The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kritsahna Suwan, 2019-07-30 10:55:44

นวัตกรรม

นวัตกรรม

50 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

โครงการเดน่ ดา้ น ชสวี ง่ ิตเสรมิ ทกั ษะ

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 51

โรงเรยี นต้นแบบศนู ย์เรยี นร้สู ง่ิ แวดล้อมเฉลมิ พระเกียรติ

โรงเรียนกดุ บากพฒั นาศกึ ษา สกลนคร

หลังเก็บเก่ียวข้าวท่ีปลูกไว้ในแปลงนา ร่วมใจกัน “ลงแขกเก่ียวข้าว” พวกเราช่วยกันท�ำงาน
ของโรงเรียนกุดบากพัฒนาศึกษา จังหวัด โดยไมม่ ใี ครเกย่ี งงอน ทน่ี ีเ่ รายังใช้เคยี วเกยี่ วขา้ ว ไมไ่ ดใ้ ชร้ ถ
สกลนคร ซึ่งมอี ยทู่ ง้ั หมดประมาณ ๖ ไร่ ทั้งครู ตดั ขา้ วเหมอื นทอี่ น่ื ๆหลงั จากท�ำบญุ คณู ลานเสรจ็ เรากจ็ ะนำ�
นักเรียน ชาวบ้านบริเวณใกล้เคียง ก็ได้ฤกษ์ ขา้ วทเี่ กยี่ วไวแ้ ลว้ มานวดมาตี ปนี เ้ี ราไดข้ า้ วนอ้ ยแค่ ๓๐๐ ถงั
“ท�ำบุญคูณลาน” ประเพณีดั้งเดิมของ เพราะค่อนข้างแลง้ ข้าวจึงออกรวงไดไ้ มส่ มบูรณ์
ชาวอสี านเพ่ือรับขวัญขา้ วดว้ ยกัน เด็กนักเรียนที่น่ีจะรอคอยวันท�ำบุญคูณลานเป็น
พิเศษ เพราะเป็นเหมือนวันที่พวกเขาได้สนุกสนานร่วมกัน
“คณู ”หมายความวา่ เพมิ่ เขา้ หรอื ทำ� ใหม้ ากขนึ้ สว่ น ความจริงพวกเขามีความสุขกับทุกขั้นตอนในการท�ำนาท้ัง
ค�ำว่า “ลาน” คือสถานที่ส�ำหรับนวดข้าว การน�ำข้าวท่ี การไถนา ตกกล้า ด�ำนา เก่ียวข้าว เพราะส่วนใหญ่ก็เป็น
นวดแลว้ กองขนึ้ ใหส้ งู เรยี กวา่ “คณู ลาน” ในพธิ ที ำ� บญุ คณู ลาน ลูกชาวนา จึงรู้จักการท�ำนาอยู่แล้ว เม่ือได้มาท�ำงานร่วม
จะนิมนต์พระสงฆ์มาสวดมนต์เพ่ือเป็นมงคลแก่ข้าวเปลือก กับเพ่ือนๆ ก็ย่ิงเพลิดเพลิน ผมยังจ�ำได้ว่านักเรียนบางคน
เรียกว่า “สู่ขวัญลานข้าว” คนอีสานอย่างพวกเราเห็น น�ำควายที่บ้านมาช่วยไถนาด้วย ซึ่งท�ำให้เพ่ือนนักเรียน
คุณค่าและให้ความส�ำคัญแก่ไร่นา เพราะเป็นแหล่งท�ำมา คนอ่ืนๆ ได้เห็นวิธีการท�ำนาในสมัยก่อนท่ียังไม่มีรถไถนา
หากนิ ท่สี �ำคัญ เหมอื นในปจั จบุ ัน
ที่ผ่านมาทางโรงเรียนได้มอบหมายให้นักเรียนในช้ัน การท�ำบุญคูณลาน หากมองอย่างผิวเผินก็เป็นแค่
มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ดูแลแปลงนากนั คนละ ๑ ไร่ โดยลงมือ พิธีกรรมอย่างหนึ่ง แต่หากมองอย่างลึกซึ้งจะเห็นได้ว่า
ท�ำนาปลูกข้าวในช่วงต้นเดือนกรกฎาคม เพราะเป็นช่วงท่ี นี่คือกิจกรรมท่ีสะท้อนให้เห็นถึงปลูกจิตส�ำนึกในการ
มีฝนมีน้ำ� หรอื บางปถี า้ ฝนมาชา้ เราก็ปลูกวันพ่อเก่ยี ววนั แม่ อนุรักษ์ธรรมชาติ การเห็นคุณค่าของพืชพันธุ์ธัญญาหารท่ี
ผม (ครูทองคำ� วรสาร) ยงั จ�ำได้ดีถึงใบหน้าย้มิ แยม้ หล่อเลี้ยงชีวิต การรู้จักร่วมแรงร่วมใจท�ำงานด้วยความ
แจ่มใสของเด็กๆ ทั้งโรงเรียน และชาวบ้านที่มาร่วมแรง สามัคคี โดยเฉพาะนักเรียน ผมคิดว่าพวกเขาได้ทักษะ
ชีวิตในการประกอบอาชีพตามวิถีของชุมชนท้องถ่ิน รู้จัก
รกั ถนิ่ ฐานบา้ นเกดิ และรกั อาชพี การเกษตร แตน่ อกจากการ
ท�ำนาแล้ว โรงเรยี นของผมก็ยังมกี ิจกรรมอืน่ ๆ อกี มากมาย
ที่ท�ำให้ “คน” กับ “ส่งิ แวดล้อม” ได้องิ อาศยั กันอย่างผสม
กลมกลืน โดยคนอาศัยธรรมชาติในการมีชีวิตรอด ส่วน
ธรรมชาติก็ต้องการการเอาใจใส่ดูแล บ�ำรุงรักษาจากคน
ท่ีอยอู่ าศยั ดว้ ยเช่นเดียวกนั

โรงเรียนต้นแบบ วถิ ชี ีวิตพอเพยี ง

โรงเรยี นของผมตัง้ อยใู่ นชุมชนเกษตร ทีม่ ีทัง้ ปราชญ์
ชาวบา้ นและองคก์ รตา่ งๆ ที่คอยใหก้ ารสนบั สนุนใหค้ วามรู้
ในการพัฒนาการเกษตรและการใช้ชีวิตแบบพอเพียง
ท่ีผ่านมาผมเคยไปศึกษาดูงานที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนา

52 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

ภพู านโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ จงั หวดั สกลนคร อยา่ งแท้จริง หรือบางหนว่ ยงานกส็ ามารถน�ำไปต่อยอดได้
เพราะอยากพัฒนาโรงเรียนของเราให้เป็นศูนย์ต้นแบบ เมื่อได้ประชุมวางแผนการท�ำงานแล้ว เราก็จัด
ในการศึกษาเรียนรู้การใช้ชีวิตแบบพอเพียง ดังน้ันในปี กจิ กรรมของโครงการเพอื่ มงุ่ เนน้ การเรยี นการสอนดา้ นการ
๒๕๔๗ –๒๕๔๘ เราจงึ ดำ� เนนิ โครงการโรงเรยี นสร้างสรรค์ อนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มและฝกึ ทกั ษะชวี ติ ในการประกอบอาชพี
สิ่งแวดล้อมดีเด่น เฉลิมพระเกียรติ และได้รับการคัดเลือก ที่เน้นหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่นักเรียน โดย
จากกลุ่มบริษัทฮอนด้าประเทศไทยให้เป็นโรงเรียนต้นแบบ แบ่งออกเป็น ๔ ฐานการเรียนรู้ คอื หนง่ึ ฐานเรียนร้เู กษตร
ด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม รวมถึงในปี ๒๕๕๑ เราได้รับ ผสมผสาน สอง ฐานเรียนรู้ด้านพลังงาน สาม ฐานเรียนรู้
การคัดเลือกจากส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภูมิภาคที่ ๙ ให้เป็น ด้านการจัดการขยะ และส่ี ฐานเรียนรู้การจัดการน�้ำและ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ส่วนในปี ๒๕๕๔ กลุ่ม การสง่ เสรมิ สขุ ภาพนกั เรยี น ซง่ึ แตล่ ะฐานจะมคี ณุ ครู ๑ ทา่ น
บริษัทฮอนด้าประเทศไทยก็สนับสนุนให้โรงเรียนกุดบาก รับผิดชอบดูแล และมีปราชญ์ชาวบ้านเป็นวิทยากรให้
พฒั นาจดั ตั้ง “ศูนยเ์ รียนรู้สง่ิ แวดล้อมเฉลมิ พระเกียรติ” ขึน้ ค�ำแนะน�ำ รวมถึงในแต่ละฐานการเรียนรู้เราได้สร้างเป็น
เพอื่ พฒั นาโรงเรยี นเปน็ ตน้ แบบและพเี่ ลย้ี งในการดำ� เนนิ งาน “ศาลาศูนย์เรียนรู้” เพ่ือเป็นสถานที่ท่ีมีความถาวรและ
ดา้ นสงิ่ แวดล้อม สะดวกในการศึกษาเรยี นรู้
แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม การไดร้ บั การสนบั สนนุ ในดา้ นตา่ งๆ
จากภายนอกยงั ไม่สามารถสร้างแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีย่งั ยนื เพราะ โรงเรียนเกษตรพอเพียงที่มจี ุดเด่นของตวั เอง
เม่ือจัดโครงการนั้นๆ ไปแล้ว เราก็ไม่ได้มีการสานต่ออย่าง
ต่อเนื่อง ดังนน้ั ผมคดิ วา่ ท้ังโรงเรยี น ชุมชน ครูและนกั เรยี น โรงเรียนของเรามีพื้นที่ ๑๑๙ ไร่ มีเด็กนักเรียน
ต้องร่วมแรงร่วมใจกันสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเองเพ่ือให้ ๑,๓๓๕ คน เราแบ่งพื้นท่ีเป็นฐานเรียนรู้ประมาณ ๒๔ ไร่
โครงการดๆี ไดร้ บั การสบื ทอดจากรนุ่ สรู่ นุ่ ตอ่ ไป จงึ เปน็ ทมี่ า ถ้าใครมาศึกษาดูงาน เราก็จะมีเด็กๆ ในโรงเรียนคอยเป็น
ใหพ้ วกเราขอความสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณจากสำ� นกั งาน ไกด์พาเยีย่ มชมส่วนต่างๆ คอื
ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน(สสค.) ฐานเรยี นรเู้ กษตรผสมผสาน ปลกู พชื เชน่ ขา้ ว ผลไม้
ในการจัดท�ำโครงการ “โรงเรียนต้นแบบศูนย์เรียนรู้ ตา่ งๆ ซึง่ เราใหน้ กั เรียนช้นั ม.๔ ปลกู มะพร้าวน้�ำหอมคนละ
สิ่งแวดล้อมเฉลิมพระเกียรติ” ซ่ึงท่ีสุดเราก็แปลง หนง่ึ ตน้ และดแู ลรกั ษาจนจบการศกึ ษา สว่ นนกั เรยี นชน้ั ม.๑
องค์ความรู้ท่ีได้น้ันมาเป็นหลักสูตรการเรียนการสอน เราใหป้ ลกู มะไฟ พทุ รา หมากเมา่ ลำ� ไย และชมพู่ นอกจากนน้ั
ทอ้ งถน่ิ ทใ่ี หน้ กั เรยี นตง้ั แตช่ นั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖ ไดเ้ รยี นรู้ เราก็ยงั ปลูกผกั สวนครัว กลว้ ย ไผเ่ ล้ยี ง หญ้าแฝก รวมถึงมี
และฝกึ ปฏิบตั ิท้ังหมด ๔ ฐานการเรียนรู้ การเพาะพันธุ์ไม้พื้นเมืองปลูกเป็นป่าในโรงเรียน อย่างเช่น
ขอ่ ยนา ตน้ บาก สม้ ปอ่ ย ซงึ่ เปน็ ตน้ ไมท้ อี่ ยตู่ ามหวั ไรป่ ลายนา
ปราชญ์ โรงเรยี น ชมุ ชน องคก์ ร ท�ำงานประสานกนั มสี รรพคณุ เปน็ ยาและมคี วามสวยงาม แตช่ าวบา้ นมกั จะขดุ
ทง้ิ เมอ่ื มกี ารปรบั พน้ื ทที่ ำ� การเกษตร ทางโรงเรยี นไดพ้ ยายาม
เมื่อเริ่มท�ำโครงการนี้ ส่ิงท่ีเราให้ความส�ำคัญเป็น รวบรวมนำ� มาปลกู เพอ่ื อนรุ กั ษแ์ ละนำ� มาจดั แตง่ ภมู ทิ ศั นข์ อง
ล�ำดับแรก คือ การประชุมวางแผนร่วมกันระหว่างครู โรงเรยี นใหส้ วยงาม ซ่งึ ปจั จบุ นั มอี ยู่กว่า ๓๐๐ ต้น
ปราชญช์ าวบา้ น ผู้ปกครอง นักเรยี น รวมถึงเชิญหน่วยงาน รวมถึงมกี ารเลย้ี งสตั วท์ มี่ ที งั้ ปลา กบ หมูป่า ไก่ เปด็
ต่างๆ มาให้ค�ำแนะน�ำ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร โดยเฉพาะหมูน้ัน เราได้อนุรักษ์พันธุ์หมูป่าและหมูพันธุ์
ฟาร์มตัวอย่างหนองหมากเฒ่า ตามพระราชด�ำริสมเด็จ พนื้ บา้ น (หมกู ้)ี ซึง่ นอกจากจะเล้ียงไวข้ ายแล้ว ยงั สามารถ
พระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ใชแ้ รงงานของหมใู นการปราบวชั พชื อยา่ งหญา้ คา และหญา้
ภูพานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ศูนย์อินแปง แหว้ หมไู ดอ้ กี ดว้ ย สว่ นคอกหมเู กา่ เรากน็ ำ� มาปลกู ผกั สวนครวั
ปศุสัตว์ เกษตรอ�ำเภอ อุทยานแห่งชาติภูพาน ไร่นาสวน ได้เป็นอย่างดี ท่ีส�ำคัญกิจกรรมน้ียังสามารถขยายผลไปสู่
ผสมนาแมพ่ ิมพ์ โถตันคำ� รวมถงึ โรงพยาบาล ศูนย์อนามัย ชมุ ชนและโรงเรยี นอ่นื ๆ เชน่ โรงเรียนบา้ นกดุ แฮด โรงเรยี น
เพราะเราเห็นว่าโครงการท่ีเราท�ำข้ึนมีความเก่ียวข้อง วาริชวิทยา ในอนาคตเรามีโครงการจะมอบหมูแก่นักเรียน
สัมพันธ์กับทุกภาคส่วน ดังน้ันหากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้ ผู้ดูแลไปเล้ียงต่อท่ีบ้านอีกด้วย นอกจากน้ันในส่วนของ
ท�ำงานประสานกัน ท้ังให้ค�ำแนะน�ำและแลกเปล่ียนเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้เกษตรผสมผสานก็ยังมีการผลิตปุ๋ยชีวภาพ
กจ็ ะทำ� ให้เห็นคณุ ค่า เกิดความร่วมแรงรว่ มใจในการทำ� งาน การผลิตอาหารสัตว์ เช่น อาหารปลา อาหารกบ และมี

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้ 53

การแปรรูปผลผลิต เช่น ข้าวกล้อง ผลิตภัณฑ์จากกล้วย สกลนคร จัดกจิ กรรมบวชปา่ (การน�ำจีวรมาพนั รอบต้นไม้
และเสื่อกก เปน็ กศุ โลบายไมใ่ หม้ กี ารตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ ) ปลกู ปา่ และเดนิ ปา่
ผลติ ผลในฐานนี้ นอกจากเราจะนำ� เงนิ ทไ่ี ดม้ าใชจ้ า่ ย ศึกษาธรรมชาติ เน่ืองจากป่าชุมชนบ้านกุดแฮดเป็นต้นน้�ำ
หมนุ เวยี น เช่นซ้ืออาหารสตั วแ์ ลว้ เรายังนำ� ไปใช้ในกิจกรรม ท่ีส�ำคัญ มีพ้ืนที่อยู่บนเทือกขาภูพานประมาณ ๕,๐๐๐ ไร่
ต่างๆ เช่น น�ำผัก ปลาต่างๆ ไปเป็นอาหารในกิจกรรม แต่ประสบกับปัญหาการลักลอบตัดไม้ และเกิดไฟป่า
เขา้ คา่ ยลกู เสอื หรอื ประชมุ ผปู้ กครอง รวมถงึ เราไดเ้ ปดิ ตลาดนดั ในหนา้ แลง้ ทส่ี ำ� คญั ประชาชนยงั ขาดจติ สำ� นกึ ในการอนรุ กั ษ์
ตอนเย็นหลังเลิกเรียนเพ่ือให้นักเรียนน�ำผลผลิตท่ีได้มาขาย ทรพั ยากรธรรมชาติ โรงเรยี นของเราจงึ จดั กจิ กรรมเพอ่ื ทจ่ี ะ
โดยเฉพาะผกั ทแี่ ตล่ ะคนปลกู และสามารถนำ� ผลผลติ ทบ่ี า้ น สร้างจิตส�ำนึกให้เกิดข้ึนกับนักเรียนด้วยการน�ำไปศึกษา
มาขายไดด้ ้วย เช่น ผกั พนื้ บ้าน ผลไมต้ ่างๆ เรียนรู้ยังสถานท่ีจรงิ
ฐานเรยี นรดู้ า้ นพลงั งาน โรงเรยี นของเราอยู่ใกลป้ า่ ผมตระหนักดีว่า นอกจากเราจะต้องสร้างทักษะใน
มีท้ังต้นไม้กิ่งไม้มากมาย เราจึงน�ำมาท�ำให้เกิดประโยชน์ การใชช้ วี ติ ในการหาเลย้ี งชพี ใหน้ กั เรยี นแลว้ ยงั ตอ้ งปลกู จติ
สงู สดุ ดว้ ยการจดั ทำ� เตาเผาถา่ นนำ�้ สม้ ควนั ไม้ แลว้ นำ� นำ้� สม้ ส�ำนึกให้พวกเขารู้จักหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่
ควนั ไมท้ ไี่ ดไ้ ปใชใ้ นการเกษตรตอ่ ไป นอกจากนนั้ เรายงั คดิ คน้ ในทอ้ งถ่ินดว้ ย เพราะเมือ่ เขามีความรแู้ ล้ว เขากจ็ ะสามารถ
วิธีการอนุรักษ์พลังงานด้วยการประดิษฐ์จักรยานปั่นน�้ำ นำ� ความรไู้ ปขยายตอ่ ยงั ชมุ ชนใกลเ้ คยี งไดด้ ว้ ย สำ� หรบั ผมการ
ด้วยแรงคน ท�ำชุดตัดกระแสไฟฟ้าในเครื่องท�ำน้�ำเย็นของ อนุรักษ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมเป็นเร่ืองใหญ่ที่ต้องท�ำร่วมกัน
โรงเรยี นเพอ่ื ชว่ ยประหยดั กระแสไฟฟา้ และทำ� เครอื่ งสบู นำ�้ เพราะหากคนในหมู่บ้านหน่ึงตัดไม้ท�ำลายป่า แต่คนอีก
เพอื่ ใช้ในการเกษตร หมู่บา้ นหนึ่งอนรุ ักษ์ การดูแลรกั ษาป่าก็จะไม่ได้ผล
ฐานเรยี นรขู้ ยะรไี ซเคลิ เราใหเ้ ดก็ ในโรงเรยี นชว่ ยกนั ดังนนั้ นอกจากโครงการที่เราทำ� จะเห็นดอกผลเปน็
เก็บขยะในโรงเรียนที่สามารถกลับมาใช้ใหม่ได้ อย่างเช่น รูปธรรมชัดเจนเป็นต้นไม้ ใบหญ้า ผลิตผลต่างๆ ส�ำหรับ
ขวดพลาสติก หรือกระดาษ น�ำไปขายแล้วน�ำเงินท่ีได้มา เลี้ยงชีพแล้ว ส่วนหนึ่งท่ีผมคิดว่าน่าจะเกิดข้ึนในใจของ
หมนุ เวยี นภายในโครงการ ซ่ึงกิจกรรมนีท้ �ำใหเ้ ดก็ ๆ ไดเ้ หน็ นักเรียนและคนในชุมชนคอื เรือ่ งของจติ สำ� นึกท่ีอาจไม่เหน็
คุณคา่ ของขา้ วของเครอ่ื งใช้ ร้จู กั ใชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ มากทส่ี ดุ ผลวนั น้ี แตผ่ มเชือ่ วา่ จะเหน็ ผลในวันหนา้
ฐานเรยี นรนู้ ำ�้ และการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ตวั อยา่ งหนง่ึ โดยเฉพาะกบั นกั เรยี นทกุ คนทว่ี นั หนง่ึ เมอ่ื พวกเขา
ของการเรียนรู้เร่ืองน�้ำที่เห็นได้ชัด คือการที่เราจัดระบบ เติบโตขึ้น และได้ใช้ผืนดินผืนป่าในการหาเล้ียงชีพของ
นำ้� ทิง้ ในโรงอาหารใหก้ ลับมาใช้รดนำ�้ ต้นไม้ สว่ นในดา้ นการ ตวั เอง เขาก็จะรวู้ ่านอกจากเราจะเปน็ ผูห้ าประโยชนจ์ าก
ส่งเสริมสุขภาพ เราได้จัดภูมิทัศน์ของโรงเรียนให้มีความ ธรรมชาติแล้ว เรายังต้องดูแลธรรมชาติให้คงอยู่อย่าง
สวยงาม และรกั ษาห้องนำ้� ของโรงเรยี นใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ ยัง่ ยืนอกี ดว้ ย
ในการเรียนรู้แตล่ ะฐาน นอกจากเด็กๆจะได้ร้จู กั ฝึก
ความรับผิดชอบ ความอดทนแล้ว ยังสามารถบูรณาการ เคลด็ ลับความส�ำเร็จ
วิชาอ่ืนๆ มาใช้ได้ เช่น วิชาวิทยาศาสตร์ในการสังเกต การดงึ ทกุ ภาคสว่ นทงั้ ปราชญช์ าวบา้ น ชมุ ชน
ทดลอง การแก้ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ในการนับจ�ำนวน และหน่วยงานองค์กรต่างๆ เข้ามีส่วนร่วม ท�ำให้
ผลิตผล และการจ�ำหนา่ ย เกิดการเรียนรู้ศึกษาอย่างแท้จริง เกิดการต่อยอด
นอกจากน้ัน ทางโรงเรียนของเรายังได้ร่วมกับ ขยายความรู้ไปยังชุมชน และโรงเรียนใกล้เคียง
คณะกรรมการป่าชุมชนบ้านกุดแฮด มหาวิทยาลัยราชภัฏ กลายเป็นการอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดล้อมท่ยี ่ังยืน

