The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พลังงานไฟฟ้ามัธยมปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พลังงานไฟฟ้ามัธยมปลาย

พลังงานไฟฟ้ามัธยมปลาย

143

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2

การผลิตไฟฟ้า

กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 1 เชอื้ เพลงิ และพลงั งานท่ีใชใ้ นการผลติ ไฟฟา้

กิจกรรมท่ี 1.1 อธบิ ายกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงแตล่ ะประเภทดังนี้

1) กระบวนการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน การผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน เร่ิมจากการขนส่งถ่านหินจาก
ลานกองถ่านหินไปยังยงุ้ ถา่ น จากน้นั ถ่านหนิ จะถูกลาเลียงไปยังเครื่องบด เพ่ือบดถ่านหินให้เป็นผง
ละเอียดก่อนท่ีจะถูกพ่นเข้าไปเผายังหม้อไอน้า เมื่อถ่านหินเกิดการเผาไหม้ก็จะถ่ายเทความร้อน
ให้แก่น้า ทาให้น้าร้อนขึ้นจนเกิดไอน้า จะมีความดันสูงสามารถขับใบพัดกังหันไอน้าทาให้กังหันไอ
น้าหมุนโดยแกนของกังหันไอน้าเช่ือมต่อกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจึงทาให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ทางาน สามารถผลิตกระแสไฟฟา้ ออกมาได้

2) กระบวนการผลติ ไฟฟ้าจากนา้ มนั มี 2 แบบ ดังนี้
(1) การผลิตไฟฟ้าจากน้ามันเตา ใชน้ า้ มันเตาเป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนไปต้มน้า เพื่อผลิตไอน้า

ไปหมนุ กังหนั ไอนา้ ท่ีตอ่ อยู่กับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(2) การผลิตไฟฟ้าจากน้ามันดีเซล มีหลักการทางานเหมือนกับเครื่องยนต์ในรถยนต์ท่ัวไป

ซึ่งจะอาศัยหลักการสันดาปของน้ามันดีเซลที่ถูกฉีดเข้าไปในกระบอกสูบของเคร่ืองยนต์ที่ถูกอัด
อากาศจนมีอุณหภูมิสูง และเกดิ ระเบิดดนั ให้ลูกสูบเคล่อื นท่ีลงไปหมนุ เพลาข้อเหว่ียงซ่ึงต่อกับเพลา
ของเคร่ืองยนต์ ทาให้เพลาของเครื่องยนต์หมุน และทาให้เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าซ่ึงต่อกับเพลาของ
เครอ่ื งยนตห์ มุนตามไปด้วย จึงเกดิ การผลติ ไฟฟา้ ออกมา
3) กระบวนการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ เร่ิมต้นด้วยกระบวนการเผาไหม้ก๊าซธรรมชาติ
ในห้องสันดาปของกังหันก๊าซท่ีมีความร้อนสูงมาก เพ่ือให้ได้ก๊าซร้อนมาขับกังหัน ซึ่งจะไปหมุน
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า จากน้ันจะนาก๊าซร้อนส่วนที่เหลือไปผลิตไอน้าสาหรับใช้ขับเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า
แบบกังหันไอน้า สาหรับไอน้าส่วนที่เหลือจะมีแรงดันต่าก็จะผ่านเข้าสู่กระบวนการลดอุณหภูมิ
เพ่อื ใหไ้ อน้าควบแนน่ เปน็ น้าและนากลบั มาปอ้ นเขา้ ระบบผลติ ใหม่อย่างตอ่ เน่ือง

144

กจิ กรรมท่ี 1.2 นาขอ้ มูลท่กี าหนดให้ในตารางตอบประเด็นคาถามข้อ 1) และ 2)

1) พื้นที่ 1 เหมาะสมที่จะสร้างโรงไฟฟ้ากังหันลม เน่ืองจาก เป็นความเร็วลมในระดับที่สามารถ
ผลิตไฟฟ้าได้กาลังสูงสุด คืออยู่ในช่วง 12-15 เมตรต่อวินาที และมีลมพัดอย่างสม่าเสมอ ซึ่งเป็น
ปจั จัยสาคญั ในการผลติ ไฟฟา้ จากกงั หันลม
2) พ้ืนท่ี 4 เหมาะสมที่จะสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวล เน่ืองจากมีศักยภาพของเช้ือเพลิงชีวมวล
คอื แกลบ ทไี่ ด้จากการทานา
กจิ กรรมที่ 1.3 วิเคราะห์ศักยภาพพลงั งานทดแทนในชุมชนของตนเอง ในประเด็นดังต่อไปนี้
1) ชนิดและปรมิ าณ
2) ความพรอ้ มของพน้ื ที่
3) การใชห้ รือแนวทางการนามาใช้
4) ประโยชน์ที่เกดิ หรือคาดว่าจะเกิดกับชมุ ชน

หากมีการใช้พลังงานทดแทนในชุมชน มีพลังงานทดแทนชนิดใด ปริมาณเท่าไร
นามาใช้ประโยชน์อย่างไร พื้นที่สามารถพัฒนานาเอาพลังงานทดแทนชนิดน้ันมาใช้ประโยชน์ได้
และหากนามาใช้จะมีประโยชน์ต่อชมุ ชนอย่างไร

หากไม่มกี ารใช้พลังงานทดแทนในชุมชน ให้บอกเหตุผลประกอบ เช่น ไม่มีเชื้อเพลิง
ชวี มวล ไมว่ า่ จะเป็นวสั ดทุ างการเกษตร วัสดเุ หลือทง้ิ จากการเกษตร ขยะมูลฝอย น้าเสียจากชุมชน
วัสดุเหลือท้ิงภายหลังจากกระบวนการเปล่ียนรูปผลผลิตทางการเกษตร ของเสียจากกระบวนการ
ผลติ เป็นตน้

กิจกรรมที่ 1.4 ตอบคาถามต่อไปน้ี
1) ต้นทุนในการผลติ ไฟฟ้าของพลงั งานทดแทน เกิดจากปจั จัยดังน้ี

1.1) มูลค่าในการวิจัยและพัฒนาระบบของการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานทดแทน (Research
and Development Cost) เป็นค่าใช้จ่ายจมหรือค่าใช้จ่ายในอดีต (Suck Cost) มักไม่นามา
พจิ ารณาผลประโยชนห์ รือตน้ ทนุ เพราะไมม่ ีผลต่อการจะลงทนุ หรือไม่ลงทุนในการตดิ ต้งั ระบบ

1.2) มูลค่าการลงทุนหรือการจัดหาการติดต้ังระบบผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานทดแทน
(Investment Cost) เปน็ คา่ ใช้จา่ ยท่เี กิดขึ้นเพอื่ ทาให้เกดิ ความพรอ้ มทจ่ี ะดาเนนิ การระบบ ได้แก่

1.2.1) มูลค่าท่ีดิน ขนาดพื้นท่ีข้ึนอยู่กับส่วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
แต่ละประเภท ซ่งึ พน้ื ที่แตล่ ะแห่งจะมรี าคาประเมนิ ทแี่ ตกตา่ งกนั

145

1.2.2) มูลค่าวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการผลิตไฟฟ้า เช่น มูลค่ากังหันลมท่ีใช้ในโรงไฟฟ้า
พลังงานลม หรอื มลู คา่ แผงเซลลแ์ สงอาทติ ยท์ ีใ่ ช้ในโรงไฟฟา้ พลงั แสงอาทติ ย์ เปน็ ตน้

1.2.3) มูลค่าการติดต้ังระบบ คือ ค่าใช้จ่ายในการติดต้ังซึ่งประกอบไปด้วย ค่าปรับพื้นที่
เช่น การทาถนนเพื่อความสะดวกในการขนส่งวัตถุดิบ ค่าระบบเสริม เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า
ค่าเชอ่ื มโยงระบบ

1.3) มลู ค่าการปฏบิ ัติงานและการบารงุ รกั ษา ซ่ึงมรี ายละเอียดค่าใชจ้ ่ายจาแนกไดด้ ังนี้
1.3.1) ค่าการปฏิบัติงาน เป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ เช่น ค่าน้า - ค่าไฟ ค่าแรง

คา่ โทรศัพท์ ค่าขนส่ง คา่ โฆษณาประชาสมั พนั ธ์ ค่าประกนั ต่าง ๆ ค่าฝึกอบรม ค่าอะไหล่ ค่าที่ปรึกษา
เป็นต้น เป็นค่าใช้จ่ายท่ีจานวนเงินไม่เปล่ียนแปลงตามปริมาณการผลิต ไม่ว่าจะทาการผลิตใน
ปรมิ าณมากหรอื น้อยกต็ าม

1.3.2) ค่าบารุงรักษา เป็นค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาวัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักรและ
ส่งิ กอ่ สรา้ งเพอื่ ให้ดาเนินการต่อไปไดต้ ลอดอายขุ องระบบ

2) ส่วนเพมิ่ ราคารบั ซื้อไฟฟ้าจากพลงั งานหมนุ เวียนแบบ Adder (Adder Cost) คือ เงนิ สนับสนุน
การผลติ ตอ่ หนว่ ยการผลิต เปน็ การกาหนดราคารับซ้อื ในอตั ราพิเศษหรอื เฉพาะสาหรับไฟฟา้ ทีม่ า
จากพลงั งานหมุนเวียนของรฐั บาล โดยผผู้ ลิตไฟฟา้ เอกชนทีผ่ ลิตจากพลังงานหมุนเวยี นจะขายไฟได้
ในราคาเท่ากับคา่ รับซ้ือไฟฟ้าปกติบวกกบั Adder Cost (ราคาทีผ่ ้ขู ายจะได้รับ = ค่ารบั ซือ้ ไฟฟ้า
ปกติ + Adder) ซึง่ Adder Cost จะกระทบกับอตั ราค่าไฟฟา้ ที่ผบู้ รโิ ภคจะตอ้ งแบกรบั ในอนาคต

