The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาการเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kritsada.int, 2023-04-20 14:30:28

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาการเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาการเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์

ความสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ 3 ห่วง 1. ความพอประมาณ -เตรียมอุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัยอย่างเหมาะสม 2. มีเหตุผล - ความปลอดภัยในการเรียนในรายวิชา 3. มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ป้องกันอุบัติเหตุในงานได้ 1. เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้, รอบคอบ, ระมัดระวัง) 2 เงื่อนไข - ปฏิบัติตามกฎของโรงงานได้อย่างเคร่งครัด - บอกวิธีการป้องกันอุบัติเหตุในงานได - อธิบายถึงความสำคัญของความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานได้ 2. เงื่อนไขคุณธรรม - มีความรับผิดชอบ - มีความคิดสร้างสรรค์ 1. มิติด้านเศรษฐกิจ 4 มิติ - ใช้อุปกรณ์ วัสดุ ในการเรียนการสอนอย่างประหยัด คุ้มค่า 2. มิติด้านสังคม - สามารถนำวิธีการทำงานไปปรับกับการทำงานภายนอกได้ 3. มิติด้านสิ่งแวดล้อม - ไม่ทำลายทำธรรมชาติในการเรียนในรายวิชา 4. มิติด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม ความซื่อสัตย์ต่อวิชา ครูผู้สอน


ความสอดคล้องกับคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ของสถานศึกษา ............................................................................ 1. ขยัน → นักเรียนนักศึกษาสามารถทำงานเสร็จตรงตามเวลา 2. ประหยัด → นักเรียนนักศึกษานำวัสดุที่ใช้มาปฏิบัติอย่างประหยัด 3. ซื่อสัตย์ → นักเรียนนักศึกษามีความซื่อสัตย์ต่อวิชาเรียน ต่อผู้สอน 4. มีวินัย → นักเรียนนักศึกษามาเรียนตรงตามเวลา 5. สุภาพ → นักเรียนนักศึกษามีความสุภาพต่อครูผู้สอน 6. สะอาด → นักเรียนนักศึกษาช่วยกันรักษาความสะอาดในแผนกวิชา 7. สามัคคี → นักเรียนนักศึกษามีความสามัคคีร่วมมือกันทำงานเป็นกลุ่ม 8. มีน้ำใจ → นักเรียนนักศึกษามีความเอื้อเฟื้อต่อเพื่อนร่วมห้อง


ใบเตรียมการสอน สัปดาห์ที่ 4 วิชา การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์ ทฤษฏี 2 คาบ หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ ปฏิบัติ 3 คาบ ชื่อหน่วยเรียน หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4.1 การเขียนเส้นตรงด้วยคำสั่ง Line (แบบฝึกหัดข้อที่ 1, 2, 4) 4.2 การเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Ray (แบบฝึกหัดข้อที่ 3) 4.3 การเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Construction Line (แบบฝึกหัดข้อที่ 7) 4.4 การเขียนเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Multiline (แบบฝึกหัดข้อที่ 5, 6) ใบงานที่ 4.1 การเขียนโครงสร้างอาคารมุม 45 องศา จุดประสงค์การสอน หน่วยที่ 4 แสดงการใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4.1 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนเส้นตรงด้วยคำสั่ง Line 4.2 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Ray 4.3 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Construction Line 4.4 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Multiline ปฏิบัติใบงานที่ 4.1 การเขียนโครงสร้างอาคารมุม 45 องศา แนวคิดสำคัญ การทบทวนความรู้พื้นฐานเพื่อใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนใช้โปรแกรมเขียนแบบ เรื่อง ที่จำเป็นอย่างยิ่ง เช่น รู้จักอุปกรณ์พ่วงต่อต่างๆ ที่จำเป็นต้องเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์ได้ อย่างปลอดภัย และความรู้ความสามารถในการใช้ระบบปฏิบัติการ windows XP ตลอดนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในอนาคต สมรรถนะย่อย แสดงความรู้พื้นฐานเพื่อใช้คอมพิวเตอร์ในงานเขียนแบบ ขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ MIAP สัปดาห์ที่ 4 กระบวนการสอนของครู กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ขั้นการสอน(จุดประสงค์ที่ 4.1-4.4) 1. ขั้นนำ (Motivation) เวลา 5 นาที - นำเข้าสู่บทเรียน ด้วยปัญหาที่น่าสนใจ เป็น ปัญหาที่ผู้เรียนจะคิดหาคำตอบได้ ขั้นตอนการเรียน 1. ขั้นนำ (Motivation) - รับฟังและถามตอบก่อนเข้าสู่บทเรียน


2. ขั้นศึกษาข้อมูล(Information)เวลา 115 นาที อธิบายเนื้อหา/สาธิต 1. การเขียนเส้นตรงด้วยคำสั่ง Line 2. การเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Ray 3. การเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Construction Line 4. การเขียนเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Multiline 3.ขั้นพยายาม (Application) เวลา 160 นาที - ให้นักศึกษาศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากตำรา หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ - ให้นักศึกษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติใบงาน ที่ 4.1 การเขียนโครงสร้างอาคารมุม 45 องศา 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) เวลา 20 นาที - ตรวจสอบการปฏิบัติงานเพื่อให้คะแนน - ตอบคำถามที่ผู้เรียนสงสัย 2. ขั้นศึกษาข้อมูล( Information) - รับฟังครูอธิบายแต่ละหัวข้อ และสอบถามหาก สงสัยข้อใดข้อหนึ่ง 3.ขั้นพยายาม (Application) - อ่านทบทวนเนื้อหาอย่างละเอียดจากจากจากตำรา หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ - นักศึกษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติใบงานที่ 4.1 การเขียนโครงสร้างอาคารมุม 45 องศา 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) - ส่งงานการปฏิบัติใบงานที่ 4.1 - ถามคำถามที่ผู้เรียนสงสัย เนื้อหาบทเรียน 4.1 การเขียนเส้นตรงด้วยคำสั่ง Line Draw > Line ใช้ในการเขียนเส้นตรง ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Line 2. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งบนพื้นที่วาด ภาพ 3. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งต่อไป 4. ≠ กดปุ่ม Enter


Command: _line From point: 0,0 To point: To point: To point: To point:


รูปที่ 4.1 การเขียนเส้นตรงด้วยคำสั่ง Line วิธีที่ 1 : ป้อนค่าพิกัด 1,1 28,1 28,20 1,20 1,1 วิธีที่ 2 : ป้อนค่าพิกัด 1,1 @27,0 @0,19 @-27,0 1,1