54 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

สง่ เสริมการพฒั นากระบวนการเรยี นรูส้ ิ่งแวดล้อมศึกษา

เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพนกั เรยี นสกู่ ารสรา้ งสำ�นกึ รกั ทอ้ งถนิ่ และสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นขามแก่นนคร ขอนแก่น

“รลู้ กึ ฝกึ ทกั ษะ มโนนอ้ ม โอบออ้ มสงั คม” คอื ภาพรวมทง้ั หมดทงั้ มวลของโครงการสง่ เสรมิ การ
พฒั นากระบวนการเรยี นรสู้ งิ่ แวดลอ้ มศกึ ษา เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพนกั เรยี นสกู่ ารสรา้ งสำ� นกึ รกั ทอ้ งถนิ่
และส่ิงแวดล้อม โครงการกลุ่มที่โรงเรียน ๔ แห่งในจังหวัดขอนแก่น ได้แก่ โรงเรียนขามแก่นนคร
โรงเรียนเทศบาลบา้ นโนนชยั โรงเรียนบ้านกุดกว้างประชาสรรค์ และโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองใหญ่
ได้รว่ มกันสรา้ งสรรค์ข้นึ ด้วยตระหนักถึงความส�ำคญั ของแหลง่ น้ำ� และส่งิ แวดลอ้ มถ่นิ ฐานบา้ นเกดิ

น้�ำคอื ชีวติ การเรียนรู้ และมุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึง
ปัญหาในท้องถิ่น เพือ่ ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นร่วมในการแก้ปญั หา
หากจะนับแต่ตั้งเป็นเมืองเม่ือสมัยรัชกาลที่ ๑ ของท้องถน่ิ และสง่ิ แวดลอ้ มควบคู่กันไป
ขอนแก่นก็มีอายุเพียงสองร้อยกว่าน้ี แต่แท้ที่จริงดินแดน อกี ทง้ั ปัญหาสง่ิ แวดล้อมเป็นเรอื่ งใหญ่ และเป็นสงิ่ ที่
บนที่ราบสูงแห่งนี้มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ไม่ว่าทาง เด็กรุ่นหลังจะต้องรับผลกระทบไปเต็มๆ ดังนั้นการเสนอ
ธรรมชาตหิ รอื ทางวฒั นธรรมดงั ทม่ี กี ารขดุ พบซากไดโนเสาร์ เป็นโครงการกลุ่ม จึงมปี ระโยชน์กบั ตัวเดก็ เอง ชมุ ชน และ
และชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ สิ่งที่พบท่ีน่ีไม่ว่าจะเป็น สงั คมมากกวา่ การทำ� โครงการเฉพาะโรงเรยี นเดยี ว การสรา้ ง
วัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถานต่างๆ จึงล้วนเป็นส่วน เครือขา่ ยเยาวชนรักษ์สิง่ แวดล้อมขอนแกน่ จำ� นวน ๑๕๐
หนง่ึ ทส่ี ะทอ้ นใหท้ ราบความเปน็ มาของคนไทยและชาตไิ ทย คน จึงเป็นการเข้าร่วมของนักเรียนท้ัง ๔ โรงเรียน คือ
อาจารย์สภุ า มนญู ศกั ด์ิ แกนนำ� กลมุ่ กลา่ ววา่ การ นกั เรยี นชนั้ ม.ปลาย จากโรงเรยี นขามแกน่ นคร และนกั เรยี น
สร้างส�ำนึกรักษ์ท้องถิ่นและส่ิงแวดล้อม เป็นการจัดการ ชนั้ ม.ต้นจากอีก ๓ โรงเรียน
ศึกษาทผ่ี สานเปน็ เนอ้ื เดียวไปกบั ชวี ิต เพราะสร้างทัง้ ทักษะ

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้ 55

“โครงการเราเน้นความสมัครใจ ความชอบของ สิ่งแวดล้อมของแต่ละโรงเรียน กิจกรรมส�ำรวจส่ิงแวดล้อม
นักเรียนเป็นหลัก ไม่มีคะแนนมาบังคับให้ต้องเข้าร่วม แต่ ที่ได้ออกไปส�ำรวจอย่างเข้าถึง เช่น กิจกรรมส�ำรวจแหล่ง
ทำ� ใหเ้ ดก็ ร้สู ึกวา่ เร่ืองเรยี น เรอ่ื งทอ้ งถ่นิ ปัญหาสงิ่ แวดล้อม น�้ำในทอ้ งถ่นิ ซงึ่ ใชเ้ วลา ๓ วนั ๒ คืน ลอ่ งเรือไปตามลำ� น�้ำ
เป็นเร่ืองเดียวกัน เพราะเป็นส่วนหน่ึงของชุมชนที่เขาอยู่ พอง ค่�ำไหนนอนน่ัน ส�ำรวจสายน�้ำในแต่ละช่วงว่ามีความ
เม่ือเด็กตระหนกั ไดอ้ ยา่ งนีแ้ ล้ว เขากส็ นุก อยากมสี ่วนร่วม เปลี่ยนแปลงอย่างไร
และอยากท�ำกิจกรรม” อกี กิจกรรมท่เี ด็กไดส้ มั ผัสจากประสบการณ์จริง คือ
กจิ กรรมทจี่ ดั มที งั้ กจิ กรรมทแ่ี ตล่ ะโรงเรยี นทำ� ภายใน กจิ กรรมเฝา้ ระวงั แหลง่ นำ้� ดว้ ยวธิ กี ารตรวจวดั สตั วห์ นา้ ดนิ
โรงเรยี น และกจิ กรรมทท่ี ำ� รว่ มกนั ระหวา่ งเครอื ขา่ ย เรม่ิ ตง้ั แต่ ท่ีไม่อาจวัดผลได้ในคร้ังเดียว แต่ละโรงเรียนจึงต้องจัด
ประชมุ ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค์ ทมี่ าและแนวทางการด�ำเนนิ งาน โรงเรียนละ ๕ ครัง้ รวมแลว้ ๒๐ คร้ัง จึงไดผ้ ลสรุปทช่ี ดั เจน
ตามโครงการระหว่างโรงเรียนเครือข่าย และชุมชน สังคม ว่าสภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน�้ำ และผิวดินใกล้แหล่งน�้ำ
จนถึงวางแผนงานในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุ ในปีนั้นมีสภาพเปน็ อย่างไร
วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ “เราให้เด็กลงส�ำรวจผิวดินที่แหล่งน�้ำใกล้โรงเรียน
ขอนแก่นเป็นเมืองหลังเต่า น�้ำเสียจากเมืองไหล เชน่ หว้ ยพระคอื หนองอเี ลงิ หว้ ยกดุ กวา้ งและหนองซองแมว
ลงลำ� ธาร ลำ� คลองสาขา สุดทา้ ยแลว้ กจ็ ะลงไปสแู่ ม่นำ้� สาย โดยตกั ดนิ ขนึ้ มาสำ� รวจดว้ ยการหยดสารเคมบี างชนดิ ลงไปดู
หลกั ดงั นน้ั การอนรุ กั ษส์ ายนำ้� ทกุ สายจงึ เปน็ สง่ิ จำ� เปน็ ทที่ าง สภาพความเปน็ กรด เปน็ ดา่ ง และยงั ตรวจนบั สตั ว์ สง่ิ มชี วี ติ
โครงการตระหนักถึงก่อนเป็นเร่ืองแรก ๑๐ กิจกรรมหลัก หน้าผิวดนิ ว่ามีตวั อะไรบ้าง
และกจิ กรรมย่อยๆ อกี จำ� นวนหนึ่งของโครงการจงึ เก่ียวกบั เรามีผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์และรุ่นพี่อาสาสมัคร
สายน้�ำและลำ� น�ำ้ พอง เป็นสว่ นใหญ่ คอยดูแล แล้วจึงท�ำรายงานสรุปผลออกมา ซ่ึงผลการวิจัย
น้สี ามารถนำ� ไปต่อยอดเพ่อื อนุรักษ์ล�ำนำ้� ตอ่ ไปได้อีกด้วย”
หลากกิจกรรม เสรมิ ทกั ษะอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม หากเมื่อกล่าวถึงค�ำว่า “มโนน้อม โอบอ้อมต่อ
สงั คม” คงไมม่ กี จิ กรรมไหนจะขยายภาพแจม่ ชดั เทา่ กจิ กรรม
กิจกรรมในโครงการจะฝึกให้เด็กได้เรียนรู้ ท�ำความ ธรรมดายาตราเพอ่ื สง่ิ แวดลอ้ มเมอื งขอนแกน่ โดยกจิ กรรม
เขา้ ใจกบั ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม พรอ้ มๆ ไปกบั การฝกึ ภาวะผนู้ ำ�
การท�ำงานร่วมกัน ท้ังในรูปแบบกิจกรรมค่ายสร้างแกนน�ำ

56 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้

นมี้ แี นวคดิ หลกั คอื “เดนิ อยา่ งธรรมดา มธี รรมะ เพอ่ื ทอ้ งถน่ิ ” พ่อแม่ใหป้ ระหยัดนำ�้ อย่าทำ� น้�ำเสียเยอะ และเสียดายทใ่ี ช้
ซึ่งได้ต้นแบบมาจากการเดินธรรมยาตรา ของพระอาจารย์ น้ำ� ก๊อกรดนำ�้ ต้นไม้ ใหใ้ ช้นำ้� ซกั ผา้ รดน้�ำต้นไม้แทน
ไพศาล วสิ าโล แตต่ า่ งกนั ทกี่ จิ กรรมของโรงเรยี นในปแี รกไมม่ ี เมื่อได้เรียนรู้เรื่องส่ิงแวดล้อมมากขึ้น ก็มีเด็กที่
พระเดนิ น�ำ จงึ ใช้คำ� วา่ “ธรรมดายาตรา” แทน โดยใชเ้ วลา โรงเรยี นเราหลายคนสนใจสอบเขา้ คณะวทิ ยาศาสตรม์ ากขน้ึ
๓ วนั ๒ คืน เดนิ จากบงึ ทุ่งสรา้ งมายังบึงแกน่ นครกลางเมอื ง หรือมเี ดก็ คนหน่งึ มาบอกกับครวู ่า ‘อาจารย์ ถ้าหนูไม่ไดไ้ ป
ขอนแก่น หลกั ส�ำคัญเด็กๆ ต้องเดินด้วยความสงบ ต้ังสมาธิ ทำ� กจิ กรรมกบั อาจารย์ หนคู งไมร่ หู้ รอกวา่ คารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ท์
อยูก่ บั การเดิน ไมพ่ ูดคุยไม่เล่นกนั (Carbon Footprint) คอื อะไร เพราะหนไู ปท�ำกิจกรรมกับ
นอกจากนกี้ จิ กรรมอนื่ ๆในกลมุ่ นี้ กม็ คี า่ ยศลิ ปะดนตรี อาจารย์เลยท�ำข้อสอบเรื่องนี้ได้’ มันก็ท�ำให้เราชื่นใจท่ีเด็ก
เพอ่ื ชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ สนุ ทรยี ะทางความรสู้ กึ ไดป้ ระโยชน์จากสง่ิ ท่ีเราทำ� จริงๆ
จติ ใจผอ่ นคลาย และมคี วามสขุ รว่ มกนั ทงั้ ครแู ละนกั เรยี น และ ชุมชนเองก็ให้ความร่วมมือกับเรา จากท่ีมองว่าเรา
ที่ส�ำคัญเป็นการเรียนรู้การสื่อสารด้านส่ิงแวดล้อมผ่านงาน เปน็ คนอนื่ คิดวา่ เราจะมาหาผลประโยชนห์ รือเปล่า พอเขา
ศิลปะและดนตรี เห็นกลุ่มของเราและเด็กๆ ท�ำงานกันจริงจังและต่อเนื่อง
เขาก็เมตตา เอน็ ดูเราเหมือนเปน็ ลกู หลาน กส็ ่งผลดีเมอ่ื จัด
กจิ กรรมสิ่งแวดลอ้ มสร้างทกั ษะใหช้ วี ิต กิจกรรมครง้ั ต่อๆ มาด้วย”
นอกจากนโี้ ครงการนี้ ยงั ทำ� ลายกำ� แพงของคำ� วา่ ตา่ ง
จากการท�ำงานท่ีทุ่มเทจริงจัง นอกจากจะท�ำให้เด็ก สถาบันลง รุ่นพี่จากโรงเรียนหน่ึงไปช่วยเหลือเพ่ือน น้อง
ไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งรลู้ กึ รจู้ รงิ ไดฝ้ กึ ทกั ษะจนชำ� นาญแลว้ ยงั ชว่ ย อีกโรงเรียนหนึ่งอย่างเต็มใจ ท�ำให้เด็กในชุมชนเกิดความ
สร้างลักษณะนิสัยละเอียดรอบคอบ และการหาข้อมูลให้ สามคั คี มีความเก้อื กูลช่วยเหลอื กนั อย่างเป็นธรรมชาตแิ ละ
รอบดา้ น รวมถึงทักษะชีวิตและอนาคตใหเ้ ดก็ ๆ ดว้ ย ทำ� ใหร้ สู้ กึ วา่ ทกุ คนลว้ นเปน็ เพอ่ื นพนี่ อ้ งกนั โครงการสง่ เสรมิ
“กิจกรรมหลักของเราไม่ว่าจะเป็นธรรมดายาตรา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาเพ่ือพัฒนา
หรอื การสำ� รวจแหลง่ นำ้� ทำ� ใหเ้ ดก็ รจู้ กั อดทนอดกลน้ั ทนตอ่ ศกั ยภาพนกั เรยี นสกู่ ารสรา้ งสำ� นกึ รกั ทอ้ งถน่ิ และสง่ิ แวดลอ้ ม
ความร้อน ความเหน่อื ย ความหวิ ทนกบั สภาวะที่มากระทบ จึงเปน็ อกี โครงการหน่ึงท่ปี ระสานความสัมพันธข์ องทอ้ งถน่ิ
ไดม้ ากขนึ้ และมีสมาธดิ ีขึ้น ได้เป็นอยา่ งดี
อีกอย่าง กิจกรรมเราเป็นกิจกรรมกลุ่ม มีเด็กจาก
หลายโรงเรยี นมาทำ� งานรว่ มกนั เดก็ ๆ จงึ รจู้ กั ทำ� งานเปน็ ทมี เคลด็ ลับความส�ำเรจ็
มากขน้ึ รูจ้ ักปรบั ตวั ให้อภยั ใช้เหตุผล รับฟงั ความคดิ เห็น ศกึ ษาขอ้ มลู ใหร้ อบดา้ น ทำ� งานอยา่ งมงุ่ มน่ั เอาใจใส่
ของผอู้ น่ื รจู้ กั การประสานงานกนั ดขี นึ้ เพราะอยา่ งทบี่ อกไปแลว้ และเกื้อกูลถอ้ ยทถี อ้ ยอาศัยกัน
ที่สำ� คัญเดก็ ได้ตระหนกั ถึงปัญหาสงิ่ แวดล้อมมากขึ้น
มีเด็กมาเล่าให้ฟังว่าหลังจากที่เขาไปส�ำรวจแหล่งน�้ำ เขารู้
วา่ นำ้� ในชมุ ชนมนั เชอ่ื มถงึ กนั หมด เวลาหมบู่ า้ นจดั สรรปลอ่ ย
นำ้� เสยี ลงคลอง มนั กเ็ ชอื่ มโยงไปถงึ แมน่ ำ�้ พอง เขาเลยไปบอก

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้ 57

พฒั นาการเรียนรู้ ควบคู่ทักษะชวี ิต

โรงเรยี นชุมชนบา้ นห้วยยายจ๋ิว ชยั ภมู ิ

หนูเคยไม่อยากข้ึน ม.๓ เลย ไม่ใช่หนูไม่รักเรียน แต่เพราะมันเป็นปีสุดท้ายที่หนูจะได้เรียน
หนังสือ ใจจริงหนูอยากเรยี นสูงๆ จะไดจ้ บมาช่วยเลี้ยงแม่เลย้ี งน้องชาย แตแ่ มบ่ อกว่าส่งไมไ่ หว หลงั
จากพ่อท้งิ พวกเราไปตัง้ แต่น้องยงั เลก็ ๆ แม่ก็หาเลย้ี งเราอยู่คนเดียว แมร่ บั จ้างทำ�ไร่รายวัน บางวนั ก็
ไมม่ ีคนจา้ ง ถงึ วันหยดุ หนจู ะออกไปชว่ ยแม่อีกแรง เวลาเรียนหนูจะต้งั ใจเรียน แตห่ นกู ็คงไมไ่ ด้เรียน
ตอ่ อยดู่ ี การปลอบใจตวั เองวา่ เพอื่ นๆ อกี ครงึ่ หอ้ งกไ็ มไ่ ดเ้ รยี นตอ่ เหมอื นกนั ชว่ ยใหห้ นทู ำ�ใจไดบ้ า้ ง แต่
หนกู ็มองไมเ่ ห็นว่าความรรู้ ะดับ ม.ต้นของหนจู ะชว่ ยแมห่ ารายไดใ้ ห้ดกี วา่ รับจ้างได้อย่างไร

การขาดทรัพย์ ขาดความอบอุ่น ขาดความม่ันใจ
ในตนเอง และขาดโอกาสในการศึกษาต่อของนักเรียน
เป็นสิ่งที่ครูโรงเรียนชุมชนบ้านห้วยยายจิ๋ว จังหวัดชัยภูมิ
ไม่อาจน่ิงเฉย จึงร่วมกับ สสค.จัดท�ำโครงการพัฒนา
การเรียนรู้ ควบคทู่ กั ษะชวี ติ ติดอาวุธทักษะชีวิตและอาชพี
ใหก้ บั นกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมตน้ ทง้ั ๑๒๖ คน ดว้ ยหวงั ใจให้
ลกู ศษิ ยเ์ ตบิ โตออกไปเปน็ พลเมอื งดี ภาคภมู ใิ จ เหน็ คณุ คา่ ใน
ตนเอง สามารถยนื หยัดในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

จดุ ประกาย เตรียมความพรอ้ ม หนูปฏญิ ญาตนวา่ จะเปน็ คนดีของสังคม
ต่อมา ครูพาเราไปดูงานกลุ่มสตรีแม่บ้าน พวกเรา
เทอมปลายชนั้ ม.๒ หนแู ละพนี่ อ้ งชน้ั ม.ตน้ ทง้ั หมดไป สนกุ ทไ่ี ดช้ มิ ไดล้ องทำ� กนั ถว้ นหนา้ ไดร้ วู้ ธิ ปี รงุ ของกนิ หลาย
เขา้ คา่ ยเยาวชนพลเมอื งดเี ฉลมิ พระเกยี รตทิ โี่ รงเรยี นจดั ขน้ึ อย่างที่เราเคยกินแต่ไม่เคยท�ำ บางอย่างนึกไม่ถึงว่าจะท�ำ
ทเ่ี ขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ซบั ลงั กา จงั หวดั ลพบรุ ี เปน็ ครงั้ แรกท่ี ขายได้ ชา่ งมสี นิ คา้ มากมายใหเ้ ลอื กทำ� เปน็ อาชพี ไดไ้ มย่ ากเลย
หนไู ดม้ าไกลบา้ น มาใชช้ วี ติ กลางปา่ รว่ มกบั เพอื่ นๆ กจิ กรรม
ในฐานสอนให้เรารู้จักเสียสละ และสามัคคี หนูยังจ�ำได้ว่า
ตอนจดุ เทยี นชยั ถวายพระพรพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั

58 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

เมอ่ื ไปดนู ทิ รรศการ ไดไ้ ป ส่งคืนให้กับบริษัทแม่ พร้อมกับท�ำ
พู ด คุ ย กั บ ค น ท่ี ติ ด ย า เ ส พ ติ ด บันทึกรายรับ-รายจ่ายไว้ชัดเจน
ทพี่ ระบาทนำ�้ พุลพบรุ ีประสบการณ์ คุณครูบอกว่าก�ำไรของแต่ละบริษัท
จากผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ทำ� ใหห้ นแู ละ ย่อยๆ จะกลับคืนมาเป็นเงินทุน
เพือ่ นๆ สัญญากับตวั เองวา่ จะไม่ การศึกษาของแต่ละคนในตอนปิด
ขอ้ งแวะกบั ยาเสพตดิ เปน็ อนั ขาด โครงการ กลุ่มไหนมีก่ีคนก็เอาก�ำไร
เมอื่ ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม หารกนั ตามจำ� นวนคน
ด้วยกิจกรรมค่าย จุดประกาย ส่วนเงินที่ยืมมาลงทุนก็จะ
ความคิดด้วยการศึกษาดูงาน คืนกลับไปที่โครงการ ท�ำให้โรงเรียน
กลุ่มสตรีแม่บ้าน และสร้างภูมิ มีทุนสนับสนุนหมุนเวียนให้นักเรียน
ต้านทานด้วยการศึกษาดูงาน ทำ� โครงการได้ตอ่ ไปอยา่ งตอ่ เน่ือง
วัดพระบาทน้�ำพุ ก็มาสู่ข้ันตอน
เรยี นร้จู ากการลงมือปฏบิ ัติ ผดิ เปน็ ครู การเรยี นรู้คือก�ำไร

พอ่ ค้าแมข่ ายวัยเยาว์ ในทกุ ๆ สัปดาห์คุณครูมานะพงษ์ มาบา้ นซง้ ผ้ดู ูแล
โครงการ จะชวนพวกหนูมานั่งล้อมวงคุยกันว่าแต่ละกลุ่ม
หลังจากดูงานของกลุ่มแม่บ้านต่างๆ ที่ประสบ ขายของเปน็ อย่างไร มีปัญหาอปุ สรรคอะไรกม็ าเล่าสกู่ ันฟงั
ความส�ำเร็จในการประกอบธุรกิจชุมชน ทางโรงเรียนยัง อยา่ งมบี างกลมุ่ ตงั้ รา้ นได้ ๒ วนั จะเลกิ เพราะเหนอ่ื ย เพราะ
เชิญลุงป้าน้าอาในแถบบ้านเราท่ีเชี่ยวชาญในแต่ละอาชีพ ขาดทนุ ครกู ็ใหค้ ิดว่าไมส่ �ำเรจ็ จากอะไร จะแก้ไขอย่างไร
มาถ่ายทอดสารพันอาชีพให้กับพวกเรา หรือหากใครใน แต่ท่ีมีความมานะพยายามที่สุดจนหนูเองยังนึกชม
ชุมชนสนใจขอมาร่วมเรียน ทางโรงเรียนของเราก็ไม่หวง ตอ้ งยกใหบ้ ริษัท ไขเ่ ต่า ท่ลี องผดิ ลองถูกอยนู่ านกวา่ จะปรับ
คราวนี้ล่ะย่ิงได้รู้และได้เรียนกันอย่างใกล้ชิด ท้ังนวดไทย รสชาตแิ ปลงสตู รจนเปน็ ขนมยอดฮติ ของพวกเราในทกุ วนั น้ี
ตัดผม ท�ำขนมหวาน อาหารคาว และเคร่อื งดม่ื แถมครยู งั เพอ่ื นๆ บรษิ ัท น้�ำเตา้ หู้ ก็ขยนั ปรกึ ษาหารือกัน จน
บอกว่าถ้าใครสนใจอยากท�ำอาชีพไหนก็ให้รวมกลุ่มกันเปิด มเี มนูแปลกๆ ใหม่ๆ ออกมาดึงดดู ใจลกู คา้ อยู่เสมอๆ บรษิ ทั
กจิ การตามความสมคั รใจและบรหิ ารงานกนั เอง สว่ นเงนิ ทนุ ส้มต�ำเดี๋ยวน้ีมีก�ำไรมากขึ้น เพราะเลือกซื้อของเก่งข้ึน ได้
ครูขอผู้ใหญ่ใจดี คือส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ ของสดใหม่ มะละกอกไ็ ปคดั จากตน้ รมิ้ รว้ั โรงเรยี น ลดตน้ ทนุ
และคณุ ภาพเยาวชน (สสค.) มาไว้ใหก้ ยู้ ืมโดยไม่คดิ ดอกเบยี้ ทุ่นเวลา ไปอีกทางหนง่ึ
หนูรวมกลมุ่ กบั เพอ่ื นสนิท เปิดขายน�ำ้ ผลไม้ปนั่ สว่ น
เพ่ือนๆ ก็รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่บ้างเล็กบ้าง นับหลายสิบ
บรษิ ทั สว่ นใหญจ่ ะขายของกนิ แตล่ ะกลมุ่ สนกุ กบั การคดิ ตงั้
ชื่อใหส้ อดคล้องกับสนิ คา้ เช่น บริษทั สม้ ตำ� บริษัท ขนมปัง
หลากรส บรษิ ัท ใสหอมหวาน บรษิ ทั ไข่เตา่ และฯลฯ ทกุ
บริษัทถือว่าเป็นบริษัทลูกของบริษัท ห้วยยายจ๋ิว จ�ำกัด
ที่โรงเรียนต้ังข้ึน
กิจการตัดผม ไม่มีพวกเราสักคนสนใจเปิด โรงเรียน
เลยเปิดเสียเอง ตั้งแต่น้ันนักเรียนชายเลยได้ตัดผมฟรี
ทุกเดือน ส่วนแม่ของเพ่ือนหนูก็ได้อาชีพใหม่รับนวดไทย
หลงั จากมาขอเรียนกับพวกเรา
ทางโรงเรียนจัดพ้ืนที่ตลาดหน้าบ้านให้พวกเราขาย
อาหารและเครอ่ื งดม่ื กนั ในโรงเรยี น ชว่ งตอนเชา้ และกลางวนั
โดยเฉพาะช่วงหลังพักเที่ยงตลาดของเราจะคึกคักไปด้วย
คนซื้อและคนขาย
เสรจ็ จากชว่ งพกั แตล่ ะรา้ นจะนำ� เงนิ ทหี่ กั ตน้ ทนุ แลว้

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้ 59

ตวั หนเู องแรกๆ ไมเ่ คยขายของมากอ่ นกห็ วน่ั ใจไปซะ โครงการ ผูน้ �ำชมุ ชน ผู้ปกครอง ครู นกั เรียน ทง้ั โรงเรยี นเรา
ทกุ เรอื่ ง ตง้ั แตก่ ะประมาณไมถ่ กู วา่ จะตอ้ งซอ้ื วตั ถดุ บิ อยา่ งไร และจากโรงเรียนใกลเ้ คยี ง ทีม่ าเยย่ี มชมโครงการฯ มาเหน็
ทไ่ี หน เทา่ ไหรจ่ งึ จะพอขาย จะจดั รา้ นอยา่ งไรใหด้ งึ ดดู ใจ จะ พวกเราทอ่ี อกรา้ นขายสนิ คา้ เปน็ พอ่ คา้ แมข่ ายไดค้ ลอ่ งแคลว่
ปรับสัดส่วนอย่างไรให้ได้รสชาติถูกใจลูกค้า จะขายแก้วละ คิดวางแผนชีวิตในอนาคตได้ ก็ช่ืนชมกันใหญ่ หนูได้ยินครู
เท่าไหร่ดี จึงจะไม่ถูกเกินไปจนเราขาดทุนและไม่แพงเกิน ประจ�ำชั้นชมให้แขกในงานฟังว่า “หลังท�ำโครงการเด็กมี
ไปจนลูกค้าไม่ซ้ือ จะแบ่งงานกับเพ่ือนอย่างไรจึงจะบริการ ความรับผดิ ชอบในการสง่ งานมากขึน้ มีความกระตอื รอื ร้น
ลกู คา้ ไดร้ วดเรว็ ขายเสรจ็ จะเกบ็ รา้ นอยา่ งไรใหเ้ สรจ็ ทนั เวลา ในการเรยี น”
แต่มีอยู่เรื่องหนึ่งท่ีหนูไม่เคยห่วง คือเวลาที่จะใช้ ส่วน อ.ฉลอง พัฒนกุลเดช ผอ.โรงเรยี นกเ็ ชญิ ชวน
เตรียมสินค้าโดยไม่เสียการเรียน เพราะโรงเรียนจัดคาบ โรงเรียนอื่นโดยเอาการเปล่ียนแปลงของพวกเราเป็นเคร่ือง
สดุ ทา้ ยในแตล่ ะวนั เปน็ วชิ าเลอื กเสรี ใหพ้ วกเราแตล่ ะบรษิ ทั ยืนยัน “เด็กของเราจะมีคุณภาพ คอื เป็นคนดี มีความรู้ พง่ึ
จะรวมกลมุ่ กนั เตรยี มสนิ คา้ สำ� หรบั ขายวนั ตอ่ ไป หนคู ดิ วา่ น่ี ตนเองได้ ไมเ่ ปน็ ภาระใหส้ งั คม ดำ� รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ”
แหละเป็นวิชาเลอื กเสรขี องแท้ เสรีทจี่ ะเลือกฝกึ อาชีพทีเ่ รา ได้ยินแล้วรู้สึกภูมิใจท่ีสุด หนูจะไม่ท�ำให้อาจารย์ผิดหวังท่ี
สนใจ หนรู สู้ กึ วา่ ทกุ วันที่เราไดฝ้ ึกได้ทำ� ความมั่นใจกค็ ่อยๆ ใหก้ ารสนบั สนนุ โครงการมาโดยตลอดเลยคะ่
เพ่มิ ขน้ึ ตามไปดว้ ย พร้อมกบั ส่ิงทีเ่ คยเป็นเพียงความสนใจก็ ในงานยังมีการมอบเกียรติบัตร และมอบทุนการ
กลายเป็นความถนดั ศกึ ษาจากกำ� ไรสะสมของพวกเราแตล่ ะคน เพอ่ื นบางคนเอย่
น่ันเพราะนอกจากคุณครูจะจัดเวลาให้แล้ว ยังเปิด ปากวา่ เคยแตข่ อเงินพอ่ แม่ พอไดม้ าทำ� โครงการถงึ รวู้ ่ากว่า
โอกาสใหเ้ ราคดิ ตดั สนิ ใจ รบั ผดิ ชอบ วางแผน บรหิ ารจดั การ พ่อแม่จะหามาไดแ้ ตล่ ะบาทมนั เหนือ่ ย
และแบง่ งานกนั เอง ถึงจะลม้ เหลวขาดทุนคุณครูกไ็ ม่เคยว่า ส่วนหนูภูมิใจอย่างบอกไม่ถูก เพราะทุนการศึกษา
มแี ตใ่ หก้ �ำลังใจ และใหโ้ อกาสปรบั ปรงุ แก้ไข ครบู อกว่า ไม่ ครั้งนี้เป็นเงินส่วนแบ่งที่เกิดจากน้�ำพักน้�ำแรงของหนูเอง
ว่าท�ำแล้วจะส�ำเร็จหรือล้มเหลว นักเรียนก็ได้เรียนรู้ ก�ำไร ตั้งใจว่าส่วนหน่ึงจะเอาไปซ้ือรองเท้าและเส้ือให้น้องชายใส่
ท่ีแท้จริงคือการเรยี นรอู้ ยา่ งมีความสขุ ของนกั เรียน ไมใ่ ช่ ในเทอมหน้าแทนของเดิมท่เี ริ่มเล็กเกนิ ไปแลว้ อกี ส่วนหนง่ึ
เงินที่ไดจ้ ากการเรยี นรู้ จะเกบ็ ไวเ้ ปน็ เงินไปโรงเรยี น ช่วยแม่ประหยัดอีกทาง
นอกจากขายในโรงเรยี นแลว้ ทกุ เยน็ วนั องั คาร เรายงั แม้หนูจะไม่ได้เรียนต่อ แต่ตอนน้ีหนูก็รู้แล้วว่าจะ
ออกไปลองประสบการณจ์ รงิ ฝกึ ขายทต่ี ลาดนดั ใกลโ้ รงเรยี น ชว่ ยแมช่ ว่ ยนอ้ งไดอ้ ยา่ งไร และมน่ั ใจวา่ หนสู ามารถทำ� ได้
ต้องเตรียมของกันในตอนเช้าและพักเท่ียง แม้จะขายไม่ดี อยา่ งแน่นอน
เท่าในโรงเรียนเพราะต้องแข่งกับพ่อค้าแม่ค้ามืออาชีพ แต่
กไ็ ดป้ ระสบการณเ์ ปน็ กำ� ไร แถมลงุ ปา้ นา้ อาในหมบู่ า้ นทแี่ วะ
เวียนมาอุดหนุนเป็นก�ำลังใจก็ยังชมกันยกใหญ่ ท�ำเอาพวก
เราย้มิ แกม้ ปรไิ ปตามๆ กนั
“ดนี ะ รจู้ กั ช่วยครอบครัว”
“เกง่ จงั ตอนพ่ีอายุเทา่ น้ียงั ทำ� ไมไ่ ด้ขนาดนเ้ี ลย”
“ท�ำอร่อย ดีแล้วจบไปจะได้มีอาชีพติดตัว เล้ียงตัว
เองได้”

นี่คือการเรียนรู้จากประสบการณ์ไม่ได้เรียนจากตัว เคลด็ ลับความส�ำเรจ็
หนังสือ หรือห้องเรียนท่ัวไป แต่ได้ออกไปสัมผัสจริง ได้ การทำ� โครงการทสี่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของเดก็
ปฏิบัตจิ รงิ สง่ิ นีจ้ ะท�ำใหเ้ กดิ ทกั ษะชวี ติ อย่างแท้จริง ทกั ษะ และชุมชน การสร้างโอกาสและทางเลือกที่หลาก
ชวี ิตทตี่ ดิ ตัวไปตลอดชวี ติ หลาย ให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิดเป็น
ทักษะอาชพี และทักษะชวี ติ
วนั แห่งความภาคภมู ิใจ

ในวนั ทโี่ รงเรยี นจดั นทิ รรศการ “ตน้ กลา้ ใบจว๋ิ ” สรปุ

60 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้

เขียนใจกอ่ นเขยี นรูป

โรงเรียนซับมงคลวิทยา ชยั ภูมิ

ปา้ ย“เขยี นใจกอ่ นเขยี นรปู ”สภาพเกา่ แก่
ที่ติดอยู่หน้าอาคารช้ันเดียวหลังเล็กๆ
บง่ บอกถงึ ระยะเวลาการแขวนทเ่ี นน่ิ นาน
นานพอๆ กับงานที่ครูซับมงคลวิทยา
ร่วมกันทำ�มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

โจทยใ์ หญ่ทา้ ทา้ ยความเป็นครู จบไปด้วย หลายคนท�ำไร่ บางคนอย่กู ับบา้ น บา้ งไปท�ำงาน
ในร้านอาหารกลางคืน หลายคนเดินทางเข้าเมืองหลวง
ครอบครวั ของเดก็ ๆ ซบั มงคลวทิ ยาสว่ นใหญม่ อี าชพี เพอื่ รบั จา้ งและทำ� งานก่อสรา้ ง แม้หลายคนมคี วามสามารถ
ท�ำไร่ รับจ้าง บางส่วนเป็นชนกลุ่มน้อยท่ีเรียกตัวเองว่า ท่ีจะประสบความส�ำเร็จในการศึกษาท่ีสูงข้ึนไป และมี
“ชาวบน” ใช้ภาษามอญโบราณในการสื่อสารและ โอกาสทจี่ ะมีหนา้ ทกี่ ารงานที่ดใี นอนาคต แตค่ วามยากจนก็
มีวัฒนธรรมเฉพาะ เมื่อทางการบังคับให้ลงมาอยู่ ปิดโอกาสน้นั เสยี หมด
พ้ืนล่างเป็นคุ้มๆ ได้รับท่ีจัดสรรท�ำกิน ครอบครัวละ ท�ำอย่างไรให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด มีคุณธรรม
๒ งาน ตอ้ งประกอบอาชพี รับจ้าง และสว่ นใหญ่ไปรับจ้าง มีความรู้ความสามารถท่ีจะเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นหาก
ต่างจังหวัด ท้ิงลูกไว้กับผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน เม่ือประกอบ ครอบครัวมีความพร้อม และท่ีส�ำคัญมีทักษะพื้นฐานด้าน
กับเทคโนโลยีท่ีทันสมัยและรวดเร็ว ท�ำให้เด็กๆ ตกอยู่ใน อาชีพ เหน็ ความส�ำคญั ในตนเอง และอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมได้
ความเสยี่ งและมปี ญั หา บางคนมปี ญั หามากกวา่ ความยากจน อย่างมคี วามสขุ
นักเรียนที่น่ีส่วนใหญ่เมื่อจบช้ัน ม.๓ ซ่ึงเป็น เป็นโจทย์ท่ียิ่งใหญ่ ท้าทายความสามารถและ
ช้ันสูงสุดของโรงเรียน ความก้าวหน้าในการศึกษาต่อก็ จิตวิญญาณความเป็นครูของคณะครูซับมงคลวิทยาทุกคน
จนเป็นที่มาของโครงการเขียนใจก่อนเขียนรูป ซ่ึงมี
อ.พีระพงษ์ วงศ์ศรีจันทร์ ครูศิลปะ เป็นผู้รับผิดชอบ
โครงการ
ครูศิลปะผู้มีรางวัลครูภูมิปัญญาท้องถิ่น รางวัลครู
เกียรติยศ รางวัลข้าราชการต้นแบบ “คนดีของแผ่นดิน”
๒ ปซี อ้ นจากสำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราบ
การทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) จากกระทรวงยุติธรรมและ
ทีวีบูรพา ได้เคยแสดงนิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิต์ิให้กับสภากาชาดไทย จะใช้ส่ิงท่ีตนเอง
ถนัดน�ำพานักเรียนมัธยมท้ัง ๖๙ คนให้บรรลุเป้าหมายได้
อย่างไรจงึ เป็นเรอ่ื งทนี่ า่ เรยี นร้เู ปน็ อย่างยิ่ง

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ 61

เน่ืองจากการเรียนการสอนในโครงการนี้ให้ความ
ส�ำคญั กบั การปลกู ฝงั ทศั นคติ คุณธรรม และทักษะทางดา้ น
ศิลปะ เพราะเช่ือว่าทุกส่ิงเร่ิมต้นท่ีใจ การเริ่มต้นจากจิตใจ
ทง่ี ดงาม ซื่อสัตย์ ขยนั อดทน เสยี สละ จะสง่ ผลให้การเรียน
และทักษะศลิ ปะดตี ามไปด้วย

“เขียนใจกอ่ นเขียนรูป” หวั ใจของโครงการ ตดิ ปกี แห่งความสามารถ

ไมต่ ้องแปลกใจหากไปทโี่ รงเรียนซบั มงคลวิทยาแลว้ เม่ือได้ท�ำงานร่วมกัน นอกจากจะได้ปลูกฝังทักษะ
พบวา่ ครูและนกั เรยี นก�ำลังตดั ต้นไม้ ซอ่ มอุปกรณ์ ปลกู ผัก ชีวิตในการอยู่ร่วมกบั ผอู้ ่นื อย่างมีความสุขแล้ว ยงั ทำ� ใหเ้ กิด
จัดสวนหยอ่ ม รดน้�ำตน้ เกบ็ ขยะ ท�ำความสะอาด หรืออ่นื ๆ ความใกลช้ ดิ ระหวา่ งครกู บั นกั เรยี น ทำ� ใหค้ รไู ดข้ อ้ มลู เชงิ ลกึ
ตามแตค่ รแู ละนกั เรยี นจะชว่ ยกนั คดิ เนอ่ื งจากเปน็ ขอ้ ตกลง ไดส้ งั เกตบคุ ลกิ ภาพและความสามารถ ความถนดั ทแ่ี ตกตา่ งกนั
ร่วมกันว่าก่อนท�ำการสอนให้นักเรียนท�ำประโยชน์เพ่ือ ของแต่ละคน ได้คน้ พบศกั ยภาพท่ซี ่อนอยขู่ องแต่ละคน
ส่วนรวมอยู่เสมอ การเขยี นรปู สำ� หรบั ทนี่ ี่ จงึ หมายถงึ การเรยี นรทู้ กั ษะ
นี่คือการเขียนใจ กิจกรรมแรกท่ีนักเรียนซับมงคล ทางด้านศิลปะตามความถนัดและบุคลิกภาพของแต่ละคน
วิทยาทุกคนต้องใช้เวลาและท�ำอย่างต่อเน่ืองจนจบชั้น ด้วยกิจกรรมท่ีหลากหลายเท่าที่ครู (จะจัดหาอุปกรณ์มา)
ม.๓ เพอ่ื ฝกึ การเสยี สละเวลาสว่ นตวั ทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ ง สอนได้ ไม่ว่าจะเป็นการวาดรูป การปั้นเคร่ืองปั้นดินเผา
ปฏิบตั งิ านนกั เรยี นตอ้ งฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ืน่ แก้ปัญหา เขียนสีบนเครื่องแก้ว สลักลายลงบนกระจก ลงรักปิดทอง
ร่วมกัน รู้จักอดทน เสียสละ และรอคอยช่วยเหลือซึ่งกัน ผ้าบาติก น่ีคืองานท่ีครูซับมงคลวิทยาและครูพีระพงษ์
และกัน เพื่อให้งานส�ำเร็จ เป็นการสร้างให้นักเรียนฉลาด ท�ำมาอยา่ งต่อเนอ่ื งยาวนานนับ ๑๔ ปี
ในการดำ� รงชีวติ อยู่ร่วมกบั ผ้อู น่ื เม่ือได้รับการสนับสนุนโครงการจาก สสค. ท�ำให้
การท�ำงานเริม่ มีแผนงานทช่ี ัดเจนข้นึ สามารถจัดซอ้ื วัสดุฝกึ
อปุ กรณต์ า่ งๆ ตามทต่ี อ้ งการ นกั เรยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะงานศลิ ปะ
หัตถศิลป์ที่หลากหลายครอบคลุมตามความสนใจมากข้ึน
หรือนักเรียนหลายคนที่มีทักษะด้านศิลปะน้อย ก็สามารถ
ฝึกงานช่างเข้ากรอบรูป เป็นการฝึกอาชีพและเป็นการเพ่ิม
มูลค่าผลงานศิลปะ ซ่ึงแต่เดิมไม่สามารถท�ำได้เนื่องจาก
วัสดุอุปกรณ์มีราคาแพง ทั้งยังขยายผู้เรียนจากกลุ่มสนใจ
กลายเปน็ นกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาทกุ คน
ส่วนสถานที่ฝึกนั้นเป็นอาคารหลังเล็กๆ ที่ทาง
ส�ำนักงาน ป.ป.ท.และบริษัท ทีวีบูรพา จ�ำกัด สร้างให้
ตามความต้องการของอาจารย์พีระพงษ์เม่ือได้รับรางวัล
“คนดีของแผ่นดิน” เป็นปีท่ี ๒