3) ราคาตน้ ทนุ การผลติ ไฟฟา้ ต่อหน่วย

เชอื้ เพลงิ ตน้ ทนุ การผลติ ลาดับ
(บาท/หน่วยไฟฟ้า)
ลม 5
พลังน้าขนาดเลก็ 5.00 – 6.00 1
2.50 – 2.70 6
แสงอาทิตย์ 8.00 – 9.00 4
ชวี มวล 3.00 - 3.50 2
ถา่ นหนิ 2.50 – 3.00 2
นิวเคลียร์ 2.50 – 3.00

146

กจิ กรรมที่ 1.5 นาขอ้ มูลที่เป็นขอ้ ดี – ข้อจากดั เขียนลงในตารางให้ตรงกับชนิดของเชื้อเพลิงหรือ
แหล่งพลังงานแต่ละประเภท

เช้อื เพลงิ / ข้อดี-ขอ้ จากดั ของพลงั งานทดแทนแต่ละประเภท
แหล่งพลังงาน
ข้อดี
ถ่านหิน 1. มีปรมิ าณเช้ือเพลิงสารองจานวนมาก
2. สามารถผลติ ไฟฟา้ ได้ตลอด 24 ชว่ั โมง
3. ต้นทนุ คา่ ไฟต่อหนว่ ยตา่

ข้อจากัด
1. มกี ารปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก
2. ใช้เช้ือเพลงิ ในปริมาณมาก
3. ประชาชนไม่เช่ือม่นั เรอ่ื งมลภาวะทางอากาศ

เชอ้ื เพลิง / ข้อดี-ขอ้ จากดั ของพลังงานทดแทนแต่ละประเภท
แหลง่ พลังงาน
กา๊ ซธรรมชาติ ขอ้ ดี
1. สามารถผลิตไฟฟา้ ไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง
นา้ มนั 2. ตน้ ทุนค่าไฟต่อหนว่ ยต่า

พลังงานลม ขอ้ จากดั
1. มกี ารปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก
2. มีปริมาณสารองเหลอื น้อย

ขอ้ ดี
สามารถผลิตไฟฟ้าไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมง

ขอ้ จากดั
1. มีการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก
2. มปี รมิ าณสารองเหลือน้อย

ขอ้ ดี
1. เปน็ แหลง่ พลังงานทไี่ ด้จากธรรมชาตไิ ม่มีคา่ เชื้อเพลงิ
2. เปน็ แหล่งพลังงานสะอาดไม่ก่อให้เกิดกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากการผลติ ไฟฟ้า

147

เชื้อเพลงิ / ข้อดี-ขอ้ จากัด ของพลงั งานทดแทนแต่ละประเภท
แหลง่ พลังงาน
ข้อจากัด
พลังงานน้า 1. มีความไมแ่ นน่ อนขึน้ อยู่กบั สภาวะอากาศ
2. สามารถทาไดเ้ ฉพาะพนื้ ท่ีที่มีศกั ยภาพเพียงพอเทา่ น้นั
3. มีเสยี งดงั และมผี ลกระทบต่อทศั นียภาพ ทาใหเ้ กิดการรบกวนในการสง่ สัญญาณ
โทรทัศนแ์ ละไมโครเวฟ
4. ตน้ ทนุ ค่าไฟต่อหนว่ ยสูง

ขอ้ ดี
1. เป็นแหลง่ พลังงานทีไ่ ดจ้ ากธรรมชาติไม่มีคา่ เชอื้ เพลิง
2. เปน็ แหล่งพลงั งานสะอาด ไม่ก่อให้เกดิ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากการผลิตไฟฟ้า
3. สามารถนาไปใช้ในแหล่งทย่ี ังไม่มไี ฟฟ้าใชแ้ ละอย่หู ่างไกลจากระบบสายส่งและสาย
จาหน่ายไฟฟ้า

4. ตน้ ทุนค่าไฟต่อหนว่ ยตา่

ขอ้ จากดั
การก่อสรา้ งเขื่อนขนาดใหญ่ต้องใช้พนื้ ทีก่ วา้ งและอาจทาให้เกิดนา้ ทว่ มเปน็ บรเิ วณกวา้ ง

สง่ ผลกระทบต่อบา้ นเรือนประชาชน

เชอ้ื เพลิง / ขอ้ ดี-ขอ้ จากดั ของพลงั งานทดแทนแตล่ ะประเภท
แหล่งพลังงาน
พลงั งานแสงอาทติ ย์ ข้อดี
1. เปน็ แหลง่ พลังงานทไ่ี ด้จากธรรมชาติไมม่ ีคา่ เช้ือเพลิง
พลังงานชวี มวล 2. เป็นแหล่งพลังงานสะอาดไม่ก่อใหเ้ กดิ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากการผลติ ไฟฟา้

ขอ้ จากดั
1. มคี วามไมแ่ น่นอนขึ้นอยู่กับสภาวะอากาศ
2. สามารถทาได้เฉพาะพน้ื ท่ีทมี่ ีศักยภาพเพียงพอเท่านัน้
3. ตน้ ทุนค่าไฟต่อหนว่ ยสงู

ขอ้ ดี
ใช้ประโยชน์จากเศษวสั ดุเหลือใช้ทางการเกษตร และช่วยแก้ปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม เร่อื ง ของ

148

เช้อื เพลงิ / ข้อดี-ข้อจากัด ของพลังงานทดแทนแต่ละประเภท
แหล่งพลังงาน เหลือทิง้ ทางการเกษตร

ขอ้ จากดั
ปรมิ าณสารองที่ไม่แนน่ อนทาใหก้ ารบรหิ ารจัดการเชื้อเพลงิ ทาได้ยาก

พลังงานความร้อนใต้พิภพ ขอ้ ดี
1. เปน็ แหลง่ พลงั งานท่ไี ดจ้ ากธรรมชาติไมม่ ีค่าเช้ือเพลงิ
2. เป็นแหลง่ พลงั งานสะอาดไม่ก่อใหเ้ กดิ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากการผลติ ไฟฟ้า

พลงั งานนิวเคลียร์ ข้อจากัด
สามารถทาได้เฉพาะพน้ื ท่ีทม่ี ีศักยภาพเพียงพอเท่าน้นั

ข้อดี
1. ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงใหร้ ะบบผลิตไฟฟ้าเนื่องจากใชเ้ ชอ้ื เพลิงน้อยเม่ือเทียบกบั

โรงไฟฟ้าความร้อนประเภทอื่น

2. มีแหลง่ เชอ้ื เพลงิ มากมาย เช่น แคนาดาและออสเตรเลยี และราคาไมผ่ นั แปรมากเม่ือ

เทยี บกับเชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ

3. เป็นแหล่งพลังงานสะอาดไม่ก่อใหเ้ กิดกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากการผลิตไฟฟ้า

ข้อจากัด

1. ใชเ้ งนิ ลงทุนในการก่อสรา้ งสงู
2. ต้องมีมาตรการควบคุมความปลอดภยั อยา่ งเขม้ งวด เพื่อป้องกนั อุบัตเิ หตุ

149

กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 2 โรงไฟฟ้ากับการจดั การด้านสิง่ แวดลอ้ ม

กิจกรรมที่ 2.1 เลือกผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมจากโรงไฟฟ้า และวิธีการจัดการส่ิงแวดล้อม
จากนัน้ นาคาตอบใสล่ งในตารางให้ถกู ต้อง

ผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดลอ้ ม

ด้านน้า น้าหล่อเย็น ที่ใช้สาหรับระบายความ ปรับสภาพน้าให้มีอุณหภูมิใกล้เคียง
ด้านเสียง ร้อนให้กบั ระบบตา่ งๆ ภายในโรงไฟฟ้า กับธรรมชาติ

ดา้ นอากาศ เสียงที่เกิดจากกจิ กรรมของโรงไฟฟา้ ตดิ ต้ังอุปกรณด์ ดู ซับเสยี ง

1. ไนโตรเจนออกไซด์ 1. ติดตง้ั เครื่อง SCR (Selective
2. ซลั เฟอร์ออกไซด์ Catalytic Reduction)
3. ฝนุ่ ละออง
2. ติดตั้งเคร่ือง FGD (Flue Gas
Desulfurization)

3. ติดตั้งเครือ่ งดกั ฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิต
(Electrostatic Precipitator)

กิจกรรมที่ 2.2 เลือกอักษรที่แสดงการจัดทารายงานที่โรงไฟฟ้าต้องทา โดยนาอักษรมาเติมลงใน
ช่องวา่ งด้านซา้ ยมอื โรงไฟฟ้าแต่ละประเภทให้ถกู ต้อง

1) ก 6) ข
2) ข 7) ก
3) ก 8) ข
4) ก 9) ก
5) ค 10) ข

150

กิจกรรมที่ 2.3 การจัดทารายงาน EIA และรายงาน EHIA มีความเหมือนและความแตกต่างกัน
อย่างไร

1) การจดั ทารายงาน EIA และรายงาน EHIA มีการศกึ ษาสงิ่ แวดลอ้ มเหมอื นกัน 4 ดา้ น คือ
1.1) ทรัพยากรกายภาพ
1.2) ทรัพยากรชีวภาพ
1.3) คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
1.4) คุณค่าตอ่ คุณภาพชวี ิต