วิธีที่ 3 : ป้อนค่าพิกัด 1,1 @27<0 @19<90 @27<180 @19<270 วิธีที่ 4 : Click บน Grid ตามตำแหน่งที่ห่างจากกรอบกระดาษมา 1 หน่วย 4.2 การเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Ray Draw > Ray (ปุ่มถูกซ่อน) ใช้ในการเขียนเส้นร่างที่ออกจากจุด ที่กำหนดด้านเดียว ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Ray 2. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งบนพื้นที่วาดภาพ 3. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งต่อไป 4. ≠ กดปุ่ม Enter Command: _ray From point: Through point: Through point: Through point: Through point:


รูปที่ 4.2 การเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Ray 4.3 การเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Construction Line Draw > Construction Line ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Construction Line 2. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งบนพื้นที่วาด ภาพ 3. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งต่อไป 4. ≠ กดปุ่ม Enter Command: _xline Hor/Ver/Ang/Bisect/Offset/<From point>: Through point: Through point: Through point: Through point:


รูปที่ 4.3 การเขียนเส้นร่างออกจากจุดที่กำหนดด้วยคำสั่ง Construction Line 4.4 การเขียนเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Multiline Draw > Multiline ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Multiline 2. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งบนพื้นที่วาด ภาพ 3. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งต่อไป 4. กดปุ่ม Enter กำหนดรูปแบบเส้นขนาน Justification Top , Zero , Button กำหนดระยะห่างของเส้นคู่ขนานโดยการเลือก Scale กำหนดรูปแบบของเส้นคู่ขนาน Style Command: _mline Justification = Top, Scale = 1.00, Style = STANDARD Justification/Scale/STyle/<From point>: <To point>: Undo/<To point>: Close/Undo/<To point>: Close/Undo/<To point>:


รูปที่ 4.4 การเขียนเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Multiline


วิธีสอน และ กิจกรรม - นำเสนอด้วยเพาเวอร์พอยต์ / สาธิต - ถามตอบ - ใบงานที่ 4.1 สื่อการสอน หนังสือ อ้างอิง นิพนธ์ บุญสกันต์. 2558. การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี, ศูนย์หนังสือ เมืองไทย. เอกสาร ประกอบ - ใบงานที่ 4.1 วัสดุโสต ทัศน์ - ไวท์บอร์ด - โปรเจคเตอร์ งานที่ มอบหมาย -ศึกษาตำรา - ปฏิบัติใบงานที่ 4.1 การวัดผล การวัดผลในหน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ มีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ - นักศึกษาสามารถปฏิบัติใบงานที่ 4.1 การเขียนโครงสร้างอาคารมุม 45 องศา 1 คะแนน หมายเหตุ :


ใบเตรียมการสอน สัปดาห์ที่ 5 วิชา การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์ ทฤษฏี 2 คาบ หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ ปฏิบัติ 3 คาบ ชื่อหน่วยเรียน หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4.5 การเขียนเส้นตรงและเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Polyline (แบบฝึกหัดข้อที่ 8) 4.6 การเขียนรูปหลายเหลี่ยมด้วยคำสั่ง Polygon (แบบฝึกหัดข้อที่ 11) 4.7 การเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าด้วยคำสั่ง Rectangle (แบบฝึกหัดข้อที่ 10) 4.8 การเขียนเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Arc (แบบฝึกหัดข้อที่ 17, 18) ใบงานที่ 4.2 การเขียนเส้นโค้งบานประตูและบานหน้าต่าง จุดประสงค์การสอน หน่วยที่ 4 แสดงการใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4.5 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนเส้นตรงและเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Polyline 4.6 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนรูปหลายเหลี่ยมด้วยคำสั่ง Polygon 4.7 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าด้วยคำสั่ง Rectangle 4.8 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Arc ปฏิบัติใบงานที่ 4.2 การเขียนเส้นโค้งบานประตูและบานหน้าต่าง ขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ MIAP กระบวนการสอนของครู กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ขั้นการสอน(จุดประสงค์ที่ 4.4-4.8) 1. ขั้นนำ (Motivation) เวลา 5 นาที - นำเข้าสู่บทเรียน ด้วยปัญหาที่น่าสนใจ เป็น ปัญหาที่ผู้เรียนจะคิดหาคำตอบได้ 2. ขั้นศึกษาข้อมูล(Information)เวลา 115 นาที อธิบายเนื้อหา/สาธิต 5. การเขียนเส้นตรงและเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Polyline 6. การเขียนรูปหลายเหลี่ยมด้วยคำสั่ง Polygon 7. การเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าด้วยคำสั่ง Rectangle 8. การเขียนเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Arc ขั้นตอนการเรียน 1. ขั้นนำ (Motivation) - รับฟังและถามตอบก่อนเข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นศึกษาข้อมูล( Information) - รับฟังครูอธิบายแต่ละหัวข้อ และสอบถามหาก สงสัยข้อใดข้อหนึ่ง


3.ขั้นพยายาม (Application) เวลา 160 นาที - ให้นักศึกษาศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากตำรา หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ - ให้นักศึกษารายละเอียดใบงานที่ 4.2 การเขียน เส้นโค้งยานประตูและบานหน้าต่าง 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) เวลา 20 นาที - ตรวจสอบการปฏิบัติงานเพื่อให้คะแนน - ตอบคำถามที่ผู้เรียนสงสัย 3.ขั้นพยายาม (Application) - อ่านทบทวนเนื้อหาอย่างละเอียดจากจากจากตำรา -หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ - ให้นักศึกษารายละเอียดใบงานที่ 4.2 การเขียนเส้น โค้งยานประตูและบานหน้าต่าง 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) - ส่งงานการปฏิบัติใบงานที่ 4.2 - ถามคำถามที่ผู้เรียนสงสัย เนื้อหาบทเรียน หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4.5 การเขียนเส้นตรงและเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Polyline Draw > Polyline ใช้ในการเขียนเส้นตรงและเส้น โค้งที่มีความหนา ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Polyline 2. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งบนพื้นที่วาดภาพ 3. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งต่อไป 4. กดปุ่ม Enter กำหนดการเขียนเส้นโค้งโดยเลือก Arc กำหนดให้เขียนปิดรูปโดยเลือก Close กำหนดความหนาของเส้นโดยเลือก Width Command: _pline From point: Current line-width is 0.0000 Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width/<Endpoint of line>: Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width/<Endpoint of line>: Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width/<Endpoint of line>: Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width/<Endpoint of line>:


รูปที่ 4.5 การเขียนเส้นตรงและเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Polyline 4.6 การเขียนรูปหลายเหลี่ยมด้วยคำสั่ง Polygon Draw > Polygon ใช้ในการเขียนรูปหลายเหลี่ยม ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Polygon 2. กำหนดมุมของรูปหลายเหลี่ยม 3. กำหนดจุดศูนย์กลางของรูปหลายเหลี่ยม 4. เลือกรูปแบบของการกำหนดจุดอ้างอิง I , C 5. กำหนดค่ารัศมีของรูปหลายเหลี่ยมหรือ Click mouse บนแบบ Command: _polygon Number of sides <4>: Edge/<Center of polygon>: Inscribed in circle/Circumscribed about circle (I/C) <I>: Radius of circle:


รูปที่ 4.6 การเขียนรูปหลายเหลี่ยมด้วยคำสั่ง Polygon 4.7 การเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าด้วยคำสั่ง Rectangle Draw > Rectangle ใช้ในการเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Rectangle 2. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งบนพื้นที่วาดภาพ จุด1 3. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click ตำแหน่งบนพื้นที่วาดภาพ จุด 2


Command: _rectang Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width/<First corner>: Other corner: รูปที่ 4.7 การเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าด้วยคำสั่ง Rectangle


4.8 การเขียนเส้นโค้งด้วยคำสั่ง Arc Draw > Arc ใช้เขียนเส้นโค้ง มีรูปแบบของเส้นโค้ง 10 รูปแบบ ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Arc 2. เลือกรูปแบบของเส้นโค้งที่ต้องการเขียน 3. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click บนพื้นที่งาน จุด 1 4. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click บนพื้นที่งาน จุด 2 5. กำหนดค่าพิกัดหรือ Click บนพื้นที่งาน จุด 3 Command: _arc Center/<Start point>: Center/End/<Second point>: End point: รูปที่ 4.8 ตัวอย่างรูปแบบต่างๆ ของเส้นโค้ง


วิธีสอน และ กิจกรรม - นำเสนอด้วยเพาเวอร์พอยต์ / สาธิต - ถามตอบ - ใบงานที่ 4.2 สื่อการสอน หนังสือ อ้างอิง นิพนธ์ บุญสกันต์. 2558. การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี, ศูนย์หนังสือ เมืองไทย. เอกสาร ประกอบ - ใบงานที่ 4.2 วัสดุโสต ทัศน์ - ไวท์บอร์ด - โปรเจคเตอร์ งานที่ มอบหมาย -ศึกษาตำรา - ปฏิบัติใบงานที่ 4.2 การวัดผล การวัดผลในหน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ มีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ - นักศึกษาสามารถปฏิบัติใบงานที่ 4.2 การเขียนเส้นโค้งยานประตูและบานหน้าต่าง 1 คะแนน หมายเหตุ :


ใบเตรียมการสอน สัปดาห์ที่ 6 วิชา การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์ ทฤษฏี 2 คาบ หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ ปฏิบัติ 3 คาบ ชื่อหน่วยเรียน หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4.9 การเขียนวงกลมด้วยคำสั่ง Circle (แบบฝึกหัดข้อที่ 12, 13, 14) 4.10 การเขียนรูปขนมโดนัทด้วยคำสั่ง Donut (แบบฝึกหัดข้อที่ 15) 4.11 การเขียนเส้นโค้งต่อเนื่องด้วยคำสั่ง Spline (แบบฝึกหัดข้อที่ 9) 4.12 การเขียนวงรีด้วยคำสั่ง Ellipse (แบบฝึกหัดข้อที่ 16) 4.13 การเขียนจุดด้วยคำสั่ง Point (แบบฝึกหัดข้อที่ 19, 20) จุดประสงค์การสอน หน่วยที่ 4 แสดงการใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4.9 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนวงกลมด้วยคำสั่ง Circle 4.10 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนรูปขนมโดนัทด้วยคำสั่ง Donut 4.11 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนเส้นโค้งต่อเนื่องด้วยคำสั่ง Spline 4.12 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนวงรีด้วยคำสั่ง Ellipse 4.13 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเขียนจุดด้วยคำสั่ง Point ปฏิบัติใบงานที่ 4.3 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ ขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ MIAP กระบวนการสอนของครู กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ขั้นการสอน(จุดประสงค์ที่ 4.9-4.13) 1. ขั้นนำ (Motivation) เวลา 5 นาที - นำเข้าสู่บทเรียน ด้วยปัญหาที่น่าสนใจ เป็น ปัญหาที่ผู้เรียนจะคิดหาคำตอบได้ 2. ขั้นศึกษาข้อมูล(Information)เวลา 115 นาที อธิบายเนื้อหา/สาธิต 9. การเขียนวงกลมด้วยคำสั่ง Circle 10. การเขียนรูปขนมโดนัทด้วยคำสั่ง Donut 11. การเขียนเส้นโค้งต่อเนื่องด้วยคำสั่ง Spline 12. การเขียนวงรีด้วยคำสั่ง Ellipse 13. การเขียนจุดด้วยคำสั่ง Point ขั้นตอนการเรียน 1. ขั้นนำ (Motivation) - รับฟังและถามตอบก่อนเข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นศึกษาข้อมูล( Information) - รับฟังครูอธิบายแต่ละหัวข้อ และสอบถามหาก สงสัยข้อใดข้อหนึ่ง


3.ขั้นพยายาม (Application) เวลา 160 นาที - ให้นักศึกษาศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากตำรา หน่วยที่ 1 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ - ให้นักศึกษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติใบงาน ที่ 1 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) เวลา 20 นาที - ตรวจสอบการปฏิบัติงานเพื่อให้คะแนน - ตอบคำถามที่ผู้เรียนสงสัย 3.ขั้นพยายาม (Application) - อ่านทบทวนเนื้อหาอย่างละเอียดจากจากจากตำรา หน่วยที่ 1 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ - นักศึกษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติใบงานที่ 1 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) - ส่งงานการปฏิบัติใบงานที่ 4.3 - ถามคำถามที่ผู้เรียนสงสัย เนื้อหาบทเรียน หน่วยที่ 4 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 4.9 การเขียนวงกลมด้วยคำสั่ง Circle Draw > Circle ใช้ในการเขียนวงกลม มี6 รูปแบบ ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Circle 2. เลือกรูปแบบของวงกลมที่ต้องการเขียน 3. กำหนดพิกัดจุดหรือ Click บนพื้นที่งานเพื่อ กำหนดจุดศูนย์กลางของวงกลม 4. กำหนดค่ารัศมีหรือ ค่าเส้นผ่านศูนย์กลาง Command: _circle 3P/2P/TTR/<Center point>: Diameter/<Radius>:


รูปที่ 4.9 Circle > Center , Radius รูปที่ 4.10 Circle > Center, Diameter รูปที่ 4.11 Circle > 2 Point Circle > 3 Point


4.10 การเขียนรูปขนมโดนัทด้วยคำสั่ง Donut Draw > Donut ใช้ในการเขียนรูปขนมโดนัท ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Donut 2. กำหนดค่า diameter ด้านในของโดนัท 3. กำหนดค่า diameter ด้านนอกของโดนัท 4. ≠ กำหนดตำแหน่งของจุดศูนย์กลางรูปโดนัท Command: _donut Inside diameter <0.5000>: Outside diameter <1.0000>: Center of doughnut: Center of doughnut: รูปที่ 4.12 การเขียนรูปขนมโดนัทด้วยคำสั่ง Donut


4.11 การเขียนเส้นโค้งต่อเนื่องด้วยคำสั่ง Spline Draw > Spline ใช้เขียนเส้นโค้งต่อเนื่อง ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Spline 2. กำหนดตำแหน่งแรกของเส้น 3. กำหนดตำแหน่งต่อไปของเส้นโค้ง 4. กดปุ่ม Enter เพื่อออกจากคำสั่ง Command: _spline Object/<Enter first point>: Enter point: Close/Fit Tolerance/<Enter point>: Close/Fit Tolerance/<Enter point>: Close/Fit Tolerance/<Enter point>: Enter start tangent: Enter end tangent: รูปที่ 4.13 การเขียนเส้นโค้งต่อเนื่องด้วยคำสั่ง Spline


4.12 การเขียนวงรีด้วยคำสั่ง Ellipse Draw > Ellipse ใช้ในการเขียนรูปวงรีมี3 รูปแบบ ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. Click mouse เมนูDraw > Ellipse 2. กำหนดตำแหน่งจุดศูนย์กลางวงรี 3. กำหนดระยะแกนของวงรี 4. ≠ กำหนดระยะแกนอีกด้านของวงรี Command: _ellipse Arc/Center/<Axis endpoint 1>: _c Center of ellipse: Axis endpoint: <Other axis distance>/Rotation: รูปที่ 4.14 การเขียนวงรีด้วยคำสั่ง Ellipse


4.13 การเขียนจุดด้วยคำสั่ง Point Draw > Point ใช้ในการเขียนจุดบนงานแบบ การวาง Point 1. Click mouse เมนูDraw > Point > Single Point เมื่อ ต้องการวางจุดเดียว 2. • กำหนดตำแหน่งของจุด Point 3. Click mouse เมนูDraw > Point > Multiple Point เมื่อ ต้องการวางหลายๆ จุด 4. • กำหนดตำแหน่งของจุด Point ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. ก่อนวางจุดบนแบบจะต้องทำการปรับตั้งค่า Point ก่อน Click mouse เมนูFormat > Point Style 2. กำหนดรูปแบบของ Point โดยกำหนดรูปแบบ ของ Point และขนาดของ Point ในช่อง Point Size จากนั้น Click ปุ่ม OK


วิธีสอน และ กิจกรรม - นำเสนอด้วยเพาเวอร์พอยต์ / สาธิต - ถามตอบ - แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 - ใบงานที่ 4.3 สื่อการสอน หนังสือ อ้างอิง นิพนธ์ บุญสกันต์. 2558. การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี, ศูนย์หนังสือ เมืองไทย. เอกสาร ประกอบ - แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 - ใบงานที่ 4.3 วัสดุโสต ทัศน์ - ไวท์บอร์ด - โปรเจคเตอร์ งานที่ มอบหมาย -ศึกษาตำรา - ทำแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4 - ปฏิบัติใบงานที่ 4.3 การวัดผล การวัดผลในหน่วยที่ 1 เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ มีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ - นักเรียนมีความรู้ความจำ เรื่องการใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 1 คะแนน - นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องการใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 1 คะแนน - นักเรียนสามารถปฏิบัติใบงานที่ 4.3 การใช้คำสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ 2 คะแนน หมายเหตุ :


ความสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ 3 ห่วง 1. ความพอประมาณ -เตรียมอุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัยอย่างเหมาะสม 2. มีเหตุผล - ความปลอดภัยในการเรียนในรายวิชา 3. มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ป้องกันอุบัติเหตุในงานได้ 1. เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้, รอบคอบ, ระมัดระวัง) 2 เงื่อนไข - ปฏิบัติตามกฎของโรงงานได้อย่างเคร่งครัด - บอกวิธีการป้องกันอุบัติเหตุในงานได - อธิบายถึงความสำคัญของความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานได้ 2. เงื่อนไขคุณธรรม - มีความรับผิดชอบ - มีความคิดสร้างสรรค์ 1. มิติด้านเศรษฐกิจ 4 มิติ - ใช้อุปกรณ์ วัสดุ ในการเรียนการสอนอย่างประหยัด คุ้มค่า 2. มิติด้านสังคม - สามารถนำวิธีการทำงานไปปรับกับการทำงานภายนอกได้ 3. มิติด้านสิ่งแวดล้อม - ไม่ทำลายทำธรรมชาติในการเรียนในรายวิชา 4. มิติด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม ความซื่อสัตย์ต่อวิชา ครูผู้สอน


ความสอดคล้องกับคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ของสถานศึกษา ............................................................................ 1. ขยัน → นักเรียนนักศึกษาสามารถทำงานเสร็จตรงตามเวลา 2. ประหยัด → นักเรียนนักศึกษานำวัสดุที่ใช้มาปฏิบัติอย่างประหยัด 3. ซื่อสัตย์ → นักเรียนนักศึกษามีความซื่อสัตย์ต่อวิชาเรียน ต่อผู้สอน 4. มีวินัย → นักเรียนนักศึกษามาเรียนตรงตามเวลา 5. สุภาพ → นักเรียนนักศึกษามีความสุภาพต่อครูผู้สอน 6. สะอาด → นักเรียนนักศึกษาช่วยกันรักษาความสะอาดในแผนกวิชา 7. สามัคคี → นักเรียนนักศึกษามีความสามัคคีร่วมมือกันทำงานเป็นกลุ่ม 8. มีน้ำใจ → นักเรียนนักศึกษามีความเอื้อเฟื้อต่อเพื่อนร่วมห้อง