นักเรยี น ๓ กะ

โครงการเริ่มต้นจากการประชุมครู ผู้ปกครอง และ
นกั เรยี น เพอื่ ชแี้ จงรายละเอยี ด ใหค้ รทู กุ คนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
ส�ำรวจความถนัดของนักเรียนมัธยมศึกษาเป็นรายบุคคล
จดั ต้ังชมุ นุม จัดแยกนักเรยี นออกเป็น ๓ กลุ่ม
กลมุ่ แรก นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาทกุ คน ไดฝ้ กึ ทกั ษะ
ศลิ ปะหตั ถศิลปใ์ นช่วั โมงชุมนมุ ตามตารางเรียน

62 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้

กลมุ่ ทสี่ องเปน็ นกั เรยี นทม่ี คี วามสนใจ สมคั รใจเขา้ ฝกึ “เขียนใจกอ่ นเขยี นรปู ” จงึ ไม่ใชโ่ ครงการ แต่มนั คอื
ทักษะในตอนเยน็ หลงั เลิกเรียน ช่วง ๑๕.๓๐-๑๖.๓๐ น. “งาน” ที่ครูร่วมกันด�ำเนินการภายใต้การประกอบวิชาชีพ
กลุ่มท่ีสามเป็นกลุ่มสนใจพิเศษ (หรือถ้าจะเรียก ครู ด้วยใจรัก และอยากเห็นลูกศิษย์ผู้ด้อยโอกาสได้มีชีวิต
ให้ตรงคือกลุ่มท่ีครูต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ) จ�ำนวน ท่ีดีขึ้น อยู่ร่วมกันในชุมชน สังคมได้อย่างมีความสุข โดย
๒๐-๒๕ คน เขา้ ฝึกในตอนคำ�่ ชว่ ง ๑๙.๐๐-๒๑.๐๐ น. แลว้ ผู้บริหารโรงเรียนคอยเป็นก�ำลังใจและให้การสนับสนุนมา
พกั คา้ งทโ่ี รงเรยี น โดยครจู ะใหน้ กั เรยี นกลบั ไปชว่ ยงานทบ่ี า้ น โดยตลอด งานน้ีต่อเน่ืองยาวนานมากว่า ๑๔ ปี และจะ
ก่อนกลับมาฝึก และกลับไปช่วยงานท่ีบ้านในตอนเช้าก่อน ตอ่ เน่อื งยง่ั ยนื ตอ่ ไป
เขา้ เรียนตามปกติ
นกั เรยี นชายคนหนงึ่ อยบู่ า้ นคนเดยี วมาตง้ั แตเ่ รยี นอยู่ เคล็ดลับความส�ำเร็จ
ชน้ั ประถม พ่อแม่ต้องไปท�ำมาหากนิ ตา่ งถนิ่ นานๆ จะกลบั ครทู เี่ ปน็ ทงั้ เพอื่ นพี่พอ่ และแมใ่ นเวลาเดยี วกนั
บา้ นสกั ครง้ั ตอ่ มาเมอ่ื เดก็ เรยี นชน้ั มธั ยม เรมิ่ มเี พอื่ นจากตา่ ง ใช้ใจในการสร้างศิษย์โดยมศี ลิ ปะเป็นเคร่ืองมอื
โรงเรียน ต่างหมู่บ้านมาชุมนุมกันที่บ้านในตอนเย็นเกือบ
ทกุ วนั ครทู ป่ี รกึ ษาเรมิ่ เหน็ ความผดิ ปกติ จงึ นำ� เขา้ สโู่ ครงการ
ในกลุ่มสนใจพเิ ศษและพกั ค้าง


งานศลิ ปช์ ิน้ งาม

วันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๕๕ วันจัดนิทรรศแสดง
ผลงานนกั เรยี นทไี่ ดฝ้ กึ ฝนตามโครงการ ณ อาคารหลงั เลก็ ๆ
ทเ่ี ดก็ ๆ ใชเ้ ปน็ ทฝ่ี กึ ฝนงานศลิ ปะ (เปน็ ทอี่ ยู่ ทก่ี นิ และทน่ี อน
ในท่ีเดียวกัน) มีคณะครูนักเรียนโรงเรียนใกล้เคียงและ
โรงเรียนทีส่ นใจ ผหู้ ลกั ผู้ใหญ่ท่ใี ห้การสนบั สนุนโครงการมา
โดยตลอดเข้าร่วมชมกันอย่างอบอุ่น ต่างชื่นชมกับผลงาน
นักเรียนท่ีแทรกอยู่ท่ามกลางธรรมชาติของพื้นท่ี ได้เห็น
กระบวนการจริงจากนักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการท่ีก�ำลัง
มุ่งม่ันและภาคภูมิใจกับการท�ำงานศิลปะตรงหน้า แววตา
แห่งความสขุ ฉายใหเ้ หน็ แจม่ ชดั ในศลิ ปินน้อยแตล่ ะคน
เบ้ืองหลังผลงานของเด็กคือจิตวิญญาณของความ
เปน็ ครทู ง่ี ดงามไมแ่ พก้ นั ดงั ตวั อยา่ งของเดก็ ชายทค่ี รปู รกึ ษา
ชกั ชวนเขา้ โครงการในกลมุ่ สนใจพเิ ศษ ทวี่ นั นก้ี ลบั กลายเปน็
เดก็ ทมี่ จี ติ อาสา ชว่ ยเพอ่ื นทกุ อยา่ ง ทเ่ี คยขาดเรยี นกม็ าเรยี น
เปน็ ประจ�ำ
ศิษย์เก่าที่ได้รับการฝึกฝนทักษะและได้มีโอกาส
ศึกษาต่อในวิทยาลัยช่างศิลป์บ้าง มหาวิทยาลัยศิลปากร
บ้าง ด้วยทนุ ท่ีทางคณะและโรงเรียนชว่ ยกนั หามาสนับสนุน
บางสถานศึกษายินดีรับเข้าศึกษาด้วยโควต้าพิเศษ เช่น
สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลปส์ พุ รรณบุรี ลาดกระบัง เป็นตน้
ที่น่าช่ืนใจคือศิษย์เก่าเหล่าน้ีทั้งท่ีจบไปแล้วและ
ยงั ศกึ ษาอยู่ ไดร้ วมตวั กนั จดั ตงั้ ชมรมศลิ ปะศษิ ยเ์ กา่ โรงเรยี น
ซบั มงคลวทิ ยา หมนุ เวยี นกนั อาสามาชว่ ยงานโครงการ รนุ่ พ่ี
เหลา่ นเ้ี ปน็ เพอ่ื นทป่ี รกึ ษา เปน็ แบบอยา่ ง และชว่ ยแกป้ ญั หา
ให้กบั น้องๆ ไดเ้ ป็นอย่างดดี ้วยวัยที่ไมแ่ ตกต่างกันมากนัก

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้ 63

พัฒนาทักษะชวี ติ ด้วยเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โรงเรียนดอนนำ�้ ใส นครราชสีมา

“แม่คะ วันนี้หนูมีถ่ัวฝักยาวกับแตงกวา
จากทโี่ รงเรยี นมาฝากจะ้ เยน็ นเ้ี รามาทำ�แจว่ บอง
กินกบั ผกั ทเ่ี กบ็ มาดีกว่านะแม่...”
เสียงลูกสาวตัวดี ตะโกนบอกมาแต่ไกล
ต้ังแต่ยังไม่ทันได้เห็นหน้าเห็นตา หมู่นี้ลูกสาวดู
เปลย่ี นไปจากเมอ่ื กอ่ นมาก แมแ้ ตค่ วามคดิ ความ
อา่ นกต็ า่ งไปจากเดิม

ครอบครัวของเรามีอาชีพท�ำนา ท�ำกันมาต้ังแต่รุ่น ลูกสาวดูมีความสุขกับการไปโรงเรียน ที่ส�ำคัญเม่ือ
บรรพบุรษก็ว่าได้ ท่ีบ้านดอนต�ำแย ต�ำบลบ้านวัง อ�ำเภอ ฝึกหัดท�ำอะไรจากท่ีโรงเรียนเป็นแล้วก็น�ำกลับมาท�ำต่อท่ี
โนนไทย จังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่ก็รู้จักแต่การท�ำนา บา้ น โดยเฉพาะขนมพ้ืนบา้ นที่ลูกท�ำอรอ่ ยดีทีเดียว ท้งั ขนม
ปลกู ขา้ ว พอสนิ้ หนา้ นาเรากเ็ ขา้ ไปหางานในเมอื ง ทง้ิ ลกู เลก็ ๆ กลว้ ย ขนมฟกั ฉนั กนิ ไปปลม้ื ไป ไมอ่ ยากจะเชอ่ื เลยจรงิ ๆ วา่
ไว้กับปยู่ ่าตายาย โรงเรยี นฝกึ เดก็ ไดด้ ถี งึ เพยี งนใ้ี หท้ ง้ั ความรู้ ความคดิ และสอน
ส่วนลูกสาวของฉันก็ไม่ต่างจากเด็กคนอื่นๆ ใน วิชาชีวิตให้ลกู ของฉันดว้ ย
หมู่บา้ น ทพี่ ยายามเรยี นหนังสอื อย่างนอ้ ยๆ ใหจ้ บ ม.๓ เพอ่ื
จะไดไ้ ปทำ� งานในเมืองอย่างร่นุ พๆ่ี เขา ฉนั กบั พอ่ ของลูกจงึ วิชาชีวติ ของโรงเรยี นดอนน้�ำใสวทิ ยา
ได้แต่ท�ำใจว่า ที่นาท่ีมีอยู่ ๒๐-๓๐ ไร่ของเราในอนาคตคง
ตอ้ งปลอ่ ยทงิ้ รา้ งเหมอื นทน่ี าของเพอื่ นบา้ นอกี หลายคน และ พ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กหลายคนมักจะแปลกใจว่า
นอกจากจะหนักใจว่าต่อไปลูกสาวจะท�ำมาหาเล้ียงชีพด้วย โรงเรยี นทำ� อยา่ งไรจงึ สามารถทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ รกั อาชพี เกษตรกร
อะไรแล้ว ฉันยังอดเป็นห่วงลูกไม่ได้ว่าต่อไปเขาจะใช้ชีวิต รู้จกั คิดเปน็ ท�ำเปน็ และรกั ถ่ินฐานบ้านเกิดได้
อยไู่ ดอ้ ยา่ งไร ในเมอื่ ลกู ทำ� อะไรไมค่ อ่ ยเปน็ เลย แมแ้ ตห่ งุ ขา้ ว ผม (ครูพล เวียงสันเทียะ) ครูโรงเรียนดอนน�้ำใส
บางครัง้ กห็ ุงสุกๆ ดบิ ๆ วทิ ยา บ้านดอนต�ำแย ต�ำบลบ้านวงั อำ� เภอโนนไทย จังหวดั
จนกระทั่งหนึ่งปีที่ผ่านมา ได้เกิดความเปล่ียนแปลง นครราชสมี า ขอรบั อาสาเล่าให้ฟังนะครบั
ในครอบครัวของฉัน ชนิดท่ีเรียกได้ว่า “มหัศจรรย์” เลยก็ ความจรงิ แล้ว ผมกค็ ือเดก็ อีสานคนหนง่ึ ที่พอ่ แม่มีท่ี
ว่าได้ เพราะลูกสาววัยรุ่นคนเดียวของเรา เริ่มเก็บผักจาก นามากมาย แตก่ ย็ งั ยากจนเพราะความแหง้ แลง้ กนั ดาร ตอน
โรงเรียนมาฝาก หลังจากนั้นก็มาเล่าให้ฟังว่าได้ลองท�ำนาที่ เป็นเด็กผมรักอาชีพการเกษตรมาก เคยท�ำงานรับจ้างถาก
โรงเรียน ท้ังท่ีอยู่ท่ีบ้านไม่เคยนึกอยากช่วยเลย และได้หัด หญา้ ด�ำนา ขดุ ดิน และมีความฝันว่าจะเรียนตอ่ ดา้ นเกษตร
เรียนท�ำขนมอีกหลายอย่าง แตแ่ ลว้ กจ็ บั พลดั จบั ผลไู ดม้ าเรยี นเปน็ ครแู ทน ชว่ งทเี่ รยี นจงึ
แตท่ นี่ ่าดีใจที่สดุ คอื คำ� พดู ของลกู ที่บอกว่า “แม่จ๋า... ศึกษาหาความรจู้ นพบหลักการของเกษตรทฤษฎีใหม่ จึงได้
อยา่ ขายทน่ี าของเราใหค้ นอนื่ นะจะ๊ หนจู ะไปเรยี นตอ่ เกย่ี วกบั น�ำมาพัฒนาทด่ี ินของตัวเองจนเป็นผลสำ� เร็จ
วิชาเกษตร จบกลบั มาจะได้พัฒนาทีด่ นิ ของเราให้กลายเป็น
สวนเศรษฐกจิ พอเพยี งเหมือนอย่างท่ีโรงเรียนทำ� ”

64 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

แต่เป็นครูมาได้ ๑๕ ปี ผมก็พบว่าเด็กรุ่นใหม่ขาด แรกของเรา คือ ฐานการเลี้ยงปลา เรามีบ่อเลี้ยงปลาอยู่
ทักษะในการใช้ชีวิต คิดไม่เป็น ท�ำงานไม่เป็น ขาดความ ๒ บ่อ เป็นบ่อปลาดกุ ประมาณ ๔,๐๐๐ ตวั และบอ่ ปลากนิ
อดทนอดกล้ัน ต้องการท�ำงานสบายๆ ได้เงินเดือนสูงๆ พืชท่ีเป็นสระใหญ่มีปลาประมาณ ๑๐,๐๐๐ ตัว ส่วนท่ีติด
แพงๆ และดูถกู อาชพี ท�ำไรท่ �ำนา ทง้ั ที่เปน็ อาชีพท่พี อ่ แม่ท�ำ กบั บอ่ เลยี้ งปลาเปน็ ฐานการทำ� สวนผลไม้ มที งั้ หมด ๑๕ ไร่
มาหาเล้ียงดูตนเองมา ลูกชาวนาบางคนท�ำนาไม่เป็นเลย เราปลูกขนุน น้อยหน่า มะม่วง ฝร่ัง ละมุด ซึ่งก�ำลังโต
ดว้ ยซำ้� สว่ นเดก็ บางคนกถ็ งึ กบั ขายไรข่ ายนาแลว้ ไปเปน็ ลกู จา้ ง อีก ๒-๓ ปี น่าจะเร่ิมเก็บผลได้ สว่ นกล้วยหอม กล้วยน้�ำว้า
ในเมืองแทนก็มี ด้วยเหตุน้ีผมจึงคิดว่าถ้าเด็กนักเรียน กลว้ ยไข่ และมะละกอเราเกบ็ ผลผลติ ไปใชท้ ำ� อาหารกลางวนั
เหลา่ นี้ ไดม้ โี อกาสเรยี นรปู้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และหลกั ทำ� ขนมต่างๆ ไดแ้ ลว้ คะ่
ของทฤษฎีใหม่อยา่ งลึกซึ้ง ก็จะเปน็ ผู้ทมี่ ีทกั ษะชวี ติ มากขึ้น เดนิ ตอ่ กนั มาอกี นิดกเ็ ป็นฐานการปลกู ผัก เราปลกู
สามารถดำ� รงชวี ติ อยใู่ นสงั คมชนบทอยา่ งมคี วามสขุ โดยไมต่ อ้ ง แตงกวา ถ่ัวฟกั ยาว มะเขือ ขา้ วโพดฟักอ่อน ฟักทอง พริก
ไปย้ือแย่งแข่งขันกันในเมืองหลวง น่ีจึงเป็นที่มาให้ผมท�ำ ทเี่ หน็ ทำ� คา้ งไวด้ สู วยงามคอื นำ้� เตา้ คะ่ ผกั พวกนเ้ี รานำ� ไปขาย
โครงการพฒั นาทกั ษะชวี ติ ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซงึ่ ไดร้ บั ในราคาถูกให้โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน เพ่ือน�ำ
การสนบั สนนุ ดา้ นเงนิ ทนุ และกำ� ลงั ใจจากสำ� นกั งานสง่ เสรมิ เงินท่ไี ด้มาใชห้ มุนเวยี น จากเมอ่ื ก่อนทโี่ รงเรยี นเราตอ้ งจ่าย
สงั คมแหง่ การเรยี นรแู้ ละคุณภาพเยาวชน (สสค.) เงนิ ค่าอาหารกลางวัน วนั ละ ๓,๐๐๐-๓,๕๐๐ บาท เด๋ยี วน้ี
ลดลงเหลือวันละ ๒,๐๐๐-๒,๗๐๐ บาท เงินส่วนตา่ งนี้เรา
เขา้ ห้องเรยี นวิชาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยกัน นำ� ไปซอ้ื จาน ชาม กระทะเพิ่มเติม
ส่วนท่ีเห็นเป็นโรงเรือนยาวๆ นน่ั มดี ว้ ยการสองฐาน
เมื่อเร่ิมต้นจะท�ำโครงการน้ี ผมต้ังเป้าไว้ว่าจะสอน คอื ฐานการเลยี้ งไกไ่ ข่ เรามไี กไ่ ข่ ๔๐ ตวั ออกไข่ ๓๕-๓๗ ฟอง
เดก็ นกั เรียนในระดบั ชน้ั ม.๑-ม.๓ แตไ่ ปๆ มาๆ กลายเปน็ เม่ือขายไข่ไก่ให้กับชาวบ้านในชุมชนหรือโครงการอาหาร
ว่าเด็กท้ังโรงเรียนตั้งแต่อนุบาลจนถึง ป.๖ ก็มาเรียนรู้ด้วย กลางวันของโรงเรียน เราก็น�ำเงินมาซ้ือหัวอาหารส�ำหรับ
เราเรมิ่ โครงการดว้ ยการสำ� รวจความสามารถดา้ นทกั ษะชวี ติ
ของนักเรยี นชนั้ ป.๖-ม.๓ เป็นรายบคุ คล เชน่ เด็กท�ำงาน
อะไรเป็นบ้าง ปลูกผักเป็นไหม ฯลฯ แล้วเชิญวิทยากรที่มี
ความรมู้ าบรรยาย รวมถงึ แนะนำ� ครผู สู้ อนเกย่ี วกบั แนวทาง
การสอนปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่
โรงเรียนของเราเป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการ
ศกึ ษา มีทด่ี ิน ๔๗ ไร่ มอี าคารเรยี น ๓ หลังคอื อาคารเรียน
ชน้ั อนบุ าล อาคารเรยี นชนั้ ประถม และอาคารเรยี นชนั้ มธั ยม
เราแบ่งท่ีดินท�ำโครงการประมาณ ๒๐ ไร่ โดยแบ่งเป็น ๘
ฐานการเรยี นรู้ โดยนกั เรยี นจะใชเ้ วลาชว่ั โมงวชิ าเกษตรและ
วิชาเลือกในการเรียนรู้สัปดาห์ละ ๒-๓ ชั่วโมง รวมถึงบาง
ครงั้ ต้องใชเ้ วลาโฮมรมู หลังเลิกเรยี นมาท�ำงาน เชน่ ขดุ ดนิ
รดน้�ำตน้ ไมด้ ว้ ย
เด็กๆ ให้ความร่วมมือในการท�ำงานดีมาก พวกเขา
รู้สึกสนุกกับทุกกิจกรรม เพราะเราเปิดโอกาสให้เด็กได้ท�ำ
ในส่ิงที่ชอบที่สนใจ ถ้าอยากรู้ว่าเป็นอย่างไร เดี๋ยวเด็กๆ
จะพาไปชมฐานการเรยี นรู้ตา่ งๆ ครับ

