The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พลังงานไฟฟ้ามัธยมปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พลังงานไฟฟ้ามัธยมปลาย

พลังงานไฟฟ้ามัธยมปลาย

93

โดยปกติสายไฟ สายนวิ ทรัล และสายดิน จะเป็นการต่อวงจรไฟฟ้าเข้ากับแผงควบคุมไฟฟ้าภายใน
ครัวเรือน

ข้อควรรูเ้ ก่ียวกับวงจรไฟฟา้
1) การกดสวติ ช์เพอ่ื เปิดไฟ คอื การทาใหว้ งจรปิด เพอื่ ใหม้ ีกระแสไฟฟา้ ไหลเขา้ สู่วงจร
2) การกดสวติ ชเ์ พ่อื ปิดไฟ คือ การทาให้วงจรเปดิ ไม่มกี ระแสไฟฟ้าไหลเขา้ สู่วงจร
3) ไฟตก คือ แรงดันไฟฟ้าตก อาจมีสาเหตุมาจากการที่โรงไฟฟ้าขัดข้อง หรือมีการใช้
ไฟฟา้ มากขึ้นอยา่ งรวดเร็ว
4) วงจรลดั หมายถึง กระแสไฟฟา้ ท่ไี ม่ไดไ้ หลผ่านโหลดหรือตัวต้านทาน เพราะเกิดการ
ลัดวงจรขึ้นหรือเรียกว่า “ไฟช็อต” สาเหตุเกิดจากสายไฟชารุดหรือเก่าเกินไป ฉนวนหุ้มสายไฟ
เปือ่ ย สายไฟทั้งสองเส้นแตะกัน นอกจากนี้แล้วสายไฟแรงสูงซึ่งเป็นสายเปลือย (สายไม่หุ้มฉนวน)
อาจจะมวี ตั ถซุ ึ่งเป็นสื่อไฟฟ้าวางพาดระหวา่ งสายท้ังสองนนั้ หรอื การเดินวงจรไฟฟ้าผิดจะทาให้เกิด
การลัดวงจรได้

กิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 2 วงจรไฟฟ้า
(ให้ผเู้ รียนไปทากจิ กรรมเรอ่ื งที่ 2 ที่สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นร)ู้

94

เร่อื งที่ 3 สายดนิ และหลักดิน

สายดิน (Ground Wire) คอื สายไฟท่ีต่อเข้ากับเคร่ืองใช้ไฟฟ้า โดยการต่อลงดิน เพื่อให้
สายดินเป็นตัวนากระแสไฟฟ้าท่ีอาจเกิดการร่ัวไหล จากเครื่องใช้ไฟฟ้าลงสู่พื้นดิน เป็นการป้องกัน
ไมใ่ หไ้ ดร้ บั อันตรายจากกระแสไฟฟา้

ส่วนปลายของสายดินจะถกู ฝังไว้ในดนิ ด้วยการรวมสายดนิ จากทุกจดุ ภายในบ้านมาไว้ที่
ตู้ควบคุมไฟฟ้า และต่อสายอีกเส้นจากตู้ควบคุมไฟฟ้าลงสู่พ้ืนดิน ส่วนท่ีถูกฝังไว้ในดิน จะเป็นแท่ง
ทองแดงเปลือย ไม่มีฉนวนหุ้ม ยาวประมาณ 6 ฟุต เรียกว่า “หลักดิน” เน่ืองจากดินมีความช้ืนอยู่
เสมอ จึงทาใหเ้ กิดความตา้ นทานไฟฟา้ ตา่ กระแสไฟฟา้ จงึ ไม่ไหลมาทาอนั ตราย

สายดินมีไว้เพ่ือป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟช็อตหรือไฟร่ัว เพราะหากเกิดไฟช็อตหรือ
ไฟร่ัวขณะที่ใช้งานอุปกรณ์ช้ินนั้น กระแสไฟจะไหลเข้าสู่ส่วนที่เป็นโลหะ ซึ่งถ้าสัมผัสโลหะของ
อปุ กรณ์นั้น โดยทไี่ ม่มีการติดต้ังสายดินไว้ กระแสไฟฟ้าทั้งหมดก็จะไหลเข้าสู่ตัวผู้ใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
อาจทาให้ได้รับอันตรายและเสียชีวิตได้ แต่ถ้าท่ีบ้านมีการติดต้ังสายดินไว้ กระแสไฟฟ้าเหล่าน้ันก็
จะไหลผ่านเข้าไปท่ีสายดินแทน อันตรายต่าง ๆ ที่เกิดจากไฟช็อตหรือไฟรั่วก็จะไม่เกิดข้ึน ท่ีเป็น
เช่นน้ีเพราะว่า สายดินทาหน้าที่เหมือนท่อน้าล้นของอ่างล้างจานในครัว เมื่อเปิดน้าจนถึง
ทอ่ น้าลน้ แลว้ นา้ ก็จะไหลออกมาตามท่อนนั้ น้าจงึ ไม่ลน้ อ่าง

หลักดิน (Ground Rod) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่นากระแสไฟฟ้าท่ีรั่วไหลจาก
เคร่ืองใช้ไฟฟ้าผ่านสายดินลงสู่พ้ืนดิน โดยหลักดินจะมีลักษณะเป็นแท่งทรงกระบอก เส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 2.4 เมตร ทาจากวัสดุที่ทนการผุกร่อน เช่น
แท่งทองแดงหรอื แทง่ แม่เหลก็ หุม้ ทองแดง เป็นตน้ โดยหลักดินเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญของระบบ
สายดนิ ดงั นี้

1) เป็นอุปกรณ์ปลายทางทีจ่ ะทาหนา้ ที่สัมผัสกบั พืน้ ดิน
2) เปน็ ส่วนที่จะทาให้สายดินหรอื อปุ กรณท์ ่ตี อ่ ลงดนิ มีศกั ย์ไฟฟา้ เป็นศูนย์เท่ากบั ดนิ
3) เป็นเส้นทางไหลของประจุไฟฟ้าหรอื กระแสไฟฟา้ ท่ีจะไหลลงสู่พน้ื ดิน
4) เป็นตัวกาหนดคุณภาพ อายุความทนทาน และความปลอดภัยของระบบการต่อ
ลงดนิ ในระยะยาว

95

สายดนิ
หลักดิน

ภาพสายดนิ และหลกั ดนิ

ภาพการตอ่ สายดิน

สาหรับเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่แนะนาให้ติดตั้งสายดิน เช่น เคร่ืองทาน้าอุ่นไฟฟ้า ตู้เย็น
เครือ่ งปรบั อากาศ เคร่ืองซักผ้า เครื่องคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้

จากการศึกษาความรู้เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า สามารถนามาใช้ต่อระบบ
ไฟฟ้าภายในบา้ นได้ ดงั ตัวอย่างในภาพตอ่ ไปนี้

96

ภาพการตอ่ ระบบไฟฟ้าภายในบ้าน

กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 3 สายดนิ และหลกั ดนิ
(ใหผ้ ู้เรียนไปทากิจกรรมเรือ่ งท่ี 3 ท่สี มุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นร้)ู

97

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 4
การใชแ้ ละการประหยดั พลังงานไฟฟา้

สาระการเรียนรู้
การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากจะช่วยลดการใช้พลังงาน ยังช่วยให้ประหยัด

ค่าใช้จ่ายอีกด้วย ซ่ึงในการประหยัดพลังงานน้ันสามารถดาเนินได้โดยใช้กลยุทธ์ 3 อ. คือ อุปกรณ์
ประหยัดพลังงานไฟฟ้า อาคารประหยัดพลังงานไฟฟ้า และอุปนิสัยประหยัดพลังไฟฟ้า ส่ิงที่มี
ความสาคัญอย่างมากอย่างหนึ่ง ท่ีจะช่วยในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า คือ การเลือกซ้ือ เลือกใช้
และดูแลรักษาเคร่ืองใช้ไฟฟ้าให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีอายุงานได้ยาวนาน
รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับการคานวณค่าใช้ไฟฟ้าในเบื้องต้นจะช่วยให้สามารถวางแผนเพ่ือลดการใช้
พลังงานไฟฟา้ ได้งา่ ยขึน้

ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั
1. อธิบายกลยุทธก์ ารประหยดั พลงั งานไฟฟา้
2. จาแนกฉลากเบอร์ 5 ของแท้กับของลอกเลียนแบบ
3. เลือกใชเ้ คร่อื งใชไ้ ฟฟ้าไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ท่กี าหนดให้
4. วางแผนการประหยัดพลังงานไฟฟา้ ในครัวเรือน
5. อธิบายวิธีการดแู ลรักษาเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในครัวเรอื น
6. อธิบายองค์ประกอบของค่าไฟฟา้
7. อธิบายปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ ค่าไฟฟ้าแปรผนั (Ft)
8. คานวณค่าไฟฟ้าในครวั เรือน

ขอบข่ายเนือ้ หา
เรื่องท่ี 1 กลยุทธ์การประหยัดพลงั งานไฟฟ้า 3 อ.
เรอ่ื งที่ 2 การเลอื กซ้อื การใช้ และการดแู ลรักษาเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ภายในบ้าน
เร่ืองที่ 3 การวางแผนและการคานวณคา่ ไฟฟา้ ในครัวเรอื น

เวลาทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา 30 ชัว่ โมง

ส่ือการเรียนรู้
1. ชดุ วชิ าการใช้พลังงานไฟฟ้าในชวี ติ ประจาวนั 3 รหสั วิชา พว32023
2. สมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟา้ ในชีวติ ประจาวัน 3
3. แผงสาธิตการต่อวงจรไฟฟ้า

98

เรอ่ื งที่ 1 กลยุทธ์การประหยดั พลังงานไฟฟา้ 3 อ.

การประหยัดพลังงาน คือ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และรู้คุณค่า
การประหยัดพลังงานนอกจากช่วยลดปริมาณการใช้พลังงาน ยังเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายของ
ครวั เรือนและประเทศชาตแิ ลว้ ยงั ชว่ ยลดปัญหาผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมได้ด้วย กลยุทธ์หน่ึงของ
ประเทศไทย ท่ีประสบความสาเร็จด้านการประหยัดการใช้ไฟฟ้าและพลังงานของชาติ คือ การ
เลือกแนวทางท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับชีวิตและอุปนิสัยของคนไทย ด้วยการใช้ “กลยุทธ์การ
ประหยัดพลังงาน 3 อ.” ได้แก่ อปุ กรณป์ ระหยัดไฟฟ้า อาคารประหยัดไฟฟ้า และอุปนิสัยประหยัด
ไฟฟ้า ซ่ึงฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ท่ีดาเนินการโดย กฟผ. เป็นตัวอย่างหนึ่งของกลยุทธ์ประหยัด
พลังงานทีป่ ระสบความสาเร็จ ตามกลยทุ ธ์ 3 อ. โดยแบ่งรายละเอียดเปน็ 3 ตอน ดงั น้ี

ตอนที่ 1 กลยุทธ์ อ. 1 อุปกรณป์ ระหยดั ไฟฟา้
ตอนท่ี 2 กลยทุ ธ์ อ. 2 อาคารประหยัดไฟฟ้า
ตอนท่ี 3 กลยุทธ์ อ. 3 อปุ นิสยั ประหยัดไฟฟา้

กลยทุ ธก์ ารประหยดั พลังงาน 3 อ.

1. กลยุทธ์ อ. 1 อปุ กรณป์ ระหยดั ไฟฟา้
กลยุทธ์ อ. 1 อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนเปลี่ยนมาใช้

อปุ กรณ์ไฟฟา้ ท่ีมีประสิทธิภาพสูง ประหยัดไฟ กฟผ. จึงได้ดาเนินโครงการ “ฉลากประหยัดไฟฟ้า
เบอร์ 5 หรือ ฉลากเบอร์ 5” มุ่งส่งเสริมให้ผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีมี
ประสิทธภิ าพการประหยัดพลังงาน โดยมีการรับรองภายใต้สัญลักษณ์ “ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์

99

5” โดยในปัจจุบัน กฝผ. ได้ให้การรับรองอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าฉลากเบอร์ 5 รวม 24
รายการ ดังนี้

• ปี 2536 โครงการประชารว่ มใจ ใชห้ ลอดผอม
• ปี 2537 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟา้ เบอร์ 5 ต้เู ยน็
• ปี 2538 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 เคร่ืองปรับอากาศ
• ปี 2539 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟ้าเบอร์ 5 หลอดตะเกยี บ
• ปี 2541 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟา้ เบอร์ 5 บัลลาสต์นริ ภยั
• ปี 2542 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 ข้าวกลอ้ งหอมมะลิ
• ปี 2544 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 พัดลมไฟฟ้า
• ปี 2547 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 หมอ้ หงุ ข้าวไฟฟา้
• ปี 2547 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 โคมไฟประสิทธิภาพสงู
• ปี 2550 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 บลั ลาสตอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ T5
• ปี 2551 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟา้ เบอร์ 5 พดั ลมส่ายรอบตวั
• ปี 2552 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 หลอดผอมเบอร์ 5
• ปี 2553 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 Standby Power 1 Watt (เคร่ืองรบั
โทรทศั น์/จอคอมพิวเตอร์)
• ปี 2554 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟา้ เบอร์ 5 เตารดี ไฟฟา้
• ปี 2554 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 Retrofeit
• ปี 2555 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 พดั ลมระบายอากาศ
• ปี 2555 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟ้าเบอร์ 5 เคร่ืองทานา้ อุน่ ไฟฟา้
• ปี 2556 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 เคร่ืองซักผา้ ชนิดฝาบนถงั เด่ียว
• ปี 2556 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 LED (Light Emitting Diode)
• ปี 2557 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟา้ เบอร์ 5 เตาไมโครเวฟ
• ปี 2557 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟ้าเบอร์ 5 เตาแมเ่ หล็กไฟฟา้
• ปี 2557 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 กาต้มนา้ ไฟฟา้
• ปี 2557 โครงการฉลากประหยดั ไฟฟ้าเบอร์ 5 เครื่องรับโทรทัศน์
• ปี 2558 โครงการฉลากประหยัดไฟฟา้ เบอร์ 5 ตแู้ ชแ่ สดงสินค้า

