience Sampling)

3.2 เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยในงานวิจัยน้ีเครื่องมือท่ีใช้ในการแบบสอบถาม (Questionnaire)

ประกอบดว้ ย 4 ส่วน ดงั นี้
สว่ นท่ี 1 ขอ้ คาถามคดั กรองกลุ่มตวั อยา่ ง เพือ่ ใหไ้ ด้กลุ่มตัวอย่างที่แท้จรงิ
ส่วนที่ 2 ข้อคาถามเก่ียวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์ ผู้วิจัยสามารถกาหนดปจั จยั ส่วนบคุ คล

ของกลุ่มตัวอย่างมีจานวน 5 ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ และรายได้ ซึ่งเป็นคาตอบที่ให้กลุ่ม
ตัวอยา่ งเลอื กตอบเพยี งคาตอบเดียว (Close Ended Question)

ส่วนท่ี 3 ข้อคาถามเก่ียวกับปัจจัยการตลาดท่ีมีผลต่อการตัดสนิ ใจเช่าอพาร์ทเม้นทส์ าหรับการอยู่
อาศัยในจังหวดั ฉะเชิงเทรา ซ่งึ แบง่ เปน็ 7 ด้าน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) ช่องทางจัดจาหน่าย
(Place) กระบวนการทางาน (Process) การโฆษณา (External Promotion) การสื่อสาร ณ จุดบริการ
(Internal Promotion) และการบรหิ ารลูกคา้ สัมพนั ธ์ (People and Physical Evidence)

ส่วนท่ี 4 ข้อคาถามเกี่ยวกับการตัดสินใจของผู้เช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ผ่านการตัดสินใจ 5 ข้ันตอน ได้แก่ การรับรู้ถึงความต้องการ การค้นหาข้อมูล การประเมินผล
ทางเลอื ก การตัดสนิ ใจซอ้ื พฤติกรรมภายหลงั การซื้อ

204 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

แบบสอบถาม ในสว่ นท่ี 3 และ 4 เปน็ แบบมาตราสว่ น 5 ระดบั ของลิเคิร์ท (Likert scale) โดย
มีการประเมินค่างตรงด้านเนื้อหา (content validity) ซ่ึงอยู่ในเกณฑ์ 0.67 - 1.00 และการตรวจสอบความ
เชอื่ มั่น (Reliability) เทา่ กบั 0.90 เทา่ กับ 0.98 ตามลาดับ ถือวา่ เครอ่ื งมอื มคี วามนา่ เชือ่ ถือ

4. ผลการวิจัย

ผู้วิจัยนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลผลความหมายของการวิเคราะห์ข้อมูล
ประกอบด้วยผลการวเิ คราะห์สถติ ิพรรณนา และสถิติอา้ งอิง ดังนี้

1. ผลการวิจัยขอ้ มูลตามปัจจยั สว่ นบคุ คลที่มีความสมั พันธ์ต่อการตัดสัดใจเชา่ อพารท์ เมน้ ท์สาหรับการ
อยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 81.75
ส่วนใหญ่มีอายุ 18- 25 ปี คิดเป็นร้อยละ 58.00 มีสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 96.75 อาชีพ พนักงาน
บริษัทเอกชน คิดเปน็ รอ้ ยละ 54.75 และมรี ายไดต้ ่ากวา่ 9,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 79.75

2. ผลการวิจัยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์
สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความเห็นเกี่ยวกับปัจจัยทาง
การตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยภาพรวม
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( ̅ = 4.24, S.D. = 0.35) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความ
คิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดด้านราคาในระดับมากท่ีสุด ( ̅ = 4.63, S.D. = 0.48) รองลงมา คือ ส่วน
ประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ( ̅ = 4.57, S.D. = 0.46) การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการด้านการ
โฆษณา ( ̅ = 4.51, S.D. = 0.58) การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการด้านการสื่อสาร ณ จุดบริการ ( ̅ =
4.42, S.D.= 0.59) ส่วนประสมทางการตลาดด้านกระบวนการให้บริการ ( ̅ = 4.26, S.D. = 0.55) ส่วน
ประสมทางการตลาดด้านช่องทางจัดจาหนา่ ย โดยมีความคิดเห็นในระดับมาก ( ̅ = 3.80, S.D. = 0.73) และ
ดา้ นการสือ่ สารการตลาดแบบบรู ณาการดา้ นการบริหารลูกคา้ สมั พนั ธ์ ( ̅ = 3.48, S.D. = 0.94) ตามลาดับ

3. ผลวิเคราะห์สมมติฐานด้านปัจจัยส่วนบุคคลท่ีมีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจพบว่า ปัจจัยด้าน
สถานภาพ และปัจจัยด้านอาชีพ มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใช้เช่าอพาร์ทเมน์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัด
ฉะเชิงเทราอยา่ งมีนยั สาคญั ทีร่ ะดบั 0.001 ส่วนดา้ นอ่ืนๆ ปฏิเสธสมมติฐาน

4. ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นคือ ปัจจัยทางการตลาด ด้วยการวิเคราะห์ค่า
สัมประสทิ ธสิ์ หสมั พันธ์โมเมนตผ์ ลคูณอย่างง่ายของเพียร์สัน เพือ่ ทดสอบลักษณะความสัมพันธ์ของปัจจยั ด้านท่ี
ศึกษา และต้องอยู่ในเกณฑ์ไม่เกิน 0.80 เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหาความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระที่สงู เกินไป ผลการ
วิเคราะห์พบว่า ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (r) อยู่ในระหว่าง -0.014 ถึง 0.644 แสดงให้เห็นว่าลักษณะ
ความสัมพันธ์ของปัจจัยท่ีศึกษาเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงซึ่งอยู่ในเกณฑ์ไม่เกิน 0.80 และไม่เกิดปัญหา
ความสัมพนั ธ์ของตวั แปรอิสระทีส่ งู เกินไป (Multicollinearity) จงึ ดาเนินการวเิ คราะหใ์ นขัน้ ตอนต่อไป

5. ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression analysis) ของปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อ
การตดั สนิ ใจเชา่ อพาร์ทเมน้ ท์สาหรับการอยอู่ าศัยในจงั หวดั ฉะเชิงเทรามผี ลการวิเคราะห์ สรุปไดด้ ังตารางที่ 1

205 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ตารางท่ี 1 การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุของปัจจัยทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่า

อพารท์ เม้นทส์ าหรับการอยู่อาศัยในจังหวดั ฉะเชงิ เทรา

ปจั จัยทางการตลาด การตดั สนิ ใจเช่าอพาร์ทเม้นทส์ าหรับการอยู่อาศยั ในจงั หวดั ฉะเชิงเทรา

S.E. B β t Sig. Tolerance VIF

ค่าคงท่ี 0.205 -0.133 -0.647 0.518

ด้านผลติ ภัณฑ์ 0.028 0.159 0.150 5.620 0.000** 0.932 1.073

ดา้ นราคา 0.027 0.195 0.191 7.170 0.000** 0.926 1.080

ด้านชอ่ งทางจัดจาหนา่ ย 0.025 -0.017 -0.025 -0.710 0.478 0.529 1.890

ด้านกระบวนการให้บรกิ าร 0.026 -0.035 -0.038 -1.329 0.185 0.803 1.246

ดา้ นโฆษณา 0.027 -0.010 0.012 -0.372 0.710 0.663 1.507

ดา้ นการสือ่ สาร ณ จดุ บรกิ าร 0.027 0.697 0.812 25.399 0.000** 0.646 1.549

ดา้ นการบรหิ ารลกู คา้ สัมพนั ธ์ 0.018 0.051 0.095 2.798 0.005** 0.575 1.739

Adjusted R Square = 0.737, F = 160.546, *p<0.05, **p<0.01

จากตารางที่ 1 สามารถสรุปได้ว่า ตัวแปรการส่ือสารการตลาดแบบบูรณาการด้านการสื่อสาร
ณ จุดบริการ ส่วนประสมทางการตลาดด้านราคา ส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ การส่ือสาร
การตลาดแบบบูรณาการด้านการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการ
อยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นไปในทางเดียวกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.001 และ 0.05 โดยมี
ค่าอิทธิพลที่ร้อยละ 73.70 และสมการเชิงพหุคูณท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 เพ่ือทานายอิทธิพลในการ
ตดั สนิ ใจเชา่ อพารท์ เม้นท์สาหรบั การอยอู่ าศยั ในจงั หวัดฉะเชิงเทรา ดงั นี้

Y = -0.133+0.159X1**+0.195X2**-0.017X3-0.035X4-0.010X5+0.697X6**+0.051X7**

5. สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ และอภิปรายผล
ปัจจัยส่วนบุคคลท่ีมีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัด

ฉะเชงิ เทรา สรุปผลไดด้ ังต่อไปน้ี
สถานภาพสมรส จากการศึกษาพบว่า สถานภาพสมรสมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเช่าอ

พาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา เน่ืองจากส่วนใหญ่ผู้เช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรบั อยู่อาศัยใน
จังหวัดฉะเชิงเทรา ไม่มีสถานภาพสมรส ใช้พ้ืนท่ีสาหรับใช้สอยในชีวิตประจาวันไม่มากเท่ากับผู้มีสถานภาพ
สมรส ประกอบกับผู้เช่ามีรายได้ไม่มาก แต่ต้องพักอาศัยอยู่ใกล้กับสถานท่ีทางาน สถานศึกษา
สอดคล้องกับ พจนารถ อิ่มสอน (2558) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ ปัจจัยที่มีอิทธิพลตอ่ พฤติกรรมการเช่าอพาร์ทเม้นท์
ของผู้บรโิ ภค ในเขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติท่ี 0.05

อาชีพ จากการศึกษาพบว่า อาชีพ มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับ
การอยูอ่ าศัยในจังหวดั ฉะเชงิ เทรา เน่ืองจากผู้เช่าคานงึ ถึงระยะทางจากท่ที างาน และสถานศกึ ษา ไปยังอพาร์ท
เม้นท์ นอกจากน้ันยังคานึงถึงความสะดวกในการเข้า-ออกอพาร์ทเม้นท์ด้วย สอดคล้องกับ พจนารถ อิ่มสอน
(2558) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเช่าอพาร์ทเม้นท์ของผู้บริโภค ในเขต
พระโขนง กรุงเทพมหานคร อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิที่ 0.05

206 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เพศ จากการศกึ ษาพบว่า เพศ ไมม่ ีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเมน้ ท์สาหรับการ
อยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชงิ เทรา เนื่องจากผู้เช่ามีทั้งเพศชายและเพศหญิงท่ีเชา่ พักอาศัย สอดคล้องกับ พจนารถ
อิ่มสอน (2558) ได้ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเช่าอพาร์ทเม้นท์ของผู้บริโภค ในเขตพระ
โขนง กรุงเทพมหานคร และสอดคล้องกับ สาลิสา ลีระกุล (2559) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ การตลาดเชิงบูรณาการท่ี
มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการหอพักเอกชนของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขต
จันทบรุ ี อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่ี 0.05

อายุ จากการศกึ ษาพบว่า อายุ ไม่มีความสัมพนั ธก์ ับการตัดสินใจเช่าอพารท์ เม้นทส์ าหรับการ
อยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา เนื่องจากผู้เช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรามีอายุ
ตั้งแต่ 18 ปีข้ันไป ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีทางานเอกชน และเป็นนักศึกษา อีกทั้งมีรายได้ไม่มากพอซื้อบ้านเป็นของ
ตนเอง สอดคล้องกับ สุวรรณ เดชน้อย (2559) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ
เชา่ หอพกั ของแรงงาน ในนคิ มอตุ สาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสมี า อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.05

รายได้ จากการศกึ ษาพบวา่ รายได้ ไม่มคี วามสัมพนั ธ์กับการตดั สินใจเชา่ อพารท์ เมน้ ทส์ าหรับ
การอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา เนื่องจากผู้เช่าอพาร์ทเม้นท์ส่วนใหญ่มีรายได้ไม่เกิน 9,000 บาท แต่ใน
ขณะเดียวกันก็มีผู้เช่าอพาร์ทเม้นท์ที่มีรายได้เกิน 9,000 บาทเช่าอพาร์ทเม้นท์แห่งเดียวกันอยู่ด้วย สอดคล้อง
กับสุวรรณ เดชน้อย (2559) ได้ศึกษาเก่ียวกับ ปัจจัยทางการตลาดท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจเช่าหอพักของ
แรงงาน ในนคิ มอุตสาหกรรมนวนคร จงั หวัดนครราชสีมา อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ี่ 0.05

ปัจจัยทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัด
ฉะเชงิ เทรา สรปุ ผลได้ดังต่อไปน้ี

ด้านผลิตภัณฑ์ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา โดยผู้เช่าตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยจากภาพรวมทั้งหมด ทั้งห้องพักของ
อพาร์ทเม้นท์และระบบบริการในอพาร์ทเม้นท์ ซึ่งมีส่วนสาคัญในการเพิ่มความสะดวกสบายให้กับการเช่า
บริการสาหรับการอยู่อาศยั เปรยี บดังการอยู่อาศัยแบบชัว่ คราวทีม่ ีระยะยาว สอดคล้องกับงานวิจัยของ สาลสิ า
ลีระกุล (2559) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ การตลาดเชิงบูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการหอพักเอกชน
ของนสิ ิตระดบั ปริญญาตรี มหาวิทยาลยั บรู พา วิทยาเขตจันทบุรี อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่ี 0.01

ด้านราคา มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ท้ังนี้เน่ืองจากในจังหวัดฉะเชิงเทรามีอพาร์ทเม้นท์จานวนมากทาให้มีการแข่งขันทางด้านราคาสูง
นอกจากค่าเช่าท่ีต้องจ่ายในแต่ละเดือนแล้ว ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ท่ีผู้ประกอบธุรกิจให้เช่าอพาร์ทเม้นท์คิดราคาท่ี
แตกต่างกัน จึงเป็นอีกหนึ่งสาเหตุท่ีผู้เช่าให้ความสาคัญและพิจารณาค่าสาธารณูปโภค สอดคล้องกับงานวิจัย
ของ ศุภามาส ก้อนพิลา (2560) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ ส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกใช้บริการเช่าห้องพัก
ในเขตตาบลช้างเผือกอาเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ี่ 0.01

ด้านการสื่อสาร ณ จุดบริการ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศยั
ในจังหวดั ฉะเชิงเทรา เนอื่ งจากผู้บรกิ ารจะต้องมีความร้คู วามเขา้ ใจในงานด้านบริการ อีกทงั้ ห้องพกั มสี ิง่ อานวย
ความสะดวก มีราคาท่ีไม่เกินงบประมาณ ผู้เช่าที่เช่าอยู่แล้วจะบอกต่อไปยังเพื่อนใกล้ชิด ถ้าคุณภาพห้องพัก
และราคาของห้องพักรวมทั้งการให้บริการท่ีรวดเร็ว เป็นกันเอง ก็ย่ิงมีโอกาสในการบอกต่อ แบบปากต่อ
ปากมากขึ้นเท่านั้น สอดคล้องกับ ภพพรหมนิ ทร์ วโรตมน์ านนทร์ (2558) ไดศ้ กึ ษาเก่ียวกับปัจจยั ทมี่ ีอิทธิพลต่อ
การสื่อสารแบบปากต่อปากในยุคดิจทิ ัล อยา่ งมีนยั สาคัญท่ี 0.05

ด้านการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเชา่ อพาร์ทเม้นท์สาหรบั การอยู่อาศัย
ในจังหวัดฉะเชิงเทรา เน่ืองจาก ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ให้เช่ากับผู้เช่า

207 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

มีความเสอมภาค ย้ิมแย้ม ทักทาย ดังน้ันจึงเป็นเร่ืองของการเรียนรู้ที่จะสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าจะทาให้
ลูกค้ามีผูกพันกับอพาร์ทเม้นท์ท่ีใช้บริการ และใช้บริการอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับ ภพพรหมินทร์ วโรตม์-
วัฒนานนท์ (2558) ได้กล่าวถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการส่ือสารแบบปากต่อปากในยุคดิจิทัล อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถติ ิท่ี 0.05

ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่
อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา สอดคล้องกับงานวิจัยของ สาลิสา ลีระกุล (2559) ได้ศึกษาเก่ียวกับ การตลาดเชิง
บูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการหอพักเอกชนของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา
วิทยาเขตจันทบรุ ี อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่ี 0.05

ด้านกระบวนการใหบ้ ริการ ไม่มีอิทธพิ ลต่อการตัดสนิ ใจเชา่ อพาร์ทเม้นท์ สาหรับการอยอู่ าศัย
ในจังหวัดฉะเชิงเทรา สอดคล้องกับ ชนายสุ เช่ยี วเชิงการุณ (2554) ได้ศกึ ษาเกีย่ วกับ ปัจจยั การตดั สินใจเลือก
หอพักในเขตนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง จังหวัดกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: หอพักซอยคุ้มเกล้า อย่างมี
นัยสาคญั ทางสถติ ทิ ี่ 0.05