เยย่ี มชมผลติ ผลของ “วิชานอกห้องเรียน”

สวสั ดผี มู้ าเยยี่ มชมโรงเรยี นทกุ ทา่ นคะ่ วนั นเี้ ราจะไป
ชมฐานการเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียงทงั้ ๘ ฐานนะคะ ตอน
เดนิ เขา้ ประตโู รงเรยี นมาคงเหน็ บอ่ ใหญๆ่ นะคะ นน่ั เปน็ ฐาน

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ 65

เลยี้ งไกต่ อ่ ไป สว่ นอกี ฐานทต่ี อ่ เนอ่ื งกนั คอื ฐานการเพาะเหด็ ทุกเย็นก่อนกลับบ้าน หนูจะอยู่ช่วยรดน้�ำต้นไม้ใน
นางฟา้ เราใชก้ อ้ นหวั เชอ้ื เหด็ ทงั้ หมด ๒,๕๐๐ กอ้ น ชว่ งสาม โรงเรยี นเรา ใชส้ ายบวั รดแปลงผกั ใชร้ ะบบนำ�้ อตั โนมตั อิ ยา่ ง
เดอื นแรก เกบ็ ผลผลติ ไดป้ ระมาณวนั ละ ๕๐-๖๐ กโิ ลแตช่ ว่ งน้ี สปริงเกอร์รดแปลงข้าวโพด และใช้ระบบน้�ำหยดรดผลไม้
เกบ็ ไดน้ ้อยแลว้ คะ่ เหลือวนั ละ ๕ กิโลเทา่ น้นั เอง ต่างๆ ผลจากการเรยี นรู้ในครั้งนี้ ครใู ห้เราทำ� นวัตกรรมดา้ น
เดนิ มาอกี นดิ นะคะ ตรงนเี้ ปน็ ฐานโรงปยุ๋ ชวี ภาพ เรา กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ทำ� นำ�้ อเี อม็ (EM)อเี อม็ ยอ่ มาจากEffectiveMicroorganisms พอเพยี ง ไดท้ งั้ หมด ๘ เรอื่ ง ตามจำ� นวนฐานตา่ งๆ เพอ่ื ใชฝ้ กึ
เป็นน้�ำจุลินทรีย์ที่ได้จากการหมักผลไม้กับกากน้�ำตาล ทกั ษะชีวิตและการท�ำงานใหน้ กั เรยี นตอ่ ไป
เราใช้น้�ำท่ีได้ใส่ในบ่อปลาเพื่อบ�ำบัดน้�ำเน่าเสีย และรดน้�ำ ทุกวันนี้โรงเรียนของเรากลายเป็นโรงเรียนต้นแบบ
ต้นไม้ช่วยเพ่ิมการเจริญเติบโต ส่วนผลไม้ที่เราน�ำมาหมัก เศรษฐกิจพอเพียงของส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ก็เป็นมะละกอ ฟักทอง กล้วยท่ีเน่าเสียแล้วน่ันเอง ส่วนท่ี นครราชสมี า เขต ๕ มหี น่วยงานองคก์ รตา่ งๆ มาขอศึกษา
อยู่ใกล้กับโรงปุ๋ยชีวภาพก็เป็นฐานการท�ำนาท่ีมีอยู่ ๓ ไร่ ดงู านอยเู่ ปน็ ประจำ� รวมทง้ั ไดร้ บั เชญิ ไปจดั นทิ รรศการตา่ งๆ
ครูมอบหมายให้ภารโรงช่วยเตรียมแปลงนา ส่วนพวกเรา ด้วย นอกจากน้นั เวลาพอ่ ๆ แมๆ่ มารบั ลูกทโี่ รงเรียนก็มา
เปน็ คนหวา่ นขา้ ว ดำ� นา พอถงึ เวลาเกบ็ เกยี่ วกจ็ า้ งรถมาเกย่ี ว เก็บผักที่โรงเรียนไปทาน บางคนก็น�ำปุ๋ยคอก หญ้าแห้งมา
ไดข้ า้ วมาเรากเ็ ขน็ ไปใหโ้ รงสขี า้ วทอ่ี ยใู่ กลๆ้ สี ใหก้ ระสอบละ ใหห้ รอื มาเรยี นร้กู ารท�ำเกษตรพอเพยี งทนี่ ่ี
๑๐ บาท ปนี เี้ ราได้ ๑๐ กระสอบกจ็ า่ ยคา่ สขี า้ วไป ๑๐๐ บาท การเรียนรู้ท้ัง ๘ ฐานท�ำให้เด็กขี้เกียจชอบความ
คะ่ ขา้ วทีไ่ ดก้ ็ขายในราคาถูกให้กับโครงการอาหารกลางวัน สบายอย่างหนู ร้จู ักความรบั ผดิ ชอบ ความอดทน ได้เรียนรู้
อีกเช่นกัน ว่าข้าวปลาอาหารแต่ละอย่างเราได้มาอย่างไร และพ่อแม่
ฐานสุดท้ายที่อยู่ใกล้แปลงนา เป็นฐานการท�ำขนม ตอ้ งเหน่ือยยากเพ่ือเรามากแคไ่ หนค่ะ
ครูให้แม่ครัวที่โรงเรียนซ่ึงเก่งเรื่องท�ำขนมพื้นบ้านมาสอน ตอนนี้หนูไม่อยากไปท�ำงานในเมืองแล้ว อยากเป็น
พวกเรา ตอนนห้ี นูทำ� ขนมฟกั ขนมกลว้ ย ขนมสอดไส้ ขนม ชาวนาเหมือนพ่อเหมือนแม่ แต่ขอเป็นชาวนาท่ีปลูกผัก
สายบัว ขนมเทยี นไสเ้ ค็ม ขนมตาล และขา้ วต้มมัดเปน็ แลว้ เล้ียงไก่ เพาะเห็ดด้วยนะจ๊ะ จะได้มีพออยู่พอกินไม่ต้องไป
โดยเฉพาะขนมสายบัวเป็นขนมโบราณที่หาทานไดย้ าก เรา เสียเงนิ ซอ้ื
ใชก้ า้ นดอกของบวั สายมาลอกเยอ่ื หมุ้ ออก หนั่ ขวางโรยเกลอื แมค่ งแปลกใจวา่ ทำ� ไมหนถู งึ ทำ� อะไรเปน็ หลายอยา่ ง
แล้วน�ำไปผสมกับแป้ง น้�ำตาล เสร็จแล้วหยอดลงในถ้วย จากท่ีเม่อื กอ่ นหุงข้าวก็ยังไม่เปน็ กเ็ พราะทโี่ รงเรยี นไมไ่ ด้
ตะไลหรือกระทงใบตอง โรยหน้าด้วยมะพร้าวขูด รสชาติ สอนใหเ้ รยี นหนงั สอื อยา่ งเดยี วนะแม่ เขายงั สอนวชิ าชวี ติ
หวาน มนั หนบึ ๆ อร่อยมากคะ่ นอกจากนน้ั ครยู งั สอนให้ ให้ด้วยจะ้
ทำ� โดนัทท่มี สี ่วนผสมของเห็ดนางฟา้ ดว้ ย
เคลด็ ลบั ความส�ำเรจ็
ความต้ังใจจริงในการท�ำงานของครูผู้รับ
ผิดชอบโครงการ ผู้บริหาร และคณะครูทุกคนใน
โรงเรียน รวมถึงความร่วมมือจากพ่อแม่ผู้ปกครอง
ชมุ ชน และองคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

66 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

การสง่ เสรมิ และพฒั นาทกั ษะชวี ติ ของนกั เรียน

โรงเรียนนครขอนแกน่ โดยใชโ้ ครงสรา้ งซที (SEAT)

โรงเรยี นนครขอนแกน่ ขอนแกน่

ปีนี้รุ้งตะวัน เรียนอยู่ ม.๕ เป็นท่ีรักของเพ่ือนๆ เป็นเด็กกิจกรรม มีงานบุญ
งานบวชทไี่ หน หรอื แมแ้ ตง่ านโรงเรยี น หากใครตอ้ งการการแสดงรำ�ไทย รงุ้ ตะวนั ตอ้ งได้
รับเลอื กทุกครงั้ ขณะเดียวกนั เธอยงั รว่ มในโครงการเพ่ือนท่ปี รึกษา (YC) ของโรงเรียน
คอยแนะนำ�ใหค้ ำ�ปรกึ ษากับเพอ่ื นที่มีปญั หาเร่อื งตา่ งๆ
ร้งุ ตะวนั ในวนั น้ชี ่างแตกต่างกบั รุ้งตะวนั คนเดิมอย่างสน้ิ เชงิ

เวที “เอาดีมาอวดกนั ” อนิ เทอรเ์ นต็ ทกุ อยา่ ง เรยี กวา่ รไู้ มเ่ ทา่ ทนั สอื่ บางคนโดดเรยี น
ไปเล่นเกม เข้าเรียนบ้างไม่เข้าเรียนบ้างต้ังแต่ช้ัน ม.๑-ม.๓
ต้นทุนชวี ติ ตดิ ลบ บางคนตดิ กาวจนผลการเรยี นตดิ ลบ เรยี นไมร่ เู้ รอื่ ง สมาธสิ นั้
หรอื บางคนกต็ ดิ เทย่ี ว ตดิ การพนนั เหลา้ และบหุ ร่ี ขาดความ
“รุ้งตะวันมาจากครอบครัวที่แตกแยก เธอเลย อบอนุ่ จนโหยหาความรกั ผดิ วธิ ี กค็ ดิ วา่ จะปลอ่ ยแบบนตี้ อ่ ไป
กนิ เหลา้ สบู บหุ ร่ี เอาหมดทกุ อยา่ ง อยทู่ บี่ า้ นกไ็ มม่ ใี ครสนใจ เรอ่ื ยๆ ไมไ่ ด้ เราคงต้องท�ำอะไรสักอยา่ ง”
มาโรงเรยี นครกู ต็ ำ� หนิ เพอื่ นกไ็ มอ่ ยากคบเพราะเปน็ เดก็ เกเร หากมองด้วยปริมาณวดั ดว้ ยจ�ำนวนตวั เลข โรงเรียน
เธอเลยรู้สึกอ้างว้างเป็นธรรมดา” อ.เครือวัลย์ พนมหิรัญ นครขอนแก่น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ซ่ึงมีนักเรียน
เล่าถึงท่ีมาของพฤติกรรมเส่ียงในอดีตของลูกศิษย์อย่าง ทง้ั หมดมากถงึ ๒,๒๕๒ คน และมนี กั เรยี นบกพรอ่ งดา้ นการ
เข้าอกเข้าใจ และไม่ใช่มแี ต่รงุ้ ตะวนั คนเดียวทเี่ ปน็ เชน่ น้นั มองเหน็ เรยี นรว่ มอกี ๘ คน อาจไมไ่ ดม้ นี กั เรยี นทม่ี พี ฤตกิ รรม
“เราสำ� รวจตน้ ทนุ ชวี ติ เดก็ ๆ ลกู ๆ ของเราในโรงเรยี น เสีย่ งมากกว่าโรงเรียนอ่ืนแตอ่ ย่างใด แตด่ ว้ ยการมองปญั หา
แล้วพบว่าเขามตี น้ ทุนชวี ติ ตำ่� มาก บางคนมาจากครอบครวั อย่างป้องกันการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสู่ขั้นรุนแรงท่ีจะ
แตกแยก เป็นเด็กเกเร หนีเรียน ติดเกม Face Book ยากต่อการแก้ไขของนักเรียนกลุ่มเส่ียง และให้ภูมิคุ้มกัน
พัฒนาทักษะชีวิตให้กับกับเด็กมัธยมท้ังโรงเรียน ท�ำให้
อ.เครอื วลั ย์ หวั หนา้ งานแนะแนว เรง่ จดั ทำ� โครงการสง่ เสรมิ
และพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโรงเรียนนครขอนแก่น
โดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT) ข้ึน และได้รับทุนสนับสนุน
จาก สสค.

SEAT =?

SEAT คือกรอบแนวคิดในการดำ� เนนิ โครงการน้ี
S : Students หมายถึง นักเรยี นทกุ คนในโรงเรียน
นครขอนแก่น ต้ังแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ท้ังนกั เรยี นกล่มุ ทั่วไป กลมุ่ เสยี่ ง กลมุ่ มี
ความสามารถพิเศษ และนักเรียนพิเศษเรยี นรว่ ม

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 67

E -Environment หมายถงึ สภาพแวดลอ้ ม บคุ คล
ทีเ่ กยี่ วข้อง ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหาร ครู ผ้ปู กครอง นกั เรยี น ชมุ ชน
และองคก์ รภายนอก
A -Activity หมายถงึ การจดั กิจกรรมสง่ เสริม และ
พฒั นาทกั ษะชวี ติ ที่สำ� คญั ๓ กลยุทธ์ คอื ใช้กระบวนการ
แนะแนว สร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ และสร้างสัมพันธภาพ
ท่ีดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน มีกิจกรรมต่างๆ เช่น เพ่ือน
ท่ปี รกึ ษา เปดิ ใจลกู รกั สานสายใยลูกรัก ไปจนถึงกิจกรรม
พฒั นาทักษะอาชพี
T-Tool หมายถึง สื่อ โปรแกรมพัฒนาทักษะชีวิต
เคร่อื งมือ CAI ต�ำรา เอกสาร นโยบาย วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ
กลยทุ ธ์ ความรว่ มมอื ทกุ ฝา่ ย ความชว่ ยเหลอื อน่ื ครู บคุ ลากร
และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

แนะแนว สร้างภูมิค้มุ กนั มีปญั หา เปน็ ความเปลย่ี นแปลงของตวั เดก็ ทเี่ ราชนื่ ใจมาก
เรามีเด็กพิการทางสายตาเรียนร่วมกับเด็กปกติด้วย
“เรมิ่ จากสำ� รวจกอ่ นวา่ เดก็ ทงั้ ๒,๒๕๒ คน แตล่ ะคน เราจงึ ท�ำโครงการจติ อาสา เพื่อนช่วยเพอ่ื นดว้ ย ใหเ้ ดก็ เขา
ในโรงเรยี นมปี ญั หาอะไรอยา่ งไรบา้ ง โดยใหอ้ าจารยท์ ปี่ รกึ ษา รสู้ กึ อยากชว่ ยเหลอื เพอ่ื นเมอื่ มโี อกาส พาเพอื่ นเดนิ เปน็ ธรุ ะ
แต่ละห้องเป็นคนดูแล เมื่อคัดเด็กท่ีมีปัญหาได้แล้ว จึงมา ไปซ้ือน�้ำ ซื้อของให้เพื่อน หรือช่วยท�ำกิจกรรมบางอย่างที่
วิเคราะห์เปน็ รายคนว่า เขามีปญั หาจากอะไร ไปเยย่ี มบ้าน เพอื่ นตาเสยี ทำ� ไมไ่ ด้ ซง่ึ เดก็ ๆ กเ็ ตม็ ใจชว่ ยเพอื่ นๆ เปน็ อยา่ งด”ี
พบพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ดสู ภาพทอี่ ยเู่ ขาวา่ เปน็ อยา่ งไร มปี ญั หา
อะไร แล้วจึงจัดกจิ กรรมขึ้นมารองรับ สรา้ งกิจกรรมให้เดก็ สานสายใยครอบครวั
ได้ท�ำ ไดม้ ีสว่ นรว่ ม”
หลังจากคัดกรองเด็กแล้ว อาจารย์เครือวัลย์และ เม่ือปลายน้�ำคือโรงเรียน ต้นน้�ำคือครอบครัว หาก
อาจารยท์ า่ นอนื่ ๆ จงึ คดิ กจิ กรรมขนึ้ เพอ่ื สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั จติ ใจ ปลายน้�ำปรับเด็กได้ แต่ต้นน�้ำของเด็กยังไม่เข้าใจโรงเรียน
และปรบั พฤตกิ รรมเดก็ เชน่ มหี อ้ งชมรม หอ้ งดนตรี ปรบั ปรงุ หรอื ไมเ่ ขา้ ใจลกู ไมช่ า้ เดก็ กจ็ ะกลบั ไปปญั หาอกี เชน่ เดมิ การ
สนามกีฬาให้เด็กมีกิจกรรมท่ีหลากหลาย จัดกิจกรรมเปิด สานสายใจพอ่ แม่ ลกู หรือผ้ปู กครอง จงึ เปน็ ตาข่ายปอ้ งกนั
ใจเด็ก ไปจนถึงสานความสัมพันธ์เด็กกับครอบครัว และ เดก็ ได้ดีทส่ี ดุ
กิจกรรมจิตอาสาเพ่ือนท่ีปรึกษา และเพื่อนช่วยเพื่อน กิจกรรมสานสายใยลูกรัก จึงเป็นอีกกิจกรรมท่ีเปิด
ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่าน้ีเด็กทุกคนในโรงเรียนทุกคนได้ท�ำ โอกาสใหพ้ อ่ แมล่ กู ไดร้ บั ฟงั ซงึ่ กนั และกนั ทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั
กิจกรรมร่วมกัน เพ่ือเป็นการสานสัมพันธ์ระหว่างเด็กท่ีมี ใหล้ กู ไดก้ อด ไดน้ อนหนนุ ตกั พ่อแม่ ท�ำเอาลกู บางคนถงึ กับ
พฤติกรรมเส่ียง เด็กพิการ และเด็กปกติ ให้เขารู้สึกเป็น รอ้ งไห้ บอกวา่ ดใี จมากทไ่ี ดเ้ ปน็ ครง้ั แรกทไ่ี ดน้ อนหนนุ ตกั แม่
อนั หน่ึงอนั เดียวกัน และลดความร้สู ึกแปลกแยกลง เพราะตัง้ แตเ่ ลก็ ไม่เคยได้หนุนตักแม่เลย
“อย่างรุ้งตะวันน่ี หลังจากเข้าโครงการ ครูชักชวน “มเี ด็กคนหนง่ึ ชอื่ ปรญิ ญา เขาติดเกม แมเ่ ขามารว่ ม
ให้เขามาเข้าชมรมนาฏศิลป์ โชคดีท่ีมาถูกทาง เขาชอบ กิจกรรมแล้วร้องไห้หนักมาก ขอร้องให้เขากลับมาเรียน
การแสดงออก ร�ำได้สวยจนได้ไปออกงานต่างๆ เพื่อนๆ ก็ สุดท้ายปริญญาก็ยอมกลับมาเรียน และเป็นเด็กกิจกรรม
ยอมรับ สังคมก็ยอมรับ เขาเลยปรับพฤติกรรมใหม่กลาย
มาเป็นเดก็ กจิ กรรม ชว่ ยงานโรงเรียน ชว่ ยงานคร-ู อาจารย์
ตลอด
พอเขาผ่านจุดนั้นมาได้ เขาก็ชักชวนเพื่อนมาเข้า
โครงการอกี หลายคน สรา้ งกลุม่ เพ่อื นขึ้นมาชว่ ยเหลอื สังคม
ตวั รงุ้ ตะวนั เองกเ็ ปน็ เพอ่ื นทป่ี รกึ ษา คอยแนะนำ� เพอ่ื นๆ เวลา

68 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

ช่วยเหลือโครงการด้วย ครูถามเขาว่าท�ำไมถึงยอมกลับมา ให้เพ่อื นๆ กลบั ตัวกลบั ใจมาส่ลู ู่ทางทีถ่ ูกทคี่ วรโดยมเี ขาเปน็
เรียนท้ังๆ ที่โดดอยู่หลายปี เขาบอกว่าเขาไม่อยากให้แม่ ท่ีปรึกษาและเป็นแบบอย่าง ที่ส�ำคัญโครงการนี้ยังได้สร้าง
รอ้ งไหอ้ กี แลว้ ... กเ็ ปน็ ความประทบั ใจทคี่ รเู หน็ จากกจิ กรรมนี้ ภูมิต้านทานให้กับวัยรุ่นท้ังโรงเรียนให้พ้นจากพฤติกรรม
เดก็ ทปี่ รบั พฤตกิ รรมไดแ้ ลว้ เราจะใหเ้ ขาเปน็ แกนนำ� เสย่ี ง และเชอื่ มสายใยครอบครวั ไวเ้ หนย่ี วนำ� จติ ใจอกี ชนั้ หนง่ึ
ไปเป็นเพ่ือนท่ีปรึกษาให้ค�ำแนะน�ำเพ่ือนๆ ท้ังในโรงเรียน พร้อมกันน้ันในกระบวนการท�ำงานของโครงการ
และโรงเรียนอ่ืน อย่างปริญญาก็ไปเป็นวิทยากรในหลาย ได้สร้างเครือข่ายท่ีเข้มแข็งทั้งครูผู้มีทักษะในการดูแล
โรงเรยี นเชน่ ชมุ แพศกึ ษาอนบุ าลภเู วยี งเปน็ ตน้ สง่ิ ทเี่ ดก็ เราได้ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น นกั เรยี นแกนนำ� เพอื่ นทปี่ รกึ ษา และเครอื ขา่ ย
นอกจากจะไดแ้ ลกเปลยี่ นประสบการณแ์ ลว้ เขายงั รสู้ กึ ตวั เอง ผู้ปกครองทพี่ ร้อมให้ความรว่ มมือ
มีคุณค่า มีคนให้การยอมรับ เพ่ือนๆ ของปริญญาที่เรียน ทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย หากขาดความรัก
ห้องเดียวกัน แล้วติดเกม ปรญิ ญากช็ ักชวนให้เลิก เพอ่ื นๆ ความความปรารถนาเป็นทนุ ตัง้ ตน้
ก็เลิกมาชว่ ยกิจกรรมของโรงเรียนแทน”
หากมองในภาพรวมของโครงการ ครคู ดิ วา่ โครงการนี้ เคล็ดลบั ความส�ำเรจ็
ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี เราแก้ปัญหาของลูกๆ มุ่งมั่น ทุ่มเท การก�ำหนดแผนการท�ำงานท่ี
หลายคนได้ มีโครงงานต่อเนื่องเช่น โครงงานคุณธรรม ๑ ชัดเจน การน�ำต้นทุนความรู้เดิมที่มีอยู่มาต่อยอด
หอ้ งเรียน ๑ โครงงาน เดก็ มีการแลกเปลย่ี นความร้ใู นการ เพื่อยกระดับกระบวนการเรียนรู้ทักษะชีวิตอย่าง
ทำ� ความดีกนั ชวนกันไปท�ำความดี เด็กบางคนเคยเป็นเดก็ รอบด้าน ร่วมกันใหข้ ้อคิด และจดุ ประกายความคดิ
หลังห้องไม่ต้ังใจเรียนก็หันมาสนใจการเรียนมากขึ้น อันนี้ “มเี พอื่ นรว่ มคิด มติ รร่วมสร้าง” ท่จี ะเดินเคยี งคูก่ ับ
เปน็ ความเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ ในโรงเรยี นซงึ่ เราภมู ใิ จมาก” ความสำ� เรจ็
ประสบการณ์ชีวิตของรุ้งตะวันและปริญญา เป็น
ตัวอย่างความส�ำเร็จของโครงการที่พลิกฟื้นจากชีวิตติดลบ
กลบั มาเปน็ บวก ทงั้ ยงั เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการชว่ ยเหนย่ี วนำ�

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 69

ลมหายใจของใบเตย

โรงเรียนนาเฉลียงพิทยาคม เพชรบูรณ์

อีกทั้งงบประมาณจากส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ง
การเรยี นรแู้ ละคณุ ภาพเยาวชน (สสค.) จำ� นวนหนงึ่ แสนบาท
ท่ีก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนกับเด็กนักเรียน ครู และ
ประชาชน ถึง ๑,๕๗๐ คน ก็ไมน่ า่ จะถือวา่ เป็นเงนิ ทุนกอ้ น
โตจนเกนิ ไป
เพราะสำ� หรบั พวกเขา เพยี งแคม่ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์
มสี องมอื กับแรงบนั ดาลใจ อะไรๆ ก็เป็นไปได้

ว่ากันว่า “กุหลาบเขียว” หรือ Green หอมกลิน่ ใบเตย
rose นัน้ หายาก (มากๆ)
แต่ใครจะรู้ว่า เราสามารถหากุหลาบ กล่ินหอมชื่นใจที่ลอยกรุ่นอยู่ในขนมไทยนานาชนิด
เขียวได้ง่ายมาก ถงึ มากท่ีสดุ ที่ต�ำบลนาเฉลยี ง รวมทงั้ สสี นั ทผ่ี สมผสานแตง่ แตม้ ใหอ้ าหารคาวหวานงดงาม
อ�ำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ แถมยัง ด้วยสีเขียว ทั้งสด เข้ม อ่อน จาง หลากหลายระดับ คือ
เป็นสายพันธุ์พิเศษที่หาไม่ได้ในประเทศอ่ืนๆ หนึ่งในคุณค่าของใบเตยที่บรรพบุรุษได้ถ่ายทอดภูมิปัญญา
เพราะเปน็ “กหุ ลาบเขยี วกลิ่นใบเตย” ส่งผา่ นจากอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั
นอกจากการผสมอาหารให้สวยหอมแล้ว ใบเตย
บางคนอาจคิดว่า น่ีต้องเป็นกุหลาบจีเอ็มโอ ตัดต่อ ยังทรงคุณค่าในฐานะสมุนไพรดับร้อน แก้กระหาย
สารพันธุกรรมระหว่างกุหลาบกับใบเตยแน่ๆ ซึ่งก็ไม่น่า แกอ้ ่อนเพลีย บ�ำรงุ หวั ใจ ใชด้ ับกลนิ่ ในสถานทีต่ ่างๆ ทัง้ ยัง
แปลกใจ เพราะสำ� หรบั วทิ ยาการยคุ ใหม่ กบั มเี งนิ ทนุ สกั กอ้ น ใช้เป็นพืชหลักในการประดิษฐ์ตกแต่งช่อดอกไม้ในพิธีการ
ใหญๆ่ อะไรๆ กเ็ ปน็ ไปได้ ตา่ งๆ ท�ำพวงหรดี และทำ� ดอกไมจ้ ันทน์ ในงานฌาปนกจิ
แต่เด็กๆ กับคุณครูท่ีโรงเรียนนาเฉลียงพิทยาคม ใบเตยเป็นพืชท้องถิ่นท่ีปลูกง่าย และปลูกมากใน
ท่ี เ น ้ น ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ย ใ ต ้ ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ตำ� บลนาเฉลยี ง ชาวบา้ นรจู้ กั ใชป้ ระโยชนจ์ ากใบเตยมาตงั้ แต่
จนสามารถผา่ นการประเมนิ เพอ่ื รบั รองเปน็ ตน้ แบบโรงเรยี น รุน่ ปู่ย่าตายาย องค์ความรูเ้ กย่ี วกบั ใบเตยลอยกรุ่นอย่ทู ่วั ไป
ในฝนั รนุ่ ท่ี ๓ โรงเรยี นดปี ระจำ� อำ� เภอ มาหมาดๆ เมอื่ ปลาย ไมต่ ่างจากกลนิ่ หอมของมนั
ปี ๒๕๕๕ ตา่ งยม้ิ แยม้ ยนื ยนั วา่ กหุ ลาบเขยี วของพวกเขานนั้ อาจารย์อารีย์ แก้วบังเกิด ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน
ไมไ่ ดเ้ กดิ จากการใชเ้ ทคโนโลยี ไมม่ กี ารใชเ้ ครอื่ งมอื ระดบั สงู นาเฉลียงพิทยาคม จึงเกิดแรงบันดาลใจขึ้นว่า น่าจะน�ำ
มาดดั แปลงธรรมชาติ และไม่มกี ารท�ำลายสง่ิ แวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถ่ินน้ีมาสร้างทักษะทางอาชีพเพื่ออนาคตที่
ย่ังยืนให้แก่นกั เรียน
ใบเตยหาง่าย ราคาไม่แพง ปลูกเองก็ยังได้ ถ้าจะ
น�ำมาใช้เป็นสื่อสร้างการเรียนรู้ของเด็กนักเรียน ต่อให้ต้อง
ลองผดิ ลองถกู หลายรอบ กจ็ ะไม่ส้ินเปลอื งงบประมาณมาก
นกั (ถ้าใบเตยหายาก ราคาสงู งานนี้คงไปไมร่ อด) อกี ทัง้ ยงั
สามารถดึงวิทยากรชาวบ้านมาถ่ายทอดความรู้ให้กับเด็กๆ
เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
นำ� ไปสู่สงั คมแห้งการเรยี นรู้
อกี เหตผุ ลหนง่ึ คอื ใบเตยเปน็ พชื ทไี่ มว่ า่ จะเปน็ ขนั้ ตอน
การปลูก การเก็บมาใช้ หรอื การทิง้ ใหย้ อ่ ยสลายหลังการใช้

70 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

ลว้ นแตไ่ มท่ �ำลายสง่ิ แวดล้อม สอดคล้องกับความต้งั ใจที่จะ สรา้ งสรรคง์ านจากใบเตย สามารถสรา้ งสรรคง์ านใหม้ คี ณุ คา่
ให้เกิดช้ินงานท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมอยา่ งแทจ้ รงิ มากขนึ้ และสามารถใชเ้ ป็นแนวทางประกอบอาชีพไดอ้ ยา่ ง
คดิ แลว้ มแี ตไ่ ด้กับได้ ไม่ว่าจะฝ่ายเดก็ ฝา่ ยครู หรอื ยัง่ ยนื ต่อไป
ฝ่ายชาวบ้าน พิจารณาเหตุผลและประโยชน์รอบด้านแล้ว เม่ือวัสดุการเรียนการสอนและองค์ความรู้พร้อม
ทา่ นผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นกส็ ง่ั เดนิ หนา้ โครงการ “ลมหายใจ สรรพ ล�ำดับต่อมาคือ ท�ำอย่างไรให้เกิดการเรียนรู้โดย
ของใบเตย” ทันที กระบวนการมีสว่ นรว่ ม ทำ� อย่างไรให้องคค์ วามรูน้ ัน้ ถกู ยอ่ ย
สลายกลายเปน็ ทกั ษะชวี ติ ทส่ี ง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพของ
ชาวบ้าน เด็ก ครู เรียนรู้รว่ มกัน เยาวชน รวมทั้งคณุ ภาพของชมุ ชนโดยรวมไดอ้ ย่างแท้จริง
แผนงานที่ชัดเจนถูกออกแบบและจัดวางล�ำดับขั้น
โรงเรียนนาเฉลียงพิทยาคม ก็ไม่ต่างกับอีกหลาย โดยความรว่ มมอื ของหลายฝา่ ย เรม่ิ ตน้ จากผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
ร้อยหลายพันโรงเรียนในท้องถิ่นชนบท ท่ีต้ังอยู่ในชุมชน ที่ถ่ายทอดแรงบันดาลใจไปยังครูและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน
เกษตรกรรม รายไดย้ งั ชพี โดยเฉลย่ี ของชาวบา้ นอยใู่ นระดบั มีการประชุมระดมความคิดและความรับผิดชอบ ร่วมกัน
ต�ำ่ (พูดง่ายๆ วา่ ยากจนนัน่ เอง) อนาคตของเด็กๆ สว่ นใหญ่ จัดกิจกรรม ทัง้ ครู ผปู้ กครอง องคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
หลังจบการศึกษาระดับมัธยม คือการแสวงหาอาชีพเพื่อหา วดั และปราชญช์ าวบา้ นทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถเรอื่ งใบเตย
รายไดช้ ว่ ยเหลือครอบครัว จากนั้นจึงเป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
แต่ความพิเศษของโรงเรียนนาเฉลียงพิทยาคม คือ การฝกึ ปฏบิ ตั ิ การจดั แสดงผลงาน และการน�ำไปใชจ้ รงิ
ผู้บริหารและคณะครูท่ีให้ความห่วงใยถึงคุณภาพชีวิตใน
อนาคตยาวไกลของเยาวชนในท้องถิ่น แม้เม่ือผ่านระบบ บทเรียนใบเตย
โรงเรียนไปแล้ว
โครงการ “ลมหายใจของใบเตย” จงึ มวี ตั ถปุ ระสงค์ จากแค่รู้จักชื่อหรือกล่ินผ่านขนมหวาน เด็กๆ เริ่ม
หลกั อยทู่ กี่ ารสรา้ งโอกาสใหน้ กั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖ เรยี นรเู้ รอื่ งใบเตย ตง้ั แตช่ นดิ และลกั ษณะของตน้ เตย วธิ กี าร
รวมท้ังเยาวชนและชุมชน ได้รับความรู้และได้ฝึกทักษะ ตดั การท�ำความสะอาด การดูแลรกั ษา และวธิ นี �ำไปใช้ (ทีม่ ี
มากมายจนไม่สามารถบรรยายไดห้ มด)
การเรยี นรผู้ า่ นการถา่ ยทอดของลงุ ปา้ นา้ อาในชมุ ชน
ทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ ไดใ้ กลช้ ดิ ผใู้ หญ่ เกดิ สายสมั พนั ธต์ า่ งรนุ่ ผอู้ าวโุ ส
ท้ังหลายท่ีอาสามาช่วยถ่ายทอดต่างก็รู้สึกภูมิใจท่ีได้เป็น
“ครูชาวบา้ น”
ยิ่งถึงช่วงของการลงมือปฏิบัติ ย่ิงเกิดความสนุกท้ัง
ผู้เรียนผู้สอน (ไม่ใช่แค่เด็กๆ แต่คุณครูก็ได้เรียนรู้ร่วมกับ
ชาวบ้านไปด้วย) ไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาหาร การท�ำ
น้�ำใบเตย การหัดแปลงร่างใบเตยเป็นดอกกุหลาบ การฝึก
จดั กหุ ลาบใบเตยเพอ่ื ใชใ้ นโอกาสตา่ งๆ สารพดั รปู แบบ และ
การท�ำดอกไมจ้ ันทน์จากกุหลาบใบเตย

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 71

แขง่ ขันทกั ษะวชิ าการ

การท�ำความเข้าใจประโยชน์ของใบเตย รวมทั้ง แตช่ อื่ Green Roses ยังมคี วามหมายแฝงอยู่อยา่ ง
การทดลองน�ำไปใช้ ท�ำให้เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องวัฒนธรรม มนี ยั สำ� คัญอกี ด้วย
ประเพณี วิถีชวี ติ การกินการอยู่ การดูแลสุขภาพ ฯลฯ จาก Green แปลว่าสีเขยี ว หมายถึง ความเจรญิ งอกงาม
เร่ืองเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ ได้รู้จักขั้นตอนพิธีการ งานมงคล ความสดชน่ื และการอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม
ต่างๆ ได้เรียนรู้วงจรอาชีพท่ีเก่ียวเน่ืองกัน ระหว่างชีวิต Roses แปลวา่ กุหลาบ ซงึ่ ถอื เปน็ ราชินแี ห่งดอกไม้
ประจ�ำวันกับผลิตภัณฑ์ใบเตย พร้อมๆ กับการเกิดสมาธิ แลว้ ยงั หมายถงึ ความสวยงาม ความออ่ นหวาน ทซี่ อ่ นหนาม
ความมีวินัย และสุนทรียภาพทางจิตใจ จากการท�ำงาน อันแหลมคม มีภูมิคุ้มกันตัวเองที่จะไม่หลงใหลไปกับความ
ประดษิ ฐ์ทป่ี ระณตี และสวยงาม เย้ายวนของมลพิษ สามารถป้องกันตัวเองจากภัยคุกคาม
เม่ือมีการจัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรียน และ วัยรนุ่ ในรูปแบบต่างๆ ได้
ผลิตภัณฑ์ฝีมือเด็กๆ ถูกน�ำไปใช้จริงในกิจกรรมต่างๆ ของ อาจารย์อารีย์เช่ือมั่นว่า นอกจากทักษะอาชีพที่จะ
ท้องถนิ่ เดก็ ๆ ก็ไดร้ บั ก�ำลงั ใจจากชุมชน ได้รับคา่ ตอบแทน ติดตัวเด็กๆ ไปตลอดแล้ว กระบวนการเรียนรู้ทั้งหมดใน
จากผลงานของตนเอง ต่างภูมิใจและดีใจท่ีมีรายได้ไปช่วย โครงการน้ี จะช่วยหลอ่ หลอมใหเ้ ดก็ ๆ เกิดความภาคภูมใิ จ
พ่อแม่ พ่อแม่เกิดความม่ันใจในตัวลูก เกิดความเช่ือมั่นต่อ เห็นคุณค่าของตนเอง และเกิดทักษะชีวิตที่ช่วยยกระดับ
โรงเรยี น ชมุ ชนกไ็ ดเ้ หน็ ถงึ ผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษา (ทช่ี มุ ชน คณุ ภาพเยาวชนไปพร้อมๆ กนั ดว้ ย
เองมสี ว่ นรว่ มตลอดโครงการ) และไดต้ ระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของ ความเกย่ี วขอ้ งหลายระดบั ทใี่ บเตยมตี อ่ วถิ ชี วี ติ ทำ� ให้
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ทั้งหมดเป็นการประเมินผลและสรุป ทกุ คนเชื่อมนั่ ว่า โครงการน้ีจะตอ้ งนำ� ไปสู่ความยั่งยืน
บทเรยี นทีช่ ัดเจนย่ิงกวา่ คะแนนสอบหรอื รายงานฉบบั ใด ยกตวั อย่างเรอ่ื งดอกไม้จันทน์ อาจารยอ์ ารยี ์บอกว่า
“การท�ำดอกไม้จันทน์ ถึงจะไม่ใช่ธุรกิจที่สร้าง
Green Roses กับความหมายทล่ี ึกล�ำ้ ก�ำไรก้อนโตๆ แต่ก็สามารถด�ำเนินได้อย่างต่อเนื่อง เพราะ
สามารถขายไดต้ ลอด ท�ำแล้วเก็บไวร้ อขายได้ท้ังปี ไม่มีเสยี
ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนยืนมองกุหลาบเขียวช่อใหญ่ ไมบ่ ดู ไม่เน่า ถึงจะเป็นดอกไม้สำ� หรับคนตาย แต่ตราบใดที่
ทใ่ี ชต้ กแตง่ หอ้ งประชมุ ของโรงเรยี นดว้ ยความรสู้ กึ อม่ิ เอบิ ใจ มนษุ ยย์ ังเวยี นวา่ ยตายเกดิ ธรุ กจิ นีจ้ ะไม่มวี ันตายแนน่ อน”
เบ้ืองหลังความงดงามแข็งแรงของช่อกุหลาบ คือ เป็นข้อสรปุ ท่ีไมอ่ าจปฏเิ สธไดจ้ ริงๆ
ความตั้งใจของเด็กๆ ผสานกับองค์ความรู้จากภูมิปัญญา
ชาวบา้ น นไี่ มใ่ ชเ่ พียงความส�ำเรจ็ ของโรงเรยี น แตเ่ ปน็ ความ เคล็ดลบั ความส�ำเร็จ
ภมู ใิ จร่วมกนั ของทุกภาคส่วนในชุมชน ความมุ่งม่ันตั้งใจของผู้บริหาร การเลือกใช้
การพัฒนารูปลักษณ์ใบเตยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้ องคค์ วามรเู้ ดมิ ในชมุ ชนกบั ทรพั ยากรทหี่ างา่ ยตน้ ทนุ
เกิดการใช้ประโยชน์มากที่สุด โดยการรังสรรค์ให้เป็นดอก ต่�ำและวิทยากรชาวบ้านท่ีพร้อมให้ความร่วมมือ
กหุ ลาบสเี ขยี ว (Green Roses) ไมใ่ ชเ่ พยี งเพอ่ื ความสวยงาม อย่างตอ่ เนื่องจรงิ จงั
แปลกตา สามารถใช้แทนดอกไม้ทุกชนิดได้ในทุกกิจกรรม
ตั้งแต่เกดิ จนตาย เพยี งเทา่ นั้น

72 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

การจดั การศกึ ษาโดยนอ้ มน�ำปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ส่วู ิถชี วี ิตท่ียง่ั ยืน

โรงเรยี นน้ำ� เกล้ยี งวทิ ยา ศรสี ะเกษ

ลมแล้งที่โชยชายเหมือนเป็นสัญญาณว่าหน้านาจะผ่านไปอีกครั้ง แม้รวงข้าว
ทอ้ งแกจ่ ะใกลเ้ ปน็ สที อง หากจะมปี ระโยชนอ์ นั ใดในเมอ่ื ตอ้ งพกั การทำ� งานไปอกี หลาย
เดือน ไม่มใี ครอยากยา้ ยไปทำ� งานไกลบา้ น ไกลลูก ไกลเมีย แตเ่ มอื่ ปากท้องยังตอ้ ง
ให้อ่ิม เงนิ ทองจงึ ตอ้ งหา จะให้อยู่บา้ นทำ� กนิ อะไร