ใบเตรียมการสอน สัปดาห์ที่ 7 วิชา การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์ ทฤษฏี 2 คาบ หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน ปฏิบัติ 3 คาบ ชื่อหน่วยเรียน หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 5.1 การลบวัตถุด้วยคำสั่ง ERASE 5.2 การคัดลอกวัตถุด้วยคำสั่ง Copy 5.3 การคัดลอกวัตถุในลักษณะพลิกกลับด้วยคำสั่ง Mirror 5.4 การสร้างเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Offset 5.5 การคัดลอกวัตถุหลายชิ้นด้วยคำสั่ง Array (แบบฝึกหัดข้อที่ 3) 5.6 การเคลื่อนย้ายวัตถุด้วยคำสั่ง 5.7 การหมุนวัตถุด้วยคำสั่ง Rotate 5.8 การเปลี่ยนขนาดวัตถุด้วยคำสั่ง Scale ใบงานที่ 5.1 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน จุดประสงค์การสอน หน่วยที่ 5 แสดงการใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 5.1 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งลบวัตถุด้วยคำสั่ง ERASE 5.2 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งคัดลอกวัตถุด้วยคำสั่ง Copy 5.3 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งคัดลอกวัตถุในลักษณะพลิกกลับ Mirror 5.4 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งสร้างเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Offset 5.5 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งคัดลอกวัตถุหลายชิ้นด้วยคำสั่ง Array 5.6 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเคลื่อนย้ายวัตถุด้วยคำสั่ง Move 5.7 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งหมุนวัตถุด้วยคำสั่ง Rotate 5.8 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเปลี่ยนขนาดวัตถุด้วยคำสั่ง Scale ปฏิบัติใบงานที่ 5.1 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน แนวคิดสำคัญ การแก้ไขและตกแต่งแบบถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องเรียนรู้เป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากจะช่วยให้เขียนแบบได้ มีความถูกต้องและรวดเร็วยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น การคัดลอกวัตถุหรือชิ้นงาน ลบชิ้นงาน เคลื่อนย้ายชิ้นงาน หมุน ชิ้นงาน ลบลางส่วนเส้น ลบส่วนเกินของเส้น ยืดเส้น เปลี่ยนขนาดเส้น เปลี่ยนขนาดวัตถุ เชื่อมต่อเส้นเข้า ด้วยกัน มนมุม ตัดมุม และระเบิดชิ้นงาน เป็นต้น สมรรถนะย่อย แสดงการใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน


ขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ MIAP กระบวนการสอนของครู กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ขั้นการสอน(จุดประสงค์ที่ 5.1-5.8) 1. ขั้นนำ (Motivation) เวลา 5 นาที - นำเข้าสู่บทเรียน ด้วยปัญหาที่น่าสนใจ เป็น ปัญหาที่ผู้เรียนจะคิดหาคำตอบได้ 2. ขั้นศึกษาข้อมูล(Information)เวลา 115 นาที อธิบายเนื้อหา/สาธิต 1. การลบวัตถุด้วยคำสั่ง ERASE 2. การคัดลอกวัตถุด้วยคำสั่ง Copy 3. การคัดลอกวัตถุในลักษณะพลิกกลับด้วยคำสั่ง Mirror 4. การสร้างเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Offset 5. การคัดลอกวัตถุหลายชิ้นด้วยคำสั่ง Array 6. การเคลื่อนย้ายวัตถุด้วยคำสั่ง Move 7. การหมุนวัตถุด้วยคำสั่ง Rotate 8. การเปลี่ยนขนาดวัตถุด้วยคำสั่ง Scale 3.ขั้นพยายาม (Application) เวลา 160 นาที - ให้นักศึกษาศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากตำรา หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบ แปลน - ให้นักศึกษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติใบงาน ที่ 5.1 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) เวลา 20 นาที - ตรวจสอบการปฏิบัติงานเพื่อให้คะแนน - ตอบคำถามที่ผู้เรียนสงสัย ขั้นตอนการเรียน 1. ขั้นนำ (Motivation) - รับฟังและถามตอบก่อนเข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นศึกษาข้อมูล( Information) - รับฟังครูอธิบายแต่ละหัวข้อ และสอบถามหาก สงสัยข้อใดข้อหนึ่ง 3.ขั้นพยายาม (Application) - อ่านทบทวนเนื้อหาอย่างละเอียดจากจากจากตำรา หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบ แปลน - นักศึกษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติใบงานที่ 5.1 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) - ส่งงานการปฏิบัติใบงานที่ 5.1 - ถามคำถามที่ผู้เรียนสงสัย


เนื้อหาบทเรียน หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 5.1 การลบวัตถุด้วยคำสั่ง ERASE Modify > Erase Erase ใช้ในการ ลบ วัตถุที่ไม่ต้องการออกจากพื้นที่วาดภาพ ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงาน 3. Enter Command: _erase Select objects: 1 found (เลือกวัตถุที่ต้องการลบ) Select objects: (Enter) รูปที่ 5.1 การลบวัตถุด้วยคำสั่ง ERASE


5.2 การคัดลอกวัตถุด้วยคำสั่ง Copy Modify > Copy Copy ใช้ในการ คัดลอก วัตถุที่ต้องการ ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงาน Enter 3. กำหนดจุดอ้างอิงในการคัดลอก (Base point or displacement) 4. กำหนดจุดใหม่ของการคัดลอก (Second point of displacement) Command: _copy Select objects: 1 found (เลือกวัตถุที่ต้องการคัดลอก) Select objects: <Base point or displacement>/Multiple: (กำหนด จุดอ้างอิงแรก) Second point of displacement: (กำหนดจุดอ้างอิงที่สอง) รูปที่ 5.2 การคัดลอกวัตถุด้วยคำสั่ง Copy


5.3 การคัดลอกวัตถุในลักษณะพลิกกลับด้วยคำสั่ง Mirror Modify > Mirror Mirror ใช้ในการทำภาพสะท้อน หรือ พลิก วัตถุที่ต้องการ ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงาน Enter กำหนดเส้นสะท้อนการพลิกจุดแรก (First point of mirror line) กำหนดเส้นสะท้อนการพลิกจุดที่สอง (Second point) โปรแกรมจะถามว่าต้องการลบชิ้นงานต้นแบบหรือไม่ (Delete old objects? <N> ) หากต้องการลบ พิมพ์Y Command: _mirror Select objects: Other corner: 3 found Select objects: First point of mirror line: (กำหนดจุดอ้างอิงแนวการพลิกแรก) Second point: (กำหนดจุดอ้างอิงแนวการพลิกที่สอง) Delete old objects? <N> (ต้องการลบชิ้นงานต้นแบบหรือไม่) รูปที่ 5.3 ต้นแบบ Mirror แบบไม่ลบต้นแบบ Mirror แบบลบต้นแบบ รูปที่ 5.4 การคัดลอกวัตถุในลักษณะพลิกกลับด้วยคำสั่ง Mirror


