The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายเจษฎา คำภาพันธ์, 2021-04-02 02:35:40

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

แผนการสอน หน่วยที่ 4

ชื่อวชิ า ความรู้เกี่ยวกบั งานอาชพี สอนคร้งั

ท่ี 7-8

ช่อื หน่วย คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบ ชว่ั โมง

วชิ าชพี และการพัฒนาวิชาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ รวม 4

พอเพียง

ชื่อเร่อื งหรือชื่อหน่วย คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการ จานวน

ประกอบวชิ าชีพและการพฒั นาวชิ าชีพตามหลกั ปรัชญาของ ชั่วโมง 4

เศรษฐกิจพอเพยี ง

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและความสาคัญของคณุ ธรรมจริยธรรม
2. องคป์ ระกอบของคุณธรรมจริยธรรม
3. หลกั ธรรมในการประกอบวิชาชพี
4. จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี
5. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6. การพฒั นาวิชาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายและความสาคัญของคุณธรรมจรยิ ธรรมได้
2. อธบิ ายองค์ประกอบของคณุ ธรรมจรยิ ธรรมได้
3. นาหลกั ธรรมไปประยุกตใ์ นการประกอบวิชาชีพได้
4. บอกจรรยาบรรณในการประกอบวชิ าชพี ได้
5. บอกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
6. นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในการพฒั นาวชิ าชพี ได้

สาระสาคญั
คุณธรรมจรยิ ธรรมนับวา่ เปน็ พื้นฐานทสี่ าคัญของทุกคนและทุกวิชาชพี หากบคุ คลใดหรือวิชาชีพใดไมม่ ี
คุณธรรมจรยิ ธรรมเปน็ หลักยึดเบอื้ งตน้ แลว้ ก็ยากทจ่ี ะก้าวไปสคู่ วามสาเร็จแหง่ ตนและแห่งวชิ าชพี น้ัน ๆ ท่ี
ยิง่ กว่าน้นั คือการขาดคุณธรรมจรยิ ธรรมทงั้ ในส่วนบุคคลและในวชิ าชีพ อาจมีผลร้ายตอ่ ตนเอง สงั คม และ
วงการวิชาชีพในอนาคตได้ ดังจะพบเห็นได้จากการเกดิ วิกฤติศรทั ธาในวชิ าชพี หลายแขนงในปจั จุบนั ท้ังวงการ
วชิ าชพี ครู แพทย์ ตารวจ ทหาร นกั การเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ ปรัชญาที่ช้ถี ึงแนว
ทางการดารงอยแู่ ละปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แต่ระดับครอบครวั ระดับชมุ ชน ถึงระดบั รัฐให้
ดาเนนิ ไปในทางสายกลาง คอื ความพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจาเป็นท่จี ะต้องมี
ระบบภูมคิ มุ้ กันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อการมผี ลกระทบใด ๆ เพื่อพร้อมรบั สถานการณ์อันเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพ่อื ให้ก้าวทันตอ่ ยุคโลกาภวิ ัตน์

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ขัน้ ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขนั้ ตอนการเรยี นหรอื กจิ กรรมของนักเรยี น

ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรียน

1. ครูยกตวั อย่างกรณศี กึ ษาเปรียบเทยี บคุณธรรมที่ 1. ตอบคาถาม

นามาใช้ในการประกอบอาชพี ของแตล่ ะอาชพี 2. ร่วมแสดงความคดิ เห็นเพ่อื วิเคราะห์

2. ครแู นะนาเนอื้ หา และแจง้ ผลการเรยี นที่ สถานการณท์ ี่ครูยกตัวอย่าง

คาดหวังของหน่วยท่ี 4 เรอ่ื ง คณุ ธรรมจริยธรรมและ

จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี และการพฒั นา

วชิ าชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. โดยนาประเดน็ คาถามใหน้ ักเรยี นร่วมแสดงความ

คิดเหน็ จากกรณีศึกษาเปรยี บเทียบคณุ ธรรมท่นี ามาใชใ้ น

การประกอบอาชีพของแตล่ ะอาชพี

ขั้นดาเนนิ การสอน 1. ศกึ ษาเนอ้ื หาจากเอกสารประกอบ
1. บรรยายเนอ้ื หาหน่วยท่ี 4 เรอื่ ง คุณธรรม การเรียน
2. สง่ งานเพอ่ื ตรวจตามกาหนด
จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี และ 3. มีพฒั นาการแตง่ กายเรียบร้อยถูกตอ้ งตาม
การพฒั นาวิชาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบยี บของสานศึกษา และคุณธรรมดา้ นอนื่ ๆ
เชน่ ความมวี ินัย ความรับผิดชอบ ความ
2. ครูสอนเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม เพื่อเสรมิ สรา้ ง ซอื่ สตั ย์สุจรติ และความตรงตอ่ เวลา เปน็
คุณลักษณะด้านความมรี ะเบยี บวนิ ยั ต้น

3. ให้ทาแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 4 เร่อื ง คณุ ธรรม
จริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี และ
การพัฒนาวิชาชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ขัน้ สรุปการเรียนการสอน 1. ร่วมสรปุ เน้อื หาโดยตอบข้อซกั ถามตามหัวขอ้
1. สรุปสาระสาคัญโดยการซักถามนกั เรียน ที่ครกู าหนด
2. มอบหมายงานเพอ่ื จัดทากิจกรรมกลุ่มจาก
2. นาเสนอผลงานจากกจิ กรรมเสริมทกั ษะท่ี
กิจกรรมเสริมทกั ษะการจดั ประสบการณ์เรยี นรทู้ ี่ 4.1 4.1 และ 4.2 ที่ครมู อบหมาย
และ 4.2
3. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วย
3. ประเมนิ การเรียนรหู้ ลงั เรยี น หนว่ ย ท่ี 4 เรอ่ื ง คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ
ที่ 4 เร่ือง คณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณในการ
ประกอบวิชาชีพและการพฒั นาวชิ าชีพตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

ในการประกอบวชิ าชีพและการพัฒนาวิชาชพี ตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรม
กอ่ นเรียน

1. ครูยกตัวอยา่ งกรณศี กึ ษาเปรียบเทียบคณุ ธรรมที่นามาใชใ้ นการประกอบอาชพี ของแต่ละอาชีพ
2. ครูแนะนาเน้ือหา และแจง้ ผลการเรยี นทีค่ าดหวงั ของหน่วยท่ี 4 เรื่อง คณุ ธรรมจริยธรรมและ
จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพและการพัฒนาวชิ าชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. โดยนาประเดน็ คาถามใหน้ ักเรียนรว่ มแสดงความคิดเหน็ จากกรณีศกึ ษาเปรียบเทียบคณุ ธรรมที่นามาใช้
ในการประกอบอาชพี ของแต่ละอาชพี
ขณะเรียน

1. บรรยายเนือ้ หาหน่วยท่ี 4 เรือ่ ง คุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
และการพัฒนาวชิ าชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. ครูสอนเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพ่อื
เสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะดา้ นความมรี ะเบียบวนิ ัย

3. ใหท้ าแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 4 เร่ือง คณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวชิ าชีพและ
การพัฒนาวิชาชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ส่ือการเรยี นการสอน และนวตั กรรม

1. เอกสารประกอบการสอนวิชา ความรู้เก่ียวกับงานอาชีพ (2001-1001)
2. ส่อื นาเสนอ Power Point เครือ่ งคอมพิวเตอร์ และเครอ่ื งฉายภาพโปรเจคเตอร์
3. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรูก้ ่อนและหลังเรยี น
4. แบบฝึกหัด หน่วยท่ี 4 เรือ่ ง คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวชิ าชพี
และการพฒั นาวชิ าชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. กิจกรรมเสริมทกั ษะการเรียนรู้ หน่วยท่ี 4 เร่ือง คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณใน
การประกอบวิชาชพี และการพัฒนาวิชาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
การประเมินผล
กอ่ นเรียน 1. การประเมินพฤติกรรมจิตพสิ ยั ฯ รายบุคคล และการเช็คการเข้าเรยี นของนกั ศึกษาลง
ในสมุดบนั ทึกเวลาเรยี นและประเมินผลการเรียน

2. การประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น เกณฑ์ผา่ น 50% ข้ึนไป
ขณะเรยี น 1. การสงั เกตและประเมินดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์

2. การประเมนิ ผลจากการตรวจแบบฝึกหัด หน่วยที่ 4 เรอื่ ง คุณธรรมจริยธรรมและ
จรรยาบรรณในการประกอบวชิ าชพี และการพฒั นาวชิ าชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

หลงั เรียน 1. ประเมินผลการเรยี นร้หู ลงั เรยี น เกณฑผ์ ่าน 50% ขึน้ ไป
บันทกึ หลังการสอน

ผลการใช้แผนการสอน นักเรยี นมคี วามเข้าใจ หน่วยที่ 4 เรื่อง คุณธรรมจริยธรรมและ
จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี และการพัฒนาวชิ าชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการ
นาเขา้ สบู่ ทเรียนของครผู สู้ อนโดยการสอบถามจากผู้เรยี นหรอื จากการประเมินผลการเรยี นรู้

ผลการเรยี นของนกั เรยี น นกั เรยี นมีความเขา้ ใจการจดั ประสบการณ์เรียนรูข้ องครผู ู้สอน
ผลการสอนของครู ประสทิ ธภิ าพในการสอนของครไู ด้ผลดี โดยวัดจากการ
ซักถาม สาระสาคญั โดยสรปุ และนกั เรียนสว่ นใหญ่ตอบคาถามได้ และการประเมินผลการเรยี นรู้

แบบแบบฝึกหดั
หน่วยที่ 4 เรอื่ ง คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี

และการพัฒนาวชิ าชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คาส่งั จงตอบคาถามต่อไปนใ้ี หส้ มบรู ณ์
1. จงอธบิ ายความหมายของคาต่อไปน้ี

1.1 คุณธรรม (Moral) หมายถึง ความดงี ามท่ถี ูกปลูกฝงั ขน้ึ ในจติ ใจ มคี วามกตญั ญู ขยนั
ประหยดั ซือ่ สตั ย์ สามัคคี มีวินยั มนี า้ ใจ และเป็นสุภาพชน เปน็ ตน้ จนเกดิ จิตสานึกทดี่ ี รู้สึกรบั ผิดชอบ ช่ัว ดี
เกรงกลวั ตอ่ การกระทาความชว่ั โดยประการตา่ ง ๆ เม่อื จติ เกดิ คณุ ธรรมข้นึ แล้ว จะทาให้เป็นผมู้ ีจิตใจดี และ
คิดแต่สิง่ ท่ีดี จึงไดช้ ่อื ว่า “เป็นผู้มีคุณธรรม”

1.2 จริยธรรม (Ethic) หมายถงึ สิ่งท่เี ป็นคณุ สมบตั ทิ างความประพฤตทิ ่ดี งี ามและสามารถจาแนก
แยกแยะวา่ ส่ิงไหนถกู และสิ่งไหนผิด ซง่ึ เป็นความจริงทม่ี นุษย์จะต้องปฏบิ ตั เิ พอื่ ให้เกดิ ผลสาเรจ็ และเป็นหน้าท่ี
ของมนุษยท์ เ่ี ป็นสมาชกิ ในสงั คมพึงประพฤตปิ ฏิบัตติ อ่ ตนเอง ตอ่ ผ้อู ื่น และตอ่ สังคม ถกู แสดงออกทางจรรยา
มารยาท การประพฤตปิ ฏบิ ัติ และการกระทาทดี่ ีตามคณุ ธรรมทมี่ ใี นจิตใจนนั้ จงึ ได้ชอ่ื ว่า “เป็นผูม้ จี ริยธรรม”

1.3 จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤตทิ ี่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอยา่ ง กาหนด
ขึน้ เพ่ือรักษาและสง่ เสริมเกยี รติคุณ ชือ่ เสยี ง และฐานะของสมาชกิ อาจเขยี นเป็นลายลักษณอ์ ักษรหรอื ไมก่ ็ได้

1.4 จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง ประมวลมาตรฐานความประพฤตทิ ี่ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้อง
ประพฤตปิ ฏิบัติ เป็นแนวทางใหผ้ ู้ประกอบวิชาชพี ปฏบิ ัติตนอย่างถกู ตอ้ ง เพือ่ ผดงุ เกยี รตแิ ละสถานะของ
วชิ าชีพ โดยทข่ี ้อบัญญัตนิ ั้นอาจเขียนไวเ้ ป็นลายลักษณ์อกั ษรหรือบอกกลา่ วด้วยวาจาในสังคมวชิ าชพี นั้นกไ็ ด้
ผกู้ ระทาผดิ จรรยาบรรณต้องได้รบั โทษ โดยการวา่ กล่าวตักเตอื น พกั งาน หรอื ยกเลิกใบประกอบ-วิชาชพี ได้
2. ความสาคญั ของคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมประกอบด้วยอะไรบา้ ง
ตอบ 1. ก่อให้เกิดความมงุ่ มัน่ ในการทางานของพนกั งานในองคก์ ร

2. ก่อให้เกิดความม่ันใจในคุณภาพของสนิ คา้ หรอื บริการจากลกู ค้าหรือผบู้ ริโภค
3. กอ่ ใหเ้ กิดภาพพจน์ทดี่ ตี อ่ องคก์ ร ซ่งึ องคก์ รท่มี ีคุณธรรมจริยธรรมนน้ั จะมภี าพพจนท์ ี่
ดีและเกิดความน่าเช่ือถือจากผ้บู ริโภค ตลอดจนผู้รว่ มลงทุนหรือนักลงทนุ เกดิ ความมนั่ ใจทจ่ี ะร่วมลงทนุ
4. กอ่ ให้เกดิ ความเปน็ ธรรมในการแขง่ ขัน
5. กอ่ ใหเ้ กิดความสงบสุขของสงั คม
6. ก่อให้เกดิ ความเจรญิ ของประเทศชาติในทุก ๆ ด้าน
3. องคป์ ระกอบของคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ 1 ดา้ นความรู้ (Moral Reasoning) คอื ความเขา้ ใจในเหตผุ ลของความถูกต้องดงี าม สามารถตดั สินแยก
ความถกู ตอ้ งออกจากความไม่ถกู ตอ้ งไดด้ ้วยการคิด
.2 ดา้ นอารมณค์ วามร้สู ึก (Moral Attitude and Belief) คอื ความพึงพอใจ ความศรัทธา
เลือ่ มใส ความนิยมยนิ ดี ที่จะรับจริยธรรมมาเปน็ แนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ัติตน
3 ดา้ นพฤตกิ รรม (Moral Conduct) คอื การกระทาหรือการแสดงออกของบุคคลใน

