The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายเจษฎา คำภาพันธ์, 2021-04-02 02:35:40

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

3. การทาให้เกิดผลิตภณั ฑ์หรือกระบวนการผลิต
4. การวดั วิเคราะหแ์ ละปรับปรงุ
5. องคป์ ระกอบสาคญั ของกจิ กรรม 5 ส. ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง
ตอบ องคป์ ระกอบของกจิ กรรม 5 ส. มีองคป์ ระกอบสาคัญ ได้แก่

1. สะสาง (SERI) คือ การแยกของที่ต้องการ ออกจากของท่ไี ม่
ต้องการและขจดั ของท่ไี ม่ตอ้ งการทิ้งไป โดยต้องมกี ารดาเนนิ การเร่มิ จากการสารวจ แยก และขจัดออกไป

2. สะดวก (SEITON) คอื การจัดวางสง่ิ ของตา่ ง ๆ ในที่ทางาน ให้เป็น
ระเบียบ เพือ่ ความสะดวก และปลอดภยั โดยมีการกาหนดของทจี่ าเป็น แบ่งหมวดหมู่ จดั เกบ็ ให้เป็นระบบมี
ระเบยี บ และจดั สิ่งของทใ่ี ชบ้ อ่ ยอยู่ใกล้ หรอื นาน ๆ ใช้อยู่ไกล

3. สะอาด (SEISO) คอื การทาความสะอาด เครอื่ งมือ อปุ กรณ์ และ
สถานที่ทางาน โดยมีการกาหนดพน้ื ท่ีรบั ผดิ ชอบ ขจัดตน้ เหตุของความสกปรก ทาความสะอาดแม้แตจ่ ดุ เลก็ ๆ
และการปัด กวาด เชด็ ถู พ้ืนให้สะอาด

4. สขุ ลกั ษณะ (SEIKETSU) คือ สภาพหมดจด สะอาดตา ถกู สขุ ลกั ษณะ
และรกั ษาใหด้ ีตลอดไป โดยจะต้องไม่มีสงิ่ ของไม่จาเปน็ อย่ใู นพ้นื ท่ี ไม่มีสภาพรกรุงรงั ไมม่ สี ่ิงสกปรกตกค้าง

5. สรา้ งนสิ ยั (SHITSUKE) คือ การอบรม สร้างนิสยั ในการปฏิบัตงิ านตาม
ระเบยี บวินัย ขอ้ บังคบั อยา่ งเคร่งครัด
6. วงจรคณุ ภาพ PDCA ย่อมาจากคาใดและมีความหมายวา่ อย่างไร

6.1 P : PLAN หมายถงึ เป็นสว่ นประกอบของวงจรท่ีมคี วามสาคัญ เนอ่ื งจากการวางแผนเป็น
จุดเรมิ่ ต้นของงานและเป็นสว่ นสาคัญทีจ่ ะทาใหก้ ารทางานในส่วนอน่ื เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิผล

6.2 D : DO หมายถึง การลงมอื ปฏิบัตติ ามแผนที่กาหนดไวใ้ นตาราง การปฏิบัติงาน
6.3 C : CHECK หมายถึง หมายถึง การตรวจสอบว่าเมอ่ื ปฏิบตั ิงานตามแผนหรอื การแก้ปญั หา
งานตามแผนแล้ว ผลลพั ธเ์ ปน็ อยา่ งไร สภาพปัญหาไดร้ บั การแก้ไขตรงตามเป้าหมายทก่ี ลุ่มตั้งใจหรอื ไม่
6.4 A : ACT หมายถึง การกระทาภายหลังทีก่ ระบวนการ 3 ขัน้ ตอน ตามวงจรได้ดาเนินการ
เสร็จแล้ว ขัน้ ตอนนี้เปน็ การนาผลจากขนั้ การตรวจสอบ (C) มาดาเนนิ การใหเ้ หมาะสมต่อไป
7. การนาวงจรคณุ ภาพ PDCA มาใช้เพื่อป้องกันมีประโยชน์อยา่ งไร
ตอบ 1. เพ่อื ป้องกัน

1. การนาวงจร PDCA ไปใช้ ทาให้ผู้ปฏิบตั มิ ีการวางแผน การวางแผนท่ดี ชี ว่ ยป้องกนั ปัญหาที่
ไม่ควรเกิด ชว่ ยลดความสบั สนในการทางาน ลดการใช้ทรัพยากรมากหรือน้อยเกินความพอดี ลดความสญู เสีย
ในรปู แบบต่าง ๆ

1.2 การทางานท่ีมีการตรวจสอบเปน็ ระยะ ทาให้การปฏิบตั งิ านมีความ
รัดกมุ ข้ึน และแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ย่างรวดเร็วกอ่ นจะลุกลาม

1.3 การตรวจสอบทน่ี าไปสกู่ ารแกไ้ ขปรับปรงุ ทาให้ปญั หาท่ีเกดิ ขึ้นแล้วไม่

เกดิ ซ้าหรือลดความรุนแรงของปญั หา ถือเป็นการนาความผดิ พลาดมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์
2. เพ่อื แกไ้ ขปัญหา
2.1 ถา้ ประสบส่งิ ทไ่ี มเ่ หมาะสม ไม่สะอาด ไมส่ ะดวก ไมม่ ีประสิทธภิ าพ

ไมป่ ระหยัดควรแก้ปัญหา
2.2 การใช้ PDCA เพือ่ การแกป้ ญั หา ดว้ ยการตรวจสอบวา่ มีอะไรบ้างท่ี

เป็นปัญหา เมอ่ื หาปญั หาได้ ให้นามาวางแผนเพ่ือดาเนินการตามวงจร PDCA ต่อไป
2.3 เพือ่ ปรบั ปรุง การใชว้ งจร PDCA เพือ่ การปรับปรุง คอื ไม่ตอ้ งรอให้

เกดิ ปัญหา แต่ตอ้ งเสาะแสวงหาสิ่งต่าง ๆ หรอื วธิ ีการทดี่ กี ว่าเดมิ อยู่เสมอ เพื่อยกระดับคณุ ภาพชวี ิตและสังคม
เม่อื คดิ วา่ จะปรับปรงุ อะไร ให้ใช้วงจร PDCA เป็นขั้นตอนในการปรับปรุง ขอ้ สาคัญตอ้ งเริม่ PDCA ทีต่ ัวเอง
ก่อนมุ่งไปทบี่ ุคคลอน่ื

8. กจิ กรรมกลุ่มคุณภาพ QCC ย่อมาจากคาใดและมีความหมายวา่ อย่างไร
8.1 Q : Quality หมายถึง คุณภาพใน 3 ด้านหลกั ได้แก่ คุณภาพงาน คุณภาพชวี ิต และ คุณภาพ

สิ่งแวดล้อม
8.2 C : Control หมายถึง การควบคุมหรือการกระทาให้คุณภาพทง้ั 3 ข้างตน้ อยู่ในระดบั ท่ี

ตอ้ งการ หรอื ในระดบั มาตรฐานทด่ี ี
8.3 C : Circle หมายถงึ วงจรควบคุมคณุ ภาพอย่างตอ่ เน่อื ง 7 ขนั้ ตอน และหมายถึงวงจรเดมมง่ิ ซึง่

ประกอบดว้ ย PDCA (Plan, Do, Check, Action)
9. ประโยชนข์ องกิจกรรมกล่มุ คณุ ภาพ QCC ทม่ี ตี อ่ ผู้ปฏิบตั ิงาน คืออะไร
ตอบ ประโยชน์ของกจิ กรรมกลุ่มคุณภาพ QCC ทมี่ ีตอ่ ผู้ปฏิบตั ิงาน ได้แก่

1. ผูป้ ฏบิ ตั งิ านไดพ้ ฒั นาความร้คู วามสามารถของตนเองเพิ่มมากข้นึ มี
โอกาสแสดงออกและได้แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ซึ่งกันและกนั

2. ไดพ้ ัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และวิเคราะหข์ อ้ มลู อย่างเป็นระบบ
3. ทาใหเ้ กิดความรว่ มมอื และเข้าใจอันดีระหว่างเพื่อนรว่ มงาน เป็นการสง่ เสริม
การทางานเป็นทีมท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ
10. องค์ประกอบสาคญั ของ TQM ได้แกอ่ ะไรบา้ ง
ตอบ องคป์ ระกอบทสี่ าคัญของ TQM มี 3 ประการ คือ
1. การใหค้ วามสาคัญกับลูกค้า (Customer Oriented) ลูกค้า (Customer) เป็น
สาเหตุสาคัญที่ทาให้ธรุ กจิ อย่รู อด เพราะลูกค้าที่เข้ามาซื้อสนิ คา้ หรอื บรกิ าร ไม่ว่าธุรกจิ จะใหญ่เพียงใด ถ้าไม่
สามารถขายสินคา้ หรอื บริการใหแ้ กล่ ูกคา้ เป้าหมายได้ ธุรกจิ กจ็ ะไม่ประสบผลสาเรจ็ ได้ ซ่งึ ลกู คา้ คอื คณุ ภาพ
และคณุ ภาพคอื ลูกค้า ดังน้ันพนกั งานในองค์กรธรุ กิจทุกคนจงึ ตอ้ งมสี านึกในการปฏิบตั ิงานในทุกขนั้ ตอนตอ้ ง

