The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kritsahna Suwan, 2019-07-30 10:55:44

นวัตกรรม

นวัตกรรม

๔ ๒ สนรวา้ งัตสกรรรครก์ มารเรียนรู้

ABC

๔๒ โครงการเด่นดา้ นนวัตกรรม
สร้างสรรคก์ ารเรียนรูท้ ีส่ อดรบั กบั
บริบทของท้องถ่ิน วถิ ีชวี ิตของชุมชน
เพอ่ื คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ขี ึ้นของผเู้ รียน

ABC

๔๒ สนรว้างัตสกรรรครก์ มารเรยี นรู้

๔ ๒ สนรว้างตั สกรรรคร์กมารเรียนรู้

พิมพค์ รัง้ ท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๕๖
จ�ำนวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เล่ม
ผจู้ ดั พิมพเ์ ผยแพร ่ สำ� นกั งานส่งเสรมิ สงั คมแห่งการเรียนรแู้ ละคุณภาพเยาวชน (สสค.)
Quality Learning Foundation
ตู้ ปณ.๓๔ ปณฝ.สนามเปา้ ๑๐๔๐๖
โทรศพั ท์ ๐-๒๖๑๙-๑๘๑๑
โทรสาร ๐-๒๖๑๙-๑๘๑๐, ๐-๒๖๑๙-๑๘๑๒
เว็บไซต์ www.QLF.or.th
อเี มล [email protected]

2 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้

คำ�นำ�

เอกสาร ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ฉบับน้ี เป็นผลผลิตท่ีส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการ
เรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ไดส้ นบั สนนุ ทนุ ในโครงการสง่ เสริมนวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนร้รู ะดบั
มัธยมศึกษา คร้ังที่ ๑/๒๕๕๔ โดยเปิดโอกาสให้สถานศึกษาและบุคลากรที่ท�ำหน้าท่ีจัดกระบวนการเรียนรู้
ได้พัฒนาการเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง สอดคลอ้ ง และเหมาะสมกับสถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงของสงั คม โดยได้
จดั ทำ� ขอ้ ตกลงสนบั สนนุ ทนุ ใหโ้ รงเรยี นทจ่ี ดั การเรยี นการสอนระดบั มธั ยมศกึ ษา จำ� นวน ๑๙๕ โครงการ กระจาย
ใน ๔ ภูมภิ าค รวม ๕๐ จังหวัด ด�ำเนินกิจกรรมระหวา่ งเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๔ ถงึ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖
เพอื่ ให้การดำ� เนนิ งานของโครงการทไ่ี ด้รบั การสนับสนุนจาก สสค. เป็นการขับเคลื่อนยกระดับคุณภาพ
การเรยี นรขู้ องเดก็ และเยาวชนไทยในการเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ จงึ กำ� หนดใหม้ คี ณะตดิ ตามสนบั สนนุ และ
ประเมินผลโครงการท้ัง ๑๙๕ โครงการ โดยจัดให้มีเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้และเทคนิคการถอดองค์ความรู้
ตลอดจนการลงเย่ยี มเยยี นการด�ำเนินกิจกรรมในพืน้ ท่ีของทุกโครงการอยา่ งต่อเน่อื ง
ผลการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยผู้รับผิดชอบโครงการทั้ง ๑๙๕ โครงการ ได้มีส่วนร่วมกับ
ผู้ทรงคุณวุฒิในการติดตามโครงการร่วมกันคัดเลือกโครงการท่ีมีความโดดเด่นด้านนวัตกรรมสร้างสรรค์
การเรียนรู้ท่ีสอดรับกับบริบทของท้องถิ่น วิถีชีวิตชุมชน เพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้เรียน และน�ำมา
เรยี บเรยี งขอ้ มลู เพอื่ ใหผ้ สู้ นใจไดศ้ กึ ษากระบวนการดำ� เนนิ กจิ กรรมทเ่ี ปน็ รปู ธรรม รวม ๔๒ โครงการ ประกอบ
ด้วย ๓ ทักษะ ได้แก่ การพัฒนาทักษะการคิด ๑๔ โครงการ การส่งเสริมทักษะชีวิต ๒๓ โครงการ และ
การบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๕ โครงการ
สสค.ขอขอบคุณท่ีปรึกษาส�ำนักงาน สสค. ท่านอาจารย์นคร ตังคะพิภพ และที่ปรึกษาชุดโครงการ
รศ.ดร.จิราภรณ์ ศิริทวี รวมท้ังคณะผู้ทรงคุณวุฒิติดตามโครงการในพ้ืนท่ี ผู้บริหารโรงเรียน ครู อาจารย์
ผู้รับผิดชอบโครงการ ทุกท่านท่ีเสียสละ มุ่งมั่น ในการด�ำเนินงาน การให้ข้อมูล และข้อเสนอแนะอันเป็น
ประโยชนอ์ ยา่ งย่งิ ต่อการถอดองค์ความรขู้ อง ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้
หวังว่าเอกสารเล่มนี้ คงจะเป็นประโยชน์และจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ให้กับผู้สนใจ ในการจัด
กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนมคี วามคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ การจดั กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ ทกั ษะชวี ติ ใหน้ กั เรยี น
ตลอดจนการคดิ คน้ นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การเพือ่ ปรับปรงุ ประสิทธภิ าพการจดั การเรยี นรใู้ นโรงเรียนตอ่ ไป

ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรแู้ ละคุณภาพเยาวชน

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ 3

สารบญั

โครงการเดน่ ดา้ นพัฒนาทกั ษะการคดิ ๘
๑๑
๑. บทเรียนวิทยาศาสตรแ์ บบบูรณาการ เพือ่ พฒั นาทักษะการคดิ จากบทปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์ ๑๔
ทส่ี อดแทรกภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ๑๗
โรงเรียนแคนดงพิทยาคม บรุ ีรัมย์
๒. การพฒั นาทักษะการคิดโดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรอู้ ย่างหลากหลาย ๒๐
โรงเรยี นเฉลมิ ขวญั สตรี พษิ ณุโลก ๒๓
๓. มหัศจรรยก์ ารคิด การพัฒนาทกั ษะการคดิ ทางคณิตศาสตรโ์ ดยใช้ SDM ๒๖
โรงเรยี นชุมแพศกึ ษา ขอนแก่น ๒๙
๔. การพัฒนาสื่อประกอบการเรียนวิชาท้องถ่นิ ของเรา ๓๒
โรงเรยี นโนนเจริญพทิ ยาคม บุรีรัมย์ ๓๕
๕. SQ3R กบั การพัฒนากระบวนการคิดดว้ ยคำ� ถามหมวกความคดิ ๖ ใบ ๓๘
โดยใชอ้ ัตลกั ษณข์ องโรงเรยี นเปน็ ฐานในการเรยี นรู้ ๔๑
โรงเรียนบ้านเตง (เรือนจุลประชาสรรค์) พัทลงุ
๖. ศิลปะสรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการสรา้ งนักคดิ ๔๔
โรงเรียนบ้านฟา้ ห่วน ยโสธร ๔๗
๗. อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการสรา้ งหุ่นยนตจ์ ากวสั ดรุ ีไซเคลิ
โรงเรยี นบ้านห้วยจรเข้ นครราชสีมา
๘. ฝึกอบรมการพฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะหด์ ้วยการเรียนรบู้ รู ณาการผ่านพันธพุ์ ืช
โรงเรยี นปิยชาติพฒั นา ในพระราชูปถัมภฯ์ นครนายก
๙. ยวุ วิจัยคณติ ศาสตร์
โรงเรยี นพนาศึกษา อำ� นาจเจริญ
๑๐. มะแข่นเมืองลีสู่เวทีโลก
โรงเรียนเมอื งลีประชาสามัคคี น่าน
๑๑. การพัฒนาทกั ษะการคดิ วชิ าคณิตศาสตรไ์ ตรภาคี
โรงเรียนเลงิ นกทา ยโสธร
๑๒. การพัฒนาทักษะความคิดขั้นสงู เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในโรงเรยี นศรรี ัตนวทิ ยา
โรงเรยี นศรรี ัตนวทิ ยา ศรีสะเกษ
๑๓. การพัฒนาอัจฉรยิ ภาพทางคณิตศาสตร์ของนกั เรยี นโดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad
เครอื่ งชว่ ยในการเรียนร ู้
โรงเรียนศรีส�ำโรงชนูปถัมภ์ สโุ ขทัย
๑๔. ลกู อยธุ ยาค้นหา unseen ในจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
โรงเรยี นอยุธยาวิทยาลัย พระนครศรอี ยุธยา

4 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้

โครงการเด่นด้านสง่ เสริมทักษะชวี ติ ๕๒

๑๕. โรงเรียนตน้ แบบศนู ย์เรยี นรู้สิง่ แวดลอ้ มเฉลิมพระเกยี รต ิ ๕๕
โรงเรียนกดุ บากพฒั นาศึกษา สกลนคร ๕๘
๑๖. สง่ เสริมการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้สง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษา เพอ่ื พฒั นาศักยภาพนกั เรียน ๖๑
สู่การสร้างส�ำนึกรักท้องถนิ่ และสงิ่ แวดล้อม ๖๔
โรงเรียนขามแก่นนคร ขอนแก่น ๖๗
๑๗. พัฒนาการเรยี นร้คู วบคูท่ กั ษะชีวิต ๗๐
โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นหว้ ยยายจ๋วิ ชยั ภูมิ ๗๓
๑๘. เขยี นใจก่อนเขยี นรูป ๗๖
โรงเรียนซับมงคลวทิ ยา ชัยภมู ิ ๗๙
๑๙. พฒั นาทกั ษะชีวติ ด้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง ๘๒
โรงเรียนดอนน้�ำใสวิทยา นครราชสมี า ๘๕
๒๐. การสง่ เสรมิ และพัฒนาทักษะชวี ติ ของนักเรียนโรงเรียนนครขอนแก่น โดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT) ๘๘
โรงเรยี นนครขอนแก่น ขอนแกน่ ๙๑
๒๑. ลมหายใจของใบเตย ๙๔
โรงเรียนนาเฉลียงพทิ ยาคม เพชรบูรณ์ ๙๗
๒๒. การจดั การศึกษาโดยนอ้ มนำ� ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสูว่ ถิ ชี วี ิตที่ยง่ั ยืน ๑๐๐
โรงเรยี นนำ�้ เกล้ยี งวทิ ยา ศรีสะเกษ
๒๓. กิจกรรมบูรณาการโครงงานสาระท้องถิน่ เร่อื งกลว้ ย พชื ลำ้� คา่ คูบ่ ้านเขายายกะตา
โรงเรียนบ้านเขายายกะตา ลพบุรี
๒๔. รา้ นนำ�้ ชาโรงเรียน เปิดโลกการเรียนร้เู พอื่ เด็กไทย
โรงเรียนบา้ นคอลอตันหยง ปัตตานี
๒๕. การเพาะเหด็ นางฟา้ และการแปรรูปอาหารจากเห็ด
โรงเรยี นบ้านไชยมงคล (สบื สนิ วิทยา) นครราชสมี า
๒๖. สง่ เสรมิ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรูเ้ รื่องสมุนไพรใกลต้ ัว
โรงเรยี นบ้านนาขอม นครสวรรค์
๒๗. ดนตรีสบื สานต้านยาเสพติด
โรงเรียนบ้านนาบอน กาฬสนิ ธุ์
๒๘. ส่งเสรมิ รายไดร้ ะหวา่ งเรยี น
โรงเรียนบา้ นเมอื งกดื้ เชียงใหม่
๒๙. การเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง
โรงเรยี นบา้ นรางกระต่าย “พิรยิ ะประชาวิทยาคาร” กาญจนบรุ ี
๓๐. เข้าใจเรือ่ งเพศศึกษา พัฒนาทักษะชวี ิต
โรงเรียนบ้านวังหนิ เพชรบูรณ์
๓๑. สานฝันวฒั นธรรมพ้นื บา้ น
โรงเรียนบา้ นเหลา่ ผักใส่ สกลนคร

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 5

๓๒. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้โดยใชเ้ ครือข่ายสงั คมเพ่อื การเรียนรู้ (Social Network) ๑๐๓
โรงเรียนเบญ็ จะมะมหาราช อุบลราชธานี ๑๐๖
๓๓. รฐั ราษฎร์อนสุ รณโ์ รงเรียนแหง่ โครงงานแบบบูรณาการ ๑๐ ฐานการเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียง ๑๐๙
โรงเรยี นรัฐราษฎร์อนสุ รณ์ นครสวรรค์ ๑๑๒
๓๔. พัฒนาทกั ษะชีวิตสรา้ งอุปนิสยั พอเพียง
โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ตาก ตาก ๑๑๕
๓๕. หอ้ งเรียนธรรมชาติสรา้ งสรรคท์ ักษะชีวิต ๑๑๘
โรงเรยี นสตรสี ริ เิ กศ ศรสี ะเกษ
๓๖. การวิจัยและพฒั นาสื่อการเรียนการสอนทักษะการฟ้ืนคนื ชพี
ส�ำหรับนกั เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยมธั ยมศกึ ษา กรงุ เทพฯ
๓๗. จดั การเรียนการสอนบนฐานวัฒนธรรมชมุ ชน
โรงเรียนอดุ มสทิ ธศิ กึ ษา กาญจนบุรี

โครงการเด่นด้านบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

๓๘. แหลง่ เรยี นรู้อัจฉริยะน�ำไปสสู่ ังคมแห่งการเรียนร้แู ละความเปน็ พลโลกทส่ี มบรู ณโ์ รงเรยี นกาญจนานุเคราะห ์ ๑๒๒
โรงเรยี นกาญจนานุเคราะห์ กาญจนบุรี
๓๙. เศรษฐกิจพอเพยี งเพอื่ อาหารกลางวนั ท่ียง่ั ยืน ๑๒๕
โรงเรียนบ้านรอ่ งหอย นครสวรรค์
๔๐. การบรู ณาการกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้หนงั สนั้ ๑๒๘
โรงเรยี นพระแก้ววทิ ยา สุรนิ ทร์
๔๑. อนรุ กั ษ์วฒั นธรรมเพอ่ื ปลูกฝงั ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นและเสริมสรา้ งคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
ของนักเรียนโรงเรยี นสูงเนนิ ๑๓๑
โรงเรียนสูงเนิน นครราชสมี า
๔๒. พัฒนาทกั ษะการสอนการอา่ นภาษาอังกฤษผา่ นกระบวนการการสะกดเสยี ง
สำ� หรับนักเรยี นท่ีอา่ นค�ำภาษาองั กฤษไม่ได้ในโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา
สำ� นักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต ๕ ๑๓๔
โรงเรียนหนองผอื ราษฎรป์ ระสทิ ธ์ิ ขอนแก่น

สถานทต่ี ิดตอ่ โรงเรียนท่ีได้รบั เลือกเปน็ โครงการท่มี ปี ระสิทธภิ าพ ๑๓๗

๑๙๕ โครงการทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการเพอ่ื การสง่ เสริมสังคมแห่งการเรียนร้แู ละคุณภาพเยาวชน ๑๔๐

รายชือ่ คณะกรรมการผู้บริหารโครงการและผู้ทรงคณุ วุฒ ิ ๑๔๗

6 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้

โครงการเด่นด้าน กพาฒั รคนิดาทกั ษะ

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ 7

บทเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ บบบูรณาการ

เพ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ จากบทปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์
ทสี่ อดแทรกภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น

โรงเรียนแคนดงพทิ ยาคม บรุ ีรมั ย์

จนวันหน่ึงเม่ือคุณครูวิทยาศาสตร์เกิดความคิดว่า
น่าจะให้พวกเราไดเ้ รียนรวู้ ิทยาศาสตร์แนวใหม่ ด้วยการน�ำ
วชิ าวทิ ยาศาสตรไ์ มว่ า่ จะเปน็ ฟสิ กิ ส์ เคมี ชวี ะ และการเรยี นรู้
อื่นๆ มาบวกรวมเข้ากับภูมิปัญญาท้องถ่ิน เร่ืองราวสนุกๆ
นอกหอ้ งเรียนของเราจงึ เกดิ ขนึ้ นับแต่บัดนน้ั

ตอนเปน็ เด็ก ฉันเรยี นท่โี รงเรียนประถม แคนดง Can Do…ไม่มีอะไรทีเ่ ราท�ำไมไ่ ด้
ใกลบ้ า้ น พอขนึ้ ชนั้ ม.๑ ฉนั กไ็ ปเรยี นทโ่ี รงเรยี น
แคนดงพทิ ยาคม ซงึ่ เปน็ โรงเรยี นประจำ�อำ�เภอ ก่อนสอบเขา้ ม.๑ ท่ีโรงเรยี นแหง่ น้ี ฉนั ท่องคำ� ขวัญ
ในจงั หวดั บุรีรัมย์ ของโรงเรยี นไดจ้ นขน้ึ ใจคอื “ขยนั ประหยดั ซอื่ สตั ย์ พฒั นา”
เผ่ือมีครูคนไหนถามจะได้ตอบทันที ส่วนสีประจ�ำโรงเรียน
ปีน้ีฉันข้ึน ม.๒ แล้วค่ะ ตอนอยู่ท่ีบ้านฉันเรียกพ่อ คอื เขยี ว-เหลอื ง ฉนั กร็ วู้ า่ สเี ขยี ว หมายถงึ ความอดุ มสมบรู ณ์
แม่ว่า “อีพ่ออีแม่” แต่เม่ือไปโรงเรียนครูก็สอนให้เรียกพ่อ ของนาและไร่อ้อย สีเหลือง หมายถึง รวงข้าวท่ีสุกเหลือง
แม่ด้วยภาษากลาง แต่ฟังทีไรก็ไม่ซ้ึงใจเท่ากับว่าอีพ่ออีแม่ อร่ามและดอกอ้อยในช่วงฤดูกาลเก็บเก่ียวนั่นเอง แต่ที่
สักที อีพ่อของฉันมักบอกว่า "พ่อฮักเจ้าปานหน่วยตา ชวนสงสัยส�ำหรับเด็กอย่างฉันคือคติธรรมของโรงเรียนที่ว่า
แพงเจ้าปานดวงใจ บ่ให้ผู้ได๋มารังแก" ฟังแล้วรักพ่อท่ีสุด “ปัญญา เว ธเนน เสยฺโย” ท่ีแปลว่า “ปัญญาประเสริฐ
ในโลกเลยละ่ สว่ นผญาอสี านหรอื ทคี่ รเู รยี กวา่ ปราชญช์ าวบา้ น กว่าทรัพย์” ฉันไม่เข้าใจว่าท�ำไมการมีปัญญาถึงดีกว่าการ
ท่านกว็ า่ "บุญคณุ พอ่ ทอภูเขากา้ คุณแม่ทอฟา้ กบั แผ่นดนิ " มเี งนิ มที อง ในเมอื่ เงนิ ทองสามารถนำ� ไปซอื้ หาขา้ วของทเี่ รา
ชีวิตแบบเด็กบ้านนอกของฉันมีความสุขมาก ชอบไดต้ งั้ มากมาย แตม่ ปี ญั ญาคอื อะไรฉนั กย็ งั ไมแ่ นใ่ จสกั ที
ได้กินอิ่มนอนอุ่น พ่อแม่อยู่กันพร้อมหน้าพร้อมตา ไหนจะ จนวันทไ่ี ดเ้ รยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์กับครสู ุพัตรา แพง
มีปราชญ์ชาวบ้านท่ีเป็นคนรุ่นปู่รุ่นย่าคอยอบรมสั่งสอน ภูงาและครูท่านอื่นในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ถ่ายทอดสิ่งที่ดีงามให้เสมอท้ังภาษาพื้นถ่ิน นิทานพื้นบ้าน ฉนั ถงึ ไดเ้ ริ่มเข้าใจทีละนดิ วา่ “ปญั ญา” ท่ีว่านีค้ ืออะไร
ส่ิงประดิษฐ์คิดค้นท่ีต้องคนอีสานเท่านั้นถึงจะคิดได้ วันแรกท่ีครูสุพัตรามาสอน ครูก็ถามว่า “นักเรียน
แต่คนรุ่นฉันส่วนใหญ่มักจะมองไม่เห็นคุณค่าของส่ิงท่ีครู เคยสงสัยไหมคะ วา่ ถั่วงอกไหแคนดง แคนดู (Can Do) คือ
เรียกว่า “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” น้ีสักเท่าไร ส่วนใหญ่สนใจ อะไร หนา้ ตาเปน็ อยา่ งไร แลว้ เขาทำ� อยา่ งไรจงึ ไดเ้ ปน็ ถว่ั งอก
แต่เทคโนโลยีแช็ตเสิร์ช ออนไลน์ จนท�ำให้แทบลืมความรู้ ออกมา” พวกเราในช้ันเรียนชว่ ยกันตอบคำ� ถามครูไปอยา่ ง
ของคนรุ่นปยู่ ่าตาทวดไปเลยทีเดียว ท่ีพวกเรารู้ “หนเู คยเห็นเขาเอามาขาย แต่ไมร่ ู้ว่าท�ำอย่างไร
แต่เคยได้ยินพ่อเล่าให้ฟังว่าเป็นความคิดของนายอ�ำเภอ ที่
แนะน�ำให้ชาวบ้านเพาะถ่ัวงอกโดยใช้ไหปลาร้าของเราน่ี
แหละคะ่ ถว่ั งอกทไ่ี ดท้ ง้ั ขาวทงั้ อวบนา่ กนิ คะ่ คร”ู เพอ่ื นทน่ี ง่ั
ข้างฉนั ตอบค�ำถามของครูได้ดูนา่ เชอ่ื ถอื มากที่สุด เราไมร่ วู้ ่า
ทำ� ไมครถู งึ ถามแบบนี้ อาจจะเพราะครเู ปน็ ชาวบรุ รี มั ยก์ จ็ รงิ

8 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้

แตไ่ มใ่ ชค่ นในตำ� บลนี้ จงึ เหน็ อะไรทเ่ี ราเหน็ เปน็ เรอ่ื งธรรมดา ครพู ดู ใหฟ้ งั อกี วา่ ทอ่ี ยากใหเ้ ราไดม้ กี ารเรยี นการสอน
เปน็ เรื่องแปลกใหม่ก็เท่าน้นั แบบนี้เพราะอ�ำเภอแคนดงของเรามีหมู่บ้านที่เก่าแก่
แต่หน่ึงอาทิตย์ผ่านไป ฉันก็รู้มาว่า ครูสุพัตราจัด หลายร้อยปี มภี ูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ เกิดขน้ึ มากมาย แตน่ ับวัน
ให้มีการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันของครู ภูมิปัญญาท้องถ่ินก็จะสูญหายไป ครูจึงอยากให้โรงเรียน
วิทยาศาสตร์ ๑๐ คน เพื่อจะจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นักเรียน และชุมชนมีการเชื่อมประสานสัมพันธ์ผ่านการ
แนวใหมใ่ หก้ บั พวกเรา ไดข้ า่ วมาวา่ ครสู พุ ตั ราอยากใหค้ รรู นุ่ เรียนวิทยาศาสตรท์ ่ีสอดแทรกภมู ิปญั ญาท้องถ่ินไว้ดว้ ยกัน
ใหมๆ่ ทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอนดว้ ย แตจ่ ะสำ� เรจ็ แต่…ว่าแต่วิทยาศาสตร์จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับ
แค่ไหนฉนั กไ็ ด้แต่รอล้นุ ภูมิปัญญาอย่างไร ตอนน้ีฉันก็ยังเข้าใจไม่กระจ่างนัก
แล้วเช้าวันท่ีรอคอยก็มาถึง ครูเล่าว่าได้รับการ แต่คิดว่าเม่ือถึงเวลาลงไปศึกษาจริงๆ ครูคงท�ำให้ฉันเข้าใจ
สนับสนุนจากส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ ไดแ้ นน่ อน
และคุณภาพเยาวชน (สสค.)ให้จัดท�ำโครงการที่ช่วย
พัฒนาทักษะการคิดของเด็กๆ ครูจึงคิดโครงการบทเรียน เร่มิ เรยี นรดู้ ว้ ยการลงมอื ท�ำ
วิทยาศาสตร์แบบบูรณาการเพ่ือพัฒนาทักษะการคิด
จากบทปฏิบัติการวิทยาศาสตรที่สอดแทรกภูมิปัญญา การท่ีพวกเรานักเรียนช้ัน ม.๒ จะออกไปเรียนนอก
ท้องถ่ิน ที่ฉันเองฟังครูพูดคร้ังแรกก็ไม่เข้าใจว่าคืออะไร หอ้ งเรยี นไดไ้ มใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ย แตก่ ไ็ มย่ ากเกนิ ความสามารถของครู
จนเมือ่ ครูอธบิ ายแลว้ จงึ พอจะนึกภาพออกบ้าง เร่ิมจากครูสุพัตราได้มอบหมายให้ครูวิทยาศาสตร์ทั้ง ๑๐
“นกั เรยี นคะ สว่ นใหญเ่ ราเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตรก์ นั แต่ คนทีร่ บั ผิดชอบนกั เรียนที่มีอยู่ ๕ ห้อง หอ้ งละ ๒ คน จัดท�ำ
ในหอ้ งเรยี นใชไ่ หม นกั เรยี นเบอื่ กนั ไหมคะ” พวกเราพยกั หนา้ บทเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิชาของตน เช่น ครูวิชา
หงึกหงักไปตามๆ กัน หลังจากนั้นครูก็พูดต่อว่า “ต่อไปน้ี ฟิสิกส์ก็ต้องเลือกบทเรียนที่จะท�ำให้เด็กได้เรียนรู้เก่ียวกับ
เราจะไปเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กันนอกห้องเรียน เราจะไป หลักฟิสิกส์ ส่วนครวู ชิ าเคมีกต็ อ้ งเลือกบทเรียนทสี่ อดคล้อง
คุยกับผู้เฒ่าผู้แก่ ปราชญ์ชาวบ้านของเรา ครูวิทยาศาสตร์ กับหลักวิชาของตัวเอง รวมถึงติดต่อพูดคุยกับปราชญ์
แต่ละคนจะท�ำให้นักเรียนเห็นว่าวิชาวิทยาศาสตร์น้ันอยู่ใน ชาวบ้านท่ีจะพานักเรียนไปลงพื้นท่ีอีกด้วย และเม่ือใกล้ถึง
ชีวิตประจ�ำวันของพวกเราไม่ว่าจะเป็นฟิสิกส์ เคมี ชีวะจะ วันเดินทาง ครูก็ได้ปรึกษาผู้อ�ำนวยการโรงเรียนและฝ่าย
ไม่ใช่เรือ่ งไกลตัวเราอีกตอ่ ไป” วิชาการเพ่ือขออนุญาตน�ำนักเรียนไปเรียนรู้นอกห้องเรียน
ฟังครูพดู จบฉันกถ็ ามต่อว่า “หมายความวา่ พวกเรา ที่สุดครูก็ได้ข้อสรุปว่าเราจะนั่งรถสองแถวออกไปเรียนรู้
ท้ังห้องจะได้ออกไปเรียนกับชาวบ้านในหมู่บ้านใช่ไหมคะ เรื่องตา่ งๆ จากปราชญ์ชาวบา้ นวันละ ๒ บทเรียน โดยแบง่
ดใี จจงั เลยคะ่ ครู หนูอยากให้ถงึ วนั นน้ั เรว็ ๆ จัง” ฉนั ตืน่ เต้น
กบั การเรยี นแบบใหม่ทค่ี รพู ดู ถงึ ย่งิ ครูบอกว่าบทเรียนทีเ่ รา
จะได้เรยี นมีอะไรบา้ ง ฉันก็แทบจะรอใหถ้ งึ วนั น้ันไมไ่ หว
“เรื่องแรกท่ีครูจะท�ำเป็นบทเรียนให้กับนักเรียนคือ
เรื่องกระติบข้าวเหนียวจากวัสดุในท้องถิ่น แล้วก็ต่อด้วย
เร่อื ง ข้าวหลาม การเล้ียงไหม ของเล่นพนื้ บ้าน ข้าวปุน้ หมกั
สมุนไพรแบบโบราณ การทอเสื่อจากพืชในท้องถิ่น ไข่เค็ม
สมนุ ไพร ถั่วงอกไหแคนดง แคนดู น�ำ้ หมักชวี ภาพ และปนู
กินหมากภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น”
ฉนั อยากบอกครูใจจะขาดวา่ ฉันทอผา้ ไหมเป็น และ
หมู่บ้านของฉันก็มแี ตค่ นทอผ้าไหม ถึงเวลาต้องเรียนเรอื่ งน้ี
ฉนั กะว่าจะเข้าไปกระซิบบอกครูใหพ้ าเพ่ือนๆ ไปทห่ี ม่บู ้าน
ของเรา ฉันอยากให้เพ่ือนๆ เห็นว่ายายและแม่ของฉันเก่ง
แคไ่ หน

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 9

เปน็ ตอนเชา้ หนงึ่ บทเรยี น และตอนเยน็ หนง่ึ บทเรยี น เพราะ นอกจากนั้นเราก็ต่อยอดความรู้ในคร้ังนี้เป็นการ
ส่วนใหญ่หมู่บ้านที่เราเดินทางไปนั้นจะห่างกันประมาณ ๓ ท�ำโครงงานเร่ืองอ่ืนๆ อีกมากมายกว่า ๓๐ เรื่อง เช่นการ
กโิ ลเมตรเท่านั้น สกัดน้�ำมันจากเมล็ดยางพาราท�ำเป็นสบู่ล้างมือและน�้ำยา
แล้ววันท่ีเราได้ออกไปเรียนรู้โลกภายนอกด้วยหัวใจ ล้างจาน ฯลฯ โครงงานของเราประสบความส�ำเร็จกว่าที่
แบบวิทย์ๆ ก็มาถึง เพื่อนๆ กับฉันมีสมุดจดพร้อมปากกา คาดคดิ ครสู พุ ตั ราบอกวา่ มเี รอื่ งใหน้ า่ ยนิ ดหี ลายเรอ่ื ง ทงั้ เรอื่ ง
คนละด้าม ทุกคนดูต้ังหน้าตั้งตากับการเรียนคร้ังนี้มาก ท่ีครูวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ร่วมแรงร่วมใจกันท�ำงาน ปราชญ์
ครูบอกว่าหลังจากไปสืบค้นข้อมูลกับปราชญ์ชาวบ้านแล้ว ชาวบา้ นและผนู้ ำ� ชมุ ชนทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดี รวมถงึ
เราก็จะน�ำกลับมาเป็นแนวคิดในการทดลองในห้องเรียน การไดร้ บั ความสนบั สนนุ จากโรงเรยี นทม่ี กี ารจดั การประกวด
รวมถงึ เราจะได้เรียนรู้การท�ำโครงงานตอ่ ไป โครงงานวิทยาศาสตร์ในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ซ่ึงเป็นแรง
วนั นี้ ฉันไดไ้ ปเรียนรู้เรอ่ื งการเลีย้ งไหม ทค่ี รูอธิบาย กระตนุ้ ใหพ้ วกเราพยายามท�ำผลงานออกมาใหด้ ที ส่ี ุด
ให้เราเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์เก่ียวข้องกับภูมิปัญญาท้องถ่ิน ครูบอกภูมิปัญญาชาวบ้านที่ให้พวกเราไปเรียนรู้
อย่างไร เริ่มจากการเรียนรู้วัฏจักรของตัวหนอนท่ีท�ำให้เรา ถ้าเรารู้จักน�ำไปพัฒนาปรับปรุง วันหน่ึงความรู้เหล่าน้ีก็จะ
ได้เรียนรู้วิชาชีววิทยา ส่วนการย้อมไหมเราก็จะได้เรียนรู้ กลายเปน็ อาชพี เลยี้ งปากเลย้ี งทอ้ งของเราได้ โดยทไี่ มจ่ ำ� เปน็
วิชาเคมีจากเร่ืองสารสกัดจากธรรมชาติท่ีน�ำมาย้อมไหมว่า ตอ้ งไปท�ำงานในเมอื ง ครทู ำ� ให้เรารจู้ ักคิดเป็น ท�ำเปน็ และ
ตอ้ งมคี า่ ความเปน็ กรดเปน็ ดา่ งอยา่ งไรจนเมอ่ื มาถงึ การสาวไหม รกั ถนิ่ ฐานบา้ นเกดิ ของตวั เอง และทำ� ใหฉ้ นั เหน็ วา่ ภมู ปิ ญั ญา
เราก็จะได้เรียนรู้วิชาฟิสิกส์ในเร่ืองคานโมเมนต์ เร่ืองแรง ชาวบ้านสามารถอธิบายได้ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ นั่นก็
และอ่นื ๆ อีกมากมาย หมายความว่าคนรุ่นก่อน เขามีความเป็นนักวิทยาศาสตร์
ส่วนการเพาะถวั่ งอกแคนดง แคนดู ทเ่ี มือ่ กอ่ นฉนั ก็ อยู่ในตัว โดยไม่ต้องเรียนหนังสือในโรงเรียนเลยทีเดียว ซ่ึง
เห็นอยู่บ่อยๆ แต่ไม่รู้ว่าเขาเพาะกันอย่างไร คุณลุงที่เพาะ ก็สะท้อนให้เห็นว่าความรู้ไม่ได้อยู่แต่ในห้องเรียน แต่มีอยู่
ถวั่ งอกเลา่ ใหเ้ ราฟงั วา่ ตอ้ งนำ� ถวั่ เขยี วไปแชน่ ำ้� กอ่ น แลว้ คอ่ ย รอบๆ ตวั เรา อยทู่ ใี่ ครจะสนใจไขวค่ วา้ ไดม้ ากกวา่ กนั เทา่ นนั้ เอง
เทน้�ำทิ้งทกุ หา้ ช่ัวโมง ส่วนคุณครูท่ีสอนกก็ ระตนุ้ ใหพ้ วกเรา ตอนนฉ้ี นั รแู้ ลว้ วา่ ทำ� ไมปญั ญาถงึ ประเสรฐิ กวา่ ทรพั ย์
คิดด้วยการอธิบายเพิ่มเติมว่าการเพาะถั่วงอกน้ันสามารถ เพราะถา้ มปี ญั ญาเสยี อยา่ ง เรากส็ ามารถหาเงนิ ทองมาเลย้ี ง
น�ำมาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ได้ เช่น การต้ังค�ำถามว่าท�ำ ดตู วั เองและครอบครวั ไดเ้ หมอื นทปี่ ราชญช์ าวบา้ นทำ� ใหฉ้ นั
อย่างไรถั่วงอกจึงเจริญเติบโตได้ดี น้�ำที่ใช้ต้องมีอุณหภูมิ เหน็ ว่า
เท่าไร ความชน้ื เทา่ ไร หรือไหตอ้ งเล็กต้องใหญแ่ คไ่ หน แล้ว “ความรู้มีอยู่รอบตัว ถ้ามีปัญญาเราก็จะสามารถ
หลังจากนั้นครูก็ให้พวกเรากลับมาท�ำแล็บ หรือท�ำการ เปลย่ี นความรู้เปน็ เงนิ เป็นทองได้ แต่คนท่ีมแี ตท่ รพั ย์ ถา้
ทดลองตอ่ ในหอ้ งเรยี น ดว้ ยการทดลองหาอณุ หภมู ิ ความชน้ื ไม่มปี ญั ญาวันหนงึ่ เงนิ ทองก็จะหมดไปนน่ั เอง”
ก�ำหนดอัตราส่วนถ่ัวเขียวว่าถ้าใช้ปริมาณเท่าน้ี ต้องแช่น้�ำ
นานเท่าไรจึงจะงอกได้ดี รวมถึงเรื่องอื่นๆ อีกมากมาย เคล็ดลับความส�ำเร็จ
หลังจากน้ันครูก็กระตุ้นให้เราต่อยอดท�ำเป็นโครงงานด้วย ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะ
การต้ังค�ำถามว่า ถ้าเราไม่ใช้น�้ำเปล่าเราจะสามารถใช้น้�ำ ครูวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ที่ให้ความสนใจและต่อยอด
อะไรมาเพาะถ่ัวงอกได้อีกบ้าง เพื่อนๆ ช่วยกันเสนอน้�ำ ความรใู้ หน้ กั เรยี นรุน่ ตอ่ ไป
สมุนไพรสารพดั แบบทัง้ น�้ำใบเตย กระเจยี๊ บ อัญชัน ทเ่ี มอ่ื
ทดลองท�ำออกมาแลว้ ทำ� ให้ได้ถ่ัวงอกหลากสีสนั เลยทเี ดยี ว