สถานการณต์ ่าง ๆ
4. หลกั ธรรมในการประกอบวชิ าชพี มีอะไรบา้ ง ยกตวั อยา่ งมาอยา่ งน้อย 1 หลกั ธรรม
ตอบ อิทธบิ าท 4

อทิ ธิบาท 4 หมายถงึ ฐานหรือหนทางสู่ความสาเร็จ หรอื คณุ เครอื่ งใหถ้ งึ ความสาเรจ็ คุณ
เคร่อื งสาเรจ็ สมประสงค์ ทางแห่งความสาเรจ็ หรือเป็นธรรมสาหรับความสาเรจ็ มี 4 ประการ ดงั นี้

1. ฉนั ทะ ความพอใจ หมายถงึ ความรักในงาน พอใจกับงานที่ทาอยู่ ผู้บรหิ ารจะตอ้ ง
ชอบหรือศรัทธางานท่ที าอยู่ จะต้องพอใจที่จะทาและมคี วามสุขท่ไี ดท้ างานนั้น

2. วิรยิ ะ ความพากเพียร หมายถงึ ขยนั หม่ันเพยี รกับงาน ผ้บู รหิ ารจะตอ้ งมีความ
ขยนั หม่นั เพียรในการทางาน รวมทงั้ หม่นั ฝึกฝนตนเองอยา่ งต่อเนื่อง เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์สูงสดุ แก่ตนเองและ
องคก์ ร

3. จติ ตะ ความเอาใจใส่ หมายถึง ความเอาใจรับผิดชอบงาน ผ้บู ริหารจะต้องมีจติ ใจ
หรอื สมาธิจดจ่อกบั งานที่ทา รวมถึงมีความรอบคอบและความรับผิดชอบในงานท่ีทาอย่างเตม็ สติกาลัง ถ้างาน
ท่ที ามขี ้อบกพรอ่ ง หาวธิ แี ก้ไขหรอื ปรับปรุงให้ดที ่สี ดุ ตลอดจนใส่ใจเรยี นรู้ หาขอ้ มลู ในการพัฒนางานอยู่
ตลอดเวลาเพื่อให้งานมีประสิทธภิ าพมากข้นึ

4. วมิ ังสา ความสอดส่องในเหตแุ ละผล หมายถึง การพนิ จิ พเิ คราะหแ์ ละใชป้ ัญญา
ตรวจสอบงาน ผู้บรหิ ารจะตอ้ งทางานดว้ ยสตปิ ญั ญา ด้วยสมองคดิ พนิ ิจพจิ ารณา รวมถงึ การมคี วามเข้าใจใน
งานอย่างลกึ ซึ้งท้ังในแง่ข้นั ตอนและผลสาเร็จหรือผลสัมฤทธ์ขิ องงาน
5. จุดม่งุ หมายของการกาหนดจรรยาบรรณวิชาชพี ได้แกอ่ ะไรบา้ ง
ตอบ จดุ มงุ่ หมายของการกาหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ

1. ให้ท่ีอยใู่ นวิชาชีพนั้นมปี ระสิทธภิ าพในการทางาน
2. ก่อใหเ้ กิดความเปน็ ธรรมในการใหบ้ ริการ
3. รักษาช่ือเสยี ง เกียรติ ศักด์ิศรขี องผอู้ ยใู่ นวงการวชิ าชพี น้ัน ๆ
4. การกาหนดจรรยาบรรณเป็นลายลกั ษณ์อักษร จะช่วยให้ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ตระหนกั
ในความสาคญั ของวชิ าชพี ตน และให้ผู้รับบริการรับรแู้ ละเข้าใจ
6. องคป์ ระกอบของจรรยาบรรณวิชาชีพมอี ะไรบา้ ง
ตอบ องค์ประกอบของจรรยาบรรณวชิ าชีพ มีดงั น้ี
1. เป็นอาชพี ที่ต้องผ่านการศกึ ษาเล่าเรยี นระดับสูง
2. มีการคดั เลือกสรรหาบุคคลเขา้ มาในวงการวิชาชีพน้ัน
3. มจี รรยาบรรณหรอื จรยิ ธรรมของผ้ทู อ่ี ย่ใู นวงการของวิชาชีพนั้น
4. มสี มาคมวิชาชีพท่ีคอยควบคุมกากบั ดแู ล

7. หลกั การสาคัญของจรรยาบรรณวชิ าชพี ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ 1. ความรกั ความศรัทธาในอาชพี

2. ความซ่อื สัตยส์ ุจริต
3. การใหค้ วามเคารพต่อกฎระเบียบขอ้ บังคบั หรอื จรรยาบรรณในอาชพี
4. ยกย่องใหเ้ กยี รตผิ รู้ ว่ มวชิ าชพี และ
5. การรวมกลมุ่ เพอ่ื สรา้ งความมั่นคงในวิชาชีพ
8. การปฏบิ ัติตนใหอ้ ยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพ นักเรยี นต้องมีหลกั ปฏิบตั อิ ยา่ งไรบา้ ง
ตอบ การปฏบิ ตั ิตนให้อยู่ในจรรยาบรรณวชิ าชีพ มดี ังน้ี

1. ความซือ่ สัตย์
2. ความเป็นกลาง
3. ความเปน็ อสิ ระ
4. การรักษาความลับ
5. มาตรฐานวชิ าการและวชิ าชีพ
6. ความสามารถและความระมดั ระวงั
7. พฤติกรรมทางจรยิ ธรรม
9. องคป์ ระกอบของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจความพอเพียงมีอะไรบ้าง อธบิ ายมาพอสงั เขป
ตอบ 1. ความพอเพยี ง จะต้องประกอบด้วย 3 คุณลกั ษณะ ดงั น้ี

(1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ีไ่ มม่ าก หรอื ไมน่ อ้ ยจนเกนิ ไป โดย
ไมเ่ บยี ดเบียนตนเองและผอู้ ืน่ เชน่ การผลติ และการบริโภคทอี่ ย่ใู นระดบั พอประมาณ

(2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจท่เี กี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพยี งนัน้
จะต้องเปน็ ไปอย่างมเี หตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จัยท่ีเก่ียวข้อง คานึงถงึ ผลจะเกดิ ข้ึนจากการกระทาน้ัน ๆ
อยา่ งรอบคอบ

(3) การมภี ูมคิ ุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวเพือ่ ใหพ้ รอ้ มสาหรบั
เปล่ียนแปลงและรบั ผลกระทบด้านตา่ ง ๆ ทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึน โดยตอ้ งคานึงถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ตา่ ง
ๆ ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตท้ังใกล้และไกล

2. เงอ่ื นไขการตดั สนิ ใจและการดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพยี งนนั้ ตอ้ ง
อาศัยท้งั ความรแู้ ละคุณธรรมเป็นพน้ื ฐานกลา่ ว คือ

(1) เง่อื นไขความรู้ ประกอบด้วยความรอบรูเ้ ก่ียวกบั วชิ าการตา่ ง ๆ ที่อาจ
เกยี่ วขอ้ งอย่างรอบด้านและมคี วามรอบคอบในการนาความรเู้ หล่าน้ันมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกนั
เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในขน้ั ปฏิบตั ิ

(2) เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ทจี่ ะต้องเสรมิ สร้างประกอบด้วย มคี วามตระหนักใน
คณุ ธรรม มคี วามซอื่ สัตย์สจุ ริต มคี วามอดทน มคี วามเพยี ร และใช้สติปญั ญาในการดาเนินชีวิต

กจิ กรรมเสริมทกั ษะหนว่ ยท่ี 4 เรือ่ ง คุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี
และการพัฒนาวิชาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กจิ กรรมที่ 4.1 จรรยาบรรณของวิชาชีพตา่ ง ๆ

วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนไดร้ ู้และทราบถงึ จรรยาบรรณในวชิ าชีพต่าง ๆ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการ
ปฏบิ ัตติ นตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพนนั้ ๆ เม่อื นักเรยี นได้ประกอบวชิ าชพี นน้ั ในอนาคต

วิธีการ
1. ใหน้ ักเรยี นจดั กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน
2. แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุม่ เพือ่ จับสลากหวั ข้อที่ไดร้ ับมอบหมาย ดังน้ี
2.1 จรรยาบรรณวชิ าชพี แพทย์
2.2 จรรยาบรรณวชิ าชพี พยาบาล
2.3 จรรยาบรรณวิชาชีพนักพัฒนาซอฟต์แวรห์ รือนกั คอมพวิ เตอร์
2.4 จรรยาบรรณวิชาชีพทนายความ
2.5 จรรยาบรรณวชิ าชีพนกั ตรวจสอบภายใน
2.6 จรรยาบรรณวิชาชพี ครู
2.7 จรรยาบรรณวิชาชีพข้าราชการ
2.8 จรรยาบรรณวชิ าชีพวิศวกร
2.9 จรรยาบรรณวชิ าชีพสถาปนกิ
2.10 จรรยาบรรณวิชาชีพนกั บญั ชี

2.11 จรรยาบรรณวิชาชพี เภสชั กรรม
2.12 จรรยาบรรณวชิ าชีพตารวจ
3. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ศึกษาคน้ ควา้ ตามหัวขอ้ ท่ีได้รบั มอบหมายเรียบร้อยแลว้ นาเสนอหนา้ ช้นั
เรยี น เพ่อื ให้ครแู ละนักเรียนร่วมพิจารณาและแสดงความคดิ เหน็ รว่ มกนั
การประเมินผล ประเมินผลงานกลมุ่ โดยครู ใช้เกณฑ์การประเมินดังนี้

ลาดับ รายการประเมิน ดมี าก เกณฑ์การประเมนิ พอใช้ ปรับปรุง
ท่ี (9–10 (3–4 (1–2
คะแนน) ดี ปานกลาง คะแนน) คะแนน)
(7– (5–6
8 คะแนน) คะแนน)

1 ความร่วมมอื ในการ
2 ทางานกลุม่
3 การนาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
4 การแสดงความคิดเหน็
5 สาระความรูแ้ ละ

คณุ ประโยชน์
ความสวยงาม
รวมคะแนน

เกณฑก์ ารประเมิน 41–50 คะแนน = ดีมาก

31–40 คะแนน = ดี

21–30 คะแนน = ปานกลาง

11–20 คะแนน = พอใช้

ต่ากวา่ และเท่ากบั 10 คะแนน = ควรปรบั ปรงุ

กจิ กรรมเสริมทักษะหนว่ ยท่ี 4 เรือ่ ง คณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวชิ าชพี
และการพัฒนาวิชาชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมท่ี 4.2 การพฒั นาวชิ าชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
วัตถุประสงค์ เพอื่ ให้นักเรียนได้ทราบการพฒั นาวิชาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรม/วิธีการ ใหน้ กั เรียนเขียนอธบิ ายการพัฒนาวชิ าชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็น

ผังความคิด (Mind Mapping)

การประเมินผล โดยครใู ช้เกณฑ์การประเมิน ดงั น้ี

รายการประเมนิ ดีมาก ดี ปานกลาง ปรับปรงุ

1. เน้ือหาถกู ตอ้ งครบถว้ นสมบรู ณ์

2. มคี วามรูค้ วามเข้าใจในกจิ กรรม

3. สามารถนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้

4. การส่งงานตรงต่อเวลาทกี่ าหนด

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยท่ี 4 เรอื่ ง คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ

และการพัฒนาวชิ าชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คาส่งั ให้นกั เรียนทาเคร่ืองหมายกากบาท ( ) ข้อที่ถูกต้องทสี่ ดุ เพยี งขอ้ เดียว
1. “จริยะ” หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. การเป็นคนดี ข. คณุ ความดี
ค. หลักความถกู ตอ้ ง ง. กริ ิยาท่ีควรประพฤติ
2. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้อง
ก. การฝึกอบรมเปน็ วธิ หี นึ่งทีจ่ ะสร้างเสริมจริยธรรมในตัวบุคคลได้

ข. จรยิ ธรรมของผู้ประกอบอาชีพมใิ ชก่ ฎหมาย
ค. จริยธรรมนอกจากจะสรา้ งความเจริญกา้ วหน้าในอาชพี แล้วยงั สรา้ งความเจรญิ ให้แก่
สงั คมด้วย
ง. อาชีพทมี่ คี ่าตอบแทนตา่ ผู้ประกอบอาชพี ไมต่ อ้ งมจี ริยธรรมมาก
3. คุณธรรมคอื ข้อใด
ก. มีพฤตกิ รรมท่ดี เี ปน็ ทยี่ อมรับของสังคม ข. มคี ณุ งามความดี
ค. มคี วามเสยี สละมีความยุติธรรม ง. ถกู ทุกขอ้
4. ความสัมพนั ธข์ องคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมหมายถงึ ข้อใด
ก. เป็นเรือ่ งท่ีเกี่ยวข้องกนั ข. เปน็ เรื่องเดียวกนั
ค. เป็นเรอ่ื งทอ่ี ยูใ่ นจติ ใจของบุคคล ง. เปน็ เรื่องการกระทาของบคุ คล
5. “ความเข้าใจในเหตุผลของความถกู ตอ้ งดงี าม สามารถตดั สินแยกความถกู ต้องออกจากความไม่
ถูกต้อง ไดด้ ้วยการคดิ ” คอื องค์ประกอบขอ้ ใดของคุณธรรมจริยธรรม
ก. ด้านอารมณ์ความรู้สกึ ข. ดา้ นความรู้
ค. ดา้ นจติ สานัก ง. ด้านพฤตกิ รรม
6. สงั คหวตั ถุ 4 คอื คุณธรรมในข้อใด
ก. เป็นเครอ่ื งทาใหป้ ระสบความสาเร็จ ข. เป็นเคร่อื งยึดเหน่ียวใจคน
ค. เป็นคณุ ธรรมของผ้เู ปน็ ผู้ใหญ่ ง. เปน็ คุณธรรมของผ้คู รองเรือน
7. คุณธรรมที่ทาใหป้ ระสบความสาเรจ็ หมายถึงข้อใด
ก. สงั คหวตั ถุ 4 ข. พรหมวหิ าร 4
ค. อทิ ธิบาท 4 ง. ธรรมของฆราวาส 4