ด้านการโฆษณา ไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเม้นท์สาหรับการอยู่อาศัยในจังหวัด
ฉะเชงิ เทรา สอดคล้องกบั งานวิจัยของ สาลิสา ลีระกลุ (2559) ไดศ้ กึ ษาเกยี่ วกบั การตลาดเชิงบรู ณาการที่มีผล
ต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการหอพักเอกชนของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่ี 0.05

5.2 ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย
1. ปัจจัยส่วนบุคคล จากการศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ท

เม้นท์สาหรับอยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา มี 2 ตัวแปร คือ ปัจจัยส่วนบคุ คลด้านสถานภาพสมรส และอาชพี
ซง่ึ ผวู้ จิ ยั ไดว้ ิเคราะหแ์ ละเสนอแนะ ดงั นี้

1.1 สถานภาพ กลา่ วคอื สถานภาพสมรสมคี วามสัมพันธต์ ่อการตัดสนิ ใจเช่าอพารท์ เม้นท์เพ่ือ
อยู่อาศัยในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซ่ึงส่วนใหญ่ คือ ยังไม่ได้สมรส (โสด) และอยู่คนเดียว ดังนั้นการจัดทาห้องพัก
ของผู้ประกอบการนั้น ควรทาห้องพักเป็นลักษณะเตียงเด่ียว เพราะมีโอกาสน้อยมากท่ีผู้เช่าที่มีสภานภาพ
สมรส จะมาเช่าพกั เพ่อื อย่อู าศัย

1.2 อาชีพ กล่าวคือ ผู้เช่าส่วนมากพนักงานบริษัทเอกชน และนักศึกษา จากอาชีพดังกล่าว
ทั้งสองอาชีพ เป็นอาชีพที่ต้องการสิ่งอานวยความสะดวกท่ีสูง เน่ืองจากระยะเวลาการทางานประจาหรอื เรียน
ในแต่ละวันที่ยาวนาน ทาให้ผู้เช่าไม่มีเวลามากนักในการทาความสะอาด ท่องเที่ยว หรือสันทนาการ ดังนั้น
ผู้ประกอบการควรมีเคร่ืองอานวยความสะดวกไว้บริการแก่ผู้เช่า เช่น เครอ่ื งซักผ้าหยอดเหรยี ญ เคร่ืองผลิตน้า
ด่ืมหยอดเหรียญ เพราะนอกจากสิ่งเหล่าน้ีจะช่วยเพิ่มความสะดวกแก่ผู้เช่าแล้ว ผู้ประกอบการยังได้รายได้
เพิม่ เตมิ จากการบรกิ ารอีกด้วย

2. ปัจจัยทางการตลาด จากการศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่า
อพาร์ทเม้นท์สาหรับอยอู่ าศัยในจงั หวัดฉะเชิงเทรา มี 4 ตวั แปร ซงึ่ ผูว้ จิ ยั ไดว้ เิ คราะห์และเสนอแนะ ดังนี้

2.1 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ กล่าวคือ ก่อนตัดสินใจเช่าห้องพัก ผู้เช่า
ประเมิณคณุ ภาพห้องพกั ดว้ ยข้อมูลที่ผปู้ ระกอบการหรือผูใ้ ห้บริการมอบให้ ได้แก่ การให้ดูภาพถ่ายหอ้ งพักและ
อุปกรณ์ภายในห้องพักทางอินเตอร์เน็ตหรือการพาไปดูห้องพัก ณ สถานท่ีจริง จากนั้นจึงตัดสินใจเช่า ดังนั้น
คณุ ภาพของอพาร์ทเมน้ ท์ และส่ิงอานวยความสะดวกทจ่ี ดั เตรียมไวใ้ นห้องพัก มสี ว่ นอยา่ งมากในการดึงดูดการ
ตัดสินใจ ผู้ประกอบการควรทาความสะอาดห้องพักที่ว่างอยู่อย่างสม่าเสมอ และควรใส่ใจในเร่ืองของคุณภาพ

208 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ของผลิตภัณฑภ์ าพในหอ้ งพกั ทง้ั ในเรอ่ื งความสวยงาม และความคงทน เพอื่ ก่อให้เกดิ การตัดสนิ ใจเชา่ พกั อาศัย
ของผูเ้ ช่า

2.2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดดา้ นราคา กล่าวคือ ราคาเป็นสิ่งทผี่ ู้เช่าสนใจที่สุด ดังน้ัน
ในการแจ้งราคาในทันทีอาจทาให้ผู้สนใจเช่าไม่ตัดสินใจเช่าเน่ืองจากราคาอาจสูงเกินงบประมาณท่ีตงั้ ไว้ ดังนน้ั
การท่ผี ้ปู ระกอบการควรนาเสนอหรือใหผ้ ูเ้ ช่าพิจารณาห้องพักและวัสดุอปุ กรณภ์ ายในห้องพักกอ่ น เพอ่ื ใหผ้ เู้ ช่า
รู้สึกสนใจส่ิงอานวยความสะดวกต่างๆ ในอพาร์ทเม้นท์ และห้องพัก หลังจากนั้นจึงบอกราคาซึ่งทาให้ผู้เช่า
ตดั สินใจเชา่ ห้องพัก โดยคานึงถึงคุณภาพของห้องพักก่อนการตดั สนิ ใจเชา่

2.3 ปัจจัยการส่ือสารทางการตลาดแบบบูรณาการด้านการสื่อสาร ณ จุดบริการ กล่าวคือ
การส่งต่อข้อมูลของผลิตภัณฑ์ (อพาร์ทเม้นท์) อย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ ซ่ึงรวมถึงความสุภาพ และน้าเสียง
ของผู้ให้บริการ จะส่งผลต่อการรับฟังของผู้เช่า นอกจากนี้ฝ่ายบริการ ควรให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เช่าในด้าน
ตา่ งๆ เท่าทท่ี าให้ เพอื่ สร้างความประทับใจ และกอ่ ให้เกดิ การบอกต่อ หรือชักชวนคนสนทิ ใกล้ชดิ มาใช้บรกิ าร

2.4 ปัจจัยการส่ือสารทางการตลาดแบบบูรณาการด้านการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ กล่าวคือ
การรับฟังข้อเสนอแนะ และความคิดเห็นของผู้เช่าอย่างเปิดกว้าง เพ่ือปรับปรุงแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว และการ
สร้างความสัมพันธ์ในโอกาสพิเศษต่างๆ สาหรับผู้เช่า เช่น การแจกของท่ีระลึกเล็กๆ น้อยๆ ในวันสาคัญต่างๆ
จะทาใหผ้ ู้เช่าจดจา และประทบั ใจสงิ่ เหล่านี้และมีส่วนอย่างมาก ในการท่ีผู้เช่าตดั สนิ ใจเช่าต่อในระยะยาว

1. ลดระยะเวลาของวงจรเงินสดให้ส้ัน เพ่ือให้กิจการมีเงินสดมาหมุนเวียนในกิจการเร็วข้ึน
ซงึ่ จะลดการพ่งึ พาเงนิ ทุนจากแหล่งเงนิ ทุนภายนอก และยังสามารถนาเงินสดสว่ นเกนิ จากความต้องการในการ
ดาเนินงานไปลงทุนในกิจกรรมอื่น ๆ เพ่มิ เติม เพื่อเพ่มิ ความสามารถในการทากาไรของกิจการ

2. ลดระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหน้ี และการเพ่ิมระยะเวลาในการจา่ ยชาระหนี้ เพอื่ ลด
ระยะเวลาของวงจรเงนิ สด

5.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการวจิ ัยในครัง้ ตอ่ ไป
1. เน่ืองจากงานวิจัยฉบับนีจ้ ัดทาการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมลู ในชว่ งสถานการณ์ COVID-19

ระลอกใหม่ อาจส่งผลทาให้พฤติกรรมในการเช่าอพาร์ทเม้นท์เกิดการเปลี่ยนแปลง หากสถานการณ์ต่างๆ
สามารถควบคุมให้มีสภาวะคงท่ีได้แล้ว มีความเป็นไปได้ที่ผลการศึกษาวิจัยจะแตกต่างออกไป ทั้งในด้านของ
ปจั จยั ส่วนบคุ คล และปัจจยั ทางการตลาด

2. สามารถทาการศึกษาเพิ่มเติมในด้านการเข้ามาของเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล ท่ีมีอิทธิพลต่อการ
ตัดสนิ ใจเชา่ อพาร์ทเมน้ ท์ หรอื ธรุ กจิ ประเภทให้เช่าอ่นื ๆ ได้

3. สามารถทาการศึกษาเพ่ิมเตมิ ในจังหวดั อ่ืนๆ ที่ไมใ่ ช่ จังหวัดฉะเชงิ เทราได้

209 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เอกสารอ้างองิ

ชนายุส เชี่ยวเชิงการุณ. (2554). ปัจจัยการตัดสินใจเลือกหอพักในเขตนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
จังหวัดกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: หอพักซอยคุ้มเกล้า วารสาร การเงิน การลงทุน การตลาด และ
การบรหิ ารธรุ กจิ . 1(3), 39-60.

นันทสารี สุขโต เพ็ญสิน ชวนะคุรุ กุลทิวา โซ่เงิน จิราพร ชมสวน นวพงศ์ ตัณฑดิลก วริศรา แหลมทอง
วัลภา หัตถกิจพาณิชกุล วีรพล สวรรค์พิทักษ์ และสมศิริ วัฒนสิน (2558). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ :
เพียรส์ นั เอด็ ดเู คช่ัน อนิ โดไชนา่ จากดั .

พจนารถ อ่ิมสอน. (2558). ปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการเช่าอพาร์ทเม้นท์ของผู้บริโภค ในเขตพระโขนง
กรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกจิ ศรนี ครินทรวโิ รฒ. 6(2), 134-144.

ภพพรหมินทร์ วโรตม์วัฒนานนท์. (2558). ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการส่ือสารแบบปากต่อปากในยุคดิจิทัล
.วารสารการสื่อสารและการจดั การ. 1(1), 86-100.

ศิริวรรณ เสรรี ัตน์, ศภุ ร เสรีรตั น์, ปณศิ า มีจนิ ดา, จริ ะวฒั น์ อนุวชิ ชานนท์, และอรทยั เลิศวรรณวิทย.์ (2560).
การบริหารการตลาดยุคใหม่ (Marketing management). กรุงเทพฯ : Diamond In Business
World.

ศุภชาต เอ่ยี มรตั นกูล. (2557). หลกั การตลาด. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ แสงดาว จากัด.
ศุภามาส ก้อนพิลา . (2560). ส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกใช้บริการห้องพักในเขตตาบลช้างเผือก

อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ .วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH. 9(1),
201-205.
สาลสิ า ลรี ะกุล (2559). การตลาดเชิงบูรณาการที่มผี ลตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกใช้บริการหอพักเอกชนของนิสิต
ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
สาขาวิชาการบรหิ ารการธรุ กจิ สาหรบั ผู้บริหาร.วทิ ยาลัยพาณชิ ยศ์ าสตรม์ หาวิทยาลัยบรู พา.
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2564). การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน ปี 2558 – 2562
จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2564, จาก
https://eeco.or.th/th/promotional-zone.
สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา. (2560). จานวนโรงงานอุตสาหกรรม การลุงทุน และคนงานใน
จังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2559–2562. [ออนไลน์] สืบค้นเม่ือ 12 กุมภาพันธ์ 2564, จาก
http://www.industry.go.th/chachoengsao/index.php.
สุวรรณ เดชน้อย. (2559). ปัจจัยทางการตลาดท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจเช่าหอพักของแรงงาน ในนิคม
อุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา .วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา.
2(1), 196-207.
Baania Admin. (2562). ฉะเชิงเทรา เมืองใหม่สาหรับการอยู่อาศัยในพ้ืนที่ EEC. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 17
ธันวาคม 2563, จาก https://www.baania.com/th.
Dewey, J. (1999). Liberalism and Social Action. New York: Prometheus Books.
Kotler, P. (2016). Marketing Management. New York: Pearson Education Limited.
Cochran, W.G. (1953). Sampling Techiques. New York: John Wiley & Sons. Inc.
.

210 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบเชิงยืนยนั ระดับทีส่ องของโมเดลวดั การกาจดั ความสญู เสียของผู้
ให้บริการขนส่งพัสดดุ ่วนในประเทศไทย กรณศี ึกษา บริษทั น่มิ เอก็ ซ์เพรส จากัด

Second Order Confirmatory Factor Analysis of Waste Reduction Measurement
Model of Logistic Express Providers in Thailand
: A Case Study of Nim Express Co., Ltd.

สมพล ท่งุ หว้า1 รชั ชสทิ ธิ์ เสวกเสนยี ์2 และ เสาวนยี ์ สมนั ต์ตรีพร3
(Sompon Thungwha, Ratchasit Sewoksenee and Saowanee Samantreeporn)

บทคดั ยอ่

การวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทาการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันลาดับที่สองของโมเดลวัดการกาจัด
ความสูญเสยี ของผใู้ ห้บริการขนสง่ พัสดุด่วนในประเทศไทย กลมุ่ ตัวอย่างทใ่ี ช้ในการวิจัยเปน็ ผู้บรหิ ารของบริษัท
น่ิม เอก็ ซเ์ พรส จากดั จานวน 205 คน เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์
ขอ้ มลู ได้แก่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั

ผลการวิจัยสรุปได้ดังน้ี
1. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันลาดับท่ีสองของโมเดลวัดกับข้อมูลเชิงประจักษ์ สอดคล้อง
กลมกลืนตามเกณฑ์ โดยมีค่า /df = 0.0873 P value = 0.94456 RMSEA = 0.00 CFI = 1.00 และ
SRMR = 0.046 และโมเดลคงองค์ประกอบและตัวแปรสงั เกตเดิม
2. องค์ประกอบด้านที่มีความสาคัญลาดับที่ 1-3 คือ การกาจัดความสูญเสียในการขนส่ง การกาจัด
ความสูญเสียในการรอคอย และการกาจัดความสูญเสียในของเสีย ตามลาดับ โดยเป็นองค์ประกอบที่มี
ความสาคัญในการนาโมเดลวัดไปใช้ เน่ืองจากมีค่าสัมประสิทธ์ิถดถอยของตัวแปรแฝงภายในบนตัวแปรแฝง
ภายนอก เท่ากับ 1.00 0.98 และ 0.93 ตามลาดับ ส่วนองค์ประกอบการกาจัดความสูญเสียในต้นทุนการผลติ
มคี า่ สมั ประสทิ ธ์ิถดถอยของตัวแปรแฝงภายในบนตัวแปรแฝงภายนอก เทา่ กบั 0.63

คาสาคญั : การกาจดั ความสญู เสยี การวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบ ผ้ใู หบ้ ริการขนส่งพสั ดุด่วน

1คณะบรหิ ารธุรกิจ มหาวิทยาลยั รามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร 10240
Faculty of Business Administration Ramkhamheang University, Hua Mak, Bang Kapi, Bangkok 10240
2 นกั วิจยั อิสระ Independent Researcher,
3หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ แขวงหนองค้ างพลู เขตหนองแขม
กรุงเทพมหานคร 10160
Doctor of Philosophy Program in Business Administration Southeast Asia University, Nonghkaem, Bangkok
10160

Corresponding author: [email protected]

211 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ABSTRACT

This study was designed to analyze the confirmatory second order factor analysis model of
the waste reduction measurement model of logistic express providers in Thailand. The sample
of the study was comprised of 205 administrators working for Nim Express Company Limited.
The study instrument was a set of self-administrator questionnaires. The collected data were
analyzed using percentage, mean, standard deviation, and confirmatory factor analysis.

The results of the data analysis were as follows:
1. As a result of the analysis of the confirmatory second order factor model in

comparison with the empirical data, it was found that there was consistency between the

model and the empirical data is indicated by the following values: /df = 0.0873 P value =
0.94456 RMSEA = 0.00 CFI = 1.00 and SRMR = 0.046. Moreover, the measurement invariance
test showed no variance in term of factors and observed variables.

2. It could be concluded that the three important factors were: waste reduction
in logistics, waste reduction in waiting, and reduction in waste. It was deemed greatly significant
that the model should be put in use precisely because the regression coefficients of the latent
variables on the external variables were 1.00, 0.98, and 0.93. As for the factor relating to the
waste reduction in production cost, the coefficient of the latent variable on the external
variable was found to be 0.63.