2) การจัดทารายงาน EHIA แตกตา่ งกับรายงาน EIA คอื
2.1) มีการประเมนิ ผลกระทบสขุ ภาพดว้ ย ซึ่งได้ประเมินปัจจยั ตา่ ง ๆ ดงั น้ี
- ส่งิ คกุ คามสขุ ภาพ
- ผลกระทบตอ่ ระบบสุขภาพ
- ปัจจัยต่อการรบั สัมผสั
- ลกั ษณะผลกระทบต่อสขุ ภาพ
- ผลกระทบตอ่ ระบบสุขภาพ
- ผลกระทบตอ่ สังคมและชีวติ ความเปน็ อยู่
2.2) เน้นกระบวนการรับฟังความคิดเหน็ ของประชาชนในทกุ ขน้ั ตอน

กิจกรรมท่ี 2.4 แสดงความคิดเหน็ โดยทาเครื่องหมายถกู () ลงในชอ่ งเหน็ ดว้ ย หรอื ไมเ่ หน็ ดว้ ย

เห็นด้วย ข้อละ 1 คะแนน
ไมเ่ ห็นด้วย ขอ้ ละ 0 คะแนน
รวมคะแนนไดม้ ากกวา่ รอ้ ยละ 80 (16 คะแนน) ถือว่า มีทศั นคตทิ ีด่ ี

151

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3
อุปกรณ์ไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้
กจิ กรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 อปุ กรณไ์ ฟฟา้
กจิ กรรมท่ี 1.1 นาตวั อักษรทอี่ ยหู่ น้าคาตอบดา้ นขวามือมาเตมิ ลงในชอ่ งวา่ งด้านซา้ ยมอื ให้ถกู ตอ้ ง
1) ช
2) ค
3) ซ
4) ข
5) จ
6) ง
7) ก
8) ญ
9) ฉ
10) ฌ

กิจกรรมท่ี 2.1 วาดภาพการต่อวงจรไฟฟ้า พรอ้ มอธิบาย
1) ภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รม

การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม เป็นการนาเอาเครื่องใช้ไฟฟ้ามาต่อเรียงลาดับกันไป โดย
นาปลายด้านหน่ึงต่อเข้ากับปลายอีกด้านหน่ึงของเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละตัวจนถึงตัวสุดท้าย แล้วจึง
ต่อเขา้ กบั แหล่งกาเนิดไฟฟ้า

152

2) ภาพการตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบขนาน

การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน เป็นการนาเอาเคร่ืองใช้ไฟฟ้า 2 ชนิดขึ้นไป มาต่อเรียง
แบบขนานกัน โดยนาปลายด้านเดียวกันของเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละตัวมาต่อเข้าด้วยกัน แล้วต่อ
ปลายของเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ แต่ละตัวทตี่ อ่ กันแลว้ ต่อเข้ากบั แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
3) ภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม

การตอ่ วงจรแบบผสม

การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม เป็นการต่อผสมกันของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและ
วงจรไฟฟา้ แบบขนาน

153

กจิ กรรมท่ี 2.2 ศกึ ษาสื่อการเรียน เรื่อง วงจรไฟฟ้า และทากจิ กรรมตามท่กี าหนด

1) การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมใน lab02 หวั ขอ้ ยอ่ ย content2_4

ผลการทดลอง

อุปกรณ์ แรงดนั (V) กระแส (A)

หลอดไฟ 1 2 0.15

หลอดไฟ 2 2 0.15

หลอดไฟ 3 2 0.15

ผลการทดลอง เม่ือถอดหลอดไฟออก 1 หลอด

อปุ กรณ์ แรงดัน (V) กระแส (A)
0.15
หลอดไฟ 1 3 0.15

หลอดไฟ 2 3

สรปุ ผลการทดลอง
เม่อื ถอดหลอดไฟออก 1 หลอด กระแสไฟทไ่ี หลผ่านอปุ กรณจ์ ะเพ่ิมขึ้น และแรงดันตก
คร่อมอปุ กรณ์ก็จะเพิ่มข้ึน แต่ผลรวมของแรงดันที่ตกคร่อมอุปกรณ์จะเท่ากับแหล่งจ่ายและกระแส
ท่ไี หลผ่านอปุ กรณ์จะเท่ากนั

2) การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนานใน lab02 หัวข้อยอ่ ย content2_5

ผลการทดลอง

อุปกรณ์ แรงดัน (V)

หลอดไฟ 1 6

หลอดไฟ 2 6

หลอดไฟ 3 6

สรปุ ผลการทดลอง
เมอ่ื ต่อแบบขนาน แรงดนั ที่ตกคร่อมอปุ กรณ์แตล่ ะตัวจะเทา่ กบั แหลง่ จ่าย

154

กิจกรรมที่ 2.3 ทาการทดลองการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยใช้แผงสาธิตการต่อวงจรไฟฟ้า
ปฏิบัติตามขัน้ ตอนทกี่ าหนดให้ แล้วเขียนผลการทดลอง พร้อมท้ังสรปุ ผลการทดลอง

ผลการทดลอง
เมื่อทาการถอดหลอด LED ออก 1 หลอด พบวา่ หลอด LED ทเ่ี หลือจะดบั

สรุปผลการทดลอง

การต่อวงจรแบบอนุกรม คือ การต่อวงจรด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าต้ังแต่ 2 ตัวขึ้นไปเรียงต่อกัน

โดยกระแสไฟฟา้ จะไหลจากแหล่งจา่ ยผ่านไปยงั อุปกรณ์ไฟฟ้าตัวท่ี 1 ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าตัวท่ี 2และ

ผ่านตัวต่อ ๆ ไป จนกลับมาครบวงจรท่ีแหล่งจ่ายไฟ เมื่ออุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งขาดหรือ หลุดจาก

วงจร จึงเปรียบเสมือนว่าวงจรขาด กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ครบวงจร ทาให้อุปกรณ์ท่ีเหลือ

ในวงจรไม่สามารถทางานได้เช่นกัน จากการทดลองเมื่อทาการถอดหลอด LED ออก

1 หลอด จงึ เปน็ เหตใุ หห้ ลอด LED ทเี่ หลือดบั

กิจกรรมท่ี 2.4 ทาการทดลองการต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานโดยใช้แผงสาธิตการต่อวงจรไฟฟ้า
ปฏิบัตติ ามขั้นตอนท่ีกาหนดให้ แลว้ เขียนผลการทดลอง พร้อมทั้งสรุปผลการทดลอง

ผลการทดลอง
เม่ือถอดหลอดไฟออกหนึ่งหลอด หรือปิดสวิทช์บางตัวบนแผงสาธิต หลอดไฟที่เหลือยังคง
ติดอยู่

สรุปผลการทดลอง
การต่อวงจรแบบขนาน เม่ืออุปกรณ์ไฟฟ้าตัวใดชารุดหรือหลุดออกจากวงจร อุปกรณ์ไฟฟ้า
ทเี่ หลือยังสามารถทางานได้ เน่ืองจากกระแสในวงจรขนานไหลแยกกนั แตล่ ะวงจร
กิจกรรมที่ 2.5 ทาการทดลองการต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสมโดยใช้แผงสาธิตการต่อวงจรไฟฟ้า
ปฏิบัติตามข้ันตอนทก่ี าหนดให้ แลว้ เขยี นผลการทดลอง พร้อมทงั้ สรปุ ผลการทดลอง
ผลการทดลอง
- เม่ือทาการถอดหลอด LED หลอดท่ี 1 หรอื 2 ออก พบว่า หลอด LED ทเ่ี หลอื ยังคงติดอยู่
- เมือ่ ทาการปลดหลอด LED หลอดท่ี 3 ออก หลอด LED ท่ีเหลือดบั

155

สรปุ ผลการทดลอง
วงจรไฟฟ้าแบบผสม คือ การต่อวงจรไฟฟ้ารวมกันระหว่างวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและ
วงจรไฟฟา้ แบบขนาน
จากการทดลอง เมื่อปลดหลอด LED หลอดท่ี 1 หรือ 2 ออกพบว่า หลอด LED ที่เหลือ
ยังคงสว่างอยู่ เนื่องจากเป็นส่วนของวงจรขนาน ซ่ึงกระแสไฟฟ้าสามารถไหลครบวงจรได้ แต่
เมื่อทาการปลดหลอด LED หลอดที่ 3 ออก พบว่าหลอด LED ที่เหลือดับทุกหลอด เน่ืองจากเป็น
ส่วนของวงจรอนกุ รม ทาให้กระแสไฟไมส่ ามารถไหลได้ครบวงจร

กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 3 สายดนิ และหลักดิน

กิจกรรมท่ี 3.1 บอกถึงความสาคัญของสายดินและหลกั ดิน

สายดินและหลกั ดินทตี่ ่อเข้ากับเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า โดยการต่อลงดินนั้น มีไว้เพื่อป้องกัน
อันตรายท่ีเกิดจากไฟช็อตหรือไฟร่ัว หากเกิดไฟช็อตหรือไฟรั่วกระแสไฟเหล่านั้นก็จะไหล
ผ่านเข้าไปที่สายดินแทน แต่ถ้าไม่มีการติดตั้งสายดิน กระแสไฟทั้งหมดก็จะไหลเข้าสู่ตัวเราทาให้
ได้รบั อันตรายและเสยี ชีวติ ได้

กจิ กรรมท่ี 3.2 บอกเครือ่ งใช้ไฟฟา้ ในครวั เรอื นท่ีต้องติดตั้งสายดนิ มาอย่างน้อย 3 ชนดิ

1. เครือ่ งทาน้าอุ่นไฟฟา้
2. เครอื่ งซกั ผ้า
3. เครอ่ื งปรับอากาศ

156

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4
การใช้และการประหยัดพลงั งานไฟฟา้

กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 1 กลยทุ ธ์การประหยดั พลงั งานไฟฟ้า 3 อ.