10 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

กกาารรเพรัฒียนนราู้อทยักา่ ษงะหกลาารกคหดิ ลโาดยยใช้กจิ กรรม

โรงเรยี นเฉลิมขวัญสตรี พษิ ณโุ ลก

จังหวัดพิษณุโลกของเรามีทั้งทรัพยากรธรรมชาติ และแหล่งท่องเท่ียวมากมาย โดยเฉพาะ
อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง อทุ ยานแหง่ ชาติภหู นิ ร่องกลา้ รวมถึงแหล่งเรียนรทู้ ่มี ีช่ือเสยี งอย่าง
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าสิบเอก ดร.ทวี-พิมพ์ บูรณเขตต์ ซึ่งเป็นสถานที่เก็บรวบรวมของเล่นของใช้
พื้นบ้านท่กี ลายเปน็ แหล่งเรียนรู้ระดบั ประเทศ

นอกจากนั้นหากจะนับไปแล้ว จังหวัดพิษณุโลกก็มี เรียนวชิ าไหนกฝ็ กึ คดิ ได้
คนทค่ี ดิ ทำ� อะไรดีๆ เพ่ือคนอนื่ มากมาย แตก่ ารทจ่ี ะเปน็ คน
ช่างคิดท่ีคิดดี คิดสร้างสรรค์ได้น้ัน ฉันเช่ือว่าการปลูกฝัง “ความรู้มีมากมาย ครูสอนนักเรียนทุกเร่ืองไม่ได้
ในรั้วการศึกษาก็มีความส�ำคัญมาก เพราะถ้าฝึกให้เด็กคิด แตส่ ามารถสอนวธิ หี าความรใู้ หพ้ วกเขาได”้
เป็นตั้งแต่เด็ก โตข้ึนเขาก็จะรู้จักวิธีแสวงหาความรู้ได้ด้วย คุณครูเพ็ญจันทร์ โชติรัตนศักดิ์ ครูกลุ่มสาระ
ตัวเอง รู้จักวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ท่ีได้มา และรู้จักท่ีจะน�ำ วชิ าการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ วชิ าชวี วทิ ยา ของโรงเรยี นเฉลมิ
มาท�ำประโยชนเ์ พอ่ื สงั คมได้ ขวญั สตรี ปฏบิ ตั หิ นา้ ทผ่ี ชู้ ว่ ยหวั หนา้ งานวจิ ยั ทเี่ ปน็ ทง้ั เพอื่ น
ฉันเพ่ิงเข้ามาเป็นครูระดับชน้ั ม.๔ ที่ โรงเรยี นเฉลิม ครูและรุ่นพ่ีท่ีฉันนับถือบอกกับเราในวันหน่ึงอย่างน้ี เธอ
ขวัญสตรี จงั หวดั พิษณโุ ลกไดไ้ ม่กป่ี ี ตอนแรกก็รแู้ ต่วา่ การ ชักชวนให้คุณครูอีก ๑๗ คนที่สอนในหลากหลายวิชา
เป็นครูน้ันต้องเตรียมการสอนตามบทเรียน แต่ย่ิงได้ท�ำ มารว่ มฝกึ กระบวนการคดิ ใหน้ กั เรยี นในโครงการ “การพฒั นา
กิจกรรมต่างๆ ฉันก็ได้รู้ว่าบางครั้งครูกับนักเรียนก็สามารถ ทักษะการคิดโดยใช้กจิ กรรมการเรียนร้ทู ่หี ลากหลาย”
เรยี นรไู้ ปร่วมกันได้ สงิ่ สำ� คัญทีส่ ุดคอื อยา่ หยดุ คิด อยา่ หยุด เป็นที่รู้กันว่าครูเพ็ญจันทร์เป็นคนที่มุ่งม่ัน ต้ังใจ
เรียนร้เู ทา่ นัน้ เอง เม่ือคิดจะท�ำอะไรแล้วจะท�ำจนส�ำเร็จ งานน้ีก็เช่นกันเธอ
ท�ำให้ฉันเห็นว่าการโน้มน้าวใจให้ครูทุกคนให้ความร่วมมือ
ในโครงการน้ีสำ� คัญมากแค่ไหน

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 11

“จากผลการสอบ O-NET และ PISA ของนกั เรียน ข้นั เป็นตอน เปน็ การคดิ ทซี่ ับซ้อน เชน่ ต้องมีการสรปุ ความ
ผลออกมาวา่ นกั เรยี นสว่ นใหญข่ าดทกั ษะในการคดิ วเิ คราะห์ ใหค้ ำ� จำ� กดั ความ การวเิ คราะห์ การผสมผสานขอ้ มลู ซงึ่ การคดิ
กอ่ นหนา้ นพี้ เ่ี คยคดิ ไวแ้ ลว้ วา่ จะสอนเรอื่ งทกั ษะการคดิ ใหก้ บั ขนั้ สูงนเี่ องท่เี ราจะนำ� ไปสอนนกั เรียน
นักเรียน ประจวบเหมาะกับท่ีทางส�ำนักงานส่งเสริมสังคม
แหง่ การเรยี นรแู้ ละคณุ ภาพเยาวชน (สสค.)สนบั สนนุ ใหเ้ ราทำ� ไดเ้ วลาแปลงความคดิ เป็นรปู ธรรม
โครงการทชี่ ว่ ยพฒั นาทกั ษะการคดิ ของเดก็ พเี่ ลยอยากชวน
นอ้ งๆ ให้มาท�ำกิจกรรมน้ดี ว้ ยกัน น่ไี ม่ใชก่ ารเพมิ่ งานนะคะ “อย่างที่รู้กันดีว่าเรื่องความคิดเป็นเรื่องนามธรรม
เพราะถึงไม่ท�ำงานนี้เราก็ต้องท�ำงานวิจัยอยู่ดี เพราะเป็น ดังนั้นถ้าจะท�ำให้ใครต่อใครมองเห็นความคิดของเรา เราก็
ภาคบงั คบั ของทางโรงเรยี นอยแู่ ลว้ ในแผนการสอนของเรามี ตอ้ งทำ� ออกมาใหเ้ ปน็ รปู ธรรม ซงึ่ กค็ อื การพัฒนาทักษะการ
ทกุ อยา่ งอยแู่ ลว้ เพยี งแคเ่ พมิ่ การทำ� งานอยา่ งเปน็ ระบบมาก คดิ โดยบรู ณาการเขา้ ไปในกจิ กรรมการเรยี นการสอนรายวชิ า
ข้ึน เพิ่มเรื่องที่เราจะเน้นลงไป และคิดวิเคราะห์ว่าถ้าสอน ทุกกลมุ่ สาระในระดับช้นั ม.๔”
ด้วยกิจกรรมนี้เด็กจะได้ประโยชน์อะไร เราแค่น�ำแผนการ ครเู พญ็ จนั ทรบ์ อกกบั พวกเราอยา่ งน้ี หลงั จากนนั้ ฉนั
สอนมาปรบั และท�ำให้ช้ินงานของนกั เรียนเป็นระบบ มีงาน ก็สอบถามถึงวธิ ีการสอนของเธอ
วจิ ยั รองรบั เทา่ นส้ี งิ่ ทนี่ อ้ งทำ� กจ็ ะเปน็ ผลงานของตวั เองและ “ในแต่ละวิชา เราไม่จ�ำเป็นต้องให้เด็กท�ำโครงงาน
ผลงานของโรงเรยี นด้วย” แต่อาจจะหาวิธีการสอนแบบอื่นๆ อย่างของพี่ สอนวิชา
ฟงั ครูเพ็ญจันทรพ์ ูดอย่างนี้แล้ว พวกเรากค็ ล้อยตาม ชวี วทิ ยา กจ็ ะถนดั ในการสอนใหน้ กั เรยี นท�ำโครงงาน เพราะ
ไปตามๆ กนั เพราะสว่ นใหญเ่ วลามโี ครงการอะไรมาพวกเรา ส�ำหรับพ่ีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สามารถหาความรู้
มักจะคิดในใจว่า “แค่งานสอนอย่างเดียวก็หนักหนาแล้ว ได้ทุกเรื่อง ก่อนท�ำโครงงานเด็กก็ต้องรู้จักสังเกต ถ้าเม่ือไร
น่ียังจะมาเพ่ิมงานอะไรให้เราอีก” แต่คราวนี้ครูเพ็ญจันทร์ ก็ตามท่ีนักเรียนฟังแล้วเกิด ‘เอ๊ะ’ คือสงสัย แสดงว่าเริ่ม
กลับท�ำให้พวกเรากระตือรือร้นท่ีจะท�ำงานน้ีโดยไม่มองว่า เห็นปัญหาของเรื่องนั้นๆ เม่ือเห็นปัญหาแล้ว ก็ต้องสืบค้น
เปน็ การเพม่ิ งานเลยแม้แต่นดิ เดียว ขอ้ มลู เพอ่ื หาคำ� ตอบ อาจถามจากคณุ ครหู รอื ผรู้ ู้ อา่ นหนงั สอื
ขน้ั ตอ่ ไปเธอกห็ อบแฟม้ เอกสารเปน็ รอ้ ยๆ หนา้ เกยี่ ว ค้นควา้ จากอนิ เทอรเ์ น็ต เม่ือท�ำไปเร่ือยๆ เราจะพบวา่ คนท่ี
กับการพัฒนาทักษะการคิดที่เธอไปค้นหามาด้วยตัวเอง ตัง้ ปัญหาไดจ้ ะเก่งกว่าคนทตี่ อบปญั หาได”้
มาใหค้ ณุ ครทู ่ีร่วมโครงการ รวมถงึ เชิญวิทยากรมาใหค้ วาม นอกจากนน้ั เธอยงั เลา่ ใหฟ้ งั วา่ บางครง้ั ครอู ยา่ งเราก็
รู้กับพวกเราเกี่ยวกับการผลิตสื่อและการออกแบบกิจกรรม ถกู กระตนุ้ ใหเ้ รยี นรผู้ า่ นนกั เรยี น เพราะบางเรอ่ื งทเี่ ดก็ สงสยั
การเรยี นรู้ทพ่ี ฒั นาทักษะการคิด แล้วครูหาค�ำตอบไม่ได้ในทันทีก็ต้องไปค้นคว้าหาความรู้มา
คราวน้ีฉันเลยได้รู้ว่าการคิดแบ่งออกได้เป็น ๒ ตอบนกั เรยี น หรอื บางเรอื่ งครกู อ็ าจไมร่ มู้ ากอ่ น ดงั นนั้ หลาย
ประเภทใหญ่ๆ ประเภทแรก ทักษะการคิดที่เป็นแกน เรื่องที่เด็กไปหาค�ำตอบมาก็เป็นการเปิดโลกความรู้ให้กับ
เป็นทักษะการคิดที่จ�ำเป็นต้องใช้อยู่เสมอในชีวิตประจ�ำวัน ทง้ั เขาและเรารว่ มกัน
กบั ประเภททสี่ อง ทกั ษะการคดิ ขนั้ สงู ทเี่ ปน็ การคดิ อยา่ งเปน็ “อยา่ งจงั หวดั พษิ ณโุ ลกของเรามที รพั ยากรธรรมชาติ
มากมาย ท้ังอุทยานแห่งชาติ แหล่งอนุรักษ์สัตว์ป่าและ

12 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

พันธุ์พืช รวมถึงพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านจ่าทวี หรือแม้แต่ร้าน ดว้ ยการใหน้ กั เรยี นอยกู่ บั ตวั เอง นง่ั นง่ิ ๆ คดิ ใครค่ รวญ
ขายอัญมณีของคุณหมอท่านหนึ่งก็กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ และเขยี นวา่ วนั นเี้ รยี นอะไรบา้ ง ทำ� อะไรทเี่ ปน็ ประโยชนม์ าก
ของเด็กๆ ได้ หรือโครงงานบางเร่ืองก็ท�ำให้เราได้รู้ข้อมูล น้อยแคไ่ หน เพือ่ ใหเ้ ดก็ ได้ร้จู ักทบทวนตัวเอง
ใหมๆ่ เชน่ พบว่าปจั จุบันจังหวัดพษิ ณโุ ลกมสี วนผลไม้ สวน ฉันคิดว่าน่ีคือก้าวเล็กๆท่ีเราจะปลูกฝังให้เด็กๆ ซ่ึง
ผักเยอะมากจากเมื่อก่อนที่มีอยู่น้อย และมีไร่นาสวนผสม เปน็ อนาคตของชาติ เปน็ คนคดิ เกง่ คดิ ดี คดิ สรา้ งสรรค์ และ
มากเป็นอันดับหนึ่งของประเทศไทย หรือบางกิจกรรม คดิ ทำ� ประโยชนเ์ พอ่ื คนอน่ื ตอ่ ไป วนั นดี้ อกผลของตน้ ไมท้ เี่ รา
นักเรียนก็ยังชักชวนผู้ปกครองให้เดินทางไปยังแหล่งเรียนรู้ ปลูกไว้อาจมองไม่เห็นชัดเจน แต่ฉันเช่ือว่าในวันข้างหน้า
น้ันๆ ถือเป็นการท่องเท่ียวเรียนรู้ที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์ พวกเขาจะเตบิ โตขน้ึ เปน็ ไมใ้ หญท่ จี่ ะชว่ ยใหป้ ระเทศของเรา
ในครอบครัวได้ด้วย เชน่ ไปดไู รอ่ งุ่น ไปฟาร์มเล้ียงสนุ ขั พนั ธ์ุ มคี วามเจรญิ ร่งุ เรอื งอยา่ งแน่นอน
บางแกว้ ไปชมสวนผักขนาดใหญ่”
เมื่อมีอะไรสงสัย ฉันมักจะเข้าไปถามครูเพ็ญจันทร์ เคลด็ ลับความส�ำเรจ็
บางครั้งฉันก็ไม่แน่ใจว่าท่ีตัวเองท�ำน้ันถูกต้องหรือไม่ หรือ การโน้มน้าวใจคุณครูท่ีร่วมโครงการให้เห็น
ท�ำอย่างนี้จะช่วยให้เด็กได้เกิดกระบวนการคิดได้อย่างไร ประโยชน์ เม่ือคุณครูสอนด้วยความกระตือรือร้น
วันน้ีที่โรงอาหารฉันกับเพื่อนครูคนอ่ืนๆ คุยกันถึงวิธีการ ชว่ ยคดิ ค้นหาค�ำตอบกบั นักเรยี น เด็กๆ ก็เกิดความ
พฒั นาทกั ษะการคดิ ให้นกั เรียนของพวกเรา สนกุ สนาน และกล้าซักกล้าถามมากขึน้
เพอื่ นทเ่ี ปน็ ครภู าษาไทย ใหน้ กั เรยี นแตง่ คำ� ประพนั ธ์
ท่เี ก่ียวกบั วิถีเศรษฐกิจพอเพียง โดยสอดแทรกวิธกี ารคิดลง
ไปในบทเรียนว่าบทประพันธ์เรื่องน้ีต้องคิดหาข้อมูลและ
สรา้ งสรรคอ์ อกมาอยา่ งไร สว่ นครสู งั คมทส่ี อนเรอ่ื งกฎหมาย
กใ็ หน้ กั เรยี นนำ� เสนองานดว้ ยการแสดงบทบาทสมมติ และท่ี
นา่ ดใี จคอื ครจู บใหมท่ ส่ี อนวชิ าพลศกึ ษากย็ งั เขา้ รว่ มโครงการ
น้ีด้วย แต่ละคนมีวิธีการสอนท่ีแตกต่างกันไป ทั้งให้เด็ก
น�ำเสนองานดว้ ยการวาดภาพ หรอื สอนดว้ ยการใหเ้ ล่นเกม
แตส่ งิ่ หนง่ึ ทพ่ี วกเราเหน็ ไดช้ ดั คอื ความเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ
กบั นกั เรยี น
นอกจากเด็กๆ จะกระตือรือร้น และมีความสุขใน
การเรียนเพิ่มมากข้ึนแล้ว ก็ยังช่างซักช่างถามกว่าแต่ก่อน
มาก จากเดิมทตี่ ั้งใจฟงั ต้งั ใจจดในสิง่ ทคี่ รูสอน เพราะอยาก
เรยี นเกง่ อยากสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั ได้ ปจั จบุ นั กลายเปน็ วา่
การที่ครูสอนโดยให้เด็กคิดและตั้งค�ำถามในทุกวิชา ท�ำให้
เด็กนกั เรยี นในชัน้ ม.๔ กวา่ ๕๐๐ คน รจู้ ักคดิ ตามทคี่ รสู อน
มากข้ึน รู้จักสงสัย รู้จักถาม รู้จักคิดใคร่ครวญ มองอะไร
ก็คอ่ ยๆ คดิ พจิ ารณา ไม่ดว่ นตดั สนิ รู้จักสงั เกต และรู้จักคดิ
กว้าง คิดลึก คิดเปรียบเทียบซึ่งท�ำให้ผลการเรียนพลอยดี
ขึน้ ตามไปดว้ ย
ทส่ี ำ� คัญ ในระหวา่ งการเรยี นการสอนแบบนี้ ครูกจ็ ะ
ใหน้ กั เรยี นเขยี นเลา่ วา่ ชอบหรอื ไมช่ อบกจิ กรรมทค่ี รสู อน ถา้
ไมช่ อบเราจะปรบั เปลีย่ นการเรียนไดอ้ ยา่ งไร ซ่ึงถอื เป็นการ
ส่งเสริมให้เด็กมีส่วนร่วมในวิชาน้ันๆ และในชั่วโมงสุดท้าย
ของการเรียนการสอนแต่ละวัน ครูเพ็ญจันทร์ยังแนะน�ำให้
เด็กๆ ทำ� กจิ กรรม “จติ ตปญั ญา”

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ 13

มคหณัศติ จศรารสยตก์ ราโ์รดคยิดใช:้ SกDารMพฒั นาทักษะการคิดทาง

โรงเรียนชุมแพศกึ ษา ขอนแกน่

“โอ๊ย! เครยี ด ข้อสอบอะไรไมร่ ู้ ทำ�ไมมนั ยากขนาดน้ี ”
“เมทรกิ ซ์นี่ ตวั เลขเยอะมากเลยครบั เรยี นแล้วปวดหวั สุดๆ”
“หนูกบั วชิ าเลขไม่ถูกกันเลยคะ่ ถงึ คาบเรยี นทไี รกค็ ิดแล้วคิดอีกวา่ จะเข้าเรียนดีหรือเปล่า”
ทุกคำ�ตอบคือเสียงจากใจของเดก็ ๆ มธั ยม เม่ือถามเขาวา่ “เรียนเลขแล้วเปน็ ยงั ไง”

หนงั สือเรยี นสงั เคราะห์จาก SDM โดยทุน สสค.

เด็กไทยไมเ่ อาเลข เรยี น ดงั นนั้ วธิ กี ารสอนทจ่ี ะใหไ้ ดผ้ ลกค็ อื เราตอ้ งสอนใหเ้ ปน็
ก่ึงนามธรรมก่ึงรูปธรรม ไม่ใช่มีแต่ตัวเลขหรือสัญลักษณ์
เป็นท่ีทราบกันดีว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของ ต้องมีรูปภาพ มีแผนภาพ มีเร่ืองราวเข้ามาประกอบ ซึ่ง
เดก็ ไทยในช่วงหลงั ไมค่ ่อยดนี กั โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ เด็กจะชอบ เขาจะจินตนาการตาม แล้วกช็ อบคณติ ศาสตร์
ที่เป็นวิชาไม้เบ่ือไม้เมาของเด็กไทยเข้าข้ันวิกฤติ ผลการ ได้โดยไม่รู้ตัว นี่คือที่มาของวิธีการสอนคณิตศาสตร์โดย
สอบ O-NET ระดับชน้ั ม.๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๔ คา่ เฉลย่ี ใช้กระบวนการเร่ืองราวและแผนภาพ หรือ Story and
ทว่ั ประเทศของวิชาคณิตศาสตรอ์ ยู่ท่ี ๑๔.๙๙ จากคะแนน Diagram Method หรอื SDM”
เต็ม ๑๐๐ คะแนน นี่ยังไม่รวมถึงผลสอบกลางภาคและ ผศ.ดร.ปสาสน์ กงตาล ผูช้ ่วยศาสตราจารยป์ ระจ�ำ
ปลายภาคท่ีเกิดปรากฎการณ์ “ตกยกห้อง” กันมาแล้ว คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ กลา่ วถงึ นวตั กรรม
หลายๆ โรงเรยี น ใหม่ในห้องเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งอาจารย์ได้ริเริ่มศึกษา
ค้นคว้าจนเกิดเป็นงานวิจัยท่ีได้รับความสนใจ และสร้าง
Story and Diagram Method (SDM) แรงบันดาลใจให้กับคุณครูคณิตศาสตร์หลายท่าน รวมถึง
ลูกศิษย์ชั้นปริญญาโทของอาจารย์เอง อย่าง อ.รุ่งนภา
“ธรรมชาติของคณิตศาสตร์มันเป็นนามธรรม ซึ่ง
เด็กจบั ตอ้ งยาก เขา้ ใจยาก ยงั ไมท่ นั ไร เขากจ็ ะตอ่ ตา้ น ไมอ่ ยาก

14 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้

อารยะธรรมโสภณ จากโรงเรียนชุมแพศึกษา, อ.ปรีชากร
ภาชนะ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา และ อ.ชัชวาล
นามปรีดา โรงเรียนนาจานศึกษา ทัง้ ๓ โรงเรยี นจึงได้รว่ ม
กันจัดท�ำโครงการมหัศจรรย์การคิด : การพัฒนาทักษะ
การคิดทางคณิตศาสตร์โดยใช้ SDM น�ำเอาวิธีการสอน
โดยใช้กระบวนการ SDM กลับไปใช้ในโรงเรียนของตนเอง
ภายใต้การสนับสนุนด้านงบประมาณและองค์ความรู้จาก
ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพ
เยาวชน (สสค.)
เวลาผ่านไปปีเศษ เสียงบ่นของเด็กๆ ก็เริ่มจางหาย
และคาบเรยี นคณติ ศาสตรข์ องเดก็ ๆ กไ็ มเ่ หมอื นเดมิ อกี ตอ่ ไป

ไอม้ ดแดง มอบหมายให้พวกเขาได้ลองสร้างสรรค์เร่ืองราวของตัวเอง
ดบู ้าง เพ่ือสะท้อนความเขา้ ใจในเนอื้ หาวิชาของนักเรยี น
an = a1+(n-1)d ทโ่ี รงเรยี นบา้ นแทน่ วทิ ยา เดก็ ๆ ชนั้ ม.๕ ตา่ งสนกุ กบั
คอื สตู รคณติ ศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ ทน่ี กั เรยี นชน้ั ม.๕ จะได้ การสรา้ งสรรคเ์ รอ่ื งราวมาก ซงึ่ สว่ นใหญก่ ม็ กั จะองิ จากเรอ่ื ง
เจอทันทีท่ีเร่ิมเรียนบทเรียนเรื่อง “ล�ำดับและอนุกรม” แต่ ใกลต้ วั ทตี่ นเองชน่ื ชอบ หรอื สงิ่ ทพี่ บเหน็ อยใู่ นชวี ติ ประจำ� วนั
ท่ีโรงเรียนนาจานศึกษา ในคาบแรกของล�ำดับและอนุกรม “พอเราใชว้ ธิ กี าร SDM แลว้ กร็ สู้ กึ วา่ เดก็ มคี วามสนใจ
เด็กๆ กลับก�ำลงั น่งั ฟัง อ.ชชั วาลย์ เล่านทิ านเรือ่ ง “มดแดง เรยี นมากขนึ้ เดก็ เขาสนกุ กบั การคดิ เรอื่ ง บางคนชอบฟตุ บอล
ซเู ปอร์ฮีโร่!” เขากเ็ อาเรอ่ื งจำ� นวนการยงิ ประตขู องทมี ทเ่ี ขาชน่ื ชอบมาผกู
“วายร้ายประจ�ำเมืองอย่างเจ้ามดคันไฟ เป็นคู่ปรับ เปน็ เรอ่ื งได้ แสดงวา่ เขาสามารถเชอ่ื มโยงคณติ ศาสตรเ์ ขา้ ไป
กบั เจ้ามดแดงซูเปอร์ฮีโร่ ในระหวา่ งการตอ่ สู้ เม่อื เวลาผ่าน หาตวั เองได้ และจะไมร่ สู้ กึ วา่ คณติ ศาสตรเ์ ปน็ เรอ่ื งทเี่ กนิ กวา่
ไปถงึ นาทีท่ี ๑ พลงั ของมดแดงจะลดลง ๖ หน่วย เมอ่ื เวลา ทเี่ ขาจะเขา้ ใจ” อ.ปรชี ากร ครคู ณติ ศาสตรโ์ รงเรยี นบา้ นแทน่
ผ่านไปถึงนาทีท่ี ๒ พลังของมดแดงจะลดลงอีก ๖ หน่วย วิทยา เล่าถงึ ความเปลยี่ นแปลงในหอ้ งเรยี นของตนเอง
เม่ือเวลาผ่านไปถึงนาทที ี่ ๓ พลงั ของมดแดงจะลดลงอกี ๖ ส่วนที่โรงเรียนชุมแพศึกษา ซ่ึงถือเป็นฐานใหญ่ใน
หน่วย เม่ือเวลาผา่ นไปถงึ นาทีท่ี ๔ พลงั ของมดแดงจะลดลง การน�ำกระบวนการ SDM ไปใช้ในช้ันเรียนคณิตศาสตร์
อกี ๖ หนว่ ย เหตกุ ารณเ์ ปน็ เชน่ นต้ี อ่ ไปเรอื่ ยๆ ดงั นนั้ หากเจา้ ก็พบว่า เด็กๆ สามารถแตกยอดความคิดออกไปได้อย่าง
มดแดงตอ่ สกู่ บั เจา้ มดคนั ไฟ ถงึ นาทที ี่ ๑๒ และถงึ นาทที ่ี ๒๖ อิสระ อย่างบุษกร ที่หยิบเอาเร่ืองใกล้ตัวมาตั้งเป็นโจทย์
พลงั ของเขาจะลดลงเทา่ ใด ตามล�ำดบั ” ปัญหา ซึ่งเพื่อนๆ ทั้งหอ้ งชน่ื ชอบ
น่ีคือข้ันตอนแรกในการเร่ิมสอนด้วยกระบวนการ “กลมุ่ ของหนูปรึกษากันวา่ จะเอาเรื่องอะไรดี คยุ กัน
SDM ซ่ึงครูจะน�ำนักเรียนเข้าสู่เร่ืองราว มีตัวละคร มี ไปสักพักก็นึกออกว่า พวกเราชอบกินก๋วยเต๋ียวเหมือนกัน
เหตุการณ์จ�ำลอง ซึ่งเปิดโอกาสให้พวกเขามีอิสระในการ กเ็ ลยกลายมาเปน็ โจทยป์ ญั หาเรอื่ งแขง่ กนิ กว๋ ยเตย๋ี วกนั คะ่ ”
คิดตาม จนสามารถคิดหาค�ำตอบออกมาได้ หลังจากน้ันก็ ทุกวนั นบ้ี รรยากาศในการเรยี นของเดก็ ๆ เปลี่ยนไป
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มแล้วน�ำนิทานที่ครูเล่าไปท�ำเป็นชิ้นงาน อย่างสิ้นเชิง ไม่มีใครน่ังหาว นอนหลับ หรือโดดเรียน แต่
เพ่ือน�ำเสนอหน้าช้ันเรียน เด็กๆ จึงสนุกกับการเช่ือมโยง กลับมีรอยย้ิมและเสียงหัวเราะล่ัน เวลาท่ีเด็กๆ ได้คุย
เรือ่ งราว ภาพวาด และตัวเลขเขา้ ด้วยกัน พร้อมๆ กับซึมซบั ได้ปรึกษา ได้ออกความคดิ เสนอความเหน็ หรือได้ยนิ เร่ือง
เน้อื หาบทเรียน จดจำ� คณติ ศาสตร์ในฐานะประสบการณ์ใน ราวของเพ่ือนๆ ต่างกลุ่ม
ชวี ิตจรงิ ท่ีจับตอ้ งได้

เลขหมนุ รอบตวั เรา

เมอื่ นักเรียนคนุ้ เคยกบั การใชก้ ระบวนการ SDM จน
เข้าใจบทนิยามทางคณิตศาสตร์ในระดับหน่ึง คุณครูก็เร่ิม

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 15

นักเรยี นชุมแพศกึ ษาซอ้ มละคร ผลงานโรงเรยี นบ้านแท่นวิทยา

บูรณาการการเรยี นรู้ สำ� หรบั เดก็ ๆ ทเี่ คยบน่ และไมช่ อบคณติ ศาสตร์ กป็ รบั
เปล่ียนความคดิ ไปมาก
ในการท�ำช้ินงานแต่ละครั้ง นักเรียนโรงเรียนชุมแพ “เมือ่ ก่อนกร็ ู้สกึ ว่ามนั ยาก สตู รเยอะแยะ ทอ่ งจ�ำกัน
ศกึ ษาจะไดฝ้ กึ ทกั ษะทางคณติ ศาสตรค์ วบคไู่ ปกบั ทกั ษะทาง แทบไม่ไหว แต่อันน้ีมันเหมือนกับเราได้ลงมือคิดและเขียน
ศลิ ปะ อยา่ งการวาดภาพ ลงสี และตกแตง่ ชน้ิ งานของตนเอง ดว้ ยตวั เอง ทำ� ดว้ ยตวั เอง เลา่ ในเรอ่ื งทเี่ ราชอบ เราจะจำ� ได”้
รวมถงึ ไดฝ้ กึ ทักษะการใชภ้ าษาไทยเพ่ือการสอื่ สารอกี ด้วย “ภมู ิใจค่ะ เรยี นแบบนี้ท�ำให้เรามีอสิ ระ เราสามารถ
“เราคดิ กนั ว่า ถ้าลองท�ำเปน็ ละครเวทีจะดีมัย้ พอดี คิดโจทยข์ องเราเองได้”
มีละครเรื่องขุนศึกซึ่งดังมาก ก็เลยหยิบเร่ืองนี้มาดัดแปลง แม้คณิตศาสตร์จะเป็นเรื่องยาก เป็นเร่ืองของ
เป็นเร่ืองของทหารในสมัยของพระนเรศวร แล้วก็ใส่เน้ือ ตวั เลข ทฤษฎบี ททต่ี ายตวั แตก่ ารสอนโดยใชก้ ระบวนการ
เรอ่ื งที่เป็นคณติ ศาสตร์เขา้ ไปเปน็ ระยะๆ อย่างเชน่ ออกรบ เรอ่ื งราวและแผนภาพ หรอื SDM ก็เป็นบทพิสูจน์แล้วว่า
ใช้พลังงานไปเท่าไร พอได้ก�ำลังใจจากหญิงอันเป็นที่รักจะ ใครๆ ก็เรยี นคณติ ศาสตร์ไดอ้ ยา่ งเข้าใจ...
ได้พลังกลับมาเท่าไร คร้ังต่อไปได้เพิ่มข้ึนเท่าน้ีๆ พอละคร
จบ เราก็มีค�ำถามมาถามคนดู แลว้ กจ็ ะเฉลยวิธีคิดวธิ ีทำ� เอา เคลด็ ลบั ความส�ำเร็จ
ไว้ดว้ ย” เทคนิดการสอนท่ีท�ำให้นามธรรมกลายเป็น
ผลการเรยี นของเดก็ ๆ ในวชิ าลำ� ดบั และอนกุ รม ซง่ึ ใช้ รูปธรรมจับต้องได้ บรรยากาศการเรียนที่สร้างให้
กระบวนการ SDM ออกมาเปน็ ทนี่ ่าพอใจ นอกจากนี้เดก็ ๆ เด็กมสี ว่ นร่วม ชว่ ยใหเ้ ดก็ เปดิ ใจท่จี ะรบั ส่งิ ทเ่ี คยคดิ
ยังมีโอกาสได้ไปนำ� เสนอผลงานทางวิชาการในหลายๆ เวที วา่ เป็นเรอ่ื งยาก
อกี ดว้ ย