100

อุปกรณต์ ดิ ฉลากประสทิ ธิภาพสูง

ปัจจุบันฉลากเบอร์ 5 มีผู้ลอกเลียนแบบจานวนมากเพ่ือให้ประชาชนหลงเชื่อ โดยมีการ
ติดฉลากเลียนแบบ หรือติดเพียงคร่ึงเดียว ซ่ึงหาก กฟผ. ตรวจพบจะแจ้งดาเนินคดีตามกฎหมาย
ท้งั น้ี กฟผ. ไดจ้ ดทะเบยี นเครือ่ งหมายรับรองตามพระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการค้า หากบุคคลใด
ลอกเลยี นแบบถือวา่ มคี วามผิดตามกฎหมาย ดังน้ัน ในการเลือกซื้อเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เพ่ือให้มั่นใจว่า
ได้เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ทม่ี ปี ระสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานได้จริง ผู้บริโภคหรือผู้ซ้ือต้องสังเกตและ
ตรวจสอบให้มั่นใจว่าเป็นฉลากเบอร์ที่ได้รับการรับรองจริงจาก กฟผ. โดยสามารถสังเกตลักษณะ
ของฉลากเบอร์ 5 ได้ ดงั ภาพ

101

ภาพฉลากเบอร์ 5 ของแท้

ภาพฉลากเบอร์ 5 ของปลอม

2. กลยทุ ธ์ อ. 2 อาคารประหยัดไฟฟา้
กลยุทธ์ อ. 2 อาคารประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการภาคธุรกิจ

และภาคอุตสาหกรรม เห็นความสาคัญและพร้อมใจกันใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้าท่ีมีประสิทธิภาพ
สูง เช่นเดียวกบั กล่มุ ภาคท่ีอยู่อาศัยพรอ้ มไปกบั การใช้มาตรการตา่ ง ๆ ท่ีเป็นการประหยัดไฟฟ้า ซ่ึง

102

ได้แก่ การบริหารการใช้ไฟฟ้า การปรับปรุงระบบป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคาร การใช้ระบบ
ปรับอากาศประสิทธิภาพสูง การปรับปรุงระบบแสงสว่าง และการจัดการอบรมให้ความรู้
ดา้ นการใชพ้ ลังงานอย่างถกู ต้อง ลดตน้ ทนุ การผลิตสนิ คา้ ใหส้ ามารถแข่งขนั ได้ในตลาดโลก โดยการ
ประหยัดพลงั งานไฟฟ้าในอาคารสามารถดาเนินการได้ ดังน้ี

1) การออกแบบวางตาแหน่งอาคาร ให้หันอาคารไปยังทิศทห่ี ลบแดดทศิ ตะวนั ตก
2) ถ้าพ้ืนที่ดินไม่เอ้ืออานวยให้วางอาคารหลบแดดทิศตะวันตก ให้ใช้ไม้ยืนต้นให้
รม่ เงาแก่อาคาร พร้อมท้ิงชายคาหลังคาหรือจัดทาแผงบังแดดชว่ ยเสริมการบังแดด
3) ผนัง หลังคา และฝ้าเพดานอาคาร ให้ใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนความร้อน
สะท้อน หรือปอ้ งกันความรอ้ น
4) ใช้วัสดุนวัตกรรมช่วยระบายความร้อน เช่น ลูกระบายอากาศอลูมิเนียมท่ีทางาน
โดยไมต่ อ้ งอาศัยพลังงานไฟฟ้า

5) ระบบปรับอากาศ ให้ใช้ชนิดประหยัดไฟ และแยกสวิตช์เปิด – ปิดเฉพาะเครื่อง
เพ่อื ใหค้ วบคมุ การเปิด - ปดิ ตามความประสงคก์ ารใช้งานในแตล่ ะบริเวณ

6) ลดจานวนพัดลมดูดอากาศ เพื่อป้องกันการสูญเสียอากาศเย็นมิให้ออกไปจาก
ห้องปรับอากาศมากเกนิ ไป

7) ระบบไฟฟ้าแสงสว่างให้พยายามใช้ประโยชน์จากแสงธรรมชาติในเวลากลางวัน
เช่น ใช้กระเบื้องโปร่งแสง หนา้ ต่างใชก้ ระจกใส เปน็ ตน้

8) หลอดไฟให้ใช้ชนิดเกิดความร้อนท่ีดวงโคมน้อย เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์
เพอ่ื เคร่ืองปรบั อากาศไม่ตอ้ งใช้พลงั งานมาลดความร้อนจากหลอดไฟแสงสวา่ งโดยไมจ่ าเป็น

9) หลอดฟลูออเรสเซนต์ให้ใช้อุปกรณ์นวัตกรรม คือ บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์
เพ่ือยืดอายุการใช้งานของหลอดไฟ และประหยัดคา่ ไฟฟ้า ใชค้ รอบโลหะสะท้อนแสงช่วยเพิ่มความ
สว่างแก่หลอดไฟเป็น 2 – 3 เทา่ โดยใชจ้ านวนหลอดไฟเทา่ เดิม

10) ออกแบบภูมิทัศน์รอบอาคารเพ่ือลดความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร เช่น ปลูกหญ้า
รอบอาคาร ขุดสระน้า ตดิ ต้งั น้าพุ ดกั ลมก่อนพัดเขา้ ส่อู าคาร และปลกู ไม้ยนื ตน้ ใหร้ ่มเงา เปน็ ตน้

103

3. กลยทุ ธ์ อ. 3 อปุ นิสยั ประหยดั ไฟฟา้
กลยทุ ธ์ อ. 3 คอื อุปนสิ ยั ประหยัดไฟฟา้ เป็นการปลกู จิตสานึกและอุปนิสัยให้คนไทย

โดยเฉพาะอย่างย่ิงเยาวชนไทย ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดย กฟผ. ได้มีการนาร่องจัดทา
โครงการห้องเรียนสีเขียวขึ้นในโรงเรียนระดับต่าง ๆ ท่ัวประเทศกว่า 420 โรงเรียน ได้จัดเป็น
ฐานการเรียนรู้ มีการติดต้ังอุปกรณ์การเรียนรู้ให้เป็นฐานกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ฐานการเรียนรู้ไฟฟ้า
มีประโยชน์มากมาย แหล่งกาเนิดไฟฟ้า เปรียบเทียบประสิทธิภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า เป็นต้น
และสอดแทรกแบบฝึกหัดเก่ียวกับการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเข้าไปในบทเรียน
เพอื่ เสริมสร้างทัศนคติใหก้ บั เยาวชน และผลการดาเนินโครงการประสบผลสาเร็จสามารถขยายผล
ไปยังชุมชน จึงนับว่าเป็นโครงการท่ีเสริมสร้างทัศนคติในการใช้พลังงานไฟฟ้าได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

ภาพกิจกรรมสง่ เสรมิ อุปนิสัยประหยดั พลังงาน

การสร้างหรือพัฒนาอุปนิสัยประหยัดพลังงานอาจไม่ใช่เร่ืองง่าย จาเป็นต้องได้รับ
ความร่วมมือ ร่วมใจจากสมาชิกในครัวเรือน องค์การหรือสานักงาน ซ่ึงจาเป็นต้องสร้างความรู้
ความเข้าใจ ในเร่ืองของแนวทางปฏิบัติท่ีนาไปสู่อุปนิสัยการประหยัดพลังงาน และผลที่จะได้รับ
ทัง้ ในสว่ นของตนเอง คือ สามารถประหยัดค่าใช้พลังงานไฟฟ้า และการช่วยประเทศชาติให้ลดการ
ใช้พลงั งานไฟฟา้ ในภาพรวม ซึ่งจะเปน็ การเสริมสร้างและสนบั สนุนความมั่นคงของพลงั งานไฟฟา้

ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 กระทรวงพลังงานได้จัดโครงการ “รวมพลังคนไทย
ลดพคี ไฟฟา้ ” เพ่ือขอความรว่ มมือใหค้ นไทยร่วมกันประหยัดการใช้ไฟฟ้าในช่วงหน้าร้อนท่ีมีโอกาส
จะเกดิ การใชไ้ ฟฟา้ สูงสดุ เรียกว่า “ปฏบิ ัติการ 4 ป. ไดแ้ ก่ ปิด – ปรับ – ปลด – เปลีย่ น”

104

ภาพปฏิบตั ิการ 4 ป.

 ปดิ คอื ปิดไฟดวงทไ่ี มจ่ าเป็น
 ปรับ คือ ปรบั อุณหภมู ิเครื่องปรับอากาศที่ 26 องศาเซลเซียส
 ปลด คือ ปลดปลัก๊ เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ที่ไมใ่ ช้งาน
 เปล่ยี น คอื เปล่ยี นมาใช้อุปกรณห์ รอื เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าทป่ี ระหยดั พลังงาน
นอกจากน้ีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด ควรศึกษา ทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบ
การทางาน การติดตั้งและการใช้ การดูแลรักษาให้ถูกต้อง ซ่ึงจะช่วยให้ปลอดภัย สามารถ
ประหยดั คา่ ไฟฟา้ สามารถยดื อายกุ ารใช้งานไดย้ าวนานอกี ด้วย

กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 1 กลยุทธก์ ารประหยัดพลังงานไฟฟา้ 3 อ.
(ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมเรอ่ื งท่ี 1 ทส่ี มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรียนร้)ู

105

เรื่องท่ี 2 การเลอื กซือ้ การใช้ และการดแู ลรกั ษาเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าภายในบา้ น

โดยทั่วไป เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในครัวเรือน มักมีการใช้พลังงานสูงแทบทุกชนิด ดังน้ัน
ผู้ใช้ต้องมีความรู้เก่ียวกับการเลือกซ้ือและการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดให้เหมาะสมและถูกวิธี
เพ่อื ทาใหเ้ กิดความประหยดั และคุ้มคา่ ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีมีการใช้ทั่วไปในครัวเรือน
ดงั น้ี

1. เครอ่ื งทานา้ อนุ่ ไฟฟ้า
เคร่ืองทาน้าอุ่นไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ท่ีทาให้น้าร้อนข้ึน โดยอาศัยการพาความร้อนจาก

ขดลวดความร้อน (Electrical Heater) ขณะท่ีกระแสน้าไหลผ่าน ส่วนประกอบหลักของเคร่ือง
ทาน้าอุ่นไฟฟ้า คือ

1) ตัวถงั น้า จะบรรจุนา้ ซ่ึงจะถูกทาให้ร้อน
2) ขดลวดความรอ้ น เปน็ อปุ กรณท์ ี่ให้ความร้อนกับนา้
3) อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ จะทาหน้าที่ตัดกระแสไฟฟ้าเม่ืออุณหภูมิของน้าถึง
ระดบั ที่ตงั้ ไว้

ภาพสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเคร่ืองทานา้ อุน่ ไฟฟ้า

106

การเลือกซือ้ และการใช้อย่างถูกวธิ ีและประหยดั พลงั งาน
1) เลอื กเคร่อื งทานา้ อุน่ ไฟฟา้ ให้เหมาะสมกับการใช้ สาหรบั บา้ นท่ัวไปเคร่ืองทาน้าอุ่น
ไฟฟ้า ขนาดไม่เกนิ 4,500 วัตต์ กน็ ่าจะเพยี งพอ ซ่ึงจะช่วยทั้งประหยัดไฟฟ้าที่ใช้ในเคร่ืองทาน้าอุ่น
ไฟฟ้าและป๊มั นา้
2) ตั้งอณุ หภมู ิน้าไมส่ ูงจนเกนิ ไป (ปกติอยู่ในชว่ ง 35 - 45 C)
3) ใช้หวั ฝกั บัวชนิดประหยัดน้า จะชว่ ยประหยดั นา้ ได้ถึง รอ้ ยละ 25 - 75
4) ใช้เคร่ืองทาน้าอุ่นที่มีถังน้าภายในตัวเครื่องและมีฉนวนหุ้ม เพราะสามารถลดการ
ใชพ้ ลังงานไดม้ ากกวา่ ชนิดที่ไมม่ ีถังน้าภายใน ร้อยละ 10 - 20
5) ปิดวาลว์ น้าและสวิตชท์ นั ทีเม่อื เลิกใช้งาน
6) ไม่เปิดเครอื่ งตลอดเวลาขณะฟอกสบ่อู าบนา้ หรือขณะสระผม

ค่าไฟฟ้าของเครอื่ งทาน้าอุ่นไฟฟา้ ขนาดตา่ ง ๆ เม่ือใชง้ านเปน็ เวลา 1 ช่ัวโมง

ขนาดเครื่องทาน้าอุ่นไฟฟา้ ค่าไฟฟ้าตอ่ ช่ัวโมงโดยประมาณ

ขนาดเลก็ (3,000 - น้อยกว่า 5,000 วตั ต)์ 13.20 บาท
ขนาดกลาง (5,000 - นอ้ ยกวา่ 8,000 วตั ต)์ 18.00 บาท
ขนาดใหญ่ (8,000 วัตต์ ขน้ึ ไป) 24.00 บาท

การดูแลรักษาและความปลอดภัย

1) หม่ันตรวจสอบการทางานของเครื่องให้มีสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ โดยเฉพาะ
อยา่ งย่ิงระบบความปลอดภัยของเครอ่ื ง

2) ตรวจดูระบบท่อนา้ และรอยต่ออย่าใหม้ ีการรวั่ ซึม
3) เมอ่ื พบความผดิ ปกติในการทางานของเครอ่ื ง ควรใหช้ ่างผู้ชานาญตรวจสอบ
4) ตอ้ งมีการตอ่ สายดิน

107

2. กระตกิ น้าร้อนไฟฟ้า
กระติกน้าร้อนไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ในการต้มน้าให้ร้อน ประกอบด้วยขดลวดความร้อน

(Electrical Heater) อยู่ด้านล่างของกระติกน้าร้อนไฟฟ้า และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ
(Thermostat) เปน็ อุปกรณ์ควบคมุ การทางาน

เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวด จะเกิดความร้อน และถ่ายเทไปยังน้าภายในกระติก
น้าร้อนไฟฟ้า ทาให้น้ามีอุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงจุดเดือด จากน้ันอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะตัด
กระแสไฟฟ้าในวงจรหลักออกไป แต่ยังคงมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อน และแสดง
สถานะนี้ โดยหลอดไฟสัญญาณอุ่นจะสว่างขึ้น เมื่ออุณหภูมิของน้าร้อนภายในกระติกน้าร้อนไฟฟ้า
ลดลงจนถึงจุด ๆ หนึ่ง อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะทางานโดยปล่อยให้กระแสไฟฟ้าผ่านขด
ลวดความร้อนเตม็ ท่ีทาให้น้าเดอื ดอีกครั้ง

กระตกิ น้าร้อนไฟฟ้าโดยท่ัวไปท่ีมีจาหน่ายในท้องตลาดจะมีขนาดความจุตั้งแต่ 2 - 4
ลิตร และใชก้ าลังไฟฟ้าระหวา่ ง 500 - 1,300 วตั ต์