สรา้ งผลงานที่มคี ุณภาพให้กับลกู ค้า
2. การพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง (Continuous Improvement) นวัตกรรมใหม่ที่

เกดิ ขึ้นอย่างต่อเน่อื ง ทาให้องค์การต้องมีการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การพฒั นาอย่างต่อเนอื่ งจะกอ่ ให้เกิด
โมเมนตัม (Momentum) ซง่ึ จะทาใหก้ ารก้าวไปขา้ งหนา้ ของธรุ กจิ สะดวก คลอ่ งตัว และมีประสทิ ธิภาพ
สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาระบบงานทซ่ี ับซอ้ นและครอบคลุมทง้ั องค์การ

3. การมสี ่วนรว่ มจากพนกั งาน (Employees Innovation) พนักงานทกุ คนทงั้ พนกั งาน
ระดบั ลา่ งและผบู้ รหิ ารในหนว่ ยงานจะตอ้ งร่วมมอื กนั โดยทุกแผนกต้องปฏบิ ัติงานในฐานะสมาชิกขององคก์ าร
คณุ ภาพเดยี วกนั

กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะหนว่ ยที่ 7 เรือ่ ง หลกั การบรหิ ารคณุ ภาพ
กิจกรรมท่ี 7 เป้าหมายประกอบอาชพี ในอนาคตโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA
วัตถปุ ระสงค์ เพื่อใหน้ ักเรียนวางแผนการประกอบอาชพี ในอนาคตโดยใชว้ งจรคุณภาพ PDCA ได้

การประเมินผล โดยครใู ชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดังนี้

รายการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง ปรบั ปรุง

1. เนอ้ื หาถกู ต้องครบถ้วนสมบรู ณ์

2. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในกิจกรรม

3. สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้

4. การสง่ งานตรงตอ่ เวลาที่กาหนด

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยที่ 7 เรื่อง หลกั การบรหิ ารคณุ ภาพ

คาส่ัง ใหน้ ักเรียนทาเคร่อื งหมายกากบาท ( ) ขอ้ ท่ีถูกตอ้ งทีส่ ุดเพียงขอ้ เดยี ว
1. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ ง

ก. สนิ ค้าท่รี าคาถกู เปน็ สินคา้ ทีไ่ มม่ คี ุณภาพ
ข. สนิ ค้ามีราคาแพงต้องมีคณุ ภาพทดี่ ีเสมอ
ค. สนิ ค้าทม่ี ีคุณภาพตอ้ งตรงตามมาตรฐานและตอบสนองความพอใจของลกู ค้า

ง. สินค้าทีม่ ีคุณภาพตอ้ งมมี าตรฐานการรบั รองสินคา้ จากตา่ งประเทศเทา่ น้นั
2. คุณภาพด้านการผลิตคือขอ้ ใด

ก. ความสามารถในการให้บริการ ข. ความน่าเชอ่ื ถอื
ค. การเข้าถึงได้ ง. ความเข้าใจลูกคา้
3. ขอ้ ใดคอื จดุ ม่งุ หมายของการบริหารงานคุณภาพ
ก. เพอ่ื ประโยชน์ของตัวพนกั งานเอง
ข. เพอื่ ผลประโยชนข์ องผบู้ ริหาร
ค. เพอื่ ประโยชนข์ องผถู้ ือหุน้
ง. เพือ่ ประโยชน์ของทกุ สว่ นทกุ ฝ่ายทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั องคก์ ร
4. ข้อใดหมายถงึ ปรชั ญาพืน้ ฐานของระบบการบริหารคณุ ภาพ (QMP)
ก. หลักการบริหารดว้ ยความเปน็ ผูน้ า ข. หลักการบรหิ ารองค์กรท่ีเน้นลกู คา้ เปน็
สาคญั
ค. หลักการมสี ว่ นรว่ มของบุคลากร ง. ถกู ทกุ ขอ้
5. “สารวจ แยก และขจัดออกไป” คือขอ้ ใดในกจิ กรรม 5 ส.
ก. สะดวก ข. สะสาง
ค. สร้างนิสยั ง. สะอาด
6. “ส. 4 และ ส. 5” เปน็ วตั ถปุ ระสงคข์ องกจิ กรรม 5 ส. ในด้านใด
ก. สุขอนามยั ในทท่ี างาน ข. วัตถสุ ิง่ ของ เคร่ืองใชต้ ่าง ๆ
ค. การจดั สถานท่ีทางาน ง. การจัดการเร่อื งของคน
7. “มีการเปรยี บเทียบภาพก่อน–หลังทากิจกรรม” หมายถึงข้อใด
ก. สะดวก ข. สะสาง
ค. สรา้ งนิสัย ง. สขุ ลักษณะ
8. วงจรคุณภาพ PDCA คอื ขอ้ ใด
ก. วางแผน ปฏบิ ตั ิ ปรับปรงุ ตรวจสอบ ข. วางแผน ปฏบิ ตั ิ ตรวจสอบ

ปรบั ปรงุ
ค. วางแผน ตรวจสอบ ปฏิบัติ ปรบั ปรงุ ง. วางแผน ตรวจสอบ ปรับปรุง

ปฏบิ ตั ิ
9. วงจรคุณภาพเป็นเคร่ืองมอื เพอ่ื ชว่ ยในกระบวนการใด

ก. ปรบั ปรุงคณุ ภาพของสนิ คา้ ข. ปรบั ปรุงกระบวนการทางาน
ค. ปรับปรุงคณุ ภาพการบริการ ง. ปรบั ปรุงกระบวนการผลติ
10. การประเมนิ เป้าหมายทไี่ ด้วางแผนไวว้ ่าไดท้ าสาเร็จหรอื ไม่คือข้อใด
ก. Do ข. Plan
ค. Act ง. Check
11. นาผลประเมนิ มาปรบั ปรงุ หรอื พัฒนาให้ดยี ่งิ ขน้ึ กวา่ เดมิ คือข้อใด
ก. Do ข. Plan
ค. Check ง. Act
12. ประโยชนข์ องวงจรคณุ ภาพ PDCA ในการปอ้ งกันคือขอ้ ใด
ก. เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต ข. ไมต่ อ้ งรอใหเ้ กิดปญั หา
ค. ทาให้ผูป้ ฏบิ ัตมิ กี ารวางแผนงานทดี่ ี ง. ตรวจสอบวา่ อะไรบา้ งที่เปน็ ปัญหา
13. ความรบั ผดิ ชอบของผ้บู ริหารในระบบบริหารคุณภาพคอื ขอ้ ใด
ก. การบริหารคุณภาพท่วั ทั้งองคก์ ร
ข. ใชห้ ลกั การบริหารคณุ ภาพในองคก์ ร
ค. ใช้ระบบบริหารคุณภาพที่เหมาะสมกบั องคก์ ร
ง.ถูกทุกขอ้
14. กิจกรรมกลมุ่ คณุ ภาพ QCC หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. ตรวจสอบการทางานของผบู้ ริหาร ข. ปรบั ปรงุ วธิ กี ารทางาน
ค. ระดมความคิดเห็น ง. พฒั นาสนิ ค้าหรือบริการ
15. องค์ประกอบสาคัญของ TQM ขอ้ ใดไม่ถูกต้อง
ก. การพฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง
ข. การให้ความสาคญั กบั ลกู คา้
ค. ต้องมีองคก์ รภายนอกตรวจสอบเป็นประจา
ง.การมีส่วนรว่ มของพนักงาน

แบบทดสอบหลังเรียน
หนว่ ยที่ 7 เรือ่ ง หลกั การบริหารคุณภาพ

คาสัง่ ใหน้ กั เรียนทาเครือ่ งหมายกากบาท ( ) ขอ้ ที่ถูกตอ้ งทีส่ ุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดกลา่ วถูกต้อง