คณติ ศาสตร์ไมย่ ากอยา่ งท่คี ิด

อ.รุ่งนภา เล่าว่า “เราใช้เรื่องราวเป็นตัวดึงให้เด็กๆ
สนใจ ให้เขากลับมามองวิชาคณิตศาสตร์ใหม่ ท�ำให้เขารัก
วชิ านใ้ี หไ้ ดก้ อ่ น ถา้ เขามใี จใหก้ บั มนั แลว้ เขาจะเรยี นรมู้ นั เอง
วันหลัง ไม่ว่าเราจะโยนโจทย์แบบไหนใหเ้ ขา หรอื สอนด้วย
วิธปี กติ เขากร็ บั มันได้ เพราะเขาเขา้ ใจและสนกุ กับมัน”

16 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

การพัฒนาสื่อประกอบการเรียนวชิ าท้องถนิ่ ของเรา

โรงเรยี นโนนเจรญิ พิทยาคม บรุ รี ัมย์

“สองเฒ่ายายตา อาชีพเฮ็ดนาอยู่ที่บ้านนอก ก้มหน้าเฮ็ดงานง๊อกๆ ลูกชายลูกสาวบ่อยู่
เลยี้ งววั เลี้ยงควายปลกู ผักขาย จบั ปลาหาปูกะพอไดก้ ินได้อยู่
กัดฟันสู้ประสาผู้เฒ่า นั่งกอดหัวเข่าคอยถ้าฟังข่าวลูกมายามบ้าน ปีใหม่หรือว่าสงกรานต์
กะเหน็ แตค่ วามวา่ งเปล่า จนมาปีนี้กะไดข้ องฟรผี ลงานหมูเ่ จา้ หอบลูกมาใหแ้ มเ่ ฝ้า แล้วลกู หนุ่มสาว
ก็หนเี ข้ากรุง…”
เพลง “ตายายกับหลานน้อย” ท่ีร้องโดยนักร้องเลือดอีสานศิริพร อ�ำไพพงษ์ ท่ีดังแว่วมา
จากวิทยุของเพื่อนบ้าน ท�ำให้ครูบ้านนอกที่เติบโตมาจากท้องทุ่งอย่างฉันครุ่นคิดถึงความเป็นจริง
ที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน ท่ีส่วนใหญ่ลูกสาวลูกชายไปท�ำงานเมืองกรุง ทิ้งไว้แต่สองตายายท่ีสู้ทน
ท�ำนาคอยว่าเมื่อไรลูกจะกลับมาบ้าน มิหน�ำซ�้ำเม่ือมีลูกก็ส่งลูกมาให้พ่อแม่เลี้ยงดูอีกด้วย แม้ว่าจะ
เป็นเรื่องยากท่ีจะท�ำให้คนรุ่นใหม่กลับมาท�ำงานท่ีบ้านเกิด แต่ฉันเช่ือว่าครูอย่างฉันสามารถท�ำให้
พวกเขาภาคภมู ิใจในตัวเองไดไ้ ม่ว่าจะไปอยแู่ หง่ หนตำ� บลใดก็ตาม
เริม่ เพาะพันธ์คุ วามภาคภมู ิใจ

นอกจากหนมุ่ สาวยคุ นจี้ ะทงิ้ ไรน่ าไปทำ� งานเมอื งกรงุ
ฉนั ในฐานะครทู ส่ี อนวชิ าทอ้ งถนิ่ ของเรา ทโี่ รงเรยี นโนนเจรญิ
พิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์ก็อดเป็นห่วงไม่ได้ว่าเด็กยุคใหม่
จะเติบโตขึ้นมาเป็นคนไร้ราก ไม่รู้ว่าตัวเองมีที่มาอย่างไร
บรรพบรุ ษุ เปน็ ใครมาจากไหน หรอื แมก้ ระทงั่ เหนยี มอายทจี่ ะ
พูดภาษาถ่ินของตัวเองเม่ือไปใช้ชีวิตอยู่ในเมืองใหญ่ ฉันไม่
อาจรไู้ ดว้ ่าวันหนง่ึ เดก็ ๆ ทฉ่ี นั สอนจะเตบิ โตมามีอาชีพอะไร

เขาอาจจะเป็นหมอ เป็นต�ำรวจ เป็นพนักงานบริษัท หรือ เป็นมาอย่างไร อย่างน้อยๆ เขาจะได้มีความภาคภูมิใจใน
เปน็ สาวโรงงาน แตอ่ ยา่ งหนงึ่ ทฉ่ี นั อยากใหท้ กุ คนมตี ดิ ตวั คอื บรรพบรุ ุษของตวั เอง และไมค่ ิดวา่ ตัวเองดอ้ ยกวา่ ใคร…น่นั
ความรู้ท่ีว่าเขาเป็นใครมาจากไหน หมู่บ้านท่ีเขาอยู่มีความ คอื ความคดิ ทเ่ี ปน็ จดุ ตงั้ ตน้ ของโครงการพฒั นาสอื่ ประกอบ
การเรียนวิชาท้องถ่นิ ของเรา โครงการทีท่ างโรงเรียนเราได้
รับการสนับสนนุ ทนุ จาก สสค.
เช้าวันนี้ เปน็ วนั เปดิ เทอมภาคเรยี นท่ี ๒ ของปีการ
ศกึ ษา ๒๕๕๔ เพลงมารช์ ประจำ� โรงเรยี นโนนเจรญิ พทิ ยาคม
ของโครงการเสียงตามสายดังก้องไปทั้งโรงเรียนเหมือน

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 17

จะปลุกปลอบใจให้ฉันท�ำสิ่งที่ตั้งใจให้ส�ำเร็จ “แดนดินถ่ิน “นกั เรยี นคะ วนั นแี้ ตล่ ะกลมุ่ ทำ� รายงานไปถงึ ไหนกนั
กนั ดารอสี านใต้ เราพรอ้ มใจมงุ่ มน่ั ฟนั ฝา่ เกยี รตกิ อ้ งผองไผท บา้ งแล้ว เด๋ียวครูจะให้เวลา ๕ นาทีให้แต่ละกล่มุ พูดคุยกนั
นนั้ สร้างมา รกั สัจจาเลอื ดเหลืองด�ำน�ำชัย…” ว่าได้ข้อมูลอะไรมาบ้าง แล้วออกมาเล่าให้เพ่ือนๆ ฟังหน้า
วนั นฉี้ นั ตงั้ ใจวา่ จะชกั ชวนนกั เรยี นชนั้ ม.๔กวา่ ๑๓๐คน ชัน้ เรยี น”
มาเรียนรเู้ รอ่ื งท้องถนิ่ ของเราด้วยความสนกุ สนาน ฉนั คดิ ว่า เมอ่ื ฟงั แลว้ ฉนั กซ็ กั ถามเพม่ิ เตมิ และใหน้ กั เรยี นกลบั
ถา้ พวกเขาเริ่มต้นการเรียนรูด้ ้วยความสนุก เรอื่ งอ่นื ๆ ก็จะ ไปคิดอีกคร้ังว่าจะสรุปข้อมูลที่ได้มาอย่างไร และคร้ังต่อไป
ตามมาไมว่ า่ จะปน็ ความรู้ ความเขา้ ใจ รวมถงึ ความรกั ความ จะศึกษาเร่ืองอะไรเพ่ือให้ข้อมูลท่ีได้มีความครบถ้วน
ภาคภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ ของตวั เอง เมอื่ เดนิ เขา้ ไปในชนั้ เรยี นแรก ฉันอยากให้เด็กๆ เป็นคนสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเอง โดย
นกั เรยี นกลา่ วสวสั ดี แลว้ สวดมนต์ ตามดว้ ยการนง่ั สมาธสิ นั้ ๆ มีฉันเป็นแต่เพียงผู้ให้ค�ำแนะน�ำไม่ใช่คนบอกให้ท�ำอย่างนั้น
หลังจากนั้นฉันจึงเล่าถึงแผนการเรียนการสอนท่ีเตรียมมา อย่างน้ี ท่สี �ำคัญคนทร่ี เู้ รอื่ งราวดที สี่ ุดคือพวกเขานั่นเอง
เปน็ อย่างดใี ห้พวกเขาฟงั ในการท�ำงานนักเรียนจะใช้เวลาตอนเย็นหลังเลิก
“นักเรียนคะ เทอมน้ีเราจะเปล่ียนวิธีการเรียนวิชา เรียนและวันหยุดเสาร์อาทิตย์ เพื่อเข้าไปพูดคุยกับพ่อแม่
ท้องถิ่นของเราให้สนุกด้วยการลงไปหาข้อมูลของหมู่บ้านท่ี ปู่ย่าตายาย ผู้น�ำชุมชน และปราชญ์ชาวบ้าน คนหนึ่งท�ำ
เราอาศัย ด้วยการพูดคุยสอบถามพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย และ หน้าทจี่ ด คนหนง่ึ ท�ำหนา้ ท่ถี าม อีกสามคนท�ำหน้าทสี่ งั เกต
ปราชญช์ าวบา้ น โดยรายงานทวี่ า่ นเี้ ราจะทำ� เปน็ หนงั สอื อา่ น วา่ ผใู้ หข้ อ้ มลู ตอบดว้ ยความมน่ั ใจมากนอ้ ยแคไ่ หน นา่ จะเปน็
เพม่ิ เติม ชุดบ้านโนนเจรญิ ๑๐ เล่ม เพอื่ ให้พวกเราไดเ้ รียนรู้ ข้อมลู ทเี่ ช่ือถอื ไดห้ รือเชื่อถือไมไ่ ด้
รว่ มกนั และใหน้ อ้ งๆ รนุ่ ตอ่ ไปไดเ้ รยี นดว้ ย นกั เรยี นวา่ ดไี หมคะ” การเรียนการสอนของฉันในคร้ังน้ีเป็นไปด้วยความ
“ดีคะ่ ครู เวลาเรียนวชิ าประวัตศิ าสตร์ทไี ร หนมู ักจะ สนุกสนานเด็กๆ กลับมาเล่าให้ฟังว่าได้ไปพูดคุยกับผู้เฒ่า
งว่ ง ถา้ ไดอ้ อกไปพดู คยุ กบั พอ่ ใหญ่ แมใ่ หญ่ อยุ๊ …ตายายคงจะ ผู้แก่ในหมู่บ้าน รวมถึงได้พูดคุยกับแม่ของฉันซึ่งเป็นชาว
สนุกดีนะคะ” นักเรียนจอมเฮ้ียว ช่างคุยท่ีมักเป็นหัวโจก อุบลราชธานีท่ีย้ายครอบครัวมาตั้งถ่ินฐานท่ีน่ีด้วยเช่นกัน
ในห้องเร่ิมขานรับด้วยภาษากลางส�ำเนียงอีสาน ฉันเลยได้ เด็กๆ เล่าว่าฟังเร่ืองราวที่ผู้ใหญ่เล่าแล้วรู้สึกเพลิดเพลิน
โอกาสพูดต่อวา่ เหมอื นกำ� ลังฟังนทิ าน เช่นเรื่องการย้ายถิ่นฐานทผี่ ูเ้ ฒา่ ผูแ้ ก่
“แต่ก่อนที่นักเรียนจะไปพูดคุยหาข้อมูล ครูก็จะ เล่าว่าต้องน่ังเกวียนกันมาต้องต่อสู้กับความยากล�ำบาก
แนะนำ� วธิ กี ารเตรยี มตวั ใหก้ อ่ นนะคะ เราจะไดท้ ำ� งานงา่ ยขน้ึ ” นานปั การ และตอ้ งถากหญา้ ถางพงเหนด็ เหนอ่ื ยมากแคไ่ หน
หลังจากน้ัน ฉันก็สอนนักเรียนเก่ียวกับวิธีวิจัยเชิง ฯลฯ
ประวตั ศิ าสตร์ คอื วธิ กี ารสมั ภาษณ์ สงั เกต ออกแบบสอบถาม
รวมถงึ ใหน้ กั เรยี นไดล้ องเขยี นวจิ ยั เชงิ ประวตั ศิ าสตรเ์ รอ่ื งการ
ย้ายถน่ิ เปน็ เรื่องแรก
ตำ� บลโนนเจรญิ ของเรา เปน็ ตำ� บลทม่ี คี วามหลากหลาย
ในดา้ นชนชาติ เพราะคนในยคุ สรา้ งบา้ นแปงเมอื งมกี ารยา้ ย
ถิ่นฐานมาท�ำมาหากินท่ีนี่ท้ังมาจากสุรินทร์ ซ่ึงเป็นชนชาติ
ส่วยหรือเขมร และมาจากอุบลราชธานีซ่ึงเป็นชนชาติลาว
ดังน้ันเร่ืองแรกท่ีฉันอยากให้เด็กๆ ได้เรียนรู้คือเร่ืองการ
ยา้ ยถ่ินฐานของคนในรุ่นบรรพบุรุษนั่นเอง

ต�ำรามีชวี ติ ที่สอนเก่งยิ่งกวา่ หนังสอื

หลังจากมอบหมายโครงงานประวัติศาสตร์ท้ัง ๑๐
เรื่อง เช่น การย้ายถิ่น ภาษา ศาสนาและสังคมในชุมชน
บคุ คลสำ� คญั ในชมุ ชน ภมู ปิ ญั ญาในทอ้ งถน่ิ โดยแบง่ นกั เรยี น
ออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คนไปศึกษาแล้ว ฉันก็คอยให้ค�ำ
ช้ีแนะและติดตามผลอยู่เสมอทั้งในชั่วโมงเรียนและชั่วโมง
ชุมนุม

18 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

เด็กๆ บอกฉันว่าชอบการเรียนการสอนแบบน้ีมาก จะมีถึง ๒ วันเต็มๆ เริ่มจากเช้าของวันก่อนวันลอยกระทง
ทุกคนกระตือรือร้นท่ีจะท�ำรายงาน เด็กๆ ดีใจที่ได้รู้จัก จะมีการบวงสรวงหลวงปู่ซึ่งเป็นท่ียึดเหนี่ยวจิตใจของคน
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านตัวเอง สนุกท่ีจะได้คิดได้ ทั้งต�ำบล จากนั้นก็จะมีการละเล่นกีฬาพื้นบ้านอย่างมวย
วิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้มา และบางครั้งก็รู้สึกเหมือนตัวเองได้ ทะเล ตอนเย็นมีการเล่นกันตรึม ตอนเช้าอีกวันมีการแห่
เป็นนักเขียน จากการท�ำหนังสือประกอบการเรียนด้วย นางนพมาศ ส่วนตอนเยน็ เป็นการประกวดนางนพมาศ
ตวั เอง สว่ นพวกผใู้ หญใ่ นหมบู่ า้ นกใ็ หค้ วามรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดี ส่วนเรื่อง “หลมุ หลบภยั ” เดก็ ๆ จดั ทำ� เป็นงานวจิ ยั
ซง่ึ ฉนั เขา้ ใจได้วา่ ผเู้ ฒา่ ผแู้ กใ่ นหมบู่ ้านกอ็ ยากใหล้ กู หลานซงึ่ เชิงประวัติศาสตร์ และท�ำให้อ่านสนุกย่ิงข้ึนด้วยการน�ำมา
เปน็ วยั รนุ่ มาพดู คยุ ไถถ่ ามใหค้ ลายเหงาและทำ� ใหท้ า่ นรสู้ กึ วา่ เรยี บเรยี งเปน็ สารคดี ซงึ่ ผลงานชน้ิ นไ้ี ดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง
ยงั มีคณุ คา่ ดว้ ยเช่นกนั

สื่อทันสมยั ผลติ โดยผู้เรยี น และได้รับรางวัลหน่ึงนวัตกรรมหน่ึงโรงเรียนอีกด้วย ฉันไม่
คาดคดิ มากอ่ นวา่ ความตง้ั ใจทจี่ ะสอนวชิ าทอ้ งถน่ิ ของเราให้
หลังจากนักเรียนท�ำรายงานในรูปแบบหนังสืออ่าน สนกุ มชี วี ติ ชวี าจะทำ� ใหเ้ กดิ สงิ่ ดๆี ตามมามากมาย นอกจาก
เพม่ิ เตมิ ไดค้ รบ ๑๐ เลม่ แลว้ เรากช็ ว่ ยกนั คดั เลอื กบางเรอื่ งไป จะภมู ิใจกับการเปน็ ครูของตัวเองแล้ว ฉันยังท�ำให้เด็กๆ ได้
จัดท�ำในรูปแบบวิดีทัศน์และรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ค้นพบความสามารถท่ีอยู่ในตัวเขาเองอีกด้วย ท้ังการกล้า
ที่เรียกว่า E-Book เพราะฉันคิดว่าน่าจะเป็นส่ือการเรียนรู้ คิด กลา้ ท�ำ ซึง่ แสดงใหเ้ หน็ อยา่ งชัดเจนในการแสดงผลงาน
ทเ่ี ดก็ ยคุ นี้สนใจ ทสี่ �ำคญั ฉันอยากให้เด็กได้บูรณาการความ ในงาน “ศิลปหัตถกรรมนักเรียนและภูมิปัญญาท้องถ่ิน”
รูใ้ นวชิ าสื่อมัลตมิ ีเดยี ดว้ ย ท่ีจัดข้ึนเป็นประจำ� ทกุ ปี
เด็กๆ เลือกเร่ือง “เตาเผาสวาย” มาถ่ายท�ำเป็น ทุกคร้ังทเี่ ปดิ อ่าน เปิดดผู ลงานของนกั เรียน ฉนั ก็
วิดีทัศน์ เตาเผาสวายน้ีสะท้อนถึงอารยธรรมขอมโบราณ พบวา่ ตัวเองยม้ิ นอ้ ยๆ อยา่ งสุขใจ นเ่ี องกระมังทเี่ รียกวา่
ในพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๙ มีอยู่มากในจังหวัดบุรีรัมย์และ “ความอม่ิ เอมใจ” ทอ่ี ะไรกเ็ ทยี บไมไ่ ด้เลยทเี ดยี ว
จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งถ้าอยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลโนนเจริญ
ก็จะมีช่ือเรียกว่า “เตาเผาตาสวาย” เด็กๆ ถ่ายท�ำและ
ถา่ ยทอดขอ้ มลู ในเรอ่ื งนดี้ ว้ ยการเกบ็ ขอ้ มลู ตรวจสอบความ
จริง วิเคราะห์ข้อมูล น�ำเสนอผลงานแล้วจึงจัดท�ำเป็นสื่อ
วิดีทัศน์ที่ใหท้ งั้ ความสนุกและความรู้

นอกจากนน้ั กเ็ ลอื กเรอื่ ง “ประเพณลี อยกระทง” มา เคล็ดลบั ความส�ำเร็จ
จดั ทำ� เปน็ E-Book เพราะประเพณนี มี้ คี วามสำ� คญั ตอ่ คนใน ครมู กี ารวางแผนและเตรยี มการเรยี นการสอน
ต�ำบลโนนเจริญมาก ถือเป็นประเพณีที่ช่วยหลอมรวมผู้คน เป็นอย่างดี มีการติดตามผลอย่างสม�่ำเสมอ และ
ท่ีแตกต่างหลากหลายไว้ด้วยกัน ดังนั้นไม่ว่าจะต้องลงทุน กระตุ้นนักเรียนให้เกิดความสนใจด้วยการน�ำ
ลงแรงมากแค่ไหนคนท่ีนี่ก็พร้อมเสมอที่จะเป็นส่วนหนึ่งที่ เรอ่ื งราวใกลต้ ัวมาเป็นส่ือการสอน
ท�ำใหง้ านลอยกระทงยงิ่ ใหญอ่ ลงั การ ทงั้ เรอ่ื งการจดั เตรียม
กระทง การแสดงฟ้อนรำ� ตา่ งๆ โดยงานลอยกระทงของทน่ี ่ี

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 19

SหQมว3กRควกาับมกคาิดรพ๖ัฒใบนากระบวนการคิดด้วยคำ�ถาม

โดยใช้อตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี นเป็นฐานในการเรยี นรู้

โรงเรยี นบา้ นเตง (เรอื นจุลประชาสรรค)์ พัทลุง

หากพูดถึงอัตลักษณ์ของเมืองพัทลุง คง
ต้องอธิบายว่าเป็นจังหวัดที่เงียบสงบ และมี
ธรรมชาติที่บริสุทธ์ิงดงามโดยเฉพาะทะเลน้อย
ท่ีเต็มไปด้วยทุ่งดอกบัวและนกน้�ำนานาชนิด
เรามีประเพณีงานบุญท่ีสืบต่อกันมายาวนาน
เชน่ เทศกาลทำ� บญุ เดอื นสบิ ทม่ี กี ารลากเรอื พระ
สว่ นผคู้ นทนี่ กี่ ป็ ระกอบอาชพี ทางการเกษตรทง้ั
ทำ� นา สวนยางพารา รวมถึงประมง

ผู้เฒ่าผู้แก่ของที่น่ีเคยเล่าต�ำนานของเขาอกทะลุ ในทส่ี ดุ กถ็ งึ แกค่ วามตาย กลายเป็น “เขาเมอื ง” หรือ “เขา
ซงึ่ เปน็ ภเู ขาทเ่ี ปน็ สญั ลกั ษณข์ องจงั หวดั ใหฟ้ งั วา่ นานมาแลว้ ชัยบุรี” ซ่ึงมีลักษณะคล้ายช้างหมอบ ฝ่ายลูกสาวเมื่อข้ึน
มชี ายช่ือนายเมืองเปน็ พอ่ คา้ ชา้ ง แกมีเมียสองคน เมียหลวง จากเรือส�ำเภาและเห็นเหตุการณ์วิปโยคเช่นนั้น นางย่ิง
ชื่อนางศิลา และมีลูกสาวชื่อนางยี่สุ่น ส่วนเมียน้อย โศกเศร้าเสียใจ เลยถึงแก่ความตายเช่นกัน และกลายเป็น
ช่ือนางบปุ ผา และมีลูกชายช่อื นายชังกง้ั ฝ่ายเมยี หลวงและ “เขาชัยสน” ซ่ึงมีลักษณะคล้ายเรือส�ำเภา ศพสุดท้ายคือ
เมียน้อยไม่ลงรอยกันมักทะเลาะด่าทอและตบตีกันเสมอ นายชังกัง้ กลายเป็น “ภูเขาชงั กั้ง” หรือ “เขากงั ” ปจั จุบนั
อยมู่ าวนั หนง่ึ เมยี หลวงและเมยี นอ้ ย ตา่ งกท็ ำ� งานคนละอยา่ ง อยใู่ นเขตโรงพยาบาลพัทลงุ
คือเมยี หลวงนั่งทอผ้าหรอื ทอหูกอยใู่ ตถ้ ุนบ้าน และเมยี น้อย เพื่อนครูภาษาไทยท่ีเป็นคนพัทลุงเหมือนกัน
ตำ� ขา้ วโพดโดยใชส้ ากต�ำลงไปในครก ชาวใตเ้ รยี กการตำ� ขา้ ว เล่าต�ำนานเรื่องนี้ให้ฉัน (ครูสายใจ ด�ำช่วย) ซ่ึงเป็นครู
ว่า “ซอ้ มสาร” คณติ ศาสตร์ฟงั เพ่อื นเล่าเรอ่ื งได้สนุก แตส่ ิ่งท่ีฉนั คิดตอ่ จาก
ช่วงหน่ึงต่างเกิดปากเสียงกันอย่างรุนแรง ฝ่าย นั้นคือ คนพัทลุงสมัยก่อนช่างจินตนาการ รู้จักน�ำเร่ืองราว
เมยี หลวงใชก้ ระสวยทอผา้ ซง่ึ ชาวใตเ้ รยี กวา่ “ตรน”ฟาดศรี ษะ มาผูกเข้ากับสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี ซึ่งแสดงให้เห็น
เมียน้อยเต็มแรงจนเป็นแผลแตกเลือดไหลแดงฉาน ฝ่าย ทั้งอารมณ์ความรู้สึก และข้อเท็จจริงต่างๆ ฉันเลยเกิด
เมียน้อยก็ไม่ยอมแพ้ง่ายๆ ใช้สากต�ำข้าวกระทุ้งหน้าอก ไอเดียว่าท�ำอย่างไรดีหนอที่จะให้เด็กนักเรียนท่ีโรงเรียน
เมียหลวงอย่างแรงจนอกทะลุ ในทสี่ ดุ ท้งั คู่ทนความเจ็บปวด บ้านเตง (เรือนจุลประชาสรรค์)ที่ฉันสอนอยู่นี้ ได้เรียนรู้
ไม่ไหวถึงแก่ความตายและกลายเป็นภูเขา เมียหลวงเป็น เร่ืองราวเก่ียวกับอัตลักษณ์ของโรงเรียนตัวเองอย่าง
“เขาอกทะล”ุ สว่ นเมยี น้อยเปน็ “เขาหวั แตก” หรอื ที่เรียก สรา้ งสรรค์ ถา้ ไมผ่ กู เปน็ นทิ าน แลว้ เราจะลองใชว้ ธิ ไี หนไดบ้ า้ ง
เป็นทางการว่า “เขาคูหาสวรรค์” ฝ่ายนายเมืองกลับจาก โรงเรยี นบา้ นเตงของเรามอี ตั ลกั ษณท์ สี่ ำ� คญั คอื เปน็
การคา้ ชา้ ง เมอ่ื พบเหตกุ ารณด์ ังกลา่ วจึงเสียใจและตรอมใจ โรงเรียนท่ีได้รับการคัดเลือกจากส�ำนักงานปฏิรูปเพื่อการ

20 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

ท�ำกินให้เป็นโรงเรียนยุวเกษตรกร รวมถึงได้รับการ หาเหตุผลภายในกรอบความคิดน้ันๆ ซ่ึงจะช่วยพิจารณา
คดั เลอื กให้เปน็ ศนู ยเ์ กษตรชมุ ชน มีอาณาเขตกวา้ งขวางถึง สง่ิ ต่างๆ ได้ครอบคลุมและมคี ณุ ภาพมากขนึ้ หมวก ๖ ใบ
๑๓๓ ไร่ เม่ือหลายวันก่อนครูที่สอนวิชาเกษตรมาปรึกษา ทว่ี า่ นน้ั แบง่ ออกเปน็ สที ง้ั หมด ๖ สแี ทนความคดิ ในดา้ นตา่ งๆ
ว่าท�ำอย่างไร เราจึงจะสามารถผลิตคู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ หมวกสีขาว หมายถึงข้อเทจ็ จริง หมวกสแี ดงหมายถึง
ไว้ส�ำหรับใช้สอนนักเรียนได้อย่างสร้างสรรค์โดยมีครู อารมณ์ความรู้สึก หมวกสีด�ำหมายถึงการตั้งค�ำถามหรือ
นักเรียน ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน และหน่วยงานของรัฐ ตั้งข้อสงสัย หมวกสีเหลือง คือการมองในแง่ดีเต็มไปด้วย
ทเ่ี กยี่ วขอ้ งเขา้ มาระดมความคดิ รว่ มกนั ทสี่ ดุ เมอื่ เรานำ� เสนอ ความหวัง หมวกสีเขียวหมายถึงการคิดอย่างสร้างสรรค์
โครงการ SQ3R กบั การพฒั นากระบวนการคดิ ดว้ ยคำ� ถาม คดิ แก้ปัญหา และหมวกสีฟ้า หมายถงึ การคดิ อย่างมรี ะบบ
หมวกความคิด ๖ ใบ โดยใช้อัตลักษณ์ของโรงเรียน ระเบียบ
เป็นฐานในการเรียนรู้ ไปยังส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ง แล้วแนวคิดทั้งสองน้ีเราน�ำมาใช้ในโครงการเกษตร
การเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) ความคิด ทฤษฎีใหม่ทเี่ ปน็ อตั ลักษณ์ของโรงเรียนอยา่ งไร
ของพวกเราก็เปน็ รูปเปน็ รา่ งขนึ้ ด้วยการสนบั สนนุ จากท่นี ่ี ค�ำตอบก็คือเราอยากให้เกิดการศึกษาเรียนรู้เกษตร
ทฤษฎีใหม่อย่างสร้างสรรค์ ไม่ใช่จากการท่องจ�ำ แต่จาก
SQ3R กบั หมวกความคิด ๖ ใบคอื อะไร ความเขา้ ใจ หลงั จากไดร้ บั ทนุ สนบั สนุ นจาก สสค.เรากด็ ำ� เนนิ
การประชุมคณะกรรมการครู ผู้น�ำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน
ใครไดฟ้ งั ชอื่ โครงการของพวกเราครงั้ แรกมกั สงสยั วา่ รวมถึงเจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานปฏิรูปท่ีดินเพื่อการท�ำกิน เพ่ือ
SQ3R กับหมวกความคิด ๖ ใบคอื อะไร แล้วจะนำ� มาใช้ใน รับทราบโครงการและหาแนวทางในการท�ำงานร่วมกนั
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ของเราได้อย่างไร ท�ำสมองโล่ง หลังจากน้ันครูและนักเรียนจึงท�ำงานร่วมกันด้วย
โปร่งๆ แลว้ มาฟงั ดกู ่อนนะคะ การสืบเสาะหาข้อมูลเพ่ือน�ำมาจัดท�ำเป็นเอกสารประกอบ
เรมิ่ จาก SQ3R คอื เทคนคิ การอา่ นหนงั สอื จบั ใจความ การเรียนเกษตรทฤษฎีใหม่ ในขั้นตอนน้ีครูจะสอนให้
ท่ีพัฒนาขึ้นโดยศาสตราจารย์ทางจิตวิทยา มีเทคนิคง่ายๆ นักเรียนรู้จักน�ำ SQ3R มาใช้ เริ่มจากส�ำรวจข้อมูลต่างๆ
๕ ขน้ั ตอน ดังนี้คือ S = Survey ส�ำรวจ Q = Question ที่ไดม้ าท้งั จากหนังสอื อนิ เทอร์เนต็ ผ้รู ใู้ นชมุ ชน จากน้นั ตั้ง
ตั้งค�ำถาม R = Read อ่าน R = Recite ท่อง R = Review คำ� ถามในประเดน็ ทสี่ นใจ แลว้ จงึ อา่ นอยา่ งละเอยี ดเพอ่ื เลอื ก
ทบทวน น�ำข้อมูลท่ีได้มาใช้ ส่วนการท่องและทบทวนนั้นเราไม่ได้
ส่วนหมวกความคิด ๖ ใบ (Six Thinking Hats) ท่องจำ� เหมือนการเรยี นวชิ าภาษาไทย แต่จะน�ำไปใช้ในช่วง
คือการก�ำหนดรูปแบบของความคิดพิจารณาสิ่งๆ เดียวกัน ทล่ี งมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ซงึ่ เปน็ การทบทวนความรใู้ นขณะลงมอื ทำ�
ในหลายๆมุมมองดร.เอ็ดเวิรด์ เดอ โบ โน เป็นปรมาจารย์
ทางด้านการคดิ เขาเหน็ ว่าคนสว่ นใหญ่มกั จะนำ� ขอ้ เทจ็ จรงิ
อารมณ์ หรอื เหตผุ ลสว่ นตวั มาปะปนกนั ในการถกเถยี ง ซง่ึ วธิ ี
การคดิ หาเหตผุ ลดงั กลา่ วเปน็ วธิ ที ผี่ ดิ และเสยี เวลา ดว้ ยเหตนุ ้ี
เขาจงึ เสนอวธิ คี ดิ แบบหมวกความคดิ ๖ ใบขน้ึ โดยแยกกรอบ
ความคิดออกเป็นด้านๆ อย่างชัดเจน จากน้ันจึงวิเคราะห์