กิจกรรมท่ี 1.1 อธิบายแนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ตามกลยุทธ์ 3 อ. มาพอสังเขป
แนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟ้าที่เหมาะสมสอดคล้องกับชีวิตและอุปนิสัยของ

คนไทย คือ การใช้ “กลยุทธก์ ารประหยัดพลงั งาน 3 อ.” ได้แก่
- อ.1 อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนเปล่ียนมาใช้

อปุ กรณไ์ ฟฟ้าที่มปี ระสิทธิภาพสูง ที่เรยี กว่า “ฉลากประหยดั ไฟฟ้าเบอร์ 5 หรอื ฉลากเบอร์ 5”
- อ.2 อาคารประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการภาคธุรกิจและ

ภาคอุตสาหกรรม เห็นความสาคัญและพร้อมใจกันใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง
เชน่ เดยี วกบั กลุ่มภาคทอ่ี ย่อู าศัยพร้อมไปกับการใช้มาตรการต่าง ๆ ที่เป็นการประหยัดไฟฟ้า ซ่ึงจะ
สง่ ผลใหเ้ กิดการประหยัดพลงั งานไฟฟ้าในอาคาร

- อ.3 อุปนิสัยประหยัดไฟฟ้า เป็นการปลูกจิตสานึกและอุปนิสัยให้คนไทย
โดยเฉพาะอย่างย่งิ เยาวชนไทย ใชพ้ ลังงานอย่างมปี ระสิทธิภาพ

กจิ กรรมที่ 1.2 อธบิ ายสาระสาคญั ท่ปี รากฏอยบู่ นฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5

157

กิจกรรมท่ี 1.3 จากความรู้ที่ได้จากการศึกษาแนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ให้จัดทา
แผ่นพับ/ แผ่นปลิว เพ่ือเผยแพร่และเชิญชวนให้มีการประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดยให้มีประเด็น
เนื้อหาดงั นี้
1) สถานการณพ์ ลงั งานไฟฟา้ ของประเทศไทย
2) เหตผุ ลและความจาเปน็ ที่ตอ้ งชว่ ยกันลดหรือประหยัดพลังงานไฟฟ้า
3) รว่ มแรง ร่วมใจประหยัดพลงั งานไฟฟ้า (กลยุทธ์ 3 อ. /ปฏิบัติการ 4 ป.)

แนวทางการประหยดั พลังงานควรจะมีประเด็นเกี่ยวกับ สถานการณ์พลังงานไฟฟ้า
ของประเทศไทยในปัจจุบันที่มีการพ่ึงพาก๊าซธรรมชาติมากเกินไป และก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทย
ใกล้จะหมดลง จึงควรร่วมมือกันประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดยใช้กลยุทธ์ประหยัดพลังงานไฟฟ้า 3 อ.
ไดแ้ ก่ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า อาคารประหยัดไฟฟ้า และอุปนิสัยประหยัดไฟฟ้า รวมทั้งปฏิบัติการ
4 ป. คือ ปิด ปรบั ปลด เปลีย่ น

กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 การเลอื กซือ้ การใช้ และการดูแลรกั ษาเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าภายในบ้าน

กิจกรรมที่ 2.1 บอกวิธี / แนวทางการเลือกซ้ือ และการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าเพื่อประหยัดพลังงาน
ไฟฟ้า มา 5 ชนดิ

1) กระติกนา้ ร้อนไฟฟา้ มแี นวทางการเลือกซอ้ื และการใช้ให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้า ดังน้ี
(1) เลือกซ้อื รนุ่ ท่มี ตี รามาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
(2) ใส่น้าใหพ้ อเหมาะกบั ความตอ้ งการหรือไมส่ ูงกวา่ ระดบั ท่ีกาหนดไว้ เพราะจะทา

ใหก้ ระตกิ น้าร้อนไฟฟา้ เกดิ ความเสียหาย
(3) ระวงั อยา่ ใหน้ ้าแห้ง หรือปลอ่ ยให้ระดับนา้ ต่ากว่าขดี ท่ีกาหนด เพราะจะทาให้เกดิ

ไฟฟา้ ลัดวงจรในกระตกิ นา้ ร้อนไฟฟา้ เป็นอันตรายอย่างย่ิง
(4) ถอดปล๊ักเม่ือเลิกใช้น้าร้อนแล้ว เพ่ือลดการสิ้นเปลืองพลังงาน ไม่ควรเสียบปลั๊ก

ตลอดเวลา แต่หากมีความต้องการใช้น้าร้อนเป็นระยะๆ ติดต่อกัน เช่น ในที่ทางานบางแห่งที่มี
น้าร้อนไว้สาหรับเตรียมเครื่องดื่มต้อนรับแขก ก็ไม่ควรถอดปลั๊กออกบ่อย ๆ เพราะทุกคร้ังเมื่อดึง
ปลก๊ั ออกอุณหภูมขิ องน้าจะคอ่ ย ๆ ลดลง กระตกิ น้าร้อนไฟฟ้าไมส่ ามารถเก็บความร้อนได้นาน เมื่อ
จะใช้งานใหมก่ ต็ ้องเสยี บปลกั๊ และเร่มิ ต้มนา้ ใหมซ่ ึ่งเป็นการสนิ้ เปลืองพลงั งาน

(5) อยา่ นาส่งิ ใด ๆ มาปดิ ช่องไอนา้ ออก

158

(6) ตรวจสอบการทางานของอุปกรณ์ควบคมุ อณุ หภูมิใหอ้ ยู่ในสภาพใช้งานไดเ้ สมอ
(7) ไมค่ วรตง้ั ไวใ้ นห้องที่มกี ารปรบั อากาศ
2) พัดลม มแี นวทางการเลือกซ้อื และการใช้ให้ประหยัดพลงั งานไฟฟ้า ดงั น้ี
4. เลือกซื้อพัดลมท่ีเป็นระบบธรรมดา เพราะจะประหยัดไฟกว่าระบบที่มีรีโมทคอนโทรล
หรอื ระบบไอนา้
5. เลือกซอื้ ย่ีห้อและรุ่นทีไ่ ดร้ ับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และมฉี ลากเบอร์ 5
6. เลอื กท่มี ีขนาดใบพัดและกาลังไฟฟ้าให้เหมาะสม และตรงกับความต้องการใชง้ าน
7. เลอื กใชค้ วามแรงของลมให้เหมาะกับความตอ้ งการ ความแรงของลมยง่ิ มากยิ่งเปลืองไฟ
8. ปดิ พัดลมทนั ทเี มื่อไมใ่ ช้งาน
9. ในกรณที ีพ่ ดั ลมมรี ะบบรโี มทคอนโทรลอย่าเสียบปลัก๊ ทง้ิ ไว้ เพราะจะมไี ฟฟ้าเล้ียง
อุปกรณ์ตลอดเวลา
10. ควรวางพัดลมในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพัดลมใช้หลักการดูดอากาศจาก
บริเวณรอบ ๆ ทางด้านหลังของตัวใบพัด แล้วปล่อยออกสู่ด้านหน้า เช่น ถ้าอากาศบริเวณรอบ
พัดลมมีการถ่ายเทดี ไม่ร้อนหรืออับชื้น ก็จะได้รับลมเย็น รู้สึกสบาย และยังทาให้มอเตอร์สามารถ
ระบายความร้อนไดด้ ี เปน็ การยดื อายุการใชง้ านอกี ด้วย

3) โทรทัศน์ มีแนวทางการเลอื กซือ้ และการใชใ้ ห้ประหยัดพลงั งานไฟฟา้ ดังนี้
(1) การเลือกใช้โทรทัศน์ควรคานึงถึงความต้องการในการใช้งาน โดยพิจารณาจากขนาด

และการใช้กาลงั ไฟฟา้ สาหรับเทคโนโลยเี ดียวกนั โทรทศั น์ท่ีมีขนาดใหญ่ ย่ิงกินไฟมากขนึ้
(2) อย่าเสียบปล๊ักทิ้งไว้ เพราะโทรทัศน์จะมีไฟฟ้าหล่อเล้ียงระบบภายในอยู่ตลอดเวลา

ทาให้สนิ้ เปลืองไฟ และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายในขณะเกดิ ฟา้ แลบได้
(3) ปิดและถอดปลั๊กทันทีเม่ือไม่มีคนดู หากชอบหลับหน้าโทรทัศน์บ่อย ๆ ควรใช้

โทรทัศน์ รนุ่ ท่ีตัง้ เวลาปดิ โดยอตั โนมตั ิ เพ่ือช่วยประหยดั ไฟฟ้า
(4) หากชมโทรทศั น์ช่องเดียวกันควรดูด้วยกัน ประหยัดท้ังค่าไฟ และอบอุ่นใจได้อยู่ด้วยกัน

ท้ังครอบครวั
(5) เลิกเปิดโทรทัศน์ล่วงหน้าเพื่อรอดูรายการท่ีชื่นชอบ เปิดดูรายการเม่ือถึงเวลา

ออกอากาศ

159

(6) ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไป และไม่ควรเปลี่ยนช่องบ่อย เพราะจะทาให้
หลอดภาพมอี ายกุ ารใชง้ านลดลง และสน้ิ เปลอื งไฟฟา้ โดยไมจ่ าเปน็

