The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส33101) ชั้น ม6 นายรชตะ ขาวดี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kunkrurachata, 2021-06-10 11:23:35

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส33101) ชั้น ม6

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส33101) ชั้น ม6 นายรชตะ ขาวดี

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 หน้า 100

ข้ันที่ 4 นาไปใช้
10. ครแู นะนาใหน้ กั เรียนจดั ปา้ ยนเิ ทศเกีย่ วกบั นโยบายการคลงั เพ่ือเผยแพร่ความรู้

ขั้นท่ี 5 สรุป
11. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปความรเู้ ร่อื ง นโยบายการคลัง โดยอาจใหน้ กั เรยี นสรุปเปน็

แผนทีค่ วามคิด
8. กจิ กรรมเสนอแนะ

ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันจัดนิทรรศการเกย่ี วกับนโยบายการคลงั เพื่อเผยแพร่ความรู้
9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้

1. ขา่ วเกีย่ วกับการแถลงนโยบายการคลงั ของรัฐบาล
2. ใบงาน เร่อื ง นโยบายการคลงั
3. สื่อการเรยี นรู้ เศรษฐศาสตร์
4. หนงั สือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน เศรษฐศาสตร์ ม. 4–6 บริษทั สานักพมิ พ์วัฒนาพานิช จากัด
5. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน เศรษฐศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวชิ าสงั คมศึกษา (ส33101) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 หนา้ 101

ใบงาน
เรอื่ ง นโยบายการคลัง

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 9 นโยบายการคลงั
ตัวชวี้ ัดช่วงชน้ั อธบิ ายบทบาทของรัฐบาลเก่ียวกบั นโยบายการเงนิ การคลังในการพฒั นาเศรษฐกิจ

ของประเทศ (ส 3.2 ม. 4–6/1)
คาช้แี จง ตอบคาถาม

1. นโยบายการคลงั มคี วามสาคัญตอ่ การพัฒนาประเทศอย่างไร
แนวคำตอบ
นโยบายการคลังเป็นเคร่ืองมือหรอื วิธกี ารทรี่ ัฐบาลใชใ้ นการบริหารประเทศเพื่อใหเ้ กิดรายได้
พอกบั รายจ่าย ตลอดจนก่อใหเ้ กดิ การใชจ้ ่ายอย่างเหมาะสม มปี ระสทิ ธิภาพ

2. ปัญหาภาวะเงินเฟ้อเก่ียวข้องกบั นโยบายการคลังอย่างไร
แนวคำตอบ
เมอ่ื เกิดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ รัฐบาลสามารถใช้มาตรการการคลงั แก้ไขโดยการลดค่าใชจ้ ่าย
ของภาครัฐในกจิ การด้านตา่ ง ๆ ลง และเพม่ิ อตั ราการจดั เก็บภาษีท้ังทางตรงและทางออ้ ม เพอ่ื ให้
ปรมิ าณเงนิ ในตลาดลดลง

3. นโยบายการคลังทจ่ี าแนกประเภทตามปัญหาทต่ี อ้ งแก้ไขมีอะไรบา้ ง และมีการแก้ไขอยา่ งไร
แนวคำตอบ
นโยบายการคลงั ทีจ่ าแนกประเภทตามปญั หาท่ีต้องแก้ไขมดี ังน้ี
1)นโยบายการคลงั แบบขยายตวั คอื นโยบายการคลังทเี่ พ่ิมงบประมาณรายจา่ ยและลดภาษี
เป็นการใช้งบประมาณแบบขาดดลุ
2)นโยบายการคลังแบบหดตัว คือ นโยบายการคลังทล่ี ดงบประมาณรายจา่ ยและเพ่ิมภาษี
หรอื การตง้ั งบประมาณเกินดุล

4. งบประมาณแผน่ ดินมคี วามสาคญั อยา่ งไร
แนวคำตอบ
งบประมาณแผ่นดินมีความสาคญั คือ
1) เป็นเคร่ืองมือบริหารของรัฐบาลในดา้ นนโยบายการคลัง (ทั้งด้านรบั และจา่ ย)
2)เปน็ เคร่อื งมือของรัฐบาลกาหนดงานของหนว่ ยราชการใหป้ ระสานกับทรัพยากรของประเทศ
3)เปน็ ส่อื กลางที่ชว่ ยใหเ้ กิดความเข้าใจและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งฝ่ายนติ ิบญั ญตั ิกับฝ่ายบริหาร
4) เปน็ เคร่ืองมือทีช่ ว่ ยวัดประสิทธิภาพในการดาเนินงานของรัฐบาล

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 102

แบบประเมินผลงาน/กจิ กรรมเป็นรายบคุ คล

ผลงาน/กิจกรรมท่ี เรอื่ ง

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี หนว่ ยการเรียนรู้ที่

ช้ัน วันท่ี เดอื น พ.ศ.

รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ

เลข ชื่อ–สกลุ ความ ูถก ้ตองการของผลงาน/ ิกจกรรม(6คะแนน) 4321
ท่ี จุดเ ่ดนของผลงาน/ ิกจกรรม (4 คะแนน)
ความคิดสร้างสรรค์ (3 คะแนน)
ูรปแบบการนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนาไปใ ้ชประโยช ์น (3 คะแนน)
รวมคะแนน (20 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์การประเมิน

การสรุปผลการประเมนิ ใหเ้ ป็นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑไ์ ด้ตามความเหมาะสม

หรืออาจใชเ้ กณฑ์ดังนี้

18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)

14–17 คะแนน = 3 (ด)ี

10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)

0–9 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรงุ )

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาสงั คมศกึ ษา (ส33101) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 หนา้ 103

แบบประเมนิ ผลงาน/กิจกรรมเปน็ กลุ่ม

ผลงาน/กจิ กรรมที่ เร่อื ง

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่

ชั้น วนั ท่ี เดือน พ.ศ.

รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ

เลข ชือ่ –สกลุ ความถูก ้ตองการของผลงาน/กิจกรรม(6คะแนน) 4321
ที่ จุดเด่นของผลงาน/กิจกรรม (4 คะแนน)
ความ ิคดสร้างสรร ์ค (3 คะแนน)
ูรปแบบการนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนาไปใช้ประโยชน์ (3 คะแนน)
รวมคะแนน (20 คะแนน)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เกณฑ์การประเมนิ

การสรุปผลการประเมินใหเ้ ป็นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑไ์ ดต้ ามความเหมาะสม

หรืออาจใชเ้ กณฑ์ดงั น้ี

18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)

14–17 คะแนน = 3 (ด)ี

10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)

0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุง)

แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาสงั คมศกึ ษา (ส33101) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 หนา้ 104

แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ รายบุคคล

ผลงาน/กจิ กรรมท่ี เรื่อง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี

ช้ัน วันที่ เดอื น พ.ศ.

คาช้ีแจง : สงั เกตพฤติกรรมในการทางานของนักเรยี น โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งรายการ

ประเมนิ พฤติกรรมทน่ี ักเรยี นแสดงออก

รายการประเมนิ ระดับ

คุณภาพ

เลข ช่ือ–สกลุ สนใจในการทางาน
ท่ี ไม่เอาเปรียบเ ่ืพอนในการทางาน
เสนอความ ิคดเห็น 4321
ัรบ ัฟงความ ิคดเห็นของผู้อ่ืน
ใ ้หความช่วยเหลือผู้ ่อืน
ุ่มง ัม่นทางานใ ้หสาเร็จ
ประเ ิมนและปรับปรุงงาน ้ดวยความเ ็ตมใจ
เคารพ ้ขอตกลงของก ุ่ลม
ทาตามห ้นา ่ที ่ีทไ ้ดรับมอบหมาย
พอใจ ักบความสาเ ็รจของงาน

รวมคะแนน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารประเมิน
1. การใหค้ ะแนน  ให้ 1 คะแนน 2.การสรปุ ผลการประเมนิ ใหเ้ ป็นระดบั คณุ ภาพ4, 3,2,1ใช้เกณฑด์ ังนี้

9–10 คะแนน = 4 (ดมี าก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน= 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรุง)

แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 หน้า 105

แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ กลมุ่

ผลงาน/กิจกรรมที่ เรือ่ ง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่

ช้ัน วนั ที่ เดือน พ.ศ.

คาชีแ้ จง สงั เกตพฤติกรรมในการทางานของนกั เรียน โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการ

พฤติกรรมทน่ี ักเรยี นปฏิบัติ

รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ

เลข ชอื่ –สกลุ แบ่งงาน ักนรับผิดชอบ 4321
ที่ ีมกระบวนการทางานเป็นข้ันตอน
ทาตามห ้นา ่ที ี่ทไ ้ดรับมอบหมาย
ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ัรบ ัฟงความคิดเห็นของสมาชิกก ุ่ลม
นาม ิต/ ้ขอตกลงของกลุ่มไปป ิฏบัติ
่รวม ักนปรับปรุงผลงาน ้ดวยความเต็มใจ
ุ่มง ่มันทางานให้สาเร็จ
พอใจ ักบความสาเร็จของงาน
บรรยากาศในการทางาน

รวมคะแนน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑก์ ารประเมิน
1. การใหค้ ะแนน  ให้ 1 คะแนน
2. การสรปุ ผลการประเมนิ ให้เปน็ ระดบั คุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑ์ไดต้ ามความเหมาะสม
หรอื อาจใช้เกณฑ์ดังน้ี

9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน= 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรุง)

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าสังคมศึกษา (ส33101) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 106

มิตคิ ุณภาพของการบันทึกผลงาน ระดบั คณุ ภาพ
4
กาหนดเกณฑ์การประเมินผลการบนั ทึกผลงานโดยใชม้ าตรส่วนประเมนิ ค่า 4 ระดบั ดงั น้ี 3
รายการประเมนิ 2
1
– บันทกึ ผลงานได้ถูกตอ้ งตามจุดประสงค์ เขียนบันทกึ ได้ชดั เจน
แนวคดิ หลกั ถูกต้อง มีประเด็นสาคัญครบถว้ น

– ใช้ภาษาได้อยา่ งเหมาะสม คาศัพท์ถูกต้อง
– บนั ทึกผลงานได้ถูกตอ้ งตามจุดประสงค์ เขยี นบนั ทกึ ท่ีมบี างสว่ นยังไม่

ชดั เจน แนวคดิ หลกั ถูกต้อง ส่วนทเี่ ปน็ ประเดน็ สาคัญมไี มค่ รบถว้ น
– ใชภ้ าษา คาศัพท์ไม่ถูกต้องในบางสว่ น
– บันทกึ ผลงานยึดตามจดุ ประสงค์ เขียนบนั ทึกไม่ชดั เจน แนวคดิ หลัก

บางส่วนไมถ่ ูกตอ้ ง ส่วนทเ่ี ปน็ ประเด็นสาคัญมไี มค่ รบถ้วน
– ใชภ้ าษา คาศัพทไ์ มถ่ ูกตอ้ งในบางส่วน
– บนั ทึกผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ เขียนบนั ทึกไมช่ ดั เจน

และแนวคิดหลกั สว่ นใหญ่ไม่ถูกต้อง
– ใช้ภาษา คาศัพท์ไมถ่ ูกต้อง

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าสงั คมศึกษา (ส33101) ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 หนา้ 107

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 10
ตวั ชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 การเงินและการคลัง เวลา 3 ช่ัวโมง

1. สาระสาคัญ

ตัวชวี้ ดั ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เป็นตวั แปรที่กาหนดขนึ้ เพ่ือใชว้ ัดความสาเร็จหรอื

ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ

2. ตวั ช้ีวดั ช่วงช้นั

• อธิบายบทบาทของรฐั บาลเกย่ี วกับนโยบายการเงนิ การคลัง ในการพัฒนาเศรษฐกิจของ

ประเทศ (ส 3.2 ม. 4–6/1)

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายตัวชวี้ ดั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจได้ (K)

2. ตระหนกั ในความสาคัญของตัวชี้วดั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (A)

3. วเิ คราะห์ตวั ช้วี ัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ (P)

4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)

1.ทดสอบหลังเรยี น • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมนิ พฤติกรรมในการ

2.ซักถามความรูเ้ ร่ือง ตัวชว้ี ัด ทางานเปน็ รายบุคคลในด้าน ทางานเป็นรายบุคคลและเปน็