ภาพสว่ นประกอบหลักของกระตกิ นา้ รอ้ นไฟฟา้

108

การเลอื กซอื้ และการใชอ้ ยา่ งถกู วธิ ีและประหยดั พลงั งาน

1) เลอื กซอื้ รุน่ ที่มีตรามาตรฐานอตุ สาหกรรม (มอก.)
2) ใส่น้าให้พอเหมาะกับความต้องการหรือไม่สูงกว่าระดับท่ีกาหนดไว้ เพราะจะทา
ใหก้ ระติกน้าร้อนไฟฟ้าเกดิ ความเสียหาย
3) ระวังอย่าให้นา้ แหง้ หรือปลอ่ ยให้ระดับนา้ ต่ากวา่ ขีดท่ีกาหนด เพราะจะทาให้เกิด
ไฟฟา้ ลัดวงจรในกระตกิ นา้ ร้อนไฟฟา้ เป็นอันตรายอยา่ งย่ิง
4) ถอดปลั๊กเม่ือเลิกใช้น้าร้อนแล้ว เพื่อลดการส้ินเปลืองพลังงาน ไม่ควรเสียบปลั๊ก
ตลอดเวลา แต่หากมีความต้องการใช้น้าร้อนเป็นระยะ ๆ ติดต่อกัน เช่น ในที่ทางานบางแห่งท่ีมี
น้าร้อนไว้สาหรับเตรียมเครื่องดื่มต้อนรับแขก ก็ไม่ควรถอดปลั๊กออกบ่อย ๆ เพราะทุกคร้ังเม่ือดึง
ปล๊กั ออกอุณหภูมิของนา้ จะคอ่ ย ๆ ลดลง กระตกิ น้ารอ้ นไฟฟา้ ไม่สามารถเก็บความร้อนได้นาน เมื่อ
จะใชง้ านใหม่กต็ อ้ งเสยี บปล๊ัก และเร่มิ ต้มนา้ ใหม่ซ่ึงเป็นการส้นิ เปลอื งพลงั งาน
5) อยา่ นาสิง่ ใด ๆ มาปิดช่องไอน้าออก
6) ตรวจสอบการทางานของอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิให้อยใู่ นสภาพใช้งานไดเ้ สมอ
7) ไมค่ วรตั้งไวใ้ นห้องท่ีมีการปรบั อากาศ

คา่ ไฟฟ้าของกระติกน้าร้อนไฟฟา้ ขนาดต่าง ๆ เม่ือใช้งานเป็นเวลา 1 ชว่ั โมง

ขนาดของกระตกิ นา้ ร้อนไฟฟา้ ค่าไฟฟ้าตอ่ ช่วั โมงโดยประมาณ

2 ลิตร 2.40 บาท

2.5 ลติ ร 2.60 บาท
3.2 ลติ ร 2.88 บาท

การดูแลรักษา
การดูแลรักษากระติกน้าร้อนไฟฟ้าให้มีอายุการใช้งานนานขึ้น ลดการใช้พลังงานลง
และป้องกนั อบุ ตั เิ หตุ หรืออันตรายทอ่ี าจจะเกิดขึ้น
1. หม่ันตรวจดูสายไฟฟ้าและขว้ั ปล๊ักใหอ้ ยูใ่ นสภาพสมบูรณเ์ สมอ

109

2. ควรนาน้าที่สะอาดเท่าน้ันมาต้ม มิฉะน้ันผิวในกระติกน้าร้อนไฟฟ้าอาจเปล่ียนสี
เกดิ คราบสนิมและตะกรนั

3. หมั่นทาความสะอาดตัวกระติกน้าร้อนไฟฟ้าด้านใน อย่าให้มีคราบตะกรัน ซึ่งจะ
เปน็ ตัวตา้ นทาน การถา่ ยเทความรอ้ นจากขดลวดความร้อนไปสู่น้า ทาให้เวลาในการต้มน้าเพิ่มขึ้น
เปน็ การสญู เสียพลังงานโดยเปลา่ ประโยชน์

4. เมื่อไม่ต้องการใช้กระติกน้าร้อนไฟฟ้า ควรล้างด้านในให้สะอาด แล้วคว่าลง
เพ่อื ให้นา้ ออกจากตัวกระตกิ น้ารอ้ นไฟฟา้ แลว้ ใชผ้ า้ เช็ดดา้ นในให้แห้ง

5. การทาความสะอาดส่วนตา่ ง ๆ ของกระตกิ นา้ ร้อนไฟฟา้
- ตวั และฝากระติกนา้ รอ้ นไฟฟา้ ใชผ้ า้ ชุบนา้ บดิ ให้หมาดแล้วเช็ดอย่างระมัดระวัง
- ฝาปดิ ดา้ นใน ใชน้ า้ หรือนา้ ยาล้างจานล้างใหส้ ะอาด
- ตวั กระติกน้าร้อนไฟฟ้าด้านใน ใช้ฟองน้าชุบน้าเช็ดให้ท่ัว ล้างให้สะอาดด้วยน้า

โดยอย่าราดน้า ลงบนส่วนอื่นของตัวกระติกน้าร้อนไฟฟ้า นอกจากภายในกระติกน้าร้อนไฟฟ้า
เท่านั้น อย่าใช้ของมีคมหรือฝอยขัดหม้อขูดหรือขัดตัวกระติกน้าร้อนไฟฟ้าด้านใน เพราะจะทาให้
สารเคลือบหลุดออกได้

3. พดั ลม
พัดลมที่ใช้ในบ้านเป็นอุปกรณ์หลักที่ช่วยในการหมุนเวียนอากาศ และระบายความ

ร้อนภายในบ้าน ซง่ึ ในปจั จุบนั พดั ลมทีใ่ ชม้ หี ลากหลายลักษณะและประเภทข้นึ อยกู่ บั การใช้งาน
ส่วนประกอบหลักของพัดลม ได้แก่ ใบพัด ตะแกรงคลุมใบพัด มอเตอร์ไฟฟ้า สวิตช์

ควบคุมการทางาน และกลไกควบคุมการหมุนและสา่ ย ดงั รูป

ภาพสว่ นประกอบหลักของพัดลม

110

การเลอื กซ้ือและการใช้อยา่ งถูกวธิ แี ละประหยดั พลังงาน
1. เลือกซื้อพัดลมท่ีเป็นระบบธรรมดา เพราะจะประหยัดไฟกว่าระบบที่มี
รโี มทคอนโทรล หรือระบบไอนา้
2. เลอื กซอ้ื ยห่ี ้อและรุ่นท่ไี ด้รับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และมีฉลากเบอร์ 5
3. เลอื กท่มี ขี นาดใบพัดและกาลงั ไฟฟ้าให้เหมาะสม และตรงกบั ความต้องการใชง้ าน
4) เลือกใช้ความแรงของลมให้เหมาะกับความต้องการ ความแรงของลมยิ่งมากย่ิง
เปลืองไฟ
5) ปดิ พัดลมทันทเี มอ่ื ไมใ่ ช้งาน
6) ในกรณที พ่ี ัดลมมีระบบรีโมทคอนโทรลอย่าเสียบปลั๊กท้ิงไว้ เพราะจะมไี ฟฟา้ เลี้ยง
อปุ กรณต์ ลอดเวลา
7) ควรวางพัดลมในทที่ ม่ี อี ากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพัดลมใชห้ ลกั การดดู อากาศจาก
บริเวณรอบ ๆ ทางด้านหลังของตัวใบพัด แล้วปล่อยออกสู่ด้านหน้า เช่น ถ้าอากาศบริเวณรอบ
พัดลมมีการถ่ายเทดี ไม่ร้อนหรืออับช้ืน ก็จะได้รับลมเย็น รู้สึกสบาย และยังทาให้มอเตอร์สามารถ
ระบายความร้อนได้ดี เป็นการยืดอายกุ ารใช้งานอีกด้วย

การดแู ลรกั ษา
การดแู ลรักษาพัดลมอย่างสมา่ เสมอ จะชว่ ยใหพ้ ัดลมทางานได้เต็มประสิทธิภาพ และ
ยงั ชว่ ยยืดอายุการทางาน มีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้
1) หม่ันทาความสะอาดตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ใบพัด และตะแกรงครอบ
ใบพัด อย่าให้ฝุ่นละอองเกาะจับ และต้องดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมอ อย่าให้แตกหัก ชารุด หรือโค้ง
งอ ผดิ ส่วน จะทาให้ลมท่ีออกมามคี วามแรงของลมลดลง
2) หมั่นทาความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซ่ึงเป็นช่องระบาย
ความร้อนของมอเตอร์ อย่าให้มีคราบน้ามันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทาให้ประสิทธิภาพ
ของมอเตอรล์ ดลง และส้ินเปลืองไฟฟ้ามากขน้ึ

4. โทรทศั น์
โทรทัศน์เป็นอุปกรณ์ท่ีแปลงสัญญาณคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นภาพด้วยวงจร

อิเล็กทรอนิกส์ทม่ี ีความซับซอ้ น มสี ่วนประกอบ ดังนี้

111

1) สว่ นประกอบภายนอก คือ ตัวโครงที่ห่อหุ้มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จอภาพซึ่งจะมี
การเคลือบสารพเิ ศษทางดา้ นใน ปมุ่ หรือสวติ ชต์ า่ ง ๆ และช่องต่อสายอากาศ เปน็ ตน้

2) ส่วนประกอบภายใน คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวรับเปลี่ยนสัญญาณท่ีมาในรูป
ของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นภาพและเสียง ส่วนประกอบของจอภาพและระบบเสียงรวมทั้งลาโพง
เปน็ ต้น

วดั ตามเสน้ ทแยงมุม ชนขอบดา
หนว่ ยเป็นน้ิว

ภาพการส่งสัญญาณโทรทัศนม์ ายังเคร่อื งรับโทรทศั น์

ปริมาณพลังงานท่ีโทรทัศน์ใช้ข้ึนอยู่กับเทคโนโลยีและขนาดของจอภาพ โดยขนาด
จอภาพของโทรทัศน์ ระบุด้วยความยาวเส้นทแยงของมุมจอภาพ โทรทัศน์แต่ละขนาดและแต่ละ
ประเภทจะมีการใช้ไฟฟ้าแตกต่างกนั ย่ิงขนาดจอภาพใหญก่ จ็ ะใชก้ าลังไฟฟา้ มาก

112

ค่าไฟฟ้าของโทรทศั น์ชนิดและขนาดตา่ ง ๆ เม่อื ใช้งานเปน็ เวลา 1 ชว่ั โมง

ชนิดและขนาดของจอโทรทศั น์ คา่ ไฟฟ้าตอ่ ช่ัวโมงโดยประมาณ

จอแบน 20 นิ้ว 0.28 บาท
จอแบน 25 นว้ิ 0.67 บาท
จอ LCD 26 นวิ้ 0.35 บาท
จอ LCD 46 นิ้ว 0.76 บาท
จอ LED 26 นวิ้ 0.20 บาท
จอ LED 46 น้วิ 0.40 บาท

การเลือกซอ้ื และการใชอ้ ยา่ งถูกวิธีและประหยดั พลงั งาน
1) การเลือกใช้โทรทัศน์ควรคานึงถึงความต้องการในการใช้งาน โดยพิจารณาจาก
ขนาดและการใชก้ าลังไฟฟ้า สาหรบั เทคโนโลยเี ดียวกัน โทรทศั น์ท่มี ขี นาดใหญ่ ยงิ่ กินไฟมากขึ้น
2) อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะโทรทัศน์จะมีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงระบบภายในอยู่
ตลอดเวลา ทาใหส้ ิน้ เปลืองไฟ และอาจก่อให้เกิดอนั ตรายในขณะเกิดฟ้าแลบได้
3) ปิดและถอดปลั๊กทันทีเม่ือไม่มีคนดู หากชอบหลับหน้าโทรทัศน์บ่อย ๆ ควรใช้
โทรทัศน์ ร่นุ ท่ีตง้ั เวลาปดิ โดยอัตโนมัติ เพอ่ื ชว่ ยประหยดั ไฟฟ้า
4) หากชมโทรทัศน์ช่องเดียวกันควรดูด้วยกัน ประหยัดทั้งค่าไฟ และอบอุ่นใจได้อยู่
ดว้ ยกนั ท้ังครอบครวั
5) เลิกเปิดโทรทัศน์ล่วงหน้าเพ่ือรอดูรายการท่ีช่ืนชอบ เปิดดูรายการเม่ือถึงเวลา
ออกอากาศ
6) ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไป และไม่ควรเปลี่ยนช่องบ่อย เพราะจะ
ทาใหห้ ลอดภาพมอี ายกุ ารใช้งานลดลง และสน้ิ เปลอื งไฟฟ้าโดยไมจ่ าเปน็

การดูแลรักษา
การดูแลรักษาและใช้โทรทัศน์ให้ถูกวิธี นอกจากจะช่วยให้โทรทัศน์เกิดความคงทน
ภาพทไี่ ดค้ มชัด และมอี ายุการใชง้ านยาวนานขึ้น ควรมีขอ้ ปฏบิ ัติ ดังนี้

113

1) ควรวางโทรทัศน์ไว้ในจุดท่ีมีการถ่ายเทอากาศได้ดี เพ่ือให้เครื่องสามารถระบาย
ความร้อนได้สะดวก

2) หม่ันทาความสะอาดเป็นประจาเพ่ือลดปริมาณฝุ่นละอองท่ีเกาะบนจอภาพ
โดยใชผ้ ้านุ่มเชด็ ตัวเครือ่ งโทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่างอ่อน หรือน้ายาล้างจานผสม
กบั น้าเช็ดเบา ๆ จากน้ันเชด็ ด้วยผา้ นุ่มให้แหง้ และต้องถอดปลั๊กออกก่อนทาความสะอาดทกุ ครั้ง

5. เตารดี ไฟฟ้า
เตารีดไฟฟ้าเป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีมีใช้กันแทบทุกครัวเรือน หากเปรียบเทียบกับ

เครอื่ งใช้ไฟฟา้ อน่ื ๆ เตารีดจัดเปน็ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าที่ใช้กาลังไฟฟ้าสูง การทราบแนวทางการเลือกซื้อ
และใช้งานอย่างถูกวิธีจะสามารถลดการใช้ไฟฟ้าลงได้ ในท้องตลาดเตารีดสามารถแบ่งได้
3 ลักษณะ คือ เตารีดแบบธรรมดา แบบมีไอนา้ และแบบกดทบั