8. “ความประพฤติทผ่ี ปู้ ระกอบวิชาชีพต่าง ๆ ถือปฏิบตั ิ โดยบญั ญัติไวเ้ ปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร” หมายถึง
ข้อใด

ก. สัตยาบรรณ ข. จรรยาบรรณ
ค. จรรยาบรรณวิชาชีพ ง. มาตรฐานวิชาชีพ
9. จรรยาบรรณวชิ าชพี หมายถึงข้อใด
ก. จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บริการ ข. จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง
ค. จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวชิ าชพี ง. ถูกทุกข้อ
10. จรรยาบรรณข้อใดที่ตัวแทนประกันชีวติ ควรปฏบิ ัติมากทส่ี ุดในการขายประกนั ชวี ติ
ก. ชว่ ยเหลือผเู้ อาประกันภยั ใหไ้ ดท้ าประกนั ชวี ิต
ข. ลดเบีย้ ประกันภยั เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผู้เอาประกนั ภยั ให้จา่ ยเบ้ยี ประกันภยั น้อยลง
ค. ให้บรกิ ารที่ดอี ย่างสม่าเสมอและช้ีแจงให้ผูเ้ อาประกันภัยทราบถึงสิทธแิ ละหน้าทเี่ พ่อื
รกั ษา ผลประโยชน์ ของผู้เอาประกนั ภยั
ง. แนะนาให้ผเู้ อาประกันภัยทาประกันภยั โดยมจี านวนเงนิ เอาประกันชวี ติ ที่สงู มาก
เพ่อื จะได้

ผลประโยชนส์ งู
11. ขอ้ ใดกล่าวผดิ

ก. มกี ารคัดเลอื กสรรหาบคุ คลเข้ามาในวงการวิชาชพี นนั้
ข. จรรยาบรรณวชิ าชีพจะเปน็ อาชพี ที่ต้องผา่ นการศึกษาระดับสูง
ค. มีจรรยาบรรณหรือจรยิ ธรรมของผู้ทอี่ ยู่ในวงการของวชิ าชพี นั้น

ง. จรรยาบรรณวิชาชพี ไม่ต้องมีสมาคมวิชาชพี ควบคุมกากบั ดแู ลกไ็ ด้
12. จดุ มงุ่ หมายของการกาหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ ข้อใดไม่ถูกต้อง

ก. ก่อให้เกิดความเป็นธรรมในการให้บริการ
ข. เพือ่ ให้ผู้ท่ีอยู่ในวิชาชพี นนั้ มีประสิทธภิ าพในการทางาน
ค. การกาหนดจรรยาบรรณไมจ่ าเปน็ ตอ้ งเป็นลายลักษณ์อกั ษร
ง. รักษาช่ือเสียง เกยี รติ ศักดิ์ศรีของผ้อู ยู่ในวงการวิชาชีพน้ัน ๆ
13. การนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการพฒั นาวชิ าชพี นักเรียนควรรู้ในข้อใดเปน็ ลาดับ
แรก
ก. รู้คน ข. รตู้ น
ค. รอู้ งคก์ ร ง. รงู้ าน
14. การพัฒนาวชิ าชพี ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งตรงกับขอ้ ใด
ก. การพฒั นาอยา่ งเหมาะสม ข. การพฒั นาอย่างคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป
ค. การพัฒนาอย่างรวดเร็ว ง. การพัฒนาบนทางสายกลาง

15. “แดนมีการเตรียมตวั ให้พร้อมเพือ่ รบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงทัง้ ภายนอกภายในโดยตัง้ อยู่บน
ความไม่ประมาท” แดนมีการประยุกตห์ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพฒั นาวิชาชพี

ขอ้ ใด
ก. ความมเี หตุผล ข. ความพอประมาณ
ค. มีความรู้และคณุ ธรรม ง. มีภูมิคุ้มกันท่ีดี

แบบทดสอบหลังเรยี น

หน่วยท่ี 4 เร่ือง คุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวชิ าชีพ

และการพฒั นาวชิ าชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

คาส่งั ให้นกั เรียนทาเคร่อื งหมายกากบาท ( ) ขอ้ ท่ถี ูกต้องทีส่ ดุ เพยี งขอ้ เดียว

1. “จริยะ” หมายถึงข้อใด

ก. คุณความดี ข. การเป็นคนดี

ค. กริ ยิ าที่ควรประพฤติ ง. หลกั ความถกู ต้อง

2. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ ง

ก. จริยธรรมของผู้ประกอบอาชพี มใิ ชก่ ฎหมาย

ข. การฝกึ อบรมเปน็ วธิ หี น่ึงทจ่ี ะสร้างเสริมจริยธรรมในตวั บคุ คลได้

ค. อาชพี ท่ีมีค่าตอบแทนตา่ ผู้ประกอบอาชพี ไมต่ ้องมีจริยธรรมมาก

ง. จริยธรรมนอกจากจะสร้างความเจรญิ ก้าวหนา้ ในอาชพี แลว้ ยงั สร้างความ

เจริญใหแ้ ก่สงั คมดว้ ย

3. คุณธรรมคือข้อใด

ก. มคี ุณงามความดี ข. มีพฤติกรรมท่ีดีเปน็ ทีย่ อมรับ

ของสังคม

ค. มีความเสยี สละมคี วามยุตธิ รรม ง. ถกู ทุกขอ้

4. ความสัมพนั ธ์ของคุณธรรมและจริยธรรมหมายถงึ ข้อใด

ก. เป็นเร่อื งเดยี วกนั ข. เป็นเรื่องที่เก่ียวข้อง

กนั

ค. เปน็ เรอ่ื งการกระทาของบุคคล ง. เปน็ เรอ่ื งที่อยู่ในจิตใจของ

บคุ คล

5. “ความเข้าใจในเหตุผลของความถกู ต้องดีงาม สามารถตดั สนิ แยกความถกู ตอ้ งออกจากความไม่

ถกู ต้อง ไดด้ ้วยการคิด” คือองคป์ ระกอบข้อใดของคุณธรรมจรยิ ธรรม

ก. ดา้ นความรู้ ข. ดา้ นอารมณ์

ความรู้สกึ

ค. ด้านพฤติกรรม ง. ดา้ นจิตสานัก

6. สงั คหวตั ถุ 4 คือ คุณธรรมในขอ้ ใด

ก. เป็นเครื่องยดึ เหน่ียวใจคน ข. เปน็ เคร่ืองทาใหป้ ระสบความสาเร็จ

ค. เปน็ คณุ ธรรมของผูค้ รองเรอื น ง. เปน็ คณุ ธรรมของผู้เป็นผู้ใหญ่

7. คุณธรรมที่ทาให้ประสบความสาเรจ็ หมายถึงข้อใด

ก. พรหมวหิ าร 4 ข. สังคหวัตถุ 4

ค. ธรรมของฆราวาส 4 ง. อทิ ธิบาท 4

8. “ความประพฤติที่ผูป้ ระกอบวชิ าชีพต่าง ๆ ถือปฏิบตั ิ โดยบญั ญตั ไิ ว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรหมายถงึ ข้อ

ใด

ก. จรรยาบรรณ ข. สัตยาบรรณ

ค. มาตรฐานวิชาชพี ง. จรรยาบรรณวิชาชพี ครู

9. จรรยาบรรณวชิ าชีพ หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง ข. จรรยาบรรณต่อผรู้ ับบริการ

ค. จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวชิ าชพี ง. ถูกทกุ ขอ้

10. จรรยาบรรณข้อใดท่ีตัวแทนประกันชีวติ ควรปฏบิ ัติมากท่ีสุดในการขายประกันชีวติ

ก. ลดเบ้ยี ประกันภยั เพ่อื ชว่ ยเหลอื ผู้เอาประกนั ภยั ใหจ้ า่ ยเบีย้ ประกนั ภัย

น้อยลง

ข. ชว่ ยเหลอื ผเู้ อาประกันภยั ให้ไดท้ าประกันชีวิต

ค. แนะนาใหผ้ ้เู อาประกนั ภัยทาประกันภัย โดยมจี านวนเงนิ เอาประกนั ชวี ติ ที่

สูงมากเพ่ือจะได้

ผลประโยชน์สูง

ง. ใหบ้ ริการท่ีดอี ย่างสม่าเสมอและชแี้ จงให้ผู้เอาประกันภยั ทราบถึงสทิ ธิและ

หนา้ ทเ่ี พื่อรักษา

ผลประโยชนข์ องผูเ้ อาประกันภยั

11. ข้อใดกลา่ วผิด

ก. จรรยาบรรณวิชาชีพจะเปน็ อาชพี ทต่ี อ้ งผา่ นการศึกษาระดบั สูง

ข. มกี ารคดั เลอื กสรรหาบุคคลเขา้ มาในวงการวชิ าชพี นน้ั

ค. จรรยาบรรณวชิ าชีพไม่ต้องมสี มาคมวิชาชีพควบคุมกากบั ดแู ลก็ได้

ง. มจี รรยาบรรณหรอื จรยิ ธรรมของผูท้ ีอ่ ย่ใู นวงการของวิชาชีพน้ัน

12. จุดมุ่งหมายของการกาหนดจรรยาบรรณวชิ าชพี ข้อใดไมถ่ กู ต้อง

ก. เพ่ือให้ผทู้ อี่ ยู่ในวิชาชพี นั้นมปี ระสิทธิภาพในการทางาน

ข. กอ่ ให้เกิดความเปน็ ธรรมในการใหบ้ ริการ

ค. รักษาชือ่ เสยี ง เกยี รติ ศกั ด์ศิ รขี องผอู้ ยู่ในวงการวชิ าชีพนั้น ๆ

ง. การกาหนดจรรยาบรรณไม่จาเปน็ ตอ้ งเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร

13. การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการพฒั นาวิชาชพี นักเรยี นควรร้ใู นขอ้ ใดเป็นลาดับแรก

ก. รตู้ น ข. ร้คู น

ค. ร้งู าน ง. รู้องค์กร

14. การพฒั นาวชิ าชีพตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียงตรงกับขอ้ ใด

ก. การพฒั นาอยา่ งคอ่ ยเปน็ ค่อยไป ข. การพฒั นาอยา่ งเหมาะสม

ค. การพัฒนาบนทางสายกลาง ง. การพัฒนาอยา่ งรวดเร็ว

15. “แดนมีการเตรียมตวั ใหพ้ รอ้ มเพ่อื รับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงท้งั ภายนอกภายในโดยตงั้ อยบู่ น

ความไมป่ ระมาท” แดนมีการประยกุ ต์หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการพัฒนา

วิชาชพี ข้อใด

ก. ความพอประมาณ ข. ความมีเหตุผล

ค. มีภูมิคมุ้ กันท่ีดี ง. มีความรูแ้ ละคณุ ธรรม

การประเมินการใชแ้ ผนการสอน

รายการประเมนิ ระดับความเหมาะสม ขอ้ เสนอแนะ
4321

1. เวลาทใ่ี ช้สอน

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

3. สาระการเรยี นรู้

4. กระบวนการเรยี นรู้

5. การใชส้ อ่ื การเรียนการสอน

6. การวดั ผลประเมนิ ผล

7. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรู้

8. การประเมนิ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

9. ความสนใจของนักเรียน

10. ความพอใจของผู้สอน

รวม

ความคิดเหน็ ครูผ้สู อน
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………

ลงชอ่ื .........................................................
(................................................)
………/……………/….….

ความคิดเห็นหัวหน้าแผนกวิชา
…………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................................
(..............................................)
………/……………/….….

ความคดิ เหน็ รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ
………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

ลงชอ่ื .........................................................
(............................................)
………/……………/….….

แผนการสอน หน่วยที่ 5
ช่ือวิชา ความร้เู กี่ยวกับงานอาชีพ สอนครัง้ ท่ี 9-10-11
ช่ือหนว่ ย ความรู้เกยี่ วกับมาตรฐานอาชีพ ชัว่ โมงรวม 6
ชื่อเรื่องหรือชอื่ หน่วย ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน จานวนชั่วโมง 6
อาชีพ

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและความสาคญั ของมาตรฐานอาชีพ
2. แนวคดิ ในการเปน็ วชิ าชพี
3. คุณวฒุ ิวชิ าชพี
4. การจดั แยกประเภทมาตรฐานอาชีพ
5. มาตรฐานฝีมือแรงงาน
6. มาตรฐานอาชีพของแต่ละสาขาอาชีพ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความหมายและความสาคญั ของมาตรฐานอาชพี ได้
2. อธิบายแนวคดิ ในการเปน็ วิชาชีพ
3. บอกกรอบของคณุ วฒุ วิ ิชาชพี ได้
4. บอกการจดั แยกประเภทมาตรฐานอาชพี ได้
5. บอกมาตรฐานฝมี ือแรงงาน (Skill Standard) ได้
6. บอกมาตรฐานอาชีพของแต่ละสาขาอาชพี ได้

สาระสาคญั
“คน” ไมไ่ ด้เปน็ แคห่ น่งึ ในปจั จัยการผลิตเพื่อให้ไดม้ าซงึ่ “งาน” เทา่ นนั้ แตค่ นเปน็ ทรพั ยากรทส่ี าคญั

และมีคา่ ขององค์กรทจ่ี ะต้องพถิ ีพิถันทุกขนั้ ตอนในการสรรหา พัฒนา และรักษาไว้ เพือ่ ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์
สูงสดุ ซงึ่ จะตอ้ งมกี ระบวนการที่จะต้องสรา้ งระบบมาตรฐานวิชาชพี ของบคุ คล เพื่อเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็
ให้แก่ผ้ทู ่ีปฏิบตั ิงานให้มีความรแู้ ละทักษะใหเ้ ป็น “มอื อาชีพ” ท่ีจะขับเคล่อื นงานให้เปน็ ไปตามแผนยุทธศาสตร์
ของหนว่ ยงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขัน้ ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรยี น

ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรียน

1. ครยู กตวั อยา่ งมาตรฐานวิชาชีพของแต่ละอาชีพ 1. ตอบคาถาม

2. ครแู นะนาเนอ้ื หา และแจง้ ผลการเรยี นท่ี 2. ร่วมแสดงความคิดเห็นเพ่อื วิเคราะห์

คาดหวังของหนว่ ยท่ี 5 เรือ่ ง ความรเู้ ก่ียวกับมาตรฐาน สถานการณ์ท่ีครยู กตัวอย่าง

อาชพี

3. โดยนาประเดน็ คาถามใหน้ ักเรียนร่วมแสดง

ความคดิ เหน็ จากตวั อย่างมาตรฐานวิชาชีพของแต่ละ

อาชีพ

ขั้นดาเนนิ การสอน 1. ศกึ ษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบ
1. บรรยายเนอ้ื หาหนว่ ยท่ี 5 เรอ่ื ง ความรู้ การเรยี น
2. ส่งงานเพอ่ื ตรวจตามกาหนด
เก่ียวกับมาตรฐานอาชพี 3. มีพัฒนาการแตง่ กายเรยี บรอ้ ยถกู ต้องตาม
2. ครสู อนเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม เพอ่ื ระเบียบของสานศกึ ษา และคุณธรรมดา้ นอ่นื ๆ
เช่น ความมีวนิ ัย ความรับผิดชอบ ความซอ่ื สตั ย์
เสรมิ สร้างคุณลักษณะดา้ นความมีระเบยี บวนิ ัย สุจริต และความตรงตอ่ เวลา เปน็
3. ใหท้ าแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 5 เรอื่ ง ความรู้ ต้น

เกยี่ วกบั มาตรฐานอาชพี 1. ร่วมสรปุ เนือ้ หาโดยตอบข้อซักถามตาม
หวั ขอ้ ทค่ี รูกาหนด
ขนั้ สรปุ การเรยี นการสอน
1. สรปุ สาระสาคญั โดยการซักถามนกั เรียน 2. นาเสนอผลงานจากกิจกรรมเสรมิ ทักษะที่
2. มอบหมายงานเพอ่ื จดั ทากิจกรรมกลมุ่ จาก 5 ท่ีครมู อบหมาย

กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะการจดั ประสบการณเ์ รยี นรู้ท่ี 5 3. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วย
3. ประเมนิ การเรยี นรู้หลังเรียน หนว่ ย ท่ี 5 เรอ่ื ง ความร้เู กีย่ วกบั มาตรฐานอาชีพ

ที่ 5 เรื่อง ความรู้เกย่ี วกับมาตรฐานอาชพี

งานทีม่ อบหมายหรอื กจิ กรร
ก่อนเรยี น

1. ครยู กตวั อย่างมาตรฐานวชิ าชีพของแต่ละอาชีพ
2. ครแู นะนาเนอ้ื หา และแจ้งผลการเรยี นท่ีคาดหวงั ของหน่วยที่ 5 เร่อื ง ความรู้เกีย่ วกบั มาตรฐาน
อาชพี
3. โดยนาประเดน็ คาถามใหน้ กั เรียนร่วมแสดงความคดิ เห็นจากตวั อยา่ งมาตรฐานวิชาชีพของแตล่ ะ
อาชพี
ขณะเรียน

1. บรรยายเน้ือหาหน่วยท่ี 5 เรอื่ ง ความรเู้ ก่ยี วกบั มาตรฐานอาชพี
2. ครูสอนเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม เพื่อเสริมสร้างคุณลกั ษณะดา้ นความมีระเบียบวนิ ัย
3. ให้ทาแบบฝกึ หัด หนว่ ยที่ 5 เรื่อง ความรูเ้ ก่ียวกับมาตรฐานอาชพี
ส่อื การเรยี นการสอน และนวัตกรรม
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า ความรเู้ กย่ี วกับงานอาชพี (2001-1001)
2. สอื่ นาเสนอ Power Point เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครอ่ื งฉายภาพโปรเจคเตอร์
3. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ก่อนและหลงั เรยี น
4. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 เรื่อง ความร้เู กี่ยวกับมาตรฐานอาชพี
5. กิจกรรมเสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 5 เร่ือง ความรู้เก่ียวกบั มาตรฐานอาชพี
การประเมินผล
ก่อนเรียน 1. การประเมนิ พฤติกรรมจิตพิสยั ฯ รายบุคคล และการเช็คการเข้าเรียนของนกั ศึกษาลง
ในสมุดบันทกึ เวลาเรยี นและประเมินผลการเรยี น

2. การประเมนิ ผลก่อนเรยี น เกณฑ์ผา่ น 50% ขึ้นไป
ขณะเรยี น 1. การสังเกตและประเมินดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค์

2. การประเมนิ ผลจากการตรวจแบบฝึกหัด หนว่ ยที่ 5 เรื่อง ความรู้เก่ยี วกบั มาตรฐาน
อาชีพ

หลงั เรียน 1. ประเมินผลการเรียนรหู้ ลงั เรยี น เกณฑ์ผ่าน 50% ข้นึ ไป
บนั ทึกหลังการสอน

ผลการใชแ้ ผนการสอน นกั เรยี นมีความเข้าใจ หนว่ ยท่ี 5 เร่อื ง ความรูเ้ ก่ียวกบั มาตรฐาน
อาชพี จากการนาเขา้ สู่บทเรียนของครูผู้สอนโดยการสอบถามจากผู้เรยี นหรือจากการประเมินผลการเรียนรู้

ผลการเรยี นของนกั เรียน นักเรยี นมคี วามเข้าใจการจัดประสบการณเ์ รียนร้ขู องครผู สู้ อน
ผลการสอนของครู ประสทิ ธภิ าพในการสอนของครูได้ผลดี โดยวดั จากการ
ซักถาม สาระสาคัญโดยสรปุ และนกั เรยี นส่วนใหญ่ตอบคาถามได้ และการประเมินผลการเรยี นรู้

แบบแบบฝกึ หดั
หนว่ ยที่ 5 เรือ่ ง ความรู้เกีย่ วกับมาตรฐานอาชีพ
คาสัง่ จงตอบคาถามต่อไปน้ใี หส้ มบูรณ์
1. คาต่อไปน้ีมีความหมายว่าอย่างไร
1.1 วชิ าชพี หมายถงึ ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการทางานของบคุ คลซึง่ ต้องอาศยั
ความเชย่ี วชาญและความชานาญเฉพาะด้าน ท้ังน้ี ไมห่ มายความรวมถึงวชิ าชีพขององคก์ รวิชาชีพท่มี กี ฎหมาย
จัดตง้ั ขน้ึ เปน็ การเฉพาะ
1.2 คุณวฒุ ิวชิ าชีพ หมายถึง การรบั รองความรู้ ความสามารถ และทักษะของบุคคลในการทางาน
ตามมาตรฐานอาชพี
1.3 มาตรฐานอาชีพ หมายถงึ การกาหนดระดับสมรรถนะของบคุ คลในการประกอบอาชพี ตาม
พระราชกฤษฎีกาจัดตง้ั สถาบันคุณวุฒิวชิ าชีพ
1.4 มาตรฐานสมรรถนะ หมายถงึ การใชค้ วามรู้ ทักษะ และความสามารถมาประยกุ ต์ใช้เพ่อื การ
ประกอบ
1.5 แรงงานมีฝมี ือ หมายถึง ผ้มู ฝี ีมือและความสามารถทีจ่ ะทางานชนิ้ หนง่ึ หรอื หลายชน้ิ ที่ต้อง
อาศยั ความชานาญโดยมีเครอื่ งมอื เครอื่ งจักรช่วยหรอื ไมก่ ็ได้ ผลงานจะตอ้ งเปน็ ไปตามข้อกาหนดที่ระบไุ ว้ ท่ี
คุณภาพตามมาตรฐานทย่ี อมรับได้ ภายในเวลาทก่ี าหนด
1.6 มาตรฐานฝมี ือแรงงาน หมายถงึ ขอ้ กาหนดทางวิชาการที่ใชเ้ ปน็ เกณฑว์ ัดระดบั ความรู้
ความสามารถ และทัศนคติ ในการทางานของผปู้ ระกอบอาชพี ในสาขาต่าง ๆ ทีก่ าหนดข้นึ โดยการรวมกันของ
ผ้มู สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี โดยมกี รมพฒั นาฝมี อื แรงงานเป็นผดู้ าเนินการนาฝา่ ยตา่ ง ๆ ท่มี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง
1.7 มาตรฐานอาชพี หมายถึง การกาหนดมาตรฐานของสมรรถนะรวมทัง้ ความรู้และความเขา้ ใจ
ทคี่ าดหวังวา่ บุคคลจะบรรลสุ าหรับอาชพี หนึ่ง โดยใช้เปน็ ฐานในการกาหนดและประเมนิ เพือ่ ใหไ้ ดค้ ุณวฒุ ิ
วิชาชพี (Vocational Qualifications - VQ) มาตรฐานอาชพี ทาโดยกลุม่ อาชีพเฉพาะนั้น ๆ หรอื เรียกวา่
“มาตรฐานสมรรถนะ”
2. แนวคดิ ในการประกอบวชิ าชีพประด้วยอะไรบ้าง
ตอบ แนวคดิ ในการเป็นวชิ าชพี (Professional) ประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบ คือ
1. ความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะ (Competency)
2. ระดบั ของการรับรองมาตรฐานวิชาชพี แบง่ เป็น 3 ระดบั คือ ระดบั ผ้ปู ฏิบัติงาน
(Practitioner) ระดบั วชิ าชพี (Professional) 3. ระดบั วชิ าชีพอาวุโส (Senior Professional)
3. การทดสอบมาตรฐานวชิ าชีพ (ความรู้ ทักษะ และพฤติกรรม)
4. มอี งค์กรวชิ าชีพที่มอี านาจกาหนดการเข้ามาประกอบอาชพี ของบุคคล
5. มจี รรยาบรรณวชิ าชพี
3. กรอบคณุ วฒุ วิ ิชาชพี มกี ี่ระดับ ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ กรอบคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี มี 7 ระดับ ประกอบดว้ ย

1. ระดับ 1 ผมู้ ที ักษะเบ้ืองต้น (Basic Skilled Personnel/Worker)

2. ระดับ 2 ผ้มู ีทกั ษะฝมี อื (Semi – Skilled Personnel/Worker)

3. ระดบั 3 ผูม้ ีทักษะเฉพาะทาง (Skilled Personnel/Worker)

4. ระดับ 4 ผชู้ านาญในอาชีพ (Supervisors, Foremen, Superintendents

Academically Qualified Worker, Junior Management)

5. ระดบั 5 ผูเ้ ช่ียวชาญในอาชีพ (Professionally Qualified Worker, and MID–

Management) 6. ระดับ 6 ผเู้ ชี่ยวชาญพิเศษในอาชพี (Experienced Specialists and

Senior Management 7. ระดับ 7 ผู้ทรงคุณวฒุ ใิ นอาชพี (Top Management, Novel &

Original)

4. วัตถุประสงคข์ องการจดั ประเภทมาตรฐานอาชพี คืออะไร

ตอบ วตั ถุประสงค์ของการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ เพือ่

1. เพื่อปรับปรงุ ข้อมูลอาชีพของประเทศไทยให้ถกู ตอ้ งและสมบรู ณ์ยิง่ ขึ้น รวมท้ังเพอ่ื ให้

สอดคลอ้ งกับการจดั ประเภทมาตรฐานอาชพี สากลท่ีไดม้ กี ารปรบั ปรงุ ใหม่

2. เพื่อให้หน่วยงานภาครฐั เอกชน และบคุ คลท่วั ไปมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกีย่ วกบั ขอ้ มูล

อาชพี และสะดวกแกก่ ารนาไปใช้ประโยชน์

3. เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธผิ ลของการจดั เก็บข้อมลู ท่เี กยี่ วข้องกับอาชพี

4. เพ่อื ใช้เป็นฐานข้อมลู อาชีพของประเทศไทย

5. การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพมกี ี่ประเภท ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง

ตอบ การจัดแยกประเภทมาตรฐานอาชพี แยกได้ 10 ประเภท ได้แก่

ประเภทท่ี 1 ผบู้ ญั ญัตกิ ฎหมาย ขา้ ราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ

ประเภทที่ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นต่าง ๆ

ประเภทท่ี 3 ช่างเทคนิคสาขาต่าง ๆ และผปู้ ระกอบวิชาชีพอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง

ประเภทท่ี 4 เสมียน เจ้าหนา้ ท่ีสานกั งาน

ประเภทท่ี 5 พนักงานบรกิ ารและพนกั งานขายในรา้ นคา้ และตลาด

ประเภทท่ี 6 ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านทมี่ ีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง

ประเภทท่ี 7 ผู้ปฏิบัติงานในธรุ กจิ ดา้ นความสามารถทางฝีมอื และธุรกิจอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

ประเภทที่ 8 ผู้ปฏิบัตกิ ารเครือ่ งจักรโรงงานและเคร่ืองจกั ร

ประเภทที่ 9 อาชพี ขน้ั พืน้ ฐานต่าง ๆ

ประเภทท่ี 10 กองกาลงั ทหารติดอาวธุ ต่าง ๆ (สามเหล่าทพั )

6. ระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานมกี ร่ี ะดับ อะไรบา้ ง

ตอบ ระดับของมาตรฐานฝมี ือแรงงาน แบ่งเปน็ 3 ระดบั ดงั นี้

ระดับท่ี 1 มคี ุณลักษณะดงั น้:ี เปน็ ผู้ท่มี ีฝีมอื และความรพู้ ้ืนฐานในการทางาน สามารถปฏบิ ัติงาน

ภายใตค้ าแนะนาของหวั หน้างาน
ระดับที 2 มคี ุณลกั ษณะดังน้:ี เป็นผู้ที่มีฝีมอื ระดับกลาง มีความรู้ความสามารถ ทกั ษะการใช้เครื่องมือ

อปุ กรณ์ไดด้ แี ละมปี ระสบการณ์ในการปฏบิ ัติงาน สามารถให้คาแนะนาผู้ใต้บงั คับบญั ชาได้
ระดับที่ 3 มีคณุ ลกั ษณะดังนี:้ เป็นผู้ทมี่ ฝี ีมือระดบั สงู สามารถวิเคราะห์ วินจิ ฉยั ตัดสินใจแก้ไขปัญหา