4) เตารดี ไฟฟ้า มีแนวทางการเลอื กซือ้ และการใช้ใหป้ ระหยัดพลังงานไฟฟ้า ดังน้ี
(1) เลอื กซื้อเฉพาะเตารีดไฟฟ้าท่ีได้รบั มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และมีฉลาก

เบอร์ 5
(2) เลือกซื้อขนาดและกาลังไฟฟ้าให้เหมาะกับความต้องการและลักษณะการใชง้ าน
(3) ควรเก็บผา้ ทร่ี อรีดให้เรยี บร้อย และใหผ้ ้ายบั นอ้ ยทสี่ ดุ
(4) ควรแยกประเภทผา้ หนาและผ้าบาง เพอ่ื ความสะดวกในการรีด
(5) ควรรวบรวมผา้ ทจ่ี ะรีดแตล่ ะครัง้ ให้มากพอ การรดี ผ้าคร้ังละชดุ ทาใหส้ ้ินเปลอื ง

ไฟฟา้ มาก
(6) ไม่ควรพรมนา้ มากจนเกนิ ไป เพราะจะทาใหส้ ูญเสยี ความร้อนจากการรีดมาก
(7) ควรเร่ิมรดี จากผา้ บาง ๆ หรอื ต้องการความร้อนน้อยก่อน จากน้ันจึงรีดผ้าที่ต้องการความ

รอ้ นสูง และควรเหลือผ้าท่ตี อ้ งการความร้อนน้อยสว่ นหนึ่ง ไว้รีดในตอนท้าย
(8) ควรถอดปลั๊กกอ่ นเสรจ็ สิน้ การรีด 3 - 4 นาที

5) ต้เู ยน็ มีแนวทางการเลือกซ้อื และการใช้ให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้า ดังน้ี
8) เลือกซ้ือตเู้ ยน็ ท่ีไดร้ ับการรบั รองฉลากเบอร์ 5
9) เลอื กซื้อประเภทและขนาดให้เหมาะกับความตอ้ งการและลักษณะการใช้งาน
10) คา่ ไฟฟ้าจะเพมิ่ ตามจานวนคร้งั ของการเปิด - ปดิ ตู้เย็น เพราะเมือ่ เปิดตู้เย็น ความร้อน

ภายนอกจะไหลเข้าตู้เย็น ทาให้คอมเพรสเซอร์ต้องทางานหนักมากขึ้นเพื่อรักษาอุณหภูมิภายใน
ตเู้ ยน็ ให้คงเดิมตามที่ต้ังไว้

11) ถ้าอุณหภูมิโดยรอบสูงข้ึน ปริมาณความร้อนจะถูกถ่ายเทเข้าไปในตู้เย็นมากข้ึน เป็น
การเพิ่มภาระให้กับระบบทาความเย็น ดังน้ันจึงไม่ควรติดต้ังตู้เย็นใกล้กับแหล่งกาเนิด
ความร้อนใด ๆ หรอื รบั แสงอาทติ ย์โดยตรง

12) ไม่เก็บอาหารในตู้เย็นมากเกินไป เพราะจะทาให้อุณหภูมิในตู้เย็นไม่สม่าเสมอ
ควรให้มีช่องว่าง เพือ่ ใหอ้ ากาศภายในไหลเวยี นได้สมา่ เสมอ

13) ถ้านาอาหารที่มอี ุณหภมู สิ ูงไปแช่ในต้เู ยน็ จะส่งผลกระทบดงั นี้
(6.1) ทาใหอ้ าหารต่าง ๆ ทอ่ี ยใู่ นบริเวณข้างเคียงเส่อื มคณุ ภาพหรอื เสียได้

160

(6.2) หากต้เู ย็นกาลงั ทางานเต็มท่ีจะทาให้ไอสารทาความเย็นก่อนเข้าเคร่ืองอัดร้อนจน
ไม่สามารถทาหนา้ ท่ีหลอ่ เยน็ คอมเพรสเซอร์ไดเ้ พยี งพอ และสง่ ผลให้อายุคอมเพรสเซอร์ส้นั ลง

(6.3) สูญเสยี พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น

14) เมื่อดึงปล๊ักออกแล้วไม่ควรเสียบปลั๊กใหม่ทันที เพราะเมื่อเครื่องหยุด สารทา
ความเย็นจากส่วนที่มีความดันสูงจะไหลไปทางที่มีความดันต่าจนความดันภายในวงจรเท่ากัน
ดังนั้นถ้าคอมเพรสเซอร์เริ่มทางานทันที สารทาความเย็นยังไหลกลับไม่ทัน เครื่องจึงต้องออกแรง
ฉุดมากเพื่อเอาชนะแรงเฉ่ือยและแรงเสียดทาน ซ่ึงจะส่งผลให้มอเตอร์ของเคร่ืองอัดทางานหนัก
และเกิดการชารุดหรืออายกุ ารใช้งานสน้ั ลง

กิจกรรมที่ 2.2 บอกหลกั การหรือเหตุผลท่ีใช้ในการตัดสินใจเลือกซ้ือเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนมา
1 ชนิด (ย่หี ้อ ขนาด เหตุผลที่เลอื ก)

ควรเป็นการเลือกซ้ือโดยยึดหลักการเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดพลังงาน
ไฟฟา้ เช่น มฉี ลากเบอร์ 5

กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 3 การวางแผนและการคานวณคา่ ไฟฟ้าในครวั เรือน

กจิ กรรมท่ี 3.1 อธิบายเก่ียวกับค่าไฟฟา้ ฐานและค่าไฟฟ้าผนั แปร (Ft)
ค่าไฟฟ้าฐาน ซึ่งการไฟฟ้านครหลวงใช้คาว่า ค่าพลังงานไฟฟา้ เปน็ ค่าไฟฟ้าที่

สะท้อนตน้ ทนุ ในการกอ่ สร้างโรงไฟฟา้ ระบบสายสง่ ระบบจาหน่าย และคา่ การผลิตพลังงานไฟฟา้
ภายใต้สมมตฐิ านความต้องการไฟฟา้ ค่าเชอื้ เพลงิ ค่าซ้ือไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรฐั ณ
วันทีก่ าหนดโครงสร้างคา่ ไฟฟ้า โดยคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จะพจิ ารณาปรับ
ค่าไฟฟ้าฐานคราวละ 3 - 5 ปี ดังนัน้ ในระหวา่ งชว่ งเวลาดงั กล่าว คา่ ใชจ้ ่ายทอ่ี ย่เู หนอื การควบคุม
คอื ค่าไฟฟา้ ผันแปร (Ft) ทม่ี ีผลตอ่ ตน้ ทนุ การผลิตไฟฟา้ ซึง่ อาจมีการเปล่ยี นแปลงท้งั เพิม่ ขึน้ หรอื
ลดลง คณะกรรมการกากับกจิ การพลังงาน (กกพ.) จงึ ใช้กลไกตามสตู รอัตโนมตั มิ าปรบั คา่ ไฟฟา้ ผัน
แปร (Ft)

ค่าไฟฟ้าผนั แปร หรือที่นิยมเรยี กกันว่าค่าเอฟที (Ft) หมายถึง ค่าไฟฟ้าทีส่ ะท้อน
การเปล่ียนแปลงของคา่ ใช้จา่ ยทอ่ี ยู่นอกเหนอื การควบคุม ไดแ้ ก่ คา่ เช้ือเพลงิ ค่าซ้อื ไฟฟา้

161

และคา่ ใชจ้ ่ายตามนโยบายของรฐั ที่เปล่ียนไปจากค่าไฟฟา้ ฐาน โดยคณะกรรมการกากบั กจิ การ
พลังงาน (กกพ.) จะพิจารณาปรับคา่ ทุก 4 เดอื น

กิจกรรมท่ี 3.2 เพราะเหตุใด การคานวณค่าใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน จึงกาหนดเป็น “อัตราก้าวหน้า”
(ยง่ิ ใชม้ ากราคายิง่ สงู ข้นึ )

เน่ืองจากเชื้อเพลิงที่ใช้ผลิตไฟฟ้ามีจากัดและต้องนาเข้าจากต่างประเทศ ส่งผล
กระทบต่อประเทศชาติ จึงต้องการให้ประชาชนใช้ไฟฟ้าเท่าท่ีจาเป็นและใช้อย่างประหยัด จึงตั้ง
ราคาค่าไฟฟา้ ให้เป็นอัตราก้าวหน้า

กิจกรรมที่ 3.3 ทาการทดลองการต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน โดยใช้แผงสาธิตการต่อวงจรไฟฟ้า
ปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนทก่ี าหนดให้ แล้วเขยี นผลการทดลอง พร้อมทัง้ สรุปผลการทดลอง

ผลการทดลอง
1. คา่ แรงดนั ไฟฟา้ (V) 220 โวลต์ (ใหใ้ ช้ค่าจริงทีอ่ า่ นไดจ้ ากมเิ ตอร์)
2. สมมุติใหใ้ ชง้ านอุปกรณไ์ ฟฟ้าเป็นเวลา 240 ชัว่ โมง (คา่ สมมุติตามความเหมาะสม)
3. สมมตุ ิใหค้ ่าไฟฟ้า 4 บาท ตอ่ หนว่ ย (ค่าสมมุตติ ามความเหมาะสม)