ส่วนประกอบและการทางานเตารดี มีสว่ นประกอบสาคัญ 3 ส่วน คือ
1) ไส้เตารีดไฟฟ้า ทามาจากโลหะผสมระหว่างนิกเกิลและโครเมียม ทาหน้าท่ีให้
กาเนิดความร้อนเม่ือได้รับกระแสไฟฟ้า โดยความร้อนจะมากหรือน้อยข้ึนกับส่วนผสมของโลหะ
และความยาวขดลวด
2) เทอร์มอสแตต ทาหนา้ ที่ปรับความร้อนของไสเ้ ตารีดใหเ้ ท่ากับระดบั ที่ไดต้ ัง้ ไว้
3) แผน่ โลหะดา้ นลา่ งของเตารดี ทาหน้าที่เปน็ ตัวกดทับเวลารีด และกระจายความรอ้ น

แบบธรรมดา แบบไอน้า แบบกดทับ

114

เตารดี ไฟฟ้าทม่ี ีชนดิ และขนาดตา่ งกัน มอี ัตราการใชก้ าลังไฟฟา้ ไม่เท่ากนั ดังนี้

ชนิดของ ขนาด ลกั ษณะ กาลังไฟฟา้
เตารีดไฟฟ้า แรงกดทบั (วตั ต์)

ตัวเตามีอุปกรณ์ 3 ชิน้ คอื 750 – 1,000

ธรรมดา 1 – 2 กิโลกรัม แผน่ โลหะ ด้ามจับ 1,100 – 1,750
กาลงั ไฟฟ้า
และปุ่มควบคุมความรอ้ น (วตั ต์)

ไอน้า 1 – 2 กโิ ลกรัม มชี อ่ งไอน้าทางด้านล่างเตารดี และ 900 – 1,200
วาล์วควบคุมการเปดิ นา้ ไหลออก

ชนิดของ ขนาด ลกั ษณะ
เตารีดไฟฟา้ แรงกดทับ

กดทบั 40 – 50 มแี ผ่นความรอ้ นทมี่ ีขนาดใหญ่กวา่
กโิ ลกรมั เตารดี แบบธรรมดาและแบบไอนา้

มีคันโยกสาหรับกดทับ

การเลือกซือ้ และการใชเ้ ตารดี ไฟฟา้ อย่างถกู วิธแี ละประหยัดพลังงาน
ในการใช้เตารีดไฟฟา้ อย่างประหยดั พลังงาน เราไม่ควรที่จะลดปริมาณความร้อนที่ใช้
ในการรีดลง แต่ควรใช้เตารีดไฟฟ้า รีดผ้าอย่างรวดเร็วท่ีระดับความร้อนท่ีเหมาะสมกับความหนา
และชนิดของผา้ รวมทั้งควรปฏบิ ัติดังนี้
1) เลอื กซ้อื เฉพาะเตารดี ไฟฟ้าทไี่ ดร้ บั มาตรฐานอตุ สาหกรรม (มอก.) และมฉี ลากเบอร์ 5
2) เลือกซอ้ื ขนาดและกาลังไฟฟ้าให้เหมาะกับความตอ้ งการและลักษณะการใช้งาน
3) ควรเก็บผา้ ทร่ี อรดี ให้เรยี บร้อย และให้ผ้ายบั นอ้ ยที่สุด
4) ควรแยกประเภทผ้าหนาและผ้าบาง เพอ่ื ความสะดวกในการรดี

5) ควรรวบรวมผ้าท่ีจะรีดแต่ละคร้ังให้มากพอ การรีดผ้าคร้ังละชุดทาให้สิ้นเปลือง

ไฟฟา้ มาก

6) ไม่ควรพรมน้ามากจนเกนิ ไป เพราะจะทาใหส้ ญู เสยี ความรอ้ นจากการรดี มาก

7) ควรเริ่มรีดจากผ้าบาง ๆ หรือต้องการความร้อนน้อยก่อน จากนั้นจึงรีดผ้าที่

ตอ้ งการความรอ้ นสงู และควรเหลอื ผ้าที่ต้องการความร้อนนอ้ ยสว่ นหนง่ึ ไว้รีดในตอนท้าย

8) ควรถอดปล๊ักก่อนเสรจ็ สิ้นการรีด 3 - 4 นาที

115

ค่าไฟฟ้าของเตารดี ไฟฟา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ เมอื่ ใชง้ านเป็นเวลา 1 ชัว่ โมง

ชนิดของเตารีดไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าต่อชัว่ โมงโดยประมาณ

เตารดี ไฟฟา้ ธรรมดา 4.00 บาท
เตารดี ไฟฟ้าไอนา้ ขนาดเล็ก 5.32 บาท
เตารีดไฟฟ้าไอนา้ ขนาดใหญ่ 7.20 บาท

การดูแลรักษา
1. ตรวจดูหน้าสัมผัสเตารีดไฟฟ้า หากพบคราบสกปรก ให้ใช้ฟองน้าชุบน้ายา
ทาความสะอาดเช็ดออก เพราะคราบสกปรกจะเป็นตัวต้านทานความร้อน ทาให้สิ้นเปลืองไฟฟ้า
มากข้นึ ในการเพม่ิ ความร้อน
2. สาหรับเตารีดไฟฟ้าไอน้า น้าที่ใช้ควรเป็นน้ากล่ันเพื่อป้องกันการเกิดตะกรัน ซ่ึง
ตะกรันจะเปน็ สาเหตขุ องการเกดิ ความตา้ นทานความร้อน
3. เม่ือเกิดการอุดตันของช่องไอน้าซ่ึงเกิดจากตะกรัน เราสามารถกาจัดได้โดยเติม
น้าส้มสายชูลงในถังเก็บน้าของเตารีดไฟฟ้าไอน้า แล้วเสียบสายไฟให้เตารีดร้อนเพ่ือทาให้
นา้ ส้มสายชกู ลายเป็นไอ จากนนั้ เติมนา้ ลงไป เพื่อลา้ งนา้ ส้มสายชอู อกให้หมด แล้วจึงใช้แปรงเล็ก ๆ
ทาความสะอาดชอ่ งไอนา้
4. การใช้เตารีดไฟฟ้าไปนาน ๆ แม้ว่าจะไม่เกิดการเสียหายชารุด ก็ควรมีการตรวจ
หรอื เปล่ยี นอุปกรณ์ภายในบางอย่าง รวมท้ังสายไฟที่ต่อกันอยู่ซ่ึงอาจชารุด เส่ือมสภาพ ทาให้วงจร
ภายในทางานไมส่ มบรู ณ์

116

6. ตเู้ ยน็
ตู้เย็น เป็นอุปกรณ์ที่มีใช้แพร่หลายในครัวเรือน เป็นอุปกรณ์ทาความเย็นเพื่อถนอม

อาหารโดยการลดอุณหภูมิ ตู้เย็นเป็นอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานตลอด 24 ช่ัวโมง ดังนั้นการเลือกและใช้
ตเู้ ยน็ อยา่ งเหมาะสมจะช่วยประหยดั พลงั งานไดม้ าก

ภาพตเู้ ยน็

อุปกรณ์หลกั ๆ ที่ทาให้ภายในตู้เยน็ เกดิ ความเย็น ประกอบดว้ ย
1. คอมเพรสเซอร์ ทาหน้าที่ในการอัดและดูดสารทาความเย็นให้หมุนเวียนในระบบ
ของตเู้ ยน็
2. แผงทาความเยน็ มีหนา้ ทกี่ ระจายความเย็นภายในตู้เย็น
3. แผงระบายความร้อน เป็นส่วนท่ีใช้ระบายความร้อนของสารทาความเย็น
แผงระบายความรอ้ นนตี้ ดิ ต้งั อยู่ด้านหลงั ของตู้เย็น
4. ตัวตู้เย็นทาจากโลหะ และอัดฉีดโฟมอยู่ระหว่างกลาง เพื่อทาหน้าที่เป็นฉนวนกัน
ความรอ้ นจากภายนอก โดยปกติเราระบขุ นาดของตเู้ ยน็ เป็นควิ หรือลูกบาศกฟ์ ุต
5. อุปกรณ์อ่ืน ๆ เช่น อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ สวิตช์โอเวอร์โหลด พัดลมกระจาย
ความเย็น ฯลฯ
ความเยน็ ของตู้เยน็ เกิดขึน้ จากระบบทาความเย็น เม่ือเราเสียบปล๊ักไฟฟ้าให้กับตู้เย็น
คอมเพรสเซอร์จะดูดและอัดไอสารทาความเย็นให้มีความดันสูงข้ึน และไหลไปยังแผงระบาย

117

ความร้อนเพื่อถ่ายเทความร้อนสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก จากนั้นจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
ไหลผ่านวาล์วควบคุมสารทาความเย็นเพ่ือลดความดัน ไหลต่อไปท่ีแผงทาความเย็นเพื่อ
ดูดความร้อนจากอาหารและเครื่องด่ืมท่ีแช่อยู่ในตู้เย็น ณ จุดน้ี สารทาความเย็นจะเปลี่ยนสถานะ
กลายเปน็ ไอ และกลบั ไปยังคอมเพรสเซอรเ์ พอ่ื เริ่มวงจรทาความเยน็ ใหมอ่ ีกคร้ัง

การเลอื กซ้อื และการใช้อย่างถกู วิธีและประหยดั พลังงาน
1) เลือกซื้อตูเ้ ย็นที่ได้รับการรบั รองฉลากเบอร์ 5
2) เลอื กซ้ือประเภทและขนาดใหเ้ หมาะกบั ความตอ้ งการและลักษณะการใชง้ าน
3) ค่าไฟฟ้าจะเพิ่มตามจานวนครั้งของการเปดิ - ปดิ ต้เู ย็น เพราะเมือ่ เปิดตูเ้ ยน็
ความรอ้ นภายนอกจะไหลเข้าตู้เยน็ ทาใหค้ อมเพรสเซอรต์ อ้ งทางานหนักมากขึ้นเพื่อรักษาอุณหภูมิ
ภายในตู้เย็นใหค้ งเดิมตามท่ีตัง้ ไว้
4) ถ้าอุณหภูมิโดยรอบสูงขึ้น ปริมาณความร้อนจะถูกถ่ายเทเข้าไปในตู้เย็นมากข้ึน
เป็นการเพิ่มภาระให้กับระบบทาความเย็น ดังน้ันจึงไม่ควรติดตั้งตู้เย็นใกล้กับแหล่งกาเนิด
ความร้อนใด ๆ หรอื รับแสงอาทิตย์โดยตรง
5) ไม่เก็บอาหารในตู้เย็นมากเกินไป เพราะจะทาให้อุณหภูมิในตู้เย็นไม่สม่าเสมอ
ควรให้มีช่องวา่ ง เพ่อื ใหอ้ ากาศภายในไหลเวยี นไดส้ มา่ เสมอ
6) ถ้านาอาหารทม่ี อี ุณหภูมิสูงไปแชใ่ นตเู้ ยน็ จะสง่ ผลกระทบดังนี้

(1) ทาให้อาหารตา่ ง ๆ ท่ีอยู่ในบริเวณขา้ งเคียงเสือ่ มคุณภาพหรือเสยี ได้
(2) หากตู้เย็นกาลังทางานเต็มที่จะทาให้ไอสารทาความเย็นก่อนเข้าเคร่ืองอัดร้อน
จนไม่สามารถทาหน้าท่ีหลอ่ เย็นคอมเพรสเซอรไ์ ด้เพยี งพอ และส่งผลใหอ้ ายุคอมเพรสเซอรส์ นั้ ลง
(3) สูญเสียพลงั งานไฟฟา้ มากข้นึ

7) เมื่อดึงปล๊ักออกแล้วไม่ควรเสียบปล๊ักใหม่ทันที เพราะเม่ือเครื่องหยุด สารทา
ความเย็นจากส่วนที่มีความดันสูงจะไหลไปทางท่ีมีความดันต่าจนความดันภายในวงจรเท่ากัน
ดังน้ันถ้าคอมเพรสเซอร์เริ่มทางานทันที สารทาความเย็นยังไหลกลับไม่ทัน เครื่องจึงต้องออกแรง
ฉุดมากเพ่ือเอาชนะแรงเฉื่อยและแรงเสียดทาน ซ่ึงจะส่งผลให้มอเตอร์ของเคร่ืองอัดทางานหนัก
และเกิดการชารดุ หรืออายกุ ารใช้งานส้นั ลง

118

คา่ ไฟฟ้าของตู้เยน็ ขนาดตา่ ง ๆ เมอ่ื ใช้งานเป็นเวลา 1 ช่วั โมง

ขนาดของตูเ้ ยน็ ค่าไฟฟ้าตอ่ ชั่วโมงโดยประมาณ

4 คิว 0.21 บาท
6 คิว 0.27 บาท
12 คิว 0.72 บาท

การดูแลรักษา
1. สาหรับตู้เย็นที่มีแผงระบายความร้อนควรทาความสะอาดแผงระบายความร้อน
ต้เู ย็นสมา่ เสมอ ถา้ มีฝุ่นเกาะสกปรกมาก จะระบายความร้อนไม่ดี มอเตอร์ต้องทางานหนัก เปลือง
ไฟมากขนึ้
2. อยา่ ใหข้ อบยางประตูมีจุดชารุดหรือเสื่อมสภาพ เพราะความร้อนจะไหลเข้าตู้เย็น
ทาให้มอเตอร์ต้องทางานหนักและเปลืองไฟฟ้ามาก ตรวจสอบโดยเสียบกระดาษระหว่างขอบยาง
ประตูแล้วปิดประตู ถ้าสามารถเล่ือนกระดาษไปมาได้แสดงว่าขอบยางเสื่อมสภาพ ควรติดต่อช่าง
มาเปล่ียนขอบยาง
3. อุปกรณ์ระบายความร้อน จะติดต้ังอยู่ด้านหลังตู้เย็น เพ่ือให้สามารถระบายความ
ร้อนได้ดี ควรวางตู้เย็นให้มีระยะห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 10 ซม. ด้านบนอย่างน้อย 30 ซม. ด้านข้าง
อย่างน้อย 2 - 10 ซม.