Keywords: Waste Reduction, Factor Analysis, Logistic Express Provider

Article history: Revised 28 January 2022
SIMILARITY INDEX = 1.84 %
Received 26 November 2021
Accepted 31 January 2022

1. บทนา

ตลาดขนสง่ พัสดุในปี 2561 ผปู้ ระกอบการรายใหญ่ 3 ราย ครองสว่ นแบง่ การตลาดรวมกันกว่ารอ้ ยละ
80 ไดแ้ ก่ ไปรษณียไ์ ทย (รอ้ ยละ 41) เคอรร์ ่ี เอ็กซเ์ พรส (ร้อยละ 39) และลาซาดา เอ็กซเ์ พรส (ร้อยละ 8) และ
ผู้ประกอบการขนาดกลาง คือ น่ิม เอ็กซ์เพรส (ร้อยละ 3) ด้านผลประกอบการ ไปรษณีย์ไทย ซึ่งเป็น
รัฐวิสาหกิจและเป็นเจ้าตลาดมีผลกาไรท่ีมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่ เคอรี่ เอ็กซ์เพรส ซ่ึงเป็นบริษัทเอกชนราย
ใหญใ่ นปี 2563 มผี ลกาไรเติบโตร้อยละ 5.8 ในขณะท่ีตวั เลขรายได้ลดลง (ผจู้ ดั การสุดสัปดาห์, 2564) โดยภาค
การขนส่งพัสดุด่วนในประเทศไทยปัจจุบันหากไม่นับไปรษณีย์ไทยซ่ึงเป็นรัฐวิสาหกิจ ส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจ
ท่มี าจากตา่ งประเทศ บรษิ ทั นมิ่ เอก็ ซ์เพรส จากดั เปน็ บรษิ ัทเอกชนขนาดกลางของคนไทยทีม่ ีศักยภาพในการ
แข่งขันในระดับประเทศด้วยการมีสานักงานสาขาและพื้นท่ีให้บริการครอบคลุมทุกจังหวัดท่ัวทั้งประเทศ ในปี
2563 มรี ายได้ 1,160 ล้านบาท เพิม่ ข้นึ รอ้ ยละ 23 จากปีก่อนหน้า (มิติห้นุ , 2564) สว่ นแบง่ ตลาดเป็นลาดับท่ี
6 รองจากผู้ประกอบการรายใหญ่ 5 ลาดับแรก คือ ไปรษณีย์ไทย เคอร่ี เอ็กซ์เพรส ลาซาด้า เอ็กซ์เพรส เจ
แอนด์ที และแฟลช เอก็ ซ์เพรส (มารเ์ ก็ตต้ี, 2564)

212 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

จากข้อมูลการลดลงของรายได้ซ่ึงสวนทางกับผลกาไรท่ีเติบโตของบริษัทขนส่งพัสดุด่วนภาคเอกชน
รายใหญ่ข้างต้น เป็นภาพสะท้อนให้เห็นว่า ธุรกิจขนส่งพัสดุด่วนในประเทศไทยมีการใช้แนวทางการเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพการดาเนินงานภายใน โดยแนวคิดการกาจดั ความสูญเสียในการใช้ทรัพยากรตามหลักการของลีน
โลจิสติกส์ (lean logistics) เป็นหน่ึงในแนวทางการเพ่ิมประสิทธิภาพท่ีทาให้องค์การด้านโลจิสติกส์มีการ
จัดการด้านทรัพยากร ด้านลูกค้า และด้านโอกาสทางการตลาดให้เกิดประสิทธิภาพ และมีวินัยเพื่อสร้างความ
ยัง่ ยืน (เอสซบี ี เอสเอม็ อี, 2561) งานวิจัยในครั้งนจี้ ึงศกึ ษาความสาคัญขององค์ประกอบย่อยในการกาจดั ความ
สูญเสียของบริษัท นิ่ม เอ็กซ์เพรส จากัด ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนสัญชาติไทยที่มีศักยภาพในการแข่งขัน
ระดับประเทศ

วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย
เพ่ือวเิ คราะห์องค์ประกอบเชงิ ยืนยนั ลาดับทส่ี องของโมเดลวัดการกาจดั ความสญู เสยี ของผู้ให้บรกิ าร

ขนส่งพสั ดุด่วนในประเทศไทย บรษิ ัท นม่ิ เอ็กซเ์ พรส จากัด

2. เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง

จากการทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ผวู้ จิ ัยได้รวบรวมและสังเคราะห์งานวิจัยทเี่ กีย่ วข้อง ดงั น้ี
2.1. การกาจัดความสูญเสีย หมายถึง เครื่องมือในการจัดการเพ่ือลดความสูญเสียในกระบวนการ
ดาเนินงานเพื่อสง่ มอบสินคา้ และบริการได้ทนั ตามกาหนดดว้ ยการกาจัดกิจกรรมที่ไม่ไดส้ ร้างคณุ ค่าออกไปจาก
กระบวนการดาเนินงานให้มากที่สุด (เอสซีบี เอสเอ็มอี, 2561) ประกอบด้วย 1) การกาจัดความสูญเสียใน
กระบวนการรับพัสดุ 2) การกาจัดความสูญเสียในการเก็บพัสดุคงคลัง (3) การกาจัดความสูญเสยี ในการขนส่ง
(4) การกาจัดความสูญเสียในการเคล่ือนไหวก่อน-หลัง (5) การกาจัดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต (6) การ
กาจัดความสญู เสยี ในการรอคอย และ (7) การกาจัดความสญู เสียในของเสีย
2.2. การวิเคราะห์องค์ประกอบ เป็นวิธีการทางสถิติท่ีช่วยให้นักวิจัยสร้างองค์ประกอบจากตัวแปร
หลาย ๆ ตัว โดยรวมกลมุ่ ตวั แปรทเี่ ก่ียวข้องสัมพันธ์กันเป็นองคป์ ระกอบเดยี วกนั องคป์ ระกอบหน่ึง ๆ จะแทน
ตัวแปรแฝง อันเป็นคุณสมบัติท่ีนักวิจัยต้องการศึกษา และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันลาดับท่ีสอ ง
เป็นการวิเคราะห์เพื่อศึกษาว่า องค์ประกอบย่อยที่อยู่ภายใต้องค์ประกอบใหญ่เป็นองค์ประกอบใหญ่เดียวกัน
หรือไม่ และองค์ประกอบย่อยใดมีความสาคัญมากกว่ากัน (สุภมาศ อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณนา และรัชนี
กูล ภิญโญภานุวฒั น์, 2557)
2.3. งานวิจัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง
สมพล ทุ่งหว้า (2564) ศึกษาคุณภาพการบริการและการกาจัดความสูญเสียท่ีมีอิทธิพลต่อวิถีใหม่ท่ี
ก่อให้เกิดความสาเร็จของผู้ให้บริการขนส่งพัสดุด่วนแก่ผู้ประกอบการธุรกิจอีคอมเมิร์ซในประเทศไทย กลุ่ม
ตัวอยา่ งเป็นผ้ใู ห้บริการขนส่งพัสดุภาครัฐวสิ าหกจิ และภาคเอกชน โดยทาการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ
สร้างโมเดลวัดการกาจัดความสูญเสียของผู้ให้บริการขนส่งพัสดุด่วนในประเทศไทย ผลการวิเคราะห์
องค์ประกอบเชิงสารวจได้องค์ประกอบย่อยของการกาจัดความสูญเสีย จานวน 4 องค์ประกอบ 34 ตัวแปร
สังเกต องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การกาจัดความสูญเสียในของเสีย การกาจัดความสูญเสียในการขนส่ง การ
กาจัดความสูญเสียในการรอคอย และการกาจัดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต และทาการวิเคราะห์
องค์ประกอบเชิงยืนยันลาดับที่หน่ึง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลไม่แปรเปล่ียนยังคงองค์ประกอบและตัวแปร
สงั เกตเดิม

213 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

งานวิจัยในคร้ังน้ีทาการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันระดับท่ีสองของโมเดลวัดการกาจัดความสญู เสียของผู้
ให้บริการขนส่งพัสดุด่วนในประเทศไทย กรณีศึกษา บริษัท น่ิม เอ็กซ์เพรส จากัด จึงใช้โมเดลวัดการกาจัด
ความสูญเสียของผู้ให้บริการขนส่งพัสดุด่วนแก่ผู้ประกอบการธุรกิจอีคอมเมิร์ซในประเทศไทยของ สมพล ทุ่ง
หว้า (2564) เปน็ กรอบแนวคิดการวจิ ยั ตามแผนภาพท่ี 1

กรอบแนวคิดในการทาวิจยั

แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

3. วิธีดาเนนิ การวจิ ัย

ประชากรของงานวิจัยเป็นผบู้ รหิ ารระดับสูงและระดับสาขาของบริษัท นิ่ม เอ็กซ์เพรส จากัด กาหนด
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามกฎของ Hair et al. (2014: 100) ที่กล่าวว่า ขนาดของกลุ่มตัวอย่างต่าสุดไม่ควร
น้อยกว่า 50 ตัวอย่าง และถ้าจะให้ได้ผลการวิเคราะห์ที่สมบูรณ์ควรมีจานวน 100 ตัวอย่างหรือมากกว่า
งานวิจัยจึงกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างไม่น้อยกว่า 200 ตัวอย่าง ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มเน่ืองจาก
ประชากรเป้าหมายกระจายอยตู่ ามจงั หวัดต่าง ๆ จานวน 77 กลมุ่ คือ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดอน่ื อีก 76
จงั หวัด (สุชาติ ประสิทธร์ิ ฐั สินธ์ุ, 2555: 200) ใช้การเลือกแบบโควตา คือ ผ้บู รหิ ารระดับสูงและระดบั สาขาของ
แต่ละกลมุ่ ๆ ละ 3 คน จะไดจ้ านวนรวมเท่ากับ 231 คน

เครื่องมือในการวิจัย ใช้แบบสอบถามจากผลการศึกษาของสมพล ทุ่งหว้า (2564) แบบสอบถามแบ่ง
ออกเปน็ 5 สว่ น ส่วนที่ 1 เป็นข้อคาถามเกีย่ วกับขอ้ มลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จานวน 5 ข้อ สว่ นท่ี 2-5
เปน็ ข้อคาถามแบบประมาณค่า 5 ระดบั แบบลิเคทิ สเกล และเลอื กตอบไดเ้ พียงคาตอบเดียว จานวน 34 ข้อ
การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ (1) พิจารณาความเที่ยงตรงเชงิ เน้ือหาจากความสอดคล้องของข้อคาถาม
แต่ละข้อกบั ประเด็นย่อยและประเดน็ หลักทตี่ ้องการวัด (Item Objective Congruence--IOC) โดยความเห็น
ของผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน ใช้เกณฑ์ของ Rovinelli and Hambleton (1977) คือ (ก) คะแนนเฉล่ียตั้งแต่
0.50-1.00 มีความสอดคล้อง และ (ข) คะแนนเฉลี่ยต่ากว่า 0.50 ควรพิจารณาปรับปรุง หรือคัดออก
(2) พิจารณาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สัมประสิทธ์ิแอลฟาของคอนบาค (cronbach’s alpha coefficient) จาก
แบบสอบถามที่ทดลองใช้กับกลุ่มประชากรที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง 30 ชุด ยอมรับที่ค่า α
มากกวา่ หรอื เท่ากบั 0.50 (Hinkle et al., 1998: 118)

214 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ตารางที่ 1 ผลการวเิ คราะหค์ วามเทีย่ งตรงเชงิ เนื้อหาและความเชือ่ มัน่ ของแบบสอบถาม

ตวั แปร/องคป์ ระกอบ ความเทีย่ งตรงเชงิ เนอื้ หา ความเชือ่ มน่ั

การกาจดั ความสญู เสยี (0.80-1.00) (0.78-0.95)

การกาจัดความสูญเสยี ในของเสยี 0.80-1.00 0.95

การกาจัดความสญู เสยี ในการขนสง่ 0.80-1.00 0.91

การกาจัดความสูญเสียในการรอคอย 0.80-1.00 0.82

การกาจัดความสญู เสียในต้นทุนการผลติ 0.80-1.00 0.78

จากตารางท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ความเที่ยงตรงและความเช่ือมั่นของแบบสอบถามผ่านเกณฑ์ที่กาหนด

ท้งั หมด สามารถนาไปจดั เก็บข้อมูลได้

การเก็บรวบรวมข้อมูล จัดเตรียมแบบสอบถามดว้ ยกูเกิลฟอร์มจัดส่งลงิ ก์แบบสอบถามผ่านระบบไลน์

ผูบ้ ริหารของบริษทั น่มิ เอก็ ซเ์ พรส จากดั โดยมีหนงั สอื ขอความอนุเคราะหใ์ ห้ผ้บู ริหารสงู สดุ และผูบ้ ริหารระดับ

สาขาตอบแบบสอบถามจังหวดั ละ 3 คน ไดร้ บั การตอบกลบั และมคี วามสมบรู ณ์ จานวน 205 คน

วิธีวิเคราะห์ข้อมูล นาข้อมูลท่ีได้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสาเร็จรูป และนาเสนอข้อมูล

ทางสถติ ิ ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลยี่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะห์โมเดลสมการโครงสรา้ ง

4. ผลการวิจัย

1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า ส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าหน่วยในศูนย์/สาขา (ร้อยละ

60.00) รองลงมา ผู้จัดการ (ร้อยละ 35.12) และผู้อานวยการ (ร้อยละ 4.88) ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ

64.39) ส่วนใหญ่มีอายุไม่เกิน 36 ปี (ร้อยละ 60.98) ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ร้อยละ

37.56) รองลงมา ปริญญาตรี (ร้อยละ 36.59) และส่วนใหญ่มีอายุงานระหว่าง 6-10 ปี (รอ้ ยละ 44.88)

2. ผลการวิเคราะห์ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรการกาจัดความสญู เสีย จานวน 4

องคป์ ระกอบ ดงั ตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหค์ ่าเฉล่ีย (Mean: M) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD)

องค์ประกอบ/ตวั แปรสังเกต M SD อนั ดบั

การกาจัดความสูญเสยี ในของเสีย (Reduction in Waste: RIW) 4.33 .64 1

1. บริษัทมขี อ้ กาหนดเก่ยี วกับข้นั ตอนในการรบั มอบ-สง่ มอบพัสดุ 4.35 .62 4

2. บรษิ ัทมีการจดั ทาประกาศขอ้ กาหนด/เงื่อนไขในการรบั ประกันมลู คา่ พสั ดเุ บอื้ งตน้ 4.24 .62 13

3. บรษิ ทั มบี ริการรับประกนั พัสดตุ ามมูลคา่ ของสินค้าสูงสุดไมเ่ กนิ ชิน้ ละ 50,000 บาท 4.33 .63 9

4. บรษิ ัทมีการจดั ทาประกาศข้อกาหนด/เง่ือนไขในการหมุ้ หอ่ เพือ่ ปอ้ งกนั ความเสยี หายของพัสดุ 4.35 .61 6

5. ศนู ยค์ ดั แยกปลายทางคดั แยกพสั ดสุ ง่ ไปยงั จังหวัดปลายทาง 4.35 .62 4

6. กรณีส่งมอบพัสดุครั้งแรกไม่สาเร็จและโทรศัพท์ติดต่อผู้รับพัสดุไม่ได้ พนักงานส่งพัสดุจะติดต่อผู้รับผ่านใบ 4.35 .60 7

แจ้ง/โทรศัพท์/แอพพลิเคช่นั เพ่อื นัดนาจา่ ยพสั ดุคร้งั ท่ี 2

7. ศนู ย์คัดแยกพสั ดดุ าเนินการคดั แยกและจดั สง่ พัสดุไปยังศนู ย์คัดแยกปลายทาง/จังหวดั ปลายทาง 4.17 .68 14

8. บรษิ ัทมีนโยบายใหพ้ นักงานส่งมอบพสั ดโุ ทรหาผู้รบั พัสดกุ รณีไม่สามารถส่งมอบพัสดไุ ด้ 4.33 .66 8

9. บรษิ ทั กาหนดใหส้ าขารวบรวมพสั ดุส่งไปยงั ศนู ยค์ ดั แยกพสั ดุ 4.32 .64 11

10. พนกั งานสง่ มอบพสั ดจุ ดั เรียงพสั ดุตามลาดับการถึง ก่อน-หลัง 4.42 .66 1

11. บรษิ ัทมีนโยบายลดตน้ ทนุ ดา้ นแรงงานด้วยการควบคุมสดั ส่วนของพนักงานประจาและพนักงานช่ัวคราว 4.42 .66 1

12. บรษิ ัทใชร้ ะบบอัตโนมัตใิ นการรับ ตดิ ตามและส่งมอบพสั ดตุ ลอดเสน้ ทาง 4.32 .71 10

13. บริษัทเปน็ ผู้วางแผนกาหนดเส้นทางการขนสง่ และควบคุมระยะเวลาในการเดนิ ทางของรถขนสง่ 4.39 .61 3