นาความรแู้ ละทักษะมาประยุกตใ์ ชก้ ับเทคโนโลยีใหม่ได้
7. มาตรฐานฝีมอื แรงงานมปี ระโยชนต์ ่อตนเองหรือผู้เข้ารบั การทดสอบอย่างไร
ตอบ ประโยชนส์ าหรับตนเองหรือผเู้ ข้ารับการทดสอบ

1. ได้ร้รู ะดบั ฝมี อื ของตนเอง
2. ใช้เปน็ หลกั ฐานประกอบการสมัครงาน
3. เพม่ิ โอกาสในการไดง้ านหรือการเปล่ยี นงานใหม่
4. เพิ่มโอกาสในการปรบั ตาแหนง่ หรือค่าจา้ งตามมาตรฐานฝีมอื
5. สร้างความเช่ือมั่นแก่ลกู คา้ ให้เรยี กใชบ้ รกิ าร
6. เปน็ แนวทางในการพฒั นาตนเองใหส้ ูงข้ึน

กจิ กรรมเสรมิ ทักษะหนว่ ยท่ี 5 เรือ่ ง ความรู้เกี่ยวกบั มาตรฐานอาชีพ

กจิ กรรมที่ 5 มาตรฐานอาชีพทนี่ ักเรียนกาลงั ศึกษา

วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ให้นกั เรยี นได้ทราบถงึ มาตรฐานอาชพี ทก่ี าลงั ศกึ ษาและเพื่อแนวทางในการ

ทดสอบตามมาตรฐานฝมี ือแรงงาน

วธิ ีการ ใหน้ กั เรียนคน้ คน้ ควา้ มาตรฐานอาชีพที่นักเรียนกาลังศึกษา ตามประกาศคณะกรรมการ

ส่งเสริมการพัฒนาฝมี อื แรงงาน เรอื่ ง มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ตามพระราชบญั ญตั ิ

สง่ เสรมิ การพัฒนาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2545

แหล่งอ้างองิ http://www.dsd.go.th หรือ http://www.mol.go.th

การประเมนิ ผล โดยครูใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดังนี้

รายการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง ปรบั ปรุง

1. เน้อื หาถกู ตอ้ งครบถ้วนสมบูรณ์

2. มคี วามร้คู วามเข้าใจในกิจกรรม

3. สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้

4. การสง่ งานตรงต่อเวลาทีก่ าหนด

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยท่ี 5 เรอ่ื ง ความร้เู กีย่ วกับมาตรฐานอาชพี
คาส่ัง ใหน้ ักเรียนทาเคร่ืองหมายกากบาท ( ) ขอ้ ที่ถูกต้องทส่ี ุดเพียงข้อเดยี ว
1. “ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการทางาน” หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. สมรรถนะ ข. อาชีพ
ค. แรงงานฝมี อื ง. มาตรฐานอาชพี
2. มาตรฐานวิชาชีพคอื ข้อใด
ก. การกาหนดสมรรถนะของบคุ คล
ข. วชิ าเฉพาะทีใ่ ชใ้ นการประกอบอาชีพของบุคคล
ค. เกณฑ์การปฏบิ ัตงิ านของบคุ คล
ง. การใชค้ วามรู้ความสามารถของบุคคล
3. การรบั รองมาตรฐานวชิ าชีพแบง่ เปน็ ก่ีระดบั
ก. 4 ระดับ ข. 5 ระดบั
ค. 2 ระดับ ง. 3 ระดับ
4. ระบบคุณวุฒวิ ชิ าชีพเปน็ การรบั รองกาลังในดา้ นใด
ก. มาตรฐานแรงงาน ข. อาชพี
ค. สมรรถนะ ง. มาตรฐานอาชีพ
5. การกาหนดมาตรฐานอาชีพและฝีมอื แรงานเป็นหน้าทร่ี ับผดิ ชอบของกระทรวงใด
ก. กระทรวงมหาดไทย
ข. กระทรวงแรงงาน
ค. กระทรวงศึกษาธกิ าร
ง. กระทรวงพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์
6. “สามารถแกป้ ญั หาพน้ื ฐานท่พี บเป็นประจา โดยประยุกตใ์ ชท้ ฤษฎีเครอื่ งมือกล” คือระดับคณุ วุฒิ
วิชาชีพระดับใด
ก. ระดบั 2 ผู้มที กั ษะฝีมอื ข. ระดับ 1 ผมู้ ที กั ษะเบ้ืองต้น
ค. ระดบั 4 ผ้ชู านาญในอาชพี ง. ระดบั 3 ผมู้ ีทกั ษะเฉพาะทาง
7. ข้อใดถอื ว่าเป็นระดบั สูงสดุ ของกรอบคณุ วุฒวิ ชิ าชีพ
ก. ผูเ้ ชี่ยวชาญในอาชีพ ข. ผชู้ านาญในอาชพี
ค. ผเู้ ช่ียวชาญพเิ ศษในอาชีพ ง. ผทู้ รงคุณวุฒิในอาชีพ
8. วัตถปุ ระสงค์ในการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพคือขอ้ ใด
ก. ใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ขอ้ มูลอาชีพ
ข. ปรับปรุงขอ้ มูลอาชพี ให้ถูกต้องและเป็นสากล
ค. เพิ่มประสทิ ธผิ ลของการจัดเก็บข้อมูลอาชีพ

ง. ถกู ทกุ ขอ้

9. “ครู อาจารย์” จดั อย่ใู นหมวดหมู่ประเภทใดของมาตรฐานอาชีพ

ก. ประเภทที่ 2 ข. ประเภทท่ี 1

ค. ประเภทที่ 4 ง. ประเภทท่ี 3

10. “นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร” จดั อยูใ่ นหมวดหมู่ประเภทใดของมาตรฐาน

อาชีพ

ก. ประเภทที่ 2 ข. ประเภทท่ี 1

ค. ประเภทท่ี 4 ง. ประเภทท่ี 3

11. “ทหารเกณฑ์” จัดอย่ใู นหมวดหมปู่ ระเภทใดของมาตรฐานอาชีพ

ก. ประเภทที่ 8 ข. ประเภทท่ี 7

ค. ประเภทท่ี 10 ง. ประเภทท่ี 9

12. แรงงานมีฝีมือหมายถึงข้อใด

ก. ผู้มีฝีมอื และความสามารถทางานทต่ี อ้ งอาศัยความชานาญ

ข. มคี วามเขา้ ใจในอาชีพที่ทา

ค. เปน็ ผู้ท่ตี ้องผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงาน

ง. มีคณุ วุฒทิ างการศกึ ษาตรงตามวชิ าชีพ

13. ประโยชน์ของมาตรฐานฝมี ือแรงงานตอ่ ตนเองคอื ขอ้ ใด

ก. รูฝ้ มี ือผอู้ ่ืน ข. รู้ฝีมอื ของตน

ค. รคู้ วามต้องการผบู้ รโิ ภค ง. รฝู้ ีมือผทู้ ีจ่ ะรบั เข้าทางาน

14. ประโยชนข์ องมาตรฐานฝมี อื แรงงานตอ่ นายจา้ งคอื ข้อใด

ก. รู้แหล่งทดสอบมาตรฐาน ข. รู้หลักสตู รการอบรม

ค. รู้ความต้องการผู้บรโิ ภค ง. รู้ฝีมือผ้ทู ่จี ะรับเข้าทางาน

15. มาตรฐานอาชีพของแต่ละอาชีพตามมาตรฐานแรงงานแหง่ ชาตินั้นในระดับตน้ (ระดับ 1) ควรมคี อื ข้อ

ใด

ก. เปน็ ผูท้ ี่มฝี มี อื ระดับกลาง มีความรู้ความสามารถ ทกั ษะ การใช้เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ได้

ดี และมี ประสบการณ์

ข. เปน็ ผ้ทู ีม่ ฝี มี อื และความรู้พื้นฐานในการทางาน ปฏบิ ตั ิงานภายใต้คาแนะนาของ

หวั หนา้ งาน

ค. ผา่ นเกณฑว์ ดั ระดบั ความรู้ ความสามารถ และทัศนคติ ในการทางานของผู้ประกอบ

อาชีพใน สาขาน้ัน ๆ

ง. เป็นผู้ทม่ี ีฝีมอื ระดบั สูง สามารถวเิ คราะห์ วนิ จิ ฉัย ตดั สนิ ใจแก้ไขปญั หา นาความรู้

และทักษะมา ประยกุ ตใ์ ช้กบั เทคโนโลยใี หมไ่ ด้

แบบทดสอบหลังเรยี น

หนว่ ยที่ 5 เรื่อง ความร้เู กย่ี วกับมาตรฐานอาชพี

คาสงั่ ใหน้ กั เรียนทาเครอ่ื งหมายกากบาท ( ) ข้อท่ถี กู ต้องท่ีสดุ เพียงขอ้ เดยี ว

1. “ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการทางาน” หมายถงึ ข้อใด

ก. อาชีพ ข. สมรรถนะ

ค. มาตรฐานอาชีพ ง. แรงงานฝีมือ

2. มาตรฐานวชิ าชีพคอื ข้อใด

ก. วิชาเฉพาะท่ใี ชใ้ นการประกอบอาชีพของบคุ คล ข. การกาหนด

สมรรถนะของบุคคล

ค. การใชค้ วามรู้ความสามารถของบุคคล ง. เกณฑก์ ารปฏิบัตงิ าน

ของบคุ คล

3. การรบั รองมาตรฐานวิชาชพี แบง่ เป็นก่ีระดับ

ก. 5 ระดบั ข. 4 ระดับ

ค. 3 ระดับ ง. 2 ระดบั

4. ระบบคณุ วุฒิวชิ าชีพเปน็ การรับรองกาลังในดา้ นใด

ก. อาชพี ข. มาตรฐานแรงงาน

ค. มาตรฐานอาชีพ ง. สมรรถนะ

5. การกาหนดมาตรฐานอาชพี และฝมี ือแรงานเปน็ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบของกระทรวงใด

ก. กระทรวงแรงงาน ข. กระทรวงมหาดไทย

ค. กระทรวงพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ ง.

กระทรวงศึกษาธกิ าร

6. “สามารถแก้ปญั หาพ้นื ฐานที่พบเปน็ ประจา โดยประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎเี ครือ่ งมือกล” คอื ระดับคณุ วฒุ ิ

วิชาชีพระดบั ใด

ก. ระดับ 1 ผมู้ ที ักษะเบ้อื งต้น ข. ระดบั 2 ผ้มู ีทักษะฝีมือ

ค. ระดับ 3 ผ้มู ีทกั ษะเฉพาะทาง ง. ระดับ 4 ผชู้ านาญในอาชีพ

7. ขอ้ ใดถือวา่ เป็นระดบั สงู สุดของกรอบคณุ วฒุ วิ ชิ าชีพ

ก. ผ้ชู านาญในอาชพี ข. ผูเ้ ชีย่ วชาญในอาชีพ

ค. ผูท้ รงคุณวฒุ ิในอาชพี ง. ผู้เชี่ยวชาญ

พเิ ศษในอาชพี

8. วตั ถุประสงคใ์ นการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพคอื ข้อใด

ก. ปรบั ปรุงข้อมลู อาชีพให้ถูกต้องและเป็นสากล ข. ใหม้ คี วามรู้

ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลอาชีพ

ค. เพิม่ ประสิทธิผลของการจัดเก็บข้อมูลอาชีพ ง. ถกู ทุกขอ้

9. “ครู อาจารย์” จัดอยใู่ นหมวดหมู่ประเภทใดของมาตรฐานอาชพี

ก. ประเภทที่ 1 ข. ประเภทที่ 2

ค. ประเภทที่ 3 ง. ประเภทท่ี 4

10. “นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร” จดั อยู่ในหมวดหมู่ประเภทใดของมาตรฐาน

อาชพี

ก. ประเภทที่ 1 ข. ประเภทท่ี 2

ค. ประเภทท่ี 3 ง. ประเภทท่ี 4

11. “ทหารเกณฑ์” จัดอยใู่ นหมวดหมู่ประเภทใดของมาตรฐานอาชพี

ก. ประเภทที่ 7 ข. ประเภทที่ 8

ค. ประเภทท่ี 9 ง. ประเภทท่ี 10

12. แรงงานมฝี ีมอื หมายถึงขอ้ ใด

ก. มคี วามเข้าใจในอาชพี ทีท่ า

ข. ผู้มฝี ีมือและความสามารถทางานท่ีตอ้ งอาศยั ความชานาญ

ค. มคี ุณวฒุ ิทางการศกึ ษาตรงตามวชิ าชีพ

ง. เป็นผู้ทต่ี อ้ งผ่านการทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงาน

13. ประโยชนข์ องมาตรฐานฝมี อื แรงงานตอ่ ตนเองคอื ข้อใด

ก. รู้ฝีมือของตน ข. รู้ฝีมือผู้อืน่

ค. ร้ฝู มี ือผทู้ จี่ ะรับเข้าทางาน ง. รคู้ วามตอ้ งการผู้บรโิ ภค

14. ประโยชนข์ องมาตรฐานฝีมอื แรงงานต่อนายจ้างคือขอ้ ใด

ก. รูห้ ลักสตู รการอบรม ข. ร้แู หลง่ ทดสอบมาตรฐาน

ค. รู้ฝมี ือผูท้ จี่ ะรับเข้าทางาน ง. รู้ความต้องการผู้บริโภค

15. มาตรฐานอาชพี ของแต่ละอาชีพตามมาตรฐานแรงงานแหง่ ชาติน้นั ในระดบั ต้น (ระดับ 1) ควรมคี อื ข้อ

ใด ก. เป็นผทู้ ม่ี ฝี มี ือและความร้พู นื้ ฐานในการทางาน ปฏิบตั งิ านภายใตค้ าแนะนา

ของหวั หนา้ งาน

ข. เป็นผทู้ ี่มฝี ีมือระดับกลาง มคี วามรคู้ วามสามารถ ทักษะ การใช้เคร่อื งมือ

อปุ กรณ์ไดด้ ี และมี

ประสบการณ์

ค. เป็นผทู้ ี่มีฝมี ือระดบั สูง สามารถวิเคราะห์ วินจิ ฉยั ตดั สนิ ใจแกไ้ ขปญั หา นา

ความรู้และทกั ษะมา

ประกอบอาชพี ใน ประยกุ ตใ์ ชก้ บั เทคโนโลยีใหม่ได้
ง. ผา่ นเกณฑ์วดั ระดบั ความรู้ ความสามารถ และทัศนคติ ในการทางานของผู้

สาขานั้น ๆ

การประเมนิ การใช้แผนการสอน

รายการประเมนิ ระดบั ความเหมาะสม ขอ้ เสนอแนะ
4321

1. เวลาท่ีใช้สอน

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

3. สาระการเรียนรู้

4. กระบวนการเรียนรู้

5. การใชส้ ่ือการเรียนการสอน

6. การวดั ผลประเมินผล

7. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรู้

8. การประเมินดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

9. ความสนใจของนกั เรียน

10. ความพอใจของผูส้ อน

รวม

ความคิดเห็นครูผสู้ อน
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………

ลงชื่อ
.........................................................