ความเจรญิ เติบโตทาง ความมวี นิ ัย ความใฝเ่ รียนรู้ กลมุ่ ในด้านการส่อื สาร การ

เศรษฐกิจ ฯลฯ คดิ การแก้ปัญหา ฯลฯ

3.ตรวจผลงาน/กิจกรรม

เป็นรายบคุ คลหรือเป็นกลมุ่

5. สาระการเรยี นรู้

• ตัวชวี้ ัดความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ

1. ความหมายและความสาคัญของตวั ชี้วดั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ

2. ผลิตภณั ฑ์ในประเทศเบอ้ื งตน้

3. ผลิตภัณฑป์ ระชาชาติเบ้ืองตน้

4. รายได้ประชาชาติ

5. รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ บุคคล

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 108

6. แนวทางบรู ณาการ
ภาษาไทย  ฟงั พดู อา่ น และเขยี นเกยี่ วกับตวั ชว้ี ัดความเจรญิ เติบโตทาง
เศรษฐกจิ
การงานอาชพี ฯ  สืบคน้ ข้อมลู ขา่ วสารเกีย่ วกบั ตวั ชว้ี ดั ความเจริญเตบิ โตทาง
เศรษฐกิจ

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ข้ันที่ 1 นาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครูแจง้ ตัวช้ีวัดช่วงชัน้ และจุดประสงค์การเรียนรใู้ ห้นกั เรยี นทราบ
2. ครนู าภาพข่าวเกยี่ วกับรายได้ประชาชาตมิ าใหน้ ักเรียนพิจารณาและรว่ มกนั วเิ คราะห์ว่า

เป็นอยา่ งไรบ้าง แล้วอธิบายเพื่อเช่ือมโยงเขา้ สู่เน้ือหาที่จะเรยี น
ขน้ั ท่ี 2 กิจกรรมการเรยี นรู้
3. ครอู ธิบายตัวชี้วัดความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ
4. ครใู หน้ กั เรียนค้นหาข้อมลู ขา่ วสารทเี่ กีย่ วกับตวั ช้วี ัดความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ จาก

หนังสอื พิมพ์ อินเทอร์เนต็ วิทยุ หรือโทรทศั น์ 1 เร่อื ง
5. ครูใหแ้ ต่ละคนจับคูส่ ง่ ตัวแทนออกมาเลา่ ว่า ข่าวทคี่ น้ หามาเปน็ เร่ืองอะไร มสี าระสาคัญ

อะไรบา้ ง และมีประโยชน์อยา่ งไร การเลือกรบั และใชข้ ้อมูลขา่ วสารท่เี หมาะสมทาไดอ้ ย่างไร เม่ือ
ออกมาเลา่ ครบทกุ คแู่ ล้ว ครอู ธบิ ายและสรปุ เพ่ิมเติม

6. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ยี วกับตัวชีว้ ดั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
7. ให้นักเรยี นแบง่ ออกเปน็ 5 กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ ศึกษาคน้ คว้าและวเิ คราะหเ์ ร่ือง ตวั ชว้ี ัดความ
เจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้

กล่มุ ที่ 1 ความหมายและความสาคญั ของตัวชว้ี ัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
กลมุ่ ท่ี 2 ผลติ ภณั ฑ์ในประเทศเบ้ืองต้น
กลุม่ ท่ี 3 ผลติ ภัณฑป์ ระชาชาติเบื้องตน้
กลมุ่ ที่ 4 รายได้ประชาชาติ
กลุ่มที่ 5 รายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ บุคคล
แต่ละกลุม่ ส่งตวั แทนออกมารายงานหน้าชน้ั เรียน แลว้ บนั ทึกผล
8. ครใู หน้ กั เรียนทาใบงานเร่ือง ตวั ชว้ี ดั ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ จากน้นั ครใู หน้ ักเรียน
บันทึกความรู้ที่ได้ลงในแบบบันทกึ ความรู้
9. ในขณะนักเรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรม ให้ครูสงั เกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอ
ผลงานของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเปน็ รายบุคคลหรือเปน็ กลุ่ม

แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 หนา้ 109

ขนั้ ที่ 3 ฝึกฝนผเู้ รียน
10. ครูใหน้ ักเรยี นทากจิ กรรมเกีย่ วกับตวั ช้ีวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ และ

แบบทดสอบประจาหนว่ ยการเรียนรู้ แล้วชว่ ยกนั เฉลยคาตอบ
ขน้ั ท่ี 4 นาไปใช้
11. ครูแนะนาให้นกั เรยี นสบื คน้ ความรู้เรื่อง ตวั ชว้ี ดั ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ โดย

ยกตัวอยา่ งขา่ วจากหนังสือพิมพใ์ นชวี ติ ประจาวัน
ขัน้ ท่ี 5 สรุป
12. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปความรู้เรือ่ ง ตัวชว้ี ดั ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ โดยให้

นกั เรยี นสรุปเปน็ แผนทค่ี วามคดิ
13. ครใู ห้นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียนและชว่ ยกันเฉลยคาตอบ

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
ครูให้นกั เรียนศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเตมิ เรอื่ ง ตวั ช้ีวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ

9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ภาพข่าวเกย่ี วกบั รายไดป้ ระชาชาติ
2. ใบงานเรอ่ื ง ตัวช้ีวดั ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ
3. แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น
4. ส่อื การเรยี นรู้ เศรษฐศาสตร์
5. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน เศรษฐศาสตร์ ม. 4–6 บริษทั สานักพมิ พ์วัฒนาพานิช จากดั
6. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพน้ื ฐาน เศรษฐศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 หน้า 110

แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น

หน่วยท่ี 4 การเงนิ และการคลงั

คาชี้แจง เลือกคาตอบท่ีถกู ต้องที่สุดเพยี งคาตอบเดยี ว

1. “ส่งิ ใดส่งิ หน่งึ ท่เี ป็นท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปว่าสามารถใช้จ่ายในการซือ้ ขายและแลกเปลย่ี น

สนิ คา้ และบริการ รวมถึงใช้ในการชาระหน้ีและอื่น ๆ ได้ตามตอ้ งการ” หมายถึงข้อใด

ก เงนิ ข ทองคา

ค พนั ธบตั ร ง ต๋ัวสญั ญาใชเ้ งนิ

2. ข้อใดไม่ใช่บทบาทหนา้ ท่ีที่สาคญั ของเงิน

ก เปน็ มาตรฐานในการชาระหน้ี ข เปน็ มาตรฐานในการวดั มลู ค่า

ค เป็นของสะสมท่ีควรเกบ็ รกั ษา ง เป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยน

3. ข้อใดคอื เป้าหมายหลักในการใชน้ โยบายการเงินของธนาคารแหง่ ประเทศไทย

ก การส่งเสริมให้มีการจ้างงานเตม็ ที่

ข การรักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ

ค การสนับสนุนการพฒั นาทางเศรษฐกิจและสงั คม

ง การเสรมิ สรา้ งความม่นั คงของสถาบันทางการเงิน

4. การที่ธนาคารแห่งประเทศไทยขอรอ้ งให้ธนาคารพาณชิ ย์ละเวน้ การใหก้ ู้ยมื แกธ่ ุรกิจเก็งกาไร

เป็นการใช้เครอ่ื งมือนโยบายการเงินแบบใด

ก การควบคุมเชิงปริมาณ ข การควบคุมเชิงคณุ ภาพ

ค การชกั ชวนให้ปฏบิ ตั ิตาม ง การบบี บังคบั ให้ปฏิบตั ติ าม

5. ขอ้ ตอ่ ไปนเ้ี ป็นแนวทางการแกป้ ัญหาของนโยบายการเงินในกรณีเกดิ ภาวะเงินเฟ้อยกเว้นข้อใด

ก การขายหลักทรพั ยร์ ฐั บาล

ข การรบั ซ้ือช่วงลดต๋วั สญั ญาใช้เงนิ

ค การเพ่ิมอตั ราเงนิ สดสารองตามกฎหมาย

ง การเพิ่มเพดานอตั ราดอกเบี้ยอตั ราดอกเบย้ี เงนิ กู้และเงนิ ฝาก

6. การจดั หารายได้ การใช้จา่ ย และการจัดการเกี่ยวกับหนี้สินของรัฐบาลหมายถึงข้อใด

ก การคลัง ข งบประมาณ

ค นโยบายการเงนิ ง นโยบายการคลัง

7.“รัฐบาลใชม้ าตรการการคลงั โดยการลดคา่ ใช้จ่ายของภาครัฐในกิจการด้านตา่ ง ๆ ลง และเพิ่ม

อัตราการจดั เก็บภาษีทั้งทางตรงและทางออ้ ม” จากขอ้ ความนเี้ ปน็ วิธกี ารแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจ

ในภาวะใด

ก เงนิ ฝดื ข เงินเฟ้อ

ค การว่างงาน ง การกระจายรายได้

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าสงั คมศกึ ษา (ส33101) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 หนา้ 111

8. ภาษใี นขอ้ ใดทีผ่ เู้ สยี ภาษเี ป็นผู้แบกรบั ภาระของภาษีนั้นทัง้ หมดหรือเปน็ ส่วนใหญ่ ไม่สามารถ

ผลกั ภาระภาษีไปให้ผู้อนื่ ได้

ก ภาษมี ูลค่าเพิ่ม ข ภาษสี รรพสามติ

ค ภาษีสนิ คา้ ขาออก ง ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา

9. รายได้ท่เี กบ็ จากคดคี วามท่ีข้ึนศาลและคา่ ธรรมเนยี มอ่ืน ๆ ของศาล หมายถึงขอ้ ใด

ก เงนิ คืน ข คา่ ปรบั

ค ค่าใบอนญุ าต ง ค่าแสตมป์ฤชากร

10.“วัตถุประสงค์ในการกู้เงินของรฐั บาลคือนามาใช้จา่ ยในโครงการทีจ่ าเป็นตอ่ ความจาเริญทาง

เศรษฐกจิ ” จากข้อความนขี้ ้อใดไม่ใช่โครงการทีม่ คี วามจาเป็นตอ่ ความจาเรญิ ทางเศรษฐกจิ

ก การสรา้ งถนน ข การชลประทาน

ค การสรา้ งโรงงานผลิตกระแสฟ้า ง การสรา้ งหา้ งสรรพสนิ ค้าขนาดใหญ่

11.การกู้ระยะยาว มรี ะยะไถ่ถอน 20 ปี อัตราดอกเบี้ยตา่ ง ๆ กนั โดยทั่วไปมีอายุไถถ่ อน 5 ปี และ

10 ปี หมายถงึ ข้อใด

ก พนั ธบตั ร ข ตวั๋ เงินคลัง

ค ตวั๋ แลกเงิน ง ตั๋วสญั ญาใช้เงิน

12.ข้อใดคอื ความหมายของงบประมาณแผ่นดนิ

ก แผนทางการเงินของรัฐบาล ข งบการเงนิ แสดงที่มาของเงินทนุ

ค รายการทุนสารองระหว่างประเทศ ง รายการแสดงฐานะทางการค้าระหว่างประเทศ

13.การลดการใชจ้ ่ายในระบบเศรษฐกิจให้นอ้ ยลงของรัฐบาลและจดั เกบ็ ภาษใี ห้มากกวา่ รายจา่ ยท่ี

เกดิ ขึ้น เปน็ การจัดทางบประมาณประเภทใด

ก งบประมาณสมดลุ ข งบประมาณเกินดลุ

ค งบประมาณขาดดลุ ง งบประมาณตา่ กว่าดลุ

14.สุรา ยาสูบ ยานัตถ์ุ ไม้ขีดไฟ ไพ่ เป็นสนิ ค้าที่ต้องเสียภาษปี ระเภทใด

ก ภาษีศุลกากร ข ภาษสี รรพากร

ค ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ง ภาษีสรรพสามิต

15.“โหนง่ เรยี นจบปรญิ ญาตรแี ต่หางานทเี่ หมาะสมไม่ได้ จงึ ยอมไปทางานทไ่ี ด้รบั คา่ จา้ งต่ากว่า

ความรู้ความสามารถ” จากข้อความน้เี ป็นการวา่ งงานในลกั ษณะใด

ก การว่างงานช่ัวคราว ข การว่างงานโดยแอบแฝง

ค การว่างงานที่เกดิ จากวฏั จักรเศรษฐกจิ ง การวา่ งงานที่เกดิ จากโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ

แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 หน้า 112

ใบงาน
เรอื่ ง ตัวชี้วดั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

ตวั ชีว้ ัดช่วงชน้ั อธิบายบทบาทของรัฐบาลเกี่ยวกบั นโยบายการเงนิ การคลงั ในการพฒั นาเศรษฐกิจ
ของประเทศ (ส 3.2 ม. 4–6/1)

คาช้ีแจง ตอบคาถาม
1. ตวั ชี้วดั ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ มคี วามสาคญั ตอ่ ประเทศอย่างไร

แนวคำตอบ
ตัวชวี้ ัดความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เปน็ ตัวประเมนิ ผลการดาเนินงานทางด้านเศรษฐกิจ

ของประเทศว่าบรรลุวัตถุประสงค์ตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้หรอื ไม่

2. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบอื้ งต้นหมายถึงอะไร
แนวคำตอบ
มูลค่าของสินค้าและบรกิ ารขั้นสดุ ท้ายที่ผลิตข้ึนโดยใชท้ รพั ยากรที่คนของประเทศนัน้ ๆ เปน็
เจ้าของ มีทงั้ ท่ผี ลติ ในและนอกประเทศในชว่ งระยะเวลาหนึง่

3. รายได้ประชาชาติมผี ลตอ่ การพัฒนาประเทศอย่างไร
พจิ ารณาจากคาตอบของนักเรยี น

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 113

แบบประเมินผลงาน/กจิ กรรมเป็นรายบคุ คล

ผลงาน/กิจกรรมท่ี เรอื่ ง

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี หนว่ ยการเรียนรู้ที่

ช้ัน วันท่ี เดอื น พ.ศ.

รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ

เลข ชื่อ–สกลุ ความ ูถก ้ตองการของผลงาน/ ิกจกรรม(6คะแนน) 4321
ท่ี ุจดเ ่ดนของผลงาน/ ิกจกรรม (4 คะแนน)
ความคิดสร้างสรรค์ (3 คะแนน)
ูรปแบบการนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนาไปใ ้ชประโยช ์น (3 คะแนน)
รวมคะแนน (20 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์การประเมิน

การสรุปผลการประเมนิ ใหเ้ ป็นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑไ์ ด้ตามความเหมาะสม

หรืออาจใชเ้ กณฑ์ดังนี้

18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)

14–17 คะแนน = 3 (ด)ี

10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)

0–9 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรงุ )

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาสงั คมศกึ ษา (ส33101) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 หนา้ 114

แบบประเมนิ ผลงาน/กิจกรรมเปน็ กลุ่ม

ผลงาน/กจิ กรรมที่ เร่อื ง

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่

ชั้น วนั ท่ี เดือน พ.ศ.

รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ

เลข ชือ่ –สกลุ ความถูก ้ตองการของผลงาน/กิจกรรม(6คะแนน) 4321
ที่ ุจดเด่นของผลงาน/กิจกรรม (4 คะแนน)
ความ ิคดสร้างสรร ์ค (3 คะแนน)
ูรปแบบการนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนาไปใช้ประโยชน์ (3 คะแนน)
รวมคะแนน (20 คะแนน)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เกณฑ์การประเมนิ

การสรุปผลการประเมินใหเ้ ป็นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑไ์ ดต้ ามความเหมาะสม

หรืออาจใชเ้ กณฑ์ดงั น้ี

18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)

14–17 คะแนน = 3 (ด)ี

10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)

0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุง)

แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 หนา้ 115

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทางานเปน็ รายบุคคล

ผลงาน/กจิ กรรมท่ี เรื่อง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี

ช้ัน วันที่ เดอื น พ.ศ.

คาช้ีแจง : สงั เกตพฤติกรรมในการทางานของนักเรยี น โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งรายการ

ประเมนิ พฤติกรรมทน่ี ักเรยี นแสดงออก

รายการประเมนิ ระดับ

คุณภาพ

เลข ช่ือ–สกลุ สนใจในการทางาน
ท่ี ไม่เอาเปรียบเ ่ืพอนในการทางาน
เสนอความ ิคดเห็น 4321
ัรบ ัฟงความ ิคดเห็นของผู้อ่ืน
ใ ้หความช่วยเหลือผู้ ่อืน
ุ่มง ัม่นทางานใ ้หสาเร็จ
ประเ ิมนและปรับปรุงงาน ้ดวยความเ ็ตมใจ
เคารพ ้ขอตกลงของก ุ่ลม
ทาตามห ้นา ่ที ่ีทไ ้ดรับมอบหมาย
พอใจ ักบความสาเ ็รจของงาน

รวมคะแนน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารประเมิน
1. การใหค้ ะแนน  ให้ 1 คะแนน 2.การสรปุ ผลการประเมนิ ใหเ้ ป็นระดบั คณุ ภาพ4, 3,2,1ใช้เกณฑด์ ังนี้

9–10 คะแนน = 4 (ดมี าก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน= 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรุง)

แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 หน้า 116

แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ กลมุ่

ผลงาน/กิจกรรมที่ เรือ่ ง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่

ช้ัน วนั ที่ เดือน พ.ศ.

คาชีแ้ จง สงั เกตพฤติกรรมในการทางานของนกั เรียน โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการ

พฤติกรรมทน่ี ักเรยี นปฏิบัติ

รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ

เลข ชือ่ –สกลุ แบ่งงาน ักนรับผิดชอบ 4321
ที่ ีมกระบวนการทางานเป็นข้ันตอน
ทาตามห ้นา ่ที ี่ทไ ้ดรับมอบหมาย
ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ัรบ ัฟงความคิดเห็นของสมาชิกก ุ่ลม
นาม ิต/ ้ขอตกลงของกลุ่มไปป ิฏบัติ
่รวม ักนปรับปรุงผลงาน ้ดวยความเต็มใจ
ุ่มง ่มันทางานให้สาเร็จ
พอใจ ักบความสาเร็จของงาน
บรรยากาศในการทางาน

รวมคะแนน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑก์ ารประเมิน
1. การใหค้ ะแนน  ให้ 1 คะแนน
2. การสรปุ ผลการประเมนิ ให้เปน็ ระดบั คุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑ์ไดต้ ามความเหมาะสม
หรอื อาจใช้เกณฑ์ดังน้ี

9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน= 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรุง)

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าสังคมศึกษา (ส33101) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 117

มิตคิ ุณภาพของการบันทึกผลงาน ระดบั คณุ ภาพ
4
กาหนดเกณฑ์การประเมินผลการบนั ทึกผลงานโดยใชม้ าตรส่วนประเมนิ ค่า 4 ระดบั ดงั น้ี 3
รายการประเมนิ 2
1
– บันทกึ ผลงานได้ถูกตอ้ งตามจุดประสงค์ เขียนบันทกึ ได้ชดั เจน
แนวคดิ หลกั ถูกต้อง มีประเด็นสาคัญครบถ้วน

– ใช้ภาษาได้อยา่ งเหมาะสม คาศัพท์ถูกต้อง
– บนั ทึกผลงานได้ถูกตอ้ งตามจุดประสงค์ เขยี นบนั ทกึ ท่ีมบี างสว่ นยังไม่

ชดั เจน แนวคดิ หลกั ถูกต้อง ส่วนทเี่ ปน็ ประเด็นสาคัญมไี ม่ครบถว้ น
– ใชภ้ าษา คาศัพท์ไม่ถูกต้องในบางสว่ น
– บันทกึ ผลงานยึดตามจดุ ประสงค์ เขยี นบนั ทึกไมช่ ัดเจน แนวคดิ หลัก

บางส่วนไมถ่ ูกตอ้ ง ส่วนทเ่ี ปน็ ประเดน็ สาคัญมีไม่ครบถ้วน
– ใชภ้ าษา คาศัพทไ์ มถ่ ูกตอ้ งในบางสว่ น
– บนั ทึกผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ เขยี นบันทึกไมช่ ดั เจน

และแนวคิดหลกั สว่ นใหญ่ไม่ถูกต้อง
– ใช้ภาษา คาศัพท์ไมถ่ ูกต้อง

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 หนา้ 118

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5
ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ

เวลา 10 ชว่ั โมง

ผงั มโนทศั นเ์ ป้าหมายการเรยี นร้แู ละขอบข่ายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู้
1.การคา้ ระหว่างประเทศ
2.การลงทนุ ระหวา่ งประเทศ
3.การเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ ใน

ยคุ โลกาภวิ ตั น์
4.ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ

ภาระงาน/ชิน้ งาน ความ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ
1. การทาแบบทดสอบ รว่ มมือทาง ค่านยิ ม
2. การระดมสมอง เศรษฐกจิ
3. การอภิปราย ระหวา่ ง 1. มวี นิ ัย
4.การระดมความคิด ประเทศ 2. ใฝ่เรียนรู้
5.การสบื คน้ ข้อมูล 3. รบั ผดิ ชอบ
4. มุ่งมั่นในการทางาน

ทักษะ/กระบวนการ
1. การสอื่ สาร
2. การคดิ
3. การแกป้ ัญหา
4. การใชเ้ ทคโนโลยี
5. กระบวนการกลุ่ม

แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา (ส33101) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 หน้า 119

ผงั การออกแบบการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

ขัน้ ที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางท่ีต้องการใหเ้ กดิ ข้ึนกบั นักเรียน

ตวั ช้ีวัดชั้นปี

1. วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภวิ ตั น์ที่มีผลตอ่ สังคมไทย

(ส 3.2 ม. 4–6/2)

2. วิเคราะห์ผลดีผลเสยี ของความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรปู แบบต่าง ๆ (ส 3.1 ม.

4–6/3)

ความเขา้ ใจท่ีคงทนของนักเรียน คาถามสาคญั ทที่ าให้เกดิ ความเขา้ ใจทค่ี งทน

นักเรยี นจะเข้าใจว่า... 1.การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศมี

1.การคา้ และการลงทุนระหว่างประเทศเป็นการ ความสาคญั อยา่ งไร

แลกเปลี่ยนสนิ ค้าและบรกิ ารตา่ ง ๆ ผา่ นเขตแดน 2.การเปดิ เสรที างการค้ามีความสาคัญตอ่

ของชาติ ประเทศไทยอย่างไร

2.การเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ เป็นความตกลง 3.ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศมี

ร่วมกนั ระหวา่ งประเทศตั้งแต่ 2 ประเทศข้นึ ไป ความสาคญั อย่างไร

เพื่อให้เกิดความร่วมมอื ทางการคา้ ระหวา่ งกัน

มากข้นึ

3.ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศเปน็

กระบวนการยกเลกิ การเลอื กปฏบิ ตั ิทางด้าน

การค้าและการเงนิ ระหว่างประเทศ โดยมี

วัตถปุ ระสงค์เพ่ือเสรมิ สร้างและรักษาผลประโยชน์

ทางเศรษฐกิจร่วมกนั

ความรูข้ องนักเรียนทน่ี าไปสู่ความเข้าใจท่ี ทักษะ/ความสามารถของนักเรยี นนาไปสู่

คงทนนักเรยี นจะร้วู า่ ... ความเข้าใจทคี่ งทน นกั เรยี นจะสามารถ...