14. บริษทั จดั พัสดุใหเ้ ตม็ ปรมิ าตรบรรทุกของรถขนสง่ ใหม้ ากท่สี ดุ 4.28 .68 12

215 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ตารางท่ี 2 (ต่อ)

องคป์ ระกอบ/ตวั แปรสังเกต M SD อันดับ

การกาจัดความสญู เสยี ในการขนสง่ (Waste Reduction in Logistics: WIL) 4.15 .68 3

1. บรษิ ัทมคี วามยดื หยุ่นในการเลือกประเภทรถยนตข์ นสง่ ตามชนิด/ขนาด/ปริมาณ ของสินคา้ 3.95 .75 8

2. บรษิ ทั กาหนดแนวทางในการจดั เรยี งวสั ดุคงคลงั ใหม้ องเหน็ ไดช้ ัดเจนและตรวจนับได้งา่ ย 3.90 .76 9

3. บรษิ ัทมีการกาหนดจุดส่งั ซื้อเมื่อวสั ดคุ งเหลือถงึ ระดับทก่ี าหนด 4.18 .66 5

4. บรษิ ัทควบคุมต้นทุนค่าขนสง่ แต่ละเสน้ ทางโดยเปรยี บเทยี บกับต้นทนุ มาตรฐาน 4.17 .64 6

5. บรษิ ทั จดั ทาคู่มอื กาหนดมาตรฐานในการคัดแยกพัสดุ 4.21 .64 4

6. บริษทั ใชเ้ ทคโนโลยีในการตรวจสอบ/ควบคมุ การทางานของรถขนส่ง 4.37 .61 1

7. บรษิ ทั ใช้ระบบอัตโนมตั ใิ นการจัดการวสั ดคุ งคลัง 4.07 .74 7

8. บรษิ ทั ใช้หลกั บัญชีวัสดเุ ขา้ กอ่ นออกกอ่ นในการเบกิ จา่ ยวัสดุ 4.27 .65 2

9. บริษทั ใชร้ ะบบอตั โนมตั ิในการรบั พัสดุที่สาขา 4.24 .65 3

การกาจัดความสญู เสยี ในการรอคอย (Waste Reduction in Waiting: WIW) 4.26 .70 2

1. บริษทั จดั ทาแอพพลเิ คชน่ั /Chat/Call Center สาหรับรบั เรือ่ งธรุ กิจ เรื่องร้องเรียน และเร่ืองอ่นื ๆ ตลอด 4.39 .65 1

24 ช่ัวโมง

2. บรษิ ทั ใหบ้ ริการตดิ ตามพัสดผุ ่านแอพพลเิ คชน่ั ตลอด 24 ชั่วโมง 4.36 .65 2

3. บรษิ ัทลดการสญู เสียเวลาให้ลูกคา้ โดยให้บรกิ ารรบั พสั ดฟุ รถี ึงหนา้ บ้าน 4.25 .76 3

4. บริษัทลดการรอคอยข้อมูลพัสดุเข้าระบบติดตามพัสดุโดยใช้แอพพลิเคช่ันในการให้บริการรับพัสดุแบบ 4.12 .78 5

เบ็ดเสร็จท่บี ้านลกู คา้

5. บรษิ ทั ใช้คลงั ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data) ในการจัดการระบบขนส่ง 4.16 .66 4

การกาจดั ความสญู เสยี ในต้นทุนการผลติ (Waste Reduction in Production Cost: WIPC) 3.83 .86 4

1. บริษัทลดตน้ ทุนด้านแรงงานสง่ มอบพัสดดุ ้วยการใช้พนั ธมิตรในการดาเนนิ งาน 3.82 .93 4

2. บริษัทลดต้นทุนด้านแรงงานสาหรับดูแล/ทาความสะอาดอาคาร สถานที่ ด้วยการว่าจ้างบริษัท/ผู้รับเหมา 3.84 .80 3

ดาเนนิ การ

3. บรษิ ทั ลดตน้ ทุนด้านแรงงานคดั แยกพัสดดุ ว้ ยการใชพ้ นักงานรายวัน 3.67 .87 5

4. ศนู ย์คดั แยกพสั ดขุ องบริษัทสามารถปรบั เพมิ่ /ลดการจ้างแรงงานคัดแยกพัสดุไดต้ ามปริมาณงาน 3.61 .97 6

5. บริษัทจัดทาแอพพลิเคช่ันใหล้ ูกค้าจองนดั เวลาสง่ พสั ดุท่สี าขา 3.98 .79 2

6. บริษัทจดั ทาแอพพลเิ คชั่นให้ลกู คา้ เรียกใชบ้ รกิ าร/ตดิ ต่องานไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมง 4.04 .78 1

จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า องค์ประกอบการกาจัด
ความสูญเสียในของเสีย มีค่าเฉล่ียสูงเป็นลาดับที่ 1 รองลงมา การกาจัดความสูญเสียในการรอคอย การกาจัด
ความสูญเสยี ในการขนสง่ และการกาจดั ความสูญเสียในตน้ ทนุ การผลติ ตามลาดับ

พิจารณารายองค์ประกอบตามลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า 1) ดา้ นการกาจัดความสูญเสีย
ในของเสีย ให้ความสาคัญกับ RIW10 พนักงานส่งมอบพัสดุจัดเรียงพัสดุตามลาดับการถึงก่อน-หลัง และ
RIW11 บริษัทมีนโยบายลดต้นทุนด้านแรงงานด้วยการควบคุมสัดส่วนของพนักงานประจาและพนักงาน
ช่ัวคราว โดยมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากันและมากที่สุด 2) ด้านการกาจัดความสูญเสียในการ
รอคอย ให้ความสาคัญกับ WIW1 บริษัทจัดทาแอพพลิเคชั่น/Chat/Call Center สาหรับรับเรื่องธุรกิจ เรื่อง
รอ้ งเรยี น และเร่อื งอืน่ ๆ ตลอด 24 ชั่วโมง มีค่าเฉล่ียมากท่สี ุด

3. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันลาดับที่สองของโมเดลวัดการกาจัดความสูญเสียของผู้
ให้บริการขนส่งพัสดุด่วนในประเทศไทย กรณีศึกษา บริษัท น่ิม เอ็กซ์เพรส จากัด จากข้อมูลเชิงประจักษ์
จานวน 205 คน ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดังแผนภาพที่ 2 และตารางท่ี 3-4

216 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

แผนภาพที่ 2 ผลการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยันลาดับทส่ี องของตัวแปรการกาจัดความสญู เสยี ของ
งานวจิ ยั

217 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ตารางท่ี 3 เปรียบเทยี บค่าดชั นวี ัดความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลวดั กบั ข้อมูลเชงิ ประจักษ์ก่อนและหลัง

ปรบั โมเดล

ดชั นี เกณฑ์* คา่ ความสอดคลอ้ งของโมเดลวัดกบั ข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์
กอ่ นปรับโมเดล ผล หลงั ปรับโมเดล ผล

/df < 2.00 3.369 ไม่ผ่าน 0.0873 ผา่ น

P value มี/ไม่มนี ยั สาคญั 0.00 ผ่าน 0.94456 ผา่ น

RMSEA < 0.08 0.11 ไม่ผ่าน 0.00 ผา่ น

CFI > 0.92 0.96 ผ่าน 1.00 ผา่ น

SRMR < 0.09 0.095 ไม่ผา่ น 0.046 ผ่าน

*เกณฑ์ของ Hair et al. (2014) กรณีกลมุ่ ตวั อย่างน้อยกว่า 250 ตัวอย่าง

จากตารางท่ี 3 ผลการเปรียบเทียบค่าดัชนีวัดความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลวัดกับข้อมูลเชิง

ประจักษ์ก่อนและหลังปรับโมเดล พบว่า ก่อนปรับโมเดลค่าดัชนีผ่านเกณฑ์บางส่วน หลังปรับโมเดลค่าดัชนี

ผ่านเกณฑ์ทกุ ค่า

ตารางท่ี 4 ผลการวเิ คราะหค์ วามตรงเชงิ โครงสรา้ งของโมเดลวัดตวั แปรการกาจัดความสญู เสีย

Latent Variable Observed Factor Theta- t- R2 AVE CR
0.96
Variable Loading Epsilon statistic
0.91
ก า ร ก า จั ด ค ว า ม สู ญ เ สี ย ใ น ข อ ง เ สี ย RIW 0.93 13.44 0.87 0.64
(Reduction in Waste: RIW)
RIW1 0.83 0.31 - 0.69

RIW2 0.71 0.49 10.89 0.51

RIW3 0.87 0.24 15.86 0.76

RIW4 0.89 0.20 16.61 0.80

RIW5 0.87 0.24 16.02 0.76

RIW6 0.83 0.31 13.98 0.69

RIW7 0.60 0.64 9.15 0.36

RIW8 0.80 0.36 11.97 0.64

RIW9 0.85 0.29 13.27 0.71

RIW10 0.85 0.28 14.52 0.72

RIW11 0.81 0.34 12.80 0.66

RIW12 0.70 0.51 11.16 0.49

RIW13 0.84 0.30 14.89 0.70

RIW14 0.72 0.48 11.25 0.52

การกาจดั ความสูญเสียในการขนส่ง (Waste WIL 1.00 8.85 1.00 0.53

Reduction in Logistics: WIL) WIL1 0.57 0.68 - 0.32

WIL2 0.60 0.63 9.62 0.37

WIL3 0.82 0.34 8.83 0.66

WIL4 0.81 0.34 8.75 0.66

WIL5 0.70 0.51 8.05 0.49

WIL6 0.76 0.42 8.44 0.58

WIL7 0.61 0.63 7.42 0.37

218 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ตารางท่ี 4 (ตอ่ ) Observed Factor Theta- t- R2 AVE CR

Latent Variable

Variable Loading Epsilon statistic

WIL8 0.84 0.30 8.60 0.70

WIL9 0.77 0.41 8.45 0.59

การกาจัดความสูญเสยี ในการรอคอย WIW 0.98 10.64 0.96 0.52 0.84

(Waste Reduction in Waiting: WIW1 0.68 0.54 - 0.46
WIW)
WIW2 0.79 0.38 11.57 0.62

WIW3 0.68 0.53 9.66 0.47

WIW4 0.67 0.55 8.85 0.45

WIW5 0.77 0.41 10.03 0.59

การกาจดั ความสูญเสยี ในต้นทนุ การ WIPC 0.63 5.79 0.40 .55 .87

ผลติ (Waste Reduction in WIPC1 0.54 0.70 - 0.30
Production Cost)
WIPC2 0.94 0.12 6.70 0.88

WIPC3 0.59 0.65 8.12 0.35

WIPC4 0.43 0.81 6.42 0.19

WIPC5 0.88 0.23 6.22 0.77

WIPC6 0.90 0.19 5.74 0.81

จากตารางท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ความตรงเชงิ โครงสรา้ งของโมเดลวัดตัวแปรการกาจัดความสูญเสยี ซ่งึ
เป็นตัวแปรแฝงลาดับที่สอง และมีองค์ประกอบย่อยเป็นตัวแปรแฝงลาดับที่หนึ่ง จานวน 4 องค์ประกอบ
เรียงลาดับตามค่าน้าหนักจากมากไปหาน้อย คือ 1) การกาจัดความสูญเสียในการขนส่ง 2) การกาจัดความ
สูญเสียในการรอคอย 3) การกาจัดความสูญเสียในของเสีย และ 4) การกาจัดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต
ตามลาดบั ดังน้ี

องค์ประกอบด้านการกาจัดความสูญเสียในการขนส่ง มีข้อคาถามท้ังหมด 9 ข้อ มีค่าน้าหนัก
องค์ประกอบ (Factor Loading) ระหว่าง 0.57-0.84 ซึง่ มากกวา่ เกณฑ์ 0.40 และมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ุกข้อ มี
ค่าเฉลี่ยของความแปรปรวนท่ีสกัดได้ (Average Variance Extracted: AVE) เท่ากับ 0.53 ผ่านเกณฑ์ 0.50
และค่าความเที่ยงเชิงโครงสร้าง (Composite Reliability: CR) เท่ากับ 0.91 ผ่านเกณฑ์ 0.60 (Hair et al.,
2014) รายการข้อคาถามที่มีความสาคญั ทส่ี ดุ 3 ขอ้ คอื WIL8 WIL3 และ WIL4

องค์ประกอบด้านการกาจัดความสูญเสียในการรอคอย มีข้อคาถามท้ังหมด 5 ข้อ มีค่าน้าหนัก
องค์ประกอบระหว่าง 0.44-0.62 และมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ กุ ข้อ มคี ่า AVE เทา่ กบั 0.52 และ CR เท่ากับ 0.84
ผา่ นเกณฑท์ ง้ั หมด รายการข้อคาถามทม่ี ีความสาคัญท่สี ุด 2 ข้อ คอื WIW2 และ WIW5

องค์ประกอบด้านการกาจัดความสูญเสียในของเสีย มีข้อคาถามทั้งหมด 14 ข้อ มีค่าน้าหนัก
องค์ประกอบระหว่าง 0.60-0.89 และมีนัยสาคัญทางสถิติทุกข้อ มีค่า AVE เท่ากับ 0.64 และค่า CR เท่ากับ
0.96 ผ่านเกณฑ์ทง้ั หมด รายการขอ้ คาถามทีม่ คี วามสาคัญทีส่ ุด 3 ข้อ คอื RIW4 RIW3 และ RIW5
องค์ประกอบด้านการกาจัดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต มีข้อคาถามทง้ั หมด 6 ขอ้ มีคา่ นา้ หนักองค์ประกอบ
ระหว่าง 0.43-0.94 และมีนัยสาคัญทางสถิติทุกข้อ มีค่า AVE เท่ากับ 0.55 และค่า CR เท่ากับ 0.87 ผ่าน
เกณฑ์ท้ังหมด รายการข้อคาถามทมี่ คี วามสาคญั ท่สี ดุ 3 ขอ้ คอื WIPC2 WIPC6 และ WIPC5

219 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

5. สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ และอภปิ รายผล
ผลการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชิงยนื ยันลาดบั ท่สี องของโมเดลวัดการกาจัดความสูญเสียของผู้

ให้บริการขนส่งพสั ดดุ ่วนในประเทศไทย บริษทั น่มิ เอก็ ซ์เพรส จากัด โดยสรุปพบว่า องค์ประกอบยอ่ ย จานวน
4 ด้าน เรียงลาดับความสาคัญจากมากไปหาน้อยตามลาดับ คือ ด้านการกาจัดความสูญเสียในการขนส่ง มี
ความสาคัญมากเป็นลาดับที่ 1 รองลงมา ด้านการกาจัดความสูญเสียในการรอคอย และด้านการกาจัดความ
สูญเสียในของเสีย ส่วนด้านท่ีมีความสาคัญน้อยที่สุด คือ ด้านการกาจัดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต
สอดคล้องกับงานวิจัยของ สมพล ทุ่งหว้า (2564) ศึกษาคุณภาพการบริการและการกาจัดความสูญเสียท่ีมี
อิทธิพลต่อวิถีใหม่ที่ก่อให้เกิดความสาเร็จของผู้ให้บริการขนส่งพัสดุด่วนแก่ผู้ประกอบการธุรกิจอีคอมเมิร์ซใน
ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารของผู้ให้บริการขนส่งพัสดุด่วนภาครัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน ผล
การศึกษาพบว่า องค์ประกอบย่อยที่สามารถอธิบายความแปรปรวนของการกาจัดความสูญเสียมี 4
องค์ประกอบ เรยี งลาดับตามความสามารถในการอธิบายความแปรปรวนจากมากไปน้อย ไดแ้ ก่ ด้านการกาจัด
ความสูญเสียในของเสีย ด้านการกาจัดความสูญเสียในการขนส่ง ด้านการกาจัดความสูญเสียในการรอคอย
และด้านการกาจัดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต โดยลาดับขององค์ประกอบย่อยมีความแตกต่างกัน อาจ
เน่ืองมาจากความแตกต่างกันของกลุ่มตัวอย่าง โดยงานวิจัยของสมพล ทุ่งหว้า (2564) ศึกษาทั้งองค์การ
รฐั วสิ าหกิจและเอกชน ในขณะที่การวิจัยในครั้งนี้ศึกษาเฉพาะองค์การภาคเอกชน

5.2 ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย
จากผลการวิจัยที่พบว่า องค์ประกอบย่อย 4 ด้านของการกาจัดความสูญเสียของบริษัท น่ิม

เอ็กซเ์ พรส จากดั มีคา่ นา้ หนักเรยี งลาดบั จากมากไปหาน้อย คือ การกาจัดความสญู เสียในการขนสง่ การกาจัด
ความสูญเสียในการรอคอย การกาจัดความสูญเสียในของเสีย และการกาจัดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต
งานวจิ ยั มขี อ้ เสนอแนะด้านนโยบายในการเพมิ่ ประสิทธิภาพงานของบริษัท ดงั นี้