(................................................)
………/……………/….….

ความคดิ เหน็ หัวหน้าแผนกวิชา
…………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ลงช่อื .........................................................
(..............................................)
………/……………/….….

ความคิดเห็นรองผอู้ านวยการฝา่ ยวชิ าการ
………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

ลงช่ือ.........................................................
(............................................)
………/……………/….….

แผนการสอน หนว่ ยท่ี 6

ชอื่ วชิ า ความรู้เกีย่ วกบั งานอาชีพ สอนครง้ั ท่ี 12-13

ช่อื หน่วย องค์การและการบรหิ ารงานในองคก์ าร ชว่ั โมงรวม 4

ชือ่ เรือ่ งหรือช่อื หนว่ ย องค์การและการบรหิ ารงานใน จานวนชั่วโมง 4

องคก์ าร

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและความสาคัญขององค์การ
2. องค์ประกอบขององค์การ
3. รปู แบบขององค์การ
4. ปัจจยั หลักของการจดั องคก์ าร
5. กระบวนการจดั องค์การ
6. การบริหารงานในองค์การ
7. หลกั การสรา้ งมนษุ ยสัมพันธ์ในองคก์ าร

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความหมายและความสาคญั ขององคก์ ารได้
2. บอกองคป์ ระกอบขององค์การได้
3. อธบิ ายรูปแบบขององค์การได้
4. บอกปจั จยั หลกั ของการจดั องคก์ ารได้
5. บอกกระบวนการจดั องคก์ ารได้
6. บอกการบริหารงานในองค์การได้
7. บอกหลกั การสร้างมนุษยสัมพันธใ์ นองค์การได้

สาระสาคัญ
องคก์ าร คอื กลุม่ คนทีร่ วมตัวกนั เพื่อดาเนินการในกิจกรรมอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ใหส้ าเรจ็ ตาม

วัตถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนดไว้ ในการรวมตัวจะต้องมีการจดั ระเบียบการติดต่อ การแบ่งงานกันทาและต้องมีการ
ประสานประโยชนข์ องแตล่ ะบคุ คลดว้ ย ซ่ึงจะต้องมีการจดั ระบบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่วนงานตา่ ง ๆ และ
บคุ คลในองค์การ โดยกาหนดภารกจิ อานาจหนา้ ท่ีและความรับผิดชอบให้ชัดแจ้ง เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานตาม
ภารกิจขององค์การบรรลุวัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

กิจกรรมการเรียนการสอน

ขัน้ ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรือกจิ กรรมของนักเรยี น

ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น

1. ครสู อบถามนกั เรียนเรอ่ื งโครงสรา้ งการบริหาร 1. ตอบคาถาม

ของวิทยาลยั เทคนิคร้อยเอด็ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง 2. รว่ มแสดงความคิดเห็นเพื่อวเิ คราะห์

2. ครแู นะนาเนือ้ หา และแจง้ ผลการเรียนท่ี สถานการณ์ที่ครยู กตัวอย่าง

คาดหวงั ของหน่วยท่ี 6 เรอ่ื ง องค์การและการ

บรหิ ารงานในองคก์ าร

ขั้นดาเนนิ การสอน 1. ศึกษาเน้อื หาจากเอกสารประกอบ
1. บรรยายเนอ้ื หาหน่วยท่ี 6 เรือ่ ง องค์การและ การเรียน
2. ส่งงานเพ่ือตรวจตามกาหนด
การบริหารงานในองค์การ 3. มพี ฒั นาการแต่งกายเรยี บร้อยถูกต้องตาม
2. ครสู อนเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม เพื่อ ระเบียบของสานศกึ ษา และคุณธรรมด้านอ่ืน ๆ
เชน่ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความซอ่ื สัตย์
เสรมิ สร้างคุณลกั ษณะด้านความมีระเบยี บวนิ ยั สจุ รติ และความตรงต่อเวลา เปน็
3. ใหท้ าแบบฝกึ หัด หนว่ ยท่ี 6 เรอ่ื ง องค์การ

และการบรหิ ารงานในองคก์ าร

ต้น

ขั้นสรปุ การเรยี นการสอน 1. รว่ มสรปุ เนอื้ หาโดยตอบข้อซกั ถามตาม
1. สรุปสาระสาคัญโดยการซักถามนกั เรียน หัวข้อทค่ี รกู าหนด
2. มอบหมายงานเพอ่ื จัดทากิจกรรมกลมุ่ จาก
2. นาเสนอผลงานจากกิจกรรมเสรมิ ทักษะที่
กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะการจดั ประสบการณ์เรียนรู้ท่ี 6 6 ที่ครูมอบหมาย
3. ประเมินการเรียนรหู้ ลังเรยี น หนว่ ย
3. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วย
ที่ 6 เรือ่ ง องค์การและการบรหิ ารงานในองค์การ ท่ี 6 เรอื่ ง องคก์ ารและการบรหิ ารงานใน
องค์การ

งานท่มี อบหมายหรือกิจกรร
กอ่ นเรียน

1. ครสู อบถามนกั เรียนเรอื่ งโครงสรา้ งการบรหิ ารของวทิ ยาลยั เทคนคิ รอ้ ยเอด็ ประกอบด้วยอะไรบา้ ง
2. ครูแนะนาเนือ้ หา และแจ้งผลการเรียนท่คี าดหวงั ของหน่วยท่ี 6 เร่อื ง องคก์ ารและการบรหิ ารงาน
ในองคก์ าร
ขณะเรยี น

1. บรรยายเนื้อหาหน่วยท่ี 6 เรอื่ ง องคก์ ารและการบรหิ ารงานในองค์การ
2. ครสู อนเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม เพือ่ เสริมสร้างคณุ ลักษณะดา้ นความมีระเบยี บวินัย
3. ใหท้ าแบบฝึกหดั หน่วยที่ 6 เรอ่ื ง องค์การและการบริหารงานในองคก์ าร
สื่อการเรียนการสอน และนวตั กรรม

1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า ความร้เู ก่ียวกบั งานอาชพี (2001-1001)
2. สอ่ื นาเสนอ Power Point เครอื่ งคอมพิวเตอร์ และเครอื่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์
3. แบบประเมินผลการเรยี นรู้กอ่ นและหลังเรยี น
4. แบบฝึกหัด หน่วยที่ 6 เรอื่ ง องค์การและการบริหารงานในองคก์ าร
5. กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 เรือ่ ง องคก์ ารและการบรหิ ารงานในองคก์ าร
การประเมินผล
ก่อนเรยี น 1. การประเมินพฤตกิ รรมจติ พสิ ัยฯ รายบุคคล และการเช็คการเข้าเรยี นของนกั ศกึ ษาลง
ในสมุดบันทกึ เวลาเรยี นและประเมนิ ผลการเรยี น

2. การประเมนิ ผลกอ่ นเรียน เกณฑผ์ ่าน 50% ข้นึ ไป
ขณะเรียน 1. การสงั เกตและประเมินดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์

2. การประเมินผลจากการตรวจแบบฝกึ หัด หนว่ ยที่ 6 เรอ่ื ง องคก์ ารและการ
บรหิ ารงานในองค์การ

หลงั เรยี น 1. ประเมนิ ผลการเรยี นรู้หลงั เรยี น เกณฑ์ผ่าน 50% ข้นึ ไป
บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแ้ ผนการสอน นกั เรียนมคี วามเข้าใจ หนว่ ยท่ี 6 เรื่อง องคก์ ารและการ
บรหิ ารงานในองค์การ จากการนาเขา้ สูบ่ ทเรียนของครผู ู้สอนโดยการสอบถามจากผ้เู รียนหรือจากการ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้

ผลการเรยี นของนกั เรยี น นักเรยี นมคี วามเข้าใจการจดั ประสบการณเ์ รยี นร้ขู องครผู สู้ อน
ผลการสอนของครู ประสทิ ธิภาพในการสอนของครไู ดผ้ ลดี โดยวดั จากการ
ซักถาม สาระสาคัญโดยสรุปและนักเรยี นส่วนใหญต่ อบคาถามได้ และการประเมินผลการเรยี นรู้

แบบแบบฝกึ หัด
หนว่ ยท่ี 6 เร่อื ง องคก์ ารและการบริหารงานในองคก์ าร

คาสง่ั จงตอบคาถามตอ่ ไปนใ้ี หส้ มบูรณ์
1. องค์การมคี วามหมายวา่ อยา่ งไร
ตอบ องค์การ (Organization) หมายถงึ การรวมตัวของบุคคลท่มี าทางานรว่ มกนั เพือ่ ดาเนนิ การในกิจกรรม
อยา่ งใดอย่างหนึง่ โดยมกี ารแบ่งงานและหน้าที่ มลี าดบั ขัน้ ของการบงั คบั บญั ชาและกาหนดหนา้ ท่ีความ
รับผิดชอบ มกี ารจดั ระเบยี บวิธที างานเพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายหรอื วตั ถุประสงค์ท่ีวางไว้
2. ความสาคญั ขององคก์ ารประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ ความสาคญั ขององคก์ าร มดี งั น้ี

1. เพ่อื เป็นแนวทางในการดาเนนิ งานหรือการบรหิ ารงานของฝา่ ยบรหิ าร
2. เพ่ือให้พนักงานหรอื ผ้ปู ฏบิ ัติงานได้ทราบถึงอานาจหน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ ตลอดจน
ทราบขอบเขตของงาน
3. เพอ่ื ให้การประสานงานหนา้ ทง่ี านต่าง ๆ โดยการกาหนดขอบเขตและการจัดกลมุ่ งานท่ี
สัมพันธก์ นั
4. เพอ่ื ชว่ ยปอ้ งกันปัญหาการทางานซา้ ซ้อนและขจดั ข้อขัดแยง้ จากการทางาน
5. เพอ่ื ใหม้ ีการทางานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
6. เพอื่ ใหม้ ีการใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยดั ขจัดความสน้ิ เปลอื ง
7. เพอื่ ลดความสบั สนของการทางานของบคุ ลากรในองคก์ ารในดา้ นปฏิบัติงาน
8. เพ่ือเป็นกรอบท่ีเชอ่ื มโยงจากการวางแผนไปสู่ผลสาเร็จในขนั้ ตอนของการควบคมุ
9. เพื่อเปน็ การพฒั นาความรู้ความสามารถของสมาชิกภายในองค์กร
10. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชกิ ภายในองคก์ ร
3. องคป์ ระกอบขององค์การประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ 1. วตั ถปุ ระสงค์ (Objective)
2. โครงสรา้ งขององค์การ (Organization Structure)
3. กระบวนการปฏิบตั ิงาน (Process)
4. บุคคล (Personal)
5. สภาพแวดลอ้ มขององคก์ าร (Organization Environment)
4. รปู แบบขององค์การทน่ี กั เรยี นกาลังศึกษาเปน็ องค์การรปู แบบใด
ตอบ องคก์ ารแบบเป็นทางการ
5. ปัจจยั หลักของการจัดองค์การมีอะไรบา้ ง
ตอบ 1. การกาหนดหน้าทีก่ ารงาน
2. การแบ่งงาน

3. สายการบงั คับบญั ชา
4. ระบบการประสานงานและการควบคุม
6. กระบวนการจดั องคก์ ารในขั้นตอนการออกแบบงานมอี ะไรบา้ ง
ตอบ 1. การออกแบบงาน (Job Design)
2. การออกแบบโครงสรา้ งขององคก์ าร (Organization Structure Design)
3. การแบ่งอานาจหนา้ ท่ี (Authority Allocation)
4. การประสานงาน (Coordinating Activities)

7. จงเขียนแผนภมู โิ ครงสร้างแบบแบง่ ตามหนา้ ท่ี
ตอบ แผนภมู ิโครงสรา้ งแบบแบ่งตามหนา้ ท่ี

8. จงบอกปจั จัยสาคญั ท่มี ีอิทธิพลตอ่ ความสาเรจ็ ในการบรหิ ารประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
ตอบ 1. คน (Man) 2. เงนิ ทนุ (Money) 3. เคร่ืองจักร (Machine) 4. วสั ดอุ ุปกรณ์
(Material)
5. วธิ กี ารจัดการ (Management) 6. การตดั สนิ ใจ (Decision Making) 7. การติดต่อสอื่ สาร
(Communication) 8. การจูงใจ (Motivation) 9. การประสานงาน (Co–ordination)
9. ระดบั ของผู้บรหิ ารมีกีร่ ะดบั ไดแ้ ก่ระดับใดบา้ งโดยมที กั ษะความสามารถในการบริหารจัดการอยา่ งไร
ตอบ การแบง่ ระดับของการบริหาร แบ่งออกเป็น 3 ระดบั คือ

1. ระดับสงู เปน็ ผบู้ ริหารท่ีคอยให้คาแนะนาและควบคุมทรัพยากรทั้งหมดขององค์กร ทา
หนา้ ทีใ่ นการวางแผน รบั ผดิ ชอบในการพัฒนาใหอ้ งค์กรธรุ กิจบรรลุผลตามภารกิจที่กาหนดไว้ ประกอบดว้ ย
คณะกรรมการอานวยการ ประธาน ผู้บรหิ ารระดบั สูงของบริษทั เป็นต้น