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ลาดับ อุปกรณ์ คา่ กระแสไฟฟา้ ค่ากาลงั ไฟฟา้ ค่าพลังงานไฟฟ้า คา่ ไฟฟา้
ไฟฟา้ (แอมป์) (วัตต)์ (หนว่ ย) (บาท)
(ค่าสมมุติ)
P=VxI ยูนิต=(Pxชั่วโมง)/1,000 คา่ ไฟฟา้ =ยูนิตxราคา
1 หลอดไส้ 0.283 ต่อหนว่ ย
0.078 0.283x220 (62.26x240)/1000
2 หลอด 0.061 = 62.26 = 14.94 14.94x4
ตะเกยี บ 0.422 0.078x220 = 59.76
= 17.16 (17.16x240)/1000 4.12x4
3 หลอด LED 0.061x220 = 4.12 = 16.48
= 13.42 3.22x4
รวม 92.84 (13.42x240)/1000 = 12.88
= 3.22 89.12
22.28

162

สรุปผลการทดลอง
หลอดไฟท้ัง 3 ชนิด ให้ความสว่างแตกต่างกัน และหลอดไฟท่ีกินไฟมากไปน้อย ได้แก่
หลอดไส้ » หลอดตะเกียบ » หลอด LED ส่งผลให้ค่าไฟฟ้าจากการใช้หลอดไส้ มีค่ามากท่ีสุด และ
ค่าไฟฟ้าจากหลอด LED มีค่าน้อยท่ีสุด ดังนั้นในการเลือกใช้หลอดไฟ เราควรเลือกใช้หลอด LED
เพราะเป็นหลอดที่ช่วยประหยัดไฟฟ้า นอกจากน้ียังมีอายุการใช้งานที่นานกว่าหลอดทุกชนิดอีก
ดว้ ย

กิจกรรมท่ี 3.4 ใหป้ ฏิบตั ิการลดคา่ ไฟฟา้ โดยดาเนนิ การดงั น้ี

1) สารวจชนิด กาลังไฟฟ้า และจานวนเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ท่ีมอี ยู่ในครัวเรอื น และจานวนชัว่ โมงการใช้
โดยประมาณในหนึ่งเดอื น ลงในตาราง

ชนิดเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ กาลงั ไฟฟ้า จานวน จานวน ค่าไฟฟ้า
(วตั ต์) เวลาใช้งาน หนว่ ยไฟฟ้า (บาท)
(ชวั่ โมง)
(หน่วย)

รวม

2) พจิ ารณาวา่ เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าจากตารางชนิดใดบา้ งท่ีสามารถลดจานวนเวลาในการใชง้ านลงได้
3) ทาการลดการใช้งานเครื่องใชไ้ ฟฟ้าชนิดท่ีสามารถทาไดเ้ ป็นเวลา 1 เดือน
4) แสดงใบแจ้งค่าไฟฟา้ กอ่ นและหลังดาเนินการลดการใชไ้ ฟฟา้ ตามแผน

สรปุ ผลปฏบิ ตั ิการ
หากสามารถลดคา่ ไฟฟ้าลงได้ จากการดาเนนิ การปฏบิ ัติการลดคา่ ไฟฟ้า สามารถลดค่า
ไฟฟ้าลงได้ บาท หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ
หากไม่สามารถลดคา่ ไฟฟ้าลงได้ จากการดาเนนิ การปฏิบัตกิ ารลดค่าไฟฟา้ ไม่สามารถ
ลดค่าไฟฟ้าลงได้ เนอ่ื งจากใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดอย่แู ล้ว

163

บรรณานุกรม

การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย. พลังงานทดแทน. นนทบุรี: กองผลติ ส่อื การสือ่ สารองคก์ าร
ฝ่ายส่ือสารองค์การ กฟผ. 2554.

คู่มอื การพฒั นาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ชุดที่ 1. ไฟฟ้าพลังงานลม. กรมพัฒนา
พลงั งานทดแทน และอนุรักษพ์ ลังงาน กระทรวงพลงั งาน. 2555.

คมู่ อื การพฒั นาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ชุดที่ 2. พลงั งานแสงอาทิตย์. กรมพฒั นา
พลังงานทดแทน และอนรุ ักษ์พลงั งาน กระทรวงพลังงาน. 2555.

คมู่ ือการพฒั นาและการลงทนุ ผลติ พลงั งานทดแทน ชุดที่ 4. ชวี มวล. กรมพฒั นาพลงั งานทดแทน
และอนรุ ักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2555.

นวลฉวี รุ่งธนเกียรต.ิ พลังงานนวิ เคลียรเ์ พอื่ มนษุ ยชาติ. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ 2547.

แผนท่ศี กั ยภาพพลงั งานลมของประเทศไทย. กรมพฒั นาและสง่ เสริมพลงั งาน. 2544.
วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม. “ทศิ ทางใหมข่ องสายลม” ใน เมอ่ื สองมือร่วมคลายโรครอ้ น. (หน้า

86-93).กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพท์ างช้างเผอื ก. 2552.
สานกั งานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวง กระทรวงพลงั งาน. การใชไ้ ฟฟา้ และการผลติ ไฟฟา้

ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ. 2554.
สถานการณก์ ารผลติ -ใชไ้ ฟฟา้ ปี 2558. กองวางแผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟา้ ฝ่ายวางแผน

ระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย (ข้อมลู ณ ธนั วาคม 2558)
BP Corporation (2015), BP Statistic Review of World Energy June 2015.

164

แหลง่ อา้ งองิ ออนไลน์

กรมพฒั นาพลงั งานทดแทนและอนรุ ักษพ์ ลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2554). รายงานไฟฟา้ ของ
ประเทศไทยปี 2554. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก:
http://www.dede.go.th/dede/images/stories/stat_dede /electric54_1.pdf.
(วันทีค่ น้ ข้อมลู : 21 มีนาคม 2556).

กลุม่ พัฒนาการสง่ เสริมสุขภาพและอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม ศอ.4. กรอบแนวคดิ การประเมินผล
กระทบตอ่ สุขภาพจากโรงไฟฟ้า (HIA for Power Plant). [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก:
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe. (วันท่ีค้นข้อมูล: 21 มีนาคม 2556).

การเลือกขนาดสายไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกับการใชง้ าน. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก:
http://clover.tatc.ac.th/index.php?usid=08122513132352&p=newsblog.
(วันที่ค้นข้อมลู : 21 มีนาคม 2556).

การไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.egat.co.th/.
(วันที่คน้ ข้อมลู : 20 มนี าคม 2556).

การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย. โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5. [ออนไลน์].
เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://labelno5.egat.co.th/index.php?option=com_content&
view =article & id=6&Itemid=108&lang=th. (วนั ท่ีค้นข้อมลู : 21 มีนาคม 2559).

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย. ทิศทางพลงั งานของเพอื่ นบ้านอาเซยี น. [ออนไลน์].
เข้าถงึ ไดจ้ าก:
http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=114
2:article-20150827-01&catid=49&Itemid=251. (วันท่คี น้ ข้อมลู : 17 มนี าคม 2559).

การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย. ผลการดาเนนิ งาน กฟผ. ปี 2558 และทิศทางในปี 2559.
[ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=131
3:egatnews-20160106-02&catid=30&Itemid=112. (วนั ท่ีคน้ ข้อมูล: 17 มีนาคม 2559).

การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย. โรงไฟฟ้าพลังนา้ ชุมชนบ้านคลองเรือ ตาบลปากทรง
อาเภอพะโตะ จังหวดั ชมุ พร โดยชุมชน เพอ่ื ชมุ ชนและสังคม. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก:
http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=104
6&Itemid=170. (วันที่คน้ ข้อมูล: 26 มีนาคม 2559).

การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค. อัตราค่าไฟฟา้ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก:
http://www.eppo.go.th/power/pw-rate-PEA.html (วนั ทค่ี ้นขอ้ มลู : 20 มีนาคม 2556).

165

การไฟฟา้ สว่ นภูมิภาค. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.pea.co.th.
(วันท่คี น้ ขอ้ มูล: 20 มนี าคม 2556).

การไฟฟ้านครหลวง. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
http://www.mea.or.th/home/index.php?l=th.
(วนั ทีค่ ้นขอ้ มลู : 20 มนี าคม 2556).

ชุดการสอน เร่ืองวงจรไฟฟา้ กจิ กรรมที่ 11. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก:
http://sanchai2506.wordpress.com/. (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 20 มีนาคม 2556).

ประกายนคร. Tips Electrical. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก:
http://www.praguynakorn.com/tip3- (วันท่คี ้นข้อมูล: 21 มีนาคม 2556).

ประเภทของสายไฟฟา. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก: http://www.srptc.ac.th/news/05-01-
2012-InRoXHKThu52521.pdf. (วันทีค่ ้นข้อมลู : 21 มีนาคม 2556).

รจู้ ักหลอดไฟในบา้ นกอ่ นซ้อื . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก:
http://community.akanek.com/th/content/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B
8%AD%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%9F-
%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%
AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8
%A3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%
B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0
%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%
E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99. (วันท่คี ้นขอ้ มูล: 7 เมษายน 2559).

วิธตี ิดต้งั สายดินทถี่ กู ตอ้ ง. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: www.clef-
audio.com/pic/correct_grounding.pdf. (วันท่คี ้นข้อมลู : 20 มนี าคม 2556).

วิธวี ดั ขนาดของจอ LCD [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: http://repair-
notebook.com/archives/554. (วันทคี่ ้นข้อมูล: 20 มนี าคม 2556).

สถาบนั วิจัยและพัฒนาพลังงาน. (2556). พลังงานไฟฟ้า. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electric4/bottee3.htm.
(วันทค่ี ้นขอ้ มูล 20 มนี าคม 2555).