1. จากผลการวิจัยทีพ่ บว่า องค์ประกอบย่อยด้านการกาจดั ความสญู เสียในการขนส่ง มคี า่ นา้ หนัก
มากเป็นลาดับที่ 1 โดยประเด็น บริษัทใช้หลักบัญชีวัสดุเข้าก่อนออกก่อนในการเบิกจ่ายวสั ดุ มีค่าน้าหนักมาก
ที่สุด รองลงมา บริษัทมีการกาหนดจุดสั่งซื้อเมื่อวัสดุคงเหลือถึงระดับที่กาหนด และบริษัทควบคุมต้นทุนค่า
ขนส่งแต่ละเส้นทางโดยเปรียบเทียบกับต้นทุนมาตรฐาน แสดงให้เห็นว่า บริษัทให้ความสาคัญกับการมี
มาตรฐาน การมีคู่มือในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตามมาตรฐานและคู่มือท่ีใช้ในการปฏิบัติงานในด้าน
ต่าง ๆ เพ่ือกาจัดความสูญเสียในการขนส่ง ดังนั้น บริษัทจึงควรมีนโยบายส่งเสริมด้วยการปรับปรุง
ประสิทธิภาพให้สูงขึ้น โดยให้มีกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและคู่มือท่ีกาหนดและ
จดั ทาไว้อยา่ งเป็นระบบ โดยอาจจัดทาเปน็ ปฏทิ ินของกระบวนการประเมนิ ผล เพ่ือเพ่มิ การรับรใู้ นกระบวนการ
ดาเนินงาน รวมถึงมีการใช้กระบวนการประเมินผล และการพัฒนาเพื่อให้มาตรฐานและคู่มือที่ใช้งานมีความ
ทนั สมัยและมีประสทิ ธิภาพในระดับสูงอยตู่ ลอดเวลา

2. จากผลการวิจัยท่ีพบว่า องค์ประกอบย่อยด้านการกาจัดความสูญเสียในการรอคอย มีค่า
น้าหนักมากเป็นลาดับที่ 2 โดยประเด็น บริษัทให้บริการติดตามพัสดุผ่านแอพพลิเคช่ันตลอด 24 ช่ัวโมง มีค่า
น้าหนักมากที่สุด รองลงมา บริษัทใช้คลังข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการจัดการระบบขนส่ง แสดงให้เห็น
ว่า บริษัทให้ความสาคัญกับการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก่ลูกค้าและ
กระบวนการขนส่งพัสดุ นอกจากนี้บริษัทยังสร้างเทคโนโลยีในการให้บริการด้วยตนเอง มีส่วนงานพัฒนา
เทคโนโลยีเป็นของตนเอง ซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญประการหนึ่งในการตอบสนองความต้องการของลกู ค้าใน

220 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ปัจจุบัน ดังน้ัน บริษัทจึงควรศึกษาความต้องการของลูกค้าเกี่ยวกับความต้องการใช้เทคโนโลยีด้านการขนส่ง
และตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ ให้ทันทว่ งที

3. จากผลการวิจัยท่ีพบว่า องค์ประกอบย่อยด้านการกาจัดความสูญเสียในของเสีย มีค่าน้าหนัก
มากเป็นลาดับท่ี 3 แต่ค่าน้าหนักยังคงอยู่ในเกณฑ์สูงในระดับเดียวกับองค์ประกอบย่อยสองลาดับแรก จึงเป็น
องค์ประกอบย่อยที่มีความสาคัญ โดยประเด็นที่มีค่าน้าหนักมากที่สุด คือ บริษัทมีการจัดทาประกาศ
ข้อกาหนด/เง่ือนไขในการหุ้มห่อเพ่ือป้องกันความเสียหายของพัสดุ รองลงมา บริษัทมีบริการรับประกันพัสดุ
ตามมูลค่าของสินค้าสูงสุดไม่เกินช้ินละ 50,000 บาท แสดงให้เห็นว่า บริษัทให้ความสาคัญกับการมีมาตรการ
ในการป้องกันความสูญเสียในของเสีย ซ่ึงได้แก่ การสูญหาย และการเสียหายของพัสดุ ซ่ึงเป็นความต้องการ
พื้นฐานของลูกค้าในการใช้บริการขนส่งพัสดุด่วน ดังนั้นบริษัทจึงควรส่งเสริมให้ทีมงานฝ่ายการตลาดและฝา่ ย
บรกิ ารศกึ ษาความต้องการของลูกคา้ เกี่ยวกบั การใช้วสั ดหุ ุ้มห่อพสั ดุ เพ่ือใหค้ าแนะนาในการใชบ้ ริการ และเพื่อ
ปรับปรุงรูปแบบของวัสดุหุ้มห่อ กล่อง และซองสาเร็จรูปที่สามารถอานวยความสะดวกในการใช้บริการให้แก่
ลูกค้าได้อย่างกว้างขวาง นอกจากน้ีบริษัทควรมีนโยบายส่งเสริมให้บริษัทมีส่วนงานที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะ
ด้านในการออกแบบและจัดทาวัสดุหุ้มห่อเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้ารายใหญ่เฉพาะราย เพ่ือ
อานวยความสะดวก ลดตน้ ทุนคา่ ขนส่ง และสร้างความภักดใี นการใชบ้ ริการ

5.3 ข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจัยในครัง้ ต่อไป
1. จากผลการศึกษาพบว่า ลาดับขององค์ประกอบย่อยของการจากัดความสูญเสียมีการ

เปล่ียนแปลงเม่ือเปล่ียนกลุ่มตัวอย่าง จึงควรนาโมเดลการกาจัดความสูญเสียไปศึกษาในกลุ่มตัวอย่างต่าง ๆ
ไดแ้ ก่ บริษัท ไปรษณยี ์ ไทย จากดั ซ่งึ เปน็ รฐั วิสาหกิจ หรอื บรษิ ทั ขนส่งพัสดดุ ่วนภาคเอกชนท่ีมีขนาดใหญ่ เพ่ือ
ศึกษาคา่ น้าหนกั ขององคป์ ระกอบย่อยของการกาจัดความสญู เสยี ต่อไป

2. ควรมกี ารศกึ ษาต่อยอดเก่ียวกับประสิทธิภาพด้านคุณภาพการบรกิ ารของบริษัท นม่ิ เอกซ์
เพรส จากดั ซ่ึงเป็นบริษัทขนส่งพสั ดดุ ว่ นของคนไทยซงึ่ ทม่ี ีความสามารถในการแข่งขนั ระดับประเทศ

เอกสารอ้างองิ

ผู้จดั การสดุ สปั ดาห.์ (2564). สมรภมู ิ “ธรุ กิจขนส่งพัสดุ” เดอื ด “โควดิ -อีคอมเมริ ์ซ” ดนั ตลาดโตก้าว
กระโดด. [ออนไลน]์ . สืบคน้ เมื่อ 7 สงิ หาคม 2564 จาก https://mgronline.com/daily/
detail/9640000077313

มาร์เกต็ ต้.ี (2564). ตลาดขนสง่ พัสดเุ ติบโต แต่ละแบรนด์ต้องปรบั กลยุทธ์สปีดหนคี ู่แข่งทั้ง ‘ราคา-
ความเร็ว’. [ออนไลน์]. สืบค้นเมอื่ 7 สงิ หาคม 2564 จาก https://marketeeronline.co/archives/
222852

มิตหิ ุ้น. (2564). นิม่ เอก็ ซเ์ พรส เผยผลการดาเนนิ ธุรกิจในปี 2563 ปิดยอดขายอยทู่ ี่ 1,160 ล้านบาท
เติบโตเพมิ่ ข้ึน 23%. [ออนไลน์]. สืบคน้ เมอ่ื 7 สิงหาคม 2564 จาก https://www.mitihoon.com/
2021/01/28/219094/

สมพล ทุง่ หวา้ . (2564). รายงานวิจัยเร่ือง คณุ ภาพการบริการและการกาจัดความสญู เสยี ท่ีมอี ิทธพิ ลต่อวถิ ี
ใหมท่ ก่ี ่อใหเ้ กิดความสาเร็จของผู้ให้บริการขนส่งพัสดดุ ่วนแกผ่ ปู้ ระกอบการธุรกจิ อีคอมเมริ ์ซใน
ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: สถาบนั วิจยั และพฒั นา, มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.

สชุ าติ ประสทิ ธ์ริ ฐั สนิ ธุ์. (2555). ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ (พมิ พค์ รั้งท่ี 15). กรุงเทพฯ: สามลดา.

221 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

สภุ มาส องั ศโุ ชติ, สมถวิล วจิ ติ รวรรณา, และรชั นกี ูล ภญิ โญภานวุ ัตน.์ (2557). สถติ ิวิเคราะห์สาหรับการวิจัย
ทางสังคมศาสตรแ์ ละพฤตกิ รรมศาสตร:์ เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL (พิมพค์ รัง้ ที่ 4).
กรงุ เทพฯ: เจรญิ ดมี ัน่ คงการพิมพ์.

เอสซีบี เอสเอ็มอี. (2561). สรา้ งหุน่ สวยใหธ้ รุ กจิ กับเทคนิค “ลีนโลจสิ ตกิ ส์”. [ออนไลน์]. สืบคน้ เม่ือ
20 ธนั วาคม 2563, จาก https://scbsme.scb.co.th/sme-inspiration-detail/leanlogistics

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2014). Multivariate data analysis
(7th ed.). Essex, UK: Pearson Education.

Hinkle, D. E., William, W., & Stephen, G. J. (1998). Applied statistics for the behavior
sciences (4th ed.). NY: Houghton Mifflin.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the
assessment of criterion referenced test item validity. DutchJournal of Educational
Research, 2, 49-60.

.

222 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เงอ่ื นไขความสาเร็จในการดาเนนิ งานวสิ าหกิจเพ่อื สังคม ของวิสาหกจิ ชมุ ชน
ในจงั หวดั สุพรรณบรุ ี

Conditions for the Success of the Social Enterprise Operation
of Community in Suphanburi Province.

วนสั รา จนั ทร์กมล* นพพร จันทรนาชู1 และทิพย์วรรณ สุขใจรุ่งวัฒนา2
(Wanassara Chankamon, Nopporn Chantaranamchu and Thipawan Sukjairungwattana)

บทคดั ย่อ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการดาเนินงานวิสาหกิจเพ่ือสังคมของวิสาหกิจ
ชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี 2) ศึกษาเงื่อนไขความสาเร็จในการดาเนินงานวิสาหกิจเพื่อสังคมของวิสาหกิจ
ชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นการวิจัยท่ีใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ ประธานกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน สมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ทุ่งทองย่ังยืน และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเรือนไทย
บ้านบางแม่หม้ายโฮมสเตย์ รวมถึงเจ้าหน้าที่รัฐจากสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี และ
เจา้ หนา้ ทจี่ ากบริษัทประชารฐั รักสามคั คีจังหวัดสุพรรณบรุ ี ได้ผู้ใหข้ ้อมูลหลักทั้งหมด 10 ทา่ น เคร่อื งมือที่ใช้ใน
การวจิ ัยเปน็ แบบสัมภาษณ์แบบก่ึงโครงสร้าง และใช้การวเิ คราะหเ์ อกสาร การวิเคราะห์ขอ้ มลู เชิงคุณภาพ โดย
การสร้างทฤษฎี ฐานรากและการวิเคราะห์เนอ้ื หา

ผลการวิจัยพบว่า 1. การดาเนินงานวิสาหกิจเพ่ือสังคมของวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี มี
กระบวนการ คือ 1) การสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อเป้าหมายทางสังคม โดยอาศัยต้นทุนในชุมชนมาสร้างเป็น
ผลิตภัณฑ์และบริการ 2) การสร้างความมั่นคงทางการเงิน โดยการจัดตั้งกองทุน เพื่อเป็นเงินทุนสารองในการ
บริหารจัดการกลุ่ม 3) การดาเนินกิจการอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการดาเนินการทุกขั้นตอนของกลุ่ม
คานึงถึงเรื่องส่ิงแวดล้อม 4) การคืนผลตอบแทนสู่ชุมชนและสังคม โดยการใช้แรงงานของสมาชิกและ
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม 5) การสร้างความรู้จากชุมชน โดยผ่านรูปแบบของการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ผ่านกิจกรรม
2. เง่ือนไขความสาเร็จในการดาเนินงานวิสาหกิจเพ่ือสังคมของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี
ประกอบด้วย 1) การมีภาวะผู้นาของผูป้ ระกอบการ โดยการวางแผนบรหิ ารจัดการเพ่ือนากลุ่มไปสเู่ ปา้ หมายท่ี
วางไว้ได้ 2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความคิดสร้างสรรค์ โดยการสร้างความแตกต่างและหลากหลายให้กับ
ผู้บริโภค 3) การบริหารจัดการที่ดี โดยการดาเนินการตามแบบแผนที่วางไว้ได้อย่างโปร่งใส และสามารถ
ตรวจสอบได้

*คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม 73000
Faculty of Education Silpakorn University Sanamchandra Palaces Campus, Nakhon Pathom 73000
1-2อาจารย์สาขาพัฒนศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ นครปฐม 73000
Lecturer in Development Studies Faculty of Education Silpakorn University Sanamchandra Palaces Campus,
Nakhon Pathom 73000

Corresponding author : [email protected]

223 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

4) การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น โดยที่คนในชุมชนสนับสนุนและให้ความร่วมมือกับการดาเนินการหรือ
กิจกรรมของกลุ่ม 5) การร่วมมือจากเครือข่าย โดยการให้คาแนะนา ให้ความรู้ รวมถึงเงินทุนสาหรับดาเนิน
กิจการ 6) ผลสาเร็จจากการประกอบกิจการ โดยการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนได้ และกลุ่มมีความมั่นคง
งานวิจัยน้ีมีข้อเสนอแนะว่า ควรมีนโยบายมาสนับสนุน ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ
จากหน่วยงานต่าง ๆ ให้เป็นที่สนใจของผู้บริโภคจะช่วยแก้ปัญหาเร่ืองรายได้ของคนในชุมชน และสามารถ
นาไปสู่การกอ่ ตง้ั กลุ่มวิสาหกจิ เพ่อื สงั คมในชุมชน

คาสาคัญ : วิสาหกจิ เพอื่ สงั คม วิสาหกจิ ชมุ ชน เงอ่ื นไขความสาเรจ็

ABSTRACT

This research purpose for 1) study the social enterprise operation process of
community enterprises in Suphanburi province. 2) study the success conditions in social
enterprise operation of community enterprises in Suphanburi province. This research uses a
qualitative research methodology. The main informants are : chairman and members of Ka
Sed In See Thung Thong Yung Yuen and Ruen Thai Ban Bang Mae Mai Homestay the
community enterprise group. Including government officials from Suphanburi provincial
agriculture and cooperatives office and officials from Pra Cha Rat Rak Sa Mak Kee company,
Suphanburi province. A total of 10 keys contributors. The research instrument was a semi-
structured interview and use document analysis qualitative data analysis by creating
foundation theory and content analysis.

The results of the research were as follows: 1. Operation of social enterprises of
community enterprises in Suphanburi province has the following processes: 1) Creating
products for social goals by relying on costs in the community to create products and services.
2) To build financial stability by establishing a fund as reserve funds for group management.
3) Environmentally friendly operations by working in every step of the group, taking into
account the environment. 4) Returning returns to community and society by using labor of
members and products of the group. 5) Building knowledge from the community, through the
form of transmission from generation to generation through activities. 2. The conditions for
the success of social enterprise operations of community enterprises in Suphanburi province
consist of 1) Entrepreneurial leadership by planning and managing to lead the group to the
goals that are set. 2) Product development to be creative by creating differentiation and
diversity for consumers. 3) good management by operating according to the plan with
transparency. 4) The participation of local communities, where people in the community
support and cooperate with group actions or activities. 5) Cooperation from the network by
providing advice, knowledge, including capital for business operations. 6) Success from
business operations by solving problems that arise in the community and the group is stable.
This research suggests that should have a policy to support promote creativity of products or

224 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

services from agency to be of interest to consumers, which help solve the income problem
of the people in the community. This process leads to the formation of a social enterprise
group in the community.