ก. สินค้ามีราคาแพงตอ้ งมคี ณุ ภาพทีด่ ีเสมอ

ข. สนิ คา้ ทร่ี าคาถูกเป็นสนิ ค้าท่ไี ม่มีคุณภาพ

ค. สนิ คา้ ทีม่ ีคุณภาพตอ้ งมีมาตรฐานการรบั รองสนิ ค้าจากตา่ งประเทศเท่านน้ั

ง. สินคา้ ทีม่ ีคุณภาพตอ้ งตรงตามมาตรฐานและตอบสนองความพอใจของ

ลกู ค้า

2. คณุ ภาพดา้ นการผลิตคอื ขอ้ ใด

ก. ความน่าเช่อื ถือ ข. ความสามารถในการให้บริการ

ค. ความเข้าใจลูกค้า ง. การเข้าถึงได้

3. ขอ้ ใดคอื จุดมงุ่ หมายของการบรหิ ารงานคณุ ภาพ

ก. เพื่อผลประโยชนข์ องผู้บรหิ าร

ข. เพ่ือประโยชน์ของตัวพนักงานเอง

ค. เพื่อประโยชนข์ องทุกสว่ นทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั องค์กร

ง. เพ่อื ประโยชน์ของผู้ถือห้นุ

4. ข้อใดหมายถึงปรัชญาพ้ืนฐานของระบบการบริหารคณุ ภาพ (QMP)

ก. หลักการบรหิ ารองคก์ รที่เนน้ ลกู คา้ เป็นสาคัญ ข. หลักการ

บริหารด้วยความเป็นผนู้ า

ค. หลกั การมสี ว่ นรว่ มของบุคลากร ง. ถูกทุกขอ้

5. “สารวจแยก และขจัดออกไป” คอื ข้อใดในกิจกรรม 5 ส.

ก. สะสาง ข. สะดวก

ค. สะอาด ง. สร้างนสิ ัย

6. “ส. 4 และ ส. 5” เปน็ วตั ถุประสงค์ของกิจกรรม 5 ส. ในด้านใด

ก. วตั ถสุ ง่ิ ของ เคร่ืองใชต้ ่าง ๆ ข. สขุ อนามยั ในทท่ี างาน

ค. การจดั การเรือ่ งของคน ง. การจดั สถานทท่ี างาน

7. “มกี ารเปรยี บเทยี บภาพก่อน–หลังทากิจกรรม” หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. สะสาง ข. สะดวก

ค. สุขลักษณะ ง. สร้างนิสยั

8. วงจรคุณภาพ PDCA คือข้อใด ข. วางแผน ปฏิบตั ิ
ก. วางแผน ปฏิบตั ิ ตรวจสอบ ปรับปรุง ง. วางแผน ตรวจสอบ

ปรับปรงุ ตรวจสอบ
ค. วางแผน ตรวจสอบ ปรบั ปรุง ปฏิบตั ิ

ปฏบิ ตั ิ ปรับปรงุ

9. วงจรคุณภาพเปน็ เคร่ืองมอื เพื่อชว่ ยในกระบวนการใด

ก. ปรบั ปรงุ กระบวนการทางาน ข. ปรบั ปรุงคุณภาพของสินค้า

ค. ปรบั ปรุงกระบวนการผลิต ง. ปรบั ปรงุ คุณภาพการบรกิ าร

10. การประเมนิ เปา้ หมายทไ่ี ดว้ างแผนไว้ว่าไดท้ าสาเร็จหรอื ไม่คือข้อใด

ก. Plan ข. Do

ค. Check ง. Act

11. นาผลประเมินมาปรับปรงุ หรอื พฒั นาให้ดยี ิ่งขึน้ กวา่ เดมิ คือขอ้ ใด

ก. Plan ข. Do

ค. Act ง. Check

12. ประโยชน์ของวงจรคุณภาพ PDCA ในการป้องกนั คอื ข้อใด

ก. ไมต่ ้องรอใหเ้ กิดปัญหา ข. เพอื่ ยกระดับคณุ ภาพชีวติ

ค. ตรวจสอบวา่ อะไรบ้างท่ีเปน็ ปัญหา ง. ทาให้ผปู้ ฏบิ ตั ิมกี ารวางแผน

งานทด่ี ี

13. ความรับผิดชอบของผ้บู ริหารในระบบบริหารคุณภาพคอื ขอ้ ใด

ก. ใชห้ ลกั การบรหิ ารคณุ ภาพในองคก์ ร ข. การบริหารคุณภาพ

ทวั่ ท้ังองคก์ ร

ค. ใชร้ ะบบบรหิ ารคุณภาพทีเ่ หมาะสมกับองคก์ ร ง. ถูกทกุ ข้อ

14. กจิ กรรมกลุ่มคุณภาพ QCC หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. ปรับปรุงวธิ กี ารทางาน ข. ตรวจสอบการทางานของผู้บริหาร

ค. พัฒนาสนิ คา้ หรอื บรกิ าร ง. ระดมความคิดเห็น

15. องค์ประกอบสาคัญของ TQM ขอ้ ใดไม่ถูกตอ้ ง

ก. การให้ความสาคัญกบั ลกู คา้

ข. การพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง

ค. การมีส่วนรว่ มของพนักงาน

ง. ต้องมอี งคก์ รภายนอกตรวจสอบเป็นประจา

การประเมินการใช้แผนการสอน

รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ
4321

1. เวลาท่ใี ชส้ อน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้

3. สาระการเรยี นรู้

4. กระบวนการเรียนรู้

5. การใช้สื่อการเรียนการสอน

6. การวดั ผลประเมนิ ผล

7. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้

8. การประเมินดา้ นคุณธรรม จริยธรรม

9. ความสนใจของนกั เรียน

10. ความพอใจของผสู้ อน

รวม

ความคดิ เหน็ ครูผูส้ อน
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………

ลงชอื่ .........................................................
(................................................)
………/……………/….….

ความคดิ เหน็ หวั หนา้ แผนกวชิ า
…………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ลงชือ่ .........................................................
(..............................................)
………/……………/….….

ความคดิ เหน็ รองผอู้ านวยการฝ่ายวชิ าการ
………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

ลงชอ่ื .........................................................
(............................................)
………/……………/….….

แผนการสอน หน่วยที่ 8
ชื่อวชิ า ความรู้เกย่ี วกบั งานอาชีพ สอนคร้งั ท่ี 16-17
ชื่อหนว่ ย ส่งิ แวดลอ้ มและความปลอดภัยในการทางาน ช่วั โมงรวม 4
ช่ือเร่ืองหรอื ชื่อหนว่ ย สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั จานวนช่ัวโมง 4
ในการทางาน

สาระการเรียนรู้
1. ส่ิงแวดล้อมในการทางาน
2. สาเหตุ ผลกระทบ และการปอ้ งกันการเกดิ อุบัตเิ หตุจากการทางาน
3. หลักการควบคมุ และป้องกนั อนั ตรายจากส่ิงแวดล้อมการทางาน
4. หลกั การของความปลอดภัยในการทางาน
5. อปุ กรณ์ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คลเพือ่ ความปลอดภัยในการทางาน
6. กฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความหมายของสง่ิ แวดล้อมในการทางานได้
2. บอกสาเหตขุ องการเกดิ อบุ ัติเหตุได้
3. บอกหลกั การควบคุมและป้องกนั อนั ตรายจากสิง่ แวดล้อมการทางานได้
4. นาหลกั การควบคุมและปอ้ งกันอนั ตรายจากส่งิ แวดลอ้ มการทางานมาประยุกตใ์ ชไ้ ด้
5. บอกอปุ กรณ์ป้องกนั สว่ นบคุ คลเพื่อความปลอดภัยในการทางานได้
6. บอกกฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานได้

สาระสาคัญ
ในปัจจบุ นั อุตสาหกรรมรวมถึงธุรกจิ ต่าง ๆ ต้องคานงึ ถึงส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทางาน

ของพนักงาน จึงตอ้ งใหค้ วามสาคญั กบั การใช้ทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและมีการจดั การดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม
และความปลอดภยั ในการทางานทีด่ ี เพ่ือปอ้ งกันและลดผลกระทบที่จะเกดิ ขึ้น นอกจากน้ียงั ไดป้ ลูกฝังแนวคดิ
เร่อื งความรบั ผดิ ชอบต่อสิ่งแวดลอ้ มแก่ผู้ท่ีปฏิบัติงานอยา่ งต่อเนอ่ื ง เพอ่ื ใหเ้ กิดความเข้าใจถึงความสาคญั ของ
การดูแลส่งิ แวดล้อมอยา่ งเป็นองค์รวม และตระหนกั ถงึ ความปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ านของพนักงานทกุ คน จงึ
ต้องคานึงถึงความรับผดิ ชอบต่อสงิ่ แวดลอ้ มควบคู่ไปกับการปฏบิ ตั ิงานท่ปี ลอดภัยเสมอ