1. คาสาคญั ได้แก่ ตลาดเงนิ ตลาดทุน เขต 1.อธบิ ายการค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ

การค้าเสรี การคา้ เสรี ภาษีศุลกากร โควตา การ 2.อธิบายการค้าและการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ

รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ สหภาพศลุ กากร ความตก 3.วิเคราะห์ผลกระทบท่ีประเทศไทยเข้าร่วมกบั

ลงระดับพหภุ าคี องค์กรตา่ ง ๆ

2.การค้าระหว่างประเทศเปน็ การแลกเปลยี่ น 4.อธบิ ายความสาคัญของปจั จัยท่ีนาไปสู่ความ

สินคา้ และบรกิ ารตา่ ง ๆ ผ่านเขตแดนของชาติ ร่วมมือทางเศรษฐกิจ

สาเหตุและปจั จยั ที่กอ่ ใหเ้ กดิ การคา้ ระหว่าง

แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาสังคมศึกษา (ส33101) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 120

ประเทศ คือ ความแตกตา่ งทางภมู ศิ าสตร์ ความ

แตกตา่ งทางทรัพยากรธรรมชาติ ความ

ได้เปรยี บทางการผลติ

3.การเปิดการค้าเสรี หรือการเปดิ เสรีทางการคา้

มีลกั ษณะการจัดตั้งเป็นเขตการคา้ เสรี ซ่ึงเป็น

ความตกลงร่วมกนั ระหวา่ งประเทศตั้งแต่ 2

ประเทศขน้ึ ไป เพื่อให้เกิดความรว่ มมือทางการคา้

ระหวา่ งกันมากข้นึ

4.การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจ หรอื ความร่วมมือ

ทางเศรษฐกิจเป็นกระบวนการยกเลกิ การเลือก

ปฏิบัตทิ างด้านการค้าและการเงนิ ระหวา่ ง

ประเทศ โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พื่อเสรมิ สร้างและ

รกั ษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจรว่ มกัน

ขนั้ ท่ี 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรยี นรซู้ ง่ึ เป็นหลักฐานทแ่ี สดงว่านักเรยี นมีผลการเรียนรู้

ตามทก่ี าหนดไวอ้ ย่างแท้จริง

1.ภาระงานทน่ี กั เรียนต้องปฏบิ ัติ

1.1 ระดมสมองเกี่ยวกบั การคา้ และการลงทนุ ระหว่างประเทศ

1.2 อภิปรายและวิเคราะห์การเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ ที่มผี ลตอ่ ประเทศไทย

1.3 ระดมความคิดและวิเคราะห์ผลดี–ผลเสยี ของประเทศไทยท่เี ข้าร่วมเปน็ สมาชกิ องคก์ ารความ

ร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ

1.4 สืบคน้ ขอ้ มูลเก่ียวกับปจั จัยทน่ี าไปสู่ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ

2.วธิ กี ารและเคร่อื งมอื ประเมนิ ผลการเรียนรู้

2.1 วิธกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ 2.2 เคร่ืองมือประเมนิ ผลการเรียนรู้

1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น

2) การประเมินผลงาน/กจิ กรรมเปน็ 2) แบบประเมนิ ผลงาน/กจิ กรรม

รายบุคคลหรือเปน็ กล่มุ เป็นรายบคุ คลหรอื เป็นกล่มุ

3) การประเมินดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 3) แบบประเมนิ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม

และคา่ นยิ ม และคา่ นยิ ม

4) การประเมนิ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมนิ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา (ส33101) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 หน้า 121

3.ส่งิ ท่ีมุ่งประเมิน

3.1 ความสามารถ 6 ดา้ น ได้แก่ การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์

ดดั แปลงและนาไปใช้การมีมุมมองท่หี ลากหลาย การให้ความสาคญั และใส่ใจในความรู้สึกของผู้อ่นื

และการรู้จักตนเอง

3.2ทกั ษะ/กระบวนการ เชน่ การส่อื สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี กระบวนการกลุม่

3.3คุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม เช่น รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่อื สตั ยส์ ุจริต มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้

อยอู่ ยา่ งพอเพียง มุ่งม่ันในการทางาน รักความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ

ข้ันที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 การค้าและการลงทนุ ระหว่างประเทศ เวลา 4 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 12 การเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภิวตั น์ เวลา 3 ช่ัวโมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13 ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ เวลา 3 ช่วั โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 หนา้ 122

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11
การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เวลา 4 ช่ัวโมง

1. สาระสาคญั

การคา้ และการลงทุนระหว่างประเทศเปน็ การแลกเปลย่ี นสนิ ค้าและบริการต่าง ๆ ผา่ นเขต

แดนของชาติ

2. ตัวช้ีวัดช่วงช้ัน

• วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการเปิดเสรที างเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวัตนท์ ม่ี ผี ลตอ่ สงั คมไทย

(ส 3.2 ม. 4–6/2)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธิบายการคา้ และการลงทุนระหว่างประเทศได้ (K)

2. เห็นความสาคญั ของการคา้ และการลงทนุ ระหว่างประเทศ (A)

3. สืบคน้ ขอ้ มูลและวิเคราะห์เกย่ี วกับการค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ (P)

4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
และคา่ นิยม (A)

1.ทดสอบก่อนเรยี น • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ

2.ซักถามความรู้เรื่อง การค้า ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน ทางานเปน็ รายบุคคลและเปน็

และการลงทนุ ระหว่าง ความมวี ินัย ความใฝเ่ รียนรู้ กลุ่มในด้านการส่ือสาร การ

ประเทศ ฯลฯ คิด การแก้ปัญหา ฯลฯ

3.ตรวจผลงาน/กิจกรรม

เปน็ รายบคุ คลหรือเปน็ กลมุ่

5. สาระการเรยี นรู้

• การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

1. การคา้ ระหวา่ งประเทศ

2. การลงทุนระหวา่ งประเทศ

แผนการจัดการเรียนร้รู ายวชิ าสงั คมศกึ ษา (ส33101) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 หนา้ 123

6. แนวทางการบรู ณาการ
ภาษาไทย  ฟงั พูด อ่าน และเขียนเก่ยี วกบั การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
การงานอาชพี ฯ  การสืบค้นข้อมูลเก่ียวกบั การคา้ และการลงทนุ ระหว่างประเทศ

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ข้ันที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจง้ ตัวชี้วัดช่วงชน้ั และจดุ ประสงค์การเรียนรใู้ หน้ กั เรียนทราบ
2. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
3. ครใู ห้นกั เรยี นดภู าพข่าวการคา้ ระหว่างประเทศไทยกับกลมุ่ ประเทศในสหภาพยุโรป แลว้

ถามนกั เรยี นว่าภาพเหล่านเี้ กี่ยวข้องกับการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศอย่างไร นักเรยี นตอบ
ครอู ธิบายเพ่ือเชื่อมโยงเขา้ ส่เู นอื้ หาทจี่ ะเรยี น

ขัน้ ที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
4. ครสู นทนากบั นักเรียนเกยี่ วกบั การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
5. ครูใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กล่มุ แต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันระดมสมองและวเิ คราะห์

เกี่ยวกับการค้าและการลงทนุ ระหว่างประเทศทเี่ ข้ามาลงทุนในประเทศไทย ในหัวขอ้ ต่อไปนี้
กลมุ่ ที่ 1 การค้าระหวา่ งประเทศ
กลุม่ ที่ 2 การลงทนุ ระหว่างประเทศ

จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอและใหเ้ พื่อนกล่มุ อ่นื แสดงความคดิ เห็นแล้ว
บันทึกผลการระดมสมอง

6. ในขณะนักเรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรม ใหค้ รสู งั เกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอ
ผลงานของนักเรยี นตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทางานเปน็ รายบคุ คลหรือเปน็ กลุ่ม

ขน้ั ที่ 3 ฝกึ ฝนผู้เรียน
7. ครใู ห้นกั เรยี นทากจิ กรรมท่ีเก่ยี วกบั การคา้ และการลงทนุ ระหว่างประเทศและชว่ ยกนั เฉลย

คาตอบ
ขน้ั ท่ี 4 นาไปใช้
8. ครูแนะนาให้นักเรยี นจัดป้ายนเิ ทศเร่อื ง การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ เพ่ือ

เผยแพร่ความรู้
ขน้ั ที่ 5 สรุป
9. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรเู้ ร่ืองการคา้ และการลงทุนระหว่างประเทศ โดยให้

นกั เรยี นสรุปเปน็ แผนที่ความคดิ
8. กิจกรรมเสนอแนะ

ครูให้นกั เรยี นศึกษาคน้ คว้าเพิ่มเติมเรือ่ ง การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ แล้วนาผล
การศกึ ษามาจดั ทาเปน็ รายงาน

แผนการจัดการเรยี นร้รู ายวชิ าสังคมศึกษา (ส33101) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 หนา้ 124

9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น
2. ภาพข่าวการค้าระหวา่ งประเทศไทยกบั กลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป
3. สื่อการเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์
4. หนังสือเรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน เศรษฐศาสตร์ ม. 4–6 บริษทั สานักพิมพ์วัฒนาพานชิ จากดั
5. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพน้ื ฐาน เศรษฐศาสตร์

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาสงั คมศกึ ษา (ส33101) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 หน้า 125

แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5 ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

1. ความตกลงการค้าเสรีไทย–ออสเตรเลีย หรือสหรัฐอเมริกา–สงิ คโปร์ จัดเป็นการเจรจาความตก

ลงการคา้ เสรีในระดับใด

ก การเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ ข การเจรจาแบบรวมกลมุ่ ทางภูมิภาค

ค การเจรจาเพ่ือทาความตกลงแบบทวิภาคี ง การเจรจาแบบพหภุ าคใี นองคก์ ารการคา้ โลก

2. การแลกเปลี่ยนสินคา้ และบรกิ ารต่าง ๆ ผา่ นเขตแดนของชาติ หมายถงึ ข้อใด

ก การส่งออกสุทธิ ข การคา้ แบบทวภิ าคี

ค การค้าระหว่างประเทศ ง การเปดิ เสรที างเศรษฐกิจ

3. ข้อใดกลา่ วผดิ

ก การสง่ ออกสุทธิแสดงถงึ ดลุ การชาระเงนิ ระหวา่ งประเทศ

ข การนาเขา้ เปน็ การซ้ือสินค้าและวัตถุดบิ ที่ผลิตจากประเทศอนื่ ๆ

ค ถ้ามูลค่าการสง่ ออกมากกว่ามูลคา่ การนาเขา้ ประเทศจะเกนิ ดุลการคา้

ง ถ้ามลู คา่ การส่งออกน้อยกวา่ มลู ค่าการนาเข้าประเทศจะขาดดลุ การคา้

4. ข้อตอ่ ไปนค้ี อื สาเหตแุ ละปจั จัยทีก่ ่อใหเ้ กดิ การคา้ ระหวา่ งประเทศยกเว้นข้อใด

ก ความได้เปรยี บทางการผลิต ข ความแตกต่างทางภูมิศาสตร์

ค จานวนของประชากรในประเทศ ง ความแตกตา่ งทางทรพั ยากรธรรมชาติ

5. “การที่แตล่ ะประเทศมที าเลทต่ี ้งั และสภาพดินฟา้ อากาศแตกต่างกนั ทาให้โอกาสในการผลติ

สินคา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ มคี วามแตกตา่ งกันไปตามความเหมาะสม” จากข้อความนี้ประเทศไทยควร

ผลติ สินค้าใดเปน็ สินค้าสง่ ออก

ก ปอ ข ขา้ ว

ค กาแฟ ง นา้ มัน

6. ประเทศใดมีความชานาญและได้เปรยี บทางการผลิตเครอ่ื งอิเล็กทรอนิกส์

ก ญ่ีปนุ่ ข สหรฐั อเมริกา

ค เนเธอร์แลนด์ ง สวิตเซอร์แลนด์

7. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งทีส่ ดุ

ก ประเทศที่กาลงั พฒั นาควรนาเขา้ สินคา้ มาก ๆ

ข การส่งออกสนิ ค้าเป็นการเพิม่ รายได้ให้กบั ผ้ผู ลิต

ค สินคา้ เข้าจากต่างประเทศจะทาใหร้ ฐั บาลมีรายไดล้ ดลง

ง การนาสินคา้ เข้าทาใหเ้ กดิ รายได้ซงึ่ เปน็ เงินตราต่างประเทศ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 หน้า 126

8. ขอ้ ใดไม่ใช่เงอื่ นไขของนโยบายการค้าแบบเสรีทปี่ ระเทศตา่ ง ๆ ตอ้ งปฏบิ ัตติ าม

ก ต้องทาการค้ากับประเทศสมาชกิ เทา่ น้ัน

ข ตอ้ งดาเนนิ การผลิตตามหลักการแบ่งงาน

ค ต้องไม่มีการเก็บภาษหี รอื มีการเก็บภาษีแตน่ อ้ ย

ง ตอ้ งไมม่ ีการใหส้ ิทธิพเิ ศษและไม่มขี ้อจากัดทางการค้ากับประเทศตา่ ง ๆ

9. “การสง่ สินค้าไปขายประเทศอนื่ ในราคาที่ต่ากว่าทุนเพือ่ ทาลายค่แู ขง่ ในตลาดตา่ งประเทศและ

เม่ือทุ่มตลาดสาเร็จไดค้ รองตลาดแหง่ น้ันแล้วก็จะเพม่ิ ราคาสนิ คา้ ใหส้ งู ขน้ึ ในเวลาตอ่ มา”