Keyword: Social Enterprise, Community Enterprise, Condition for Success

Article history: Revised 28 December 2021
SIMILARITY INDEX = 2.53 %
Received 4 October 2021
Accepted 9 January 2022

1. บทนา

วิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) เป็นแนวคิดใหม่ในการดาเนินธุรกิจ โดยมีเป้าหมายในการ
ก่อตั้งเพื่อแก้ไขปัญหาเก่ียวกับชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการทาธุรกิจท่ีมิได้มุ่งผลกาไรเป็นเป็นสิ่ง
สาคัญท่ีสุด แต่เป็นกิจการที่แสวงหากาไรโดยมีเป้าหมายทางสังคมเป็นหลัก และจากแนวคิด Triple Bottom
Line ท่ีกลา่ วถงึ การดาเนินงานของวิสาหกจิ เพื่อสงั คม โดยมงุ่ เน้นเปา้ หมายทางสงั คม สิ่งแวดล้อม และการเงิน
ไป พร้อม ๆ กัน (Elkington, 1997) พัฒนาการของธุรกิจรูปแบบวิสาหกิจเพื่อสังคม เริ่มต้นมาจากแนวคิด
การรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (Corporate Social Responsibility : CSR) ซึ่งเป็นการทาประโยชน์คืน
กลับสู่องค์กรธุรกิจ แล้วจึงพัฒนามาเป็นธรุ กิจแบบวสิ าหกิจเพ่ือสังคม ปัจจุบันรัฐบาลไทยเริ่มให้ความสนใจกบั
การกากับดูแลวิสาหกิจเพื่อสังคมมากขึ้น นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา โดยมีการจัดตั้งสานักงานส่งเสริม
วิสาหกจิ เพอื่ สงั คม (สกส.) ข้นึ เพือ่ สนบั สนนุ การจัดตั้งวสิ าหกจิ เพื่อสังคมในประเทศไทย และมีความสาคัญต่อ
การพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากและการช่วยเหลอื สงั คมอย่างมาก (ประพิน นุชเปย่ี ม ติญทรรศน์ ประทีปพรณรงค์
และบงกช เจนจรัสสกุล, 2561) ซึ่งการเข้ามาพัฒนาสังคม ควรได้รับความร่วมมือจากสมาชิกในชุมชนในการ
แก้ไขปญั หาทเี่ กิดขึ้นในสังคมดว้ ย (Emerson, 2003) นอกจากนแ้ี ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั
ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ท่ีมีแผนงานท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชน
ผ่านเครือข่ายวิสาหกิจเพื่อสังคม/วิสาหกิจชุมชน ซึ่งสามารถนาไปสู่การสร้างศักยภาพให้กับชุมชน เพ่ือ
สนับสนุนการประกอบธุรกิจแบบวิสาหกิจเพื่อสังคม (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ, 2560) โดยจะสามารถพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการแก้ปัญหาสงั คมและสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นใน
ชมุ ชนได้ วสิ าหกจิ เพื่อสังคมจึงเป็นกิจการท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม คอื ช่วยสรา้ งงาน สร้างรายได้
และทาให้คนในชุมชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เป็นทางเลือกอีกทางหน่ึงในการดาเนินการเพ่ือพัฒนาสังคมที่
สามารถเป็นเครือ่ งมอื ในการแกป้ ญั หาที่เกดิ ขึน้ ในชุมชนหรือสงั คมต่อไปได้

ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาการดาเนินการและเงื่อนไขความสาเร็จของวิสาหกิจเพ่ือสังคมที่ประสบ
ความสาเร็จ เพ่ือท่ีจะนาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาไปใช้ในการแก้ไข พัฒนาการสร้างวิสาหกิจเพ่ือสังคมโดย
พัฒนามาจากการเป็นวิสาหกิจชุมชนของชุมชนต่าง ๆ ต่อไปโดยเลือกจังหวัดสุพรรณบุรีเป็นพื้นที่ในการศกึ ษา
เนื่องจากเป็นพื้นท่ีท่ีมีการร่วมมือการทางานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ซ่ึงประสบความสาเร็จในการ
ดาเนินกิจการรวมถึงสามารถแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับคนในชุมชนได้ สามารถเป็นต้นแบบในการดาเนินกิจการ
ให้กบั พ้นื ท่ีตา่ ง ๆ ท่มี บี ริบทคลา้ ยคลึงกัน เพือ่ พฒั นาวิสาหกจิ เพอื่ สังคมตามชมุ ชนต่าง ๆ ตอ่ ไป

225 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
1. เพ่อื ศึกษากระบวนการดาเนินงานวิสาหกิจเพ่ือสังคมของวสิ าหกจิ ชุมชนในจังหวดั สพุ รรณบุรี
2. เพ่ือศึกษาเงอ่ื นไขความสาเร็จในการดาเนินงานวิสาหกิจเพือ่ สงั คมของวิสาหกจิ ชุมชนในจงั หวดั

สุพรรณบุรี

2. เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง

การศึกษาเง่ือนไขความสาเร็จของวิสาหกิจชุมชนในรูปแบบวิสาหกิจเพ่ือสังคมในจังหวัดสุพรรณบุรี
ผู้วจิ ัยได้ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง ดังน้ี

2.1 แนวคิดเกย่ี วกบั วิสาหกจิ เพ่อื สังคม
สานักงานสร้างเสริมวิสาหกิจเพ่ือสังคมแห่งชาติ (2557) ได้ให้นิยามของวิสาหกิจเพ่ือสังคม

(Social Enterprise) ว่าเป็น ธุรกิจหรือองค์กรที่ต้ังขึ้นมาเพ่ือแก้ไขปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยมีรายได้
หลักมาจากการค้าหรอื การใหบ้ รกิ าร เพอ่ื สรา้ งการพึง่ พาตนเองได้ทางการเงนิ และนาผลกาไรท่เี กดิ ขนึ้ ไปลงทุน
ซ้าเพ่อื บรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ างสังคมที่ตั้งไว้

ศักด์ิดา ศิริภัทรโสภณ (2558) กล่าวว่า วิสาหกิจเพื่อสังคมเป็นกิจการท่ีต้ังขึ้นโดยมี
วัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือสังคมหรือสิ่งแวดล้อมโดยเป็นกิจการท่ีดาเนินการในรูปแบบธุรกิจที่ไม่แสวงหา
กาไรสูงสุด แต่เป็นการแสวงหากาไรอย่างยุติธรรม ผลประโยชน์ที่วิสาหกิจเพื่อสังคมให้แก่สังคมและ
สิ่งแวดล้อม อาจเกิดจากกิจกรรมต่างๆท่ีวิสาหกิจเพ่ือสังคมดาเนินการ หรือเกิดจากวิสาหกิจเพ่ือสังคมนากาไร
ท่ีได้มาช่วยเหลอื สังคมโดยมกี าไรบางสว่ นหรือท้ังหมดกลบั คนื ส่ผู ถู้ ือหุ้น

นพพร จันทรนาชู (2563) กล่าวว่า วิสาหกิจเพ่ือสังคม หมายถึง กิจการท่ีมีการดาเนินการ
โดยมีเป้าหมายทางเศรษฐกิจ สังคม และใช้ผลประกอบการเป็นสิ่งสะท้อนความมั่นคงทางการเงินและความ
ย่งั ยนื ของกิจการ

สรุปได้ว่าความหมายของวิสาหกิจเพ่ือสังคม (Social Enterprise) ว่า เป็นองค์กรท่ีมี
เป้าหมายในการจัดตั้งเพื่อแก้ไขปัญหาท่ีเกี่ยวกับชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม ผ่านกิจกรรมที่วิสาหกิจเพ่ือ
สังคมเลอื กดาเนินธุรกิจ โดยมไิ ด้มุ่งหวังผลตอบแทนเป็นกาไรสูงสดุ และกาไรท่ีได้จากการประกอบกิจการจะไม่
คืนต่อผู้ถือหุ้นท้ังหมด แต่จะนากาไรที่ได้ไปสู่การแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม เสมือนเป็นการทาธุรกิจควบคไู่ ป
กับการแก้ไขปัญหาสังคม ซึ่งรายได้หลักของกิจการจะต้องมาจากกิจกรรมทีว่ ิสาหกิจเพ่ือสังคมดาเนินการ และ
ตอ้ งมคี วามย่งั ยืนทางการเงิน

2.2 การดาเนนิ การของวิสาหกจิ เพอ่ื สงั คม ประกอบดว้ ย
2.2.1. การสรา้ งผลิตภัณฑ์เพื่อเป้าหมายทางสังคม เป็นการดาเนนิ กจิ การในรปู แบบของการผลิต

สินค้าหรือบริการโดยใช้วัตถุดิบที่ผลิตจากชุมชน เป็นการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนใน
ชุมชนได้ (พชั รี ฉลาดธัญกิจ, 2558)

2.2.2. การสร้างความม่ันคงทางการเงิน โดยการดาเนินกิจการสามารถสร้างรายได้จากการ
จาหน่ายสินค้าและบริการ และนากาไรไปลงทุนเพ่ือต่อยอดให้กิจการเติบโตอย่างม่ันคงได้ (นงลักษณ์ ทองศรี,
2559 ; ปรานี ตปนยี วรวงศ,์ 2560)

2.2.3. การดาเนินกิจการอย่างเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การดาเนินกิจการในทุกขั้นตอนมีการ
คานึงถึงเร่ืองส่ิงแวดล้อม ต้ังแต่กระบวนการผลิตถึงการวางจาหน่ายผลิตภัณฑ์ (วรรณิดา สารีคา และจันทิมา
พรหมเกษ, 2562 ; อนุชา มว่ งใหญ,่ 2559)

226 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

2.2.4. การคืนผลตอบแทนสูช่ มุ ชนและสงั คม เปน็ การนากาไรที่ได้จากการผลิตสนิ ค้าหรือบริการ
ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนไปทาสาธารณประโยชน์เพ่ือพัฒนาชุมชนและสังคม (Brodziski and Clerk, 2012 ;
ณัฐภทั ร สนุ ทรมีเสถียร, 2552 )

2.2.5. การสร้างความรู้จากในชุมชน กระบวนการสร้างการเรียนรู้ เพ่ือเป็นการพัฒนาชุมชน
โดยอาศัยการถา่ ยทอดภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น นามาสร้างเปน็ ผลติ ภัณฑ์ของชุมชน โดยอาศยั ความร่วมมือจากคนใน
ชมุ ชนหรอื ผทู้ ่สี นใจในการร่วมกันคดิ วางแผน ถา่ ยทอด และรกั ษาความรู้ในชุมชน (วารุณี ชนิ วนิ ิจกุล, 2549 ;
กนกพร ฉมิ พลี, 2555)

2.3 เงอ่ื นไขความสาเร็จในการดาเนนิ การของวิสาหกจิ เพื่อสงั คม
2.3.1. การมีภาวะผู้นาของผู้ประกอบการ คือ การที่ผู้ประกอบการทางสังคมมีทักษะในการ

ผลักดันและขับเคล่ือนกจิ การ มคี วามมุง่ มนั่ ทีจ่ ะแกไ้ ขปญั หาและพัฒนาสังคมไปพร้อมกัน (ชมภนู ุท จั่นนุ้ย และ
พินิจ ลาภธนานนท,์ 2562)

2.3.2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความคิดสร้างสรรค์ คือ การใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อให้
ผลิตภัณฑ์มีความแตกต่าง แปลกใหม่ เป็นการกระตุ้นให้ผู้บริโภคหันมาสนใจในตัวสินค้าหรอื บริการเพ่ิมข้ึนได้
(ธงชยั พาบ,ุ 2552 ; สนั ตธิ ร ภรู ภิ กั ด,ี 2561)

2.3.3. การบริหารจดั การทด่ี ี โดยมีการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล การบรหิ ารจัดการที่
โปร่งใสตรวจสอบได้ รวมถึงมีการจัดทาข้อมูลในการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์
อักษร (วราภรณ์ ศรบี ญุ , 2552 ; ทชิ ากร เกสรบัว, 2556 ; สริ ิ ลภัสลดา ปันสาน, 2562)

2.3.4. การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถ่ิน คือ การที่สมาชิกในชุมชนให้ความร่วมมือในการดาเนิน
กิจกรรมมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน (Choi and Chang, 2017 ; วรัทยา ธรรมกิตติภพ,
พรี พงศ์ ทพิ นาค และวิทยา เบญ็ จาธิกุล, 2558 ; สิริ ลภัสลดา ปนั สาน, 2562)

2.3.5. การร่วมมือจากเครือข่าย การเขา้ ไปมบี ทบาทในการสนับสนุนวสิ าหกจิ เพอื่ สงั คมเก่ียวกับ
เงินทุนและบุคลากรของวิสาหกิจเพื่อสังคม โดยการให้คาแนะนา คาปรึกษา รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ
บรกิ ารตา่ ง ๆ ของชมุ ชน (Watson, 2007; พทิ ักษพ์ งศ์ กติ ติโสภณ, 2550)

2.3.6. ผลสาเร็จจากการประกอบกิจการ หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการประกอบกิจการ การ
ประกอบกิจการสามารถสร้างผลกาไรและมีความม่ันคงทางการเงิน ส่งผลให้ชุมชนมีการเปล่ียนแปลง รวมถึง
ได้รับการพัฒนา และสามารถแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนภายในชุมชนได้ (ธิเดช จันทราเดช, 2546 ; ศิรวิชญ์ สุ
ประดษิ ฐ,์ 2562)

กรอบแนวคดิ ในการทาวิจยั
จากการทบทวนวรรณกรรมและการศึกษางานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง ผู้วิจัยจึงไดก้ าหนดกรอบแนวคิดในการ

วจิ ัย ดังน้ี

227 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

เง่ือนไขความสาเร็จของวิสาหกิจเพอ่ื การดาเนนิ งานของวิสาหกจิ เพือ่ สงั คม
สังคม - การสรา้ งผลิตภัณฑเ์ พื่อเป้าหมายทางสงั คม
- การสร้างความม่ันคงทางการเงนิ
- การมภี าวะผ้นู าของผปู้ ระกอบการ - การดาเนนิ กจิ การอยา่ งเปน็ มติ รกบั
ส่งิ แวดลอ้ ม
- การพัฒนาผลติ ภัณฑ์ให้มีความคดิ - การคืนผลตอบแทนสชู่ ุมชนและสังคม
สร้างสรรค์ - การสรา้ งความรจู้ ากชุมชน

- การบรหิ ารจดั การท่ดี ี

- การมสี ่วนรว่ มของชุมชนท้องถนิ่

- การร่วมมือจากเครือข่าย

- ผลสาเร็จจากการประกอบกิจการ

แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

3. วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั

3.1 พ้นื ท่ใี นการศึกษา
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ทางานร่วมกับวิสาหกิจเพื่อสังคมในจังหวัดสุพรรณบุรี 2 แห่ง ด้านการเกษตร
คือวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ทุ่งทองยั่งยืน และด้านการท่องเท่ียวโดยชุมชน คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเรือน
ไทยบา้ นบางแม่หมา้ ยโฮมสเตย์
3.2 ผใู้ ห้ข้อมลู หลัก
ผู้ให้ข้อมลู หลกั จานวนทัง้ สน้ิ 10 ท่าน แบ่งออกเป็น
1. ผู้นากลุ่ม/ประธานกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี จะได้ผู้ให้ข้อมูล
ทัง้ หมด 8 ทา่ น
2. เจ้าหน้าท่ีของรัฐและนกั วิชาการท่ีเกี่ยวข้องจากบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจานวน 1 ท่าน และจาก
สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สพุ รรณบุรีจานวน 1 ท่าน
3.3 เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ยั

3.3.1. การสมั ภาษณ์เชิงลกึ (in – depth interview)
3.3.2. การวเิ คราะหเ์ อกสาร (documentary analysis)
3.4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู
3.4.1. ผู้วิจัยนาข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกมาวิเคราะหเ์ นื้อหา (Content analysis) โดย
นาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผ้ใู หข้ ้อมลู หลกั แตล่ ะคนมาวิเคราะห์เป็นระยะ ๆ
3.4.2. แบ่งข้อมูลท่ีได้จัดเป็นหมวดหมู่ (Open coding) โดยอาศัยกรอบแนวคิดและทฤษฎีท่ี
เกย่ี วข้องวิเคราะหข์ ้อมลู โดยสร้างเป็นมโนทศั น์ (Concept)
3.4.3. นาข้อมูลที่ได้จากการสังเคราะห์มาสร้างเป็นข้อเสนอ (Proposition) และข้อมูลสรุปเชิง
ทฤษฎี (Theoretical generalization) เพ่ือนาไปสู่การสร้างทฤษฎีฐานราก ที่เกิดจากปรากฏการณ์จริง
(Corbin and Strauss, 2008)

228 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

4. ผลการวจิ ัย

4.1 การดาเนินงานวิสาหกิจเพื่อสงั คมของวสิ าหกจิ ชุมชนในจังหวดั สุพรรณบรุ ี
การสรา้ งผลิตภณั ฑ์เพื่อเปา้ หมายทางสังคม กล่มุ วิสาหกิจชุมชนมีการนาทรพั ยากรของชุมชนมา