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรือกจิ กรรมของนกั เรยี น

ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน

1. ครูสอบถามนักเรยี นเกีย่ วกบั การป้องกันตนเอง 1. ตอบคาถาม

และความปลอดภยั จากกระบวนการทางาน 2. ร่วมแสดงความคดิ เหน็ เพอื่ วิเคราะห์

2. ครแู นะนาเนอ้ื หา และแจง้ ผลการเรยี นท่ีคาดหวัง สถานการณ์ที่ครูยกตัวอยา่ ง

ของหน่วยที่ 8 เรอ่ื ง สิง่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ใน

การทางาน

3. นักเรียนศึกษาอปุ กรณพ์ น้ื ฐานเก่ียวกับความ

ปลอดภยั เชน่ จากการขับขีร่ ถจกั รยายนต์ การป้องกนั

อัคคภี ัยในบ้านเรือน เป็นต้น

ขนั้ ดาเนนิ การสอน 1. ศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบ

1. บรรยายเน้ือหา หน่วยที่ 8 เร่ือง สิ่งแวดล้อม การเรยี น

และความปลอดภัยในการทางาน 2. ส่งงานเพื่อตรวจตามกาหนด

2. ครูสอนเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม เพือ่ เสรมิ สร้าง 3. มีพัฒนาการแต่งกายเรยี บรอ้ ยถกู ตอ้ งตาม

คณุ ลกั ษณะด้านความมีระเบยี บวินัย ระเบยี บของสานศึกษา และคณุ ธรรมดา้ นอน่ื ๆ

3. ใหท้ าแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 8 เร่อื ง สง่ิ แวดล้อม เชน่ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความซอื่ สัตย์

และความปลอดภยั ในการทางาน สุจรติ และความตรงต่อเวลา เปน็ ต้น

ขัน้ สรปุ การเรยี นการสอน 1. ร่วมสรุปเนื้อหาโดยตอบขอ้ ซักถามตาม
1. สรุปสาระสาคญั โดยการซกั ถามนักเรียน หวั ขอ้ ท่ีครกู าหนด
2. มอบหมายงานเพื่อจัดทากิจกรรมกลุ่มจาก
2. นาเสนอผลงานจากกจิ กรรมเสริมทกั ษะท่ี
กิจกรรมเสรมิ ทักษะการจัดประสบการณ์เรียนรทู้ ่ี 8 8 ทคี่ รูมอบหมาย
3. ประเมินการเรียนร้หู ลังเรียน หนว่ ย
3. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วย
ที่ 8 เรือ่ ง ส่งิ แวดลอ้ มและความปลอดภัยในการทางาน ท่ี 8 เร่ือง สิง่ แวดล้อมและความปลอดภยั ใน

การทางาน

งานทม่ี อบหมายหรือกิจกรรม
ก่อนเรยี น

1.ครูสอบถามนกั เรียนเกี่ยวกบั การปอ้ งกนั ตนเองและความปลอดภยั จากกระบวนการทางาน
2. ครูแนะนาเนอื้ หา และแจ้งผลการเรียนท่ีคาดหวังของหน่วยท่ี 8 เร่ือง สงิ่ แวดล้อมและความ
ปลอดภยั ในการทางาน
3. นกั เรยี นศกึ ษาอุปกรณ์พ้ืนฐานเกีย่ วกับความปลอดภัย เชน่ จากการขับขี่รถจกั รยายนต์ การป้องกนั
อัคคีภยั ในบ้านเรือน เป็นตน้
ขณะเรยี น

1. บรรยายเนือ้ หาหนว่ ยท่ี 8 เรอ่ื ง สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภัยในการทางาน
2. ครสู อนเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม เพือ่ เสริมสรา้ งคณุ ลักษณะด้านความมรี ะเบยี บวินัย
3. ใหท้ าแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 8 เรอื่ ง สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภัยในการทางาน
ส่ือการเรยี นการสอน และนวัตกรรม

1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า ความรเู้ ก่ยี วกับงานอาชพี (2001-1001)
2. ส่อื นาเสนอ Power Point เคร่อื งคอมพิวเตอร์ และเครอื่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์
3. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้กอ่ นและหลังเรยี น
4. แบบฝึกหัด หน่วยท่ี 8 เรอ่ื ง สงิ่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทางาน
5. กิจกรรมเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้ หน่วยที่ 8 เรอ่ื ง สิง่ แวดล้อมและความปลอดภยั ในการ
ทางาน
การประเมินผล
กอ่ นเรยี น 1. การประเมนิ พฤตกิ รรมจติ พสิ ัยฯ รายบุคคล และการเช็คการเข้าเรยี นของนกั ศกึ ษาลง
ในสมุดบันทึกเวลาเรยี นและประเมนิ ผลการเรยี น

2. การประเมนิ ผลก่อนเรยี น เกณฑ์ผ่าน 50% ข้นึ ไป
ขณะเรยี น 1. การสังเกตและประเมินดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มและคุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค์

2. การประเมนิ ผลจากการตรวจแบบฝึกหัด หน่วยท่ี 8 เร่อื ง สิง่ แวดล้อมและความ
ปลอดภัยในการทางาน

หลงั เรยี น 1. ประเมนิ ผลการเรยี นรหู้ ลงั เรยี น เกณฑ์ผา่ น 50% ขน้ึ ไป
บนั ทกึ หลงั การสอน

ผลการใช้แผนการสอน นักเรียนมีความเขา้ ใจ หน่วยที่ 8 เร่อื ง สิ่งแวดลอ้ มและความ
ปลอดภัยในการทางาน จากการนาเข้าสู่บทเรยี นของครูผสู้ อนโดยการสอบถามจากผเู้ รยี นหรือจากการ
ประเมินผลการเรยี นรู้

ผลการเรยี นของนกั เรยี น นกั เรยี นมีความเข้าใจการจัดประสบการณเ์ รียนรขู้ องครผู ู้สอน

ผลการสอนของครู ประสิทธิภาพในการสอนของครูได้ผลดี โดยวัดจากการซักถาม สาระสาคญั โดย
สรปุ และนักเรียนส่วนใหญต่ อบคาถามได้ และการประเมินผลการเรียนรู้

แบบแบบฝกึ หัด
หนว่ ยที่ 8 เรื่อง สงิ่ แวดล้อมและความปลอดภัยในการทางาน

คาสง่ั จงตอบคาถามต่อไปน้ใี หส้ มบูรณ์
1. คาตอ่ ไปน้มี ีความหมายว่าอย่างไร

1.1 ส่งิ แวดลอ้ ม หมายถงึ ทกุ สิ่งทกุ อยา่ งทีอ่ ยู่รอบตวั มนษุ ย์ทั้งท่ีมีชีวิตและไม่มชี ีวิต รวมท้ังทเ่ี ป็น
รปู ธรรม (สามารถจับตอ้ งและมองเห็นได้) และนามธรรม (ตัวอย่างเช่น วฒั นธรรม แบบแผน ประเพณี ความ
เชอ่ื ) มอี ทิ ธิพลเกีย่ วโยงถึงกนั เป็นปจั จยั ในการเกอ้ื หนุนซง่ึ กนั และกัน ผลกระทบจากปจั จัยหนึ่งจะมีส่วน
เสริมสร้างหรือทาลายอีกสว่ นหน่ึง อยา่ งหลกี เล่ียงมไิ ด้ ส่ิงแวดล้อมเปน็ วงจรและวัฏจกั รที่เกย่ี วขอ้ งกนั ไปท้งั
ระบบ

1.2 ส่งิ แวดลอ้ มในการทางาน หมายถึง ส่งิ ต่าง ๆ ทีอ่ ยู่ลอ้ มรอบตัวผปู้ ระกอบอาชพี ในขณะ
ทางาน อาจหมายรวมถงึ เครื่องจกั รกล อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ อากาศท่ีหายใจ แสงสวา่ ง ความสน่ั สะเทือน รังสี
ความรอ้ น ความเยน็ ก๊าซ ไอสาร ฝนุ่ ละออง และสารเคมีอืน่ ๆ ตลอดจนเชือ้ โรคและสตั ว์ตา่ ง ๆ นอกจากนยี้ ัง
รวมไปถงึ สภาพการทางานที่ซ้าซาก การเรง่ รบี ทางาน การทางานเป็นผลดั หมุนเวียนเรื่อยไป สัมพันธภาพ
ระหวา่ งเพื่อนรว่ มงาน ค่าตอบแทน และช่วั โมงการทางาน เปน็ ตน้
2. ปจั จัยของส่ิงแวดล้อมในการทางานประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
ตอบ ปจั จัยสิง่ แวดลอ้ มในการทางาน ประกอบด้วย

1. ปัจจัยสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพทีอ่ ยรู่ อบ ๆ ตัวผู้ปฏบิ ตั ิงานในขณะทางานน้ันมีหลายชนิด
เชน่ เสยี งดัง ความสั่นสะเทือน ความรอ้ น ความเยน็ รงั สี แสงสวา่ ง ความดนั บรรยากาศ นอกจากนย้ี งั รวมถงึ
เคร่ืองจกั ร เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ต่าง ๆ และบริเวณสถานท่ที างาน เป็นต้น