ขอ้ ความนี้หมายถึงข้อใด

ก การสง่ ออก ข การตีตลาด

ค การท่มุ ตลาด ง การครองตลาด

10.หากประเทศไทยมนี โยบายม่งุ สนับสนนุ การผลิตสินค้าในประเทศ ควรใช้มาตรการใดเปน็

เคร่อื งมือเพ่ือกีดกนั การนาเข้าและสง่ เสริมการสง่ ออก

ก การต้งั กาแพงภาษี ข การควบคุมโควตาการนาเข้า

ค การให้เงนิ อดุ หนุนผู้ผลติ และผ้สู ่งออก ง ถกู ทุกข้อ

11.การเรียกเกบ็ ภาษจี ากสนิ คา้ นาเข้าทต่ี ้องการจะกีดกันในอตั ราสูงกว่าปกตแิ ละเก็บภาษีอัตรา

เดยี วกนั ไม่ว่าจะมาจากประเทศใด หรือเกบ็ อตั ราภาษหี ลายอัตราในแตล่ ะประเทศไม่เท่ากนั

เปน็ เคร่อื งมือของการใชน้ โยบายการค้าแบบคุ้มกนั ในขอ้ ใด

ก การตงั้ กาแพงภาษี ข การใชม้ าตรการอ่ืน ๆ

ค การควบคุมโควตาการนาเข้า ง การควบคุมโควตาการสง่ ออก

12.ข้อใดเปน็ การลงทนุ ระหว่างประเทศทางตรง

ก การนาเงินทนุ ไปฝากธนาคาร ข การโยกยา้ ยเงินทนุ ไปลงทุนในตลาดเงนิ

ค การลงทนุ ในลักษณะของการซือ้ หลกั ทรัพย์ ง การลงทนุ ในธุรกิจการผลิตสินค้าและบริการ

13.ข้อต่อไปนีค้ ือประโยชนข์ องการลงทนุ ระหวา่ งประเทศทางอ้อมยกเว้นขอ้ ใด

ก ประชาชนมคี วามเป็นอยู่ท่ีดีขึน้

ข ประเทศผูร้ ับการลงทนุ มกี ารพฒั นาเศรษฐกจิ

ค ไดร้ บั ประโยชน์ทางดา้ นการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ ๆ

ง เกิดการจดั สรรทรัพยากรการเงนิ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

14.“องคก์ ารระหว่างประเทศทที่ าหนา้ ท่คี อยดูแลให้การค้าระหวา่ งประเทศเปน็ ไปโดยราบร่ืนและ

ขยายตัว” ข้อความน้หี มายถึงขอ้ ใด

ก ธนาคารโลก ข ธนาคารเพื่อการพฒั นาเอเชยี

ค กองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ ง ธนาคารเพ่ือการชาระหนีร้ ะหวา่ งประเทศ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าสังคมศึกษา (ส33101) ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 หน้า 127

15.ข้อใดคอื ธนาคารโลก

ก ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชยี ข ธนาคารเพ่ือการชาระหนร้ี ะหว่างประเทศ

ค ธนาคารเพื่อการบรู ณะและพฒั นาประเทศ ง ธนาคารกลางในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

16. ข้อใดไม่ใช่ประโยชนข์ องการนาสนิ ค้าเขา้

ก เป็นการเพิ่มการลงทุน ข รฐั บาลมรี ายได้เพ่ิมมากข้ึน

ค เกิดรายไดซ้ ง่ึ เปน็ เงนิ ตราตา่ งประเทศ ง กระตนุ้ การผลติ สินค้าภายในประเทศ

17.ข้อใดเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ขน้ั ตน้

ก เขตการคา้ เสรี ข สหภาพศุลกากร

ค สหภาพเศรษฐกิจ ง สหภาพเหนอื ชาติ

18.ข้อใดเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ที่ประเทศสมาชิกไมส่ ามารถเคลื่อนยา้ ยปัจจยั การผลิตได้

ก ตลาดร่วม ข สหภาพศุลกากร

ค สหภาพเศรษฐกจิ ง สหภาพเหนอื ชาติ

19.“กระบวนการยกเลกิ การเลอื กปฏบิ ัติทางดา้ นการค้าและการเงินระหว่างประเทศ โดยมี

วัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ เสริมสรา้ งและรักษาผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ร่วมกัน” ข้อความนี้หมายถึง

ข้อใด

ก การประสานประโยชน์ ข การลงทนุ ระหว่างประเทศ

ค การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ง การพึง่ พาทางดา้ นเศรษฐกจิ

20. “องค์การระหว่างประเทศท่ีทาหน้าทีเ่ ป็นเวทีเจรจาการคา้ และระงบั ขอ้ พิพาทของประเทศ

สมาชิกโดยมสี มาชิกดูแลรบั ผิดชอบด้านกฎระเบียบการค้าระหวา่ งประเทศ” ข้อความนี้

หมายถึงข้อใด

ก สหภาพยโุ รป ข องค์การการค้าโลก

ค เขตการค้าเสรีอเมรกิ าเหนือ ง กองทนุ การเงินระหว่างประเทศ

21.ประเทศใดไม่ได้เปน็ สมาชิกเขตการคา้ เสรอี เมรกิ าเหนอื

ก รสั เซีย ข เมก็ ซิโก

ค แคนาดา ง สหรัฐอเมริกา

22.ข้อใดคอื วตั ถุประสงค์ของเขตการค้าเสรอี เมริกาเหนอื

ก เพื่อแสวงหาตลาดสนิ คา้ ออกในภูมิภาคอืน่

ข เพอ่ื ใหม้ กี ารจัดตั้งระบบเพ่ือระงบั ขอ้ พิพาท

ค เพ่ือใหไ้ ด้มาซ่งึ อานาจในการประกาศเพ่ิมราคานา้ มนั

ง เพอ่ื ลดภาษีศลุ กากรระหวา่ งกนั ภายในกลมุ่ ลงให้เหลอื น้อยท่ีสุด

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 หนา้ 128

23.ข้อใดกล่าวผดิ

ก นาฟตามีสมาชิกเพียง 3 ประเทศ

ข เนเธอร์แลนด์เปน็ สมาชิกของสหภาพยโุ รป

ค องค์การการค้าโลกมีพัฒนาการมาจากแกตต์

ง กลุ่มประเทศผสู้ ง่ น้ามนั เป็นสนิ ค้าออกมีชื่อย่อวา่ เอเปก

24.“องคก์ ารทม่ี ีบทบาทและหน้าท่ใี นการสนับสนุนความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศและมี

ฐานะเป็นทบวงการชานญั พิเศษของสหประชาชาติ” ขอ้ ความน้หี มายถึงข้อใด

ก IMF ข ADB

ค WTO ง FTA

25.ประเทศใดเปน็ ผถู้ ือหนุ้ มากทส่ี ุดในธนาคารเพอื่ การพัฒนาเอเชยี

ก ญป่ี นุ่ จีน ข จนี องั กฤษ

ค ญีป่ ุ่น สหรัฐอเมรกิ า ง สหรัฐอเมริกา อังกฤษ

26.ไทยไม่ได้เปน็ สมาชกิ องคก์ ารความรว่ มมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในขอ้ ใด

ก IMF ข WTO

ค APEC ง OPEC

27.ข้อตอ่ ไปน้คี ือวตั ถุประสงคใ์ นการก่อตั้งสหภาพยโุ รปยกเวน้ ขอ้ ใด

ก ยกระดับการดารงชวี ิตของชาวยุโรปใหด้ ขี นึ้

ข พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้าในระดับพหภุ าคี

ค รวบรวมระบบเศรษฐกจิ ของประเทศสมาชิกให้เปน็ อนั หน่ึงอันเดยี วกนั

ง จดั ต้ังสหภาพศุลกากรโดยการขจัดอุปสรรคทางการค้าระหวา่ งประเทศ

28.ปัจจุบนั ประเทศใดไม่ได้เป็นสมาชิกองค์การกลุ่มประเทศผ้สู ่งออกปิโตรเลียม

ก กาตาร์ ข กาบอง

ค เวเนซเุ อลา ง อินโดนีเซีย

29.ข้อใดไม่ใช่หลกั การความร่วมมือของเอเปก

ก ยึดหลักผลประโยชนร์ ว่ มกัน

ข ยดึ หลักฉนั ทามตใิ นการดาเนินการ

ค ลดและยกเลิกมาตรการภาษแี ละมาตรการทีม่ ใิ ช่ภาษี

ง เป็นเวทีสาหรบั ปรึกษาหารือเกีย่ วกบั ประเด็นทางเศรษฐกิจ

30.“การร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ เพ่อื เปน็ การแลกเปลยี่ นผลประโยชนซ์ ่งึ กันและกนั

รวมท้งั การจัดสรรทรพั ยากรทีม่ อี ยูอ่ ยา่ งจากดั ใหเ้ กดิ ประโยชนม์ ากทีส่ ดุ ” ขอ้ ความน้หี มายถึงขอ้ ใด

ก การกดี กนั ทางการค้า ข การประสานประโยชน์

ค การพ่ึงพาอาศยั ซึง่ กันและกัน ง การแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 129

แบบประเมินผลงาน/กจิ กรรมเป็นรายบคุ คล

ผลงาน/กิจกรรมท่ี เรอื่ ง

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี หนว่ ยการเรียนรู้ที่

ช้ัน วันท่ี เดอื น พ.ศ.

รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ

เลข ชื่อ–สกลุ ความ ูถก ้ตองการของผลงาน/ ิกจกรรม(6คะแนน) 4321
ท่ี ุจดเ ่ดนของผลงาน/ ิกจกรรม (4 คะแนน)
ความคิดสร้างสรรค์ (3 คะแนน)
ูรปแบบการนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนาไปใ ้ชประโยช ์น (3 คะแนน)
รวมคะแนน (20 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์การประเมิน

การสรุปผลการประเมนิ ใหเ้ ป็นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑไ์ ด้ตามความเหมาะสม

หรืออาจใชเ้ กณฑ์ดังนี้

18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)

14–17 คะแนน = 3 (ด)ี

10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)

0–9 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรงุ )

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาสงั คมศกึ ษา (ส33101) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 หนา้ 130

แบบประเมนิ ผลงาน/กิจกรรมเปน็ กลุ่ม

ผลงาน/กจิ กรรมที่ เร่อื ง

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่

ชั้น วนั ท่ี เดือน พ.ศ.

รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ

เลข ชือ่ –สกลุ ความถูก ้ตองการของผลงาน/กิจกรรม(6คะแนน) 4321
ที่ ุจดเด่นของผลงาน/กิจกรรม (4 คะแนน)
ความ ิคดสร้างสรร ์ค (3 คะแนน)
ูรปแบบการนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนาไปใช้ประโยชน์ (3 คะแนน)
รวมคะแนน (20 คะแนน)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เกณฑ์การประเมนิ

การสรุปผลการประเมินใหเ้ ป็นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑไ์ ดต้ ามความเหมาะสม

หรืออาจใชเ้ กณฑ์ดงั น้ี

18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)

14–17 คะแนน = 3 (ด)ี

10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)

0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุง)

แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 หนา้ 131

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทางานเปน็ รายบุคคล

ผลงาน/กจิ กรรมท่ี เรื่อง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี

ช้ัน วันที่ เดอื น พ.ศ.

คาช้ีแจง : สงั เกตพฤติกรรมในการทางานของนักเรยี น โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งรายการ

ประเมนิ พฤติกรรมทน่ี ักเรยี นแสดงออก

รายการประเมนิ ระดับ

คุณภาพ

เลข ช่ือ–สกลุ สนใจในการทางาน
ท่ี ไม่เอาเปรียบเ ่ืพอนในการทางาน
เสนอความ ิคดเห็น 4321
ัรบ ัฟงความ ิคดเห็นของผู้อ่ืน
ใ ้หความช่วยเหลือผู้ ่อืน
ุ่มง ัม่นทางานใ ้หสาเร็จ
ประเ ิมนและปรับปรุงงาน ้ดวยความเ ็ตมใจ
เคารพ ้ขอตกลงของก ุ่ลม
ทาตามห ้นา ่ที ่ีทไ ้ดรับมอบหมาย
พอใจ ักบความสาเ ็รจของงาน

รวมคะแนน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารประเมิน
1. การใหค้ ะแนน  ให้ 1 คะแนน 2.การสรปุ ผลการประเมนิ ใหเ้ ป็นระดบั คณุ ภาพ4, 3,2,1ใช้เกณฑด์ ังนี้

9–10 คะแนน = 4 (ดมี าก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน= 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรุง)

แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 หน้า 132

แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ กลมุ่

ผลงาน/กิจกรรมที่ เรือ่ ง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่

ช้ัน วนั ที่ เดือน พ.ศ.