7. หลอดไฟ
หลอดไฟ เปน็ อุปกรณ์ให้แสงสว่างที่มีใช้กันทุกครัวเรือน ถือเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการ

ดารงชีวิต นอกจากประโยชน์ในเร่ืองแสงสว่างแล้ว ยังสามารถใช้ในการตกแต่ง และสร้าง
บรรยากาศอีกด้วย โดยหลอดไฟท่ีใช้กันอยู่มีหลายชนิด มีคุณสมบัติในการให้แสงสว่างและทาง
ไฟฟ้าต่างกัน ดังน้ันหากผู้ใช้รู้จักเลือกใช้หลอดไฟอย่างเหมาะสม จะทาให้สามารถประหยัด
พลงั งานไฟฟา้ และค่าใช้จ่ายได้มาก เพอื่ ให้สามารถเลือกซอื้ ไดอ้ ย่างถกู ต้อง ผู้ใช้ควรรจู้ กั คณุ สมบัติ
ของหลอดไฟก่อน ซึ่งคุณสมบัติของหลอดไฟต่าง ๆ เหล่าน้ี ส่วนมากมักจะมีบอกอยู่ท่ีข้างกล่อง
หรือฉลากกากับผลิตภัณฑ์ ก่อนซ้ือจึงควรมีความเข้าใจเก่ียวกับคุณสมบัติดังกล่าว เพ่ือเลือกซ้ือ

119

หลอดไฟประเภทต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ต่อไปน้ีคือ ชนิด คุณสมบัติและลักษณะการใช้ของ
หลอดไฟประเภทตา่ ง ๆ ท่ีนิยมใชใ้ นบา้ นพักและอาคารตา่ ง ๆ

ชนดิ ของหลอดไฟ คณุ สมบตั ิและลกั ษณะการใช้

หลอดไส้ หลอดไส้ มีใช้กันมาหลายสิบปี สมัยก่อนนิยมใช้กับงานให้
แสงสว่างในบ้านพักอาศัย ห้องอาหาร ห้องรับแขก แต่ปัจจุบัน
หลอด T5 ไม่ค่อยนิยมเพราะกินไฟมาก คายความร้อน เปิดใช้ไม่นาน
หลอด T8 หลอดจะร้อน อายุการใช้งานส้ันต้อง มีหลายขนาด เช่น 3
วัตต์ 25 วัตต์ 40 วัตต์ 100 วัตต์ เป็นต้น ใช้คู่กับขั้วชนิด E14
หลอดวงกลม หรือ E27 แสงของหลอดไส้เม่ือส่องกับวัตถุต่างๆ แล้วสีของ
วัตถุจะไม่ผิดเพ้ียน ตามร้านเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า ของ
หลอดฟลูออเรสเซนต์ ประดับต่าง ๆ ชอบใช้กันเพราะสีสันของสินค้าจะไม่
ผดิ เพย้ี น และยงั ควบคุมปรบั ความเขม้ ของแสงด้วยสวิตช์หรี่ไฟ
(Dimmer) ได้ดว้ ย

หลอดฟลูออเรสเซนต์หรือหลอดนีออน นิยมใช้ให้แสง
สว่างทั่วไปทั้งภายในและภายนอกบ้าน อายุการใช้งาน
ยาวนานกว่า หลอดไส้ ท่ีจะพบไดบ้ ่อย เชน่

- หลอด T8 ขวั้ ทใี่ ชร้ ว่ มกนั จะเป็น G13
- หลอดผอมจอมประหยัด T5 เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์
รุ่นเล็กท่ีสุด แต่ให้แสงสว่างเท่ากับหลอดนีออนทั่วไปและกิน
ไฟน้อยกว่า มี 3 เฉดสี ได้แก่ สีเดย์ไลท์ สีคูลไวท์ และสีวอร์ม
ไวท์ หลอดรุ่นนใ้ี ช้กับข้ัว G5
- หลอดวงกลมเหมอื นโดนัท ท่ตี ดิ ตัง้ พรอ้ มโคมเพดาน
มีหลายขนาด เช่น 22 วัตต์ 32 วัตต์ 40 วัตต์ เป็นต้น ใช้งาน
พร้อมชดุ ขวั้ หลอด

120

ชนดิ ของหลอดไฟ คณุ สมบตั ิและลกั ษณะการใช้

หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ เป็นหลอดท่ีพัฒนาข้ึนมา
แทนหลอดไส้ เพื่อให้กินไฟน้อยลง ขนาดเล็กลง แต่กาลังส่อง
สว่างสูงข้ึน มีท้ังหลอดตะเกียบ หลอดเกลียว เป็นหลอดที่กิน
ไฟนอ้ ยกวา่ หลอดชนิดอ่ืน ๆ ส่วนใหญ่ใช้งานให้แสงสว่างทั่วไป
ในบ้านพักอาศัย บริเวณท่ีต้องเปิดไฟทิ้งไว้นาน ๆ อายุการใช้
งานหลอดจะยาวนานกว่าหลอดไส้ถึง 8 เท่า และยาวนานกว่า
หลอดนีออน 4 เท่า มี 2 แบบ คือ แบบมีบัลลาสต์ภายใน ใช้
สวมแทนกับขั้วหลอดไส้ชนิดเกลียวได้ และแบบ บัลลาสต์
ภายนอก ต้องมีขาเสียบกับบัลลาสต์ เช่น หลอดตะเกียบ
หลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนต์ หลอดเกลียว หลอดจะมีอยู่ให้เลือก 3 สี ได้แก่ สีเดย์ไลท์ สีคูล
ไวท์ และสีวอรม์ ไวท์ เหมอื นหลอดฟลูออเรสเซนต์

หลอด LED หลอด LED (Light Emitting Diodes) เป็นหลอดไฟ
ขนาดเล็กท่ีสุด แต่ให้แสงสว่างสู้เท่ากับหลอดรุ่นอื่น ๆ
หลักการทางานของหลอด LED ต่างจากหลอดไส้ เน่ืองจาก
เป็นหลอดไม่มีไส้ จึงไม่มีการเผาไส้หลอด หลอด LED ถึงไม่
แผ่ความร้อน เพราะพลังงานส่วนใหญ่เปลี่ยนเป็นแสงไป
หมดแล้ว แล้วกอ็ ายกุ ารใชง้ านของหลอดยาวนานขึ้น ก็เพราะ
ไมม่ ีการเผาไหมน้ น่ั เอง

นอกจากชนิดของหลอดดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมีหลอดไฟชนิดอ่ืน ๆ อีกมากมายให้ผู้
ใช้ได้เลือกใช้ตามลักษณะหรือวัตถุประสงค์ของงาน เช่น ไฟส่องสว่างในรูปแบบต่าง ๆ ไฟประดับ
และตกแต่ง เปน็ ต้น

121

การเลือกซอื้ และการใช้อยา่ งถูกวิธีและประหยดั พลงั งาน
1) สารวจรูปทรงของหลอดไฟ เพ่ือกาหนดการใช้งาน ทิศทางการให้แสง และองศา

ของแสง

2) สารวจข้ัวหลอดที่ใช้ ซ่ึงมีแบบขั้วเกลียว ขว้ั เกลียวเล็ก ขัว้ เขม็ หรอื ขัว้ เสียบ

3) ตรวจสอบว่า ตอ้ งมอี ปุ กรณ์ใดท่ใี ช้กับหลอดไฟ หรือ โคมไฟ เช่น หม้อแปลง บัล
ลาสต์ สวิตช์หรไี่ ฟ เปน็ ตน้

4) พิจารณาคุณสมบัติของหลอดไฟ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยคุณสมบัติของ

หลอดไฟที่ตอ้ งนามาพจิ ารณา มีดงั น้ี

- ค่าฟลักซ์การส่องสว่าง (Luminous Flux) เป็นปริมาณแสงสว่างท้ังหมดที่ได้
จากแหล่งกาเนิดแสง มีหน่วยวัดเปน็ ลเู มน (lm)

- ค่าความสว่าง (Illuminance) เป็นปริมาณแสงสว่างท่ีตกกระทบบนวัตถุ
(lumen) ต่อ 1 หน่วยพืน้ ที่ มหี นว่ ยเป็น ลูเมนต่อตารางเมตร (lm/sq.m.) หรือ ลักซ์ (Lux) นั่นเอง
โดยทั่วไป อาจเรียกว่า ระดับความสว่าง (Lighting level) จึงเป็นตัวท่ีบอกว่าแสงที่ได้เพียงพอ
หรอื ไม่

- ค่าความเข้มการส่องสว่าง (Luminous Intensity) เป็นความเข้มของแสงที่
ส่องออกมาจากวัตถุ โดยทั่วไปจะวัดเป็นจานวนเท่าของความเข้มท่ีได้จากเทียนไข 1 เล่ม จึงมี
หน่วยเปน็ แคนเดลา (Candela, cd)

- ค่าความส่องสว่าง (Luminance) เป็นตัวท่ีบอกปริมาณแสงท่ีสะท้อนออกมา
จากวัตถุ (candela) ต่อ 1 หน่วยพื้นท่ี มีหน่วยเป็น แคนเดลาต่อตารางเมตร (cd/sq.m.) บางครั้ง
จงึ อาจเรียกว่า ความจ้า (Brightness)

- ค่าประสิทธิผล (Efficacy) เป็นปริมาณแสงสว่างท่ีออกมาต่อกาลังไฟฟ้าท่ีใช้ มี
หน่วยวัดเป็น ลูเมนต่อวัตต์ (lm/w) หลอดท่ีมีค่าประสิทธิผลสูง แสดงว่า หลอดนี้ให้ปริมาณแสง
ออกมามากแต่ใชก้ าลังไฟฟ้าน้อย

- ค่าความถูกต้องของสี (Colour Rendering, Ra หรือ CRI) เป็นค่าที่ใช้บอกว่า
หลอดไฟประเภทต่าง ๆ เม่ือแสงส่องสีไปบนวัตถุจะทาให้สีของวัตถุนั้นผิดเพี้ยนจากความเป็นจริง
มากนอ้ ยเพยี งใด ไม่มหี น่วยแตม่ ักเรียกเป็น เปอรเ์ ซน็ ต์ (%) ตามค่าความถกู ตอ้ ง เชน่ แสงอาทิตย์มี
ค่า Ra = 100 เพราะแสงอาทิตย์ให้สเปกตรัมครบทุกสี เมื่อส่องไปบนวัตถุจะไม่เห็นความผิดเพี้ยน
ของสี เป็นตน้

122

- ค่าอุณหภูมิสีของแสง (Color Temperature) สีของแสงท่ีได้จากหลอดไฟ
เทียบกับสีท่ีเกิดจากการเผาวัตถุดาอุดมคติให้ร้อนท่ีอุณหภูมิน้ัน มีหน่วยเป็นเคลวิน (K) อุณหภูมิสี
เป็นตัวที่บอกว่าแสงที่ได้มีความขาวมากน้อยแค่ไหน ถ้ามีค่าอุณหภูมิสีของแสงต่าแสงที่ได้จะ
ออกมาในโทนเหลืองหรือแดง ถ้ามีค่าอุณหภูมิสีของแสงสูงแสงที่ได้จะออกมาในโทนขาวกว่า ใน
ทอ้ งตลาดทัว่ ไปมีให้เลือก 3 โทนสี

นอกจากน้ีแล้วส่ิงที่ควรรู้เพ่ิมเติม คือ โทนสีของอุณหภูมิสีของแสง เพื่อให้
สามารถได้แสงตามตอ้ งการ โดยโทนสีของหลอดไฟในปจั จบุ นั มดี ังนี้

 สีวอร์มไวท์ (Warm White) ให้แสงสีแดงออกโทนส้ม เป็นโทนสีร้อน
โทนอบอ่นุ คา่ อุณหภูมิสขี องแสงอยทู่ ี่ ตา่ กวา่ 3,000 เคลวนิ

 สีคูลไวท์ (Cool White) ให้แสงสีจะเริ่มออกมาทางสีขาว เป็นโทนสีท่ีดูเย็น
สบายตา ดคู อ่ นข้างสวา่ งกว่าเมือ่ เทยี บกับสวี อร์มไวท์ ค่าอณุ หภมู ิสีของแสงอย่ทู ี่ 3,000 - 4,500 เคลวิน

 สีเดย์ไลท์ (Day Light) ให้แสงสีโทนออกขาวอมฟ้า แต่คล้ายแสงธรรมชาติ
ตอนเวลากลางวัน ดังนั้นค่าความถูกต้องของสีจึงมีมากกว่าเมื่อเทียบกับสีวอร์มไวท์หรือสีคูลไวท์
ค่าอณุ หภมู ิสขี องแสงอยูท่ ี่ 4,500 - 6,500 เคลวิน ข้นึ ไป

5) พจิ ารณาถงึ คา่ ความสว่างที่เหมาะสม โดยสมาคมไฟฟ้าและแสงสว่างแห่งประเทศ
ไทย ได้มีการกาหนดค่าความส่องสวา่ งทเี่ หมาะสมของแต่ละหอ้ งในบา้ น ดังตาราง

ตารางความส่องสวา่ งในพ้ืนทีใ่ ชง้ านตา่ ง ๆ ในบ้านอยูอ่ าศยั

พื้นที่ ความสอ่ งสว่างท่พี ้นื ที่ ความส่องสวา่ งรอบข้าง

(ลกั ซ)์ (ลักซ)์

ทางเข้า 150/500 60/100

ห้องครัว 500/750 250/350

หอ้ งรับประทานอาหาร 300 100

หอ้ งนง่ั เลน่ 60/300 60

หอ้ งทางาน 300 150

หอ้ งนา้ 500 200

หอ้ งนา้ แขก 250 100

123

ห้องเปลย่ี นเสื้อผา้ 500 200
100/150
หอ้ งนอนใหญ่ 300/500
150
หอ้ งนอนเดก็ 300 50
60
ทางเดนิ 150 100

บนั ได 200

ถนนทางเข้าบ้าน 300

ทม่ี า : สมาคมไฟฟา้ และแสงสวา่ งแหง่ ประเทศไทย

สามารถคานวณจานวนหลอดไฟที่ต้องติดในพ้ืนที่ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ความส่องสว่างที่
เหมาะสม ไดด้ ังน้ี

จานวนหลอดไฟ = ค่าความสวา่ ง (ลักซ์) × พื้นท่ีรบั แสง (ตารางเมตร)
อตั ราพลังงานแสงทต่ี กบนพืน้ ที่ (ลูเมน)

โดยที่ จานวนหลอดไฟ คอื จานวนหลอดไฟท่ีจะตดิ ในหนงึ่ พน้ื ที่

ค่าความสว่าง (ลักซ์) คือ ความส่องสว่างในพ้ืนที่ใช้งานต่าง ๆ ในบ้านอยู่อาศัยท่ี
เหมาะสม (สามารถดไู ดจ้ ากตารางความสอ่ งสว่างในพ้นื ทีใ่ ช้งานต่าง ๆ ในบา้ นอยูอ่ าศยั )

พื้นทร่ี ับแสง (ตารางเมตร) คอื พน้ื ท่รี บั แสงตอ่ หนึง่ หอ้ ง
อัตราพลงั งานแสงที่ตกบนพ้ืนที่ (ลูเมน) คือ ค่าความสว่างของหลอดไฟ (สามารถดู
ได้จากกลอ่ งหลอดไฟ)