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 21

เรม่ิ ต้นเรียนรู้ ดว้ ยการตง้ั ค�ำถาม ต้งั ขอ้ สงสยั หรอื ค�ำถาม เชน่ “ท�ำไมตน้ หญ้าแฝกทีป่ ลกู ไวจ้ งึ
เห่ยี ว” ใครที่ถามคำ� ถามได้ถกู ต้อง ตรงกบั หมวกที่ครยู กมา
เม่ือจัดท�ำเอกสารประกอบการเรียนเสร็จแล้วเราก็ เปน็ โจทย์ กจ็ ะไดร้ บั การนบั คะแนนสะสม และจะมกี ารมอบ
น�ำมาใชใ้ นฐานเกษตรทฤษฎีใหม่ทง้ั หมด ๑๑ ฐานคือ ฐาน ประกาศนียบัตรและมอบรางวัลให้ในช่วงวันเด็กประจ�ำปี
การปลูกยางพารา ฐานการปลูกหญ้าแฝก ฐานการปลูกไม้ เดก็ ๆ ตน่ื เตน้ กบั กจิ กรรมนม้ี าก และยงั สง่ ผลทางออ้ มใหก้ าร
ดอกไม้ประดับ ฐานการปลูกหญา้ เลยี้ งววั ฐานการปลกู ขา้ ว เขา้ แถวเคารพธงชาตติ อนเชา้ เป็นระเบยี บเรียบร้อยมากขึ้น
ฐานการปลูกกระท้อน ฐานการปลูกผักสวนครัว ฐานการ แต่ส่ิงที่น่าภูมิใจมากที่สุดส�ำหรับฉันคือการท่ีเด็กใน
เพาะเห็ด ฐานการท�ำปุ๋ยหมกั ฐานการท�ำนำ้� สม้ ควนั ไม้ และ โรงเรียนรู้จกั คิดเป็น ทำ� เป็น จากเม่ือก่อนทีโ่ รงเรยี นของเรา
ฐานการทำ� น้�ำยาล้างจาน ไม่ผา่ นการประเมนิ ด้านอตั ลักษณ์ และความคดิ สรา้ งสรรค์
หลังจากท�ำโครงการนี้โรงเรียนของเราท้ังเขียว ทั้ง ทุกวันนี้เราได้รับการประเมินในเกณฑ์ดีมาก โดยเฉพาะใน
สวยงามกลายเปน็ แหล่งเรยี นรอู้ ยา่ งแท้จริง หลังจากนั้นเรา เร่ืองความคิดสร้างสรรค์ เด็กๆ ในโรงเรียนของเรากล้าคิด
จัดอบรมใหญ่ ๒ คร้งั ใหก้ ับทงั้ นักเรียน ผปู้ กครอง และคน กล้าแสดงออกมากขึ้น รู้จักวิธีการในการแก้ปัญหาได้อย่าง
ในชุมชนที่มีความรู้เก่ียวกับการเกษตรในแต่ละด้าน ได้มา สรา้ งสรรค์
แลกเปลยี่ นเรยี นรเู้ กษตรทฤษฎใี หมด่ ว้ ยกนั โดยเราจะเรยี นรู้ ว่ากันว่า การต้ังค�ำถามเป็นศิลปะที่มนุษย์ใช้เพื่อ
ไปตามฐานตา่ งๆ ครบทง้ั ๑๑ ฐาน ซึง่ การเรียนรู้ในคร้งั นน้ั การแสวงหาความรู้ ในโลกนี้มีค�ำถามอีกมากที่ต้องการ
สรา้ งความสนกุ สนานเปน็ อยา่ งมาก เพราะเดก็ นกั เรยี นและ ค�ำตอบ ดังนั้นถ้าเราสามารถน�ำมุมมองจากค�ำตอบท่ีได้รับ
พ่อแม่ได้มาเรียนรรู้ ว่ มกันถงึ ๒ วัน ไปประยกุ ตก์ บั ความคดิ ทม่ี อี ยเู่ ดมิ ไดก้ จ็ ะสามารถสรา้ งสรรค์
เมอื่ โครงการนไ้ี ปได้ดี ฉนั เลยคิดวา่ อยากจะใหเ้ ดก็ ๆ และประดิษฐ์สงิ่ ใหม่ให้เกิดขน้ึ ได้
ทั้งโรงเรียนสนใจศึกษาเร่ืองน้ีร่วมกัน จึงน�ำแนวคิดหมวก โรงเรียนของฉันเป็นโรงเรียนเล็กๆ แต่ฉันเชื่อว่าเม่ือ
ความคดิ ๖ ใบมาใชใ้ นการเรยี นรแู้ บบสนกุ ๆ โดยในชว่ งเชา้ นักเรียนจบจากที่น่ีออกไป พวกเขาจะสามารถใช้ความคิด
ท่ีเขา้ แถวเคารพธงชาติในแต่ละวัน ครูจะเป็นคนกำ� หนดวา่ สรา้ งสรรคท์ ไ่ี ดร้ บั การบม่ เพาะไปทำ� ประโยชนใ์ หต้ นเองและ
วันนี้เราจะเลือกหมวกสีอะไรมาใช้เป็นค�ำถาม เช่น หาก สังคมตอ่ ไป
วันนี้เราจะเรียนรู้เก่ียวกับหญ้าแฝก ประธานนักเรียนก็จะ ฉันเชอื่ วา่ หากคนเรารูจ้ ักตั้งค�ำถาม ก็จะน�ำเราไปสู่
หยบิ ฉลาก ใครถกู เลอื กกจ็ ะมาตง้ั คำ� ถามทเี่ ปน็ หมวกสตี า่ งๆ คำ� ตอบทเี่ ปน็ ทางออกของปญั หาตา่ งๆ ไมว่ า่ ปญั หาเหลา่ นน้ั
ตามที่ครูก�ำหนด เช่น ถ้าวันนี้ครูก�ำหนดให้เป็น หมวกสี จะเป็นเรอ่ื งเกีย่ วกบั ประเพณี สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
ขาว ค�ำถามก็จะต้องเก่ียวข้องกับข้อเท็จจริง นักเรียนอาจ ล้วนต้องเร่ิมต้นจากการรู้จักต้ังค�ำถาม เพราะถ้าเราไม่ถาม
จะถามว่า “ใบของหญ้าแฝกมีลักษณะอย่างไร” หรือถ้า เรากจ็ ะไมม่ วี นั รเู้ รอื่ งนน้ั ๆ ไปตลอดชวี ติ อยา่ งทป่ี ราชญท์ า่ นวา่
ครูก�ำหนดให้เป็นหมวกสีด�ำ ค�ำถามก็จะเก่ียวข้องกับการ “คนที่รู้จักถามนั้นโง่อยู่ช่ัวนาที คนที่ไม่ถามจะโง่
ตลอดไป” นั่นเอง

เคลด็ ลบั ความส�ำเร็จ
การน�ำแนวคิดที่เป็นเร่ืองนามธรรมมาแปลง
เป็นการเรียนรู้ที่สนุกสนาน ท�ำให้การศึกษาเรียนรู้
อัตลกั ษณข์ องโรงเรียนเปน็ ไปอยา่ งสรา้ งสรรค์ และ
นำ� ไปสูก่ ารคิดเป็น แกป้ ัญหาเป็น

22 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

ศลิ ปะสร้างสรรค์ จนิ ตนาการสรา้ งนักคดิ

โรงเรียนบา้ นฟา้ ห่วน ยโสธร

“ถึงชว่ั โมงศลิ ปะทีไร พวกเดก็ ๆ จะกระตือรอื ร้น แววตาเปน็ ประกาย เพราะเป็นวชิ า
ทพ่ี วกเขาชอบ ตา่ งจากวชิ าวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือบางวิชาอย่างสงั คม ภาษาไทยน่ี
นงั่ หลบั เลยกม็ ี”
คือสง่ิ อ.บรรเยน็ ศิริบุตร ครภู าษาไทย โรงเรียนบ้านฟา้ หว่ น สงั เกตเห็นมานานแลว้
เชน่ เดยี วกบั ครูคนอ่นื ๆ ในโรงเรยี นทก่ี ็มีความรู้สึกเชน่ เดียวกนั

การขาดความสนใจในวิชาอื่นๆ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ในระดบั มัธยมต้น จึงชว่ ยกันคดิ รปู แบบกจิ กรรมขึน้
ทางการเรยี นของนกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมตน้ จำ� นวน ๕๓ คน จัดท�ำโครงการศลิ ปะสร้างสรรค์ จินตนาการสร้าง
ตำ�่ กวา่ เกณฑ์ นอกจากนเ้ี ดก็ ๆ ยงั ขาดทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ นักคิด ใช้ส่ือศิลปะในการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ท�ำไม่เป็น แก้ปัญหาเองไม่ได้ อีกทั้งครูยังเน้นรูปแบบการ บรู ณาการใหน้ กั เรยี นเกดิ ทกั ษะกระบวนการคดิ วางแผนใน
สอนให้จำ� เน้ือหา ไมไ่ ด้เน้นกระบวนการ จึงทำ� ใหเ้ ด็กๆ เกดิ การทำ� งาน ลงมอื ปฏบิ ตั งิ านเองอยา่ งเปน็ ระบบ จนสามารถ
ความรูส้ กึ เบ่ือหน่าย และทอ้ ถอยเม่ือเจอเนื้อหาท่ยี ากๆ แกป้ ญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง ซงึ่ เมอื่ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก สสค.
อ.สุพล พุดมี ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนฟ้าห่วน ซ่ึงจบ ก็เริ่มด�ำเนนิ การทนั ที
มาทางด้านศิลปะและเข้าใจดีว่าการท�ำงานศิลปะสามารถ
สร้างทักษะความคดิ ใหเ้ กิดข้ึนได้ จึงจุดประกายความคดิ ให้ ศิลปะสรา้ งสรรค์
กบั อ.บรรเยน็ ซง่ึ เมอ่ื นำ� ประเดน็ นเี้ ขา้ ทปี่ ระชมุ ของโรงเรยี น
เพอื่ นครดู ว้ ยกนั กเ็ หน็ ดว้ ย เพราะตา่ งกป็ ระสบปญั หาในการ ศิลปะนั้นมีมากมายหลายรูปแบบ แต่ท่ีครูเลือกมา
เรียนการสอนแบบเดยี วกนั ครูทง้ั ๗ คน ท่รี ับผดิ ชอบสอน ให้นักเรียนได้ลงมือท�ำเพื่อฝึกทักษะกระบวนการคิด มี ๖
กิจกรรมด้วยกนั คอื

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้ 23

ศิลปะสร้างสรรค์จากไม้ขีดไฟ น�ำไม้ขีดไฟมา ศลิ ปะสรา้ งดอกไมจ้ ากเศษวสั ดธุ รรมชาตใิ นทอ้ งถนิ่
ประดิษฐ์เป็นภาพที่สวยงามตามจินตนาการของนักเรียน ในโรงเรียนมีวัสดุเหลือใช้มากมายที่หาได้ง่ายๆ อย่างดอก
ท�ำให้ได้รู้จักวางแผนการท�ำงาน ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ของตน้ ประดู่ จากทต่ี อ้ งกวาดทง้ิ หรอื นำ� ไปทำ� ปยุ๋ หมกั ทกุ วนั
ซ่ึงผลงานของนักเรียนก็ออกมาสวยงามและมีรูปแบบ เดก็ ๆ กเ็ กบ็ รวบรวม น�ำมาแชน่ �ำ้ จนเปือ่ ย แลว้ ฟอกขาวด้วย
แตกต่างกันตามพืน้ ฐานทักษะการคิดของแตล่ ะคน น้�ำยาฟอกผา้ ขาว จากน้ันนำ� มาย้อมสตี ่างๆ จนมสี ีสนั สดใส
ศิลปะประดษิ ฐจ์ ากเศษวสั ดุของใช้ เด็กๆ นำ� วสั ดทุ ี่ นำ� ดอกประดเู่ หลา่ นมี้ าประดษิ ฐเ์ ปน็ ดอกไมต้ า่ งๆ อยา่ งดอก
หาได้ทั่วไปอย่างขวดน�้ำพลาสติกที่ใช้แล้ว มาประดิษฐ์เป็น กุหลาบ กลว้ ยไม้ ฯลฯ
โคมไฟ ครัง้ แรกครูจะหาตวั อย่างมาใหเ้ ดก็ ๆ ดูก่อน แตเ่ ม่อื ในกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะเหล่านี้
ถึงเวลาลงมือท�ำจริง พวกเขาจะใช้จินตนาการของตนเอง เดก็ ๆ จะได้ลงมือท�ำเองทกุ ขน้ั ตอน พวกเขาจะต้องวางแผน
ออกแบบและสร้างสรรค์เป็นช้ินงานออกมา มีรูปร่างต่างๆ การท�ำงานของตนเอง อย่างมีระบบ ต้องใช้ทักษะในการ
มากมายที่น่าสนใจ นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้การน�ำเศษวัสดุ คิดและแก้ปัญหา เพราะงานศิลปะทุกช้ินจะต้องใช้ความ
เหลือใชม้ าสร้างใหเ้ กิดประโยชนอ์ กี ด้วย ละเอียดในการคิดสร้างสรรค์ จึงท�ำให้เด็กๆ ฝึกคิดอย่าง
ภาพวาดสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่เด็กๆ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบดว้ ย เกดิ สมาธิ ทำ� งานอยา่ งเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน
และสนใจมาก ครูได้เชิญวิทยากรท่ีมีผลงานประกวดระดับ และคิดเป็นระบบมากข้ึน
ประเทศมาสอนเทคนิคต่างๆ ในการวาดภาพและการลงสี
ให้กับเด็กๆ ท�ำให้เด็กๆ รู้สึกว่าการวาดภาพไม่ยากอย่างที่ จนิ ตนาการสร้างนกั คดิ
คิด และเม่ือเด็กๆ วาดภาพออกมาแลว้ กส็ วยงามเกินความ
คาดหมาย นอกจากนคี้ รยู งั ใชส้ อื่ ศลิ ปะบรู ณาการเขา้ กบั กจิ กรรม
ภาพวาดการต์ นู สรา้ งสรรค์ เปน็ กจิ กรรมทเ่ี ดก็ ๆ ได้ การเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ อย่างวิชา
ใชจ้ นิ ตนาการของตนเอง แสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรคเ์ ปน็ ภาพ ภาษาไทย อ.บรรเยน็ ชวนนกั เรยี นทำ� หนงั สอื เลม่ เลก็ นทิ าน
วาดการต์ นู ทพี่ วกเขาชน่ื ชอบ ประกอบเนอื้ เรอ่ื งสนกุ ๆ ทพ่ี วก ส้นั และสำ� นวนภาพ ท่ีนอกจากจะได้เรียนรกู้ ารใชภ้ าษาใน
เขาแตง่ ขน้ึ เอง ทั้งยงั ไดฝ้ ึกใชภ้ าษาในการสอ่ื สารอีกด้วย การสื่อสารแล้ว การตกแต่งผลงานให้สวยงามด้วยภาพวาด
ศิลปะสร้างภาพจากเศษวัสดุในท้องถิ่น เด็กๆ น�ำ ศลิ ปะ กช็ ว่ ยใหเ้ ดก็ ๆ ไดฝ้ กึ ใชจ้ นิ ตนาการในการสรา้ งผลงาน
วัสดทุ ่หี าได้ใกล้ตัวทั้งจากท่ีบ้านหรือทโี่ รงเรยี น นำ� มาปะติด ออกมาได้อยา่ งสวยงามอีกด้วย
เปน็ ภาพศิลปะได้อย่างสวยงาม วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ครสู อนเรอ่ื งระบบนเิ วศดว้ ยการให้
นกั เรยี นทำ� สวนถาดจำ� ลอง หาวสั ดตุ า่ งๆ ในทอ้ งถน่ิ มาจดั ได้
24 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ อยา่ งสวยงาม

วิชาคณิตศาสตร์ ครูสามารถเปล่ียนชั่วโมงเรียนท่ี ผลคะแนน O-NET ของนักเรยี นก็เพิ่มสูงข้นึ ร้อยละ
น่าเบ่ือมาเป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน ด้วยการชวนเด็กๆ ท�ำ ๔๙.๒ มีกระบวนการคิดอยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารวางแผนเปน็
“เคร่อื งบนิ พลังยาง” ตัวเครือ่ งบินทำ� จากไมท้ ีม่ ีนำ้� หนกั เบา ข้ันเป็นตอนในการท�ำงาน ร้อยละ ๘๐ มีสุนทรียภาพด้าน
น�ำมาเหลาเป็นตัวเคร่ือง ปีกของเคร่ืองบินท�ำจากกระดาษ ศิลปะและสนุกสนานเพลิดเพลินกับการท�ำผลงานศิลปะ
ทมี่ คี วามบาง น�ำหนังยางมามดั กบั ใบพัดหลายๆ รอบ เมอ่ื อย่างสรา้ งสรรค์
ปล่อยหนังยางก็จะมีแรงดีดให้ใบพัดหมุน ท�ำให้เคร่ืองบิน ผลงานของนักเรียนอย่างเครื่องบินพลังยาง และ
รอ่ นไปตามแรงสง่ แตล่ ะกลมุ่ จงึ แขง่ ขนั กนั วา่ ของใครจะรอ่ น ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ กส็ ามารถนำ� ไปแขง่ ขนั โครงงานในงานศลิ ป
ไดไ้ กลและนานที่สดุ หัตถกรรม จนสามารถคว้าเหรียญทองในระดับภาคมาได้
กระบวนการประดิษฐ์เคร่ืองบินน่ีเอง ที่เด็กๆ ได้ใช้ อย่างภาคภมู ใิ จ
ความรทู้ างคณติ ศาสตรใ์ นการวดั และการคำ� นวณโดยไมร่ ตู้ วั เกดิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นตวั นกั เรยี นมากขนึ้
แถมยงั ไดฝ้ ึกใชท้ ักษะการคดิ วเิ คราะห์ คดิ แก้ปัญหา เพราะ เด็กๆ กล้าพูดกล้าแสดงออก กล้าคิดกล้าท�ำ ท�ำได้ท�ำเป็น
ตอ้ งปรบั แก้หลายครัง้ กวา่ เครอ่ื งบินจะรอ่ นได้สำ� เร็จ แก้ปัญหาเป็นมากขนึ้ เกดิ ความรักในการเรียนรู้ เกดิ ความ
สว่ นกลมุ่ สาระการงานพน้ื ฐานอาชพี และเทคโนโลยี ภาคภูมิใจในตนเอง เกิดผลงานที่สามารถสร้างรายได้เสริม
นับว่าสามารถต่อยอดกิจกรรมทางศิลปะสร้างสรรค์จนเป็น ใหก้ บั พวกเขา และผลสำ� เรจ็ ทอ่ี อกมายงั ทำ� ใหผ้ ปู้ กครองเหน็
รายไดเ้ สรมิ ใหก้ บั นกั เรยี นไดอ้ ยา่ งนา่ สนใจ ครแู ละเดก็ ๆ ชว่ ย ความส�ำคัญของการศกึ ษาเพิ่มมากข้ึน
กันคิดน�ำดอกไม้ประดิษฐ์รูปแบบต่างๆ มาสร้างผลิตภัณฑ์ นอกจากนใี้ นการทำ� งานรว่ มมอื กนั ของผบู้ รหิ ารและ
จากดอกไม้อย่างหลากหลาย ท่ีได้รับความนิยมมากก็คือ ครใู นโรงเรยี น ยงั ทำ� ใหเ้ กดิ ความเปลยี่ นแปลงทด่ี ขี นึ้ มากมาย
ช่อดอกไม้รับปริญญา และช่อดอกไม้วันวาเลนไทน์ ก๊ิบติด เกิดความสนิทสนมใกล้ชิดในกลุ่มครูด้วยกัน ลดช่องว่าง
ผม สรอ้ ย แหวน กำ� ไร ฯลฯ ระหว่างผู้อ�ำนวยการและครูในบังคับบัญชา ครูทุกคนเกิด
ผลงานของนักเรียนออกมาสวยงามจนคนในชุมชน ความภาคภูมใิ จที่มีสว่ นรว่ มในการพฒั นาลกู ศิษยข์ องตนให้
ติดต่อให้น�ำไปตกแต่งประดับเวทีในงานต่างๆ อย่างงาน เก่งขึ้น
แตง่ งาน งานวนั ครู งานประเพณขี องอ�ำเภอ สรา้ งความภาค
ภมู ใิ จใหก้ ับเดก็ ๆ และโรงเรยี นอย่างมาก หมดโครงการแลว้ ยังท�ำต่อ

ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น “เมือ่ ไหรห่ นจู ะได้ทำ� อย่างพเ่ี ขาบา้ ง”
เด็กน้อยชั้นประถม ถาม อ.บรรเย็น เมื่อได้เห็น
เวลาผ่านไปเพียง ๖ เดือน ก็สามารถพิสูจน์ให้เห็น ผลงานอันสวยงามของพ่ีๆ มัธยม จึงเป็นแรงบันดาลใจให้
ผลส�ำเร็จของโครงการ เมื่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ครูในโรงเรียนมุ่งมั่นท่ีจะท�ำกิจกรรมนี้ต่อไป แม้จะสิ้นสุด
เด็กๆ ชั้น ม.๓ เพิ่มสูงขึ้นทุกกลุ่มสาระวิชา เป็นผลจาก โครงการท่ีได้ท�ำสัญญาไว้กับทาง สสค. แล้วก็ตาม เพ่ือให้
การทน่ี กั เรยี นไดพ้ ฒั นาทักษะการคิด มรี ปู แบบการคิดและ เดก็ ๆ ชนั้ ประถมทก่ี า้ วขน้ึ มาในระดบั มธั ยม ไดม้ โี อกาสเรยี น
การท�ำงานอย่างเป็นระบบมากข้ึนจากการได้สร้างสรรค์ รสู้ งิ่ ดๆี เหลา่ น้บี า้ ง
ผลงานทางศลิ ปะ สงิ่ ทส่ี ำ� คญั คอื เดก็ ๆ มคี วามตง้ั ใจ มงุ่ มนั่ ใน "ศิลปะ” นอกจากจะสร้างสรรค์ความสวยงาม
การท�ำงานศิลปะ ท�ำให้เกิดสมาธิข้ึนในตัวเด็กๆ อย่างเป็น ให้กับโลกใบนี้แล้ว “ศิลปะยังสร้างคน” สร้างทักษะ
ธรรมชาติ กระบวนการคิดให้กับเด็กๆ ซึ่งในวันหน่ึงข้างหน้าพวก
เขาจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ มีอาวุธทางปัญญา
และสามารถสร้างสรรค์สงั คมทีด่ ีงามตอ่ ไป

เคล็ดลับความส�ำเร็จ
ปรบั กระบวนคดิ ใช้สิ่งทถี่ นดั ขับเคลือ่ น
ทั้งองคก์ ร

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 25

อบรมเชิงปฏิบัติการสรา้ งหนุ่ ยนต์จากวสั ดรุ ไี ซเคิล

โรงเรียนบา้ นห้วยจรเข้ นครราชสมี า

ตอนสมยั ทย่ี งั เปน็ เดก็ ชวี ติ ของผม (ครสู รุ ยิ า กอมขนุ ทด) อยกู่ บั ทอ้ งไรท่ อ้ งนา
อีสาน ได้เล่นของเล่นพื้นบ้านท่ีปู่ย่าตายายประดิษฐ์ให้ เช่น ลูกข่างตะปู จานบิน
ไมไ้ ผ่ ฯลฯ เมอ่ื โตขึน้ ของเลน่ ก็เรม่ิ เปลยี่ นไป คราวนผ้ี มเร่ิมประดษิ ฐค์ ดิ ค้นของเลน่ ที่
ทำ�จากวัสดเุ หลอื ใช้ดว้ ยตัวเอง

เรียนในสง่ิ ท่ีรกั กลไกเคร่ืองจักรกล เมื่อมาเป็นครูโรงเรียนขยายโอกาส
ทางการศึกษา ผมก็อยากน�ำความรู้ของตัวเองมาต่อยอด
ดว้ ยความทีช่ อบแกะ ชอบซ่อม ชอบศกึ ษาทดลอง ให้เด็กๆ ที่นี่ รวมถึงโรงเรียนใกล้เคียงที่รวมตัวกันเป็น
ทำ� ใหผ้ มเลอื กเรยี นตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาตรใี นสาขาวศิ วกรรม ศูนยพ์ ฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานหินดาดหว้ ยบง
อุตสาหการ เม่ือจบออกมาผมก็ท�ำงานเป็นอาจารย์ท่ี ในขณะท่ีคนยุคปี ๒๕๕๖ สนุกกับการเล่นตุ๊กตา
วทิ ยาลยั เทคนิคหลวงพ่อคูณ ปรสิ ุทโฺ ธเปน็ ท่แี รก ตอ่ ดว้ ยการ หุ่นยนต์เฟอร์บ้ี มีลูกตาแอลซีดี (LCD) ขยับเคล่ือนไหว
เป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ได้ สามารถตอบรับเสียงของมนุษย์ได้ และสามารถใช้
นครราชสีมา หลังจากนั้นผมก็ลาจากชีวิตอาจารย์ ไอโฟนไอแพดผ่านเฟอร์บแี้ อพ (Furby app) สั่งงานเฟอรบ์ ี้
มหาวทิ ยาลยั มาเปน็ ครโู รงเรยี นบา้ นหนองขวางวทิ ยา อำ� เภอ ไดร้ าวกบั นงั่ อยตู่ รงหนา้ แตค่ นยคุ ผมสนกุ กบั การนำ� ขา้ วของ
ปากชอ่ ง กอ่ นจะมาเปน็ ครอู ยทู่ โ่ี รงเรยี นบา้ นหว้ ยจรเข้ อำ� เภอ เหลือใช้ในบ้านอย่างหลอดด้าย ขวดพลาสติก ไม้ไอติม
ดา่ นขนุ ทด จังหวดั นครราชสมี าในปจั จุบัน เศษเหล็ก ตะปู และข้าวของอื่นๆเท่าที่หาได้มานัง่ ประดษิ ฐ์
การทเี่ คยเปน็ อาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ในคณะเทคโนโลยี หนุ่ ยนตด์ ้วยตัวเอง
การผลิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ท�ำให้ผมมีโอกาส
ฝึกอบรมด้านช่างอุตสาหกรรม การออกแบบโครงสร้าง

26 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

ฝันท่ีเปน็ จริง การศึกษา ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ระดับศูนย์หุ่นยนต์
จังหวัดนครราชสีมา ในการแข่งขันการสร้างหุ่นยนต์บังคับ
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าโลกจะเจริญไปมากแค่ไหน มือ หนุ่ ยนต์อัตโนมัติ หุ่นยนตต์ ่อสู้ หนุ่ ยนต์เตือนภัย รวมถึง
มีหุ่นยนต์ทมี่ ีโปรแกรมคอมพวิ เตอรข์ ั้นสูงสง่ั การ แตผ่ มก็ยัง ได้รับรางวัลเหรียญเงิน ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คิดว่าส�ำหรับเด็กไทยในชนบท เทคโนโลยีเหล่าน้ีอาจแพง ในการแข่งขันโครงงานหุ่นยนต์เตือนภัย และเหรียญ
เกินไป จนเราแทบเอ้ือมไม่ถึง แต่ส่ิงท่ีเรามีอย่างแน่นอน ทองแดง ในการแขง่ ขันโครงงานหุน่ ยนต์พิทักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม
คือ จินตนาการท่ีจะประดิษฐ์คิดค้นดัดแปลงข้าวของ อีกด้วย โดยหุ่นยนต์ทุกตัวสร้างจากวัสดุรีไซเคิลมากกว่า
ใกลต้ วั ใหเ้ ปน็ ห่นุ ยนตต์ ามความคิดฝันได้ โดยเฉพาะการนำ� ๙๐ เปอร์เซ็นต์
วสั ดรุ ไี ซเคลิ มาประดษิ ฐน์ น้ั ยง่ิ นา่ สนใจเปน็ อยา่ งมาก เพราะ จากการส่งเด็กนักเรียนเข้าแข่งขันการสร้างหุ่นยนต์
แทบทกุ บา้ นมกั จะมขี า้ วของทสี่ ามารถน�ำมารไี ซเคลิ ไดท้ ง้ั นน้ั ท�ำให้ผมมองเห็นว่า มีหลายโรงเรียนสนใจที่จะเข้าแข่งขัน
ตวั ผมเอง นอกจากจะเปน็ ครแู ลว้ ผมกย็ งั เปน็ ชาวสวน แต่ยังขาดความพร้อมทั้งเร่ืองแนวทางและวิธีการสร้าง
ชาวไร่ ในวนั ว่างผมมกั จะประดิษฐค์ ิดคน้ ดัดแปลงเครื่องมือ หนุ่ ยนต์ จงึ ทำ� ใหใ้ นแตล่ ะครง้ั จำ� นวนโรงเรยี นทสี่ ง่ เขา้ แขง่ ขนั
เกษตรให้เหมาะกบั การใชง้ าน รวมถงึ ทำ� กังหันลม และแผง มีน้อย ความจริงถ้าครูและเด็กนักเรียนได้เรียนรู้ทักษะ
พลงั งานแสงอาทติ ย์ด้วยตวั เอง พ้ืนฐานในการสร้างหุ่นยนต์ พวกเขาก็จะสามารถสร้าง
ทุกวันน้ีผมคิดว่าน่าเสียดายท่ีเด็กไทย โดยเฉพาะ หนุ่ ยนตเ์ พอื่ ใชใ้ นกระบวนการเรยี นการสอนและการแขง่ ขนั
ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษามักจะขาดแรงจูงใจ ได้ ส่วนผลดีท่ีได้น้ันมีมากมาย เช่น ช่วยจุดประกายความ
ทจี่ ะศกึ ษาหาความรทู้ างดา้ นคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ หรอื คดิ สรา้ งสรรค์ ช่วยให้รูจ้ ักใชว้ สั ดุอยา่ งคมุ้ ค่า ใช้เวลาวา่ งให้
เทคโนโลยกี ารประดษิ ฐ์คิดค้น ทัง้ ครูและนักเรยี นมกั มองวา่ เกิดประโยชน์ รู้จักการคิดแก้ปัญหาร่วมกันซ่ึงเป็นพื้นฐาน
เป็นเร่ืองยาก ท�ำไม่ได้ ท�ำไม่เป็น ทั้งที่ความจริงแล้ว หาก ในการด�ำรงชวี ิตตอ่ ไป
ลงมอื ทำ� จริงๆ กไ็ ม่ใชเ่ ร่ืองยากอยา่ งท่ีคดิ
เม่ือแรงบันดาลใจในวัยเด็ก บวกกับการเห็นสภาพ ขยายความรสู้ ่โู รงเรียนอน่ื ๆ
ปัญหาที่เกิดข้ึนท�ำให้ผมอยากช่วยให้เด็กไทยมีความ
กระตือรือร้นในการเรียนการสอนดา้ นเทคโนโลยี (หนุ่ ยนต)์ เมื่อได้รับทุนสนับสนุนจากสสค.ผมก็เริ่มต้นการ
มากขน้ึ จงึ เสนอโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร สรา้ งหนุ่ ยนต์ ท�ำงาน ด้วยการประชุมครูประจ�ำกลุ่มสาระการเรียนรู้
จากวสั ดรุ ไี ซเคลิ ไปยงั สำ� นกั งานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และกลุ่มสาระการเรียนรู้
และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) ผมดีใจมากที่โครงการ วทิ ยาศาสตร์ รวมถึงคณะครูจากโรงเรยี นใกล้เคียงในตำ� บล
ของตวั เองไดร้ บั การคดั เลอื ก แทบไมน่ า่ เชอื่ วา่ โรงเรยี นเลก็ ๆ หินดาด และต�ำบลห้วยบงท่ีรวมตัวกันเป็นศูนย์พัฒนา
ในชนบทอย่างเราจะมีโอกาสไดท้ ำ� ความฝนั ใหเ้ ป็นจรงิ คุณภาพและมาตรฐานหินดาดห้วยบง โดยเราน�ำเงินท่ีได้
ท่ีผ่านมา ก่อนที่จะได้รับการสนับสนุนจากสสค. จากการสนับสนุนมาจัดเวิร์คช้อปศึกษาเรียนรู้และลงมือ
ผมเคยน�ำนักเรียนไปเข้าประกวดแข่งขันการสร้างหุ่นยนต์ สร้างหุ่นยนต์รีไซเคิลร่วมกัน ๒ วัน และเพื่อให้เกิดความ
มาแลว้ นนั่ เปน็ รางวลั แรกของเรา ครง้ั นนั้ ผมจำ� ไดว้ า่ นกั เรยี น สนุกสนาน เราได้จัดการแข่งขันโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น
เลอื กทำ� หนุ่ ยนตจ์ ระเขท้ ท่ี ำ� มาจากวสั ดรุ ไี ซเคลิ อยา่ งฟวิ เจอร์ ๔๐ ทีม (๒๐๐ คน) ครู ๒๐ คน แต่ละโรงเรยี นสามารถสง่
บอรด์ ไมไ้ อตมิ หลอดดา้ ย รวมถึงวสั ดุอ่นื ๆ นักเรยี นเข้ารว่ มได้ ๒ ทีม
นอกจากนั้นผมยังน�ำนักเรียนไปประกวด จนได้รับ หลังจากแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบกับโรงเรียนที่
รางวัลเหรียญทองระดับศูนย์พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน เข้าร่วมโครงการเรียบร้อยแล้ว ก็ถึงขั้นตอนการจัดเตรียม