5.4 การสร้างเส้นคู่ขนานด้วยคำสั่ง Offset Modify > Offset Offset ใช้ในการสร้างเส้นคู่ขนานจากต้นแบบ โดยการ กำหนดระยะห่างระหว่างตำแหน่งที่ต้องการกับชิ้นงานเดิม ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. กำหนดระยะ Offset (Offset distance or Through) 3. เลือกชิ้นงาน 4. กำหนดด้านของการ Offset (ใช้Mouse Click) Side to offset? 5. เลือกชิ้นงานชิ้นต่อไป 6. หากไม่มีชิ้นงานที่จะ Offset แล้วให้กด Esc Command: _offset Offset distance or Through <1.0000>: 1 (กำหนดระยะการ Offset) Select object to offset: Side to offset? (กำหนดด้านที่ต้องการ Offset) Select object to offset: (เลือกชิ้นงานต่อไป) รูปที่ 5.5 Offset เส้นตรง รูปที่ 5.6 Offset เส้นโค้ง รูปที่ 5.7 Offset รูปวัตถุ


5.5 การคัดลอกวัตถุหลายชิ้นด้วยคำสั่ง Array Modify > Array Array ใช้ในการสร้างสำเนาชิ้นงาน (Copy) จากต้นแบบ ขั้นตอนการใช้คำสั่ง [ Array แบบสี่เหลี่ยม ] 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงานที่จะทำ Array กดปุ่ม Enter 3. เลือกออปชั่น Rectangle พิมพ์R กดปุ่ม Enter 4. กำหนดจำนวนของชิ้นงานด้าน Column และ ด้าน Row 5. กำหนดระยะห่างด้าน Column และ ด้าน Row Command: _array Select objects: 1 found (เลือกชิ้นงานที่ต้องการ Array) Select objects: Rectangular or Polar array (<R>/P): R (เลือกตัวเลือก แบบ Rectangle) Number of rows (---) <1>: 2 (กำหนดจำนวนชิ้นงานแนวตั้ง) Number of columns (|||) <1>: 3 (กำหนดจำนวนชิ้นงาน แนวนอน) Unit cell or distance between rows (---): 5 (กำหนดระยะห่าง แนวตั้ง) Distance between columns (|||): 5 (กำหนดระยะห่างแนวนอน) รูปที่ 5.8 การคัดลอกวัตถุหลายชิ้นด้วยคำสั่ง Array ขั้นตอนการใช้คำสั่ง [ Array แบบวงกลม ] 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงานที่จะทำ Array กดปุ่ม Enter 3. เลือกออปชั่น Polar พิมพ์P กดปุ่ม Enter 4. กำหนดจุดศูนย์กลางของการทำ Array แบบวงกลม {Base/<Specify center point of array>:} 5. กำหนดจำนวนของชิ้นงาน {Number of items} 6. กำหนดมุมของการทำ Array ตั้งแต่ 0-360 องศา { Angle to fill (+=ccw, -=cw)<360>:} 7. … กำหนดว่าจะให้ชิ้นงานต้นแบบหมุนด้วยหรือไม่ { Rotate objects as they are copied? <Y>}


Command: _array Select objects: 1 found (เลือกชิ้นงานที่ต้องการ Array) Select objects: Rectangular or Polar array (<R>/P): P (กำหนดตัวเลือกเป็นแบบ Polar) Base/<Specify center point of array>: (กำหนดจุดศูนย์กลาง Array แบบวงกลม) Number of items: (กำหนดจำนวนชิ้นงานที่ต้องการ Array) Angle to fill (+=ccw, -=cw) <360>: (กำหนดมุมของการ Array แบบวงกลม) Rotate objects as they are copied? <Y> (กำหนดว่าจะหมุนชิ้นงานต้นแบบหรือไม่) รูปที่ 5.9 ขั้นตอนการใช้คำสั่ง [ Array แบบวงกลม ] 5.6 การเคลื่อนย้ายวัตถุด้วยคำสั่ง Move Modify > Move Move ใช้ในการ เคลื่อนย้ายชิ้นงาน จากจุดหนึ่งไปยังอีก จุดหนึ่ง ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงานที่จะ Move กดปุ่ม Enter 3. กำหนดจุดอ้างอิงในการเคลื่อนย้าย {Base point or displacement:} ( กำหนดจุดที่ต้องการย้าย หรือ ป้อนค่าระยะ {Second point of displacement:}


Command: _move Select objects: (เลือกวัตถุที่จะย้าย) Select objects: (Enter) Base point or displacement: Second point of displacement: (กำหนดจุดอ้างอิงในการย้ายจุดแรกและจุดที่สอง หรือป้อนค่าระยะ) รูปที่ 5.10 การเคลื่อนย้ายวัตถุด้วยคำสั่ง Move 5.7 การหมุนวัตถุด้วยคำสั่ง Rotate Modify > Rotate Rotate ใช้ในการ หมุนชิ้นงาน ไปในมุมต่างๆ ตามที่กำหนด ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงาน กดปุ่ม Enter 3. กำหนดจุดหมุน {Base point:} 4. กำหนดมุมที่ต้องการหมุน (ใช้mouse Click หรือ ป้อนค่ามุม)


Command: _rotate Select objects: (เลือกวัตถุที่จะหมุน) Select objects: Base point: (กำหนดจุดหมุน) <Rotation angle>/Reference: (กำหนดมุมที่ต้องการหมุน) รูปที่ 5.11 การหมุนวัตถุด้วยคำสั่ง Rotate 5.8 การเปลี่ยนขนาดวัตถุด้วยคำสั่ง Scale Modify > Scale Scale ใช้ในการ ปรับขนาดของชิ้นงาน ให้มี ขนาดใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง หากกำหนดค่า = 1 จะมีขนาดเท่าเดิม (1 เท่า) หากกำหนดค่า = 2 จะมีขนาดใหญ่ขึ้น 2 เท่า หากกำหนดค่า = 0.5 จะมีขนาดเล็กลงครึ่งหนึ่ง ขั้นตอนการใช้คำสั่ง


1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงาน กดปุ่ม Enter 3. กำหนดจุดหมุนอ้างอิงการ Scale {Base point:} 4. กำหนดขนาดในการขยายหรือลดขนาด (ใช้ mouse ลาก หรือ ป้อนค่า Scale) Command: _scale Select objects: (เลือกวัตถุที่จะขยายหรือลด ขนาด) Select objects: Base point: (กำหนดจุดอ้างอิง) <Scale factor>/Reference: (กำหนดค่า Scale) รูปที่ 5.12 การเปลี่ยนขนาดวัตถุด้วยคำสั่ง Scale