2. ปัจจยั ส่งิ แวดลอ้ มทางเคมที ีผ่ ู้ปฏิบัติงานตอ้ งเก่ยี วข้อง เชน่ สารเคมีชนิดตา่ ง ๆ ที่ใชเ้ ปน็
วตั ถุดบิ หรือผลผลิต หรอื ของเสียที่ต้องกาจดั โดยทั่วไปสารเคมดี งั กล่าวอาจอยใู่ นรปู ของกา๊ ซ ไอ ฝ่นุ ฟมู ควัน
ละออง หรืออยใู่ นรูปของเหลว เชน่ สารตวั ทาละลาย (Solvents) ต่าง ๆ เปน็ ตน้

3. ปัจจัยสง่ิ แวดลอ้ มทางชวี ภาพของผู้ปฏิบัติงานนน้ั มีทั้งชนิดที่มีชวี ติ และไม่มีชวี ติ ตวั อย่าง
ของชนิดท่ีมีชวี ติ เช่น ไวรสั แบคทเี รีย เชื้อรา พยาธิ และสัตวอ์ ่ืน ๆ เชน่ งู เปน็ ตน้ สาหรบั ตวั อย่างของชนดิ ที่
ไม่มชี วี ิต เชน่ ฝุ่นพชื ต่าง ๆ ซง่ึ รวมถงึ ฝุ่นไม้ ฝนุ่ ฝ้าย และฝุ่นเมล็ดพชื ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น

4. ปัจจัยสิง่ แวดล้อมทางเศรษฐกิจและสงั คม หมายถึง สง่ิ แวดลอ้ มท่เี กี่ยวข้องกับลกั ษณะทาง
สงั คม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเช่ือถอื ตลอดจนฐานะความเปน็ อยแู่ ละอาชพี ของประชากรในชุมชน
3. อบุ ัติเหตหุ มายถงึ อะไร
ตอบ อบุ ตั ิเหตุ หมายถึง เหตกุ ารณ์ทเี่ กดิ ขึน้ อยา่ งไม่พงึ ประสงคใ์ นระหวา่ งการทางานและมีผลไปขดั ขวางหรอื
กอ่ ผลเสียหายแกก่ ารทางานน้นั

4. สาเหตุของการเกดิ อบุ ตั ิเหตปุ ระกอบดว้ ยอะไรบา้ ง

ตอบ สาเหตขุ องการเกดิ อุบัติเหตุ ประกอบด้วย

1. สาเหตุจากการกระทาทไ่ี มป่ ลอดภัย ประกอบดว้ ยดังน้ี

(1) การกระทาไม่ถูกวิธีหรือไมถ่ ูกขัน้ ตอน

(2) ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย

(3) การมีนิสยั ชอบเสี่ยง

(4) การไมป่ ฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บความปลอดภัยในการทางาน

(5) การทางานโดยไม่มีอุปกรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายส่วนบคุ คล

(6) การแตง่ กายไมเ่ หมาะสม

(7) การทางานโดยไมใ่ ช่การด์ เครอ่ื งจกั ร

(8) ใชเ้ คร่ืองมือไม่เหมาะสมหรอื ผิดประเภท

(9) การหยอกล้อกนั ระหวา่ งทางาน

(10) การทางานโดยสภาพรา่ งกายและจิตใจไม่ปกติ เชน่ เมาคา้ ง ป่วย

2. สาเหตุจากสภาพการณ์ท่ไี ม่ปลอดภัย ประกอบด้วย

(1) ส่วนทเี่ ป็นอันตรายหรอื ส่วนท่ีเคลอื่ นไหวไมม่ ีอปุ กรณ์ปอ้ งกัน

อันตราย

(2) การวางผังไมถ่ กู ต้อง วางสงิ่ ของไมเ่ ปน็ ระเบยี บ

(3) พน้ื โรงงานไม่เหมาะสม ขรุขระเป็นหลุมบอ่

(4) พน้ื ท่ีทางานสกปรกหรอื เต็มไปดว้ ยเศษวัสดุ นา้ หรือน้ามนั

(5) สภาพการทางานไม่ปลอดภยั เช่น เสียงดงั อากาศร้อน ฝุ่นละออง

ควนั ก๊าซ สารเคมี ไอระเหย หรือการสนั่ สะเทือน รวมถึงรงั สตี ่าง ๆ

(6) สภาพการทางานทีเ่ ก่ียวข้องกับอนั ตรายทางชีวภาพ เช่น เช้อื โรค

ต่าง ๆ แมลง (7) เคร่อื งมือ เครอ่ื งจกั ร อปุ กรณ์ชารุดหรอื เสื่อม

คุณภาพ

(8) ระบบไฟฟา้ อปุ กรณ์ไฟฟ้าชารุด

(9) การทางานท่เี ป็นการเคลื่อนทีซ่ ้า ๆ ท่ีเดิม ๆ ทาให้มีผลต่อสภาพ

ร่างกายหรอื สรรี ศาสตร์

5. การป้องกนั ก่อนการเกิดอบุ ัติเหตโุ ดยใช้หลักการ 5 ส. และ กฎ 5 รู้ ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ตอบ 1.หลกั การ 5 ส. สกู่ ารป้องกันอุบัติเหตุ เช่น

1.1 สะสาง หมายถึง การแยกแยะงานดี–งานเสยี ใช้–ไมใ่ ช้

1.2 สะดวก หมายถงึ การจัดการ จัดเกบ็ ให้เปน็ ระเบยี บเปน็ หมวดหมู่

1.3 สะอาด หมายถึง การทาความสะอาดเครอ่ื งมือ เคร่อื งจกั รอปุ กรณ์ สถานท่ี

ก่อนและหลังการใช้งาน

1.4 สุขลกั ษณะ หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานต้องรกั ษาสุขอนามัยของตวั เอง เคร่ืองมือ
และสถานท่ี

1.5 สรา้ งนสิ ยั หมายถึง การสร้างนิสัยท่ีดใี นการทางาน ตลอดจนปฏิบัตติ าม
ข้อกาหนดกฎระเบยี บ รวมถึงขอ้ ห้ามและคาแนะนาอย่างเคร่งครดั

2. กฎ 5 รู้
2.1 รู้งานท่ปี ฏิบตั วิ า่ มอี นั ตรายอยา่ งไร มขี ั้นการทางานอย่างไร
2.2 รู้การเลือกใช้เครอ่ื งมือ เครือ่ งจักร อุปกรณ์
2.3 รวู้ ธิ ีการใช้เครอ่ื งมอื เครอื่ งจกั ร อปุ กรณ์
2.4 รู้ข้อจากดั การใชเ้ คร่อื งมอื และเคร่ืองจกั ร อุปกรณ์
2.5 รวู้ ธิ กี ารบารงุ รกั ษา เคร่ืองมอื และเครอ่ื งจักร อุปกรณ์

6. อนั ตรายทเี่ กิดจากเสยี งได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ อนั ตรายจากเสียงดัง ได้แก่

(1) ทาให้สญู เสียการได้ยินแบบชวั่ คราวและแบบถาวร
(2) ผลต่อสขุ ภาพอนื่ ๆ เช่น ทาให้คล่นื ไส้ หัวใจเต้นเร็ว ฯลฯ
(3) เกิดการรบกวนการสอ่ื สาร
(4) กลบเสียงสัญญาณ
(5) ทาใหเ้ กิดความราคาญ เสยี สมาธิ รบกวนการทางาน อารมณ์เสีย

7. หลกั การป้องกันและการควบคุมอันตรายจากรังสีที่ก่อไอออนประกอบด้วยอะไรบา้ ง
ตอบ หลกั การป้องกนั และควบคุมอนั ตรายจากรงั สีท่ีกอ่ ไอออน ได้แก่

(1) การกาหนดพน้ื ท่คี วบคุมบริเวณทีม่ อี ันตรายจากการใชร้ ังสี
(2) มกี ารตดิ เคร่ืองหมาย สัญลักษณ์ ป้ายเตือนอนั ตราย
(3) กาหนดวธิ กี ารทางานและเวลาการทางานรวมถึงจัดใหม้ เี ครอื่ ง
บนั ทึก
(4) ห้ามหญิงมีครรภเ์ ขา้ ไปในพื้นทีค่ วบคุม
(5) มแี ผนปอ้ งกันและระงบั อนั ตรายจากรงั สีในภาวะปกติ
(6) จดั PPE ตามสภาพและลกั ษณะงาน
(7) จดั การอบรมเกี่ยวกบั อนั ตรายและวธิ ีการป้องกันอนั ตรายจากรงั สี
(8) จดั ให้มีกฎระเบยี บวา่ ด้วยความปลอดภัยในการทางานเกย่ี วกบั รงั สี
8. สารเคมีเขา้ ส่รู า่ งกายทางด้านใดบ้าง