สร้างผลิตภัณฑ์ของกลุ่มท่ีสามารถแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชุมชนได้ โดยการสร้างงาน การสร้างรายได้ให้เกิด
ขนึ้ กับคนในชมุ ชน

การสร้างความมั่นคงทางการเงิน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้มีการจัดต้ังกองทุน เพื่อเป็นเงินทุน
สารอง โดยมาจากหักรายไดส้ ว่ นหนึ่งจากสมาชิกกลุ่มตามที่ได้ตกลงกันไว้ตามเง่ือนไขของกลุ่ม นอกจากน้ีการ
มีรายได้อย่างต่อเนื่องของสมาชิกกลุ่ม ทาให้กลุ่มวิสาหกิจสามารถดาเนินการได้เป็นระยะหลายปี และการมี
ช่องทางการจาหน่ายสินค้าท่ีแน่นอน มีตลาดรองรับผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ส่งผลต่อรายได้ของสมาชิกกลุ่มและ
ความมน่ั คงทางการเงนิ ของกลมุ่

การดาเนินกิจการอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้ความสาคัญด้าน
สง่ิ แวดลอ้ มอย่างมาก โดยการใชว้ ัสดุจากธรรมชาติมาดัดแปลงเปน็ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ วัสดุที่นามาทาบรรจุภัณฑ์
เน้นถึงการดูแลสิ่งแวดล้อม สามารถย่อยสลายง่าย รวมถึงกระบวนการในการผลิตจะใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด
เพ่ือเป็นการลดขยะ รวมถึงมีการตระหนักถึงปัญหาส่ิงแวดล้อมร่วมกันของกลุ่ม ทาให้มีการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมให้สอดคล้องกบั ความเปน็ มิตรต่อส่งิ แวดล้อม

การคืนผลตอบแทนสู่ชุมชนและสังคม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีการตอบแทนหรือพัฒนาชุมชนโดย
การช่วยเหลือแรงงานของสมาชิกกลุ่ม การนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเข้าไปช่วยเหลือ เม่ือชุมชนมีการจัดกิจกรรม
ซ่ึงการช่วยเหลือในรูปของตัวเงินได้น้ัน ก็จะเป็นไปตามกาลังของกลุ่ม แต่ก็สามารถมีส่วนในการเข้าไป
ช่วยเหลอื หรือพัฒนาชมุ ชนได้

การสร้างความรู้จากชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีกระบวนการสร้างความรู้ผ่านการถ่ายทอด
ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน และวัฒนธรรม จากร่นุ ส่รู ุ่นสบื ทอดต่อกันมา โดยมุ่งเนน้ ทก่ี ล่มุ เดก็ และเยาวชนคนร่นุ ใหม่ ให้
เข้ามามีส่วนรว่ มในการสร้างองค์ความรู้ของชุมชน ผ่านโรงเรยี นโดยบรรจุเข้าเป็นส่วนหน่ึงของหลกั สูตรในการ
เรียนการสอนให้กับโรงเรียนของชุมชน หรือศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนในพ้ืนท่ีผ่านการสาธิต เป็นฐานกิจกรรม
ของชมุ ชนให้กับผู้ทม่ี าศึกษาดงู านได้สัมผัส ไดม้ าเรียนรู้

4.2 เง่ือนไขความสาเร็จในการดาเนินงานวสิ าหกิจเพอื่ สงั คมของวิสาหกจิ ชุมชนจงั หวดั สุพรรณบุรี
การมีภาวะผู้นาของผู้ประกอบการ บทบาทของผู้นาของวิสาหกิจมีความชัดเจน และมีภาวะผู้นา

สูงในการจัดการดูแลกลุ่มของตน โดยสามารถนากลุ่มของตนไปสู่เป้าหมายท่ีวางไว้ได้ สามารถจัดการสมาชิก
ภายในกลุ่มให้อยู่ในกฎระเบียบได้ อีกทั้งต้องรู้จักเปิดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการจัดการกลุ่ม ร่วมแสดง
ความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ไม่ได้ยึดตัวผู้นาเป็นศูนย์กลางในทุกเรื่อง รู้จักให้เกียรติสมาชิกคน
อนื่ ๆ ในกล่มุ มคี วามใฝร่ ้แู ละสามารถถ่ายทอดความรนู้ ้ันแกผ่ ู้อ่ืนต่อไปได้ รู้จักวางแผนในการดาเนินการ และ
รับฟังความคดิ เห็นของผู้อ่ืน ภาวะผู้นาของผู้ประกอบการจึงเป็นเง่ือนไขหนึ่งที่สาคัญ ทส่ี ง่ ผลต่อการดาเนินการ
ของกล่มุ ได้

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีการนาความคิดสร้างสรรค์มา
ประยุกต์ใช้ จากการที่สมาชิกศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง โดยสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่าง และ
หลากหลาย เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้ และมีความต่างจากชุมชนอ่ืน ๆ แต่ก็ยังคงความ
เปน็ เอกลกั ษณ์ของชมุ ชนตนเองอยู่ ถือเป็นการสรา้ งจดุ เดน่ ให้กบั สนิ ค้าและบริการไดเ้ ชน่ กัน

229 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

การบริหารจัดการที่ดี กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีการบริหารจัดการที่ดี มีแบบแผน มีการวางแผนท่ีดี
ร่วมกันของกลุ่ม มีการจัดทาบัญชี ทาหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร ช่วยให้การตรวจสอบสามารถทาได้ง่าย
โดยให้สมาชิกท่ีมีความรู้ ความสามารถ และหน้าที่ของสมาชิกภายในกลุ่มตามความถนัด ตามความสามารถ
มอบหมายหน้าที่ภายในกลุ่มให้กับสมาชิกท่ีมีความเชี่ยวชาญในเร่ืองน้ัน ๆ ก็ทาให้การบริหารจัดการประสบ
ความสาเรจ็

การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของชุมชนในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอยู่ในรูปแบบของ
ผู้บริโภคท่ีช่วยสนับสนุนผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม คือ คนในชุมชนช่วยสนับสนุนผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม คนในชุมชนให้
ความร่วมมือในการต้อนรับนักท่องเท่ียว หรือผู้ที่เข้ามาศึกษาดูงานของกลุ่มเป็นอย่างดี แม้จะไม่ได้เข้ามาเป็น
สมาชิกของกลุ่ม แต่ก็ให้ความร่วมมือในฐานะสมาชิกของชุมชนด้วยดี ซ่ึงการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชนนี้
สามารถสง่ ผลให้คนในชมุ ชนมีชีวติ ความเปน็ อยทู่ ี่ดีขึ้นได้

การร่วมมือจากเครือข่าย กล่มุ วสิ าหกจิ ชุมชนได้รับความร่วมมือจากเครือข่าย ในรปู แบบของการให้
คาแนะนา การวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ การอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการบริหารจัดการกลุ่ม การให้
งบประมาณเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการเป็นครั้ง ๆ ตามปีงบประมาณ ตามนโยบายของหน่วยงาน รวมไป
ถึงการจัดหาเครือข่ายอ่ืน ๆ เพื่อรองรับผลิตภัณฑ์ท่ีมีความหลากหลายของกลุ่ม และเป็นตลาดที่รับซื้อ
ผลติ ภัณฑข์ องกล่มุ ด้วยเช่นกัน

ผลสาเร็จจากการประกอบกิจการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีการดาเนินการท่ียึดถือการพัฒนาเป็นแกน
หลักในการดาเนินการทุกกระบวนการจึงมีการคานึงถึงการพัฒนาชุมชนเข้าไปด้วย โดยผลสาเร็จจากการ
ประกอบกิจการนนั้ คอื การสามารถแก้ปญั หาท่เี กดิ ขึน้ ในชุมชนได้ สามารถสร้างรายได้ให้กับสมาชิกกลุ่ม กลมุ่
วิสาหกิจชุมชนสามารถดแู ลจัดการตนเองได้ มีความมนั่ คงทงั้ ตวั สมาชิกและตัวกลมุ่

5. สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ และอภิปรายผล
การดาเนินงานวสิ าหกจิ เพ่ือสังคมของวสิ าหกจิ ชุมชนในจังหวดั สุพรรณบรุ ี
การสร้างผลิตภัณฑ์เพ่ือเป้าหมายทางสังคม วิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีการนา

วัตถุดิบที่อยู่ในชุมชน หรือภูมิปัญญาของคนในชุมชนมาพัฒนาเป็นสินค้าและบริการต่าง ๆ โดยมุ่งหวังให้การ
ทาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการขาดรายได้ หรือการมีรายได้ท่ีไม่เพียงพอ ซ่ึงเป็น
ปัญหาที่พบเป็นส่วนใหญ่ในชุมชน สอดคล้องกับพัชรี ฉลาดธัญกิจ (2558) โดยการที่ชุมชนเห็นคุณค่าในสิ่งที่
ตนมี รู้จักนาทรัพยากรในชุมชนมาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อสร้างรายได้ จากงานวิจัยท่ีกล่าวมา
หากนาข้อมูลท่ีได้มาปรับใช้กับการดาเนินงานวิสาหกิจชุมชน โดยอาศัยทรัพยากรและภูมิปัญญาเป็นฐานใน
การสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ของชุมชนนั้น ก็สามารถแก้ปัญหาของการขาดรายได้ เป็นอีก
วิธหี นงึ่ ทจ่ี ะช่วยแกป้ ญั หาท่เี กิดขึน้ ในชุมชนหรือสงั คมได้

การสร้างความมั่นคงทางการเงิน การสร้างความม่ันคงทางการเงินของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนใน
จงั หวัดสุพรรณบุรี จะเป็นไปในลกั ษณะท่ีค่อยไปค่อยไป มีการวางแผนทางการเงิน และการวางแผนสาหรบั การ
ดาเนินงานของกลุ่มเพื่อให้กระทบกับปัญหาด้านการเงินน้อยท่ีสุด โดยหน่ึงกลยุทธ์ที่น่าสนใจสาหรับการสร้าง
ความม่ันคงทางการเงิน ก็คือมีการหักเปอร์เซ็นต์จากการเป็นสมาชิก หรือการจาหน่ายสินค้ากับทางกลุ่ม เพ่ือ
นามาเป็นกองทุนในส่วนกลางในการดาเนินงานต่าง ๆ หากกลุ่มมีปัญหาเรื่องการเงิน ก็จะมีเงินทุนในการ
จัดการปัญหา สอดคล้องกับปราณี ตปนียวรวงศ์ (2560) และนงลักษณ์ ทองศรี (2559) หากกลุ่มวิสาหกิจ
ชุมชนต้องการให้กิจการสามารถดาเนินการได้เป็นระยะเวลานาน ต้องมีการจัดการทางการเงินที่ดี ท่ีสามารถ

230 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

สร้างความม่ันคงทางการเงินได้ รวมถึงการจัดการผลิตภัณฑ์ให้สามารถตอบสนองความต้องการผู้บริโภคได้
สามารถเป็นที่ต้องการของตลาด และมีตลาดรองรับสินค้าและบริการของชุมชน ก็มีส่วนในการสร้างความ
มน่ั คงไดเ้ ชน่ กัน

การดาเนนิ กิจการอยา่ งเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม การดาเนนิ กิจการโดยคานงึ ถงึ ความเป็นมิตรกับ
ส่งิ แวดลอ้ ม ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของส่ิงแวดล้อม เป็นเร่อื งที่กลมุ่ วสิ าหกิจชุมชนให้ความสาคัญในระดับหนึ่ง
โดยมีการใช้วัสดุจากธรรมชาตินามาดัดแปลงให้เข้ากับผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม มีกระบวนการในการสร้างสรรค์
ผลิตภัณฑ์โดยคานึงถึงส่ิงแวดล้อม มีการสร้างผลิตภัณฑ์ของกลุ่มจากวัสดุธรรมชาติ สอดคล้องกับวรรณิดา
สารีคา และจันทิมา พรหมเกษ (2562) และอนุชา ม่วงใหญ่ (2559) ในเม่ือชุมชนเป็นผู้ที่มีความเก่ียวข้องกับ
ทรพั ยากรในชมุ ชนโดยตรง การดูแลหรอื รกั ษาจงึ ตอ้ งเปน็ สิ่งทค่ี นในชมุ ชนร่วมกนั ตระหนักและเห็นความสาคัญ
ในเรื่องส่ิงแวดล้อม การดาเนินกิจการของวิสาหกิจชุมชนจึงต้องคานึงถึงส่ิงแวดล้อมด้วยเช่นกัน ในทุก
กระบวนการตั้งแต่การผลิตไปจนถึงการวางจาหน่ายผลิตภัณฑ์ หากมีดาเนินการอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ไปดว้ ย จะส่งผลใหก้ ารดาเนินการมีความย่งั ยืนตอ่ ไปได้

การคืนผลตอบแทนสู่ชุมชนและสังคม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี จะมีการ
ช่วยเหลือชุมชนหรือสังคมตามความสามารถของกลุ่ม โดยรูปแบบของความช่วยเหลือจะเป็นไปทั้งในรูปแบบ
ของตัวเงิน สิ่งของ และแรงงาน ท่ีจะเข้าไปช่วยเหลือ สนับสนุนกิจกรรมหรือพัฒนาชุมชนของตนเองต่อไป
สอดคล้องกับ ณัฐภัทร สุนทรมีเสถียร (2552) และ Brodziski and Clerk (2012) โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนใน
จังหวัดสุพรรณบุรี จะเป็นในรูปแบบของการทากิจกรรมสาธารณประโยชน์ร่วมกับคนในชุมชน รวมถึงการเข้า
ไปสนับสนุน พัฒนาช่วยเหลือโรงเรียนหรือชุมชนในเรื่องต่าง ๆ ท่ียังต้องการความช่วยเหลืออยู่ และถือเป็นการ
ตอบแทนสงั คมอีกวิธหี น่ึง

การสรา้ งความรู้จากชุมชน ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินเป็นสิ่งที่มีการถา่ ยทอดจากรนุ่ สรู่ ุ่น ผ่านการสาธิต
การสอนให้กับโรงเรียนในชุมชน ให้กับผู้ที่เข้ามาศึกษาดูงานในชุมชน รวมถึงมีการแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ ๆ
จากการเรยี นรู้ของสมาชกิ ภายในกลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน ทไี่ ดเ้ ขา้ รบั การอบรมจากหนว่ ยงานต่าง ๆ นามาถา่ ยทอด
และแลกเปล่ียนให้กับสมาชิกกลุ่มคนอ่ืน ๆ สอดคล้องกับวารุณี ชินวินิจกุล (2549) และกนกพร ฉิมพลี
(2555) ภูมิปัญญาท้องถ่ินถือจึงเป็นอีกหน่ึงองค์ความรู้ที่เกิดข้ึนภายในชุมชน ที่ชุมชนสามารถนามาสร้าง
ประโยชน์ให้เกิดแกช่ ุมชนต่อไปได้

เง่ือนไขความสาเร็จในการดาเนินงานวิสาหกิจเพอ่ื สังคมของวสิ าหกจิ ชมุ ชนจังหวดั สุพรรณบุรี
การมีภาวะผู้นาของผู้ประกอบการ บทบาทของผู้นาในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี
จะเป็นจุดเร่ิมต้นที่เป็นผู้ริเร่ิมในการก่อตั้งกลุ่มข้ึนมา และเมื่อคนในชุมชนมองเห็นในเป้าหมายเดียวกัน ก็จะ
ร่วมตัวกันเป็นกลุ่มสมาชิก ก่อต้ังเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนขึ้นมา โดยผู้นากลุ่มจะมีบทบาทในการพัฒนา การ
จัดการ การตัดสินใจในเร่อื งต่าง ๆ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยอาศัยท้ังความรู้และประสบการณ์ของตนเอง
โดยตัวผู้นาของกลุ่มล้วนมีภาวะของการเป็นผู้นา จนเป็นท่ียอมรับของสมาชิกในกลุ่ม สอดคล้องกับชมภูนุท
จ่ันนุ้ย (2562) การมีภาวะผู้นาจึงถือเป็นหน่ึงในคุณลักษณะสาคัญของผู้นาที่ทุกคนพึงมี การเป็นผู้นาท่ีดี จึง
ต้องประกอบด้วยการมีภาวะผู้นา มีการบริหารจัดการที่ดี เพ่ือให้การดาเนินงานของกลุ่มเป็นไปตามทิศทางที่
จะไปสู่ความสาเรจ็ ได้
การพัฒนาผลติ ภณั ฑใ์ หม้ คี วามคดิ สร้างสรรค์ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินจะอย่ใู นรปู แบบของผลิตภัณฑ์
และบริการต่าง ๆ ในชุมชน ซ่ึงหากต้องการให้ผลิตภัณฑ์เป็นที่สนใจ จึงจาเป็นต้องมีความแปลกใหม่ และ
แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ท่ีมีอยู่ในท้องตลาด ความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งท่ีจะช่วยพัฒนาและสร้าง
มูลค่าเพ่ิมให้ผลิตภัณฑ์ได้ สอดคล้องกับธงชัย พาบุ (2552) และสันติธร ภูริภักดี (2561) การพัฒนา