2. ระดับกลาง เปน็ กลมุ่ ทีม่ ีขนาดใหญท่ ่ีสดุ ในองค์กร ทาหน้าทีพ่ ฒั นาแผนยุทธวธิ แี ละ
แผนการจัดการ แล้วประสานและควบคุมกิจกรรมของผู้บรหิ ารระดับต้น ประกอบดว้ ย ผจู้ ัดการแผนก
ผู้จัดการโรงงาน และผจู้ ดั การปฏิบัตกิ าร เปน็ ต้น

3. ระดบั ตน้ จะรบั ผิดชอบในการประสานงานและควบคมุ บังคบั บัญชาการปฏิบตั ิงานตา่ ง ๆ
กับระดับปฏบิ ัติการ เกีย่ วขอ้ งโดยตรงกับการจูงใจพนกั งาน การตอบคาถาม การแก้ปญั หาในงานประจาวัน
ไดแ้ ก่ บุคคลท่มี ีตาแหน่งหัวหนา้ งานตา่ ง ๆ หัวหน้าแผนก เป็นตน้

ทักษะในการบรหิ าร ผบู้ ริหารองคก์ ารทดี่ ีควรมที กั ษะทจี่ าเปน็ ในการบริหาร ดงั นี้
1. ทกั ษะด้านเทคนิค (Technical Skill) คือ ความสามารถของผบู้ ริหารในระดบั ตน้ ซงึ่ เป็น
ความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับวิธีการใช้อุปกรณแ์ ละเทคนิควธิ ีตา่ ง ๆ เพ่ือการปฏบิ ตั งิ านอย่างหนึง่ อยา่ งใด
โดยเฉพาะ ทักษะดา้ นเทคนิคได้จากการศึกษาและการหาประสบการณ์ เชน่ วิศวกร พนกั งานขาย พนกั งาน
บญั ชี เปน็ ตน้
2. ทกั ษะดา้ นมนุษย์ (Human Skill) ผ้บู รหิ ารทกุ ระดบั จาเปน็ ต้องมีทกั ษะด้านมนุษยท์ แี่ สดง
ถงึ การเป็นบคุ คลที่มคี วามเข้าใจผอู้ ื่น มีสมั พันธภาพอนั ดีกับทกุ คน ซึ่งทาให้ผบู้ ริหารเปน็ ท่ียอมรบั ของ
ผ้ใู ต้บังคับบัญชา และได้รับความรว่ มมือในการทางานเป็นอยา่ งดี
3. ทกั ษะด้านความคดิ (Conceptual Skill) จะเป็นทักษะของผู้บริหารในระดับสงู ซึง่ ต้องมี
ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ ความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ นาความคดิ ใหม่ ๆ มาพฒั นางาน รวมทั้งการมวี สิ ัยทัศน์ในการ
มองสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทมี่ ีผลต่อการดาเนินงานขององคก์ ร มีการตัดสนิ ใจท่ดี ีเพราะจะช่วยให้ผ้บู ริหารเขา้ ใจถงึ
ปัญหาที่เกิดขนึ้ และสามารถแกไ้ ขปัญหาเหล่าน้ันได้
10. การสร้างมนุษยสมั พนั ธร์ ะหว่างผบู้ งั คบั บญั ชากบั ผู้ใต้บังคับบัญชาประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
ตอบ การสรา้ งมนษุ ยสัมพันธ์ระหวา่ งผู้บังคบั บญั ชากับผู้ใต้บังคับบญั ชา
1.รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเอง 2. ร้วู ิธสี ่งเสริมกาลงั ใจผู้ใตบ้ ังคับบัญชา 3.รูจ้ กั ใหร้ างวลั
4. ชีแ้ จงความเคล่ือนไหวของงานให้ทราบ 5. รกั ษาผลประโยชน์ของผใู้ ต้บงั คบั บญั ชา

กจิ กรรมเสริมทกั ษะหน่วยท่ี 6 เร่อื ง องค์การและการบริหารงานในองคก์ าร
กิจกรรมท่ี 6 แผนภมู ิการบริหารองคก์ าร

วตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้นักเรยี นทราบถึงแผนภูมิการบริหารสถานศึกษาท่ีนักเรียนศกึ ษาสงั กัด
กิจกรรม/วธิ ีการ ให้นักเรียนเขียนอธิบายแผนภูมิการบรหิ ารสถานศึกษาทน่ี ักเรียนศกึ ษาสงั กดั

การประเมินผล โดยครูใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดงั น้ี

รายการประเมนิ ดีมาก ดี ปานกลาง ปรับปรงุ

1. เนอ้ื หาถูกต้องครบถว้ นสมบูรณ์

2. มีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรม

3. สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้

4. การส่งงานตรงต่อเวลาทกี่ าหนด

แบบทดสอบก่อนเรียน
หนว่ ยที่ 6 เร่อื ง องค์การและการบรหิ ารงานในองคก์ าร

คาสง่ั ให้นกั เรยี นทาเครื่องหมายกากบาท ( ) ข้อทถ่ี ูกต้องทีส่ ุดเพียงขอ้ เดยี ว
1. “การรวมกลมุ่ การรวมตัวของบคุ คลทม่ี าทางานร่วมกนั เพอ่ื ดาเนินการในกิจกรรมอย่างใดอย่างหนง่ึ ให้
บรรลเุ ปา้ หมายที่วางไว้” หมายถึงขอ้ ใด

ก. สถาบนั ข. องค์การ
ค. การสังสรรค์ ง. การทางาน
2. รปู แบบขององคก์ ารทีเ่ ปน็ ทางการคือข้อใด
ก. มูลนิธิร่วมกตญั ญูข. ชมรมตกปลา
ค. กลมุ่ คนรกั ชา้ ง ง. กล่มุ พทิ ักษช์ าติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
3. “กลุ่มงานสังคม” คือองคก์ ารแบบใด
ก. องค์การแบบไม่เป็นทางการ ข. องค์การแบบเปน็ ทางการ
ค. องค์การแบบหนว่ ยงานการกุศล ง. องคก์ ารแบบผสม
4. แนวทางปฏิบัตกิ จิ กรรมขององค์กรคอื ขอ้ ใด
ก. โครงสรา้ งขององค์กร ข. วตั ถปุ ระสงคข์ ององค์กร
ค. สภาพแวดลอ้ มขององค์กร ง. กระบวนการปฏบิ ตั ิงานขององค์กร
5. สภาพแวดลอ้ มทมี่ ผี ลกระทบโดยตรงต่อองค์การคือขอ้ ใด
ก. กฎหมาย ข. การเมอื ง
ค. เทคโนโลยี ง. ลกู ค้าหรือผู้ใช้บริการ
6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความสาคัญของการจดั องคก์ ร
ก. ขจัดขอ้ ขัดแยง้ ในหน้าทีก่ ารงาน ข. ช่วยให้ผู้ปฏิบัตทิ ราบขอบเขตของงาน
ค. การทางานย่งุ ยากและซบั ซ้อนขน้ึ ง. เป็นชอ่ งทางเพอื่ การสื่อสารและการ
ตดั สนิ ใจ
7. “Put the right man on the right job” หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. การแบ่งงาน ข. การกาหนดหน้าท่ีงาน
ค. การควบคุม ง. สายการบงั คบั บัญชา
8. ปัจจัยหลักของการจดั การองคก์ ารคือขอ้ ใด
ก. การแบง่ งาน ข. การกาหนดหนา้ ทง่ี าน
ค. สายการบงั คบั บัญชา ง. ถูกทุกขอ้
9. การออกแบบงานคือกระบวนการในขอ้ ใด
ก. กาหนดสายการปฏบิ ัตงิ านข. กาหนดหน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบ
ค. กาหนดนโยบายท่ีตอ้ งปฏบิ ตั ิ ง. กาหนดอานาจหนา้ ทีก่ ารบรหิ าร

10. การจดั โครงสร้างขององคก์ ารทอี่ งคก์ รธุรกิจนยิ มคอื ขอ้ ใด
ก. แบบแบ่งตามลกู คา้ ข. แบบแบง่ ตามภูมิศาสตร์
ค. แบบแบง่ ตามหนา้ ท่ี ง. แบบแบง่ ตามผลิตภัณฑ์

11. ข้อใดคือการประสานงาน
ก. การกาหนดสายการบงั คบั บัญชาของการบริหาร
ข. การกาหนดบทบาทการบรหิ าร
ค. การกาหนดกฎระเบยี บข้อบังคับตา่ ง ๆ เปน็ แนวทางการบรหิ าร
ง. การกาหนดหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของฝ่ายตา่ ง ๆ

12. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง
ก. การมอบหมายงานจะต้องมีรางวัลเป็นแรงจูงใจ
ข. การมอบหมายงานจะตอ้ งคานงึ ถึงประสบการณ์
ค. การมอบหมายงานจะต้องเปน็ ผทู้ ่ีมีความใกลช้ ิดกับผบู้ ริหารเท่าน้นั

ง. การมอบหมายงานจะต้องเหมาะสมกับความสามารถ
13. ปจั จยั ความสาเร็จในการบรหิ ารจดั การองค์กรขอ้ ใดมคี วามสาคญั ที่สุด

ก. เงินทุน ข. คน
ค. วสั ดอุ ปุ กรณ์ ง. เคร่ืองจกั ร
14. หัวหน้าแผนกวชิ าควรมีทกั ษะในการบริหารจดั การด้านใดมากที่สดุ
ก. ทักษะดา้ นมนษุ ย์ ข. ทกั ษะด้านความคิด
ค. มีความสาคัญทกุ ทกั ษะ ง. ทกั ษะดา้ นเทคนิค
15. ขอ้ ใดไม่ใช่หลักมนุษยสมั พนั ธ์ในการทางานของผ้บู งั คบั บญั ชาควรมี
ก. รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ของตนเอง
ข. รูจ้ ักใหก้ าลังใจ ให้รางวัลและมีการยกยอ่ งชมเชย
ค. ชี้แจงความเคลอื่ นไหวของงานให้ทราบ
ง. เน้นตนเองเปน็ จุดศนู ยก์ ลาง

แบบทดสอบหลงั เรยี น
หน่วยที่ 6 เรือ่ ง องค์การและการบรหิ ารงานในองค์การ

คาสัง่ ใหน้ ักเรยี นทาเคร่ืองหมายกากบาท ( ) ขอ้ ที่ถูกตอ้ งทีส่ ดุ เพยี งขอ้ เดียว

1. “การรวมกลุม่ การรวมตวั ของบคุ คลท่ีมาทางานรว่ มกนั เพื่อดาเนินการในกิจกรรมอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ให้

บรรลุเปา้ หมายที่วางไว้” หมายถงึ ข้อใด

ก. องค์การ ข. สถาบัน

ค. การทางาน ง. การสงั สรรค์

2. รูปแบบขององค์การทเ่ี ปน็ ทางการคอื ข้อใด

ก. ชมรมตกปลา ข. มลู นิธริ ่วมกตญั ญู

ค. กลุ่มพทิ กั ษ์ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ง. กล่มุ คนรกั ชา้ ง

3. “กลุ่มงานสังคม” คือองค์การแบบใด

ก. องค์การแบบเป็นทางการ ข. องคก์ ารแบบไม่เปน็ ทางการ

ค. องค์การแบบผสม ง. องค์การแบบหน่วยงานการ

กุศล

4. แนวทางปฏิบตั ิกจิ กรรมขององค์กรคือขอ้ ใด

ก. วัตถปุ ระสงค์ขององค์กร ข โครงสร้างขององค์กร

ค. กระบวนการปฏิบัติงานขององคก์ ร ง. สภาพแวดลอ้ มขององค์กร

5. สภาพแวดลอ้ มทม่ี ผี ลกระทบโดยตรงตอ่ องคก์ ารคือข้อใด

ก. การเมอื ง ข. กฎหมาย

ค. ลูกค้าหรอื ผู้ใชบ้ รกิ าร ง. เทคโนโลยี

6. ข้อใดไมใ่ ช่ความสาคัญของการจดั องค์กร

ก. ช่วยใหผ้ ปู้ ฏิบัตทิ ราบขอบเขตของงาน ข. ขจัดข้อขัดแยง้ ใน

หนา้ ท่กี ารงาน

ค. เปน็ ช่องทางเพือ่ การส่ือสารและการตัดสนิ ใจ ง. การทางาน

ยุง่ ยากและซบั ซ้อนขึน้

7. “Put the right man on the right job” หมายถงึ ข้อใด

ก. การกาหนดหนา้ ทีง่ าน ข. การแบง่ งาน

ค. สายการบังคับบัญชา ง. การควบคมุ

8. ปัจจยั หลกั ของการจดั การองคก์ ารคอื ขอ้ ใด

ก. การกาหนดหน้าท่ีงาน ข. การแบง่ งาน

ค. สายการบังคบั บัญชา ง. ถกู ทกุ ขอ้

9. การออกแบบงานคอื กระบวนการในข้อใด

ก. กาหนดหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ ข. กาหนดสายการปฏิบัติงาน

ค. กาหนดอานาจหนา้ ทก่ี ารบริหาร ง. กาหนดนโยบายท่ีต้องปฏิบตั ิ

10. การจัดโครงสร้างขององค์การท่ีองค์กรธุรกจิ นิยมคือขอ้ ใด

ก. แบบแบ่งตามภมู ิศาสตร์ ข. แบบแบง่ ตามลกู ค้า

ค. แบบแบ่งตามผลิตภัณฑ์ ง. แบบแบง่ ตามหน้าที่

11. ขอ้ ใดคือการประสานงาน

ก. การกาหนดบทบาทการบรหิ าร

ข. การกาหนดสายการบงั คับบญั ชาของการบริหาร

ค. การกาหนดหน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ

ง. การกาหนดกฎระเบียบขอ้ บังคบั ต่าง ๆ เปน็ แนวทางการบรหิ าร

12. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ ง

ก. การมอบหมายงานจะตอ้ งคานึงถงึ ประสบการณ์

ข. การมอบหมายงานจะตอ้ งมีรางวลั เปน็ แรงจูงใจ

ค. การมอบหมายงานจะตอ้ งเหมาะสมกบั ความสามารถ

ง. การมอบหมายงานจะตอ้ งเป็นผู้ที่มีความใกลช้ ิดกบั ผู้บริหารเท่าน้ัน

13. ปัจจัยความสาเร็จในการบริหารจัดการองคก์ รข้อใดมีความสาคัญที่สุด

ก. คน ข. เงนิ ทุน

ค. เคร่ืองจกั ร ง. วัสดอุ ุปกรณ์

14. หัวหน้าแผนกวิชาควรมีทักษะในการบริหารจดั การดา้ นใดมากท่ีสุด

ก. ทกั ษะด้านความคิด ข. ทกั ษะดา้ นมนษุ ย์

ค. ทักษะดา้ นเทคนิค ง. มีความสาคัญทกุ

ทกั ษะ

15. ข้อใดไมใ่ ชห่ ลกั มนุษยสมั พนั ธ์ในการทางานของผู้บงั คบั บญั ชาควรมี

ก. รจู้ กั ควบคุมอารมณ์ของตนเอง ข. รู้จักให้กาลงั ใจ ใหร้ างวัลและมีการยก

ยอ่ งชมเชย

ค. ช้แี จงความเคลอ่ื นไหวของงานใหท้ ราบ ง. เนน้ ตนเองเป็นศูนยก์ ลาง

การประเมินการใช้แผนการสอน

รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม ขอ้ เสนอแนะ
4321

1. เวลาท่ีใช้สอน

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

3. สาระการเรยี นรู้

4. กระบวนการเรยี นรู้

5. การใชส้ ่ือการเรียนการสอน

6. การวัดผลประเมินผล

7. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรู้

8. การประเมินดา้ นคุณธรรม จริยธรรม

9. ความสนใจของนกั เรยี น

10. ความพอใจของผสู้ อน

รวม

ความคิดเห็นครผู ้สู อน
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………

ลงชื่อ.........................................................
(................................................)
………/……………/….….