สมาคมนิวเคลียรแ์ ห่งประเทศไทย. การเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของโรงไฟฟา้ นิวเคลียร์กบั
โรงไฟฟ้าท่ใี ชเ้ ชื้อเพลิงชนิดอื่น. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
http://www.nst.or.th/powerplant/pp04.htm. (วนั ท่คี น้ ขอ้ มูล: 21 มนี าคม 2556).

166

สานกั งานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลงั งาน. (2554). การใช้ไฟฟ้าและการผลติ ไฟฟ้า
ของประเทศไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.eppo.go.th/power/power2554.pdf.
(วนั ทีค่ น้ ข้อมลู : 21 มนี าคม 2556).

สานักนโยบายและแผนพลงั งาน กระทรวงพลงั งาน. เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าภายในบ้าน. [ออนไลน์].
เขา้ ถึงได้จาก: http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-utilities.pdf.
(วันท่คี น้ ข้อมลู : 20 มีนาคม 2556).

สานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลงั งาน. แผนพัฒนากาลังการผลติ ไฟฟ้าของประเทศ
ไทย พ.ศ. 2558 – 2579 (PDP2015). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก:
http://www.eppo.go.th/power/PDP2015/PDP2015.pdf.
(วันที่ค้นขอ้ มลู : 17 มนี าคม 2559).

MAC eKnowledge. วงจรไฟฟา้ ในบา้ น. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก:
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432209100/10.htm.
(วันท่คี ้นขอ้ มูล: 21 มีนาคม 2556).

Thailand Energy and Environment Network. โรงไฟฟา้ พลังความรอ้ นใต้พภิ พฝาง.
[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก: http://teenet.cmu.ac.th/sci/fang_th.php. (วันที่คน้ ข้อมลู :
21 มีนาคม 2556).

Breakdown of Electricity Generation by Energy Source.
[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www.tsp-data-portal.org/Breakdown-of-
Electricity-Generation-by-Energy-Source#tspQvChart. (วันทคี่ น้ ขอ้ มลู : 17 มีนาคม
2559).

167

ทีม่ าของภาพและขอ้ มลู

ลาดับ ภาพ แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 พลงั งานไฟฟ้า

1 ภาพไฟฟ้าที่เกดิ จากการเสยี ดสีของวตั ถุ http://weerajit14.blogspot.com/2011/09/electrostar

tic.html

2 ภาพอปุ กรณ์ไฟฟ้าท่เี กิดจากการทาปฏกิ ิริยา https://market.onlineoops.com/802286

เคมี (แบตเตอร)่ี

3 ภาพอุปกรณ์ไฟฟ้าทเ่ี กดิ จากการทาปฏิกริ ิยา http://www.ksrv.ac.th

เคมี (ถ่านอัลคาไลน์ 1.5 โวลต์)

4 ภาพอปุ กรณ์ไฟฟา้ ท่เี กิดจากการทาปฏกิ ิรยิ า http://pantip.com/topic/30216515

เคมี (ถา่ นอัลคาไลน์ 9 โวลต์)

5 ภาพการตอ่ อุปกรณใ์ หเ้ กิดไฟฟ้าจากความรอ้ น http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/elect

ric4/bottee3.htm

6 ภาพเซลล์แสงอาทิตย์ทใี่ ช้ในการผลิตไฟฟ้า http://thailandindustry.com/indust_newweb/news_

ของเข่อื นสริ นิ ธร จงั หวดั อุบลราชธานี preview.php?cid=10072

7 ภาพอุปกรณท์ ่ีมีการใช้ไฟฟ้าท่ีเกิดจาก http://lsp-acsp.exteen.com/20100421/entry

พลังงานแมเ่ หล็กไฟฟา้ (ซา้ ย)

8 ภาพอปุ กรณ์ที่มกี ารใช้ไฟฟา้ ที่เกดิ จาก http://www.kelenor.com/index.php?controller=cate

พลงั งานแมเ่ หล็กไฟฟ้า (ขวา) gory&path=633

9 ภาพคณะกรรมการกากบั กจิ การพลงั งาน http://www.erc.or.th/ERCWeb2/Default.aspx

(กกพ.)

10 ภาพการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย http://www.egat.co.th/

(กฟผ.)

11 ภาพการไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค (กฟภ.) https://www.pea.co.th/SitePages/home.aspx

12 ภาพการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) http://www.mea.or.th/home/index.php

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ไฟฟา้ มาจากไหน

1 ภาพขน้ั ตอนการผลิตไฟฟา้ ด้วยถ่านหนิ http://www.banpu.com/operation_coal_process.php

2 ภาพการผลิตไฟฟ้าจากนา้ มนั ดีเซล http://www.balanceenergythai.com/%E0%B8%A3%

E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81

%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A

5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%84%E0%B8%

9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2/

3 ภาพกระบวนการผลติ ไฟฟ้าด้วยกา๊ ซธรรมชาติ https://jobs.tva.com/power/cumb_turbineart.htm

ลาดับ ภาพ 168

4 ภาพกงั หันลม แหล่งที่มาของข้อมูล

http://www.ubmthai.com/leksoundsmf3/index.php
?topic=95765.0

5 ภาพการผลติ ไฟฟ้าจากพลงั งานน้า https://napeiadotcom.wordpress.com/tag/%E0%B8

%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B

8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B

8%94%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%99/

6 ภาพโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์ http://yoghurt11.siam2web.com//?cid=1164245

7 ภาพแผนท่ศี ักยภาพพลังงานแสงอาทติ ย์ http://www.dede.go.th/article_attach/solarmap2552
เฉลยี่ ตลอดปขี องประเทศไทย .pdf

8 ภาพโรงไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์ จงั หวัด http://www.thailandindustry.com/news/view.php?i

ลพบรุ ี d=11728&section=3&rcount=Y

9 ภาพขบวนการผลติ กา๊ ซชีวภาพจากขยะ http://www.ku.ac.th/e-

อินทรยี ค์ รัวเรอื น magazine/july51/agri/energy.htm

10 ภาพแหล่งพลังงานความร้อนใต้พภิ พบนโลก http://teenet.cmu.ac.th/sci/intro01.php

11 ภาพโรงไฟฟา้ พลังความร้อนใต้พภิ พฝางของ http://teenet.cmu.ac.th/sci/fang_th.php

กฟผ.

12 ภาพโรงไฟฟา้ พลงั งานนิวเคลียร์ http://www.npc-

se.co.th/npc_date/npc_previews.asp?id_head=11&i

d_sub=36&id=575

13 ภาพโรงไฟฟ้าพลงั งานนวิ เคลียร์ Isar http://www.kernenergie.de/kernenergie-

และหอระบายความร้อน ประเทศเยอรมนี wAssets/img/kernkraftwerke/kki-isar-
atw2009.jpg?viewmode=blank

14 ภาพโรงไฟฟา้ พลงั งานนิวเคลียร์ตั้งอยู่ติด http://blogs.cfr.org/asia/2012/03/20/what-south-

ทะเลในประเทศเกาหลใี ต้ korea-gains-from-hosting-the-nuclear-security-
summit/

15 ภาพการเก็บเชอ้ื เพลิงใชแ้ ลว้ แบบเปียก http://www.nst.or.th/article/article5001/article5001

d.htm

16 ภาพการเก็บเชือ้ เพลิงใชแ้ ลว้ แบบแห้ง http://www.world-nuclear.org/info/Nuclear-Fuel-

Cycle/Nuclear-Wastes/Waste-Management-

Overview/#.UZXOrqKeOcc

169

ลาดับ ภาพ แหล่งที่มาของขอ้ มูล

17 ภาพแบบจาลองโครงสรา้ งภายในปฏกิ รณ์ http://www.phanphit.ac.th/it/web/seta/set3/page6.

html

18 ภาพตัดขวางโครงสรา้ งคลุมปฏกิ รณ์ http://www.safesecurevital.com/images/containment

wall.jpg

19 ภาพการทดสอบโครงสร้างคลมุ ปฏกิ รณโ์ ดย http://mouv4x8.perso.neuf.fr/11Sept01/A0084b_Sand

การชนของเคร่อื งบนิ ia_Collision_Test_F_4_nuclear_plant.jpg

20 ภาพหอ้ งควบคุมจาลองโรงไฟฟา้ พลังงาน คณะกรรมาธกิ ารการพลังงาน สภาผแู้ ทนราษฎร. หนีพน้ ...

นวิ เคลียร์ โรงไฟฟ้านวิ เคลียร์?. เอกสารประกอบการเสวนา. หน้า 36.

กรงุ เทพฯ. 2553

21 ภาพสัดสว่ นของปริมาณรังสใี นส่ิงแวดลอ้ ม คณะกรรมาธกิ ารการพลังงาน สภาผแู้ ทนราษฎร. หนีพ้น...

โรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์?. เอกสารประกอบการเสวนา. หนา้ 12.

กรุงเทพฯ. 2553

22 ภาพรงั สใี นชวี ติ ประจาวนั คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎร. หนีพ้น...

โรงไฟฟ้านวิ เคลยี ร์?. เอกสารประกอบการเสวนา. กรุงเทพฯ.