ตอบ ทางเขา้ สู่ร่างกายของสารเคมี ได้แก่
(1) ทางการหายใจ การทางานในสถานประกอบการทัว่ ๆ ไป ผู้ปฏิบัตงิ านสว่ น

ใหญจ่ ะรบั สารเคมเี ขา้ สู่ร่างกายมากทส่ี ุด
(2) ทางการกิน โอกาสไดร้ บั สารเคมเี ข้าร่างกายโดยวิธกี ารกนิ นน้ั นอ้ ยมาก

นอกจากเปน็ อบุ ตั เิ หตุ การตั้งใจฆ่าตวั ตาย หรอื การมสี ขุ วิทยาส่วนบุคคลไมด่ ี
(3) ทางผิวหนงั การเข้าสูร่ ่างกายของสารเคมโี ดยวธิ ีการดดู ซมึ ทางผิวหนัง

นับวา่ สาคัญรองลงมาจากการหายใจ
9. PPE คอื อะไร ยอ่ มาจากอะไร
ตอบ PPE : Personal Protective Equipment คอื อปุ กรณป์ อ้ งกันอันตรายสว่ นบคุ คล หมายถงึ อปุ กรณ์
สาหรบั ผู้ปฏิบัตงิ านสวมใสข่ ณะทางาน เพื่อป้องกันอันตรายท่อี าจเกิดข้นึ อันเน่ืองมาจากสภาพและส่งิ แวดล้อม
การทางาน
10. อปุ กรณ์ป้องกนั สว่ นบคุ คลเพอื่ ความปลอดภัยในการทางานประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
ตอบ อปุ กรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคลเพ่อื ความปลอดภัยในการทางาน ไดแ้ ก่

(1) อุปกรณป์ อ้ งกันศีรษะ (Head Protection Devices)
(2) อปุ กรณป์ ้องกันใบหนา้ และดวงตา (Eye and Face Protection Devices)
(3) อุปกรณ์ปอ้ งกนั หู (Ear Protection Devices)
(4) อปุ กรณ์ป้องกันการหายใจ (Respiratory Protection Devices)
(5) อปุ กรณ์ป้องกันลาตวั (Body Protection Devices)
(6) อุปกรณ์ป้องกนั มือ (Hand Protection Devices)
(7) อปุ กรณ์ปอ้ งกันเทา้ (Foot Protection Devices)
(8) อปุ กรณ์ป้องกนั การตกจากทส่ี งู

กิจกรรมเสริมทกั ษะหน่วยท่ี 8 เรอ่ื ง สง่ิ แวดล้อมและความปลอดภัยในการทางาน

กจิ กรรมที่ 8 สัญลกั ษณท์ เ่ี กี่ยวข้องกบั ความปลอดภยั ในการทางาน

วัตถุประสงค์ เพือ่ ใหน้ ักเรยี นไดท้ ราบถึงสัญลกั ษณท์ ี่เกยี่ วข้องกับความปลอดภยั ในการทางาน

วิธกี าร ให้นกั เรยี นเขยี นคาตอบจากปรศิ นาสัญลักษณ์จากรปู ทกี่ าหนด โดยสามารถสบื ค้นจาก

อินเทอรเ์ นต็ ได้

1. สัญลักษณค์ วามปลอดภัยท่วั ไป

รูปภาพ หมายถงึ รปู ภาพ หมายถึง

หา้ มผ่าน เครือ่ งหมายบงั คบั

ห้ามเข้า เครือ่ งหมายเตือน

หา้ มสูบบหุ ร่ี วัตถุมพี ิษ

หา้ มโทรศัพท์ ระวังสารกัดกรอ่ น

ห้ามจดุ ไฟ ระวังอันตราย

หา้ มผา่ นน่งั รา้ นชารดุ ระวังพ้นื ล่นื

2. สญั ลักษณค์ วามปลอดภยั ส่วนบุคคล

รปู ภาพ หมายถึง รปู ภาพ หมายถงึ

ต้องสวมเครือ่ งปอ้ งกัน ต้องสวมชุดปอ้ งกัน
ดวงตา สารเคมี

สวมหน้ากาก ต้องใช้เข็มขดั และเชอื ก
เตม็ หน้า นิรภยั

ตอ้ งสวมเคร่ืองลดเสียง สวมถุงมอื นริ ภัย
ในพน้ื ทนี่ ้ี
สวมหมวกนิรภัย
สวมหนา้ กากเชอ่ื ม
ตอ้ งลางมอื ใหส้ ะอาด
สวมกระบังหนา้ นิรภัย
ซอ้ นวสั ดุใหถ้ กู ต้อง
สวมรองเท้านริ ภยั ปลอดภัย

การประเมินผล โดยครูใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดังนี้

รายการประเมิน ดมี าก ดี ปานกลาง ปรบั ปรงุ

1. เน้ือหาถกู ต้องครบถ้วนสมบรู ณ์

2. มคี วามรูค้ วามเข้าใจในกิจกรรม

3. สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้

4. การส่งงานตรงต่อเวลาท่ีกาหนด

แบบทดสอบก่อนเรียน
หนว่ ยท่ี 8 เรือ่ ง สงิ่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทางาน

คาสงั่ ให้นกั เรียนทาเคร่อื งหมายกากบาท ( ) ข้อที่ถูกต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. ข้อใดคอื ความหมายของส่ิงแวดลอ้ ม

ก. ส่งิ ทมี่ องเหน็ ไดห้ รือมองไมเ่ ห็นก็ได้
ข. สงิ่ ทีส่ ามารถจับต้องไดห้ รอื ไม่สามารถจับตอ้ งได้
ค. สิ่งต่าง ๆ ที่อย่รู อบตัวเรา เปน็ สงิ่ ที่มีชวี ติ และไมม่ ีชวี ิต
ง. ถกู ทุกข้อ
2. “เสยี งดงั ความส่ันสะเทอื น ความร้อน ความเย็น รงั สี” เปน็ ปจั จยั สง่ิ แวดลอ้ มในการทางานขอ้ ใด
ก. ชีวภาพ ข. กายภาพ
ค. สงั คม ง. เคมี
3. การตอ่ พ่วงทเี่ ชอ่ื มตอ่ อปุ กรณ์ในการใช้งานทอี่ าจเกิดอนั ตรายเปน็ อุบัติเหตุในขอ้ ใด
ก. ระบบไฟฟ้าชารดุ ข. สภาพการทางานไม่ปลอดภัย
ค. การกระทาไม่ถูกวธิ ีหรือไมถ่ ูกขั้นตอน ง. การตดิ ตง้ั ท่ไี ม่เหมาะสม
4. “แบคทีเรีย ไวรสั ยสี ต์” คืออบุ ตั เิ หตุจากสขุ อนามัยขอ้ ใด
ก. กายภาพ ข. สารเคมี
ค. สรรี ศาสตร์ ง. ชีวภาพ
5. “การเคลื่อนทซ่ี า้ ที่เดมิ ๆ” คืออบุ ตั เิ หตุจากสขุ อนามัยขอ้ ใด
ก. สรรี ศาสตร์ ข. สารเคมี
ค. กายภาพ ง. ชีวภาพ
6. การสญู เสียโอกาสในการทากาไร การเสยี ภาพพจน์ รวมท้ังช่อื เสียงของหน่วยงานเปน็ ผลเสยี ของ
อบุ ัติเหตุในด้านใด
ก. ชัดเจน ข. ทางตรง
ค. ไมช่ ดั เจน ง. ทางอ้อม
7. ข้อใดไมใ่ ช่การป้องกนั กอ่ นการเกดิ อุบตั เิ หตโุ ดยใช้หลกั การ 5 ส. สกู่ ารป้องกันอบุ ตั เิ หตุ
ก. การจดั การ จดั เกบ็ ให้เปน็ ระเบยี บเป็นหมวดหมู่
ข. การแยกแยะงานด–ี งานเสีย ใช้–ไม่ใช้
ค. รู้งานท่ปี ฏิบตั ิวา่ มีอันตรายอย่างไร มขี ้ันตอนการทางานอย่างไร

ง. การทาความสะอาดเครื่องมือ เคร่ืองจกั รอปุ กรณ์

8. ถา้ อากาศในบริเวณปฏิบัติงานมีความกดดันสงู กว่าปกติ จะทาให้เกิดอาการในข้อใด
ก. เยอ่ื หูฉีกขาด
ข. อาจทาให้หูหนวกได้
ค. ปวดหู
ง. ถูกทุกข้อ