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 27

วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือให้เพียงพอต่อจ�ำนวนผู้เข้าอบรม ความรู้เร่ืองความปลอดภัยในการท�ำงาน ความรู้เรื่องวงจร
จัดเตรยี มเอกสารใหค้ วามรู้ วิธีการดัดแปลง ศึกษารปู แบบ ไฟฟ้าเบื้องต้น ความรู้พื้นฐานการต่อสวิชต์เพ่ือท�ำรีโมท
หุ่นยนต์ที่ใช้ในการแข่งขันของส�ำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมหุ่นยนต์ รวมถึงการให้เด็กมีจินตนาการในการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และรูปแบบหุ่นยนต์ท่ีสร้าง ออกแบบหนุ่ ยนต์
จากวัสดุรีไซเคลิ เมอื่ เสรจ็ สน้ิ โครงการน้ี นอกจากเดก็ ๆจะไดร้ บั ความรู้
นอกจากนั้นผมก็ได้เตรียมหุ่นยนต์ต้นแบบ เพ่ือ และวิธีการสร้างหุ่นยนต์แล้ว พวกเขาก็ยังจะได้หุ่นยนต์
สาธิตสร้างความต่ืนเต้นและความสนใจให้แก่ครู นักเรียน ที่ตัวเองท�ำส�ำเร็จไปเผยแพร่ต่อที่โรงเรียน เม่ือก่อนผมต้อง
ที่เข้าร่วมอบรม ท่ีส�ำคัญยังช่วยให้เด็กๆ จินตนาการภาพ ไปเปน็ วิทยากรตามโรงเรยี นต่างๆ เพื่อใหค้ วามรูก้ ับครูและ
ได้ว่าจะน�ำวัสดุอุปกรณ์รีไซเคิลต่างๆ มาใช้ได้อย่างไร นกั เรียน แตจ่ ากการทำ� กจิ กรรมนม้ี หี ลายโรงเรยี นมาเรยี นรู้
ซึ่งแน่นอนว่าในการเรียนรู้ใหม่ๆ น้ัน นักเรียนอาจยังไม่ ร่วมกันก็ช่วยประหยัดทั้งงบและแรงกายแรงใจไปได้มาก
สามารถคดิ คน้ ประดษิ ฐผ์ ลงานได้ แตก่ ารศกึ ษาจากหนุ่ ยนต์ ที่ส�ำคัญโครงการน้ีได้ท�ำให้หลายโรงเรียนกล้าท่ีจะส่ง
ต้นแบบจะท�ำให้พวกเขารู้จักการเลยี นแบบ ดัดแปลง และ นักเรียนเข้าประกวดแข่งขันการท�ำหุ่นยนต์ในระดับต่างๆ
ท่ีสุดจะสามารถใช้จินตนาการในการสร้างหุ่นยนต์รีไซเคิล มากขึน้ ซงึ่ ผมมองว่าเปน็ เร่อื งที่ดี เพราะนั่นแสดงใหเ้ ห็นว่า
ไดด้ ว้ ยตวั เอง สงิ่ ท่ีเราเรียนรู้ร่วมกันได้เกดิ ประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และ
สว่ นวสั ดอุ ปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการแขง่ ขนั นอกจากบางสว่ น คนทีจ่ ะไดร้ ับผลดีมากที่สุดคอื ตัวนกั เรียนนั่นเอง
จะใช้งบประมาณจากสสค.ในการจัดซื้อแล้ว เช่นอุปกรณ์ ท่ีส�ำคัญผมสังเกตว่าผลพลอยได้อย่างหน่ึงจากการ
เคร่ืองมือประจ�ำกลุ่ม อย่างชุดไขควง ชุดประแจ เล่ือยมือ ที่เด็กนกั เรยี นสนใจทำ� หนุ่ ยนต์รไี ซเคลิ คอื ทำ� ใหเ้ ด็กๆ สนใจ
ตลับเมตร ส�ำหรับวัสดุประกอบการอบรมทางโครงการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และ
ไดอ้ าศยั ความรว่ มมอื จากนกั เรยี น ครู ผปู้ กครอง บรษิ ทั หา้ ง เทคโนโลยีมากข้ึน เพราะความรู้ในวิชาเหล่านี้สามารถ
ร้านร่วมกันบริจาควัสดุหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ช�ำรุด น�ำมาประยุกต์ใชใ้ นการสรา้ งห่นุ ยนต์รไี ซเคลิ ไดด้ ว้ ย
เชน่ เครือ่ งปรน้ิ เตอร์ วทิ ยุ ของเด็กเล่นต่างๆ นอกจากนน้ั ทุกวันนี้ ผมเร่ิมเห็นความหวังท่ีจะท�ำให้เด็กจาก
ก็ยังมีเคร่ืองมือของส่วนกลางท่ีใช้ร่วมกัน ซ่ึงจะท�ำให้ผู้เข้า โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ท่ีอยู่ในชนบทได้เกิด
อบรมมคี วามสะดวก และปฏิบัตงิ านไดง้ า่ ยอกี ดว้ ย ความสุขในการเรียนรู้ อย่างน้อยๆ ผมคิดว่าความสนใจ
จุดเด่นของหุ่นยนต์รีไซเคิลที่ทางเราประดิษฐ์ขึ้นมา ในด้านนี้ของเขา จะน�ำพาพวกเขาไปสู่ความสนใจท่ีเป็น
น้ัน คือการน�ำชิ้นส่วนอะไหลข่ องเครือ่ งปรน้ิ เตอร์มาท�ำเป็น ประโยชนม์ ากขนึ้ เรอ่ื ยๆ เชน่ วนั หนงึ่ ขา้ งหนา้ เขาอาจจะเกดิ
หุ่นยนต์ เชน่ โดยปกติปริน้ เตอร์หนง่ึ ตวั จะมมี อเตอร์ ๒ ชุด แรงบันดาลใจในการมงุ่ ม่ันเปน็ นกั ประดษิ ฐ์เพ่ือคดิ ค้นส่ิงดีๆ
เมื่อถอดออกมาแล้ว เราจะน�ำมอเตอร์ ท่ีได้มาเป็นตัว ให้เกิดขึ้นในสังคม หรืออย่างน้อยๆ เขาก็จะรู้ว่าควรศึกษา
ขับเคล่ือนหุ่นยนต์ ชุดรางสไลด์หมึก น�ำมาเป็นฐานของ ตอ่ ดา้ นใดเพอื่ ใหต้ รงกบั ความถนดั และความสนใจของตวั เอง
หุ่นยนต์ให้วิ่งไปทางซ้ายทางขวา เพลาเหล็ก น�ำมาเป็น เรามารว่ มมอื กนั ทำ� จดุ เลก็ ๆ ดว้ ยกนั เพอื่ ทำ� ใหม้ นั
แกนหมุนประกอบกับมอเตอร์เป็นโครงสร้างเพิ่มความ ขยายใหญข่ ึน้ เรือ่ ยๆ นะครบั
แข็งแรง ส่วนชุดสายพาน ท�ำเป็นลูกรอกสายพานให้เกิด
การหมนุ สว่ นตวั เครอ่ื งปรน้ิ เตอรเ์ รากจ็ ะตดั มาตกแตง่ หนุ่ ยนต์ เคลด็ ลบั ความส�ำเรจ็
ในการอบรมนี้ ผมตงั้ ใจจะใหน้ กั เรยี นและครไู ดเ้ รยี นรู้ การท�ำเวิร์คช้อปร่วมกันของโรงรียนต่างๆ
ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพาะนักเรียนหลังการ ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
เรียนรู้แล้วทักษะท่ีเขาจะได้รับคือ ทักษะการใช้เครื่องมือ อยา่ งแท้จริง เกิดทักษะในการท�ำงาน

28 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

ฝึกอบรมการพฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์

ด้วยการเรยี นร้บู รู ณาการผ่านพันธุ์พืช

โรงเรยี นปยิ ชาติพัฒนา ในพระราชูปถมั ภฯ์ นครนายก

“ครูคะ ทำ�ไมหมอ้ ข้าวหมอ้ แกงลิงที่เอา
ไปปลูกทบ่ี ้าน หมอ้ มันถึงดำ�ละ่ คะ”
“หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ ของผม มนั ไมอ่ อก
หม้อเลยครับ ทำ�ไงดี”
“ครขู า อยา่ โกรธนะคะ ถา้ หนจู ะบอกวา่
มนั ตายไปแล้ว”

นี่เป็นค�ำถามของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔-๕ Mr.Shawn Maynes นกั ธุรกิจชาวอเมริกนั ผู้มคี วามสนใจ
ในชุมนุมพฤกษศาสตร์ เพราะหม้อข้าวหม้อแกงลิง คือ หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ เปน็ พเิ ศษจนผนั ตนเองมาอทุ ศิ ตนในการ
พระเอก (หรือนางเอก) ของโครงการฝกึ อบรมการพฒั นา ฟื้นฟูและอนุรักษ์สายพันธุ์หม้อข้าวหม้อแกงลิงในเมืองไทย
ทักษะการคิดวิเคราะห์ด้วยการเรียนรู้บูรณาการผ่าน โดยจัดท�ำในรูปของมูลนิธิไม่แสวงผลก�ำไร “South East
พันธุ์พืช โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนปิยชาติพัฒนา Asian Nepenthes Study & Research”
ในพระราชปู ถมั ภฯ์ จงั หวดั นครนายก กบั โรงเรยี นราชประชา นนั่ คอื จดุ เรมิ่ ตน้ ทค่ี รฌู อนไดเ้ ขา้ มาเกยี่ วขอ้ งในฐานะ
นเุ คราะห์ ๒๓ อำ� เภอนครไทย จงั หวัดพิษณุโลก ทีไ่ ด้รับทนุ กลั ยาณมิตรของครูมกุ และเด็กๆ โรงเรียนปิยชาตพิ ัฒนา
สนับสนุนจากส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ
คณุ ภาพเยาวชน (สสค.) หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ ตน้ ไมม้ หศั จรรยท์ ใี่ กลส้ ญู พนั ธุ์
และเรื่องราวของหม้อข้าวหม้อแกงลิงน่ีแหละ
สามารถเปล่ียนแปลงอนาคตทางการศึกษาของนักเรียน หม้อข้าวหม้อแกงลิง รูปทรงสวยงามแปลกตา
หลาย ๆ คนได้อย่างน่าสนใจมากทีเดียว เป็น“ต้นไม้กินแมลง” มีกรวยรูปทรงคล้ายหม้อ ล่อแมลง
ใหต้ กลงไปขา้ งใน แต่ปจั จุบนั การบุกรุกปา่ รวมทงั้ การเกบ็
ออกมาขาย ท�ำให้หม้อข้าวหม้อแกงลิงมีความเสี่ยงต่อการ
ท�ำไมต้อง “หมอ้ ขา้ วหม้อแกงลงิ ” สูญพันธุ์ บางชนิดอยู่ในบัญชีพืชอนุรักษ์ตามประกาศ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ห้ามมิให้น�ำเข้าหรือส่งออก
เหตุเกิดเม่ือ “ครูมุก” หรืออาจารย์โศจิกานต์ หรือขยายพนั ธเ์ุ พ่ือการค้า
สตาภรณ์ อาจารยผ์ สู้ อนวชิ าชวี วทิ ยา ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษา การได้รู้สภาวะวิกฤติของพันธุ์พืชพ้ืนเมืองท่ีเยาวชน
ผู้รับผิดชอบโครงการนี้ ไปพบกับต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง รุ่นใหม่ไม่ค่อยรู้จัก ท้ังพบว่าแม้แต่ชาวต่างชาติยังสนใจ
ที่สวนจตุจักร ด้วยความที่เป็นพืชหายาก ครูมุกจึงทดลอง พืชชนิดน้ี ครูมุกจึงเกิดแนวคิดในการสร้างโอกาสใหม่ๆ
น�ำมาปลูก เพื่อท่ีจะได้ใช้ประกอบการสอนวิชาชีววิทยา ให้กับนักเรียน อันน�ำไปสู่การขอทุนสนับสนุนจาก สสค.
แต่ไม่ส�ำเร็จ จึงเกิดความคิดอยากลองเพาะเน้ือเยื่อดูบ้าง เพอื่ ทำ� โครงการพฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะหด์ ว้ ยการเรยี นรู้
พอลงมือท�ำก็พบว่ายากกว่าทีค่ ิด ทั้งการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือ บูรณาการผ่านพันธุ์พืช  ร่วมกับโครงการเทคโนโลยี
หม้อข้าวหม้อแกงลิงให้เพาะพันธุ์ได้ และยิ่งยากข้ึนอีก
ส�ำหรับการที่จะเล้ียงหม้อข้าวหม้อแกงลิงให้อยู่รอด
จึงพยายามค้นคว้าข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต จนได้พบกับ

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 29

ถวายรายงานความสำ� เรจ็ ของโรงเรียนในชนบท ตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการจัดการเรียนรู้
สารสนเทศตามพระราชดำ� ร ิ โดยเนน้ กระบวนการถา่ ยทอด เกย่ี วกบั พชื ซงึ่ ไดส้ ง่ คณะวทิ ยากรมาใหค้ วามรใู้ นเรอื่ งการใช้
เทคโนโลยแี ละการแลกเปลยี่ นเรยี นรเู้ กยี่ วกบั การเพาะเลยี้ ง เครือข่ายสังคมออนไลน์ และการสร้างภาพยนตร์ส้ัน โดย
เนอื้ เยือ่ พชื โดยใชต้ ้นหม้อขา้ วหมอ้ แกงลิงเป็นกรณศี ึกษา อาจารย์จิระศักด์ิ สุวรรณโณ นักวิชาการอิสระน�ำทีม
“หาทางใหน้ กั เรยี นไดช้ ว่ ยกนั ศกึ ษาและนำ� มาทดลอง อาจารย์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มาสอนในส่วนของ
เพาะเนือ้ เย่ือ ติดตามการเจริญเติบโตของพชื ชนิดนี้ ใหเ้ ด็ก อเิ ล็กทรอนิกส์
นกั เรยี นไดร้ ว่ มเรยี นรู้ ไดฝ้ กึ ความคดิ และปลกู จติ สำ� นกึ เรอ่ื ง Mr.Shawn หรือ ครูฌอน วิทยากรคนส�ำคัญ
การอนุรกั ษธ์ รรมชาติไปดว้ ย” ครูมุกบอก ได้ให้ค�ำแนะน�ำแก่ครูและนักเรียนผ่านทางเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ ทั้งยังได้จัดส่งหม้อข้าวหม้อแกงลิง ท้ังต้นใหญ่
ต้นกล้า เมล็ดก่ิงปักช�ำ มาให้ครูและนักเรียนได้ศึกษา
นับต้ังแต่เรม่ิ โครงการจนถงึ ปัจจุบนั นักเรยี นลองผิดลองถูก
จนตายไปหลายร้อยต้น ครูฌอนก็ยังไม่ท้อถอย บางคร้ังก็
เดนิ ทางมาสอนนกั เรยี นด้วยตัวเองโดยไม่คิดค่าใช้จา่ ยใด ๆ
นับว่าโครงการพัฒนาไปได้ด้วยความร่วมมือร่วมใจ
กนั ทุกฝ่ายอย่างแทจ้ รงิ

เสน้ ทางจากป่าสูโ่ รงเรียน ทดลอง ท�ำดู เรียนรู้ เขา้ ใจ

คณะทำ� งานทง้ั ๒ โรงเรยี นทล่ี ว้ นมคี วามคดิ และความ โครงการนี้ เน้นให้นักเรียนได้พัฒนาการคิดผ่าน
ตั้งใจเชน่ เดยี วกนั รวมทง้ั วิทยากร ได้มาประชมุ ร่วมกันเพอื่ กจิ กรรมของโครงการโดยจะวดั ผลจาก๓ดา้ นคอื ๑.การเขยี น
ก�ำหนดหลักสูตร และแนวทางการท�ำงาน หลังจากน้ันจึง สะท้อนความคิดในเว็บบล็อก ๒.ช้ินงานของนักเรียน
จดั การเรยี นรใู้ นลกั ษณะคา่ ยวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ สรา้ งนกั เรยี น ๓.บันทึกครู มุ่งผลให้นักเรียนเกิดทักษะชีวิต ท่ีเด็กจะได้
แกนน�ำ ๑๘ คน จากสองโรงเรียน ใหม้ ีความรูแ้ ละสามารถ จากการส่อื สารผา่ นระบบอินเทอร์เนต็ การฝกึ เขยี นสอื่ สาร
เป็นผู้ช่วยครขู องแต่ละโรงเรียน เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของ ความรู้ทไี่ ด้จากชน้ิ งาน และทักษะการแกป้ ัญหา
โครงการ นักเรียนทุกคนจะต้องรวมกลุ่มกันท�ำกิจกรรมท่ี
กรอบของสาระการเรียนรู้คือ การใช้เทคโนโลยีเว็บ เกี่ยวเน่ืองจากต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง ๑ ช้ิน คิดช้ินงาน
๒.๐ การสรา้ งภาพยนตรส์ นั้ เพอ่ื การเผยแพร่ การขยายพนั ธ์ุ สว่ นตวั ทต่ี นสนใจอกี ๑ชน้ิ แลว้ ดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ขณะ
หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ การใชแ้ ละสรา้ งอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ท�ำงานก็ต้องเขียนเล่าสะท้อนความคิดลงไปบนเว็บบล็อก
อยา่ งงา่ ยเพอ่ื ใชใ้ นการปลกู พชื การทำ� โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ที่ส่ือสารระหว่างกลุ่ม ในชิ้นงานแต่ละช้ินจะเป็นลักษณะ
โดยมเี ปา้ หมายหลกั เพอ่ื พฒั นากระบวนการคดิ ของนกั เรยี น Project base learning นักเรยี นทกุ คนจะตอ้ งทำ� กจิ กรรม
ต่อจากน้ัน นักเรียนและครูแกนน�ำจะกลับไปท�ำ หลกั ประกอบดว้ ย ๑.โครงงาน ๒.ออกแบบการนำ� เสนอเปน็
โครงงานวิทยาศาสตรต์ ่อทโ่ี รงเรยี น โดยในระยะแรก ท้งั ๒ เอกสาร ๓.สร้างวีดโิ อ และ ๔.นำ� เสนอโครงงาน
โรงเรียนจะเพาะเนือ้ เยอ่ื รว่ มกัน สว่ นในระยะที่ ๒ เป็นการ ครูให้เด็ก ๆ คิดอย่างอิสระ ไม่จ�ำเป็นว่าจะต้อง
ทดลองน�ำออกปลูก ข้ันต่อไปจะจัดกิจกรรมน�ำเสนอ เป็นการทดลองวิทยาศาสตร์เท่านั้น สามารถท�ำโครงการ
ผลงานและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ระหว่างครูและนกั เรียนทร่ี ว่ ม ในรปู แบบ ICT  รปู แบบการวาดภาพออกแบบ หรอื รปู แบบ
โครงการทง้ั หมด การจัดการธุรกิจ โดยแนะให้เด็กทุกคนมองว่าอยากเรียนรู้
โดยมขี อ้ ตกลงรว่ มกนั วา่ จะตอ้ งบอกเลา่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ อะไร แล้วจะหยิบอะไรจากหม้อข้าวหม้อแกงลิงมาใช้
ทด่ี ำ� เนินการ ข้อคดิ เห็น ประสบการณ์ทอ่ี ยากจะบอก หรือ ประโยชน์ได้บ้าง
เกิดปญั หา อยากจะปรึกษากบั ผู้เช่ยี วชาญ กใ็ ห้มาบอกเล่า "มั่วได้ตามใจ ผิดสูตรไม่เป็นไร ถ้ามัน (หม้อข้าว
เพ่ือจะได้ร่วมกันวิเคราะห์และช่วยเหลือกันผ่านเครือข่าย หมอ้ แกงลิง) ไม่เถียงกใ็ ห้ทำ� ตอ่ ไป"
สังคมออนไลน์ Botanyschool.ning.com ท่ีได้รับการ ครูมุกใช้อารมณ์ขันกระตุ้นให้นักเรียนมั่นใจกับ
สนับสนุนจากโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา การทดลองในชิน้ งานของตนเอง

30 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้

ผลปรากฏวา่ เกดิ โครงงานในการหาวธิ กี ารเพาะเลย้ี ง การท�ำการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อ  มีความรู้สึกว่าต้นไม้มี
หม้อข้าวหม้อแกงลิงจากความคิดของนักเรียนอย่าง ประโยชน์มากมาย สามารถน�ำมาบูรณาการเพื่อใช้ร่วมกับ
หลากหลาย ตัวอย่างเช่น การศึกษาแสงจากหลอดแอลอีดี วิชาสาขาต่างๆ  และได้รับประสบการณ์การเพาะเล้ียง
สีต่าง ๆ ทมี่ ผี ลต่อแมลงทีต่ กในหมอ้ ขา้ วหม้อแกงลิง เน้ือเย่ือซ่ึงเหมือนเป็นอีกวิธีการหนึ่งในการท�ำให้สิ่งมีชีวิต
โครงงานศึกษาการเจริญเติบโตของพืชในสภาพ ใหมอ่ ีกชีวติ หนึง่ ได้เกดิ ขึ้นมาและงอกงามเจริญเติบโต.....”
ปลอดเชอื้ เมอื่ ไดร้ บั เสยี งเพลงทม่ี ลี กั ษณะการบรรเลงตา่ งกนั นบั จากวนั เรมิ่ ตน้ โครงการ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔ ถงึ
ฯลฯ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ เกิดการเปลีย่ นแปลงขน้ึ มากมายกับ
ผรู้ ่วมโครงการและผูส้ นใจ
มิตรภาพ on line สายสัมพนั ธม์ ชี ีวิต นอกจากครูและนักเรียน ทั้ง ๒ โรงเรียนจะเรียนรู้วิธี
ปลูกหม้อข้าวหม้อแกงลิงอย่างครบวงจรและหลากหลาย
หากใครคลิกเข้าไปท่ี Botanyschool.ning.com วธิ ี จนเรือนเพาะชำ� แนน่ ขนดั แลว้ นักเรยี นยังสามารถสรา้ ง
จะพบข้อความขอค�ำแนะน�ำ ให้ค�ำตอบ ให้ก�ำลังใจกัน เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่สนับสนุนการเจริญเติบโตของ
เกดิ ข้ึนทกุ วัน วนั ละหลายครง้ั รวมทัง้ หากใครเกิดความคิด หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ ได้ และนำ� ความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปพฒั นาตอ่ ยอด
ใหม่ๆ กจ็ ะมาถ่ายทอดใหเ้ พือ่ นและครูไดร้ บั ทราบ เกดิ การ สร้างเครอื่ งมืออื่น ๆ อีก
แลกเปล่ียนเรยี นรู้และตอ่ ยอดความคดิ กนั ตลอดเวลา นกั เรยี นและครสู ามารถพฒั นาทกั ษะทางดา้ นการคดิ
นอกจากครูและนักเรียนในโครงการแล้ว เร่ิมมีผู้ วเิ คราะห์ ทง้ั ในเรอื่ งโครงงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พชื และการรจู้ กั
สนใจแวะเวียนมาสอบถามท�ำความรู้จัก ต่อเนื่องไปจน การวางแผน การทำ� งาน และการแก้ปญั หาตา่ ง ๆ
ขอรว่ มเรยี นรแู้ ละทดลองปลกู หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงลงิ ดว้ ย มกี าร การเผยแพร่กิจกรรมต่าง ๆ ผ่านเครือข่ายสังคม
แลกเปล่ียนเรียนรู้กันเรื่องวิธีปลูก การดูแลศัตรูพืชและ ออนไลน์ ยังท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิชาการ
โรคพืชต่างๆ ผ่านพันธุ์พืชชนิดอื่นๆ ท�ำให้เกิดการขยาย ทง้ั ของไทย และตา่ งประเทศ ส่งผลใหเ้ กิดการตอ่ ยอดในรปู
ผลการเรียนรู้อย่างกว้างขวางไปพร้อมๆ กับการขยายของ แบบการจดั การศกึ ษาผา่ นเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ ทำ� ใหเ้ กดิ
สังคมออนไลน์แห่งน้ี จากเพอื่ นถึงเพื่อน จากนกั เรียนถึงครู การพัฒนาสมรรถนะส�ำคัญของครูและนักเรียนเป็นอย่างดี
และจากครูถึงครูด้วยกัน จากจงั หวัดเดยี วกัน ขยายออกไป โดยเฉพาะการพัฒนากระบวนคิดอยา่ งเป็นระบบ
ยงั ภมู ภิ าคอนื่ ๆ การเติบโตของพืช สะท้อนให้เห็นการเอาใจใส่ดูแล
ชวี ติ ชวี าของสงั คมแหง่ การเรยี นรบู้ นSocialNetwork น้ำ� อากาศ แสงแดด อุณหภูมิที่เหมาะสม
เกิดขนึ้ แลว้ และยงั คงดำ� เนินอยู่ถึงปจั จบุ นั การเติบโตทางความคิดของเด็กๆ ก็สะท้อนให้เห็น
การดูแลเอาใจใส่ กระตุ้นหนุนเสริมอย่างถูกวิธีจากครูและ
พืชพันธงุ์ อกเงย ความคิดงอกงาม ผู้ใหญท่ เ่ี ก่ยี วข้อง
การสบื สายพนั ธท์ุ ต่ี อ่ เนอื่ งของพชื กเ็ ปน็ เชน่ เดยี วกบั
พีรวัธน์ จันทนกูล จากปิยชาติพัฒนา ท่ีเข้าร่วม การเตบิ โตยงั่ ยนื ทางความคดิ ของมนษุ ย์ ทห่ี ากมกี ารดแู ล
โครงการมาตัง้ แตช่ ั้น ม.๔ บอกเลา่ ความรสู้ กึ วา่ ทำ� นบุ ำ� รงุ พรวนดนิ อยา่ งสมำ่� เสมอ กจ็ ะเตบิ โตงอกงามไมม่ ี
“...Botanyschool.ning.com คือห้องสมุด วันสน้ิ สดุ ตลอดชวี ติ
ขนาดใหญ่ เปน็ อาจารย์ทไ่ี มม่ วี นั แกต่ าย เปน็ เพื่อนที่ไมม่ ีวนั
ทอดท้ิงเรา พืชหลายชนิด ต้นไม้ที่ผมไม่เคยรู้จัก ท่ีนี่ท�ำให้ เคลด็ ลับความส�ำเร็จ
ผมรจู้ ักมนั ของใกล้ ๆ ตวั ทีเ่ รามองข้ามแล้วไมแ่ ยแสกับมนั ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของครู การรู้จักใช้
กลบั มคี ณุ คา่ มปี ระโยชน์ ทน่ี ท่ี ำ� ใหเ้ รารจู้ กั การสบื คน้ การหา ประโยชน์จากเคร่ืองมือยุคใหม่ใกล้ตัว (SOCIAL
ขอ้ มูล สอนใหร้ จู้ กั ความมีเหตผุ ล การช่างสังเกต และอ่นื ๆ NETWORK) และการร่วมมือกันอย่างแข็งขันของ
ผมไดเ้ รยี นรถู้ งึ ความรบั ผดิ ชอบ ความมวี นิ ยั จากการทำ� งาน ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ท้ังครู นักเรียน วิทยากร และ
ตา่ ง ๆ เหล่านี้ ช่วยให้ผมเปน็ นักเรียนที่ดี มที กั ษะมากมาย เครอื ข่าย
ในการด�ำรงชีวิต...”
ชนกิ านต์จนั ทาหนง่ึ ในแกนนำ� จากราชประชานเุ คราะห์
๒๓ บอกว่า
“.....พวกหนูได้รับความรู้ด้านการขยายพันธุ์พืช
ในวิธีที่แปลกใหม่ ได้รู้ความหมายและคุณประโยชน์ของ

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 31

ยวุ วิจยั คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตรน์ อกกระดานด�ำ

โรงเรยี นพนาศึกษา อำ�นาจเจรญิ ครูกนกวรรณ บั้งทอง คือครูแนะแนวและครูกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของโรงเรียนพนาศึกษา ที่ไป
ตอนรุ่งสางของทุกวันยายบุญมีตื่น คุยกับยายบุญมีเม่ือหลายวันก่อน ครูคาดเดาไว้แล้วว่า
แต่เช้ามาหุงหาอาหารให้ตัวเองและลูก ชาวบ้านส่วนใหญ่คงสงสัยว่าท�ำไมครูจึงพาเด็กนักเรียนไป
หลาน รวมถึงก่อเตาถ่านทำ�ขนมครกขาย เรยี นรกู้ ารทำ� อาชพี ของชาวบา้ น วนั นเี้ ธอจงึ กลบั ไปทหี่ มบู่ า้ น
ท่ีหนา้ บ้านของตัวเองเป็นประจำ�ทุกวนั อีกครัง้ ไปคุยกบั เจ้าอาวาส ผใู้ หญ่บ้าน ผเู้ ฒ่าผู้แก่ท้งั หลาย
เพอื่ อธบิ ายโครงการทช่ี อื่ วา่ “ยวุ วจิ ยั คณติ ศาสตร”์ ใหท้ กุ คน
เด็กยุคนี้ ส่วนใหญ่ใช้ชีวิตเร่งรีบ ต้องรีบต่ืน รีบกิน ไดเ้ ข้าใจร่วมกนั
แมแ้ ตข่ า้ วเชา้ สว่ นใหญก่ ไ็ มค่ อ่ ยไดท้ าน ยายบญุ มจี งึ อยากทำ� “ตอนนท้ี างโรงเรยี นไดฝ้ กึ ใหน้ กั เรยี นชน้ั ม.๖ ของเรา
ขนมครกใหเ้ ดก็ ๆ ในหมบู่ า้ นไดท้ านกอ่ นไปโรงเรยี น สว่ นเรอ่ื ง เป็นนักวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์ ท่ีเราตั้งช่ือว่า ‘โครงการ
กำ� รี้ก�ำไรไม่ค่อยไดค้ ดิ ไดเ้ ท่าไรกเ็ ทา่ น้นั บางครั้งกย็ ังแถมให้ ยุววิจยั คณิตศาสตร’์ อย่คู ะ่ ความจรงิ แลว้ คณิตศาสตรไ์ มไ่ ด้
เด็กๆ ดว้ ยความเอน็ ดูอกี ด้วย อยเู่ ฉพาะในหอ้ งเรยี นเทา่ นน้ั แตย่ งั อยใู่ นชวี ติ ประจำ� วนั ของ
เมอ่ื จบ ป.๖ เดก็ ๆ ในหมบู่ า้ นมกั ไปเรยี นตอ่ ท่ีโรงเรยี น เราดว้ ย ดฉิ นั อยากใหเ้ ดก็ ๆ ทกุ คนรจู้ กั สงั เกต รจู้ กั ตงั้ คำ� ถาม
พนาศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียนประจ�ำอ�ำเภอของจังหวัด เพ่ือตอบค�ำถามท่ีตัวเองอยากรู้ เช่น ป้าบุญมีท�ำขนมครก
อ�ำนาจเจริญ ยายบุญมีได้ยินมาว่าโรงเรียนน้ีเขาเอาใจใส่ ขาย เดก็ ๆ กต็ อ้ งมาเรยี นรวู้ า่ วธิ กี ารทำ� ขนมครกวา่ ทำ� อยา่ งไร
เดก็ ๆ เป็นอยา่ งดี ฝกึ ใหท้ ำ� นัน่ ท�ำนี่จนได้รบั รางวัลมากมาย แลว้ หลงั จากนน้ั กใ็ หเ้ ดก็ ๆ ไดน้ ำ� วชิ าคณติ ศาสตรม์ าใชว้ า่ ตอ้ ง
วันก่อนครูแนะแนวของทนี่ ี่กย็ งั พาเดก็ ๆ มาฝากฝัง บอกว่า ลงทนุ กบ่ี าท ต้องขายได้กี่บาทจงึ จะไดก้ ำ� ไร แลว้ ท�ำอย่างไร
จะให้เด็กๆ มาเรยี นรู้การท�ำขนมครก ยายบญุ มฟี งั แล้วก็นกึ จึงจะท�ำให้ขนมครกขายดี ลองเปล่ียนเป็นขนมครกสูตร
ข�ำว่าคนเรยี นสงู ๆ ยงั ตอ้ งมาเรียนกับคนท่ีไมไ่ ด้เรยี นหนังสอื สมุนไพร หรือขนมครกโอวัลตินดูไหม ต้นทุนเพ่ิมขึ้นหรือ
อย่างตัวเองเลยหรือน่ี แต่เม่ือได้ฟังครูพูดจึงพอจะเข้าใจข้ึน ลดลงเท่าไร เวลาท่ใี ชน้ านขึน้ หรอื น้อยลง นคี่ ือตวั อย่างท่ีครู
มาหน่อยว่า เด็กๆก�ำลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และต้องท�ำ อยากอธิบายใหท้ กุ ๆ คนเขา้ ใจรว่ มกันค่ะ”
รายงาน ส่วนจะเก่ียวกับขนมครกของแกอย่างไร อันน้ีก็ยัง ดังน้ันนอกจากเด็กๆ จะได้เรียนรู้อาชีพต่างๆ ของ
อดสงสัยไม่ได้อยู่ดี… คนในหมู่บ้านอย่างหลากหลายท้ังการท�ำน�้ำด่ืม ขนมครก
ขนมเครป ทองหยบิ ทองพบั สมุ่ ไก่ ผา้ พนั คอ หญา้ มงุ หลงั คา
บายศรี ฯลฯ แลว้ เดก็ ๆ กจ็ ะตอ้ งคดิ ทำ� โครงงานคณติ ศาสตร์
ตามความสนใจของตวั เองอกี ดว้ ย
โครงงานที่นักเรียนท�ำ ครูกนกวรรณบอกว่าเป็นชิ้น
งานที่ท�ำส�ำเร็จ กินได้ ไม่ลืม เพราะบางอย่างท�ำเสร็จแล้ว
ก็น�ำมากินมาใช้ได้จริงๆ ยิ่งเม่ือได้เรียนรู้จากการลงมือท�ำ
นักเรียนก็จะไม่มีวันลืม แถมโตข้ึนก็ยังน�ำมาท�ำเป็นอาชีพ
ได้ด้วย ซึ่งเธอเลา่ ว่า
“เดก็ ๆ สมยั นไี้ มค่ อ่ ยไดส้ นใจวา่ พอ่ แมป่ ยู่ า่ ตายายทำ�
อะไร ใชช้ ีวติ อยา่ งไร อย่างการทอผา้ ขาวมา้ เกอื บทุกบ้าน
ท�ำอยู่แล้ว แต่แด็กวัยรุ่นเด๋ียวน้ีไม่รู้แล้วว่าตรงไหนเรียกที่
ปั่นด้าย ตรงไหนเรียกกี่ แต่พอมาเรียนวิชาน้ีเขาจะรู้และ
อธบิ ายให้เพ่อื นฟังได้ หรอื อย่างการสานกระติบขา้ วเหนียว
หรอื การดำ� นาถา้ ไมม่ อบหมายเปน็ หนา้ ทใ่ี หเ้ ขากจ็ ะไมท่ ำ� แต่
พอเราให้ท�ำเป็นโครงงาน แบ่งให้ท�ำเป็นกลุ่ม เขาก็สนุกที่

32 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

โครงงานคณิตศาสตร์ เด็กๆ ก็สามารถพูดเล่าผลงานของ
ตวั เองใหน้ อ้ งๆ ชนั้ ประถม และใหผ้ อู้ ำ� นวยการโรงเรยี นและ
คณุ ครูท่านอ่ืนๆ ฟังได้ ซึ่งสิ่งนด้ี ิฉนั เรยี กว่าเปน็ ความสำ� เรจ็
แบบยกก�ำลังสองเลยคะ่ ”
ที่ส�ำคัญ เธอบอกว่าเด็กๆ ได้รู้จักการท�ำวิจัยแบบ
เล็กๆ ท่ีเรียกว่า Mini Research เป็น รวู้ ่าถา้ จะหาความรู้
เร่ืองหนึ่ง จะต้องใช้กระบวนการหาความรู้อย่างไรบ้าง ซึ่ง
เธอบอกวา่ ถา้ เดก็ ๆ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยสง่ิ น้ี ตอ่ ไปในอนาคตเขากจ็ ะ
กลายเป็นคนท่ีสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง และ
สามารถนำ� ความรนู้ นั้ มาพฒั นาทอ้ งถน่ิ และประเทศชาตไิ ด้