คาชีแ้ จง สงั เกตพฤติกรรมในการทางานของนกั เรียน โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการ

พฤติกรรมทน่ี ักเรยี นปฏิบัติ

รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ

เลข ชือ่ –สกลุ แบ่งงาน ักนรับผิดชอบ 4321
ที่ ีมกระบวนการทางานเป็นข้ันตอน
ทาตามห ้นา ่ที ี่ทไ ้ดรับมอบหมาย
ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ัรบ ัฟงความคิดเห็นของสมาชิกก ุ่ลม
นาม ิต/ ้ขอตกลงของกลุ่มไปป ิฏบัติ
่รวม ักนปรับปรุงผลงาน ้ดวยความเต็มใจ
ุ่มง ่มันทางานให้สาเร็จ
พอใจ ักบความสาเร็จของงาน
บรรยากาศในการทางาน

รวมคะแนน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑก์ ารประเมิน
1. การใหค้ ะแนน  ให้ 1 คะแนน
2. การสรปุ ผลการประเมนิ ให้เปน็ ระดบั คุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑ์ไดต้ ามความเหมาะสม
หรอื อาจใช้เกณฑ์ดังน้ี

9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน= 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรุง)

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าสังคมศึกษา (ส33101) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 133

มิตคิ ุณภาพของการบันทึกผลงาน ระดบั คณุ ภาพ
4
กาหนดเกณฑ์การประเมินผลการบนั ทึกผลงานโดยใชม้ าตรส่วนประเมนิ ค่า 4 ระดบั ดงั น้ี 3
รายการประเมนิ 2
1
– บันทกึ ผลงานได้ถูกตอ้ งตามจุดประสงค์ เขียนบันทกึ ได้ชดั เจน
แนวคดิ หลกั ถูกต้อง มีประเด็นสาคัญครบถว้ น

– ใช้ภาษาได้อยา่ งเหมาะสม คาศัพท์ถกู ต้อง
– บนั ทึกผลงานได้ถูกตอ้ งตามจุดประสงค์ เขยี นบนั ทกึ ท่ีมบี างสว่ นยังไม่

ชดั เจน แนวคดิ หลกั ถูกต้อง ส่วนท่ีเปน็ ประเดน็ สาคัญมไี ม่ครบถว้ น
– ใชภ้ าษา คาศัพท์ไม่ถูกต้องในบางสว่ น
– บันทกึ ผลงานยึดตามจดุ ประสงค์ เขยี นบนั ทึกไม่ชดั เจน แนวคดิ หลัก

บางส่วนไมถ่ ูกตอ้ ง ส่วนทเ่ี ปน็ ประเดน็ สาคัญมไี ม่ครบถ้วน
– ใชภ้ าษา คาศัพทไ์ มถ่ ูกตอ้ งในบางส่วน
– บนั ทึกผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ เขียนบนั ทึกไมช่ ดั เจน

และแนวคิดหลกั สว่ นใหญ่ไม่ถูกต้อง
– ใช้ภาษา คาศัพท์ไมถ่ ูกต้อง

แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาสังคมศึกษา (ส33101) ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 หนา้ 134

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12
การเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภวิ ัตน์

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เวลา 3 ช่ัวโมง

1. สาระสาคัญ

การเปดิ การคา้ เสรี หรือการเปิดเสรที างการคา้ มลี ักษณะการจดั ตง้ั เป็นเขตการค้าเสรี ซง่ึ เป็น

ความตกลงร่วมกันระหว่างประเทศตง้ั แต่ 2 ประเทศขนึ้ ไป เพื่อใหเ้ กิดความรว่ มมือทางการค้าระหว่าง

กันมากขึ้น

2. ตวั ช้ีวดั ช่วงชัน้

• วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวัตนท์ ่มี ผี ลตอ่ สังคมไทย

(ส 3.2 ม. 4–6/2)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายความสาคญั ของการเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวัตน์ได้ (K)

2. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภิวัตน์ (A)

3. รว่ มกันอภิปรายและวิเคราะห์เกีย่ วกับการเปิดเสรที างเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวัตน์ (P)

4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และคา่ นยิ ม (A)

1.ซกั ถามความรู้เร่ือง การเปิด • ประเมนิ พฤติกรรมในการ • ประเมนิ พฤติกรรมในการ

เสรีทางเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภิ ทางานเปน็ รายบุคคลในด้าน ทางานเปน็ รายบุคคลและเป็น

วัตน์ ความมีวนิ ัย ความใฝ่เรยี นรู้ กลุ่มในดา้ นการสอ่ื สาร การ

2.ตรวจผลงาน/กิจกรรม ฯลฯ คดิ การแกป้ ัญหา ฯลฯ

เป็นรายบคุ คลหรือเปน็ กลุม่

5. สาระการเรยี นรู้

• การเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภวิ ัตน์

1. ความหมายและความสาคัญของโลกาภวิ ัตน์

2. การเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวตั น์ของไทย

3. ปจั จัยทางเศรษฐกจิ ท่มี ีผลตอ่ การเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ ของไทย

4. ผลกระทบของการเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ

แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวชิ าสังคมศึกษา (ส33101) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 หน้า 135

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟงั พดู อา่ น และเขยี นเกีย่ วกับการเปิดเสรที างเศรษฐกจิ
ในยุคโลกาภวิ ตั น์
การงานอาชพี ฯ  สืบค้นขอ้ มลู เก่ยี วกับการเปดิ เสรที างเศรษฐกิจในยคุ โลกาภิวัตน์

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขั้นที่ 1 นาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครแู จ้งตวั ชวี้ ดั ชว่ งช้นั และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ให้นกั เรียนทราบ
2. ครใู หน้ ักเรียนดูภาพการประชมุ องคก์ ารการคา้ โลก แล้วซักถามนักเรยี นวา่ จากภาพ

นักเรียนคดิ วา่ กจิ กรรมดังกลา่ วเก่ยี วข้องกับการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภวิ ตั นอ์ ย่างไร ให้
นักเรียนชว่ ยกันแสดงความคิดเห็น จากนัน้ ครูอธิบายสรปุ เพอื่ เช่ือมโยงเข้าสู่เน้ือหาทีจ่ ะเรยี น

ขนั้ ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้
3. ครสู นทนากับนกั เรยี นเกย่ี วกบั ความหมายและความสาคัญของการเปดิ เสรที างเศรษฐกิจ
4. ครใู ห้นกั เรยี นจบั คู่กบั เพ่ือนหาข่าวเกย่ี วกับการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยคุ โลกาภวิ ตั น์จาก

หนังสือพิมพ์ หรืออินเทอร์เน็ต วิทยุ หรือโทรทัศน์ 1 เร่ือง
5. ครูให้แตล่ ะคู่สง่ ตัวแทนออกมาเล่าว่า ขา่ วที่ค้นหามาเป็นเรอ่ื งอะไร มคี วามสาคัญต่อ

เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวตั น์อย่างไร เมื่อออกมาเล่าครบทกุ คู่แล้วครอู ธบิ ายและสรปุ เพิ่มเติม
6. ครูให้นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 6–8 คน ร่วมกนั อภิปรายและวิเคราะหว์ ่าการเปิดเสรีทาง

เศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวัตนม์ ผี ลตอ่ ประเทศไทยอย่างไรบา้ ง
7. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมารว่ มกนั อภิปราย และเพ่ือนกลมุ่ อ่ืนร่วมกันแสดง

ความคดิ เห็น ครูอธิบายเพิ่มเติม
8. ในขณะนักเรยี นปฏิบตั กิ จิ กรรม ให้ครสู ังเกตพฤติกรรมในการทางานและการนาเสนอ

ผลงานของนักเรยี นตามแบบประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
ข้ันท่ี 3 ฝกึ ฝนผู้เรียน
9. ครใู หน้ กั เรยี นทากจิ กรรมที่เกย่ี วกบั การเปิดเสรที างเศรษฐกิจในยุคโลกาภวิ ตั นแ์ ละช่วยกนั

เฉลยคาตอบ
ขนั้ ที่ 4 นาไปใช้
10. ครูให้นักเรยี นจัดสมดุ ภาพข่าวเรือ่ งการเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภวิ ตั น์ เพ่ือ

เผยแพรค่ วามรู้
ข้ันที่ 5 สรุป
11. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรุปความรเู้ ร่ือง การเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวตั น์ โดย

ให้นักเรียนสรปุ เป็นแผนท่คี วามคดิ

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 หนา้ 136

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4–6 คน ศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเติมเร่อื ง การเปิดเสรที าง

เศรษฐกจิ ในยุคโลกาภวิ ตั น์ จากน้ันนามาจัดป้ายนิเทศ
9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้

1. ภาพการประชมุ องค์การการคา้ โลก
2. ส่อื การเรยี นรู้ เศรษฐศาสตร์
3. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน เศรษฐศาสตร์ ม. 4–6 บริษัท สานกั พมิ พ์วัฒนาพานชิ จากัด
4. แบบฝึกทักษะ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 137

แบบประเมินผลงาน/กจิ กรรมเป็นรายบคุ คล

ผลงาน/กิจกรรมท่ี เรอื่ ง

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี หนว่ ยการเรียนรู้ที่

ช้ัน วันท่ี เดอื น พ.ศ.

รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ

เลข ชื่อ–สกลุ ความ ูถก ้ตองการของผลงาน/ ิกจกรรม(6คะแนน) 4321
ท่ี ุจดเ ่ดนของผลงาน/ ิกจกรรม (4 คะแนน)
ความคิดสร้างสรรค์ (3 คะแนน)
ูรปแบบการนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนาไปใ ้ชประโยช ์น (3 คะแนน)
รวมคะแนน (20 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์การประเมิน

การสรุปผลการประเมนิ ใหเ้ ป็นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑไ์ ด้ตามความเหมาะสม

หรืออาจใชเ้ กณฑ์ดังนี้

18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)

14–17 คะแนน = 3 (ด)ี

10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)

0–9 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรงุ )

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาสงั คมศกึ ษา (ส33101) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 หนา้ 138

แบบประเมนิ ผลงาน/กิจกรรมเปน็ กลุ่ม

ผลงาน/กจิ กรรมที่ เร่อื ง

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่

ชั้น วนั ท่ี เดือน พ.ศ.

รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ

เลข ชือ่ –สกลุ ความถูก ้ตองการของผลงาน/กิจกรรม(6คะแนน) 4321
ที่ ุจดเด่นของผลงาน/กิจกรรม (4 คะแนน)
ความ ิคดสร้างสรร ์ค (3 คะแนน)
ูรปแบบการนาเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนาไปใช้ประโยชน์ (3 คะแนน)
รวมคะแนน (20 คะแนน)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เกณฑ์การประเมนิ

การสรุปผลการประเมินใหเ้ ป็นระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑไ์ ดต้ ามความเหมาะสม

หรืออาจใชเ้ กณฑ์ดงั น้ี

18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)

14–17 คะแนน = 3 (ด)ี

10–13 คะแนน = 2 (พอใช้)

0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุง)

แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 หนา้ 139

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทางานเปน็ รายบุคคล

ผลงาน/กจิ กรรมท่ี เรื่อง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี

ช้ัน วันที่ เดอื น พ.ศ.

คาช้ีแจง : สงั เกตพฤติกรรมในการทางานของนักเรยี น โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งรายการ

ประเมนิ พฤติกรรมทน่ี ักเรยี นแสดงออก

รายการประเมนิ ระดับ

คุณภาพ

เลข ช่ือ–สกลุ สนใจในการทางาน
ท่ี ไม่เอาเปรียบเ ่ืพอนในการทางาน
เสนอความ ิคดเห็น 4321
ัรบ ัฟงความ ิคดเห็นของผู้อ่ืน
ใ ้หความช่วยเหลือผู้ ่อืน
ุ่มง ัม่นทางานใ ้หสาเร็จ
ประเ ิมนและปรับปรุงงาน ้ดวยความเ ็ตมใจ
เคารพ ้ขอตกลงของก ุ่ลม
ทาตามห ้นา ่ที ่ีทไ ้ดรับมอบหมาย
พอใจ ักบความสาเ ็รจของงาน

รวมคะแนน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารประเมิน
1. การใหค้ ะแนน  ให้ 1 คะแนน 2.การสรปุ ผลการประเมนิ ใหเ้ ป็นระดบั คณุ ภาพ4, 3,2,1ใช้เกณฑด์ ังนี้

9–10 คะแนน = 4 (ดมี าก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน= 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรุง)

แผนการจัดการเรียนรู้รายวชิ าสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 หน้า 140

แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ กลมุ่

ผลงาน/กิจกรรมที่ เรือ่ ง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่

ช้ัน วนั ที่ เดือน พ.ศ.