ความคิดเห็นหัวหนา้ แผนกวชิ า
…………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ลงชอื่ .........................................................
(..............................................)
………/……………/….….

ความคิดเหน็ รองผูอ้ านวยการฝา่ ยวิชาการ

………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………
ลงชื่อ.........................................................
(............................................)
………/……………/….….



แผนการสอน หนว่ ยท่ี 7

ชือ่ วิชา ความรเู้ กย่ี วกบั งานอาชพี สอนครั้งที่ 14-15

ช่ือหนว่ ย หลักการบริหารงานคณุ ภาพ ชั่วโมงรวม 4

ชอื่ เรื่องหรอื ช่ือหนว่ ย หลกั การบริหารงานคณุ ภาพ จานวนชว่ั โมง 4

สาระการเรียนรู้
1. คณุ ภาพ
2. ปรชั ญาพนื้ ฐานของระบบบริหารคณุ ภาพ
3. กระบวนการของระบบบริหารงานคุณภาพ
4. หลกั การบริหารงานคุณภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายและความสาคัญของคุณภาพได้
2. บอกปรัชญาพ้ืนฐานของระบบบรหิ ารคุณภาพได้
3. บอกกระบวนการของระบบงานคุณภาพได้
4. นากจิ กรรม 5 ส. มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้
5. อธบิ ายวงจรคุณภาพ PDCA ได้
6. บอกประโยชนข์ องกจิ กรรมกลุม่ คณุ ภาพ QCC ได้
7. บอกองค์ประกอบสาคัญของ TQM ได้

สาระสาคัญ
ปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกจิ มีมากข้ึน องคก์ รต่าง ๆ มีความจาเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งคานึงถงึ คณุ ภาพของ

ผลผลิตเพอ่ื ใหส้ ามารถแข่งขันได้ รวมถงึ คณุ ภาพก็เป็นปัจจยั สาคัญในการตัดสนิ ใจเลอื กซอ้ื สนิ ค้าหรือบรกิ าร
ของผูบ้ รโิ ภค ดังน้ันคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ คือ เป้าหมายขององค์กรท่ีต้องปฏิบตั โิ ดยการดูแลเอาใจใส่
พจิ ารณาเลือกทางเลอื กทีด่ ที ่ีสดุ เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่งึ คุณภาพและตรงกบั ความต้องการของลกู ค้า ซ่งึ นอกจาก
ผู้บรหิ ารจะตอ้ งยดึ มนั่ ในหลักการของคณุ ภาพแล้ว ยังต้องใชห้ ลกั การในการบรหิ ารจดั การให้ไดร้ บั ความรว่ มมือ
จากพนกั งานทุกคนดว้ ยความพึงพอใจและให้ความสาคญั กับคุณภาพของพนักงานทุกคน

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ขนั้ ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรยี นหรอื กจิ กรรมของนักเรียน

ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน

1. ครสู อบถามนักเรยี นในการเลอื กใชส้ นิ ค้า 1. ตอบคาถาม

นักเรียนคานึงถงึ อะไรก่อน ระหวา่ งคุณภาพของ 2. รว่ มแสดงความคดิ เห็นเพื่อวิเคราะห์

สินค้า ราคา หรอื ย่ีห้อ สถานการณท์ ่ีครยู กตัวอยา่ ง

2. ครูแนะนาเนอื้ หา และแจง้ ผลการเรยี นท่ีคาดหวัง

ของหน่วยที่ 7 เรอ่ื ง หลักการบริหารคุณภาพ

3. นักเรียนไปศึกษากจิ กรรมคณุ ภาพประเภทต่าง ๆ

เช่น กิจกรรม 5 ส. กิจกรรมกลมุ่ คุณภาพ (QCC) การ

ใชว้ งจรคุณภาพของเดมมิง่ หรอื วงจร PDCA

ข้นั ดาเนนิ การสอน 1. ศึกษาเนอ้ื หาจากเอกสารประกอบ

1. บรรยายเนื้อหาหนว่ ยที่ 7 เรอื่ ง หลักการ การเรียน

บริหารคณุ ภาพ 2. ส่งงานเพือ่ ตรวจตามกาหนด

2. ครสู อนเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม เพอื่ เสริมสรา้ ง 3. มีพัฒนาการแตง่ กายเรียบรอ้ ยถูกตอ้ งตาม

คุณลกั ษณะด้านความมีระเบียบวินัย ระเบียบของสานศึกษา และคณุ ธรรมดา้ นอน่ื ๆ

3. ให้ทาแบบฝกึ หัด หนว่ ยที่ 7 เรอ่ื ง หลกั การ เช่น ความมวี ินยั ความรับผิดชอบ ความ

บริหารคณุ ภาพ ซื่อสัตย์สจุ รติ และความตรงต่อเวลา เป็นตน้

ขั้นสรุปการเรียนการสอน 1. ร่วมสรปุ เนื้อหาโดยตอบขอ้ ซักถามตาม
1. สรปุ สาระสาคัญโดยการซกั ถามนักเรยี น หัวขอ้ ทค่ี รกู าหนด
2. มอบหมายงานเพือ่ จัดทากิจกรรมกลมุ่ จาก
2. นาเสนอผลงานจากกจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะท่ี
กิจกรรมเสรมิ ทกั ษะการจัดประสบการณเ์ รียนร้ทู ี่ 7 7 ทคี่ รมู อบหมาย
3. ประเมินการเรียนร้หู ลงั เรยี น หนว่ ย
3. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วย
ที่ 7 เรื่อง หลักการบรหิ ารคุณภาพ ท่ี 7 เรื่อง หลักการบริหารคณุ ภาพ

งานที่มอบหมายหรอื กจิ กรรม
กอ่ นเรียน
1. ครสู อบถามนกั เรียนในการเลอื กใช้สินค้า นกั เรียนคานงึ ถึงอะไรก่อน ระหว่างคุณภาพของ

สินค้า ราคา หรอื ย่ีห้อ
2. ครูแนะนาเน้ือหา และแจง้ ผลการเรียนที่คาดหวังของหน่วยท่ี 7 เรื่อง หลักการบรหิ ารคุณภาพ
3. นักเรยี นไปศกึ ษากจิ กรรมคณุ ภาพประเภทตา่ ง ๆ เชน่ กิจกรรม 5 ส. กจิ กรรมกลมุ่ คุณภาพ (QCC)

การใชว้ งจรคุณภาพของเดมมงิ่ หรอื วงจร PDCA
ขณะเรยี น
1. บรรยายเน้อื หาหนว่ ยท่ี 7 เรอื่ ง หลกั การบรหิ ารคณุ ภาพ
2. ครสู อนเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพ่ือเสริมสร้างคณุ ลักษณะดา้ นความมีระเบียบวินัย
3. ใหท้ าแบบฝึกหัด หนว่ ยที่ 7 เรอื่ ง หลกั การบริหารคุณภาพ

ส่ือการเรยี นการสอน และนวัตกรรม
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา ความรู้เกีย่ วกับงานอาชพี (2001-1001)
2. ส่ือนาเสนอ Power Point เครือ่ งคอมพิวเตอร์ และเครอ่ื งฉายภาพโปรเจคเตอร์
3. แบบประเมินผลการเรยี นรูก้ ่อนและหลังเรียน
4. แบบฝกึ หัด หน่วยท่ี 7 เรอ่ื ง หลกั การบริหารคุณภาพ
5. กิจกรรมเสรมิ ทักษะการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 เรอ่ื ง หลกั การบรหิ ารคุณภาพ

การประเมินผล
กอ่ นเรียน 1. การประเมินพฤติกรรมจติ พิสัยฯ รายบุคคล และการเช็คการเข้าเรียนของนกั ศึกษาลง
ในสมุดบันทกึ เวลาเรยี นและประเมินผลการเรียน

2. การประเมนิ ผลกอ่ นเรียน เกณฑผ์ ่าน 50% ขึน้ ไป
ขณะเรยี น 1. การสงั เกตและประเมนิ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มและคุณลกั ษณะอันพึง
ประสงค์

2. การประเมนิ ผลจากการตรวจแบบฝึกหัด หน่วยท่ี 7 เรือ่ ง หลักการบริหารคณุ ภาพ
หลังเรียน 1. ประเมนิ ผลการเรียนรู้หลงั เรียน เกณฑผ์ ่าน 50% ขึน้ ไป
บนั ทกึ หลงั การสอน

ผลการใชแ้ ผนการสอน นักเรียนมีความเข้าใจ หน่วยท่ี 7 เรอ่ื ง หลกั การบริหาร
คุณภาพ จากการนาเข้าส่บู ทเรียนของครูผ้สู อนโดยการสอบถามจากผู้เรียนหรือจากการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ผลการเรยี นของนักเรียน นักเรยี นมคี วามเข้าใจการจดั ประสบการณ์เรยี นรู้ของครผู ู้สอน
ผลการสอนของครู ประสิทธิภาพในการสอนของครไู ด้ผลดี โดยวัดจากการ
ซักถาม สาระสาคัญโดยสรปุ และนักเรียนส่วนใหญ่ตอบคาถามได้ และการประเมนิ ผลการเรียนรู้

แบบแบบฝึกหดั
หนว่ ยท่ี 7 เรอื่ ง หลักการบริหารคณุ ภาพ

คาสง่ั จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้สมบรู ณ์
1. คณุ ภาพมีความหมายว่าอย่างไร
ตอบ คุณภาพ (Quality) หมายถึง การผลิตสินค้าหรือบริการ โดยมงุ่ เนน้ ตงั้ แตค่ ณุ ภาพในการออกแบบ
ผลติ ภัณฑ์ คุณภาพของการผลิตสินค้าที่ตรงตามมาตรฐานท่ีไดก้ าหนดไว้ เพ่อื ให้ได้สนิ ค้าท่ีสมบูรณ์แบบ มคี วาม
เหมาะสมในการใชง้ าน และเป็นไปตามความคาดหวงั ของลกู ค้า เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของลกู ค้า รวมถึง
สรา้ งความพงึ พอใจใหก้ ับลกู ค้าจากการใช้สนิ คา้ หรอื บริการน้นั
2. คณุ สมบตั ขิ องคณุ ภาพประกอบด้วยอะไรบา้ ง
ตอบ 1. คณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์ ประกอบด้วยคณุ สมบัติสาคญั 8 ดา้ น คอื

(1) สมรรถนะ (2) ลักษณะเฉพาะ (3) ความเชอื่ ถอื ได้ (4) ความสอดคลอ้ งตามท่ีกาหนด (5) ความ
ทนทาน (6) ความสามารถในการให้บริการ (7) ความสวยงาม (8) การรบั รคู้ ณุ ภาพหรอื ชื่อเสียงของ
สนิ ค้า

2.คณุ ภาพของงานบริการ ประกอบดว้ ยคุณสมบัติสาคัญ 10 ด้าน คอื
(1) ความเชอื่ ถอื ได้ (2) การตอบสนองความตอ้ งการ (3) ความสามารถ (4) การเข้าถึงได้ (5)
ความสภุ าพ (6) การติดตอ่ ส่ือสาร (7) ความนา่ เช่ือถือ (8) ความปลอดภยั (9) ความเขา้ ใจ
ลกู คา้ (10) สามารถรู้สกึ ได้ในบรกิ าร
3. ปรชั ญาพนื้ ฐานของระบบบริหารคณุ ภาพมีก่ปี ระการ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
ตอบ ปรชั ญาพ้ืนฐานของระบบบริหารคุณภาพมี 8 ประการ ประกอบด้วย

1. หลกั การบรหิ ารองคก์ รท่ีเน้นลูกค้าเป็นสาคัญ
2. หลกั การบรหิ ารด้วยความเปน็ ผนู้ า

3. หลกั การมสี ว่ นรว่ มของบุคลากร
4. หลกั การดาเนนิ งานอยา่ งเปน็ กระบวนการ
5. หลกั การบริหารงานอยา่ งเปน็ ระบบ
6. หลักการปรบั ปรุงงานอย่างตอ่ เนื่อง
7. หลกั การใช้ขอ้ เท็จจรงิ เป็นพน้ื ฐานในการตัดสนิ ใจ
8. หลักการสร้างสมั พันธภาพกบั ผู้ส่งมอบทีอ่ ยู่บนพน้ื ฐานของผลประโยชนท์ ี่เสมอ
ภาค
4. กระบวนการของระบบบริหารงานคณุ ภาพได้แก่อะไรบา้ ง
ตอบ กระบวนการของระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพ ประกอบด้วย
1. ความรบั ผิดชอบของผูบ้ ริหารในระบบบริหารงานคณุ ภาพ
2. การบริหารทรพั ยากร ซงึ่ เป็นปัจจยั การผลิต


Click to View FlipBook Version