จะค้นคว้าหาความรู้กับเพ่ือนๆ รู้จักที่จะน�ำคณิตศาสตร์มา ตวั อย่างผลงาน “ยวุ วิจยั คณิตศาสตร”์
เช่ือมโยง เช่น ผ้าขาวม้าเวลาท�ำผืนหนึ่งใช้เงินลงทุนก่ีบาท
ใช่เวลาท�ำเท่าไร ท�ำอย่างไรจะให้ได้ก�ำไร เขาก็จะน�ำเอา กอ่ นทจ่ี ะเรม่ิ โครงการยวุ วจิ ยั คณติ ศาสตร์ครกู นกวรรณ
วิชาคณติ ศาสตร์เรื่องกำ� หนดการเชงิ เสน้ โดยให้ทนุ ที่ใช้เปน็ เล่าว่าต้องมีการเตรียมการต่างๆ ทั้งการเตรียมความพร้อม
ตัวแปร X ตัวแปร Y แลว้ ก็หาออกมาวา่ ท�ำอย่างไรจงึ จะได้ ของคุณครูในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์และท�ำความเข้าใจกับ
กำ� ไรสูงสุด” นักเรียน มีการส�ำรวจทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
นอกจากนนั้ ครกู นกวรรณยงั เลา่ เสรมิ วา่ ผเู้ ฒา่ ผแู้ กใ่ น ของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล วางแผนการทำ� งาน กำ� หนดพนื้ ที่
ชุมชนกระตือรือร้นที่จะให้ความรู้กับนักเรียน แถมยังแบ่ง ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ ท่ีส�ำคัญต้องมีการประเมินผลทั้งขณะ
ของกินของใช้ที่นักเรียนช่วยท�ำให้น�ำกลับไปฝากคนท่ีบ้าน ด�ำเนนิ การ และหลงั เสร็จสิน้ การด�ำเนนิ การ
อีกด้วย สายใยเล็กๆระหว่างคนต่างรุ่นจึงเกิดข้ึนอย่างเป็น เธอเล่าว่าโครงงานคณิตศาสตร์น้ี เป็นกระบวนการ
ธรรมชาติจากเมื่อก่อนที่เด็กไม่ค่อยได้เข้าหาหรือพูดคุย ฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องใดเร่ืองหน่ึงอย่างลุ่มลึก โดย
กับผู้ใหญ่ก็เร่ิมที่จะชวนคุยเป็นมากขึ้น นอกจากนั้นการท�ำ ใช้คุณลักษณะของยุววิจัยที่ดีคือ ต้องมีความสงสัยใคร่รู้
โครงงานกย็ ังท�ำให้เดก็ ๆ กลา้ พดู ภาษากลางมากข้ึน มีวิจารณญาณ มีความใจกว้าง รู้จักคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
“ส�ำหรับโรงเรียนในกรุงเทพฯ เร่ืองน้ีอาจไม่เป็น มคี วามซอื่ สตั ย์ ขยนั หมนั่ เพยี ร และมคี วามสขุ ในการทำ� งาน
ปัญหา แตส่ �ำหรับในชนบทอีสาน เดก็ ๆ ยงั อาย เวลาจะน�ำ ตวั อยา่ งโครงการหนงึ่ ทค่ี รกู นกวรรณยนิ ดนี ำ� เสนอคอื
เสนออะไรบางคร้ังก็ยังหลุดพูดภาษาอีสาน ครูก็จะบอกว่า โครงงานเรื่องผ้าพันคอลายคณิต ส่ิงประดิษฐ์จากไหมพรม
‘ไม่เปน็ ไร มันเป็นความรสู้ กึ ทีจ่ ริงใจ เราก็ฝกึ กนั ไปผดิ พลาด ครงั้ แรกทไ่ี ดย้ นิ เราอาจนกึ ไมอ่ อกวา่ ไหมพรมจะเกยี่ วขอ้ งกบั
กันได้’ หรือเด็กบางคนไม่กล้าน�ำเสนองาน ครูก็จะฝึกด้วย คณติ ศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งไร วา่ แลว้ เรากไ็ ปหานอ้ งๆ กลมุ่ นกี้ นั เลย
การใหม้ าเลา่ โครงงานทที่ ำ� ใหค้ รฟู งั กอ่ น แลว้ หลงั จากนน้ั จงึ ดีกวา่
ไปพดู หนา้ ชน้ั ใหเ้ พอ่ื นฟงั และทส่ี ดุ ในวนั ทเ่ี ราจดั นทิ รรศการ น้องๆ เล่าว่า หลังจากที่ศึกษาลวดลายต่างๆ ของ
ลายทางคณิตศาสตร์ ก็พบว่าแต่ละลวดลายสามารถน�ำมา
ประยุกต์ใช้เป็นลายผ้าพันคอได้ จึงเกิดไอเดียท่ีจะท�ำผ้า
พนั คอทเ่ี ปน็ ลายทางคณติ ศาสตร์ ซงึ่ สามารถทำ� งา่ ยใชไ้ ดจ้ รงิ
ทงั้ ยงั เป็นการส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรยี นได้อีกดว้ ย
เรม่ิ แรกนอ้ งๆ กลมุ่ นกี้ ไ็ ปศกึ ษาการถกั ผา้ พนั คอทเ่ี ปน็
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เรยี นรกู้ ารเลอื กใชว้ สั ดุ เลอื กใชส้ ใี หเ้ หมาะ
กับช้ินงานก่อน หลังจากนั้นจึงใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์
เร่ืองลวดลายทางเรขาคณิตและก�ำหนดการเชิงเส้นมาใช้ใน
การถักผา้ พนั คอ
เมอื่ ถกั ผา้ พนั คอไดแ้ ลว้ กม็ าศกึ ษาตอ่ วา่ หากในหนงึ่
สปั ดาหม์ เี วลาในการผลติ ผา้ พนั คอ ๓๘ ชวั่ โมงโดยมไี หมพรม

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 33

๒๕ ม้วน โดยทผ่ี ้าพันคอลายน้ำ� หนง่ึ ผนื ใชเ้ วลาในการผลติ ความส�ำเร็จท่ีมาจากการรว่ มแรงรว่ มใจ
๔ ชั่วโมง ขายได้ก�ำไรช้ินละ ๓๕ บาท และผ้าพันคอลาย
คละสหี นงึ่ ผืน ใช้เวลาในการผลติ ๘ ชั่วโมง ขายได้กำ� ไรชนิ้ ครกู นกวรรณพดู ทง้ิ ทา้ ยวา่ ปจั จยั ทท่ี ำ� ใหโ้ ครงการครงั้ น้ี
ละ ๓๐ บาท ส�ำเร็จมีหลายด้านด้วยกัน ต้ังแต่การให้ความร่วมมือเป็น
ดังนั้นถ้าอยากทราบว่าควรถักผ้าพันคอลายใด อยา่ งดขี องผนู้ ำ� ชมุ ชน องคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ปราชญ์
จ�ำนวนกี่ผืนต่อสัปดาห์ จึงจะได้ก�ำไรมากท่ีสุดและเป็น ชาวบา้ นซงึ่ เปน็ ทนุ ทางปญั ญาของชมุ ชน ความเอาใจใสข่ อง
จ�ำนวนเงินเท่าไร น้องๆ กลุ่มนี้จึงสร้างแบบจ�ำลองทาง ครผู สู้ อน การตดิ ตามงานของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น รวมถงึ ความ
คณิตศาสตร์ข้ึน ด้วยการเขียนกราฟ แล้วแก้ระบบสมการ สนใจใคร่ร้ขู องนกั เรยี นเอง
เพ่ือหาค�ำตอบ “ดฉิ นั คดิ วา่ สง่ิ สำ� คญั คอื เราตอ้ งไดร้ บั ความสนบั สนนุ
ผลทไี่ ดค้ อื ในหนง่ึ สปั ดาห์ เราควรผลติ ผา้ พนั คอลาย จากคนในชมุ ชน เมอ่ื พอ่ แมญ่ าตพิ นี่ อ้ งของนกั เรยี นเหน็ ความ
คละสี ๔ ผนื และลายน้ำ� ๓ ผนื จึงจะไดก้ �ำไรสงู สุดคอื ๒๑๐ ส�ำคัญในเร่ืองน้ีงานของเราก็ง่ายขึ้น เวลาจะเข้าไปคุยกับ
บาทนัน่ เอง ใครเขาก็พร้อมให้ความร่วมมือ และโชคดีท่ีชาวบ้านที่น่ีมี
นี่คือหนึ่งตัวอย่างท่ีแสดงให้เห็นถึงการน�ำวิชา อัธยาศัยไมตรี เอ็นดูรักใคร่นักเรียนเหมือนลูกหลาน เด็กๆ
คณิตศาสตร์มาเชื่อมโยงในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างมี เลยมคี วามสุขท่จี ะไดเ้ รียนรู้
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ที่นอกจากจะเป็นประโยชน์ ดิฉันภูมิใจกับโครงการน้ีมาก เพราะเหมือนได้ฝึก
โดยตรงกบั นักเรยี นทที่ ำ� กจิ กรรมนี้แล้ว ครูคณติ ศาสตร์ของ ให้เด็กๆ ไดร้ ูจ้ ักโลกของความเปน็ จริง ไดร้ ู้วา่ ในการท�ำงาน
ท่ีนี่ก็ยังสามารถน�ำผลการศึกษาในครั้งน้ีไปเป็นสื่อการสอน แต่ละอย่างเราต้องใช้ความขยัน อดทน หรือต้องรู้จักแก้
ของนกั เรียนรุ่นต่อไปไดอ้ กี ด้วย ปญั หาอยา่ งไรบ้าง แม้ว่าโครงการจะได้รบั รางวัลนวัตกรรม
ของกลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์ จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ ดฉิ นั กย็ งั ดใี จ
ไมเ่ ทา่ กบั ทไี่ ดเ้ หน็ เดก็ ๆ เขา้ ไปพดู คยุ ขอความรจู้ ากชาวบา้ น
ท�ำให้เห็นอีกมิติหนึ่งของความรู้ว่าต้องท�ำให้ผู้เรียนเห็น
คุณค่าของความเป็นมนษุ ย์ ตอ่ ใหช้ าวบา้ นเหลา่ นัน้ จะไมไ่ ด้
เรยี นจบอะไร แตเ่ ราต้องเคารพในความรูค้ วามสามารถของ
พวกเขา ทสี่ ำ� คญั ดฉิ นั ชใ้ี หเ้ ดก็ ๆ เหน็ วา่ ในการเสาะหาความ
รู้เรอ่ื งอะไร เราจะต้องไม่ไปคัดลอกเขามา แตต่ อ้ งไปเรยี นรู้
จากเขา แลว้ นำ� มาดดั แปลงสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตวั เอง และ
ตอ้ งใหเ้ ครดติ หรอื ขอบคณุ ทมี่ าของแหลง่ ความรนู้ น้ั ๆ ดว้ ย”
แล้ววันน้ี ยายบุญมีก็ได้รู้แล้วว่าสิ่งที่ลูกหลานก�ำลัง
ท�ำคืออะไร แกย้ิมแก้มปริทุกครั้งยามท่ีมีนักเรียนวัยรุ่น
เข้ามาพูดคุยด้วย ไม่น่าเช่ือว่าแค่การท�ำรายงานของเด็กๆ
จะท�ำให้ผู้ใหญ่มคี วามสขุ ไดถ้ งึ ขนาดน้ี
ยายบุญมีบอกว่า “ถึงไม่มีรายงานก็มาเยี่ยมยาย
อีกนะ ยายไม่ได้ท�ำเป็นแค่ขนมครกอย่างเดียวนะเออ…
ใครอยากทอผา้ สานเสื่อกม็ าได้เลยจ้ะ”

เคล็ดลับความส�ำเรจ็
การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ
โดยเฉพาะชาวบ้าน ปราชญ์ในชุมชนที่เห็นความ
สำ� คญั และเตม็ ใจชว่ ยเหลอื อยา่ งเตม็ ที่ รวมถงึ ความ
ตงั้ ใจของครผู สู้ อน

34 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

มะแข่นเมอื งลี สู่เวทีโลก

สรา้ งองค์ความรูบ้ รู ณาการ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

โรงเรยี นเมอื งลีประชาสามัคคี นา่ น

“มะแขน่ ดีป๋ี ไผมีขะใจ๋เอามา ค่ัวเหียนาใส่ลาบบข่ ่ืน”
บทเพลงซอของชาวเหนอื ทเี่ ลา่ ถงึ อาหารพน้ื เมอื งเลอื่ งชอ่ื อยา่ ง “ลาบ” ทจี่ ะขาดเครอ่ื งเทศสำ�คญั
คอื “มะแขน่ ” ไปไมไ่ ด้ เพราะกลิ่นหอมฉุนและรสชาติซาบซา่ อันมเี สนห่ ข์ องมะแขน่ จะช่วยดับกลิน่
คาวของเนอื้ สัตว์ ช่วยชูรสชาติใหอ้ าหาร และกระตุ้นน้ำ�ย่อยทำ�ให้ “กิน๋ ขา้ วลำ�แต๊ลำ�ว่า” อีกดว้ ย

มะแขน่ เมอื งลี สูเ่ วทีโลก

“แต่จะท�ำยงั ไงล่ะ”
เปน็ คำ� ถามทก่ี อ้ งอยใู่ นใจของ อ.สรุ างคร์ ตั น์ แดงจริ ะ
ครวู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นเมอื งลปี ระชาสามคั คี คนเมอื งเหนอื
ท่ีเติบโตมากบั รสชาติของมะแขน่
แลว้ ในทสี่ ดุ ก็ “ปง๊ิ ไอเดยี ” จงึ ปรกึ ษากบั อ.ประศาสน์
จนั ทรบุปผา ผอู้ �ำนวยการใจดีท่ชี ักชวนครูทกุ คนมาปรึกษา
หารอื “เรามาจดั กระบวนการเรยี นรู้ บรู ณาการเรอื่ งมะแขน่
เข้ากับการเรียนการสอนของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้กัน
เถอะ”
เพราะ “ความรู้” ท่ีเกิดจากการ “เรียนรู้” นี่เอง
ท่ีจะช่วยใหค้ ณุ คา่ ต่างๆ ท่ีซอ่ นอยใู่ นมะแข่นถกู คน้ พบ และ
เม่ือน�ำมาส่อื สารเผยแพร่ออกไปในวงกว้าง ทีนี้คนทว่ั โลกก็
จะได้รจู้ กั มะแข่นเมอื งลีอยา่ งที่ตง้ั ใจ

ชาวบ้านเมอื งลี อ�ำเภอนาหม่ืน จังหวัดนา่ น พวกเขา บูรณาการ ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
มีวิถีการอยู่การกินผูกพันกับมะแข่นมาช้านาน เพราะเป็น
แหลง่ ทพี่ บมากทส่ี ดุ และยงั มคี ณุ ภาพดที ส่ี ดุ มกี ลน่ิ หอมกวา่ แม้โรงเรียนเมืองลีประชาสามัคคี จะตั้งอยู่ในชุมชน
มะแขน่ ทไี่ หนๆ ทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ ลกู หลานบา้ นเมอื งลมี คี วามภาค เลก็ ๆ มีนกั เรียนต้งั แต่ ม.๑ – ม.๖ อยู่เพยี ง ๒๕๙ คน มคี รู
ภูมใิ จ อยากให้มะแข่นเมอื งลีดงั ไกลไปท่วั โลก... ๑๙ คน แต่ก็ไม่ท�ำใหท้ กุ คนท้อใจ อกี ทง้ั ยังมุ่งมัน่ ช่วยกันคดิ
ว่าจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร ให้เด็กๆ เกิด
ความรู้ความเข้าใจ เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ และการ
ปฏบิ ัติอยา่ งลงลกึ ถึงใจ กลายเปน็ “ทักษะ” ทต่ี ิดตวั ไปใช้ได้
ตลอดชีวิต
งบประมาณทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จาก สสค. จงึ นำ� ไป
สู่การกระจายลงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่ม อย่าง
ทวั่ ถงึ เพอื่ จดั กระบวนการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายใหก้ บั นกั เรยี น

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้ 35

ผลมะแขน่ สด ผลมะแข่นแห้ง มาท�ำโครงงานกนั เถอะ

อีกท้ังยังมีส่วนร่วมกับชุมชนและปราชญ์ชาวบ้าน มีการ หลังกลับจากสวนมะแขน่ วนั นน้ั เด็กๆ หลายคนเกดิ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ต้นมะแข่นในท้องถ่ินเป็น ความสนใจขน้ึ มาอย่างเป็นจริงจัง เข้าห้องสมดุ ค้นคว้า เปิด
ตัวต้ัง เว็บไซต์ค้นหาความรู้เก่ียวกับมะแข่นเพ่ิมมากข้ึน อ.สุรางค์
รตั น์ จงึ สบโอกาส ชวนเดก็ ๆ มาทำ� โครงงานวทิ ยาศาสตรก์ นั
มารูจ้ ักมะแขน่ กนั เถอะ อรศิ าและรตั ตกิ าล นกั เรยี นชน้ั ม.๕ รวู้ า่ ในผลมะแขน่
มีน้ำ� มนั หอมระเหยอยมู่ าก พวกเขาจงึ อยากจะทดลองสกดั
เม่ือถึงช่ัวโมงกิจกรรมชุมนุม อ.สุรางค์รัตน์ และ น�ำ้ มันหอมระเหยออกมาโดยวิธีกลัน่ ด้วยไอน�ำ้
คุณครูหลายคน ก็ชวนเด็กๆ ต้ังแถวพากันเดินออกไปนอก “ได้แรงบันดาลใจจากที่ปู่เล่าให้ฟังว่า สมัยก่อนเคย
โรงเรียน ระยะทางเพียง ๓๐๐ เมตร พวกเขาก็ถึงท่ีหมาย ต้มเหล้ากลั่น เขาจะมีหม้อสองช้ัน ชั้นบนเป็นอ่างน�้ำเย็น
คือสวนมะแข่น ซึ่งเปน็ ช่วงที่กำ� ลังออกผลพอดี เวลาไอร้อนจากหม้อชั้นล่างระเหยขึ้นมากระทบกับความ
มะแขน่ เปน็ ไมย้ นื ตน้ ทเี่ จรญิ เตบิ โตไดด้ ใี นระดบั ความ เย็น ก็จะกล่ันตัวเป็นหยดน้�ำ หนูก็เลยคิดว่าน่าจะลองเอา
สูง ๘๐๐-๙๐๐ เมตรจากระดับน�้ำทะเล ชอบอากาศเย็น มาประยกุ ต์ด”ู
และมีความช้ืนสูง จะออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน จากนัน้ เดก็ ๆ ก็ช่วยกนั ประดษิ ฐเ์ ครือ่ งกล่ัน ซ่ึงวสั ดุ
และจะตดิ ผลในชว่ งเดอื นมถิ นุ ายน-พฤศจกิ ายน บางทอ้ งถน่ิ อุปกรณ์ก็หาไม่ยากเพราะท�ำจากหม้อน่ึงข้าวในครัวของแม่
ในภาคเหนือก็เรียกว่า มะข่วง, มะแขว่น, บ่าแข่น แต่คน เอามาดัดแปลงนิดหน่อย เพ่ิมชั้นรองและท่อเพื่อให้น้�ำมัน
โคราชจะเรยี กว่า มะกรดู ตาพราหมณ์ อาจจะเปน็ เพราะวา่ หอมระเหยจากการนึ่งมะแขน่ ไหลออกมาขา้ งนอกได้
กล่นิ ของผลมะแขน่ สดจะหอมคลา้ ยมะกรูด แต่อย่าไดเ้ ผลอ ลองผดิ ลองถกู อยหู่ ลายครง้ั กไ็ ดผ้ ลอยา่ งทต่ี ง้ั ใจ นำ�้ มนั
ไปลองกินเชียว เพราะความซ่าของน้�ำมันหอมระเหยในผล หอมระเหยท่พี วกเขากลั่นออกมาได้ มกี ลิม่ หอมช่ืนใจจริงๆ
มะแขน่ จะทำ� ให้ลิ้นชาไปหลายชวั่ โมงเลยล่ะ สามารถน�ำไปท�ำเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้มากมาย เพ่ือน
การจะน�ำไปประกอบอาหารได้น้ัน ต้องเก็บผลสด อีกหลายกลุ่มจึงสนใจน�ำน้�ำมันหอมระเหยไปเป็นส่วนผสม
ท่ีแก่จัดมาผึ่งให้แห้งเสียก่อน จากสีเขียวก็จะกลายเป็นสี ในการผลิตยาหม่องมะแข่น พิมเสนน้�ำมะแข่น และชอล์ก
น้�ำตาลและแตกออกจนเห็นเมล็ดเล็กๆ สีด�ำของมะแข่นท่ี สมุนไพรไล่มด นอกจากน้ียังมีโครงงานมะแข่นดอง โครง
อยขู่ า้ งใน งานนำ�้ พริกปรงุ ลาบมะแข่น กลายเป็นสนิ คา้ ของนกั เรียนท่ี
พอ่ หลวงเสวยี น ปันติ ปราชญ์ชาวบา้ น เลา่ ใหเ้ ดก็ ๆ เกิดจากการทำ� โครงงานวทิ ยาศาสตร์น่นั เอง
และครูฟังว่า มะแข่นเป็นพืชท่ีหวงพันธุ์ ชอบข้ึนเองตาม ในวิชาคณิตศาสตร์ บรรยากาศการเรียนการสอน
ธรรมชาติ แต่ก็มีชาวบ้านทดลองน�ำเมล็ดไปเพาะได้สำ� เร็จ แบบเกา่ ๆ เปลย่ี นไปอยา่ งสน้ิ เชงิ เมอื่ อ.กจิ ณรงค์ แกว้ วงั ออ้
ซ่ึงกว่าจะงอกไดก้ ็ยากมาก นอกจากน้ียังเป็นพืชท่บี อบบาง ชวนนักเรียนลงพื้นท่ี ท�ำโครงงานชุด “มาสนุกกับการวัด”
หากล�ำต้นมีแผลเพียงนิดเดียวก็จะค่อยๆ แห้งและตายใน พวกเขาอยากรวู้ ่า มะแขน่ ต้นน้ีมีความสงู เทา่ ไหร่ มีน้ำ� หนกั
ที่สุด ดังน้ันเวลาเก็บเกี่ยวผลจะต้องใช้ความระมัดระวัง แค่ไหน โดยที่ไม่ต้องปีนขึ้นไปวัดหรือตัดต้นมาช่ังน้�ำหนัก
ไม่ใหก้ ิง่ ใหญ่ๆ หกั ลงมา
ว่าแล้วพ่อหลวงเสวียนก็สาธิตการสอยพวงมะแข่น
แบบมืออาชีพให้เด็กๆ ดู หลายคนแม้จะเป็นลูกหลานคน
เมอื งลแี ตก่ ำ� เนดิ กเ็ พง่ิ ไดร้ จู้ กั นสิ ยั ใจคอของตน้ มะแขน่ จรงิ ๆ
ก็วันน้ีแหละ นึกในใจว่า “วันหลังฉันจะไม่เอาไม้ไปฟันต้น
มะแขน่ ของพ่อเลน่ อีกแล้ว”

36 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้

ผลติ ภณั ฑ์จากมะแขน่ ฝมี อื นักเรียน นอกจากโครงงานต่างๆ แล้ว ยงั มีผลงานที่นา่ สนใจมากมาย
อย่างการออกแบบโปสการ์ดมะแข่น การวาดภาพมะแข่น
พวกเขาจึงใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์มาเป็นตัวช่วย เช่น เพ่อื ชวี ิต การแสดงฟอ้ นมะแข่น เกมว่ิงเปร้ยี วมะแขน่ สมดุ
วัดการเส้นรอบวง ค�ำนวณหารัศมีของต้น วัดความสูง ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษเก่ียวกับมะแข่น และมัคคุเทศก์น้อย
จากเงาของต้นมะแข่น ใช้สูตรตรีโกณมิติที่ครูสอน ฯลฯ คนเก่ง ที่ อ.วันทนา ตรงประเสรฐิ ศริ ิ ครสู อนภาษาองั กฤษ
ส่ิงเหล่านี้ท�ำให้เด็กๆ สนุกกับการเรียนคณิตศาสตร์อย่าง ฝกึ ฝนใหจ้ นช�ำนาญ
ไม่น่าเชื่อ นอกจากน้ยี ังมีเรียงความ นิทาน กลอนและคำ� ขวัญ
ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและ เกย่ี วกบั มะแขน่ เมอื งลขี องกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยอกี
เทคโนโลยีก็ไม่น้อยหน้า คุณครูชวนนักเรียนท�ำโครงงาน ดว้ ย
เมนอู าหารจากมะแขน่ ทแ่ี ปลกใหมไ่ ปจากเดมิ นอกจากลาบ เป็นช่วงเวลาแห่งความภาคภูมิใจของเด็กๆ ทุกคน
ลู่ สา้ แกงออ่ ม น้�ำพรกิ ทตี่ ้องใส่มะแข่นเป็นส่วนผสมแล้ว เพราะผลงานเหลา่ นไ้ี ดถ้ กู ถา่ ยทอดสสู่ ายตาพอ่ แมพ่ น่ี อ้ งชาว
เด็กๆ ยังทดลองน�ำมาท�ำเมนูหมูน่ึงมะแข่น ไก่ย่างมะแข่น เมอื งลที ีม่ าร่วมงานในวันนีด้ ว้ ย
เก๊ียวทอดมะแข่น ไข่เจียวมะแข่น และยังมีเคร่ืองดื่มน�้ำ ถงึ แมจ้ ะเวทชี มุ ชนเลก็ ๆ แตอ่ ยา่ งนอ้ ยกเ็ ปน็ จดุ เรมิ่ ตน้
มะนาวผสมมะแขน่ ทห่ี วานเยน็ หอมชื่นใจ ของการเผยแพรเ่ รอื่ งราวของมะแขน่ เมอื งลี สเู่ วทโี ลก อยา่ ง
“สนกุ คะ่ ไดค้ วามรดู้ ว้ ย เราไดฝ้ กึ คดิ วา่ จะเอามะแขน่ ทพ่ี วกเขาหวงั ไว้
ไปท�ำอาหารอะไรได้อีก แต่ต้องอร่อยด้วยนะคะ บางอัน
ทดลองท�ำแลว้ กนิ ไม่ได้กม็ ี” พัฒนาทักษะการคิด
“อีกหนอ่ ยเราเรียนจบไปแลว้ ไมม่ ีงานท�ำ ก็สามารถ
เอาไปทำ� เปน็ อาชพี ไดค้ รบั ทำ� อะไรแปลกใหมท่ ย่ี งั ไมม่ ใี ครทำ� ” โครงการน้ีท�ำให้เกิดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม
เดก็ ๆ เลา่ ถงึ ประสบการณแ์ ละการตอ่ ยอดสลู่ ทู่ างอนั กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ มากมาย ทสี่ ะท้อนใหเ้ ห็นความ
แจ่มใสในอนาคต พยายามของครทู ช่ี ว่ ยจดุ ประกายการเรยี นรขู้ องเดก็ ๆ พรอ้ ม
กับพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ การลงมอื ปฏบิ ัติ
เปิดบา้ นวิชาการ และเกดิ ทกั ษะชวี ติ ทพี่ วกเขาสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นวนั
ขา้ งหน้าต่อไป
เมื่อครบ ๑ ปี ทไี่ ด้ท�ำโครงการ ครแู ละนักเรียนทั้ง ความหวงั ของครกู ค็ อื การบม่ เพาะตน้ กลา้ เยาวชน
โรงเรียนจึงช่วยกันจัดงาน “เปิดบ้านวิชาการ” น�ำผลงาน คนเมืองลีเหล่าน้ี ท่ีจะช่วยกันอนุรักษ์พืชส�ำคัญของ
ของนักเรยี นทุกกลุม่ สาระการเรียนรมู้ าจดั แสดง ทอ้ งถนิ่ ใหค้ งคุณค่า สร้างประโยชน์ใหเ้ กิดขนึ้ ตนเอง และ
ใชช้ วี ิตอยใู่ นชุมชนได้อยา่ งมคี วามสขุ ต่อไป

เคลด็ ลับความส�ำเรจ็
“การเรียนรู้” จะท�ำให้เราค้นพบคุณค่าของ
สง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั แมจ้ ะเปน็ เพยี งสง่ิ เลก็ นอ้ ยกไ็ มค่ วร
ละเลย

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 37

การพฒั นาทกั ษะการคดิ คณติ ศาสตรไ์ ตรภาคี

โรงเรยี นเลิงนกทา ยโสธร

ผมเพิ่งเข้ามาเป็นครูในกลุ่มสาระ จูลี่ พาวเวลลต์ ัดสินใจทีจ่ ะใช้เวลา ๑ ปพี อดบิ พอดีในการทำ�
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของโรงเรียน อาหารตามสูตรท้ังหมด ๕๒๔ สูตรตามหนังสือเล่มนี้ และ
เลิงนกทา ตำ�บลสามแยก อำ�เภอเลิงนกทา เขียนประสบการณ์ของเธอลงบล็อก เพ่ือบอกเล่าว่าเธอท�ำ
จังหวดั ยโสธรไดแ้ คเ่ พียง ๓ ปี แต่การเรยี น อาหารตามหนงั สอื แลว้ ไดผ้ ลเปน็ อยา่ งไร หรอื เธอรสู้ กึ ทอ้ แท้
การสอนของท่ีน่ีทำ�ให้ผมกลายเป็นครูท่ี ใจหรอื มคี วามสขุ อยา่ งไรระหวา่ งทท่ี ำ� อาหารชนดิ นน้ั ๆ มคี น
กระตอื รือรน้ และมคี วามสขุ มาก ติดตามอ่านเร่ืองราวของเธอเยอะมากจนหนังสือพิมพ์ต้อง
ตามไปสมั ภาษณเ์ ธอ นค่ี อื อานภุ าพของเทคโนโลยที ส่ี ามารถ
เปลีย่ นแปลงชวี ิตของคนเราได้
ผมร้วู ่าใครๆ ในยุคน้ีก็สามารถเขยี นบล็อกได้ แตผ่ ม
ไม่อยากจะเชื่อว่าครูคณิตศาสตร์ ในถิ่นทุรกันดารห่างไกล
ความเจรญิ อยา่ งคณุ ครใู นโรงเรยี นของผมจะมคี วามคดิ สดุ ลำ�้
ด้วยการสอนคณิตศาสตร์ให้เด็กนักเรียนผ่านบล็อกอย่าง
ทุกวันนี้ ขอบอกว่าได้ผลดีมากขนาดที่ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในวิชาคณิตศาสตรแ์ ละการทดสอบระดับชาติ
(O-NET) มคี ะแนนเฉลย่ี สูงขึ้นอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั
ดังนั้น ถ้าคุณยังไม่เคยดูหนังเร่ืองจูลี่ แอนด์ จูเลีย
ปรงุ รกั ใหค้ รบรส กโ็ ปรดลมื มนั ไปกอ่ นไดเ้ ลยครบั เพราะผม
จะนำ� เสนอหนงั เรอื่ งใหม่ ทที่ ง้ั แนว ทง้ั สนกุ มชี อื่ เรอื่ งทผ่ี มคดิ
เองเออเองว่า “ครูคณิตศาสตร์ หวั ใจเวบ็ บลอ็ ก”

งานอดิเรกของผมก็เหมือนวัยรุ่นทั่วไปที่ชอบดูหนัง แท่น แท่น แท้น…เลิงนกทาภูมิใจน�ำเสนอชีวิต
ฟังเพลง เล่นเกม เล่นอินเทอร์เน็ตไปตามเรอ่ื งตามราว โดย ครูคณิตศาสตร์
เฉพาะดหู นงั ผมชอบมากเปน็ พเิ ศษ ถงึ ขนาดเขยี นบลอ็ ก หรอื
ท่ีเรยี กเต็มๆ วา่ เว็บบลอ็ ก(Weblog) วจิ ารณห์ นงั ท่ตี วั เอง ใครคดิ วา่ ชวี ติ การเปน็ ครคู ณติ ศาสตรน์ น้ั งา่ ยแสนงา่ ย
ชอบให้คนอื่นได้เข้ามาอ่าน และโพสต์ข้อความแสดงความ แค่สอนๆ ไปตามหนงั สอื แล้วสง่ั การบา้ น ตรวจการบ้านเดก็
คดิ เห็น ตกเยน็ กก็ ลบั บา้ นไปนอนตพี งุ เหน็ ทจี ะตอ้ งเปลยี่ นความคดิ
หนงั ในดวงใจของผมเรอื่ งหน่งึ คือ “Julie & Julia” ใหม่ ถ้าได้รู้จักครูคณิตศาสตร์รุ่นพี่ผู้เป็นท้ังเพ่ือนร่วมงาน
(จูลี่ แอนด์ จเู ลยี ปรุงรกั ให้ครบรส) ซึง่ สร้างจากเรอ่ื งจรงิ และหัวหน้าผูม้ ีอุดมการณ์ของผมคนน้ี
ของจูเลีย ไชลด์ หญิงชาวอเมริกันที่ตามสามีไปใช้ชีวิตอยู่ ครมู นตรี แกว้ ใสเปน็ รองผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นเลงิ นกทา
ในประเทศฝร่ังเศส และจูล่ี พาวเวลล์เลขาสาวที่มีหน้าท่ี ที่ควบสองต�ำแหน่งคือท�ำหน้าที่ฝ่ายบริหารและครูสอน
การงานซ้�ำซากจ�ำเจ ผู้หญิงสองคนน้ีมีชีวิตอยู่ต่างสถานที่ คณิตศาสตร์ นอกจากนั้นยังอุทิศเวลาท�ำหน้าท่ีประธาน
ต่างเวลา แต่ท้ังคู่มีความหลงใหลในส่ิงเดียวกัน นั่นคือ ชมรมครูคณติ ศาสตรจ์ งั หวัดยโสธร ของสถาบนั พัฒนาครู
ศาสตร์การทำ� อาหาร เม่อื ๕๐ ปที ่ีแลว้ จูเลีย ไชลดไ์ ดเ้ ขยี น คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ส�ำนักงานปลัด
สูตรอาหารของตัวเองไว้ในหนังสือที่แปลง่ายๆ ว่า “ศิลปะ กระทรวงศึกษาธกิ ารอกี ดว้ ย โดยมีเปา้ หมายในชวี ิตคอื การ
การทำ� อาหารของชาวฝรง่ั เศส” กลบั มาในหว้ งเวลาปจั จบุ นั คิดค้นหาวธิ กี ารให้เดก็ ๆ มีความสุขในการเรียนคณติ ศาสตร์
ครูบอกรุ่นน้องอย่างผมว่า “ถ้าเด็กเรียนคณิตศาสตร์ด้วย