คาชีแ้ จง สงั เกตพฤติกรรมในการทางานของนกั เรียน โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการ

พฤติกรรมทน่ี ักเรยี นปฏิบัติ

รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ

เลข ชือ่ –สกลุ แบ่งงาน ักนรับผิดชอบ 4321
ที่ ีมกระบวนการทางานเป็นข้ันตอน
ทาตามห ้นา ่ที ี่ทไ ้ดรับมอบหมาย
ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ัรบ ัฟงความคิดเห็นของสมาชิกก ุ่ลม
นาม ิต/ ้ขอตกลงของกลุ่มไปป ิฏบัติ
่รวม ักนปรับปรุงผลงาน ้ดวยความเต็มใจ
ุ่มง ่มันทางานให้สาเร็จ
พอใจ ักบความสาเร็จของงาน
บรรยากาศในการทางาน

รวมคะแนน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑก์ ารประเมิน
1. การใหค้ ะแนน  ให้ 1 คะแนน
2. การสรปุ ผลการประเมนิ ให้เปน็ ระดบั คุณภาพ 4, 3, 2, 1 กาหนดเกณฑ์ไดต้ ามความเหมาะสม
หรอื อาจใช้เกณฑ์ดังน้ี

9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน= 2 (พอใช้)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรบั ปรุง)

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าสังคมศึกษา (ส33101) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 หน้า 141

มิตคิ ุณภาพของการบันทึกผลงาน ระดบั คณุ ภาพ
4
กาหนดเกณฑ์การประเมินผลการบนั ทึกผลงานโดยใชม้ าตรส่วนประเมนิ ค่า 4 ระดบั ดงั น้ี 3
รายการประเมนิ 2
1
– บันทกึ ผลงานได้ถูกตอ้ งตามจุดประสงค์ เขียนบันทกึ ได้ชดั เจน
แนวคดิ หลกั ถูกต้อง มีประเด็นสาคัญครบถว้ น

– ใช้ภาษาได้อยา่ งเหมาะสม คาศัพท์ถกู ต้อง
– บนั ทึกผลงานได้ถูกตอ้ งตามจุดประสงค์ เขยี นบนั ทกึ ท่ีมบี างสว่ นยังไม่

ชดั เจน แนวคดิ หลกั ถกู ต้อง ส่วนท่ีเปน็ ประเดน็ สาคัญมไี ม่ครบถว้ น
– ใชภ้ าษา คาศัพทไ์ ม่ถูกตอ้ งในบางสว่ น
– บันทกึ ผลงานยึดตามจดุ ประสงค์ เขยี นบนั ทึกไม่ชดั เจน แนวคดิ หลัก

บางส่วนไมถ่ ูกตอ้ ง ส่วนทีเ่ ปน็ ประเดน็ สาคัญมไี มค่ รบถ้วน
– ใชภ้ าษา คาศัพทไ์ มถ่ ูกต้องในบางส่วน
– บนั ทึกผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ เขียนบนั ทึกไมช่ ดั เจน

และแนวคิดหลกั สว่ นใหญ่ไม่ถูกต้อง
– ใช้ภาษา คาศัพทไ์ มถ่ ูกต้อง

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (ส33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 หน้า 142

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 13
ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เวลา 3 ช่ัวโมง

1. สาระสาคัญ

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ หรอื ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเปน็ กระบวนการยกเลิกการเลือก

ปฏบิ ตั ทิ างดา้ นการคา้ และการเงินระหว่างประเทศ โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พื่อเสรมิ สร้างและรกั ษา

ผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจรว่ มกนั ปจั จยั ทนี่ าไปสคู่ วามรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ได้แก่ การพ่งึ พาอาศยั

กันและกัน การแขง่ ขัน การขัดแย้ง การประสานประโยชน์ และการกีดกนั ทางการค้า

องค์การความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศแบง่ เป็น 2 ระดบั คอื องค์การระดบั โลก

และองค์การระดับภูมภิ าค ซึ่งการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ มีวตั ถปุ ระสงคห์ รอื เป้าหมายแตกต่างกนั

2. ตัวช้ีวดั ช่วงชน้ั

• วเิ คราะหผ์ ลดผี ลเสียของความรว่ มมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในรปู แบบต่าง ๆ

(ส 3.1 ม. 4–6/3)

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายความสาคญั ของปจั จยั ทีน่ าไปสูค่ วามรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจได้ (K)

3. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของปัจจยั ทน่ี าไปสคู่ วามร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ (A)

4. วิเคราะห์ปัจจัยท่นี าไปสู่ความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ (P)

4. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)

1.ทดสอบหลงั เรยี น • ประเมนิ พฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ

2.ซกั ถามความรู้เร่ือง ความ ทางานเป็นรายบุคคลในด้าน ทางานเป็นรายบุคคลและเปน็

ร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ ความมวี ินัย ความใฝ่เรยี นรู้ กลุ่มในด้านการสื่อสาร การ

3.ตรวจผลงาน/กิจกรรม ฯลฯ คิด การแกป้ ญั หา ฯลฯ

เปน็ รายบุคคลหรอื เป็นกลุม่

5. สาระการเรยี นรู้

• ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ

1. ความหมายและความสาคัญของความรว่ มมือทางเศรษฐกิจ

2. ปัจจยั ทน่ี าไปส่คู วามร่วมมือทางเศรษฐกจิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (ส33101) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 หนา้ 143

3. รูปแบบของความรว่ มมือทางเศรษฐกิจ
4. องค์การความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ
5. การกดี กันทางการค้า
6. แนวทางบรู ณาการ
ภาษาไทย  ฟงั พูด อา่ น และเขยี นเกีย่ วกับความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ
กางานอาชีพฯ  สบื คน้ ข้อมูลเก่ยี วกบั ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ
7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ข้ันท่ี 1 นาเขา้ ส่บู ทเรยี น
1. ครแู จ้งตวั ชีว้ ัดชว่ งชนั้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ใหน้ กั เรยี นทราบ
2. ครถู ามนกั เรียนวา่ การแขง่ ขันทางการค้าเก่ยี วขอ้ งกบั เร่ืองอะไร ครูอธิบายเพื่อเชื่อมโยง
เขา้ เนอื้ หาที่จะเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรยี นรู้
3. ครูสนทนากับนักเรยี นเกีย่ วกบั ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
4. ครซู ักถามนกั เรียนในประเดน็ ต่าง ๆ เช่น

1) การพ่ึงพาอาศัยซึง่ กนั และกนั คืออะไร
2) การแขง่ ขันกนั ทางเศรษฐกิจมีผลดีต่อระบบเศรษฐกิจอย่างไร
3) การกีดกนั ทางการคา้ มวี ธิ ีปฏิบตั ิอย่างไร
นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบ จากน้ันครอู ธบิ ายเพ่ิมเติม
5. ครูให้นักเรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 4–6 คน ศกึ ษาค้นควา้ เกี่ยวกบั ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ
6. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมาร่วมกันวิเคราะหแ์ สดงความคิดเหน็
7. ครใู หน้ กั เรียนยกตัวอย่างองค์การความรว่ มมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศทนี่ ักเรียน
รจู้ กั ว่ามอี ะไรบ้าง มีบทบาทหน้าท่ีอยา่ งไร แล้วครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ
8. ครใู ห้นักเรยี นช่วยกนั ระดมความคดิ และวเิ คราะห์ผลดี–ผลเสยี จากการทป่ี ระเทศไทยเข้า
รว่ มเป็นสมาชิกองค์การความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ ดังนี้
1) องคก์ ารการคา้ โลก
2) เขตการคา้ เสรอี เมรกิ าเหนอื
3) สหภาพยโุ รป
4) กองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ
5) ธนาคารเพ่ือการพฒั นาเอเชยี
6) องค์การกลมุ่ ประเทศผสู้ ง่ ออกปโิ ตรเลียม
7) เขตการคา้ เสรี
8) ความรว่ มมือทางเศรษฐกิจเอเชีย–แปซิฟกิ

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 หน้า 144

9) เขตส่ีเหลย่ี มเศรษฐกิจ
9. ครใู ห้นักเรียนร่วมกันสรปุ ผลการระดมความคิดและวเิ คราะหถ์ งึ ผลดี–ผลเสียท่ไี ด้รับ
10. ในขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรมของนักเรยี น ให้ครูสงั เกตพฤติกรรมในการทางานและการ
นาเสนอผลงานของนกั เรียนตามแบบประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเป็นรายบคุ คลหรือเป็นกลุ่ม
ขั้นท่ี 3 ฝกึ ฝนผู้เรยี น
11. ครใู ห้นกั เรียนทากิจกรรมทีเ่ กย่ี วกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจและแบบทดสอบการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ แล้วชว่ ยกันเฉลยคาตอบ
ขั้นที่ 4 นาไปใช้
12. ครูแนะนาให้นกั เรยี นคน้ ควา้ ขอ้ มลู เพ่ิมเติมเกยี่ วกบั ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจ แลว้ นามา
จัดปา้ ยนิเทศหนา้ ชั้นเรียน
ขน้ั ท่ี 5 สรุป
13. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปความรู้เรื่อง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ โดยใหน้ ักเรยี นสรุป
เป็นแผนท่ีความคดิ
14. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียนและชว่ ยกันเฉลยคาตอบ
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภปิ รายเรือ่ ง ปจั จัยที่นาไปสู่ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ แลว้ นาผล
อภปิ รายมาจัดป้ายนิเทศเพือ่ เผยแพรค่ วามรู้ต่อไป
9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น
2. สอื่ การเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์
3. หนงั สือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน เศรษฐศาสตร์ ม. 4–6 บริษทั สานกั พิมพ์วัฒนาพานชิ จากัด
4. แบบฝึกทักษะ รายวิชาพ้ืนฐาน เศรษฐศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา (ส33101) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 หน้า 145

แบบบนั ทกึ การระดมสมอง
เรือ่ ง การค้าและการลงทนุ ระหว่างประเทศ

ตัวชีว้ ดั ช่วงชัน้ วเิ คราะห์ผลกระทบของการเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวัตนท์ ่มี ีผลตอ่
สงั คมไทย (ส 3.2 ม. 4-6/2)

คาชแี้ จง แบง่ นักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ชว่ ยกนั ระดมสมองเกีย่ วกับการคา้ และการลงทนุ ระหวา่ ง
ประเทศของไทย ในประเด็นท่ีกาหนดให้ แลว้ บนั ทึกผล พจิ ารณาจากคาตอบของ
นักเรียน

1. การค้าระหวา่ งประเทศของไทยมีดังน้ี

2. การลงทนุ ระหว่างประเทศของไทยมีดงั นี้

แผนการจัดการเรียนร้รู ายวิชาสงั คมศกึ ษา (ส33101) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 หน้า 146

แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

1. ความตกลงการค้าเสรีไทย–ออสเตรเลีย หรือสหรัฐอเมริกา–สงิ คโปร์ จัดเป็นการเจรจาความตก

ลงการคา้ เสรีในระดับใด

ก การเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ ข การเจรจาแบบรวมกลมุ่ ทางภูมิภาค

ค การเจรจาเพ่ือทาความตกลงแบบทวิภาคี ง การเจรจาแบบพหภุ าคใี นองคก์ ารการคา้ โลก

2. การแลกเปลี่ยนสินคา้ และบรกิ ารต่าง ๆ ผา่ นเขตแดนของชาติ หมายถงึ ข้อใด

ก การส่งออกสุทธิ ข การคา้ แบบทวภิ าคี

ค การค้าระหว่างประเทศ ง การเปดิ เสรที างเศรษฐกิจ

3. ข้อใดกลา่ วผดิ

ก การสง่ ออกสุทธิแสดงถงึ ดลุ การชาระเงินระหวา่ งประเทศ

ข การนาเขา้ เปน็ การซ้ือสินค้าและวัตถุดบิ ที่ผลิตจากประเทศอนื่ ๆ

ค ถ้ามูลค่าการสง่ ออกมากกว่ามูลคา่ การนาเขา้ ประเทศจะเกนิ ดุลการคา้

ง ถ้ามลู คา่ การส่งออกน้อยกวา่ มลู ค่าการนาเข้าประเทศจะขาดดลุ การคา้

4. ข้อตอ่ ไปนค้ี อื สาเหตแุ ละปจั จยั ทีก่ ่อใหเ้ กิดการคา้ ระหวา่ งประเทศยกเว้นข้อใด