2553

23 ภาพสัญลักษณ์แสดงสถานทที่ ี่มตี น้ กาเนิด http://www.iaea.org/newscenter/features/radsources/
รงั สี radsrc_gallery/gallery_1/pages/015.shtml

24 ภาพโรงไฟฟ้าพลงั นา้ ชุมชนบ้านคลองเรือ http://www.posttoday.com/biz/news/242021

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 วงจรไฟฟ้าและอปุ กรณ์ไฟฟา้

1 ภาพฟวิ ส์ชนดิ ตา่ ง ๆ http://www.maceducation.com/e-

knowledge/24322

09100/10.html

2 ภาพเบรกเกอรแ์ บบต่าง ๆ http://www.sp-powerpros.com/344537/emergency-
exit-light

3 ภาพสวิตชแ์ บบทางเดยี ว (ซา้ ย) และแบบ http://www.maceducation.com/e-

สองทาง (ขวา) knowledge/243220

9100/10.html

4 ภาพสะพานไฟและฟวิ ส์ในสะพานไฟ (ซ้าย) http://www.krucherdpua.com/wp-

content/uploads/web/cycle/cutout.htm

5 ภาพสะพานไฟและฟิวสใ์ นสะพานไฟ (ขวา) http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=kanichi

koong&month=25-02-2015&group=17&gblog=18

6 ภาพเครือ่ งตัดไฟฟ้ารวั่ http://www.thaitechno.net/t1/productdetails.php?i

170

ลาดับ ภาพ แหล่งทมี่ าของข้อมูล

7 ภาพเต้ารับและเตา้ เสยี บ d=91449&uid=36831
8 ภาพสายไฟ http://www.ksv.ac.th/tb/cai/science2007/chap7_22.
htm
http://www.c-
grow.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84
%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A
2%E0%B9%84%E0%B8%9F.html

9 ภาพตัวอยา่ งฉลากบอกค่ากระแสไฟฟ้าของ http://clover.tatc.ac.th/index.php?usid=0812251313

อุปกรณ์ไฟฟา้ 2352&p=newsblog

10 ภาพการต่อวงจรไฟฟา้ แบบอนุกรม http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?id

=50790

11 ภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?id

=50790

12 ภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม https://physicskruadd.wordpress.com/2012/03/13/

การวเิ คราะหว์ งจรไฟฟา้ เ/

13 ภาพการต่อวงจรไฟฟา้ ภายในบา้ น http://webhtml.horhook.com/wbi/ec/4parallel-03.htm

14 ภาพแสดงตัวอย่างแผงวงจรไฟฟา้ ในครัวเรือน http://www.praguynakorn.com/tips/3/%E0%B8%AD

%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3

%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AB%E0%B8%A5

%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B3

%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A

%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A

%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89

%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9A

%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E

%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B2

%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%A2

15 ภาพการต่อสายดนิ http://teenet.cmu.ac.th/emac/journal/2004/23/04.php

16 ภาพสายดนิ และหลกั ดิน (บน) http://www.sysnetcenter.com/accessories/649-

ground-rod-ground-30-cm.html

17 ภาพสายดินและหลักดิน (ลา่ ง) https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8

%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B

171

ลาดับ ภาพ แหล่งท่ีมาของข้อมูล

9%8C_(%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0
%B9%89%E0%B8%B2)
18 ภาพตัวอยา่ งการต่อระบบไฟฟ้าภายในบ้าน http://www.siambe.com/index.php?lay=show&ac=a
rticle&Id=539549118

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การใช้และการประหยัดพลงั งานไฟฟา้

1 ภาพกลยุทธก์ ารประหยดั พลังงาน 3 อ. เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยดั ไฟเบอร์ 5

การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย

2 ภาพอุปกรณไ์ ฟฟา้ ทตี่ ดิ ฉลากประสทิ ธิภาพสงู เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5

การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย

3 ภาพฉลากเบอร์ 5 ของแท้ เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5

การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย

4 ภาพฉลากเบอร์ 5 ของปลอม เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5

การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย

5 ภาพสว่ นประกอบตา่ งๆ ของเคร่ืองทานา้ อนุ่ http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-
ไฟฟ้า utilities.pdf

6 ภาพส่วนประกอบหลักของกระติกนา้ ร้อน http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-
ไฟฟ้า utilities.pdf

7 ภาพสว่ นประกอบหลักของพัดลม http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-

utilities.pdf

8 ภาพการส่งสญั ญาณโทรทศั น์มายังเครื่องรบั http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-

โทรทศั น์ utilities.pdf

9 ภาพการวดั เสน้ ทแยงมมุ ของโทรทัศน์ http://suwanneee.blogspot.com/

10 ภาพเตารีดไฟฟ้าแตล่ ะชนิด (ซ้าย) http://checkprice.net/price_list/DEFHkm6N90w.html

11 ภาพเตารดี ไฟฟ้าแต่ละชนิด (กลาง) http://checkprice.net/price_list/AeEkMNPrsTz.html

12 ภาพเตารีดไฟฟา้ แต่ละชนดิ (ขวา) http://www.plazathai.com/show-700803.html

13 ภาพตู้เยน็ http://topicstock.pantip.com/home/topicstock/200

9/12/R8643243/R8643243.html

14 ภาพหลอดไส้ http://futuretechled.blogspot.com/

15 ภาพหลอดฟลูออเรสเซนต์ http://yusabuy.com/2015/02/25/%E0%B8%81%E0

%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E

0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%

ลาดับ ภาพ 172

16 ภาพหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ แหลง่ ที่มาของข้อมลู
17 ภาพหลอด LED
E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB
%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%8
4%E0%B8%9F/
http://futuretechled.blogspot.com/
http://futuretechled.blogspot.com/

173

คณะผู้จดั ทา

คณะทปี่ รกึ ษา เลขาธิการ กศน. สานกั งาน กศน.
นายสรุ พงษ์ จาจด รองเลขาธกิ าร กศน. สานักงาน กศน.
นายประเสรฐิ หอมดี รองผ้วู ่าการพัฒนาโรงไฟฟ้า
นายรตั นชยั นามวงศ์ ผู้ช่วยผวู้ า่ การวศิ วกรรมโรงไฟฟ้า
นายทนงรักษ์ แสงวฒั นะชัย ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดพษิ ณโุ ลก
นายนรา เหล่าวิชยา ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
นางตรีนุช สขุ สุเดช ตามอธั ยาศยั
ผอู้ านวยการฝ่ายบรหิ ารงานวิศวกรรมโรงไฟฟ้าและพลังงาน
นายสุรพงษ์ คลอวฒุ ิเสถียร นิวเคลียร์
ผู้ชว่ ยผู้อานวยการฝ่ายบริหารงานวิศวกรรมโรงไฟฟ้า
นายศภุ ผล รัตนากร และพลงั งานนวิ เคลยี ร์ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย
หวั หน้าแผนกปฏิกรณ์นวิ เคลยี ร์
นางสาวนทกี ูล เกรียงชัยพร การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย

คณะทางาน ผ้อู านวยการ กศน.เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
นางสาวกรรณกิ าร์ อินทราย ครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั การศึกษาทางไกล
นายเชาวลติ ธาดาสิทธิเวท ครชู านาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื
นางบษุ บา มาลินีกลุ ครชู านาญการพเิ ศษ กศน.อาเภอหางดง จงั หวดั เชียงใหม่
นางกมลวรรณ มโนวงศ์ บรรณารกั ษ์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์
นางปญุ ญดา ชาวงคศ์ รี ครูอาสาสมัครฯ กศน.อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
นางสาวบรรยาย ทมิ ธรรม วิศวกร ระดบั 9 การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย
นายพชิ ยั ชกู าญจนพทิ กั ษ์ นักวทิ ยาศาสตร์ ระดบั 6 การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย
นางสาวนภากาญจน์ สุวรรณคช นกั วทิ ยาศาสตร์ ระดับ 6 การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย
นางสาวศิรกลุ กาญจนปฐมพร

174

คณะบรรณาธิการ

นางสาววิมลรตั น์ ภูริคปุ ต์ ผ้อู านวยการ กศน. เขตบางเขน สานกั งาน กศน. กรุงเทพฯ

นางสาวอนงค์ ชูชยั มงคล ครเู ช่ยี วชาญ กศน. อาเภอเมืองอทุ ัยธานี จงั หวัดอุทัยธานี
นายสพุ จน์ เชยี่ วชลวทิ ย์ ครเู ช่ยี วชาญ กศน. เขตประเวศ กรุงเทพฯ

นางสาวพจนีย์ สวัสดริ์ ตั น์ ครูชานาญการพิเศษ กศน. อาเภอเมอื งกาแพงเพชร

จงั หวัดกาแพงเพชร

นายเชาวลิต ธาดาสิทธิเวท ครูชานาญการพิเศษ สถาบันการศกึ ษาทางไกล

นางกมลวรรณ มโนวงศ์ ครูชานาญการพเิ ศษ กศน. อาเภอหางดง จังหวดั เชียงใหม่

นางญาณศิ า สุขอดุ ม นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.

นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป์ นกั วิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.

นางสาวนิธมิ า ศรีพานชิ วศิ วกร ระดับ 6 การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย

นางสาวกาญจนา กิติดี นักวทิ ยาศาสตร์ ระดับ 6 การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย

นางสาวนภากาญจน์ สุวรรณคช นกั วิทยาศาสตร์ ระดับ 6 การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย

นางสาวจิรดา วิทยพิบูลย์ วศิ วกร ระดบั 6 การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย

นางสาวศิรกุล กาญจนปฐมพร นกั วทิ ยาศาสตร์ ระดับ 5 การไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

นายบญุ ชนะ ลอ้ มสริ อิ ดุ ม ครู คศ. 1 กศน. เขตหนองแขม กรุงเทพฯ

นายธณัลฐิวรรธน์ ภคพฑั วัฒนฐากรู ครูศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน กศน. เขตหนองแขม กรุงเทพฯ

ผ้อู อกแบบปก

นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป์ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัย

175


Click to View FlipBook Version