38 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

ความเขา้ ใจเดก็ กจ็ ะมคี วามสขุ แตถ่ า้ เรยี นดว้ ยความไมเ่ ขา้ ใจ ไม่ต้องเสยี เวลาไปสืบค้นหา ซ่งึ บางคร้ังเมอื่ หาไมเ่ จอ เด็กก็
ก็จะเป็นเหมือนดินพอกหางหมู พัลวันพัลเก เร่ืองน้ียังไม่ คลกิ ไปดูเรื่องอื่นทนี่ ่าสนใจกวา่ ”
รู้เร่ืองก็เรียนอีกเรื่องต่อแล้ว สุดท้ายเด็กก็จะเบื่อ ดังน้ันครู เม่ือครูมนตรีเร่ิมต้นเรื่องราวไว้อย่างน้ี ตอนต่อไป
ต้องคิดหาวิธีการใหเ้ ด็กเรยี นคณติ ศาสตรใ์ ห้เข้าใจงา่ ย หรอื ครูคณิตศาสตร์ท้ังสามโรงเรียนจะสานต่อโครงการ
ได้มโี อกาสซักถามในจุดที่ไม่เขา้ ใจให้มากที่สดุ ” กันอยา่ งไร โปรดตดิ ตามชมครับ
เห็นไหมละครับ ว่าการเป็นครูคณิตศาสตร์ที่ดี
ไม่ใช่เร่ืองง่าย ด้วยเหตุนี้ครูมนตรีจึงปรึกษาหารือกับ ไอเดยี ดีๆ ตอ้ งรีบลงมือท�ำ
ครคู ณติ ศาสตรอ์ กี ๒โรงเรยี นคอื โรงเรยี นศรแี กว้ ประชาสรรค์
และโรงเรียนห้องแซงวิทยา ซึ่งประสบปัญหาเดียวกันคือ ในฐานะทเี่ ปน็ ครคู ณติ ศาสตรค์ นหนง่ึ ทรี่ ว่ มโครงการ
เด็กนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ในการทดสอบ น้ี ผมจะเลา่ ใหฟ้ งั วา่ เขามกี ระบวนการทำ� งานอยา่ งไร เรม่ิ แรก
ระดับชาติ (O-NET) ในระดับต่�ำกว่ามาตรฐาน ทั้งสาม เรากำ� หนดกลมุ่ เปา้ หมายเปน็ นกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี
โรงเรยี นจึงจับมือกนั เพอื่ คิดหาสาเหตขุ องปญั หานี้ ท่ี ๓ และ ๖ ของกลมุ่ โรงเรยี นไตรภาคีท้ังหมด ๑,๒๒๕ คน
“ผมคดิ วา่ นกั เรียนขาดทกั ษะคณติ ศาสตร์ ๔ ทักษะ โดยมีครูผู้สอนคณิตศาสตร์ในกลุ่มโรงเรียนไตรภาคีท�ำงาน
คือ เทคนิคการประมาณค่าอย่างแม่นจ�ำ เทคนคิ การจดจ�ำ ร่วมกัน ทง้ั หมด ๒๔ คน
ตัวเลข เทคนิคการบวกลบคูณหารเลขในใจขั้นสูง และ
เทคนิคการแก้โจทย์ปัญหาพื้นฐาน ดังน้ันสิ่งนี้น่าจะเป็น ครใู นโครงการ
สาเหตุทท่ี ำ� ให้ผลสอบโอเนท็ ของเดก็ ต่�ำกวา่ มาตรฐาน”
ครูมนตรีว่าอย่างน้ี ครูจากอีกสองโรงเรียนเห็นจริง สอนเนน้ ทักษะการคดิ
ด้วย ท้ังสามโรงเรียนจึงจับมือกันเป็น “ไตรภาคี” ร่วมท�ำ
“โครงการพฒั นาทกั ษะการคดิ วชิ าคณติ ศาสตรไ์ ตรภาค”ี หลังจากพูดคุยปรึกษากันระหว่างครูคณิตศาสตร์ใน
ด้วยกัน โดยมีส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ กลุม่ ไตรภาคีแล้ว เรากไ็ ดข้ อ้ สรปุ ว่าจะนำ� ความรู้ของคุณครู
คณุ ภาพเยาวชน (สสค.) เปน็ กองหนุนทุนงบประมาณ มารวบรวมจดั ทำ� เปน็ หนงั สอื คมู่ อื แบบฝกึ ทกั ษะคณติ ศาสตร์
ว่าแล้วครูมนตรีก็งัดเอาวิทยายุทธ์ข้ันสูงที่ได้ไป ไว้ช่วยพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนในด้าน
เรียนร้มู า มาบอกเล่ากบั ครูคนอน่ื ๆ วา่ ต่างๆ เช่น ครูคนไหนเก่ง เทคนิคการบวกลบคูณหารเลข
“เม่ือสองปีท่ีแล้วผมไปอบรมการท�ำเว็บบล็อก กับ ในใจขั้นสูงก็จะเป็นแกนหลักในการจัดท�ำเร่ืองนั้น ส่วนครู
สำ� นกั เทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน สพฐ. หลงั จากนัน้ ก็
นำ� ความรทู้ ไ่ี ดม้ าทำ� เวบ็ บลอ็ กของตวั เอง เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ชอ่ งทาง
ในสื่อสารวิชาคณิตศาสตร์กับนักเรียน โดยผมจะตั้งค�ำถาม
คณิตศาสตร์ไว้ นักเรียนคนไหนตอบได้ก็เข้ามาตอบ หรือ
นักเรียนคนไหนมีปัญหาสงสัยตรงไหนก็โพสต์ข้อความเพื่อ
สอบถามได้ ผมก็จะคอยตอบและอพั เดทขอ้ มูลทุกวัน
“ผมทำ� อยา่ งนมี้ าปกี วา่ แลว้ เดก็ ๆ ใหค้ วามสนใจดมี าก
ผมคิดว่าเราน่าจะเพ่ิมช่องทางให้นักเรียนส่ือสารกับเรา
เพราะอยา่ งทเ่ี รารกู้ นั ดวี า่ เดก็ นกั เรยี นจะไดค้ วามรใู้ นแตล่ ะ
เนอ้ื หาวชิ าในหอ้ งเรยี นแค่ ๗๐ เปอรเ์ ซน็ ตเ์ ทา่ นน้ั สว่ นอกี ๓๐
เปอรเ์ ซน็ ต์ เดก็ ตอ้ งไปหาจากแหลง่ เรยี นรอู้ นื่ ๆ เชน่ หอ้ งสมดุ
หรืออินเทอร์เน็ต ในยุคปัจจุบันผมคิดว่าอินเทอร์เน็ตเป็น
ห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดก็ว่าได้ ดังนั้นเราซึ่งเป็นครูมาช่วยกัน
ต่อยอดความรู้ให้นักเรียนด้วยการท�ำเว็บบล็อกกันดีไหม
เรามาช่วยกันค้นคว้าหาความรู้เก่ียวกับคณิตศาสตร์มาไว้
ในเว็บบล็อกของเรา เพ่ือนักเรียนจะได้ศึกษาค้นคว้าได้ง่าย

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 39

คนไหนเก่งเทคนิคการแก้โจทย์ปัญหาพื้นฐานก็ท�ำเร่ืองท่ี โรงเรยี นเลงิ นกทา อาจจะสอบถามขอ้ สงสยั ทางคณติ ศาสตร์
ตวั เองถนดั เสรจ็ แลว้ เรากน็ ำ� หนงั สอื คมู่ อื ทไ่ี ดม้ าจดั พมิ พเ์ พอ่ื ผ่านเว็บบล็อกกับคุณครูท่ีอยู่โรงเรียนศรีแก้วประชาสรรค์
แจกนกั เรยี นคนละหนง่ึ เล่ม หรอื คณุ ครโู รงเรยี นหอ้ งแซงวทิ ยาคมกไ็ ด้ นอกจากนน้ั เรายงั มี
เม่ือเตรียมส่ือการสอนได้แล้ว คราวน้ีก็ถึงคราวต้อง การแลกเปล่ียนครูในเครือข่ายไตรภาคีที่มีความเช่ียวชาญ
เตรียมความพร้อมของคุณครูบ้าง ทางกลุ่มของพวกเรา ในสายคณิตศาสตร์ท่ีแตกต่างกันให้ไปสอนในต่างโรงเรียน
ได้เชิญคุณครูผู้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีมาเป็น เชน่ ครโู รงเรยี นเลงิ นกทาทเี่ กง่ ทกั ษะเทคนคิ การบวกลบคณู
วิทยากร ให้ความรู้ในการจัดท�ำเว็บบล็อกด้วยโปรแกรม หารเลขในใจขั้นสูง ก็ไปสอนโรงเรียนศรีแก้วประชาสรรค์
เวริ ์ดเพลส (WordPress) ส่วนครูของโรงเรียนศรีแก้วประชาสรรค์ที่เก่งทักษะการแก้
“บลอ็ ก มาจากค�ำวา่ เว็บบลอ็ ก เปน็ รูปแบบเว็บไซต์ โจทย์ปัญหาพืน้ ฐานกม็ าสอนโรงเรียนเลงิ นกทา
ประเภทหนึ่งประกอบด้วยข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางคร้ัง นอกจากการเรียนรู้ เรายังมีการเรียนรู้ที่เป็นอิสระ
จะรวมส่ือต่างๆ ไม่ว่าเพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได้ มีโครงการย่อยของแต่ละโรงเรียนที่แตกต่างกันไปในคาบ
จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์ คือบล็อกจะเปิดให้ผู้ ว่าง คาบซ่อมเสริมของแต่ละโรงเรียน เช่น โครงการย่อย
เขา้ มาอา่ นขอ้ มลู สามารถแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ ทา้ ยขอ้ ความ ของโรงเรยี นห้องแซงวทิ ยา ใหน้ กั เรียนท�ำโครงงานดว้ ยการ
ท่เี จา้ ของบล็อกเป็นคนเขยี น ซง่ึ ท�ำให้ผเู้ ขียนสามารถพดู คยุ หาพื้นท่ีของกระดาษรูปทรงเรขาคณิต เสร็จแล้วก็ให้เด็ก
ส่ือสารกับผู้อา่ นไดท้ นั ท”ี วิทยากรเขาบรรยายให้ฟงั อยา่ งนี้ นกั เรียนพบั ออกมาเปน็ รูปนกอย่างสวยงาม
กอ่ นที่ครูแต่ละคนจะลงมือสร้างเวบ็ บล็อกด้วยตัวเอง กวา่ ๘ เดอื นทเ่ี ราทำ� โครงการน้ี ผลทไี่ ดร้ บั คอื นกั เรยี น
ชน้ั ม.๓ และนกั เรยี นชน้ั ม.๖ ของทง้ั สามโรงเรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์
การสอ่ื สารสองทางของ คร-ู นกั เรียน ทางการเรียนในวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละการทดสอบระดับชาติ
(O-NET) เฉลย่ี สงู ขนึ้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เพราะเดก็ ๆ รจู้ กั คดิ เปน็
เมอ่ื คณุ ครคู ณติ ศาสตรท์ กุ คนในกลมุ่ ไตรภาคสี ามารถ แก้ปัญหาเป็นมากข้ึน มีความสนุกและสนใจที่จะเรียนวิชา
ทำ� เวบ็ บลอ็ กไดแ้ ลว้ กถ็ งึ คราวสอื่ สารกบั นกั เรยี นบา้ ง โดยครู คณิตศาสตร์ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน โดยเฉพาะ
จะกระตุ้นนักเรียนให้เข้ามาในเว็บบล็อกด้วยการตั้งค�ำถาม วิชาคณิตศาสตร์นอกห้องเรียนน้ัน ครูมนตรีบอกกับผมว่า
คณติ ศาสตร์ สัปดาหล์ ะประมาณ ๑๐ ค�ำถาม ให้นักเรียน สำ� คญั มาก เพราะเวลาเรียนคณติ ศาสตรใ์ นห้องเรยี นมนี ้อย
เขา้ มาตอบ โดยมกี ารใหค้ ะแนนคนทตี่ อบถกู ใครทำ� คะแนน มาก ถ้าเราสร้างความสนใจใฝ่รู้ให้เด็กนอกห้องเรียนได้
ไดส้ งู ทสี่ ดุ กจ็ ะมกี ารมอบรางวลั หนา้ เสาธง ตวั อยา่ งเชน่ หนา้ เทา่ กบั เราไดต้ ิดปีกทางปัญญาใหก้ ับเดก็ ดว้ ยนั่นเอง
เว็บบลอ็ กของครูมนตรีท่ีขึ้นต้นว่า น่ีละครับ เร่ืองราวท้ังหมดของ “ครูคณิตศาสตร์
“เชิญนักเรียนทดสอบความรู้ข้างล่างครับ…จงหา หวั ใจเวบ็ บล็อก” ท่ีผมอยากน�ำเสนอ
ค�ำตอบวา่ หากมธี นบัตรใบละ ๕๐๐ บาทหนง่ึ ใบ นำ� ไปแลก
เปน็ ธนบตั รใบละ ๑๐๐ บาท ๕๐ บาท และ ๒๐ บาท จะมวี ธิ ี เคล็ดลับความส�ำเรจ็
แลกทงั้ หมดกว่ี ธิ ี (ถา้ แกโ้ จทยไ์ มไ่ ด้ หรอื คดิ ไมอ่ อกคลกิ ทน่ี )่ี ” การอัพเดทข้อมูล เข้าไปพูดคุยอธิบายข้อ
ปรากฏว่าเม่ือผมลองคลิกดูแล้ว ก็จะลิงก์เน้ือหา สงสัยทางคณิตศาสตร์แก่นักเรียนอย่างสม�่ำเสมอ
ไปยังวธิ กี ารแกโ้ จทย์ปัญหาที่ครูสืบค้นขอ้ มูลมาเก็บไว้ และ รวมถึงการส�ำรวจตรวจสอบของหัวหน้าโครงการ
ถา้ นกั เรยี นคนไหนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ หรอื หาคำ� ตอบไมไ่ ด้ กส็ ามารถ มีการกระตุ้นด้วยการให้รางวัลนักเรียน และแสดง
โพสต์ข้อความถามคุณครไู ด้ ความช่ืนชมครทู ม่ี คี วามกระตอื รือร้น
สว่ นตวั ครคู ณติ ศาสตรเ์ อง ครมู นตรกี พ็ ยายามสำ� รวจ
ตรวจสอบว่ามีความกระตือรือร้นในการพูดคุยส่ือสารกับ
นักเรียนมากน้อยแค่ไหน ด้วยการเปิดเข้าไปดูเว็บบล็อก
ของครูทุกคนทุกวัน ใครขยันอัพเดทข้อมูลเสมอๆ หรือ
ต้ังใจอธิบายให้ความรู้นักเรียนก็จะมีการกล่าวช่ืนชมในการ
ประชุมแต่ละครัง้
ทสี่ ำ� คญั วธิ กี ารเรยี นการสอนแบบนสี้ ามารถแลกเปลยี่ น
ความรู้ระหว่างโรงเรียนได้อีกด้วย เช่น เด็กนักเรียนจาก

40 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้

การพฒั นาทกั ษะความคดิ ขนั้ สงู

เพื่อยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนในโรงเรยี นศรรี ตั นวทิ ยา

โรงเรยี นศรีรัตนวิทยา ศรสี ะเกษ

“ปญั หาของเด็กไทยคือทกั ษะความคดิ ”
“คิดน้อย ไมค่ ่อยคดิ วเิ คราะห์”
“การคดิ เพอ่ื อนาคต คดิ เพอื่ วางแผนชวี ิต คดิ เพ่อื ทำ�กิจกรรมที่สร้างสรรค์ยงั ค่อนขา้ งจะมนี ้อย”
“ประเมิน สมศ. รอบที่ ๒ มาตรฐานเรอ่ื งการคิดวเิ คราะหข์ องเราได้ระดับพอใช้ ซึ่งไมน่ ่าพอใจ”

นคี่ อื สงิ่ ทค่ี รกู ลมุ่ หนง่ึ ในโรงเรยี นศรรี ตั นวทิ ยา อำ� เภอ เปล่ียนแปลง เกรงจะไม่เป็นที่ยอมรับหากคิดนอกกรอบ
ศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ ตระหนักและไม่น่ิงนอนใจ คืออุปสรรคส�ำคัญที่ขัดขวางการพัฒนาทักษะการคิด
ขอทุนจาก สสค.จัดท�ำโครงการ “พัฒนาทักษะความคิด สกัดก้ันการคิดในสิ่งใหม่ๆ การอบรมจึงเน้นให้ครูกล้าท่ีจะ
ขั้นสูง เพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน” ตง้ั เปา้ ไว้ที่ สลดั ความคิดเดิมๆ กลา้ ทีจ่ ะคิดนอกกรอบ และหาวธิ กี ารที่
การพฒั นาทกั ษะการคิดของนกั เรยี นท้ัง ๑,๖๓๓ คน จะส่งเสริมใหเ้ ดก็ ได้คดิ

จะพฒั นาเดก็ ต้องพัฒนาครูก่อน เดก็ คดิ ได้ คิดเปน็

“นา่ จะมกี ารปรบั เปลยี่ นวธิ กี ารสอน ถา้ จะมกี ารปรบั เขาพระวิหารจ�ำลองที่ได้สัดส่วน วิจิตรบรรจงท้ัง
เปล่ยี นตอ้ งเปลี่ยนท้ังระบบ ครตู อ้ งไปทง้ั ระบบ” อ.พชิ ญา รูปร่างและลวดลาย ผลงานท่ีนักเรียนโรงเรยี นศรีรตั นวทิ ยา
สืบนกุ ารณ์ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการกลา่ ว รังสรรค์ขึ้นเมื่อหลายปีก่อน เป็นเครื่องยืนยันถึงศักยภาพ
การจะพัฒนาเดก็ ต้องพฒั นาครูกอ่ น การอบรมเรือ่ ง ทางความคดิ ของเด็กๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี
ทักษะการคิดขั้นสูง ให้กับครู เพ่ือให้ครูท้ัง ๘ สาระวิชา เร่ิมต้นจากเด็กกลุ่มเล็กๆ ๕-๖ คน คิดอยากสร้าง
กลบั ไปทำ� แผนการเรยี นทเี่ นน้ ทกั ษะการคดิ (คดิ วจิ ารณญาณ เขาพระวหิ ารจำ� ลอง เพยี งครเู ปดิ โอกาสและสนบั สนนุ เดก็ ๆ
คดิ สรา้ งสรรค์ คดิ แกป้ ญั หา คดิ ตดั สนิ ใจ) จงึ เปน็ กจิ กรรมแรก ก็มุมานะทุ่มเทแปลงความคิดสู่รูปธรรมอย่างเต็มท่ี ทั้งค้น
ของโครงการ ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ค�ำนวณย่อส่วน ค�ำนวณโครงสร้าง
การยึดติดกับความคิดเดิมๆ ความกลัวที่จะเกิดการ รบั น�้ำหนัก เลอื กใช้วัสดุ เร่อื ยไปถงึ การลงลวดลายออ่ นช้อย

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 41

จติ อาสาฝึกการคิดตัดสินใจ โครงงานวิทย์ ทำ� บายศรี ฝกึ ความคดิ สรา้ งสรรค์
ส่งเสริมการคิดสร้างสรรคแ์ ละวจิ ารณญาณ

ทตี่ อ้ งใชค้ วามสามารถทางศลิ ปะ ผนวกกบั การวางงานอยา่ ง แต่เดิมการฝึกท�ำโครงงานจะจัดให้กับเด็กที่เป็นเลิศทาง
เปน็ ขนั้ เปน็ ตอน ใชเ้ วลา ๑ ปีช่วงหลงั เลกิ เรียน และวันหยดุ วชิ าการและมงุ่ ไปแขง่ ขนั เทา่ นน้ั โจทยข์ องครกู ค็ อื ใหเ้ ดก็ คดิ
ปิดเทอม เขาพระวหิ ารจ�ำลองก็เสร็จสมบูรณ์ โครงงานอะไรก็ได้ท่ีน�ำมาใช้ได้ในชีวิต และใช้สิ่งท่ีมีอยู่
“เราจึงเช่ือว่ากระบวนการคิดหรือความคิดของ ในทอ้ งถน่ิ
เด็กสามารถสร้างให้เป็นจริงได้ ถ้าเราคอยให้ก�ำลังใจหรือ เมอ่ื เปลยี่ นมมุ มอง เปดิ โอกาส ปรบั วธิ กี ารสอน กเ็ กดิ
สนบั สนนุ ” อ.รุง่ อโณทยั ออ้ มแก้ว ครูสงั คมกลา่ วยนื ยนั ผลลพั ธ์ใหม่ขึ้นมากมาย ดงั เช่น
โครงงานทำ� แอลกอฮอล์จากขา้ วเหนียว ทีเ่ กิดจาก
โครงงาน...สร้างทักษะการคดิ ความอยากรู้ของเด็กเองว่าในข้าวเหนียวมีแอลกอฮอล์มาก
นอ้ ยเพียงใด
ในชว่ งเวลาวา่ ง เดก็ ๆ กำ� ลงั เพลดิ เพลนิ ไปกบั หนงั สอื โครงงานท�ำน�้ำยาล้างจานจากมะเขือเทศ สร้าง
เกมหมากกระดาน เกมโอเอ็กซ์ และเกมตา่ งๆ อกี มากมาย ความภาคภมู ใิ จใหก้ บั เดก็ วา่ สามารถหาวตั ถดุ บิ ไดเ้ อง ทำ� ไดเ้ อง
ในห้องพฒั นาทักษะความคดิ เป็นการเปดิ พน้ื ทจ่ี ัดกจิ กรรม และนำ� ไปใช้ล้างคราบสกปรกได้สะอาดดี
ให้เด็กๆ ได้ฝึกสมองประลองความคิดกันในบรรยากาศ โครงงานที่ดักจับแมลงวันจากขวดน�้ำรียูส ซ่ึงมี
ทผ่ี ่อนคลาย การคิดทดลองท�ำมาน�ำเสนอถึง ๓ รูปแบบว่าแบบไหนที่
แมลงวนั จะเขา้ ไปไดด้ กี วา่ กนั
“ปีนท้ี ่ไี ดร้ ับทุน สสค.คือจดุ เรมิ่ ต้นทชี่ ัดเจนของเรา” ทั้งหมดนค้ี อื ผลงานความคิดจากเด็กห้องทว่ั ไป และ
อ.พิชญากลา่ ว เม่ือได้รับการพัฒนาข้ึน จึงเกิดภาพของเด็กหลังห้องที่กล้า
ลุกข้ึนมาคิด ค้นคว้า ทดลอง ลงมือท�ำ แล้วมาน�ำเสนอ
เปน็ การเปล่ยี นแปลงทีเ่ กดิ ข้นึ ในระบบโรงเรยี น
“การไดล้ งมอื ทำ� จะทำ� ใหผ้ มเกดิ ความรแู้ ละการจดจำ�
มากกว่าครับ”
“หนูชอบที่ครูให้คิดหัวข้อเองได้ค่ะ ไม่ต้องให้ครูส่ัง
ครบู อกหัวขอ้ ให้เท่าน้นั ค่ะ”
นอกจากนี้ครูยังได้ทดลองจัดกระบวนการแลก
เปลี่ยนเรียนรู้ ให้เพ่ือนๆ ที่ประสบความส�ำเร็จในการท�ำ
โครงงานระดับมือรางวัลมาช่วยแบ่งปันประสบการณ์และ
เปิดมมุ มองใหม่ๆ ให้กับเพื่อนๆ

ในส่วนของการเรียนการสอน ปีนี้เป็นปีแรกท่ีเปิด “การทำ� โครงงานมเี สนห่ อ์ ย่างหนึง่ คือ ชว่ ยใหค้ ดิ อยู่
สอนวิชาโครงงานให้กับเด็กช้ัน ม.๖ สายทั่วไป จากที่ ตลอดเวลา เพ่อื แกไ้ ขปัญหา”

42 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

“กระบวนการทกั ษะทกุ อยา่ งทเ่ี ราทำ� มนั สามารถนำ� “ครูอย่าพูดมาก พยายามลดบทบาทของครูให้เด็ก
ไปประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิตของเราได้ค่ะ ให้คิดอย่างมี ได้ท�ำกิจกรรมเยอะๆ ย่ิงสอนเรื่องการคิด เราต้องพยายาม
เหตผุ ล คิดอยา่ งสร้างสรรค”์ กระตนุ้ ใหเ้ ขาคิด ต้องหากจิ กรรมทหี่ ลากหลาย ทั้งกจิ กรรม
ตัวอย่างยืนยันค�ำกล่าวของนักเรียน ม.๖ ทั้งสอง คิดคนเดียว คิดเป็นกลุ่ม เราไม่ควรจะบล็อกความคิดของ
คอื โครงงานตู้อบยางพารา ที่เขากับเพอื่ นซ้อี ีกคน ช่วยกนั เขาว่าควรเป็นแบบนน้ั แบบน้ี และไม่ควรประเมินความคดิ
คิดค้นเพื่อแก้ปัญหายางพาราโดนน้�ำฝนเป็นเชื้อราให้กับ ของเขาวา่ ผดิ ถกู แตต่ อ้ งใหเ้ วลา จะทำ� ใหเ้ กดิ ความคดิ ขนั้ สงู
เกษตรกรสวนยาง และความคดิ นอกกรอบ คดิ สรา้ งสรรคไ์ ด”้ อ.โชตมิ นั ต์ คมใส
หลังการศึกษาค้นคว้าคิดหาพลังงานที่เหมาะสม ครูภาษาไทยเผยแนวทางที่ใช้ปฏิบัติ
ในการใหค้ วามรอ้ นแกแ่ ผน่ ยาง สรปุ เปน็ การใชพ้ ลงั งานจาก ผลงานจากความคิดยังคงยังประโยชน์ต่อยอดการ
๒ แหล่งเสริมกัน ส่วนแรกตู้อบแผ่นยางได้ความร้อนจาก เรียนรู้ ดังเช่น เขาพระวิหารจ�ำลองท่ีทุกวันน้ียังเป็นส่ือ
แสงแดด ทำ� งานเหมอื นสภาวะเรอื นกระจก คอื ใหค้ วามรอ้ น การสอนชั้นดีที่ใช้กระตุ้นความคิดและความสนใจใคร่รู้
ผ่านเขา้ ไปไดแ้ ต่ระบายออกไม่ได้ ต่อดว้ ยสว่ นที่สองตูบ้ รรจุ ให้เกิดกับนักเรียนรุ่นแล้วรุ่นเล่า โดยเฉพาะเม่ือเด็กๆ ไม่
ปุ๋ยคอกที่มีช่องระบายลมร้อนจากปุ๋ยคอกเข้าไปยังตู้อบ สามารถไปเรียนรู้จากสถานท่ีจริงได้เหมือนก่อนแม้จะอยู่
ชว่ ยเพม่ิ พลังงานความรอ้ นให้สูงขึ้นแมใ้ นยามไม่มีแสงแดด ใกลบ้ ้าน หลังจากเกดิ กรณขี ้อพพิ าท
เมอื่ นำ� มาใชจ้ รงิ กพ็ บวา่ สามารถลดระยะเวลาในการ “การเรยี นในวนั นท้ี �ำใหห้ นรู วู้ า่ เขาพระวหิ ารเกดิ จาก
ตากยางเหลือเพียง ๖ วัน จากปกติท่ีชาวสวนยางใช้เวลา การร่วมสร้างของเรากับประเทศเพื่อนบ้าน ท�ำให้คิดว่าแต่
๑๕ วนั กอ่ นเรายงั สามคั คกี นั สรา้ งได้ แลว้ ตอนนเี้ ราจะมาแตกแยกกนั
การฝึกทักษะการคิดผ่านโครงงานท�ำให้เด็กๆ ท�ำไม”
รักวิทยาศาสตร์ “เพราะวิทยาศาสตร์ท�ำให้ผมหาส่ิงใหม่ๆ การพัฒนาทักษะการคิดจึงไม่เพียงส่งผลต่อผล
ไดค้ รับ” การเรยี นทด่ี ขี นึ้ ดงั ตวั เลขคา่ ONET ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ จาก ๘.๐๕ เปน็
ไม่เฉพาะแต่การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ แต่ทุกสาระ ๘.๖๖ เมอ่ื การดำ� เนนิ โครงการผา่ นไป ๑ ปี หากแตก่ ารคดิ ได้
การเรียนรู้สามารถฝึกกระบวนการคิดได้ ไม่เว้นแม้วิชา คิดเปน็ ยังส่งผลใหป้ ัญหาสงั คมลดนอ้ ยถอยลงในระยะยาว
การงานพ้ืนฐานอาชีพ ที่ครูได้บูรณาการทักษะการคิดและ และครูกลุ่มหนึ่งได้ทุ่มเทพยายามให้เห็นแล้วว่าการพัฒนา
การท�ำโครงงานมาปรับใช้ ในโครงงานน�้ำพริกสมุนไพร ทกั ษะการคิดสามารถท�ำไดใ้ นเดก็ ทกุ คน
เพอ่ื สุขภาพ
เมอื่ ครูให้โจทย์นกั เรียนไปส�ำรวจสมนุ ไพรในทอ้ งถ่ิน
มาปรับสีสันของน้�ำพริก ปรุงให้เสริมสุขภาพ น�้ำพริกถ้วย
อร่อยหลายสูตรใหม่จากความช่างคิดประดิษฐ์จึงเกิดขึ้น
พร้อมกบั สูตรสูค่ วามสำ� เร็จของมืออาชพี ทเ่ี ดก็ ๆ ไดเ้ รยี นรู้
เชน่ เดยี วกบั วชิ าศลิ ปะ ผลงานปน้ั ทด่ี มู ชี วี ติ ชวี าพอๆ
กบั รอยยม้ิ ของประตมิ ากรวยั เยาว์ เกดิ ขน้ึ เมอื่ ครเู ปดิ พน้ื ทใ่ี ห้
เดก็ ไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานอยา่ งอสิ ระ พรอ้ มคำ� ชน่ื ชม “หนเู คย
วาดอะไรหลายๆ อยา่ งแลว้ มนั ไมค่ อ่ ยดี พอมาลองปน้ั แลว้ ครู
บอกวา่ หนูปนั้ สวย หนเู ลยชอบปน้ั ตัง้ แตน่ นั้ มา

ชั่วโมงฝกึ ทักษะการคิด เคล็ดลับความส�ำเร็จ
การตระหนกั ถงึ ปญั หา การแกไ้ ขทขี่ บั เคลอ่ื น
ในช่ัวโมงเรียนเรื่องทักษะความคิด การหาวิธีพับ ทั้งระบบ การเปิดใจกว้างยอมรับการเปล่ียนแปลง
กระดาษให้ร่อนได้ไกล ลากเส้นโดยไม่ยกมืออย่างไรให้ ใหค้ วามร่วมมือ ทุ่มเท ของครูแตล่ ะทา่ น
แบ่งพื้นที่บนหน้ากระดาษได้เท่าๆ กัน และอีกหลาก
หลายกิจกรรมฝึกคิดสนุกๆ ที่ครูเตรียมมาท้าทายความ
คิด ท�ำให้บรรยากาศการเรียนเต็มไปด้วยความสนุกสนาน
กระตือรือร้นในการเรียนรู้ กล้าคิด กล้าแสดงออก

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 43

การพฒั นาอัจฉริยภาพทางดา้ นคณิตศาสตรข์ องนกั เรยี น

โดยใชโ้ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad เป็นเครื่องช่วยในการเรียนรู้

โรงเรียนศรสี ำ�โรงชนูปถัมภ์ สุโขทยั

ค่�ำคืนนพี้ ระจนั ทรเ์ ต็มดวง พ่อกับแม่ชวนผมและน้องสาวไปเท่ยี วงาน “ลอยกระทงเผาเทยี น
เลน่ ไฟ” ด้วยกัน
จังหวัดสุโขทัยของเราถือได้ว่าเป็นดินแดนที่เป็นจุดก�ำเนิดของงานลอยกระทงก็ว่าได้ แม้ไม่มี
หลกั ฐานระบแุ นช่ ดั วา่ ประเพณลี อยกระทงเรมิ่ ตงั้ แตเ่ มอื่ ใด แตเ่ ชอ่ื วา่ ประเพณนี ไ้ี ดส้ บื ตอ่ กนั มายาวนาน
ต้ังแต่สมัยสุโขทยั คำ� ว่า “สุโขทยั ” มาจากสองค�ำ คือ “สขุ ” บวกกบั คำ� วา่ “อทุ ัย” หมายความวา่
“รุง่ อรณุ แห่งความสุข”