วิธีสอน และ กิจกรรม - นำเสนอด้วยเพาเวอร์พอยต์ / สาธิต - ถามตอบ - ใบงานที่ 5.1 สื่อการสอน หนังสือ อ้างอิง นิพนธ์ บุญสกันต์. 2558. การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี, ศูนย์หนังสือ เมืองไทย. เอกสาร ประกอบ - ใบงานที่ 5.1 วัสดุโสต ทัศน์ - ไวท์บอร์ด - โปรเจคเตอร์ งานที่ มอบหมาย -ศึกษาตำรา - ปฏิบัติใบงานที่ 5.1 การวัดผล การวัดผลในหน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน มีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - นักเรียนสามารถปฏิบัติใบงานที่ 5.1 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 1 คะแนน หมายเหตุ :


ใบเตรียมการสอน สัปดาห์ที่ 8 วิชา การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์ ทฤษฏี 2 คาบ หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน ปฏิบัติ 3 คาบ ชื่อหน่วยเรียน หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 5.9 การดึงวัตถุให้ยืดหรือหดด้วยคำสั่ง Stretch (แบบฝึกหัดข้อที่ 5) 5.10 การเพิ่มหรือลดความยาวของเส้นด้วยคำสั่ง Lenghten (แบบฝึกหัดข้อที่ 6, 10) 5.11 การตัดเส้นด้วยคำสั่ง Trim (แบบฝึกหัดข้อที่8) 5.12 การต่อเส้นด้วยคำสั่ง Extend (แบบฝึกหัดข้อที่ 9) 5.13 การตัดเส้นด้วยคำสั่ง Break (แบบฝึกหัดข้อที่4) 5.14 การสร้างมุมตัดด้วยคำสั่ง Chamfern (แบบฝึกหัดข้อที่ 11) 5.15 การสร้างมุมมนด้วยคำสั่ง Fillet (แบบฝึกหัดข้อที่ 12) 5.16 การระเบิดวัตถุด้วยคำสั่ง Explode 5.17 การใช้กริ๊บส์(Grips) ใบงานที่ 5.2 ใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน จุดประสงค์การสอน หน่วยที่ 5 แสดงการใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 5.9 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งดึงวัตถุให้ยืดหรือหดด้วยคำสั่ง Stretch 5.10 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งเพิ่มหรือลดความยาวของเส้นด้วยคำสั่ง Lenghten 5.11 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งตัดเส้นด้วยคำสั่ง Trim 5.12 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งต่อเส้นด้วยคำสั่ง Extend 5.13 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งตัดเส้นด้วยคำสั่ง Break 5.14 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งสร้างมุมตัดด้วยคำสั่ง Chamfer 5.15 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งสร้างมุมมนด้วยคำสั่ง Fillet 5.16 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งระเบิดวัตถุด้วยคำสั่ง Explode 5.17 บอกหน้าที่และใช้คำสั่งกริ๊บส์(Grips) ปฏิบัติใบงานที่ 5.2 ใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน


ขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ MIAP กระบวนการสอนของครู กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ขั้นการสอน(จุดประสงค์ที่ 5.9-5.17) 1. ขั้นนำ (Motivation) เวลา 5 นาที - นำเข้าสู่บทเรียน ด้วยปัญหาที่น่าสนใจ เป็น ปัญหาที่ผู้เรียนจะคิดหาคำตอบได้ 2. ขั้นศึกษาข้อมูล(Information)เวลา 115 นาที อธิบายเนื้อหา/สาธิต 9. การดึงวัตถุให้ยืดหรือหดด้วยคำสั่ง Stretch 10. การเพิ่มหรือลดความยาวของเส้นด้วยคำสั่ง Lenghten 11. การตัดเส้นด้วยคำสั่ง Trim 12. การต่อเส้นด้วยคำสั่ง Extend 13. การตัดเส้นด้วยคำสั่ง Break 14. การสร้างมุมตัดด้วยคำสั่ง Chamfer 15. การสร้างมุมมนด้วยคำสั่ง Fillet 16. การระเบิดวัตถุด้วยคำสั่ง Explode 17. การใช้กริ๊บส์(Grips) 3.ขั้นพยายาม (Application) เวลา 160 นาที - ให้นักศึกษาศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากตำรา หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบ แปลน - ให้นักศึกษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติใบงาน ที่ 5.2 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) เวลา 20 นาที - ตรวจสอบการปฏิบัติงานเพื่อให้คะแนน - ตอบคำถามที่ผู้เรียนสงสัย ขั้นตอนการเรียน 1. ขั้นนำ (Motivation) - รับฟังและถามตอบก่อนเข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นศึกษาข้อมูล( Information) - รับฟังครูอธิบายแต่ละหัวข้อ และสอบถามหาก สงสัยข้อใดข้อหนึ่ง 3.ขั้นพยายาม (Application) - อ่านทบทวนเนื้อหาอย่างละเอียดจากจากจากตำรา หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบ แปลน - นักศึกษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติใบงานที่ 5.2 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 4. ขั้นผลสำเร็จ (Progress) - ส่งงานการปฏิบัติใบงานที่ 5.2 - ถามคำถามที่ผู้เรียนสงสัย


เนื้อหาบทเรียน หน่วยที่ 5 การใช้คำสั่งเพื่อแก้ไขและตกแต่งแบบแปลน 5.9 การดึงวัตถุให้ยืดหรือหดด้วยคำสั่ง Stretch Modify > Stretch Stretch ใช้ในการ ยืดหรือหด ส่วนใดส่วน หนึ่งของชิ้นงานไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงาน (ใช้Mouse Click ด้านมุมขวาล่างของส่วนที่จะยืดแล้ว Click จุดมุมซ้ายบน แบบ cross-window) กดปุ่ม Enter 3. ( กำหนดจุดหมุนอ้างอิงการ Stretch {Base point or displacement:} 4. ( กำหนดจุดยืดจุดที่สอง (ระยะยืด) {Second point of displacement:} Command: _stretch Select objects to stretch by crossingwindow or crossing-polygon... Select objects: Select objects: Base point or displacement: Second point of displacement: รูปที่ 5.13 การดึงวัตถุให้ยืดหรือหดด้วยคำสั่ง Stretch