หน้านาผ่านไปแล้ว....พ่อ แม่ย้ายไปท�ำงานเป็น เกษตรพอเพยี งพาพอ่ แม่กลับบา้ น
กรรมกรในเมอื งใหญ่ ชวี ิตเด็กนกั เรยี นกย็ ังต้องดำ� เนนิ ต่อไป
ไม่มีใครถามสักค�ำว่าอยากท�ำอะไร บางทีเหงาๆ เบ่ือมากๆ “ถ้าจะแก้ปัญหาเด็ก ก็ต้องแก้ปัญหาผู้ใหญ่ก่อน
ก็ไปเล่นกับเพื่อน ซึ่งก็ไม่มีอะไรให้ท�ำมากนัก นอกจากเล่น เมื่อเด็กขาดความอบอุน่ เพราะพอ่ แมต่ ้องไปท�ำงานต่างถ่นิ
เกม นงั่ คยุ กนั ตายายที่อย่ดู ว้ ยกช็ ่างบ่นไดท้ ุกเร่ือง หาวา่ ไป เรากต็ อ้ งหาวธิ ดี งึ พอ่ แมก่ ลบั มาทำ� มาหากนิ ทบี่ า้ น เดก็ ๆ กจ็ ะ
สุมหัวกนิ เหลา้ บ้าง ดมกาวบ้าง บอกให้ตงั้ ใจเรยี นบา้ ง แต่จะ มีพ่อแม่ดูแลให้ความอบอุ่นมากขึ้น เราต้องคิดหาทางสร้าง
เรยี นไปทำ� ไมในเมอื่ จบไปกไ็ มไ่ ดเ้ รยี นตอ่ ตอ้ งไปเปน็ กรรมกร อาชพี ใหพ้ ่อแม่เพิม่ ขึน้ แต่จะไปสอนพ่อแมต่ รงๆ กค็ งไม่ใช่
รับจ้างอยดู่ ี เรื่อง เราก็สอนท่ีตัวเด็กก่อน และเกษตรพอเพียงนี่แหละ
บ้านนำ้� เกล้ยี ง จังหวัดศรสี ะเกษ เปน็ อีกหมู่บา้ นหนง่ึ คอื คำ� ตอบที่ยั่งยนื ”
ในจังหวัดภาคอีสานที่มีปัญหาแรงงานย้ายถ่ินเมื่อหมดฤดู ครูกาญจนาบอกอย่างน้ันก่อนท่ีจะเล่าให้ฟังต่อว่า
ท�ำนา เมื่อพ่อไปทางแม่ไปทาง ลูกหลานท่ีอยู่บ้านก็ว้าเหว่ โครงการการจัดการศึกษาโดยน้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจ
ครทู ่โี รงเรยี นจึงเหมือนพ่อแม่คนท่สี องที่เด็กจะพ่งึ พิงได้ แต่ พอเพยี งสวู่ ถิ ชี วี ติ ทยี่ ง่ั ยนื ซง่ึ ไดร้ บั ทนุ จาก สสค. นี้ มหี ลกั การ
จะทำ� อย่างไรให้พอ่ แมไ่ มต่ ้องอยูไ่ กลลกู - หลาน นนั่ คือส่ิงที่ ส�ำคัญคือให้เด็กมีความรู้เสริมทักษะอาชีพ เร่ืองเกษตร
ครกู าญจนา ยอดมาลี ครโู รงเรยี นนำ้� เกลย้ี งวทิ ยาครนุ่ คดิ หา อินทรีย์ ปลูกผัก ปลูกพืช ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม ไปจนถึง
ทางออกอยูต่ ลอดเวลา ปลาตู้ เพ่ือให้เขามีความรู้ สามารถน�ำความรู้ไปชักชวน
พ่อแม่ให้ท�ำงาน มีอาชีพโดยท่ีไม่ต้องไปท�ำงานไกลๆ
นอกจากน้ีโครงการนี้ยังเสริมทักษะชีวิตของเด็กเรื่อง
มารยาท และเทา่ ทนั พษิ ภัยทางสงั คมด้วย

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 73

๑๖ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ สรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ สอน หม่อน ย้อมไหม ไปจนถึงการทอ หรือมีชาวบา้ นบางคนทม่ี ี
ทักษะชวี ติ ฝีมือด้านการจกั สาน เราก็เชิญท่านมาใหค้ วามรู้เดก็ ๆ”
เมื่อคิดได้แล้วว่าวิถีพอเพียงและเกษตรอินทรีย์ คือ เมื่อศูนย์การเรียนรู้เสร็จสรรพก็ถึงคราวปฏิบัติให้
เหน็ ผลจริง นักเรียนต้งั แต่ ม. ๑-๖ จัดเปน็ ๑๖ กลมุ่ คละ
แนวทางทจ่ี ะชว่ ยเดก็ ๆ และครอบครวั ได้ ครกู าญจนาจงึ รว่ ม ชน้ั ปี คละเพศ เพ่ือใหพ้ ดี่ ูแลน้อง สอนนอ้ งได้ อีกท้งั ยงั เป็น
กบั อาจารยท์ า่ นอน่ื ๆ ในโรงเรยี นวางแผนงานวา่ จะสรา้ งฐาน กศุ โลบายใหเ้ ดก็ เลก็ มมี ารยาทตอ่ ผใู้ หญ่ (กวา่ ) สว่ นพโ่ี ตกไ็ ด้
การเรยี นรขู้ ้นึ มา ๑๖ ศนู ย์การเรยี นรู้ ได้แก่ ฝกึ ภาวะความเปน็ ผนู้ ำ� นำ� นอ้ งๆ ปฏบิ ตั งิ านตามทไี่ ดร้ บั มอบ
• ศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ ี่ ๑ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายจากครู
• ศูนยก์ ารเรียนรทู้ ่ี ๒ คนไทยมารยาทดี แบง่ กลมุ่ แลว้ กม็ าถงึ ขนั้ ตอนเลอื กเดก็ แกนนำ� ๙๐ คน
• ศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ ่ี ๓ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ซ่งึ ก็ไม่งา่ ยนกั เพราะเด็กยงั ขาดความกลา้ ทจ่ี ะเสนอตัวเปน็
• ศนู ย์การเรียนรู้ท่ี ๔ คนไทยยคุ ใหม่ หวั หนา้ จงึ มเี ดก็ สมคั รเปน็ แกนนำ� เพยี งครง่ึ หนง่ึ ของจำ� นวน
• ศูนยก์ ารเรยี นรทู้ ี่ ๕ ขยะเปน็ มลภาวะของโลก ทต่ี อ้ งการ ครูที่ปรึกษาเลยตอ้ งคัดแกนนำ� เพิ่ม จึงได้หัวหน้า
• ศูนย์การเรียนรทู้ ่ี ๖ มะนาวในทอ่ ซีเมนต์ ทมี ครบแตล่ ะสว่ นงาน ทำ� หนา้ ทค่ี อยเปน็ ก�ำลงั สำ� คญั ชว่ ยครู
• ศูนย์การเรียนรู้ที่ ๗ แกว้ มังกร ประจ�ำศูนย์การเรียนรู้ในการถ่ายทอดความรู้และฝึกปฏิบัติ
• ศูนยก์ ารเรยี นร้ทู ี่ ๘ ปุ๋ยและนำ้� หมักชีวภาพ ใหก้ ับนกั เรียนในโรงเรียนอยา่ งครบถ้วน
• ศูนย์การเรียนรทู้ ่ี ๙ พืชผกั ปลอดสารพษิ
ชวี ติ ปลอดภัย ลงมือปฏิบัติ
• ศูนยก์ ารเรียนร้ทู ่ี ๑๐ พืชไรใ่ นชมุ ชน
• ศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ ่ี ๑๑ การขยายพนั ธุ์พืช ในหนึง่ ปกี ารศกึ ษาเด็กๆ ทั้ง ๑๖ กล่มุ จะได้ศกึ ษา
• ศนู ยก์ ารเรียนรู้ที่ ๑๒ พลังงานสเี ขยี ว หาความรใู้ นแตล่ ะศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ศนู ยล์ ะ ๔ สปั ดาห์ สปั ดาห์
• ศนู ยก์ ารเรียนรทู้ ่ี ๑๓ ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ละ ๑ คร้งั สลับกันไป เดอื นแรก กลุม่ หน่ึง เรียนรอู้ ยศู่ นู ย์
• ศูนย์การเรยี นรทู้ ่ี ๑๔ การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม ๑ กลุ่มสองก็เรียนรู้ท่ีศูนย์ ๒ ไล่เรียงกันไป พอครบเดือน
• ศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ ่ี ๑๕ สวนพฤกษศาสตร์ (๔ ครั้ง) กล่มุ หน่งึ กย็ า้ ยไปศนู ย์ ๒ กล่มุ สองยา้ ยไปศูนย์ ๓
ในโรงเรียน “เดอื นแรก เดก็ ยงั ไมไ่ ดเ้ รยี นรอู้ ะไรกนั มากนกั เหมอื น
• ศนู ย์การเรียนร้ทู ี่ ๑๖ ไม้ดอกเมืองร้อน เปน็ การเรียนทฤษฎมี ากกว่า พอเดือนท่ี ๒ จงึ เริม่ เตรียมดิน
“ไมว่ า่ จะทำ� อะไรอยา่ ลืมมองบริบทในทอ้ งถนิ่ อย่าง ปรบั หนา้ ดนิ เตรียมอปุ กรณ์ ซึง่ เดก็ ทัง้ ๑๖ กลุ่มเป็นผู้ดแู ล
หมู่บ้านของครูเป็นท่ีแล้ง เราต้องเลือกกิจกรรมที่เหมาะ
กบั หมู่บา้ น เช่น การเลือกปลูกแก้วมังกร เพราะแก้วมังกร
เปน็ พชื ทนแลง้ แมน้ ำ�้ นอ้ ยกอ็ ยไู่ ด้ หรอื การทำ� ปยุ๋ และนำ้� หมกั
ชวี ภาพ นอกจากจะไมท่ ำ� ลายธรรมชาตแิ ลว้ ยงั ชว่ ยประหยดั
ค่าใช้จา่ ยค่าป๋ยุ คา่ ยาฆา่ แมลงลงไปอีก
“อกี อยา่ งหนง่ึ กค็ อื การใหค้ วามสำ� คญั กบั ภมู ปิ ญั ญา
ท้องถ่ิน เรามีปราชญ์ชาวบ้าน มีผู้รู้ เราก็ต้องพาเด็กไปหา
ไปดู ไปเรียนรู้ บ้านเราทอผ้าไหมสวย ชาวบ้านมีฝีมือด้าน
ทอผา้ เราก็พาเดก็ ๆ ไปศกึ ษาเรื่องการทอผ้า ตงั้ แต่การปลูก

74 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้

ผลผลิตร่วมกัน ไมไ่ ดก้ ำ� หนดวา่ กลุ่มเธอปลกู แก้วมงั กร กลมุ่ รายได้ไดจ้ ริง ก็เร่ิมเขา้ มาขอข้อมูล ดงู านแล้วน�ำกลบั ไปทำ�
ชั้นท�ำปุ๋ย ท่ีท�ำอย่างน้ันเพราะอยากให้เด็กมีความรู้หลายๆ ที่ไร่ ทีส่ วนตนเองบา้ ง
เรื่องท้ังการปลูกพืช เลี้ยงปลา และเร่ืองมารยาท ให้เขามี “แรกๆ ผลผลติ ยงั ไมม่ ากนกั เรากแ็ บง่ ใหเ้ ดก็ ๆ เอาไป
ความรู้แบบองค์รวมมากกว่าจะเจาะจงไปเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง กนิ พอมมี ากขนึ้ กเ็ รม่ิ มขี ายบา้ ง รายไดท้ ไ่ี ดก้ เ็ กบ็ เขา้ ธนาคาร
โดยเฉพาะ โรงเรียน หากใครจะลงทนุ อะไรกม็ าเบกิ สว่ นพวกกระจาด
“พอครบปกี ารศกึ ษา (๒ เทอม) เดก็ กเ็ ขา้ ครบทงั้ ๑๖ ตะกร้า เรายังผลิตได้ไม่มาก เลยเก็บไว้ใส่ผัก หรือผลิตผล
ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ บางอยา่ งกม็ ผี ลผลติ ใหเ้ กบ็ เกย่ี วแลว้ แตบ่ าง จากศูนย์ต่างๆ ไว้เป็นของฝากให้กับคนท่ีมาดูงาน ถึงจะ
อยา่ งกย็ งั ไมม่ ี เชน่ พวกพืชผักบางอยา่ ง หรือปลาสวยงาม ไม่ได้อะไรเป็นตัวเงิน แต่เด็กก็ได้ความภูมิใจว่าผลงานของ
ก็เก็บผลผลิตขายได้ก่อน แต่แก้วมังกรยังเก็บผลผลิตไม่ได้ เขานำ� ไปใช้ประโยชน์ได้จริงๆ”
เด็กก็ได้เรียนรู้ว่าไม่ควรปลูกพืชชนิดใดชนิดหน่ึงชนิดเดียว
แต่ควรปลูกพืชผสมผสาน เพ่ือให้มีผลผลิตเก็บเก่ียวเป็น หน้าแล้งเวียนมาถึงอีกแล้ว แต่ปีน้ีต่างจากปีก่อน
รายไดส้ ม่�ำเสมอ พ่อแม่ไม่ต้องไปท�ำงานรับจ้างต่างเมืองอีกแล้ว เมื่อได้ปลูก
หรือศูนย์ภูมิปัญญาท้องถิ่นก็มีทั้งสอนการสาน พชื ผกั สวนครวั หมนุ เวยี นไวก้ นิ ไวข้ าย แมจ้ ะมรี ายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ
กระจาด ตะกร้า หรอื ทอผา้ เด็กๆ ไดเ้ รยี นรูว้ ่าเมอ่ื วา่ งจาก ไมม่ ากมาย แตก่ ไ็ มถ่ งึ กบั ขดั สนเชน่ เดมิ เพราะพชื ผกั เหลา่ นนั้
การท�ำนาทำ� ไร่ ก็ยังท�ำส่งิ เหล่าน้ีเป็นอาชพี เสริมได้ เพียงแต่ ใชก้ นิ เองได้ จนไมต่ ้องไปซอ้ื ไปหาใหเ้ สยี สตางค์
พวกเขาตอ้ งมคี วามขยนั อดทน รบั ผดิ ชอบในหนา้ ทกี่ ารงาน
ทีไ่ ดร้ บั ผิดชอบ นอกจากนนั้ เดก็ ยงั ได้เรียนรอู้ ีกวา่ ส่ิงใกลต้ ัว เคลด็ ลบั ความส�ำเรจ็
เหลา่ นล้ี ว้ นเป็นส่งิ ท่ีมปี ระโยชน”์ การร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจจากทุกๆ ฝ่าย
ท้ังอาจารย์ในโรงเรียน ผูป้ กครอง ไปจนถงึ ปราชญ์
พาพ่อกลบั บา้ น ชาวบ้าน

จากเดก็ ทไี่ มส่ นใจเรยี นเอาแตเ่ ทย่ี วเลน่ เมอื่ โครงการน้ี
สรา้ งงาน สร้างอาชีพให้พวกเขาได้ เดก็ เร่มิ ปรับตวั มีความ
รับผิดชอบมากข้ึน อดทน มีวินัย และมีมารยาทดีขึ้น ซ่ึง
ขอ้ สรปุ นไ้ี ดจ้ ากทง้ั การทำ� แบบวดั ผล และการสงั เกตของครู
ส่วนผู้ใหญ่ในชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครอง เมื่อได้ฟังลูก
หลานเล่าและเห็นว่าทางโรงเรียนมีศูนย์การเรียนรู้ท่ีสร้าง

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 75

กจิ กรรมบรู ณาการโครงงานสาระทอ้ งถน่ิ

เรือ่ ง “กลว้ ย พืชล้ำ� ค่าคบู่ ้านเขายายกะตา”

โรงเรียนบา้ นเขายายกะตา ลพบรุ ี

ถ้าการพัฒนาคนง่ายเหมือนปอกกล้วย เราคงไม่ต้องสรรหาสารพัดวิธี สารพัน
กระบวนการ มาสร้างคนใหม้ ีคุณภาพ เพื่อน�ำไปสสู่ งั คมทมี่ ีคุณภาพ
ย่ิงถ้าคนที่ก�ำลังจะถูกสร้างนั้น เป็นเด็กวัยเรียนที่อยู่ในท้องถ่ินห่างไกล สภาพ
ครอบครัวยากจน ครอบครัวขาดความรูแ้ ละเวลาในการดแู ล เพราะมปี ัญหาปากทอ้ งเปน็
เรอ่ื งสำ� คญั เฉพาะหนา้ อนาคตทรี่ อเดก็ ๆ อยู่ ไมใ่ ชก่ ารศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทส่ี งู ขนึ้ แตเ่ ปน็ การ
รับสืบทอดภาระการ “ทำ� มาหากนิ ” เล้ียงดตู นเองและครอบครัว

ท้ังผู้บริหารและครูโรงเรียนบ้านเขายายกะตา ต่าง
ตระหนักถึงความส�ำคัญของคุณภาพชีวิตนักเรียนหลังจบ
การศึกษา จึงร่วมกันคิดค้นหาวิธีการท่ีจะช่วยให้เด็กๆ
“คดิ เปน็ ทำ� เปน็ แกป้ ญั หาเปน็ ” และเหน็ แนวทางประกอบ
อาชพี สามารถเลี้ยงตวั ไดใ้ นบริบททอ้ งถน่ิ
เมื่อคิดถึงบริบทของท้องถิ่น ครูก็นึกถึงอะไรที่หาได้
ง่ายๆ ใกล้ตัว ไม่ต้องใช้ทุนมากมาย ท�ำประโยชน์ได้หลาก
หลาย สามารถสร้างอาชีพและรายได้ และด�ำเนินการได้
ภายใตป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คำ� ตอบจงึ ลงท่ี “กล้วย”
พืชท้องถน่ิ รอบโรงเรียนท่ใี ครๆ กร็ ้จู ักมาต้งั แต่เกดิ

ค�ำถามเพอ่ื เด็กๆ จบั เขา่ คุย สรา้ ง “กลว้ ย” เปน็ เครือ่ งมือ

ค�ำถามเหล่าน้ี จึงเกิดข้ึนกับคุณครูและผู้บริหาร แต่กล้วยจะช่วยเด็กๆ ได้อย่างไร หรืออีกนัยหนึ่ง
โรงเรียนบ้านเขายายกะตา อ�ำเภอชยั บาดาล จังหวัดลพบรุ ี เดก็ ๆ จะได้เรยี นร้อู ะไรบ้างจากกล้วย
ท�ำอยา่ งไร จงึ จะช่วยใหเ้ ดก็ ๆ มอี นาคตทด่ี ีข้ึน อยๆู่ ครจู ะบอกเดก็ ๆ วา่ กลว้ ยมปี ระโยชน์ ทำ� กนิ กไ็ ด้
ทำ� อย่างไร ใหเ้ ดก็ ๆ กล้าพูด กลา้ แสดงความคดิ เหน็ ท�ำขายก็ดี และแจกสูตรท�ำอาหารจากกล้วยให้เด็กทุกคน
ใฝ่เรียนใฝ่รู้ อันเป็นทักษะพ้ืนฐานของชีวิตท่ีจะช่วยให้เกิด โดยหวังวา่ คณุ ภาพชวี ิตของเด็กจะดีไปเอง การเรยี นรอู้ ยา่ ง
การพฒั นาอยา่ งรอบด้าน แทจ้ รงิ และยง่ั ยนื คงไมใ่ ช่ “เรอื่ งกลว้ ยๆ” เพยี งเทา่ นแ้ี นน่ อน
ทำ� อย่างไร เดก็ ๆ จึงจะรูจ้ กั น�ำสิ่งทีไ่ ดเ้ รยี นร้ไู ปใชใ้ น บรรดาครูจึงหันหน้าเข้าหากัน ประชุมระดมสมอง
ชีวิตประจ�ำวัน น�ำไปสู่การมีอาชีพ มีรายได้ สามารถด�ำรง จากผเู้ กย่ี วขอ้ งทง้ั ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ตวั แทนครผู สู้ อน ตวั แทน
ชวี ิตอยู่ในท้องถิ่นอยา่ งมีความสุข พ่อแม่ผู้ปกครองนักเรียน ตัวแทนองค์กรส่วนท้องถิ่น และ
ตัวแทนนักเรียน เพ่ือค้นหาวิธีการใช้กล้วยเป็นเครื่องมือ
พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ที่สอดคลอ้ งกบั ความเปน็ จริงมากท่สี ดุ

76 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

เดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๕๔ ถึงเดอื นกันยายน ๒๕๕๕ บายศรสี ร้างสรรค์
คือช่วงเวลาทีก่ ลว้ ย กา้ วเข้ามาเปน็ หวั ใจของกจิ กรรมบรู ณา
การโครงงานของโรงเรียนบ้านเขายายกะตา มีนักเรียนช้ัน
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำ� นวน ๙๘ คนเปน็ กลมุ่ เปา้ หมายหลกั

การเรยี นรทู้ แี่ ตกหนอ่ ขยายกอ

จะมีกล้วยได้ ก็ต้องเริ่มด้วยการปลูกกล้วย แปลง
เกษตรสวนกล้วยจึงเป็นกิจกรรมแรกสุด เด็กๆ ได้เรียนรู้
“วิถีแห่งกล้วย” กล้วยมีกี่ชนิด กล้วยเติบโตอย่างไร เด็กๆ