ผมภูมิใจที่ได้เกิดมาเป็นคนจังหวัดน้ี เพราะเช่ือว่า การแสดงศิลปวัฒนธรรมประเพณีของจังหวัดสุโขทัย และ
จังหวัดของเรามีคนเก่งมากมาย โดยเฉพาะเก่งในทาง การเล่นไฟ พลุตะไล ไฟพะเนียง และการแสดงผลิตภัณฑ์
คณิตศาสตร์ซึ่งเป็นวิชาที่ผมช่ืนชอบ เห็นได้จากการที่คน ของดีสโุ ขทยั
ยุคก่อนรู้จักการสร้างเขื่อนเก็บกักน�้ำไว้ใช้ในหน้าแล้งที่ ผมพยายามจดจำ� ภาพทกุ อยา่ งทเ่ี หน็ ในคำ�่ คนื นด้ี ว้ ยตา
เรยี กวา่ "ทำ� นบพระรว่ ง" ซง่ึ ถ้าไมม่ คี วามร้ทู างคณติ ศาสตร์ และด้วยความรู้สึกเพ่ือท่ีวันพรุ่งน้ีผมจะได้น�ำทุกอย่างที่
เลย ก็คงไม่สามารถสร้างเข่อื นได้ส�ำเรจ็ สัมผัสไปสร้างเป็นโครงงานคณิตศาสตร์ท่ีครูเปรมปรีด์
นอกจากนั้นคนยุคก่อนยังเก่งเรื่องท�ำมาค้าขาย ธรรมปรชี า ครคู ณิตศาสตรข์ องโรงเรยี นศรสี �ำโรงชนูปถมั ภ์
เพราะทีน่ ี่เป็นศูนย์กลางการค้าและการผลติ เครือ่ งถ้วยชาม ต้ังชื่อโครงการว่า “การพัฒนาอัจฉริยภาพทางด้าน
ท่เี รียกว่า "สังคโลก" และยังเปน็ ศนู ย์กลางการค้าสินค้าจาก คณติ ศาสตรข์ องนกั เรียน โดยใชโ้ ปรแกรม The Geom-
จนี เชน่ ถ้วยชามและผ้าไหมเพื่อขายในประเทศและส่งต่อ eter’s Sketchpad เป็นเคร่อื งช่วยในการเรยี นรู้”
ต่างประเทศด้วย ดังน้ันผมจึงขอสรุปแบบเข้าข้างตัวเองว่า ฟังช่ือโปรแกรมที่ว่าน้ีแล้วหลายคนอาจไม่รู้ว่าคือ
บรรพบรุ ษุ ของผมเกง่ คณติ ศาสตรข์ นั้ เทพเลยทเี ดยี ว จงึ ทำ� ให้ อะไร แต่ส�ำหรับผม น่ีคือการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่สนุก
บ้านเมืองในยุคน้นั รุ่งเรืองขนาดเป็นรุ่งอรณุ แหง่ ความสขุ ได้ ทส่ี ดุ เพราะผมจะทำ� ใหง้ านวนั ลอยกระทงในจนิ ตนาการของ
คืนนี้ ผมมองบรรยากาศของงานวันลอยกระทง ตวั เองกลายเปน็ ภาพเคลอ่ื นไหวทมี่ ชี วี ติ ชวี า โดยใชโ้ ปรแกรม
ด้วยความตั้งอกต้ังใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะกิจกรรมภายใน ทางคณิตศาสตร์มาเป็นตัวช่วย พรุ่งน้ีผมจะรีบตื่นแต่เช้า
งาน ท่ีมีทั้งกิจกรรมรับรุ่งอรุณแห่งความสุข การแสดงแสง เพ่ือไปจองท่ีนั่งที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แถวหน้าๆ
เสียง ขบวนแห่กระทงของหน่วยงานต่างๆ การประกวด เผ่ือสงสัยอะไรจะไดถ้ ามครูได้ถนัดถนีก่ วา่ ทุกครั้ง
กระทงและประกวดนางนพมาศ ขบวนแหโ่ คมชกั โคมแขวน

44 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้

รงุ่ อรุณของวชิ าคณติ ศาสตร์ไทย “ดา้ นนางเปรมปรดี ์ ธรรมปรีชา อาจารยส์ อนคณติ ศาสตร์
โรงเรียนศรีส�ำโรงชนูปถัมภ์ จังหวัดสุโขทัย กล่าวว่าการสอน
โรงเรียนศรีส�ำโรงชนปู ถัมภข์ องผม ผา่ นการประเมิน คณิตศาสตร์ในปัจจุบันกับอดีตแตกต่างกันมาก ตอนน้ีถ้าครูไม่น�ำ
จากโครงการ “หนง่ึ อำ� เภอ หนงึ่ โรงเรยี นในฝนั ” ใหเ้ ปน็ ศนู ย์ เทคโนโลยี หรือสรรหากิจกรรม เช่น โครงงาน หรือเกมมาช่วย
พฒั นาการเรยี นการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ในการเรียนการสอนเพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจ สนุก
นั่นหมายความว่าโรงเรียนของเราสามารถเป็นต้นแบบ ตนื่ เตน้ และมคี วามสขุ ในการเรยี นคณติ ศาสตรแ์ ลว้ เดก็ ไทยแทบจะ
ให้โรงเรียนอื่นๆ ในด้านคณิตศาสตร์ได้น่ันเอง เช้านี้ผม ไมส่ นใจการเรียนคณติ ศาสตร์และมองว่าเป็นวิชาที่น่าเบอื่ จงึ อยาก
ลองเข้าอินเทอร์เน็ต จึงได้รู้ว่าครูเปรมปรีด์ของผมเป็นครู ฝากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องให้จัดกิจกรรมอบรมความรู้ เทคนิคการ
คณติ ศาสตรท์ น่ี า่ ยกยอ่ ง แมค้ รจู ะถอ่ มตวั อยเู่ สมอวา่ เปน็ แค่ สอน กจิ กรรมต่างๆ ที่จะนำ� มาบูรณาการในการเรยี นการสอนใหแ้ ก่
“ครคู ณติ ศาสตรแ์ กๆ่ คนหนงึ่ ทอ่ี ยากเหน็ เดก็ ไทยสนกุ ในการ ครสู อนคณติ ศาสตรอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพราะถา้ ครคู ณติ ศาสตรย์ งั สอนรปู
เรยี นคณติ ศาสตร”์ แตผ่ มคดิ วา่ สงิ่ เลก็ ๆ ทค่ี รทู ำ� เพอ่ื พวกเรา แบบเดมิ ๆ อนาคตเดก็ ไทยจะท้ิงการเรยี นในหอ้ งเรียนและไปเรียน
ได้ขยายไปสู่ครูคนอ่ืนๆ ในสังคมด้วย เพราะที่ผ่านมามีครู กวดวชิ ามากกวา่ ที่เป็นอย่"ู
และนักเรียนจากหลายโรงเรียนมาอบรมการใช้โปรแกรม เห็นไหมล่ะครับว่าครูของผมมีวิสัยทัศน์ขนาดไหน
The Geometer’s Sketchpad หรือท่ีเรียกย่อๆ ว่า ว่าแต่เจ้าเทคโนโลยีที่เรียกว่าโปรแกรมจีเอสพีน้ี จะท�ำให้
จเี อสพี (GSP)กบั โรงเรยี นของเรา และบางครง้ั ครเู ปรมปรดี ์ เดก็ นกั เรยี นอยา่ งผมสนกุ กบั การเรยี นคณติ ศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งไร
กต็ อ้ งออกไปทำ� หนา้ ทว่ี ทิ ยากรขา้ งนอกดว้ ย ซงึ่ ขา่ วทผ่ี มอา่ น ลองไปเขา้ ห้องเรยี น เรยี นวิชาคณิตศาสตรก์ บั ผมเลยดีกวา่
ในอนิ เทอร์เนต็ วันน้ี เขียนวา่
เรียนคณติ ใหส้ นกุ ตอ้ งรู้จกั ใช้ความคิดสรา้ งสรรค์
“สวนสุนันทา ผนึก สสวท.อบรมครูคณิตศาสตร์ใช้
เทคโนโลยีช่วยการเรียนการสอน หวังกระตุ้นเด็กไทยรักวิชา ผมยงั จำ� วนั แรกทคี่ รเู ปรมปรดี บ์ อกวา่ จะนำ� โปรแกรม
คณติ ศาสตร์ เรยี นกวดวชิ านอ้ ยลง ดา้ นครสู อนคณติ ศาสตร์ ฝาก จีเอสพีมาสอนวชิ าคณิตศาสตรใ์ ห้พวกเรา ผมกับเพ่ือนๆ งง
หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องอบรมครูต่อเนอื่ งก่อนเด็กทง้ิ ห้องเรียน เป็นไก่ตาแตกว่ามันคืออะไร ไม่เข้าใจว่าท�ำไมเราต้องเรียน
“ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรองทอง ไคริรี ผู้อ�ำนวย วิชาคณิตศาสตร์ด้วยวิธีนี้ จนกระท่ังเม่ือฟังครูอธิบายแล้ว
การวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา(มร.สส.) ไดล้ งมอื ทำ� จงึ รวู้ า่ เรานา่ จะเรยี นคณติ ศาสตรแ์ บบนตี้ ง้ั นาน
เปิดเผยว่า เม่ือเร็วๆน้ี ทางมหาวิทยาลัย ได้ร่วมมือกับสถาบัน แล้ว ท่ีผ่านมาผมไม่เคยจินตนาการได้เลยว่าแคลคูลัสท่ีผม
สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.)จดั การประชมุ เรียนจะน�ำไปใช้งานได้อย่างไร แต่โปรแกรมน้ีท�ำให้ผมเห็น
นานาชาติ Asian Technology Conference In Mathematics ภาพทกุ อยา่ งชดั เจนข้ึน อย่างทคี่ รูบอกว่า
(ATCM) ๒๐๑๒ คร้ังที่ ๑๗ โดยมีผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัยด้าน “โปรแกรม Geometer’s Sketchpad (GSP) ได้
คณิตศาสตร์จาก ๒๘ ประเทศเข้าร่วม ซ่ึงในการประชุมดังกล่าว พัฒนามาจากส่วนหน่ึงของโครงการพัฒนาเรขาคณิตที่มอง
เป็นการน�ำเสนอผลงานวิจัยการใช้เทคโนโลยีทางคณิตศาสตร์ เหน็ ได้ (Visual Geometry Project) ของมลู นธิ วิ ทิ ยาศาสตร์
ผลงานสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ทางคณิตศาสตร์รูปแบบต่างๆ และ แห่งชาติ สหรัฐอเมริกา ในปี ๑๙๘๗ โดยนิโคลัส แจคคิว
มีการจัดอบรมการใช้โปรแกรมการเรียนการสอนด้านคณิตศาสตร์ (Nicholas Jackiw) จดุ เด่นของโปรแกรมน้จี งึ เปน็ สื่อท่ชี ว่ ย
โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ใหแ้ กค่ รคู ณติ ศาสตรข์ องไทยจากโรงเรยี นตา่ งๆ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถพฒั นาทกั ษะของการนกึ ภาพ (Visualiza-
๒๐๐ กว่าคน เพอ่ื เปน็ การพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนของครู tion) ซึ่งจะเปล่ียนวิชาคณิตศาสตร์จากนามธรรมให้กลาย
คณติ ศาสตร์ จดุ ประกายความคดิ ใหค้ รสู อนคณติ ศาสตร์ไดส้ รา้ งสรรค์ เป็นรูปธรรม ท�ำให้นักเรียนสามารถเข้าใจวิชาคณิตศาสตร์
รปู แบบ กจิ กรรมการเรยี นการสอนทเี่ หมาะสมกบั เดก็ ไทย ทำ� ใหเ้ ดก็ ได้มากขน้ึ โดยสามารถน�ำไปใชใ้ นวชิ าคณติ ศาสตรไ์ ดห้ ลาย
เรียนคณิตศาสตร์ไดด้ ีและมที ศั นคติในการเรียนคณติ ศาสตร์ที่ดีขึน้ วชิ า เชน่ วชิ าเรขาคณติ พีชคณติ ตรีโกณมติ ิ และแคลคูลสั
ซ่ึงวิชาเหล่าน้ีต้องอาศัยการนึกภาพเข้ามาช่วย ที่ส�ำคัญ
จีเอสพีเป็นส่ือเทคโนโลยีที่ช่วยให้นักเรียนมีโอกาสเรียน
คณติ ศาสตรโ์ ดยการสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง (Construc-
tivist Approach) และเป็นการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็น
สำ� คญั (Learner-Centered Learning) โดยสามารถบรู ณา

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ 45

การสาระท่ีเก่ียวข้องกับความรู้คณิตศาสตร์และทักษะด้าน สวา่ งไปทัว่ ท้ังงาน โดยใช้หลกั การเคลอื่ นท่ขี องจุด และการ
เทคโนโลยเี ขา้ ดว้ ยกนั ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นมโี อกาสพฒั นาพหปุ ญั ญา ยอ่ ขยายทางคณติ ศาสตรเ์ ขา้ มาช่วยในการคดิ ค�ำนวณ ส่วน
อนั ไดแ้ ก่ ปญั ญาทางภาษา ดา้ นตรรกศาสตร์ ดา้ นมติ สิ มั พนั ธ์ เพ่ือนๆ คนอ่ืนๆ ก็ท�ำเร่ืองท่ีน่าสนใจ เช่น บ้านประหยัด
และด้านศิลปะอีกดว้ ย” พลงั งาน หรอื เรอ่ื งแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั และทผ่ี า่ นมา
ในการเรียนคณิตศาสตร์วิธีนี้ นอกจากครูเปรมปรีด์ ผมได้ยินมาว่าเพ่ือนจากโรงเรียนที่จังหวัดอุดรธานีได้ใช้
จะให้ครูคณิตศาสตร์ท้ัง ๑๒ คนได้สร้างส่ือการสอนคนละ ความร้ขู องโปรแกรมจเี อสพีตอ่ ยอดความร้ทู างคณติ ศาสตร์
หนึ่งชิ้นแล้ว ครูยังให้นักเรียนท้ังหมด ๑๘๐ คนที่เรียนอยู่ เช่ือมโยงเข้ากับเรื่องศิลปะและภูมิปัญญาไทย โดยได้
ในระดบั ชน้ั ม.๑ - ม.๖ ทีม่ คี วามสนใจมาเรียนรโู้ ปรแกรมน้ี ออกแบบลายผ้าขิดใหม่ๆ กวา่ ๒๐ ลายอีกด้วย
โดยแบง่ เป็น ๓ กจิ กรรมคอื เพื่อนๆ ที่โรงเรียนของผมบอกว่าการเรียนรู้แบบน้ี
กิจกรรมที่ ๑ สนุกคิดกับคณิตด้วย GSP ครูก็จะ ทำ� ใหส้ นกุ กบั การเรยี นมากขน้ึ เวลาวา่ งทอ่ี ยบู่ า้ นกใ็ ชจ้ เี อสพี
สอนการสรา้ งรปู เรขาคณติ พนื้ ฐาน การสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหว สร้างรูปเรขาคณิตเล่นๆ เป็นงานอดิเรก หรือท�ำให้เรียนรู้
โปรแกรมนท้ี �ำให้ผมเห็นว่าถา้ วาดรูปวงกลมรปู หนึง่ วงกลม
วงนจ้ี ะมเี สน้ รอบวงเทา่ ไร มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางแคไ่ หน โดยท่ี เรื่องที่เราไม่เข้าใจได้ดีขึ้น อย่างเช่น กิจกรรมเร่ืองตะแกรง
ไม่ต้องน่ังแก้โจทย์คณิตศาสตร์ แต่สุดท้ายแล้วครูบอกว่า เอราทอสเทนสี ทำ� ใหไ้ ดเ้ รยี นรเู้ รอื่ งจำ� นวนเฉพาะ ไดร้ ทู้ ฤษฎี
พวกเรากต็ อ้ งฝกึ คดิ แกโ้ จทยอ์ ยดู่ ี เพยี งแตว่ ธิ กี ารเรยี นแบบน้ี และเหน็ ภาพการพสิ จู นท์ ฤษฎไี ดช้ ดั เจนขน้ึ ดกี วา่ การทอ่ งจำ�
จะช่วยให้เราเห็นภาพเท่านั้นเอง หลังจากน้ันครูก็ให้น�ำ อย่างเดียว อีกท้ังได้ลองสร้างภาพเคลื่อนไหวได้เองหลายๆ
ความรมู้ าสรา้ งผลงานเปน็ รปู เรขาคณติ สรา้ ง เชน่ ใบหนา้ คน แบบ เช่น ออกแบบรถเคลื่อนท่ีได้ โดยใช้ความรู้เร่ืองการ
จากเสน้ โคง้ เสน้ ตรง ทแี่ สดงอารมณต์ า่ งๆ แลว้ ปรน้ิ ตอ์ อกมา เล่ือนขนาน การเคล่ือนไหวไปตามเส้นตรง และเรขาคณิต
ตัดทำ� เป็นป๊อบอัพท่ีมองแล้วมีมิต ิ มาใชใ้ นการออกแบบ
กิจกรรมท่ี ๒ ปัญหาชวนคดิ ดว้ ย GSP กิจกรรมนี้ เทอมนี้ผลการเรียนคณิตศาสตร์ของพวกเราดีข้ึน
เริ่มยากข้นึ มาอีกนดิ หนง่ึ ครูจะให้เราคิดสถานการณ์ปญั หา อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั และมนี อ้ ยคนทอ่ี ยากไปเรยี นพเิ ศษ สว่ นใหญ่
ขน้ึ มาแลว้ แกโ้ จทยด์ ว้ ยโปรแกรมจเี อสพี เชน่ มลี วดเสน้ หนงึ่ เราจะนั่งติวกันเองโดยใช้โปรแกรมจีเอสพีเป็นส่ือในการ
ยาว ๒๐ เมตร ตอ้ งการล้อมรัว้ เปน็ รูปส่เี หลี่มจตรุ ัส และรปู เรยี นรู้
สามเหลี่ยมด้านเท่า อยากทราบว่าต้องใช้ลวดยาวเท่าใด สดุ ทา้ ยคงตอ้ งขอบคณุ ครคู ณติ ศาสตรท์ ง้ั หลายทข่ี ยนั
จงึ จะไดร้ ปู สเ่ี หลยี่ มจตรุ สั และรปู สามเหลย่ี มดา้ นเทา่ ทม่ี พี นื้ ท่ี น�ำเทคโนโลยดีๆ มาแนะน�ำพวกเรา และขอบคุณผู้คิดค้น
เท่ากนั พวกเรากใ็ ช้โปรแกรมจเี อสพีสรา้ งภาพขึ้นมา ซงึ่ จะ เทคโนโลยีน้ีท่ีท�ำให้เด็กไทยอย่างผมรักคณิตศาสตร์แบบ
ท�ำใหเ้ ราได้ค�ำตอบทีต่ ้องการ สมคั รใจ โดยไมต่ อ้ งมใี ครมาบงั คบั ขเู่ ขญ็ ใหเ้ รยี นอกี ตอ่ ไปครบั
ส่วนกิจกรรมท่ี ๓ คณิตศาสตร์สร้างสรรค์ด้วย
GSP นคี่ ือกิจกรรมท่ีผมจะสรา้ งสรรคผ์ ลงานวนั ลอยกระทง เคลด็ ลบั ความส�ำเร็จ
ด้วยโปรแกรมน้ี โดยจะสร้างภาพท่ีมีพลวัตหรือมีความ ความต้ังใจของครูผู้ริเริ่ม ท่ีท�ำงานด้วย
เคล่อื นไหวแบบแอนิเมชนั (animation) เชน่ ท�ำให้กระทง ความตั้งใจและอุตสาหะ นอกจากจะน�ำความรู้น้ี
ลอยไปในน้�ำ ให้พระอาทิตย์ค่อยๆ เคลื่อนลับขอบฟ้า ให้ มาสู่โรงเรียนของตนเองแล้ว ยังขยายความรู้ไปยัง
กลีบดอกไมค้ ่อยๆ บาน ให้พลุค่อยๆ ถูกจุดข้นึ ฟา้ สอ่ งแสง โรงเรยี นอน่ื ๆ อกี ดว้ ย รวมถงึ ยงั กระตอื รอื รน้ เสาะหา
โครงการใหมๆ่ วธิ กี ารเรยี นใหมๆ่ มาพฒั นานกั เรยี น
อย่เู สมอ

46 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

ลกู อยธุ ยาค้นหา unseen ในจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

โรงเรียนอยธุ ยาวทิ ยาลยั พระนครศรอี ยธุ ยา

“อยธุ ยาเมืองเก่าของเราแตก่ อ่ น จิตใจอาวรณม์ าเลา่ สกู่ นั ฟงั
อยุธยาแต่กอ่ นนยี้ งั เปน็ ดงั เมืองก้องของพ่นี ้องเผ่าพงศ์ไทย”
เพลงอยุธยาเมืองเก่า ทีแ่ ตง่ ค�ำรอ้ ง – ท�ำนองโดย สุรนิ ทร์ ปิยานันท์ ดังข้ึนในใจทันทีท่ีได้
เดนิ ทางมาถึงเมืองราชธานีเกา่ แหง่ นี้ หนงั สนั้ ฝีมือเดก็ ๆ โรงเรยี นอยธุ ยาวทิ ยาลยั ที่เผยแพร่ผา่ น
ทางยูทูบทันทีท่ีพมิ พ์ว่า ลกู อยุธยาคน้ หา unseen ดงึ ดดู ให้ฉันเดนิ ทางมาที่น่ี

ความภาคภูมิทคี่ วรค่าแก่การเผยแพร่ ดว้ ยประสบการณข์ องงานในหนา้ ทท่ี ต่ี อ้ งทำ� วดี ทิ ศั น์
แนะน�ำโรงเรียน ต้องศึกษาข้อมูลของโรงเรียนและจังหวัด
“โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย สถานท่ีผลิตมหาบุรุษ พระนครศรีอยุธยาในเรื่องต่าง ๆ ท�ำให้อาจารย์รัชนา
และรัฐบุรุษให้แก่ประเทศชาติตลอดมา อาทิ สมเด็จพระ แสงเปลง่ ปลง่ั และอาจารยใ์ นฝา่ ยคอมพวิ เตอรอ์ กี หลายทา่ น
สังฆราชองค์ท่ี ๑๘ (วาสนมหาเถระ) นายปรีดี พนมยงค์ พบว่าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมืองหลวงเก่าสมัย
นายกรฐั มนตรคี นที่ ๗ หลวงธำ� รงนาวาสวสั ดิ์ นายกรฐั มนตรี กรุงศรีอยุธยา มีอายุถึง ๔๑๗ ปี มีพระมหากษัตริย์ ๓๓
คนท่ี ๘ พระองค์ ทย่ี ังมีซากปรักหักพงั ของอฐิ เกา่ เจดีย์เกา่ วัดเก่า
ตัง้ แตป่ ี ร.ศ.๑๒๗ นกั เรียนของโรงเรยี นน้ีตอ้ งไปถอื มีเร่ืองราวมากมายที่บอกต่อ ๆ กันมา ท้ังท่ีมีการบันทึกไว้
นำ้� พระพพิ ฒั นส์ ตั ยา แมจ้ ะหยดุ เสยี ในภายหลงั กย็ อ่ มแสดง เป็นหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ และบางส่วนทไ่ี มไ่ ดบ้ นั ทกึ
ถงึ ฐานะของโรงเรียนเปน็ อยา่ งดี แมส้ ถานทต่ี ัง้ ของโรงเรียน เป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์
ในปัจจุบันก็ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จ สร้างความห่วงใยว่าเม่ือนานวันไปถ้าไม่มีการพูดถึง
พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลท่ี ๘ พระราชทาน สง่ิ ดีงาม ส่งิ มหศั จรรย์ และภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านท่ีปู่ยา่ ตายาย
พระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ ในการจดั สรา้ ง“ ได้สร้างและสืบทอดต่อกันมา ก็จะถูกลืมเลือนไปพร้อมกับ
คอื เนอื้ หาสาระบางสว่ นทถ่ี า่ ยทอดผา่ นวดี ทิ ศั นแ์ นะนำ� ความรู้ ความรสู้ ึกผูกพนั ความรกั ในท้องถิ่น
โรงเรยี น ทสี่ รา้ งความภาคภมู ิใจใหแ้ ก่ลกู ขาว-แดงทกุ คน

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 47

ในเม่ือครูและนักเรียนโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย “เปดิ โอกาสให้เขาคดิ และให้เขาทำ� ”
ซ่ึงอยู่ในส่ิงแวดล้อมของโรงเรียนท่ีประวัติความเป็นมาที่ “การท�ำงานรว่ มกันคอื การแลกเปลยี่ นความคิดเหน็
ยาวนานและทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ มีประสบการณ์ และลงมติ ไม่ใช่เด็กรอฟังค�ำส่ังจากครู เป็นการเปิด
เดิมด้านคอมพิวเตอร์และการถ่ายท�ำวีดิทัศน์เป็นทุน กระบวนการคิดใหเ้ ขาเร่ิมตน้ ”
ซำ้� ยงั มี สสค.รว่ มใหก้ ารสนบั สนนุ ทนุ ดำ� เนนิ การ จงึ พรอ้ มใจ ครูที่ปรกึ ษาแต่ละอ�ำเภอบอกถงึ บทบาทท่ีจะช่วยให้
กันจัดท�ำโครงการลูกอยุธยาค้นหา unseen ในจังหวัด เด็กเกิดทกั ษะการคิด
พระนครศรีอยุธยา เพ่ือให้เยาวชนรุ่นหลังได้ค้นหา ศึกษา ครง้ั แรกนกั เรยี นและคณุ ครจู ะคน้ หาทางอนิ เทอรเ์ นต็
สร้างประสบการณ์ในการท�ำงาน การสืบค้น แยกแยะ และหนงั สือ เพ่อื ช่วยกนั คน้ หา unseen ของแต่ละอ�ำเภอ
การเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์ และยังเป็นส่วนหน่ึงของการ โดยมีโจทย์ว่า unseen ไม่ไดห้ มายถึงแค่เพยี งโบราณสถาน
เผยแพร่ unseen ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงมี เท่าน้ัน แต่หมายรวมถึงวิถีชีวิต ชุมชน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ทงั้ หมด ๑๖ อำ� เภอใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั เกดิ ความรกั และภาคภมู ใิ จ ส่งิ มหศั จรรยใ์ นแตล่ ะพน้ื ที่ท่ีนกั เรยี นลงไปศกึ ษา
ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อสืบเสาะค้นลึกลงไปก็ยิ่งต่ืนเต้นกับข้อมูลใหม่
ทห่ี ลายคนไม่เคยรู้มาก่อนท้ังทเ่ี ปน็ คนอยธุ ยา
กอ่ นเดินกลอ้ ง “ผมไดค้ น้ พบวา่ สมเดจ็ พระพุทธาจารย์โต ทา่ นเปน็
เบ้ืองหลงั ทีเ่ กี่ยวข้องกับการเลิกทาสครับ”
โครงการลกู อยธุ ยาคน้ หา unseen นวตั กรรมสรา้ งคน ยิ่งเม่ือได้ลงพื้นท่ีจริงเพ่ือส�ำรวจและวางแผนก่อน
ด้วยหนังส้ัน เริ่มข้ึนด้วยการเปิดค่ายเชิญผู้ก�ำกับระดับชาติ ท่ีจะกลับไปถ่ายท�ำจริงอีกครั้ง แต่ละกลุ่มก็พบว่ามีเนื้อหา
มาช่วยสร้างแรงบันดาลใจ ติดอาวุธให้พร้อมลงพ้ืนท่ีด้วย ทน่ี า่ สนใจเตม็ ไปหมด จะจดั การกบั ขอ้ มลู ทน่ี า่ สนใจแบบนไี้ ด้
การเรียนรู้ทั้งการเขียนบท เขียนสตอร่ีบอร์ด และมีคุณครู เด็กๆ ต้องพูดคุยระดมสมอง เอาข้อมูลทั้งหมดมากองรวม
ชว่ ยสอนการตัดตอ่ งานนีม้ ีลกู ขาว-แดง กว่า ๘๐ คน สนใจ ถกคิด กลั่นกรอง จับประเด็นในการน�ำเสนอจนชัด แล้ว
และสนุกกับการใช้เครื่องมือร่วมสมัยมาช่วยสืบค้นคุณค่า ค่อยๆ แปลความคิดซับซ้อนออกมาเป็นภาพ ในท่ีสุดก็ได้
ความงามในพนื้ ทข่ี องตน สตอร่ีบอร์ด และโครงบทท่ีมีลำ� ดบั การเล่าเรื่องชดั เจน
ก่อนลงพื้นที่จริง นักเรียนจะจับกลุ่มกันตามอ�ำเภอ ทง้ั หมดนตี้ ้องใช้เทคนิคการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์
บ้านเกิดของตัวเอง หรือตามความสนใจ กลุ่มละประมาณ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ก่อนจะน�ำมาสู่การคิด
๕- ๖ คน มีครทู ป่ี รกึ ษาประจ�ำอ�ำเภอ วางแผนการถา่ ยท�ำต่อไป
“หนา้ ทขี่ องครทู ป่ี รกึ ษาแตล่ ะอำ� เภอคอื อำ� นวยความ
สะดวกให้เขา”

48 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

“ถ้าเผ่ือเอาทั้งหมดเลยเน่ีย มันจะน่าเบ่ือเพราะใช้ สว่ นไหนบ้าง ถือเป็นการแลกเปล่ียนเรยี นร้แู ละประเมนิ ผล
เวลานาน เพราะฉะนั้นเราจะเลือกในสิ่งที่เป็น unseen เชิงบวกท่ีช่วยให้เด็กๆ ไม่สูญเสียความภาคภูมิใจได้
ท่สี ดุ น่ะค่ะ อยา่ งของอ�ำเภอทา่ เรือก็จะเปน็ วัดสะตอื คะ่ ” เป็นอย่างดี
“หัวใจหลักของการท�ำสตอรี่บอร์ดคือจินตนาการ
เราต้องวาดภาพในหัวก่อนว่าอยากให้ภาพออกมาเป็น เบือ้ งหลังการถา่ ยท�ำ
อยา่ งไร แลว้ คอ่ ยวาดออกมาเป็นภาพใหเ้ หน็ เปน็ รูปธรรม”
เดก็ ๆ บอกถงึ ทักษะการคิดทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการท�ำงาน พรอ้ มกบั การตดั ตอ่ หนงั สนั้ บางคนเขยี นสารคดีบางคน
น่ังท�ำแผ่นพับ ตามแต่ความถนัดของแต่ละคน จึงเกิดเป็น
เม่ือเดก็ ๆ เปน็ ตวั เอก หนังส้ัน แผ่นพับ สารคดีบอกเล่าประสบการณ์การค้นหา
unseen ของแตล่ ะอำ� เภอ ปรากฏเป็นผลงานอยเู่ บ้ืองหน้า
เมอื่ ถงึ วนั ถา่ ยทำ� จรงิ คณุ ครแู ละเดก็ ๆ กพ็ รอ้ มปฏบิ ตั ิ สว่ นเบอื้ งหลงั คอื การทโี่ ครงการชวนเดก็ ๆ ใหต้ ง้ั โจทย์
การตามแผน เวทนี เี้ ดก็ ๆ ทำ� หนา้ ทหี่ ลกั คอื ถา่ ยทอด สอ่ื สาร เสาะสบื คน้ ตลอดจนลงพนื้ ทป่ี ระวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ ดว้ ยการ
จดั การความรู้ แกป้ ญั หาสถานการณส์ ดใหมเ่ ฉพาะหนา้ โดย เอาตัวเอาใจเข้าไปสัมผัสสัมพันธ์ จึงได้รู้รากเหง้าที่มาของ
มคี ุณครูเปน็ พ่ีเลีย้ งท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ ผเู้ อ้ืออ�ำนวยอยเู่ บื้องหลัง ทง้ั ชุมชนและตนเอง มองเหน็ คุณคา่ ความงามทีอ่ ยู่เบื้องลึก
โค้งสุดท้ายของการท�ำหนังส้ัน เด็กๆ ต้องใช้ทักษะ เบอ้ื งหลงั บรรพบรุ ษุ อนั เปน็ ฐานรากงดงามของชวี ติ พรอ้ มๆ
การตัดต่อที่ได้เรียนรู้มาเพื่อน�ำเสนอออกมาให้น่าสนใจ ไปกบั กระบวนการคิดทเ่ี ติบโตงอกงามอย่างเปน็ ระบบ
จัดวางภาพและเสียง ใส่จังหวะลูกเล่น เพื่อให้หนังออกมา
สนุกที่สุด น่ีคืองานปลดปล่อยความคิดสร้างสรรค์ท่ีคุณครู เคลด็ ลับความส�ำเร็จ
เปดิ พื้นทีใ่ ห้เดก็ ๆ ไดแ้ สดงฝมี ือกันอย่างเต็มท่ี ผู้บริหารส่งเสริมและร่วมแก้ปัญหา ครูเปิด
และแล้วก็ถึงขั้นตอนของการน�ำเสนอ ที่เริ่มด้วย พื้นท่ีเป็นผู้เอ้ืออ�ำนวยแทนการบอกส่ัง ทุกคนให้
บรรยากาศผอ่ นคลายจากกจิ กรรมนนั ทนาการ สานสมั พนั ธ์ ความร่วมมือเสมอื นหนงึ่ เป็นครอบครัวเดียวกัน
กอ่ นจะเปดิ หนงั สน้ั ๑๖ อำ� เภอจากฝมี อื นกั เรยี น เมอ่ื แตล่ ะคน
ได้ชมผลงานของเพื่อนต่างกลุ่มก็จะสามารถประเมินได้ว่า
ผลงานของกลุ่มตนเองเป็นอย่างไร ควรท่ีจะปรับปรุงแก้ไข

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 49


Click to View FlipBook Version