9. คนงานท่ีทางานในสถานประกอบการทม่ี ีเสียงดงั ปรมิ าณเท่าไรจึงทาใหห้ ตู งึ หรือหนวกได้
ก. เสียงดงั เกิน 80 dB วนั ละ 8 ช่วั โมง เปน็ เวลานาน
ข. เสียงดังเกิน 80 dB วนั ละ 9 ชัว่ โมง เปน็ เวลานาน
ค. เสยี งดังเกนิ 90 dB วันละ 8 ชัว่ โมง เป็นเวลานาน
ง. เสียงดงั เกิน 90 dB วันละ 9 ชวั่ โมง เป็นเวลานาน

10. การป้องกันบุคคลท่ีมีความเส่ยี งต่อการปฏิบัตงิ านสารเคมีคอื ขอ้ ใด
ก. เจ้าของสวนส้มควรส่งพนักงานผู้รบั ผดิ ชอบในการปฐมพยาบาล

ข. ไมค่ วรใหผ้ ดู้ ม่ื สรุ าหรอื ของมึนเมาปฏิบัตงิ านเกยี่ วกับสารเคมี
ค. มีระบบประสานกับหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้องกบั การรกั ษา

ง. คนงานท่ฉี ีดพ่นสารเคมไี มจ่ าเปน็ ต้องสวมเสือ้ ผ้า หมวก ถงุ มอื

11. ในขณะปฏบิ ัติงานผู้ปฏิบัตงิ านต้องศึกษาและรูก้ ฎความปลอดภยั ขอ้ ใดกล่าวผดิ

ก. ตรวจสอบสภาพของเครือ่ งมือ เคร่ืองจักร และอปุ กรณ์ใชง้ านให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้

ข. แตง่ กายใหร้ ัดกุมเหมาะสมกับการปฏบิ ัติงาน

ค. ไม่จาเปน็ ต้องสวมอปุ กรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายทุกคร้ัง เมื่อตอ้ งปฏบิ ัตงิ านทีอ่ าจเกดิ

อันตราย

ง. ไมใ่ ช้เครือ่ งมือ เครอ่ื งจักร และอุปกรณ์ต่าง ๆ เม่ือยังไม่ได้รบั คาแนะนาวิธีการใช้

12. ขอ้ ใดคืออนั ตรายที่เกิดจากการทางานกับวัตถุสัน่ สะเทอื น

ก. ระดับน้าตาลในเลอื ดต่า ข. กระดูกสันหลงั อักเสบ

ค. กระดูกขาดแคลเซยี ม ง. ถูกทกุ ข้อ

13. ข้อใดคอื อนั ตรายจากมลพษิ ในสภาพแวดลอ้ มการทางานด้านชีวภาพ

ก. การระคายเคอื งหรอื ภมู แิ พ้ ข. เสยี งดงั

ค. การสัน่ สะเทือน ง. สารเคมี

14. ขอ้ ใดคอื หลักเกณฑ์ในการใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกันสว่ นบคุ คล (PPE)

ก. ซ่อมแซมไดง้ า่ ย ข. ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั งาน

ค. ตอ้ งผ่านการทดสอบมาตรฐาน ง. มแี บบใหเ้ ลอื กหลายแบบ
15. หมวกประเภทใดทไ่ี ม่เหมาะกบั การทางานท่เี กย่ี วกบั ระบบไฟฟา้

ก. ประเภท B ข. ประเภท A
ค. ประเภท D ง. ประเภท C

แบบทดสอบหลังเรียน
หนว่ ยท่ี 8 เรอ่ื ง ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภัยในการทางาน

คาสง่ั ใหน้ ักเรยี นทาเครือ่ งหมายกากบาท ( ) ขอ้ ทถ่ี กู ตอ้ งท่สี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว

1. ขอ้ ใดคอื ความหมายของส่ิงแวดล้อม

ก. สงิ่ ตา่ ง ๆ ท่อี ยู่รอบตัวเรา เปน็ สิง่ ท่ีมีชวี ติ และไม่มีชีวติ

ข. สิง่ ท่ีมองเหน็ ไดห้ รือมองไมเ่ ห็นก็ได้

ค. สง่ิ ทีส่ ามารถจับต้องไดห้ รอื ไม่สามารถจับตอ้ งได้

ง. ถกู ทุกขอ้

2. “เสยี งดัง ความสั่นสะเทือน ความรอ้ น ความเย็น รังสี” เป็นปัจจัยส่ิงแวดลอ้ มในการทางานขอ้ ใด

ก. กายภาพ ข. ชวี ภาพ

ค. เคมี ง. สังคม

3. การต่อพ่วงทเ่ี ชอื่ มตอ่ อุปกรณ์ในการใช้งานทอ่ี าจเกดิ อนั ตรายเปน็ อบุ ตั ิเหตุในขอ้ ใด

ก. สภาพการทางานไมป่ ลอดภยั ข. ระบบไฟฟ้าชารุด

ค. การตดิ ต้ังท่ไี มเ่ หมาะสม ง. การกระทาไมถ่ ูกวิธีหรอื ไมถ่ ูกขั้นตอน

4. “แบคทเี รยี ไวรสั ยสี ต์” คอื อบุ ตั เิ หตุจากสขุ อนามัยขอ้ ใด

ก. สารเคมี ข. กายภาพ

ค. ชวี ภาพ ง. สรีรศาสตร์

5. “การเคลื่อนท่ซี ้าทเ่ี ดิม ๆ” คอื อบุ ัติเหตุจากสขุ อนามัยขอ้ ใด

ก. สารเคมี ข. สรีรศาสตร์

ค. ชวี ภาพ ง. กายภาพ

6. การสูญเสียโอกาสในการทากาไร การเสียภาพพจน์ รวมท้ังช่อื เสยี งของหน่วยงานเปน็ ผลเสียของ

อุบัตเิ หตุในด้านใด

ก. ทางตรง ข. ชัดเจน

ค. ทางอ้อม ง. ไม่

ชดั เจน

7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การปอ้ งกนั กอ่ นการเกดิ อุบัตเิ หตุโดยใช้หลกั การ 5 ส. ส่กู ารป้องกันอบุ ตั ิเหตุ

ก. การแยกแยะงานด–ี งานเสยี ใช้–ไมใ่ ช้

ข. การจัดการ จัดเก็บให้เปน็ ระเบยี บเปน็ หมวดหมู่

ค. การทาความสะอาดเครอื่ งมือ เครือ่ งจกั รอปุ กรณ์

ง. รงู้ านท่ีปฏบิ ตั ิว่ามอี นั ตรายอยา่ งไร มขี ้ันตอนการทางานอย่างไร

8. ถ้าอากาศในบริเวณปฏบิ ัตงิ านมีความกดดนั สูงกวา่ ปกติ จะทาให้เกดิ อาการในขอ้ ใด

ก. ปวดหู

ข. เย่อื หูฉีกขาด

ค. อาจทาใหห้ หู นวกได้

ง. ถกู ทุกขอ้

9. คนงานท่ที างานในสถานประกอบการทมี่ เี สยี งดงั ปรมิ าณเทา่ ไรจึงทาใหห้ ตู ึงหรอื หูหนวกได้

ก. เสยี งดงั เกนิ 80 dB วันละ 9 ช่ัวโมง เป็นเวลานาน

ข. เสียงดงั เกนิ 80 dB วันละ 8 ชว่ั โมง เปน็ เวลานาน

ค. เสยี งดังเกนิ 90 dB วันละ 9 ชว่ั โมง เปน็ เวลานาน

ง. เสียงดงั เกนิ 90 dB วนั ละ 8 ช่ัวโมง เป็นเวลานาน

10. การปอ้ งกันบคุ คลที่มีความเสี่ยงต่อการปฏิบัติงานสารเคมี คอื ขอ้ ใด

ก. ไมค่ วรให้ผดู้ ื่มสรุ าหรือของมึนเมาปฏิบตั งิ านเกย่ี วกบั สารเคมี

ข. เจา้ ของสวนสม้ ควรสง่ พนกั งานผรู้ บั ผดิ ชอบในการปฐมพยาบาล

ค. คนงานทฉ่ี ดี พ่นสารเคมีไม่จาเป็นตอ้ งสวมเสอื้ ผ้า หมวก ถุงมอื

ง. มีระบบประสานกับหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการรกั ษา

11. ในขณะปฏิบตั ิงานผู้ปฏบิ ัติงานตอ้ งศึกษาและร้กู ฎความปลอดภัย ข้อใดกล่าวผดิ

ก. แต่งกายให้รัดกมุ เหมาะสมกบั การปฏบิ ตั งิ าน

ข. ตรวจสอบสภาพของเครื่องมอื เครอื่ งจักร และอปุ กรณใ์ ชง้ านให้อยู่ใน

สภาพพรอ้ มใช้

ค. ไม่ใชเ้ ครอ่ื งมอื เคร่ืองจกั ร และอุปกรณต์ ่าง ๆ เมอื่ ยังไมไ่ ด้รับคาแนะนา

วิธีการใช้

ง. ไม่จาเป็นต้องสวมอุปกรณป์ ้องกนั อันตรายทุกครงั้ เมอ่ื ตอ้ งปฏบิ ตั งิ านทอ่ี าจ