6) พิจารณาโดยคานึงถึงการประหยัดพลังงานไฟฟ้า หลอดไฟแต่ละชนิดจะใช้
พลงั งานไฟฟา้ แตกตา่ งกัน โดยหลอด LED จะประหยัดไฟฟ้ามากที่สุด ซ่ึงสามารถเปรียบเทียบการ
ใช้พลังงานไฟฟา้ และค่าใชจ้ า่ ยของหลอดไฟทง้ั 3 แบบ ไดด้ ังตาราง

124

ตารางประสิทธภิ าพของพลงั งานและคา่ ใช้จ่ายจากหลอดไฟแต่ละประเภท

หวั ขอ้ หลอดไส้ หลอดคอมแพคฟลอู อเรส หลอด LED

เซนต์

ค่าเฉลี่ยอายกุ ารใช้งาน 1,200 8,000 50,000

(ช่ัวโมง)

ค่าเฉล่ียประสิทธิภาพการส่อง 12.5 – 17.5 45 – 75 69 – 100

สวา่ ง (ลเู มนต่อวัตต)์

ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ เทียบกับ 109.5 25.6 11.0

หลอดไส้ 1 หลอดตอ่ ปี

(กิโลวัตตต์ อ่ ปี)

คา่ ใชจ้ ่ายต่อปี เทียบกับหลอดไส้ 424.8 94.4 37.4

1 หลอดตอ่ ปี (บาท)

ทม่ี า : http://www.hl.in.th/index/modules/plblog/frontent/details.php?plcn=knowled

ge&plidp=6&plpn=why-we-change-to-use-led

7) ควรเลือกซื้อหลอด LED หรือหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ ท่ีมีฉลากเบอร์ 5
เน่อื งจากกนิ ไฟนอ้ ย และมอี ายกุ ารใช้งานนาน

8) เลอื กใชห้ ลอดไฟทไ่ี ด้มาตรฐาน
9) ลดจานวนหลอดไฟในบริเวณทีอ่ าศัยแสงธรรมชาตไิ ด้
10) ควรตงั้ โคมไฟที่โต๊ะทางาน หรอื ตดิ ตง้ั ไฟเฉพาะจุด แทนการเปดิ ไฟทั้งหอ้ งเพื่อทางาน
11) ปิดสวิตชไ์ ฟ เมอ่ื ไมใ่ ชง้ าน
การดูแลรกั ษา
1) หม่ันทาความสะอาดหลอดไฟ เพราะจะช่วยเพิ่มแสงสว่าง โดยไม่ต้องใช้พลังงาน
มากขึน้ ควรทาความสะอาดอย่างน้อย 4 คร้ังตอ่ ปี หรือทกุ ๆ 3 เดอื น
2) สาหรบั หลอดไฟทเ่ี ก็บไว้ ควรเก็บในบริเวณทีไ่ มม่ ีการกระทบกระทั่งกันจนเกิดการ
ชารุดเสยี หาย

กิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 2 การเลือกซื้อ การใช้ และการดแู ลรักษาเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าภายในบ้าน
(ให้ผูเ้ รียนไปทากจิ กรรมเรอ่ื งท่ี 2 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นร)ู้

125

เรือ่ งที่ 3 การวางแผนและการคานวณค่าไฟฟา้ ในครวั เรอื น

แม้ว่าทกุ คนจะช่วยกันประหยัดไฟฟ้า แต่ในบางครัวเรือนยังไม่สามารถลดค่าไฟฟ้าลงได้
เน่ืองจากไม่ทราบว่าค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือนมาจากการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดใด และองค์ประกอบ
ค่าไฟฟ้ามีอะไรบ้าง ดังนั้นหากสามารถคานวณค่าไฟฟ้าในครัวเรือนและวางแผนการใช้ไฟฟ้าใน
ครัวเรอื นได้ กจ็ ะสามารถช่วยให้ประหยัดค่าไฟฟ้าลงได้ โดยในเรอ่ื งนป้ี ระกอบดว้ ย 2 ตอน คอื

ตอนที่ 1 การคานวณคา่ ไฟฟา้ ในครวั เรือน
ตอนที่ 2 การวางแผนการใชไ้ ฟฟา้ ในครวั เรอื น

ตอนท่ี 1 การคานวณค่าไฟฟ้าในครัวเรอื น

ค่าไฟฟ้าท่ีเราชาระอยู่ทุกวันน้ี ไม่เหมือนกับค่าสินค้าทั่ว ๆ ไป เช่น ซื้อน้าที่บรรจุขวด
ราคาขวดละ 5 บาท จานวน 2 ขวด แม่คา้ คิดราคา 10 บาท แตถ่ า้ ซอื้ 12 ขวด แทนท่ีจะคิดท่ีราคา
60 บาท อาจจะลดให้เหลือ 55 บาท น่ันหมายถึงว่า ย่ิงซ้ือจานวนมาก ราคามีแนวโน้มจะถูกลง
เขา้ ตาราเหมาโหลถูกกว่า แต่ค่าไฟฟ้ากลับใช้หลักคิดตรงกันข้าม กล่าวคือ ราคาไฟฟ้าถ้าย่ิงใช้มาก
ค่าไฟฟ้าจะยิ่งสูงขึ้น เราเรียกอัตราชนิดนี้ว่า “อัตราก้าวหน้า” สาเหตุที่ใช้อัตราก้าวหน้าน้ี
เน่ืองจากเช้ือเพลิงท่ีใช้ผลิตไฟฟ้ามีจากัดและต้องนาเข้าจากต่างประเทศ ส่งผลกระทบต่อ
ประเทศชาติ จึงต้องการให้ประชาชนใช้ไฟฟ้าเท่าที่จาเป็นและใช้อย่างประหยัด จึงตั้งราคา
คา่ ไฟฟ้าใหเ้ ปน็ อตั ราก้าวหน้า

1) องคป์ ระกอบคา่ ไฟฟา้
หากเรามาดูค่าไฟฟ้าที่จ่ายกันอยู่ในปัจจุบัน จะพบว่า มีองค์ประกอบ 3 ส่วนด้วยกัน

ไดแ้ ก่ ค่าไฟฟา้ ฐาน ค่าไฟฟา้ ผนั แปร (Ft) และภาษมี ูลค่าเพ่มิ

(1) คา่ ไฟฟ้าฐาน
ค่าไฟฟ้าฐาน ซ่ึงการไฟฟ้านครหลวงใช้คาว่า ค่าพลังงานไฟฟ้า เป็นค่าไฟฟ้าท่ี

สะทอ้ นต้นทุนในการกอ่ สรา้ งโรงไฟฟ้า ระบบสายส่ง ระบบจาหน่าย และค่าการผลิตพลังงานไฟฟ้า
ภายใต้สมมติฐานความต้องการไฟฟ้า ค่าเช้ือเพลิง ค่าซ้ือไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐ
ณ วันท่ีกาหนดโครงสร้างค่าไฟฟ้า โดยคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จะพิจารณา
ปรับค่าไฟฟ้าฐานคราวละ 3 - 5 ปี ดังนั้นในระหว่างช่วงเวลาดังกล่าว ค่าใช้จ่ายที่อยู่เหนือการ
ควบคุม คือ ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) ท่ีมีผลต่อต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ซ่ึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงทั้ง
เพ่ิมข้ึนหรือลดลง คณะกรรมการกากับกิจการพลงั งาน (กกพ.) จึงใช้กลไกตามสูตรอัตโนมัติมาปรับ
คา่ ไฟฟ้าผันแปร (Ft)

126

(2) คา่ ไฟฟา้ ผนั แปร (Ft)
ค่าไฟฟ้าผันแปร หรือท่ีนิยมเรียกกันว่าค่าเอฟที (Ft) หมายถึง ค่าไฟฟ้าท่ีสะท้อน

การเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายที่อยู่นอกเหนือการควบคุม ได้แก่ ค่าเช้ือเพลิง ค่าซื้อไฟฟ้า
และค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐท่ีเปล่ียนไปจากค่าไฟฟ้าฐาน โดยคณะกรรมการกากับกิจการ
พลงั งาน (กกพ.) จะพจิ ารณาปรับค่าทุก 4 เดือน

(3) ภาษมี ลู ค่าเพ่ิม
ตามหลักการภาษีแล้ว ผู้ใช้สินค้าหรือผู้ขอรับบริการ จะเป็นผู้รับภาระ

ภาษีมูลค่าเพ่ิม ซ่ึงค่าไฟฟ้าก็เช่นเดียวกัน ผู้ใช้ไฟฟ้าจะเป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยคิดจากค่า
ไฟฟ้าฐานรวมกับค่าไฟฟ้าผันแปร ในอัตราภาษีมูลค่าเพ่ิมร้อยละ 7 โดยภาษีในส่วนนี้จะถูกนาส่ง
ให้กบั กรมสรรพากร

ภาพใบแจง้ คา่ ไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง ภาพใบแจง้ ค่าไฟฟา้ ของการไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค

127

2) อัตราคา่ ไฟฟ้า
อตั ราคา่ ไฟฟ้าแบง่ ออกเป็น 8 ประเภท ไดแ้ ก่
(1) ประเภทที่ 1 บ้านอยูอ่ าศยั
สาหรับการใช้ไฟฟ้าภายในบ้านเรือนท่ีอยู่อาศัย รวมทั้งวัด สานักสงฆ์ และสถาน

ประกอบศาสนกิจของทกุ ศาสนา ตลอดจนบริเวณทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โดยต่อผ่านเครอ่ื งวดั ไฟฟ้าเครื่องเดียว
(2) ประเภทท่ี 2 กจิ การขนาดเลก็
สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพ่ือประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับบ้านอยู่อาศัย อุตสาหกรรม

หน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ
สถานฑูต สถานท่ีทาการของหน่วยงานราชการต่างประเทศ และสถานที่ทาการขององค์การ
ระหว่างประเทศ หรืออ่ืน ๆ ตลอดจนบริเวณท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน
15 นาทีที่สูงสุด ตา่ กวา่ 30 กโิ ลวตั ต์ โดยต่อผา่ นเครอ่ื งวัดไฟฟ้าเคร่อื งเดียว

(3) ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง
สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สานักงาน

หรือหน่วยงานอ่ืนใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ สถานฑูต สถานท่ีทาการของ
หน่วยงานราชการตา่ งประเทศ และสถานที่ทาการขององค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนบริเวณท่ี
เก่ียวข้อง ซ่งึ มคี วามต้องการพลงั ไฟฟา้ เฉลยี่ ใน 15 นาทีที่สูงสุด ต้ังแต่ 30 กิโลวัตต์ แต่ไม่ถึง 1,000
กิโลวัตต์ และมปี ริมาณการใช้พลังงานไฟฟา้ เฉล่ยี 3 เดอื นก่อนหนา้ ไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือน
โดยต่อผา่ นเครอื่ งวัดไฟฟา้ เคร่อื งเดยี ว

(4) ประเภทท่ี 4 กิจการขนาดใหญ่
สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพ่ือประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สานักงาน

หรือหน่วยงานอ่ืนใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ สถานฑูต สถานที่ทาการของ
หนว่ ยงานราชการต่างประเทศ และสถานท่ีทาการขององค์การระหว่างประเทศ หรืออื่น ๆ
ตลอดจนบริเวณท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีท่ีสูงสุด ตั้งแต่ 1,000
กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือนก่อนหน้าเกิน 250,000 หน่วยต่อ
เดอื น โดยตอ่ ผา่ นเครือ่ งวดั ไฟฟ้าเคร่ืองเดียว

(5) ประเภทท่ี 5 กิจการเฉพาะอยา่ ง
สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบกิจการโรงแรม และ กิจการให้เช่าพักอาศัย

ตลอดจนบริเวณท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉล่ียใน 15 นาทีที่สูงสุด ต้ังแต่ 30
กิโลวตั ต์ขึ้นไป โดยต่อผา่ นเคร่อื งวดั ไฟฟา้ เครือ่ งเดยี ว

128

(6) ประเภทท่ี 6 องคก์ รทไี่ มแ่ สวงหากาไร

สาหรับการใช้ไฟฟ้าขององค์กรท่ีไม่ใช่ส่วนราชการ แต่มีวัตถุประสงค์ในการ

ใหบ้ รกิ ารโดย ไมค่ ิดคา่ ตอบแทน โดยตอ่ ผ่านเครือ่ งวัดไฟฟา้ เคร่อื งเดยี ว

(7) ประเภทที่ 7 สูบนา้ เพอื่ การเกษตร

สาหรับการใช้ไฟฟ้ากับเครื่องสูบน้าเพ่ือการเกษตรของหน่วยราชการ สหกรณ์

เพ่ือการเกษตร กลุ่มเกษตรกรที่จดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรท่ีหน่วยราชการ

รับรอง โดยตอ่ ผา่ นเครอ่ื งวัดไฟฟา้ เครื่องเดียว

(8) ประเภทท่ี 8 ไฟฟ้าชวั่ คราว

สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่องานก่อสร้าง งานที่จัดข้ึนเป็นพิเศษชั่วคราว สถานที่ท่ีไม่มี

ทะเบยี นบ้านของสานักงานทะเบียนสว่ นทอ้ งถ่นิ และการใช้ไฟฟ้าท่ียงั ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามระเบียบ

ของการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าค โดยตอ่ ผ่านเคร่ืองวดั ไฟฟ้าเคร่อื งเดียว

สามารถดูข้อมูลเพ่ิมเติมได้ที่ การไฟฟ้านครหลวง (www.mea.or.th) และการไฟฟ้า

สว่ นภมู ิภาค (www.pea.co.th)

อตั ราค่าไฟฟา้ ประเภทที่ 1 บา้ นอยูอ่ าศัย มีการกาหนดอัตรากา้ วหน้า ดังน้ี

อัตราปกติ

การใช้พลังงานไฟฟ้า คา่ พลงั งานไฟฟ้า คา่ บริการ

(บาท/หน่วย) (บาท/เดือน)

1. ใช้พลังงานไฟฟ้าไมเ่ กนิ 150 หนว่ ยตอ่ เดือน 8.19

15 หน่วยแรก (หน่วยที่ 0 – 15) 2.3488

10 หนว่ ยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) 2.9882

10 หนว่ ยตอ่ ไป (หน่วยท่ี 26 – 35) 3.2405

65 หนว่ ยต่อไป (หนว่ ยท่ี 36 – 100) 3.6237

50 หน่วยตอ่ ไป (หนว่ ยท่ี 101 – 150) 3.7171

250 หน่วยตอ่ ไป (หนว่ ยที่ 151 – 400) 4.2218

เกนิ 400 หน่วยขึน้ ไป (หน่วยท่ี 401 เปน็ ต้นไป) 4.4217

2. ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าเกิน 150 หนว่ ยตอ่ เดือน 38.22

150 หน่วยแรก (หน่วยท่ี 0 – 150) 3.2484

250 หนว่ ยต่อไป (หนว่ ยที่ 151 – 400) 4.2218

เกนิ 400 หนว่ ยข้ึนไป (หน่วยท่ี 401 เป็นตน้ ไป) 4.4217

129

อตั ราค่าใชไ้ ฟฟา้ ประเภทที่ 2 อัตราตามชว่ งเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU)

ค่าพลงั งานไฟฟ้า ค่าบริการ
(บาท/หนว่ ย) (บาท/เดือน)

Peak Off Peak 312.24
38.22
1. แรงดนั 22 – 33 กิโลโวลต์ 5.1135 2.6037
2. แรงดันตา่ กว่า 22 กโิ ลโวลต์
5.7982 2.6369

หมายเหตุ 1) ผใู้ ช้ไฟฟ้าท่ีติดต้ังเคร่ืองวัดไฟฟ้าไม่เกิน 5 แอมป์ 220 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะจัดเข้า
ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย ประเภท ก. แต่หากใช้ไฟฟ้าเกิน 150 หน่วยติดต่อกัน 3
เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าประเภทบ้านอยู่อาศัย ประเภท ข. และเม่ือใดท่ีการใช้
ไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยติดต่อกัน 3 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าประเภทท่ี 1
บา้ นอย่อู าศยั ประเภท ก.