5.10 การเพิ่มหรือลดความยาวของเส้นด้วยคำสั่ง Lenghten Modify > Lenghten Lengthen ใช้ในการ กำหนดค่าความยาวให้กับเส้นตรง มี4 ตัวเลือก คือ Delta กำหนดค่าเพิ่มจากค่าความยาวเดิม Percent กำหนดค่าเป็นเปอร์เซนต์ Total กำหนดค่าความยาวทั้งหมด Dynamic กำหนดค่าความยาวโดยใช้Mouse Click ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกตัวเลือกที่ต้องการ 3. เลือกชิ้นงานด้านใดด้านหนึ่ง Command: _lengthen DElta/Percent/Total/DYnamic/<Select object>: Current length: 5.0000 (ค่าควาวยาวของเส้นเดิม) (อาจจะ แสดงหรืออาจไม่แสดงก็ได้) DElta/Percent/Total/DYnamic/<Select object>: T (เลือก ตัวเลือกTotal) Angle/<Enter total length (1.0000)>: 15 (ป้อนค่าขนาด ความยาวของเส้นตรง)


5.11 การตัดเส้นด้วยคำสั่ง Trim Modify > Trim Trim ใช้ในการ ตัดชิ้นงานในส่วนที่ไม่ ต้องการจากแนวขอบตัดที่กำหนด (Cutting Edge) ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกชิ้นงานที่ต้องการ หรือเลือกเส้นแนวขอบตัด 3. เลือกส่วนของชิ้นงานด้านที่ต้องการ ตัด Command: _trim Select cutting edges: (Projmode = UCS, Edgemode = No extend) (เลือกแนวเส้นขอบตัด) Select objects: 1 found Select objects: <Select object to trim>/Project/Edge/Undo: (เลือกเส้นที่ต้องการตัด) <Select object to trim>/Project/Edge/Undo: รูปที่ 5.14 การตัดเส้นด้วยคำสั่ง Trim


5.12 การต่อเส้นด้วยคำสั่ง Extend Modify > Extend Extend ใช้ในการ ต่อชิ้นงานให้ยาวไปยัง ขอบเขต (BoundEdge) ที่กำหนด Extend ใช้ในการ ต่อชิ้นงานให้ยาวไปยังขอบเขต (BoundEdge) ที่กำหนด Command: _extend Select boundary edges: (Projmode = UCS, Edgemode = No extend) (เลือกแนวขอบเขตการต่อเส้น) Select objects: 1 found Select objects: <Select object to extend>/Project/Edge/Undo: (เลือกปลายเส้น ที่ต้องการต่อ) <Select object to extend>/Project/Edge/Undo: รูปที่ 5.15 การต่อเส้นด้วยคำสั่ง Extend


5.13 การตัดเส้นด้วยคำสั่ง Break Modify > Break Break ใช้ในการ ตัดชิ้นส่วนของชิ้นงานที่ ไม่ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นเส้นตรง ส่วนโค้ง วงกลม หรือ รูปเหลี่ยม ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกตำแหน่งแรกที่ต้องการตัด 3. เลือกตำแหน่งที่สอง คือระยะการตัด Command: _break Select object: (กำหนดจุดแรกในการตัด) Enter second point (or F for first point): (กำหนดจุดที่สองในการตัด) รูปที่ 5.16 การตัดเส้นด้วยคำสั่ง Break


5.14 การสร้างมุมตัดด้วยคำสั่ง Chamfer Modify > Chamfer Chamfer ใช้ในการ ปาดมุมของชิ้นงาน เส้นตรงสองเส้นที่ตัดกัน หรือ บริเวณมุมของรูปเหลี่ยม โดยการกำหนดค่าระยะมุมทั้ง 2 ด้าน (Distance) หรือ กำหนดค่าระยะกับมุม(Angle) หรือ การขลิบ (Trim) เป็นต้น ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกตัวเลือกในการปาดมุม 3. เลือกคำสั่งใหม่ 4. เลือกเส้นที่ต้องการทำปาดมุม 2 เส้น เส้นแรก , เส้นที่สอง Command: _chamfer (TRIM mode) Current chamfer Length = 11.6323, Angle = 304 Polyline/Distance/Angle/Trim/Method/<Select first line>: d (กำหนด Distance) Enter first chamfer distance <10.0000>: 3 Enter second chamfer distance <3.0000>: Command: CHAMFER (TRIM mode) Current chamfer Dist1 = 3.0000, Dist2 = 3.0000 Polyline/Distance/Angle/Trim/Method/<Select first line>: (เลือกเส้นแรก) Select second line: (เลือกเส้นที่สอง) รูปที่ 5.16 การสร้างมุมตัดด้วยคำสั่ง Chamfer


5.15 การสร้างมุมมนด้วยคำสั่ง Fillet Modify > Fillet Fillet ใช้ในการ ทำมุมมนของชิ้นงาน เส้นตรงสองเส้นที่ตัดกัน หรือ บริเวณมุมของรูป เหลี่ยม โดยการกำหนดค่ารัศมีของการทำมุมมน ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกตัวเลือกในการทำมุมมน (รัศมีของมุมมน) 3. เลือกคำสั่งใหม่ 4. เลือกเส้นที่ต้องการทำปาดมุม 2 เส้น เส้นแรก , เส้นที่สอง Command: _fillet (TRIM mode) Current fillet radius = 10.0000 Polyline/Radius/Trim/<Select first object>: R (กำหนดรัศมีของมุมมน) Enter fillet radius <10.0000>:3 (ค่ารัศมีมุมมน) Command: FILLET (TRIM mode) Current fillet radius = 3.0000 Polyline/Radius/Trim/<Select first object>: (เลือกเส้นแรก) Select second object: (เลือกเส้นที่สอง) รูปที่ 5.17 การสร้างมุมมนด้วยคำสั่ง Fillet


5.16 การระเบิดวัตถุด้วยคำสั่ง Explode Modify > Explode Explode ใช้ในการ ระเบิดชิ้นงานที่เป็นชิ้น เดียวกัน หรือกลุ่มก้อนออกเป็นส่วนๆ เช่น Polyline, Donut , Rectangle หรือBlock ขั้นตอนการใช้คำสั่ง 1. เลือกคำสั่ง 2. เลือกวัตถุที่ต้องการระเบิด 5.17 การใช้กริ๊บส์(Grips) ใช้ในการปรับแต่งวัตถุใดๆ บนพื้นที่วาดภาพกริ๊บส์(Grips) คือ จุดสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็กๆโดยปกติจะมีสีน้ำ เงิน จะปรากฏเมื่อเราใช้เคอร์เซอร์Click บนวัตถุชิ้นนั้น โดยมิได้เลือกคำสั่งใดๆ เราสามารถใช้กริ๊บส์ช่วยในการ ยึด (Stretch), การเคลื่อนย้าย (Move), การหมุน (Rotate), การพลิกกลับ (Mirror) หรือเปลี่ยนขนาด (Scale)วัตถุแต่ละชิ้นจะมีจำนวน Grips ที่แตกต่างกัน รูปที่ 5.18 การใช้กริ๊บส์(Grips)


Click to View FlipBook Version