231 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ผลิตภัณฑ์ให้มีความคิดสร้างสรรค์ จึงถือเป็นส่วนหนึ่งท่ีสามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าหรือบริการได้ ซ่ึง
การแนะนาจากเครือข่ายท่ีมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในการออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ หากมีการ
คานึงถึงความเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมด้วย ก็จะเป็นการแก้ปัญหาทางสังคมตามหลักการดาเนินการของ
วสิ าหกจิ เพ่ือสงั คม

การบริหารจัดการท่ีดี กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี มีการบริหารจัดการโดยได้มีการ
วางแผนในการดาเนินของกลุ่ม มีการปรึกษาหารือร่วมกันแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น มีการจัดทาเอกสารอย่างเป็น
ระบบ มีการบันทึกข้อมูลเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้สะดวกต่อการค้นหาและการตรวจสอบ สามารถชี้แจง
และตอบคาถามให้แก่สมาชิกภายในกลุ่มได้ นอกจากนี้ในเรื่องของหน้าที่ของสมาชิกกลุ่ม ได้มีการแบ่งหน้าท่ี
ของสมาชิกตามความสามารถและความถนัดของตนเอง สอดคล้องกับวราภรณ์ ศรีบุญ (2552) และทิชากร
เกสรบัว (2556) รวมถึงเกรียงไกร ทรัพย์แสนมาและสิริ ลภัสลดา ปันสาน (2562) การบริหารจัดการท่ีดี คือ
ต้องรู้จักบริหารทั้งคน ท่ีสอดคล้องกับความสามารถ และมีการจัดการทางการเงินท่ีถูกต้องโปร่งใส สามารถ
ตรวจสอบได้ มหี ลกั ฐานในการดาเนนิ งานแต่ละข้ันตอนชัดเจน ก็จะช่วยทาใหก้ ารดาเนนิ การของกลุม่ วสิ าหกิจ
ชุมชนมีความมัน่ คงทางการเงิน และสามารถดูแลจัดการกลุ่มของตนเองได้

การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถ่ิน บทบาทของชุมชนที่มีต่อกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จะเข้ามาใน
รปู แบบของผู้ผลิตและผบู้ ริโภคผลิตภณั ฑต์ ่าง ๆ ของกลุ่ม โดยในบทบาทผู้ผลติ นน้ั จะเปน็ ตวั สมาชิกกลุ่มท่ีล้วน
เปน็ คนในชุมชน เรม่ิ หนั มาสนใจในสง่ิ ท่ีกล่มุ วิสาหกิจดาเนินการอยู่ จึงเขา้ ร่วมเปน็ สมาชกิ สอดคลอ้ งกับวรัทยา
ธรรมกิตติภพ, พีรพงศ์ ทิพนาค และวิทยา เบ็ญจาธิกุล (2558) และ Choi and Cheung (2017) รวมถึงสิริ
ลภัสลดา ปันสาน (2562) จะเห็นได้ว่าการมีส่วนร่วมของชุมชนส่งผลให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสามารถเติบโต
ต่อไปได้เม่ือชุมชนให้ความช่วยเหลือกับทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ทางกลุ่มเองก็ต้องมีการตอบแทนชุมชนตาม
กาลังและความสามารถของกลุ่มด้วยเชน่ กัน ถอื เปน็ การพ่งึ พา ชว่ ยเหลือเก้อื กลู ซ่ึงกันและกันตอ่ ไป

การร่วมมือจากเครือข่าย เครือข่ายของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี จะมีทั้งในส่วน
ภาครัฐ และภาคเอกชน ท่ีเข้ามาช่วยเหลือ สนับสนุนในการดาเนินงานของกลุ่ม โดยความร่วมมือจาก
เครือขา่ ยของท้ังสองแห่ง ก็จะมีความแตกต่างกันตามบริบทของตนเอง แต่ล้วนมเี ปา้ หมายเดยี วกัน คือการเข้า
มาพัฒนากลุ่มวิสาหกิจให้ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีได้วางไว้ สอดคล้องกับ Watson (2007) และ
พิทักษ์พงศ์ กิตติโสภณ (2550) ความร่วมมือจากเครือข่าย จะมาในรูปแบบของการสนับสนุนและพัฒนากลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการเพ่ิมพูนความรู้ หรือการจัดสรรงบประมาณก็ตาม ล้วนเป็นปัจจัยท่ีสามารถ
ส่งเสริมความมัน่ คงให้กบั กลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้

ความสาเร็จจากการประกอบกิจการ ความสาเร็จท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินกิจการของกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี หากมองในรูปแบบของตัวเงิน ถือได้ว่าประสบความสาเร็จในระดับหน่ึง
เพราะสามารถสร้างผลกาไรให้แก่กลมุ่ ได้ สมาชกิ กลุม่ ได้รับผลตอบแทนท่ีดี มอี ตั ราการเพิ่มขนึ้ ของสมาชิกกลุ่ม
หากมองในมมุ ของการแก้ไขปญั หา การก่อตง้ั กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนล้วนสามารถชว่ ยสร้างรายได้ สรา้ งอาชพี และ
แก้ปัญหาในเร่ืองของรายได้ไม่เพียงพอ รวมถึงการดาเนินการได้มีการคานึงถึงสิ่งแวดล้อม หันมาใส่ใจในเรื่อง
ของส่ิงแวดล้อมมากขึ้นในทุกข้ันตอน สอดคล้องกับศิรวิชญ์ สุประดิษฐ์ (2562) และธิเดช จันทราเดช (2546)
ความสาเร็จจากการประกอบกิจการของกลมุ่ วสิ าหกิจชุมชนในจังหวดั สุพรรณบรุ ี สามารถแกป้ ัญหาทเ่ี กิดขึ้นใน
ชุมชนได้ คือสมาชิกในชุมชนสามารถมีรายได้ มีอาชีพ พึ่งพาตนเองได้ มีการตระหนักถึงความสาคัญในเรื่อง
ของสิ่งแวดล้อม จึงเป็นส่วนหน่ึงที่สามารถส่งเสริมให้ชุมชนมีความยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
สง่ิ แวดลอ้ มได้

232 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

5.2 ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย
การมีภาวะผูน้ าของผปู้ ระกอบการ
บทบาทผนู้ ามีส่วนในการกาหนดทิศทางเพ่ือนากลุ่มไปสูเ่ ปา้ หมายที่วางไวไ้ ด้ ซ่ึงภาวะของการ

เป็นผู้นา ประกอบไปด้วย ความสามารถในการควบคุมดูแลกิจการ มีการบริหารจัดการท่ีดี และวางแผนการ
ดาเนินงานได้ดี มีการดาเนินการที่คานึงถึงหลักการดาเนินการของวิสาหกิจเพ่ือสังคม สามารถเป็นที่พ่ึงและ
เปน็ ท่ีไว้วางใจแก่สมาชิกภายในกลุ่ม มีวสิ ัยทัศนใ์ นการทางาน เป็นนักคดิ นักพัฒนาท่ีดี ซงึ่ การมภี าวะผู้นาของ
ผู้ประกอบการสามารถส่งผลต่อความสาเร็จของวิสาหกิจชุมชนได้ เพราะผู้นาถือเป็นตัวหลักในการดาเนินการ
ของกลุ่ม ท่ีคอยขับเคล่ือนการดาเนินการของกลุ่มให้ไปสู่เป้าหมายตามแผนที่วางไว้ การมีภาวะผู้นาจึงถือเป็น
คุณสมบตั ิทสี่ าคัญอีกหนึง่ ข้อสาหรบั ตาแหนง่ ประธานกล่มุ และเป้าหมายของการดาเนินงานวิสาหกิจเพื่อสังคม
ที่ต้องให้ความสาคัญเรื่องความม่ันคงทางการเงิน การแก้ไขปัญหาสังคม และมีดาเนินการท่ีคานึงด้าน
สิ่งแวดล้อม หากผู้นามีความรู้ มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีภาวะของการเป็นผู้นา มีคุณสมบัติของ
การเปน็ ผู้นากลมุ่ ก็จะส่งผลให้เป้าหมายของกล่มุ ประสบความสาเร็จได้

การพฒั นาผลิตภณั ฑใ์ ห้มคี วามคดิ สร้างสรรค์
ผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งท่ีสามารถสร้างรายได้ให้เกิดข้ึนกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้ หากมีการพัฒนา
ให้ผลิตภัณฑ์มีความคิดสร้างสรรค์ ก็เป็นการสร้างความแตกต่าง ความแปลกใหม่ การสร้างจุดเด่นให้กับ
ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ได้ สามารถเป็นอีกหน่ึงทางเลือกเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค การนา
ความคดิ สรา้ งสรรค์มาใช้จึงถือเป็นกลยุทธ์ ท่ีควรส่งเสริมให้กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชนได้นามาใช้พฒั นาในสินค้า หรือ
บริการของตน เพราะนอกจากจะเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์แล้ว ยังเป็นการพัฒนาสมาชิกของชุมชนได้ด้วย
เชน่ กัน เพ่ือให้วสิ าหกิจชมุ ชนสามารถดาเนินการต่อไปได้ และสามารถแข่งขนั กบั กลมุ่ อนื่ ๆ ได้
การบรหิ ารจดั การท่ดี ี
การบริหารจัดการท่ีดี เป็นสิ่งสาคัญในการดาเนินการสาหรับวิสาหกิจชุมชนทุกกลุ่ม ซ่ึงการ
บริหารจัดการท่ีดี คือ ต้องรู้จักวางแผน สามารถบริหารคนและงานให้มีความสอดคล้องกัน มีการดาเนินการ
ตามหลัก ธรรมาภิบาล คือ การดาเนนิ การต้องมีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ หากมกี ารบริหารจดั การท่ี
ดี ก็จะเป็นส่วนหน่ึงท่ีจะสามารถป้องกันปัญหาต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นได้ เพราะได้มีการวางแผนในการดาเนนิ การ
ซ่ึงต้องรวมถึงวิธีป้องกันปัญหาที่อาจเกิดข้ึนได้ เม่ือเกิดปัญหาสามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงที ก็จะสามารถ
นาไปสคู่ วามสาเรจ็ ในการดาเนินการของกลมุ่ ได้
การมีสว่ นร่วมของชมุ ชนท้องถน่ิ
การเขา้ มามสี ่วนรว่ ม ไม่ว่าจะในบทบาทของผู้ผลิต หรือผ้บู ริโภค ลว้ นสง่ ผลต่อการดาเนินการ
ของกลุ่ม ช่วยสร้างรายได้ สร้างความมั่นคงให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจะขับเคลื่อนไป
ไม่ได้ หากขาดความร่วมมือจากคนในชุมชน เพราะหากต้องการให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสามารถเติบโตต่อไปได้
จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย และชุมชนก็ถือเป็นส่วนหนึ่งที่มีบทบาทมากต่อการดาเนินการ
เปรียบเสมือนการพึ่งพาอาศัย คอยเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน หากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเติบโต ก็ช่วยพัฒนาชุมชน
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนในชมุ ชนให้ดีข้นึ ได้
การร่วมมอื จากเครือขา่ ย
การมีเครือข่ายถือเป็นเร่ืองสาคัญ ที่ส่งผลต่อความสาเร็จของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้ เพราะ
นอกจากจะเป็นแหล่งความรู้แล้ว ยังสามารถเป็นแหลง่ เงินทุน ในการพัฒนาต่อยอดสินค้าหรือบรกิ ารของกลมุ่
ได้ การได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายจึงสามารถเป็นการเบิกทางท่ีเป็นการเปิดตลาดในการจาหน่ายสินค้า
ของกล่มุ ใหเ้ ปน็ ทรี่ ู้จกั กับเครอื ขา่ ยอนื่ ๆ ตอ่ ได้ สง่ ผลต่อการเตบิ โตของกลุม่ ไดอ้ ย่างมาก

233 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022

ความสาเรจ็ จากการประกอบกจิ การ
การดาเนินการของกลุ่มวิสาหกิจ ล้วนมุ่งหวังให้กิจการของตนประสบความสาเร็จทั้งส้ิน ซ่ึง
การดาเนินการของวสิ าหกิจเพ่ือสงั คม จะไมม่ องความสาเร็จแค่เพยี งรายได้เท่าน้ัน ต้องมองถึงการแกป้ ัญหาใน
สังคมและชุมชนได้ด้วย รวมถึงการดาเนินการต้องตระหนักเร่ืองสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน เพราะฉะน้ัน
ความสาเร็จจากการประกอบกิจการ จึงเป็นอีกเคร่ืองมือหนึ่งที่ทาให้การดาเนินการของวิสาหกิจเพื่อสังคม
ประสบความสาเร็จได้ ช่วยใหส้ ภาพสงั คมดขี ึ้น ประชากรมีคุณภาพชีวติ ท่ดี ีขึ้น สง่ ผลตอ่ การพฒั นาสังคมต่อไปได้

5.3 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจยั ในครงั้ ต่อไป
1. ควรศึกษากลุ่มวิสาหกิจเพื่อสังคมถึงการดาเนินกิจการ และปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ

ความสาเร็จ เพื่อนามาเป็นแนวทางให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอื่น ๆ ท่ีสนใจ และอาจมีแนวคิดใกล้เคียงกับการ
ดาเนนิ งานและพฒั นาตามหลกั วสิ าหกิจเพอ่ื สังคม เพือ่ นาไปปรบั ใชต้ ่อไป

2. ควรศึกษาการดาเนินงานและเงื่อนไขความสาเร็จของวิสาหกิจเพื่อสังคมในต่างประเทศ
เพือ่ นามาเปรยี บเทียบกบั ในประเทศไทยว่ามีความสอดคล้องหรือมีความแตกตา่ งกัน

3. ควรศึกษากลุ่มวิสาหกิจเพ่ือสังคมโดยขยายพ้ืนท่ีในการศึกษาให้กว้างมากข้ึน ไม่ได้
จากดั เฉพาะกลุ่ม และศึกษากิจการเพื่อสังคมแตล่ ะประเภทว่ามีความสอดคล้องหรือความแตกต่างของเงื่อนไข
ความสาเรจ็

เอกสารอา้ งองิ

กนกพร ฉิมพล.ี (2555). รปู แบบการจัดการความรภู้ ูมิปัญญาท้องถ่นิ ดา้ นหตั ถกรรมเครื่องจกั สาน :
วิสาหกจิ ชุมชนจงั หวัดนครราชสีมา. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาดุษฎีบณั ฑิต, สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหาร
ศาสตร์.

เกรยี งไกร ทรพั ยแ์ สนมา และสิริ ลภสั ลดา ปันสาน. (2562). รปู แบบการพฒั นาสินค้าเกษตรของบริษทั
ประชารฐั รักสามคั คีวสิ าหกจิ เพอ่ื สงั คม (ประเทศไทย) จากดั . วารสารบรหิ ารการปกครองและ
นวตั กรรมท้องถ่ิน, 3 (2), 67 - 75.

ชมภูนุท จ่ันนุ้ย และพินิจ ลาภธนานนท์. (2562). ความสาเร็จของวิสาหกิจชุมชนบนพ้ืนฐานความอยู่รอดและ
พอเพียง. วารสารศลิ ปะศาสตรป์ ริทัศน์, 14 (1), 67 – 78.

ณัฐภัทร สุนทรมีเสถียร. (2552). ทุนทางสังคมกับการจัดการวิสาหกิจชุมชน : กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจ
ชุมชน ตาบลบางสน หม่บู ้านหัวนอน ตาบลบางสน อาเภอปะทวิ จังหวัดชมุ พร.
วิทยานพิ นธ์สังคมสงเคราะหศ์ าสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.

ทิชากร เกสรบัว. (2556). การพัฒนาศักยภาพกลุ่มสินค้าหนึ่งตาบลหน่ึงผลิตภัณฑ์สู่วิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชนแปรรูปอาหารจากกล้วย. วารสารการจัดการสมยั ใหม่, 11
(2), 74 – 86.

ธงชัย พาบุ. (2552). การจัดการความรู้ธุรกิจชุมชนสุดยอดหน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภัณฑ์. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขา วิชาสารสนเทศศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแก่น..

ธิเดช จันทราเดช. (2546). บทบาทของธรุ กิจชุมชนในการแก้ปญั หาความยากจนในชนบทในภาคเหนือ
ของประเทศไทย. [ออนไลน์]. สบื ค้นเม่ือ 28 มกราคม 2563 จาก http://dric.nrct.go.th/search/
showfulltext/1/135637

234 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.9 No.1 January-June 2022


Click to View FlipBook Version