2) ผู้ใช้ไฟฟ้าท่ีติดต้ังเคร่ืองวัดไฟฟ้าเกิน 5 แอมป์ 220 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะจัดเข้า
ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศยั ประเภท ข.

3) ผู้ใช้ไฟฟา้ ประเภทที่ 1 บา้ นอย่อู าศยั ประเภท ก. ทใ่ี ช้ไฟฟ้าไมเ่ กิน 50 หน่วยต่อเดือน
ทุกราย ยังคงได้รับสิทธิค่าไฟฟ้าฟรี ต้ังแต่เดือนมกราคม 2559 โดยผู้ที่จะได้รับสิทธิ์
จะต้องไม่เป็นนิติบุคคลและมีการใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกันเป็น
ระยะเวลาไมน่ ้อยกวา่ 3 เดอื น นับถงึ เดอื นปัจจบุ นั

4) ประเภทที่ 2 กรณีติดตั้งเคร่ืองวัดไฟฟ้าทางด้านแรงต่าของหม้อแปลงซึ่งเป็นสมบัติ
ของผูใ้ ชไ้ ฟฟ้า ใหค้ านวณหน่วยคดิ เงนิ เพ่มิ ข้ึนอีกร้อยละ 2 เพ่ือครอบคลุมการสูญเสีย
ในหม้อแปลงไฟฟ้าซง่ึ มิไดว้ ัดรวมไว้ด้วย

5) ประเภทท่ี 2 เป็นอัตราเลือก ท้ังน้ี ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าใช้จ่ายตามที่การไฟฟ้า
ส่วนภมู ภิ าค หรือการไฟฟา้ นครหลวงกาหนด และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12
เดือน สามารถแจ้งความประสงคข์ อเปล่ยี นกลับไปใช้อตั ราประเภทที่ 1 ได้

130

3) การคานวณคา่ ไฟฟา้

คา่ พลงั งานไฟฟ้าคิดได้จากปริมาณพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดท่ีใช้ในแต่ละเดือน พลังงาน
ไฟฟ้าท้ังหมดจะได้จากค่าพลังงานไฟฟ้าท่ีใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิด ค่าพลังงานไฟฟ้าอ่านได้
จากเครอ่ื งวัดทเ่ี รยี กว่า มาตรกโิ ลวตั ต์ – ชวั่ โมงหรือที่รจู้ ักกันวา่ “มิเตอร์หรอื มาตรวดั ไฟฟ้า”

เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดจะใช้พลังงานไฟฟ้าต่างกัน ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับชนิดและขนาด
ของเครื่องใช้ไฟฟ้า ตามตัวเลขที่กากับบนเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีระบุทั้งความต่างศักย์ (V) และ
กาลังไฟฟ้า (W) รวมไปถึงความถ่ี (Hz) ของไฟฟา้ ทีใ่ ชก้ ับเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้านนั้

กาลังไฟฟ้า หมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่นาไปใช้งานในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็น
จูลต่อวินาที หรือ “วัตต์” (W) สามารถคานวณหากาลังไฟฟ้าได้จากความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน
ไฟฟา้ ทถ่ี กู ใช้ไปในเวลา 1 วินาที ดังน้ี

กาลังไฟฟา้ (วัตต์) = พลังงานไฟฟา้ ทใ่ี ช้ (จูล)
เวลาที่ใช้ (วนิ าที)

หรือ พลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ (จลู ) = กาลังไฟฟ้า (วัตต)์ x เวลาท่ีใช้ (วนิ าท)ี

ตวั อยา่ งการคานวณกาลังไฟฟา้ ของเคร่อื งใช้ไฟฟ้า

ตวั อย่าง ตูเ้ ย็นหลงั หนง่ึ ใชพ้ ลังงานไฟฟ้าไป 1,500 จูล ในเวลา 10 วินาที ต้เู ย็นหลังนีม้ กี าลังไฟฟา้
เทา่ ไร

วธิ ที า กาลังไฟฟา้ (วตั ต)์ = พลังงานไฟฟ้าทใ่ี ช้ (จลู )
เวลาท่ใี ช้ (วินาที)

แทนค่า กาลังไฟฟา้ = 1, 500 = 150 จลู ตอ่ วนิ าที
10

หรือ = 150 วตั ต์

ตอบ ต้เู ย็นหลงั นมี้ กี าลังไฟฟ้า 150 จลู ต่อวนิ าที หรอื 150 วตั ต์

131

ตวั อยา่ งการคานวณพลงั งานไฟฟา้ ของเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้

ตัวอยา่ ง หลอดไฟขนาด 60 วตั ต์ จานวน 2 หลอด เปิดไว้นาน 3 ช่ัวโมง จะสิน้ เปลอื งพลงั งาน
ไฟฟ้าเทา่ ใด

วิธีทา หลอดไฟ 2 หลอด ใชก้ าลังไฟฟา้ = 2 x 60

= 120 วตั ต์ = 120/1,000 = 0.120 กโิ ลวตั ต์

เวลาท่ีใช้งาน = 3 ช่วั โมง

พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ (วัตต์-ชวั่ โมง) = กาลงั ไฟฟ้า (กิโลวัตต์) x เวลาทีใ่ ช้ (ชั่วโมง)

แทนค่า พลังงานไฟฟา้ ที่ใช้ = 0.120 x 3 กิโลวตั ต์ - ช่วั โมง

= 0.360 กิโลวัตต์ - ชั่วโมง

แปลงค่าเปน็ หน่วย หรือ ยูนิต โดย 1 ยนู ิต เท่ากบั 1 กิโลวตั ต์-ชว่ั โมง

ดังนน้ั 0.360 กโิ ลวัตต์ - ชั่วโมง = 0.360 หน่วย หรอื ยูนติ

ตอบ หลอดไฟใชพ้ ลังงานไฟฟ้า 0.360 หน่วย หรือ ยนู ิต

132

เรือ่ งนา่ รู้ :
การวัดพลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ในบ้านนิยมใช้หน่วยใหญ่กว่าจูล โดยใช้เป็น กิโลวัตต์ – ชั่วโมง

หรือ เรยี กวา่ หนว่ ย (Unit : ยูนิต)
พลังงานไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์ – ช่ัวโมง หมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไป 1,000 วัตต์ในเวลา

1 ชว่ั โมง หรอื พลังงานไฟฟ้า (หนว่ ย) = กาลงั ไฟฟา้ (กิโลวัตต์) x เวลา (ชัว่ โมง)

ตัวอยา่ งการคานวณคา่ ไฟฟ้าจากเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า

ตวั อย่าง เปิดเคร่อื งปรบั อากาศทีใ่ ช้กาลงั ไฟฟา้ 2,000 วตั ต์ เป็นเวลา 2 ชว่ั โมง จะใช้พลังงานไฟฟา้
ไปก่หี นว่ ย และจะเสยี เงินเท่าไร ถา้ พลงั งานไฟฟ้าหน่วยละ 2.50 บาท

วิธที า พลังงานไฟฟา้ (หน่วย) = กาลังไฟฟ้า (กิโลวตั ต)์ x เวลา (ชว่ั โมง)
กาลงั ไฟฟา้
เวลาท่ีใช้ = 2,000 วตั ต์ = 2, 000 = 2 กิโลวตั ต์
1, 000

= 2 ชัว่ โมง

แทนคา่ พลงั งานไฟฟา้ = 2 x 2 = 4 หนว่ ย

จะเสียเงนิ ค่าพลังงานไฟฟ้า = 4 x 2.50 = 10 บาท
ตอบ ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าไป 4 หน่วย และเสยี เงนิ ค่าพลงั งานไฟฟา้ 10 บาท

กาลังไฟฟ้ามีค่ามากหรือน้อยข้ึนอยู่กับปริมาณกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ ดังนั้นจึง
สามารถคานวณหาคา่ กาลงั ไฟฟา้ ไดจ้ ากผลคูณระหว่างความตา่ งศกั ย์ กบั กระแสไฟฟา้ ดงั น้ี

กาลงั ไฟฟ้า (วัตต์) = กระแสไฟฟา้ (แอมแปร์) x ความตา่ งศกั ย์ (โวลต)์
หรือ P = IV
เมอ่ื กาหนดให้ P แทน กาลังไฟฟา้ มหี น่วยเป็น วัตต์ (W)

I แทน กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
V แทน ความตา่ งศักย์ มีหนว่ ยเปน็ โวลต์ (V)

133

ตัวอยา่ ง กาต้มน้าไฟฟ้าใบหนง่ึ ใช้กาลังไฟฟา้ 990 วัตต์ เมือ่ ตอ่ เข้ากบั ความตา่ งศกั ย์ 220 โวลต์

จะมกี ระแสไฟฟ้าผา่ นเท่าไร

วิธีทา กาต้มน้าไฟฟา้ ใชก้ าลงั ไฟฟ้า ( P ) = 990 W

ความตา่ งศกั ยข์ องกาตม้ น้าไฟฟา้ ( V ) = 220 V

จาก P = IV

ดังนั้น 990 = I x 220

I = 990
220
I = 4.5 A

ตอบ กระแสไฟฟ้าท่ีผา่ นกาต้มน้าไฟฟา้ เท่ากับ 4.5 แอมแปร์

ตอนที่ 2 การวางแผนการใชไ้ ฟฟ้าในครัวเรอื น

การวางแผนการใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ในครัวเรอื น ช่วยให้สามารถควบคุมค่าไฟฟ้า
ในแต่ละเดือนได้ การเรม่ิ วางแผนการใช้เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ภายในบ้าน สามารถทาไดด้ งั น้ี

5) สารวจเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน กาลังไฟฟ้า และจานวนเวลาการใช้งานว่ามี
เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ชนดิ ใดบ้าง มขี นาดกาลังไฟฟ้าเท่าใด และใช้งานเปน็ เวลานานเทา่ ใด

6) นาขอ้ มูลทส่ี ารวจมาคานวณค่าไฟฟ้า และวางแผนการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าแต่ละประเภท
ให้เกดิ ความประหยัดมากข้ึนตอ่ ไป

นอกจากนก้ี ารวางแผนการใช้ไฟฟ้า ยังช่วยให้ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถสังเกตได้ถึงความผิดปกติ
ของเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ค่าไฟฟ้าอาจมีค่ามากกว่าท่ีประมาณการไว้ ก็เป็นจุดสังเกตให้ผู้ใช้ไฟฟ้า
ทบทวนการใช้งาน และตรวจสอบว่ามีเคร่ืองใช้ไฟฟ้าประเภทใดผิดปกติหรือไม่ อาจเกิดไฟฟ้ารั่ว
หรือเสอื่ มสภาพ หมดอายกุ ารใช้งาน เป็นต้น

134

ตัวอย่าง ถ้าบ้านของนาย ก. ต้องการจ่ายค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือนประมาณ 500 บาท จะต้อง
วางแผนการใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไร
1) สารวจเคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน กาลังไฟฟ้า และจานวนเวลาการใช้งาน (สามารถ

หาคา่ กาลังไฟฟ้าได้จากฉลากบอกค่าทางไฟฟา้ ที่ติดมากบั อุปกรณน์ ั้น ๆ)

ชนดิ เครือ่ งใช้ไฟฟา้ กาลังไฟฟา้ จานวน จานวน ค่าไฟฟา้
(วตั ต์) เวลาใชง้ าน หน่วยไฟฟา้ (บาท)
เตารดี (ช่ัวโมง)
โทรทศั นส์ ี 1,000 (หน่วย) 35
เครอื่ งปรับอากาศ 100 10 10 52.5
ตูเ้ ย็น 1,500 150 15 525
70 100 150 176.4
รวม 720 50.4 788.9

* ค่ากาลังไฟฟ้าท่ีใช้ในตัวอย่างเป็นค่าประมาณ อาจมากหรือน้อยกว่าท่ีแสดงไว้ตามขนาดของ
เครื่องใชไ้ ฟฟ้า
* ค่าไฟฟา้ ต่อหน่วยทีน่ ามาคานวณ คือ 3.5 บาท

2) วิเคราะห์ค่าไฟฟ้าที่เกิดขึ้นว่ามาจากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าชนิดใดมากท่ีสุด สามารถลด
การใช้งานได้อย่างไรบ้าง โดยสามารถดูคาแนะนาการใช้งานเคร่ืองใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดได้ใน
หวั ข้อแนวปฏบิ ตั ิการประหยัดพลงั งานไฟฟ้าในครัวเรอื น ที่ไดเ้ รยี นร้มู าแลว้

จากตารางการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าด้านบน แสดงให้เห็นว่าบ้านของนาย ก. มีค่าไฟฟ้าจาก
เคร่ืองปรับอากาศมากท่ีสุด เม่ือนาย ก. ทราบดังนั้นจึงปรับลดการใช้เครื่องปรับอากาศ โดยการ
เปิดใช้งานน้อยลงจาก 100 ชั่วโมง / เดือน เหลือ 50 ช่ัวโมง เมื่อรีดผ้าก็รีดคร้ังละมาก ๆ คือ
สัปดาห์ละ 1 คร้ัง จากท่ีเม่ือก่อนรีดผ้าทุกวัน ส่วนโทรทัศน์ก็ปิดทุกครั้งที่ไม่ใช้งาน จากที่เม่ือก่อน
เปิดทิ้งไว้จนหลับ ก็สามารถช่วยลดการใช้ไฟฟ้าได้ ส่วนตู้เย็นนั้น เนื่องจากต้องเสียบปลั๊กใช้ไฟฟ้า
ตลอด 24 ช่ัวโมง คงไม่สามารถลดการใช้งานเพื่อลดค่าไฟฟ้าได้มากนัก แต่การใช้อย่างถูกวิธีก็เป็น
การยืดอายุการใชง้ านและใช้ไฟฟา้ ลดลงเลก็ นอ้ ย โดยหลังจากนาย ก. ปรับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้า
ดงั กล่าว ทาให้บา้ นของนาย ก. ลดคา่ ไฟฟ้ารายเดือนให้อยใู่ นงบประมาณ 500 บาท ได้ ดังตาราง

135

ชนดิ เครื่องใช้ไฟฟา้ กาลงั ไฟฟา้ จานวน จานวน คา่ ไฟฟา้
(วตั ต์) เวลาใชง้ าน หนว่ ยไฟฟา้ (บาท)
เตารดี (ชัว่ โมง)
โทรทศั นส์ ี 1,000 (หนว่ ย) 14
เครอ่ื งปรับอากาศ 100 4 4 42
ตู้เย็น 1,500 120 12 262.5
70 50 75 176.4
รวม 720 50.4 494.9

กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 การวางแผนและการคานวณค่าไฟฟา้ ในครัวเรอื น
(ใหผ้ ู้เรียนไปทากิจกรรมเรอ่ื งที่ 3 ที่สมุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนร)ู้

136

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

1. ค. มอเตอรไ์ ฟฟา้
2. ก. ถ่านหิน
3. ง. ก๊าซธรรมชาติ
4. ง. เมียนมาร์
5. ก. ลาว
6. ง. เลอื กใช้เชื้อเพลงิ เพียงชนิดเดียวในการผลิตไฟฟ้า
7. ค. 14.00 – 15.00 น.
8. ก. โรงไฟฟา้ ถ่านหนิ
9. ง. คณะกรรมการกากบั กิจการพลงั งาน (กกพ.)
10. ข. การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
11. ข. น้ามันดีเซล และน้ามนั เตา
12. ง. อินโดนีเซยี
13. ข. โรงไฟฟ้าพลงั งานนิวเคลยี ร์
14. ข. กงั หันนา้ และเครือ่ งกาเนดิ ไฟฟา้
15. ง. สามารถใช้ไดใ้ นพื้นที่ท่ีมีกระแสลมพัดสมา่ เสมอ
16. ง. ถกู ทกุ ข้อ
17. ค. โรงไฟฟ้าพลังงานนวิ เคลียร์
18. ข. กา๊ ซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
19. ง. โรงไฟฟ้าพลังความรอ้ นร่วม ชนดิ combined cycle ขนาดกาลังผลติ 1,000 เมกะวตั ต์
20. ง. รายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการปอ้ งกันและแก้ไขผลกระทบตอ่ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม

และความปลอดภัย (ESA)
21. ค. สายไฟ สายนิวทรัล สายดนิ
22. ค. แบบขนาน
23. ง. การป้องกนั ไม่ใหไ้ ด้รบั อันตรายจากกระแสไฟฟ้า

137

24. ข.

25. ง. 220 โวลต์
26. ง. เครอ่ื งตดั ไฟร่ัว
27. ก. ฟิวส์
28. ข. 10 แอมแปร์
29. ค. หลักดนิ
30. ก. การทาให้วงจรปดิ มกี ระแสไฟฟา้ ไหล
31. ก. เครือ่ งทานา้ อ่นุ ไฟฟา้
32. ค. 74.00 หน่วย
33. ง. 280.52 บาท
34. ก. คา่ ไฟฟา้ ฐาน
35. ค. คา่ ไฟฟา้ ทส่ี ะท้อนการเปล่ียนแปลงของค่าใช้จ่ายท่อี ยู่นอกเหนอื การควบคมุ
36. ค. 3 หน่วย
37. ข. เปดิ สวติ ช์ไฟและเครื่องใชไ้ ฟฟา้ เมอ่ื เลิกใชง้ าน
38. ง. อปุ กรณ์ อาคาร อุปนสิ ัย
39. ข. ปิด – ปรบั – ปลด – เปล่ยี น
40. ก. ถ้าย่งิ ใชไ้ ฟฟา้ มากขนึ้ คา่ ไฟฟา้ จะยงิ่ สูงข้ึน

138

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

1. ง. ก๊าซธรรมชาติ
2. ก. ถา่ นหิน
3. ข. ปิด – ปรับ – ปลด – เปล่ยี น
4. ก. ลาว
5. ง. เมียนมาร์
6. ง. อุปกรณ์ อาคาร และอปุ นิสัย
7. ค. 12.00 – 15.00 น.
8. ง. เลอื กใชเ้ ชอื้ เพลิงเพียงชนิดเดยี วในการผลิตไฟฟ้า
9. ก. ถ้ายิ่งใชไ้ ฟฟ้ามากขึ้น ค่าไฟฟ้าจะยิ่งสูงขึน้
10. ก. โรงไฟฟา้ ถา่ นหนิ
11. ค. มอเตอรไ์ ฟฟา้
12. ง. คณะกรรมการกากับกจิ การพลงั งาน (กกพ.)
13. ค. สายไฟ สายนิวทรัล สายดิน
14. ข. โรงไฟฟา้ พลงั งานนิวเคลียร์
15. ข. กงั หันน้าและเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้
16. ง. สามารถใช้ไดใ้ นพื้นท่ีที่มีกระแสลมพัดสม่าเสมอ
17. ง. ถกู ทกุ ขอ้
18. ข. กา๊ ซซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์
19. ค. โรงไฟฟา้ พลังงานนิวเคลียร์
20. ง. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนรว่ ม ชนิด combined cycle ขนาดกาลังผลติ 1,000 เมกะวตั ต์
21. ข. การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค (กฟภ.)
22. ค. แบบขนาน
23. ค. 74.00 หนว่ ย
24. ง. 280.52 บาท
25. ง. อนิ โดนเี ซีย

139

26. ง. การป้องกันไม่ใหไ้ ดร้ บั อนั ตรายจากกระแสไฟฟา้
27. ข. ค่าไฟฟา้ ฐาน
28. ง. 220 โวลต์
29. ก. ฟิวส์
30. ข. เคร่ืองทาน้าอุ่นไฟฟา้
31. ก. การทาให้วงจรปิด มกี ระแสไฟฟา้ ไหล
32. ข.

33. ง. เครอ่ื งตดั ไฟร่ัว
34. ข. 10 แอมแปร์
35. ค. หลักดนิ
36. ง. รายงานเก่ียวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อม

และความปลอดภัย (ESA)
37. ค. ค่าไฟฟา้ ทีส่ ะท้อนการเปลยี่ นแปลงของคา่ ใช้จา่ ยทอี่ ยู่นอกเหนือการควบคมุ
38. ค. 3 หน่วย
39. ข. เปดิ สวติ ช์ไฟและเคร่อื งใช้ไฟฟ้าเมื่อเลิกใช้งาน
40. ข. นา้ มนั ดเี ซล และนา้ มันเตา

140

เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1
พลงั งานไฟฟา้

กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 1 การกาเนดิ ของไฟฟา้

กจิ กรรมที่ 1.1 จับคู่รปู ภาพและประเภทของแหลง่ กาเนิดไฟฟ้า

1) จ
2) ค
3) ข
4) ก
5) ง

กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 สถานการณพ์ ลงั งานไฟฟ้าของประเทศไทย ประเทศในกลมุ่ อาเซียนและโลก

กิจกรรมท่ี 2.1 ชมวีดิทัศน์ เรื่อง “ทาไมค่าไฟฟ้าแพง” และเรื่อง “ไฟฟ้าซื้อหรือสร้าง”
ประกอบการเรียน เรอ่ื ง สถานการณพ์ ลงั งานไฟฟ้าของประเทศไทย แล้วตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

1) สัดส่วนการใช้เช้ือเพลิงประเภทต่างๆ ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทยของปี พ.ศ.
2558 เปน็ ดังน้ี

ก๊าชธรรมชาติ รอ้ ยละ 69.19
ถ่านหินนาเขา้ และลิกไนต์ ร้อยละ 18.96
พลังงานหมุนเวียน ร้อยละ 11.02 ซึ่งแบ่งเป็นพลังงานหมุนเวียนจากพลังน้า
ภายในประเทศ การรบั ซื้อไฟฟ้าทผ่ี ลติ มาจากพลงั นา้ จากประเทศลาว และพลงั งานหมนุ เวียนอน่ื ๆ
น้ามันเตาและน้ามันดีเซล รอ้ ยละ 0.75
2) ปัจจุบันสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยไม่เหมาะสม เน่ืองจากมีการ
พ่ึงพากา๊ ซธรรมชาติมากเกินไป ซึ่งกา๊ ซธรรมชาตทิ ่นี ามาใช้มาจาก 2 สว่ น คือ
ส่วนท่ี 1 อ่าวไทย ซ่ึงคาดวา่ จะหมดภายใน 5.7 ปี
ส่วนท่ี 2 จากประเทศพม่า ซึ่งขณะน้ีกาลังมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจค่อนข้างสูง
ทาใหม้ ีความต้องการแหลง่ พลงั งานไปพฒั นาประเทศของตนเองเพม่ิ มากขนึ้

141

หากยังมกี ารพง่ึ พาก๊าซธรรมชาติในสัดส่วนที่สูงต่อไป อาจไม่มีก๊าซธรรมชาติเพียงพอต่อ
ความต้องการในอนาคต

การวางแผนการเลือกใช้เชื้อเพลิง เราต้องวางแผนการเลือกใช้เชื้อเพลิงโดยการ
กระจายสัดส่วนเชื้อเพลิงให้สมดุล โดยต้องพึ่งพาเชื้อเพลิงจากประเภทศต่างๆในสัดส่วนที่เท่ากัน
และเหมาะสม เช่น เพ่ิมสัดส่วนการใช้ถ่านหิน แสวงหาแหล่งพลังงานทดแทนอื่นๆ ท้ังพลังงาน
หมนุ เวยี นและพลงั งานนวิ เคลยี ร์ รวมถงึ แผนซือ้ ไฟฟ้าจากประเทศในภูมิภาคดว้ ย

3) ปัจจัยที่ต้องคานึงถึงในการจัดทาแผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย จัดทาโดย
การหาคา่ พยากรณค์ วามตอ้ งการไฟฟ้าของประเทศ ซ่ึงไดม้ าจากการพิจารณาแนวโน้มการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจระยะยาว อัตราการเพิ่มของประชากร เพ่ือนามาจัดทาแผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าให้
เพียงพอในอนาคต โดยพิจารณาจากกรอบ ต่อไปน้ี

- ความมั่นคงทางพลังงาน (Security) ต้องจัดหาไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความต้องการใช้
ไฟฟ้า และใช้เช้ือเพลิงหลากหลาย รวมท้ังมีความเหมาะสมเพื่อลดความเส่ียงจากการพ่ึงพา
เชอื้ เพลงิ ชนดิ ใดชนิดหนงึ่ มากเกินไป

- เศรษฐกิจ (Economy) ต้องคานึงถึงต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสม และคานึงถึงการ
ใช้ไฟฟา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพในภาคเศรษฐกิจต่างๆ

- ส่งิ แวดลอ้ ม (Ecology) ตอ้ งลดผลกระทบท่ีเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน โดยเฉพาะ
เปา้ หมายในการปลดปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดต์ ่อหนว่ ยการผลิตไฟฟ้า

กิจกรรมท่ี 2.2 ชมวีดีทัศน์ เร่ือง “ขุมพลังอาเซียน” ประกอบการเรียนรู้เรื่อง สถานการณ์ไฟฟ้า
ของประเทศในกล่มุ อาเซียน พร้อมทัง้ ตอบคาถามในประเด็นต่อไปน้ี

1) สดั ส่วนเชื้อเพลิงในการผลติ ไฟฟา้ ของประเทศในอาเซียน

ประเทศ กา๊ ซธรรมชาติ ถ่านหิน พลงั นา้ น้ามนั ความร้อนใตพ้ ภิ พ อน่ื ๆ
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ)
อนิ โดนเี ซีย
มาเลเซีย 19.8 49.2 7.0 22.5 1.4 0.1
บรูไน
43.2 39.2 6.8 9.0 - 1.9

99.1 - - 0.9 - -

เวยี ดนาม 35.0 20.9 38.5 5.1 - 0.1

ไทย 70.4 21.4 3.2 2.3 - 2.7

142

เมียนมาร์ 22.3 6.3 71.2 - - 0.2

ฟลิ ิปปินส์ 28.9 48.3 13.8 8.6 - 0.4

ลาว - 6.2 90.7 3.1 -

กัมพชู า - 2.5 34.4 48.4 13.1 1.6

สิงคโปร์ 75.4 - - 22.1 - 2.5

2) ปัจจัยสาคัญทีท่ าให้ประเทศในอาเซียนมีสัดส่วนการใช้เช้ือเพลิงผลิตไฟฟ้าท่ีแตกต่างกันมาจาก
ความหลากหลายของทรัพยากรแตล่ ะประเทศ นโยบายและเปา้ หมายทางดา้ นพลงั งานไฟฟา้

กิจกรรมท่ี 2.3 บอกแนวโน้มของการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตพลงั งานไฟฟ้าของโลก
ในหลายประเทศได้มีนโยบายเรื่องส่ิงแวดล้อมและมีการกระตุ้นให้เปลี่ยนไปใช้

เชื้อเพลิงสะอาด ซึ่งเป็นปัจจัยหน่ึงที่ทาให้สัดส่วนผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงฟอสซิลท่ัวโลกเริ่มลดลง
ส่งผลให้มีการใช้เชื้อเพลิงหมุนเวียนมากขึ้น และได้พิจารณาถึง การนาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้
มากข้นึ

กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 3 หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งด้านพลังงานไฟฟา้ ในประเทศไทย

กิจกรรมท่ี 3.1 เลอื กตวั อักษรท่ีเปน็ หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องดา้ นพลงั งานไฟฟา้ ไปเติมลงในช่องว่าง
ที่เป็นภารกจิ ของหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องด้านพลังงานไฟฟา้ ดา้ นลา่ งให้ถูกตอ้ ง
1) ง 6) ก และ ง
2) ค 7) ค
3) ข 8) ก
4) ข 9). ข
5) ค 10) ง


Click to View FlipBook Version