ก ความได้เปรยี บทางการผลติ ข ความแตกต่างทางภูมิศาสตร์

ค จานวนของประชากรในประเทศ ง ความแตกตา่ งทางทรพั ยากรธรรมชาติ

5. “การที่แตล่ ะประเทศมที าเลทต่ี ้งั และสภาพดินฟา้ อากาศแตกต่างกนั ทาให้โอกาสในการผลติ

สินคา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ มคี วามแตกตา่ งกันไปตามความเหมาะสม” จากข้อความนี้ประเทศไทยควร

ผลติ สินค้าใดเปน็ สินค้าสง่ ออก

ก ปอ ข ขา้ ว

ค กาแฟ ง นา้ มัน

6. ประเทศใดมีความชานาญและได้เปรยี บทางการผลิตเครอ่ื งอิเล็กทรอนิกส์

ก ญ่ีปนุ่ ข สหรฐั อเมริกา

ค เนเธอร์แลนด์ ง สวิตเซอร์แลนด์

7. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งทีส่ ดุ

ก ประเทศที่กาลงั พฒั นาควรนาเขา้ สินค้ามาก ๆ

ข การส่งออกสนิ ค้าเป็นการเพิม่ รายได้ให้กบั ผ้ผู ลิต

ค สินคา้ เข้าจากต่างประเทศจะทาใหร้ ฐั บาลมีรายไดล้ ดลง

ง การนาสินคา้ เข้าทาใหเ้ กดิ รายได้ซงึ่ เปน็ เงินตราต่างประเทศ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาสงั คมศึกษา (ส33101) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 หน้า 147

8. ขอ้ ใดไม่ใช่เงอื่ นไขของนโยบายการค้าแบบเสรีทปี่ ระเทศตา่ ง ๆ ตอ้ งปฏบิ ัตติ าม

ก ตอ้ งทาการค้ากับประเทศสมาชกิ เทา่ น้ัน

ข ต้องดาเนนิ การผลิตตามหลักการแบ่งงาน

ค ต้องไม่มีการเก็บภาษหี รอื มีการเก็บภาษีแตน่ อ้ ย

ง ตอ้ งไมม่ ีการใหส้ ิทธิพเิ ศษและไม่มขี ้อจากัดทางการค้ากับประเทศตา่ ง ๆ

9. “การสง่ สินค้าไปขายประเทศอนื่ ในราคาที่ต่ากว่าทุนเพือ่ ทาลายค่แู ขง่ ในตลาดตา่ งประเทศและ

เม่ือทุ่มตลาดสาเร็จไดค้ รองตลาดแหง่ น้ันแล้วก็จะเพม่ิ ราคาสนิ คา้ ใหส้ งู ขน้ึ ในเวลาตอ่ มา”

ขอ้ ความนี้หมายถึงข้อใด

ก การสง่ ออก ข การตีตลาด

ค การท่มุ ตลาด ง การครองตลาด

10.หากประเทศไทยมนี โยบายม่งุ สนับสนนุ การผลิตสินค้าในประเทศ ควรใช้มาตรการใดเปน็

เครอื่ งมือเพ่ือกีดกนั การนาเข้าและสง่ เสริมการสง่ ออก

ก การต้งั กาแพงภาษี ข การควบคุมโควตาการนาเข้า

ค การให้เงนิ อดุ หนุนผู้ผลติ และผ้สู ่งออก ง ถกู ทุกข้อ

11.การเรียกเกบ็ ภาษจี ากสนิ คา้ นาเข้าทต่ี ้องการจะกีดกันในอตั ราสูงกว่าปกตแิ ละเก็บภาษีอัตรา

เดียวกนั ไม่ว่าจะมาจากประเทศใด หรือเกบ็ อตั ราภาษหี ลายอัตราในแตล่ ะประเทศไม่เท่ากนั

เปน็ เคร่อื งมือของการใชน้ โยบายการค้าแบบคุ้มกนั ในขอ้ ใด

ก การตงั้ กาแพงภาษี ข การใชม้ าตรการอ่ืน ๆ

ค การควบคุมโควตาการนาเข้า ง การควบคุมโควตาการสง่ ออก

12.ข้อใดเปน็ การลงทนุ ระหว่างประเทศทางตรง

ก การนาเงินทนุ ไปฝากธนาคาร ข การโยกยา้ ยเงินทนุ ไปลงทุนในตลาดเงนิ

ค การลงทนุ ในลักษณะของการซือ้ หลกั ทรัพย์ ง การลงทนุ ในธุรกิจการผลิตสินค้าและบริการ

13.ข้อต่อไปนีค้ ือประโยชนข์ องการลงทนุ ระหวา่ งประเทศทางอ้อมยกเว้นขอ้ ใด

ก ประชาชนมคี วามเป็นอยู่ท่ีดีขึน้

ข ประเทศผูร้ ับการลงทนุ มกี ารพฒั นาเศรษฐกจิ

ค ไดร้ บั ประโยชน์ทางดา้ นการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ ๆ

ง เกิดการจดั สรรทรัพยากรการเงนิ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

14.“องคก์ ารระหว่างประเทศทที่ าหนา้ ท่คี อยดูแลให้การค้าระหวา่ งประเทศเปน็ ไปโดยราบร่ืนและ

ขยายตัว” ข้อความน้หี มายถึงขอ้ ใด

ก ธนาคารโลก ข ธนาคารเพื่อการพฒั นาเอเชยี

ค กองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ ง ธนาคารเพ่ือการชาระหนีร้ ะหวา่ งประเทศ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าสังคมศึกษา (ส33101) ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 หน้า 148

15.ข้อใดคอื ธนาคารโลก

ก ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชยี ข ธนาคารเพ่ือการชาระหนร้ี ะหว่างประเทศ

ค ธนาคารเพื่อการบรู ณะและพฒั นาประเทศ ง ธนาคารกลางในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

16. ข้อใดไม่ใช่ประโยชนข์ องการนาสนิ ค้าเขา้

ก เป็นการเพิ่มการลงทุน ข รฐั บาลมรี ายได้เพ่ิมมากข้ึน

ค เกิดรายไดซ้ ง่ึ เปน็ เงนิ ตราตา่ งประเทศ ง กระตนุ้ การผลติ สินค้าภายในประเทศ

17.ข้อใดเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ขน้ั ตน้

ก เขตการคา้ เสรี ข สหภาพศุลกากร

ค สหภาพเศรษฐกิจ ง สหภาพเหนอื ชาติ

18.ข้อใดเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ที่ประเทศสมาชิกไมส่ ามารถเคลื่อนยา้ ยปัจจยั การผลิตได้

ก ตลาดร่วม ข สหภาพศุลกากร

ค สหภาพเศรษฐกจิ ง สหภาพเหนอื ชาติ

19.“กระบวนการยกเลกิ การเลอื กปฏบิ ัติทางดา้ นการค้าและการเงินระหว่างประเทศ โดยมี

วัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ เสริมสรา้ งและรักษาผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ร่วมกัน” ข้อความนี้หมายถึง

ข้อใด

ก การประสานประโยชน์ ข การลงทนุ ระหว่างประเทศ

ค การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ง การพึง่ พาทางดา้ นเศรษฐกจิ

20. “องค์การระหว่างประเทศท่ีทาหน้าทีเ่ ป็นเวทีเจรจาการคา้ และระงบั ขอ้ พิพาทของประเทศ

สมาชิกโดยมสี มาชิกดูแลรบั ผิดชอบด้านกฎระเบียบการค้าระหวา่ งประเทศ” ข้อความนี้

หมายถึงข้อใด

ก สหภาพยโุ รป ข องค์การการค้าโลก

ค เขตการค้าเสรีอเมรกิ าเหนือ ง กองทนุ การเงินระหว่างประเทศ

21.ประเทศใดไม่ได้เปน็ สมาชิกเขตการคา้ เสรอี เมรกิ าเหนอื

ก รสั เซีย ข เมก็ ซิโก

ค แคนาดา ง สหรัฐอเมริกา

22.ข้อใดคอื วตั ถุประสงค์ของเขตการค้าเสรอี เมริกาเหนอื

ก เพื่อแสวงหาตลาดสนิ คา้ ออกในภูมิภาคอืน่

ข เพอ่ื ใหม้ กี ารจัดตั้งระบบเพ่ือระงบั ขอ้ พิพาท

ค เพ่ือใหไ้ ด้มาซ่งึ อานาจในการประกาศเพ่ิมราคานา้ มนั

ง เพอ่ื ลดภาษีศลุ กากรระหวา่ งกนั ภายในกลมุ่ ลงให้เหลอื น้อยท่ีสุด

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา (ส33101) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 หนา้ 149

23.ข้อใดกล่าวผดิ

ก นาฟตามีสมาชิกเพียง 3 ประเทศ

ข เนเธอร์แลนด์เปน็ สมาชิกของสหภาพยโุ รป

ค องค์การการค้าโลกมีพัฒนาการมาจากแกตต์

ง กลุ่มประเทศผสู้ ง่ น้ามนั เป็นสนิ ค้าออกมีชื่อย่อวา่ เอเปก

24.“องคก์ ารทม่ี ีบทบาทและหน้าท่ใี นการสนับสนุนความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศและมี

ฐานะเป็นทบวงการชานญั พิเศษของสหประชาชาติ” ขอ้ ความน้หี มายถึงข้อใด

ก IMF ข ADB

ค WTO ง FTA

25.ประเทศใดเปน็ ผถู้ ือหนุ้ มากทส่ี ุดในธนาคารเพอื่ การพัฒนาเอเชยี

ก ญป่ี นุ่ จีน ข จนี องั กฤษ

ค ญีป่ ุ่น สหรัฐอเมรกิ า ง สหรัฐอเมริกา อังกฤษ

26.ไทยไม่ได้เปน็ สมาชกิ องคก์ ารความรว่ มมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในขอ้ ใด

ก IMF ข WTO

ค APEC ง OPEC

27.ข้อตอ่ ไปน้คี ือวตั ถุประสงคใ์ นการก่อตั้งสหภาพยโุ รปยกเวน้ ขอ้ ใด

ก ยกระดับการดารงชวี ิตของชาวยุโรปใหด้ ขี นึ้

ข พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้าในระดับพหภุ าคี

ค รวบรวมระบบเศรษฐกจิ ของประเทศสมาชิกให้เปน็ อนั หน่ึงอันเดยี วกนั

ง จดั ต้ังสหภาพศุลกากรโดยการขจัดอุปสรรคทางการค้าระหวา่ งประเทศ

28.ปัจจุบนั ประเทศใดไม่ได้เป็นสมาชิกองค์การกลุ่มประเทศผ้สู ่งออกปิโตรเลียม

ก กาตาร์ ข กาบอง

ค เวเนซเุ อลา ง อินโดนีเซีย

29.ข้อใดไม่ใช่หลกั การความร่วมมือของเอเปก

ก ยึดหลักผลประโยชนร์ ว่ มกัน

ข ยดึ หลักฉนั ทามตใิ นการดาเนินการ

ค ลดและยกเลิกมาตรการภาษแี ละมาตรการทีม่ ใิ ช่ภาษี

ง เป็นเวทีสาหรบั ปรึกษาหารือเกีย่ วกบั ประเด็นทางเศรษฐกิจ

30.“การร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ เพ่อื เปน็ การแลกเปลยี่ นผลประโยชนซ์ ่งึ กันและกนั

รวมท้งั การจัดสรรทรพั ยากรทีม่ อี ยูอ่ ยา่ งจากดั ใหเ้ กดิ ประโยชนม์ ากทีส่ ดุ ” ขอ้ ความน้หี มายถึงขอ้ ใด

ก การกดี กนั ทางการค้า ข การประสานประโยชน์

ค การพ่ึงพาอาศยั ซึง่ กันและกัน ง การแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ


Click to View FlipBook Version