เกิดอนั ตราย

12. ขอ้ ใดคอื อนั ตรายทเี่ กดิ จากการทางานกับวตั ถุสน่ั สะเทอื น

ก. กระดูกสนั หลังอกั เสบ ข. ระดบั นา้ ตาลในเลอื ดตา่

ค. กระดกู ขาดแคลเซยี ม ง. ถูกทุกข้อ

13. ขอ้ ใดคอื อันตรายจากมลพษิ ในสภาพแวดล้อมการทางานด้านชีวภาพ

ก. เสยี งดงั ข. การระคายเคอื งหรือ

ภมู ิแพ้

ค. สารเคมี ง. การส่นั สะเทือน

14. ข้อใดคอื หลักเกณฑ์ในการใชอ้ ุปกรณป์ ้องกนั ส่วนบุคคล (PPE)

ก. ใช้ให้เหมาะสมกบั งาน ข. ซอ่ มแซมได้งา่ ย

ค. มแี บบให้เลือกหลายแบบ ง. ตอ้ งผ่านการทดสอบมาตรฐาน

15. หมวกประเภทใดทไ่ี ม่เหมาะกับการทางานที่เกย่ี วกับระบบไฟฟา้

ก. ประเภท A ข. ประเภท B

ค. ประเภท C ง. ประเภท D

การประเมินการใชแ้ ผนการสอน

รายการประเมิน ระดบั ความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ
4321

1. เวลาทใี่ ช้สอน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้

3. สาระการเรยี นรู้

4. กระบวนการเรยี นรู้

5. การใชส้ อื่ การเรียนการสอน

6. การวัดผลประเมินผล

7. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้

8. การประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม

9. ความสนใจของนกั เรียน

10. ความพอใจของผู้สอน

รวม

ความคดิ เห็นครูผสู้ อน
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………

ลงชือ่ .........................................................
(................................................)
………/……………/….….

ความคดิ เหน็ หวั หนา้ แผนกวิชา
…………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ลงชือ่ .........................................................
(..............................................)
………/……………/….….

ความคดิ เหน็ รองผูอ้ านวยการฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

ลงชอื่ .........................................................
(............................................)
………/……………/….….

บรรณานุกรม
กรมอนามยั กองอาชวี อนามัย, กระทรวงสาธารณสขุ . (2536). คูม่ ือปฏิบตั ิงาน อาชวี อนามยั สาหรับ

เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ . กรุงเทพฯ : กรมอนามัย, กองอาชีวอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
การปอ้ งกนั และควบคุมอนั ตรายจากสิง่ แวดลอ้ มในการทางาน. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า :

www.shawpat.or.th. (วันทีค่ ้นข้อมูล : 25 มกราคม 2559).
การอนุรกั ษ์สิง่ แวดล้อม. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า :

https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi1/envi1-1.htm. (วนั ทีค่ ้นขอ้ มูล : 25 มกราคม
2559).
กจิ กรรมกลุ่มคุณภาพ QCC. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา :

http://www.uttvc.ac.th/uttvc/wbi2553/qcc1.html. (วนั ทคี่ ้นขอ้ มูล : 23 มกราคม 2559).
ความปลอดภัย. (ม.ป.ป). [ออนไลน]์ . แหลง่ ทีม่ า : http://www.gamerth.com/kengbboy.

(วันท่ีค้นข้อมลู : 7 กุมภาพนั ธ์ 2559).
ค่านยิ มและจรรยาบรรณ. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่มี า :

http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-2/ethics/08.html.
(วันท่ีคน้ ขอ้ มูล : 15 มกราคม 2559).
จะเดด็ เปาโสภา และ มนตรี พรหมเพ็ชร. (2548). เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ าร
การพัฒนาหลกั สูตรแบบฐานสมรรถนะ. กรุงเทพฯ : สานกั มาตรฐานการอาชีวศึกษา และวิชาชีพ.
ดวงรตั น์ เรืองอุไร. (ม.ป.ป). การจดั ระบบบรหิ ารงานคุณภาพ. [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา :
https://www.gotoknow.org/posts/454614. (วนั ที่ค้นขอ้ มลู : 23 มกราคม 2559).
ทิชากร สาราญชลารกั ษ.์ (ม.ป.ป). งานอาชีพทางธรุ กจิ . [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา :
https://sites.google.com/site/kruticha. (วันทค่ี น้ ข้อมูล : 12 มกราคม 2559).
ประกาศคณะกรรมการสง่ เสรมิ การพฒั นาฝมี ือแรงงาน เรือ่ ง มาตรฐานฝมี ือแรงงานแหง่ ชาติ
จานวน 6 สาขาอาชพี . (ม.ป.ป). [ออนไลน]์ . แหล่งทมี่ า :
http://www.dsd.go.th/legalaffairs/Region/ShowACT/6235?region_id=2.
(วนั ที่ค้นขอ้ มลู : 19 มกราคม 2559).
ประกาศคณะกรรมการสง่ เสรมิ การพฒั นาฝมี อื แรงงาน เรื่อง มาตรฐานฝมี อื แรงงานแห่งชาติ สาขาอาชพี
ช่างไฟฟา้ ภายในอาคาร. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า :
http://www.mol.go.th/anonymouse/labour_legislation/5829. (วนั ที่ค้นขอ้ มูล : 19
มกราคม 2559).
พรรณราย ทรพั ยะประภา. (2548). จติ วิทยาประยุกต์ในชีวติ ประจาวันและในการทางาน.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
ระบบคณุ วุฒวิ ิชาชีพ. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า :
http://www.tpqi.go.th/qualification.php. (วันทค่ี ้นขอ้ มูล : 17 มกราคม 2559).

ระวัง เนตรโพธิ์แก้ว. (2529). องค์การและการจดั การ. กรงุ เทพฯ : พทิ ักษ์อกั ษร.
เรณู สมบัติใหม.่ (2551). เอกสารประกอบการสอนวิชาธุรกจิ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ

พจิ ติ ร : วิทยาลยั เทคนคิ พจิ ติ ร.
ลลี า สินานุเคราะห์. (ม.ป.ป). องค์การและการจัดการ. กรงุ เทพฯ : การศาสนา.
วินิจ เกตุขา. (2535). มนษุ ยสัมพันธ์สาหรับผบู้ ริหารยุคใหม.่ กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พร้ินติง้ เฮ้าส์.
ศิรวิ รรณ เสรรี ัตน์, สมชาย หิรัญกติ ติ และสมศักด์ิ วนิชยาภรณ์. (2545). ทฤษฎอี งคก์ าร.

กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.
สมคิด บางโม. (2548). องค์การและการจดั การ. กรงุ เทพฯ : จูน พับลชิ ชิ่ง.
สานักมาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน. (ม.ป.ป.). ทาความรู้จกั กบั มาตรฐานฝีมือแรงงาน.

กรงุ เทพฯ : กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน กระทรวงแรงงาน.
สุภาภรณ์ บตุ รดวี งษ.์ (ม.ป.ป). การพฒั นาตนเอง. [ออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา :

https://www.gotoknow.org/posts/132365. (วนั ทีค่ ้นขอ้ มลู : 12 มกราคม 2559).
หลักการความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน. (ม.ป.ป). [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา :

https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_basiscourse. (วนั ทค่ี ้นข้อมูล : 7 กมุ ภาพันธ์ 2559).
องค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน. (ม.ป.ป). [ออนไลน]์ . แหล่งทมี่ า :

http://www.thaisafetywork.com. (วนั ท่ีค้นขอ้ มูล : 25 มกราคม 2559).
อดุ มพร อมรธรรม. (2537). ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพระเจ้าอยหู่ ัว. กรงุ เทพฯ : แสงดาว.
อุปกรณป์ อ้ งกันภยั ส่วนบุคคลและการนาไปใช้. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า :

http://www.npc-se.co.th/knowledge_center. (วนั ท่คี น้ ขอ้ มูล : 4 กุมภาพนั ธ์ 2559).
อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า : http://th.wikipedia.org/wiki.

(วนั ท่คี น้ ขอ้ มูล : 4 กุมภาพันธ์ 2559).
เอกพันธ์ ปดั ถาวะโร. (ม.ป.ป.). จรรยาบรรณวิชาชีพ. [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา :

http://aekapan.blogspot.com/2012/08/blog-post.html. (วันท่ีค้นขอ้ มลู : 17 มกราคม
2559).


Click to View FlipBook Version