บางส่วนจากเมนูอรอ่ ยแบบกล้วยๆ

แปลงเกษตรสวนกลว้ ย แหลง่ วัตถุดบิ อันทรงคุณค่า สองนักเรียนเกษตรสวนกลว้ ย

ไดค้ ำ� ตอบจากการสงั เกต และการคน้ ควา้ จากแหลง่ เรยี นรใู้ น จากกล้วยกลายเปน็ กระดาษ
ท้องถน่ิ เช่น วทิ ยาลัยเกษตร สหกรณต์ ำ� บล ศูนย์ศิลปาชีพ
ฯลฯ ได้ลงมือปลูก สังเกตและบันทึกการเจริญเติบโต กรรมวิธีการถนอมกล้วยไว้กินนานๆ เด็กๆ ได้แลกเปล่ียน
หัดท�ำปุ๋ยชีวภาพ ฝึกท�ำรายงานและประเมินผล ได้รู้ว่า เรียนรู้กับกลุ่มแม่บ้านและผู้ใหญ่ใจดีในชุมชนที่เต็มใจ
สารพดั วชิ า เชน่ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย ภาษา ถ่ายทอดความรู้ให้ลูกหลาน เพราะได้รับรู้และเข้าใจท่ัวกัน
อังกฤษ ศิลปะ ฯลฯ สามารถบูรณาการได้ในสวนกล้วย ว่า ทุกคนก�ำลังร่วมกันสร้างอนาคตที่ดีให้กับชุมชน สังคม
(ทัง้ ยังสนกุ กวา่ นัง่ เรียนในห้องสีเ่ หลี่ยมหลายเท่า) การเรียนรคู้ อ่ ยๆ ขยายวงกวา้ งข้ึนเรอ่ื ยๆ
เม่ือกล้วยแข่งกันแทงหน่อขึ้นเป็นล�ำต้นอวบใหญ่
ใบหนา ดอกกล้วยหรือหัวปลีเริ่มผลิบาน และเครือกล้วย เติบโตครบวงจรตามอยา่ งกล้วย
ปรากฏให้เห็นทั่วสวน เด็กๆ ก็เข้าสู่กระบวนการเรียนรู้
ประโยชนจ์ ากกล้วย ต้งั แต่รากถึงยอด ลำ� ต้นท�ำอะไรได้บ้าง นอกจากเด็กๆ จะอัศจรรย์ใจกับการค้นพบคุณ
ใบ ก้าน ดอก ผล เปลือก ท้ังอ่อน แก่ ดิบ สุก สด แห้ง ประโยชนม์ หาศาลของกลว้ ย ยงั นำ� ไปสกู่ ระบวนการตอ่ ยอด
มีคุณสมบัติอย่างไร และจะน�ำคุณสมบัติเหล่านั้นมาใช้
ประโยชน์ทางไหนไดบ้ า้ ง ตงั้ แตช่ ีวิตความเปน็ อยปู่ ระจำ� วัน
อาหารการกนิ สงิ่ ประดษิ ฐ์เครือ่ งใช้ ศิลปะอันละเมยี ดละไม
ไปจนถงึ งานบุญประเพณตี า่ งๆ
กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น งาน
ใบตอง ต่อด้วย ผลิตภัณฑแ์ ปรรูป และ สำ� รับส่ภี าค ทำ� ให้
เด็กได้รู้จักการท�ำกระทงใบตอง บายศรี กระดาษสาจาก
ใยกล้วย กระเป๋าเชือกกล้วย สารพัดอาหารหวานคาวและ

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ 77

ทำ� เอง อร่อยเอง ทุนใหม่ทีช่ ่วยให้เด็กทุกคนมที กั ษะในการพึ่งตนเอง มีความ
พร้อมเพียงพอส�ำหรับการประกอบการงานอาชีพ และมี
ความคดิ สรา้ งสรรคท์ ไ่ี มส่ นิ้ สดุ เชน่ การคดิ คน้ สตู รอาหารใหมๆ่ แนวโนม้ ในการเปน็ สมาชกิ ชมุ ชนทเ่ี ขม้ แขง็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
ท้ังรูปลักษณ์และรสชาติ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ ส่ิงของ ในแตล่ ะชว่ งเวลาทที่ งั้ ๖กจิ กรรมดำ� เนนิ ไปจงึ หลอ่ หลอม
เคร่อื งใชใ้ นรปู แบบทีแ่ ตกตา่ ง การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพอื่ ให้เด็กๆ เกิดการพัฒนาเปลี่ยนแปลงขึ้นตลอดเวลา
การจ�ำหนา่ ย การค�ำนวณต้นทุนการผลิตและผลก�ำไร การ สิ่งท่ีเห็นได้ชัดท่ีสุด คือ ความกล้า นักเรียนกล้าท่ีจะคิด
คิดค้นวิธีประหยัดต้นทุนเพื่อความคุ้มค่า รวมทั้งการค้นหา กล้าท่ีจะแสดงออก และกล้าที่จะตัดสินใจ ส่งผลให้การจัด
สถานที่จดั จ�ำหน่าย ในกจิ กรรม สหกรณ์ BANANA ช่วย กิจกรรมบูรณาการโครงงานที่เป็นเรื่องยากส�ำหรับนักเรียน
ให้เด็กๆ ได้เรียนรู้เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นท่ีจ�ำเป็นต่อการ ขยายโอกาสเป็นเรื่องงา่ ยไปในทันที
ประกอบอาชพี ขณะเดียวกนั เดก็ ๆ กย็ งั ได้เรียนรู้คณุ ธรรม
จรยิ ธรรมพน้ื ฐานผา่ นความรบั ผดิ ชอบทงั้ ในฐานะผผู้ ลติ และ ดอกกลว้ ยท่สี วยทสี่ ุดในโลก
ผบู้ รโิ ภคอกี ดว้ ย เรยี กไดว้ า่ ปลกู เอง แปรรปู เอง ขายเอง อยา่ ง
ครบวงจร เชน่ เดียวกบั ต้นกลว้ ยทีแ่ ตกหน่อ เตบิ โต ออกปลี “ครคู รบั ...ผมดใี จทลี่ กู ผมเรยี นจบแลว้ ทำ� ขนมคกุ กี้
ให้ผล และแตกหน่อขยายกอ เป็นวัฏฏจักรการเติบโต กล้วยตาก และเค้กกล้วยหอมเปน็ อาชีพได”้
งอกงามท่ตี อ่ เนื่องไมส่ ิน้ สุด เพียงแค่ประโยคเดียว เป็นค�ำตอบที่ย่ิงใหญ่แทน
การคลุกคลีอยู่กับกล้วยต้ังแต่ต้นจนจบ ได้เห็น การประเมินโครงการจากหน่วยงานใดๆ ช่วยสร้างก�ำลังใจ
ได้สัมผัสจากการลงมือปฏิบัติจริงทุกข้ันตอน ท�ำให้เด็กๆ ให้ครูมุมานะท่ีจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ดีย่ิงๆ ขึ้น
ไดม้ องเห็นภาพรวมของกระบวนการอย่างชัดเจน ได้เรียนรู้ การท่ีผู้ปกครองใส่ใจกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่โรงเรียนจัดให้
การจดั การอยา่ งเป็นระบบ ฝึกคิด ฝกึ วางแผน ฝึกวเิ คราะห์ กับบุตรหลาน แสดงถึง ความเข้าใจท่ีตรงกันระหว่างบ้าน
แยกแยะ ฝึกรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน อีกท้ังยัง และโรงเรยี น และการจดั การเรยี นนส้ี นองตอบความตอ้ งการ
เป็นการเรียนรู้แบบปลายเปิดที่ไม่มีการจ�ำกัดกรอบหรือ ของนกั เรียนได้
ตัดสินถูกผิด ท�ำให้เด็กๆ รู้สึกสนุกสนานกับการคิด และ ย่งิ ไปกวา่ นั้น การจดั การเรียนรแู้ บบแยกส่วนเฉพาะ
การแลกเปลยี่ นความคดิ การทดลองลงมอื ทำ� การเรยี นรขู้ อ้ ในสาระวิชาของตนเองของครูผู้สอน ได้เปล่ยี นเป็นรปู แบบ
ผิดพลาด การค้นหาวธิ กี ารแก้ไข การทดลองคิดใหม่ท�ำใหม่ การสอนแบบองค์รวม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัด
เกดิ การสรุปบทเรยี นไดด้ ว้ ยตนเอง กจิ กรรมการเรยี นรทู้ เี่ ขม้ แขง็ ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ทง้ั หมด
กิจกรรมการ เผยแพร่ผลงานโครงงานและ เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ใน
ผลิตภัณฑ์จากกล้วย ผ่านเว็บไซต์โรงเรียน รวมทั้งการ รปู แบบโครงงาน
จัดท�ำส่ือประชาสัมพันธํ คือหนึ่งด้านของการประเมินผล วันนี้ เดก็ ๆ บา้ นเขายายกะตาเปล่ียนไป สงั คมการ
ความสำ� เร็จจากความรว่ มมือของทกุ ฝา่ ย ทีส่ ำ� คญั คือ เด็กๆ เรยี นรเู้ กดิ ขน้ึ แลว้ ทงั้ จากสวนกลว้ ย และจากทกุ ภาคสว่ น
ได้ตระหนักถึงศักยภาพของตนเอง เกิดความภาคภูมิใจใน ในชมุ ชน พรอ้ มๆ กบั กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพเยาวชน
ผลงานท่ไี ด้รับการยอมรบั เกดิ ความเช่ือม่ันในอนาคต ท่ีแม้ ที่เกิดข้ึนอย่างเป็นรูปธรรม ทุกส่ิงท่ีฝังอยู่ในเนื้อในตัว
จะยงั มาไมถ่ งึ ในวนั น้ี แตส่ งิ่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งแจม่ แจง้ เปน็ ตน้ เด็กๆ คือใบรับประกันความย่ังยืนขององค์ความรู้ ที่น�ำ
ไปสูค่ ุณภาพชวี ิตทีด่ ีของทุกคน

เคลด็ ลบั ความส�ำเรจ็
ความพร้อมและความเข้าใจกระบวนการ
ท�ำงานท่ีเป็นรูปธรรมร่วมกันของบุคลากรท้ัง
โรงเรียน ผนวกกับความสามารถของผู้บริหาร
โรงเรยี นในการประสานงานกบั ชมุ ชนและหนว่ ยงาน
ที่เกี่ยวข้องในทอ้ งถ่นิ

78 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้

รา้ นนำ้� ชาโรงเรียน เปิดโลกการเรยี นรู้เพื่อเด็กไทย

โรงเรยี นบา้ นคอลอตันหยง ปัตตานี

“ฆฮิ ก์ อื ดาแต” คำ� ๆ นจี้ ะไดย้ นิ กนั บอ่ ย หนองจกิ จงั หวดั ปตั ตานี เนอ่ื งดว้ ยวฒั นธรรมรา้ นนำ้� ชาเปน็
ในหมู่คนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ แปลว่า วิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิมในชุมชนบ้านคอลอตันหยง โดย
“ไปรา้ นนำ้� ชา” ร้านน้�ำชาจะเป็นท่ีรับประทานอาหารเช้าและพบปะพูดคุย
ทำ� ไมเขาถึงชักชวนกนั ไปร้านน้ำ� ชา แลกเปลยี่ นเรยี นรขู้ อ้ มลู ขา่ วสารตา่ งๆ ในแตล่ ะวนั ของคนใน
ร้านนำ�้ ชามอี ะไรดี ชมุ ชน เมอ่ื ประกอบกับยามเช้าเปน็ ช่วงเวลาท่รี ีบเรง่ ในการ
ไปทำ� งานของผปู้ กครอง ทำ� ใหไ้ มม่ เี วลาในการเตรยี มอาหาร
“กือดาแต” หรือ “ร้านน้�ำชา” ปลูกสร้างเป็นเพิง เชา้ ใหก้ บั บตุ รหลาน เดก็ บางคนจงึ ไมไ่ ดก้ นิ อาหารเชา้ กอ่ นมา
เลก็ ๆ แบบเรยี บงา่ ย มโี ตะ๊ เกา้ อี้ และอปุ กรณช์ งชาเปน็ หลกั โรงเรยี น หรอื ตอ้ งฝากทอ้ งไวท้ ร่ี า้ นนำ�้ ชา รา้ นนำ�้ ชาจงึ เหมอื น
เสริมด้วยการจ�ำหน่ายอาหารเช้า เช่น ข้าวย�ำ ข้าวเหนียว เปน็ ครวั ที่สองของทกุ ครอบครวั ยามเช้าวนั ใหมม่ าเยือน
ชนิดต่างๆ หรือโรตี แต่หลักๆ คือบริการเครื่องดื่ม น�้ำชา จากแนวคิดเรื่องครวั หลังท่สี อง และการเปน็ สถานที่
กาแฟ โอวัลติน ซ่ึงเปิดบริการต้ังแต่เช้าถึงค�่ำ ตลอดทั้งวัน สังสรรค์เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดยามเช้าของร้านน�้ำชา
จะมีลูกค้าแวะเวียนเข้าร้านเพ่ือด่ืมน�้ำชาและพูดคุย รับรู้ ประกอบความต้องการให้เด็กนักเรียนได้กินอาหารเช้าก่อน
ข่าวคราวสังคม แลกเปลี่ยนและถกความคิดในเรื่องต่างๆ เขา้ เรยี น จงึ ทำ� ใหโ้ รงเรยี นของเราเสนอโครงการ “รา้ นนำ้� ชา
ทำ� ใหเ้ กดิ ความอนุ่ ใจไดว้ า่ ยงั มมี ติ รรว่ มถนิ่ ฐานบา้ นเกดิ เมอื่ โรงเรียน เปิดโลกการเรียนรู้เพ่ือเด็กไทย” กับส�ำนักงาน
เกิดปญั หายงั มีเพือ่ นคอยช่วยเหลอื กนั ถือเปน็ การผกู ความ ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
สัมพันธ์ท่ีดีในทางอ้อม ในแต่ละชุมชนจึงมีร้านน�้ำชาเป็น เพ่ือเป็นแหล่งอาหาร และต้นแบบการเรียนร้เู ชิงบรู ณาการ
แหลง่ พบปะพดู คยุ แลกเปลยี่ นข่าวสารของคนในชมุ ชนอยู่ อกี ท้ังยังสง่ เสริมทกั ษะชีวติ ด้านการประกอบอาชพี อีกดว้ ย
หลายแห่ง
“คอลอแต” ร้านนีค้ รูท�ำเพือ่ หนู
จดุ เริม่ ต้นของรา้ นน�ำ้ ชาสอนชีวิต
จากวิถีชีวิตของคนในชุมชนท้องถ่ินใต้น้ีเอง ได้จุด “คอลอแต” หรือ “KHOLO TEA” คอื ชื่อรา้ นน�้ำชา
ของเรา เราขายอาหารเชา้ ราคาถกู ให้แก่นกั เรียนและชุมชน
ประกายความคดิ ให้กบั ฉนั (ครูซไู รยา อาแด) ครูโรงเรยี น มีนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ เป็นผู้บรหิ ารจดั การรา้ น
บ้านคอลอตันหยง โรงเรียนในชุมชนเล็กๆ เขตอ�ำเภอ ภายใต้การดแู ลของคณะครูและชุมชน
หากมองในแงส่ าระการเรยี นรู้รา้ นนำ�้ ชาคอลอแตเกดิ ขน้ึ
เพ่ือส่งเสริมทักษะชีวิตให้เด็กๆ ได้พัฒนาทักษะความคิด

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ 79

อยา่ งเปน็ ระบบ ฝกึ ทกั ษะการประกอบอาชพี เพอื่ เลย้ี งตนเอง ทกุ คนตืน่ เต้นกันมากทีเดยี ว เราสรา้ งความรสู้ ึกเป็นเจา้ ของ
คน้ หาความชอบ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง แก้ปญั หานกั เรียนที่ ใหก้ ับเด็กตัง้ แต่เร่มิ แรก ดว้ ยการให้เขาช่วยกันวางแผนและ
ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า อกี ทง้ั ยงั ช่วยสร้างรายไดใ้ หก้ บั ออกแบบรูปแบบการด�ำเนินงานของร้าน แบ่งหน้าที่ความ
ชมุ ชน และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ รี ะหวา่ งโรงเรยี นกบั ชมุ ชน รับผดิ ชอบ และกำ� หนดภาระงานของแตล่ ะฝา่ ย

ประสานมอื ประสานใจ รว่ มกันพฒั นา “คอลอแต” ชุมชนและคณะครู รว่ มแรง รว่ มใจชว่ ยกนั สร้างร้านคอลอแต

เม่ือโครงการผ่านได้รับความเห็นชอบจากโรงเรียน เทอม ๒ แผนงานทุกอย่างเร่ิมเป็นรูปเป็นร่างข้ึน
และได้รับอนุมัติงบประมาณจาก สสค. เราก็เร่ิมแผนการ ผู้ปกครองมาช่วยกันก่อสรา้ งรา้ นน้�ำชา บางคนสนับสนุนไม้
ดำ� เนนิ งาน โดยแบ่งการทำ� งานออกเป็น ๓ เทอม บางคนแม้ไม่มีเงินมากพอ แต่ก็รุ่มรวยด้วยน�้ำใจบอกว่า
ในเทอมแรก เราวางแผนด�ำเนินงานและเตรียม “ผมขอช่วยแรงครูแล้วกัน” น�้ำใจจากชาวบ้านเหล่านี้ส่วน
บุคลากร แสวงหาแนวร่วมท้ังจากชุมชน จากบุคลากรใน หน่งึ ล้วนเกดิ จากความปรารถนาดที เี่ ขามตี ่อเดก็ ๆ อยากให้
โรงเรยี น และท่สี ำ� คญั แนวร่วมจากนักเรียน เดก็ ๆ ไดฝ้ กึ อาชพี และมอี าหารเชา้ กนิ เพราะอยา่ งทร่ี กู้ นั ใน
เราจดั เวทปี ระชาคม ระดมความคดิ และความรว่ มมอื ชุมชนว่าโรงเรยี นของเราเป็นโรงเรยี นขยายโอกาส นักเรยี น
จากผปู้ กครอง หนว่ ยงานรฐั เพอ่ื เปน็ การประชาสมั พนั ธแ์ ละ ร้อยละ ๖๐ มาจากครอบครัวฐานะครอบครัวไม่ดีนัก
ขอการสนบั สนนุ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในดา้ นของความคดิ แรงกาย ร้านน้�ำชาโรงเรียนจึงเป็นความหวังเล็กๆ ที่จะท�ำให้เด็กๆ
และทุนทรพั ย์ ไดแ้ นวรว่ มจากชมุ ชนมาพอใหไ้ ดช้ ่ืนใจ มีรายได้ และได้อม่ิ ทอ้ งไปพร้อมกนั
ส่วนอีกด้านหนึ่งงานภายในโรงเรียน จัดตั้งคณะ เสยี งตอกไม้ ขนึ้ โครงรา้ นดงั อยใู่ นฝง่ั หนง่ึ สว่ นอกี ดา้ น
กรรมการด�ำเนินงานร้านน�้ำชา ประชุมสร้างความรู้ ความ หนง่ึ ทกุ สปั ดาหเ์ วลาทง้ั ๒ คาบในการเรยี นพฒั นาทกั ษะชวี ติ
เขา้ ใจเกยี่ วกบั แผนการดำ� เนนิ กจิ กรรมรา้ นนำ�้ ชา แบง่ หนา้ ที่ เดก็ นกั เรยี นชายจะไดฝ้ กึ ทำ� ชาชกั สว่ นเดก็ นกั เรยี นหญงิ กฝ็ กึ
ความรับผิดชอบให้กับคณะกรรมการทุกคนไปด�ำเนินการ ปรงุ อาหาร ทงั้ ทำ� ขา้ วยำ� ไขต่ ม้ ขา้ วเหนยี วปง้ิ และอาหารเชา้
แผนการด�ำเนินงานที่เราแบ่งหน้าท่ีกัน หลักๆ มี ๒ ส่วน ง่ายๆ อนื่ ๆ ไวส้ �ำหรับขายในร้าน ฝึกหมนุ เวยี นเปลยี่ นกันไป
สว่ นแรกการจดั ท�ำหลักสูตรบูรณาการทัง้ ๘ กลมุ่ สาระการ
เรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรูเ้ ร่อื งร้านน�้ำชาในโรงเรยี น และสว่ น
ท่ี ๒ คอื ฝกึ อาชพี การทำ� อาหารและขนมพน้ื บา้ นแกน่ กั เรยี น
และชมุ ชน เช่น การท�ำขา้ วย�ำ ชาชกั ข้าวเหนยี วป้ิง และให้
ความรู้เร่ืองการบริหารจัดการร้านน�้ำชา เช่น การท�ำบัญชี
รายรบั รายจ่าย การบรกิ ารลูกคา้
ในส่วนของนักเรียน เราวางแผนให้นักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ -๓ ท้ัง ๘๖ คน เปน็ เป้าหมายหลกั เมือ่
เราบอกกับเด็กๆ ว่า “พวกเขาจะเป็นเจ้าของร้านน�้ำชา”

นักเรียนร่วมกันวางแผนและออกแบบรูปแบบการด�ำเนินงานของ เรยี นรู้การท�ำนาซกิ าบู (ข้าวย�ำ).ปโู ล๊ะปาแง (ข้าวเหนียวป้ิง).
รา้ นน�้ำชา ขนมถว่ั แปบ

80 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

ลีลาชาชกั

ในแตล่ ะช้นั ปี กวา่ ๑ เดือน ครูจงึ คัดแกนน�ำกลมุ่ ๑๐ คน บ้านคอลอตันหยง เสียงเจ๊ียวจ๊าวส่ังน�้ำชา กาแฟ อาหาร
เพื่อดูแลเพ่ือนและน้องที่ก�ำลังจะได้เป็นพ่อค้าแม่ขาย ของนกั เรยี น ครู และผปู้ กครองทมี่ าสง่ บตุ รหลาน ดงั ไมข่ าด
หนา้ ใหม่ โดยแบ่งออกเปน็ ฝา่ ยตา่ งๆ และมีหัวหน้าในแตล่ ะ ระยะ ก่อนที่จะปิดร้านเพื่อให้นักธุรกิจรุ่นเยาว์ไปเข้าเรียน
ฝ่ายคอยดูแล เช่น นักเรยี นชายดูแลเร่ืองขายน�ำ้ ชา นม น้�ำ และจะมีนักเรียนกะใหม่มาเปิดร้านอีกครั้งตั้งแต่เวลาเท่ียง
ฝา่ ยทำ� ความสะอาดรา้ น ฝา่ ยขายอาหาร โดยผดู้ แู ลหนา้ รา้ น จนถึงบ่ายโมง
จะใช้คนกลุ่มละประมาณ ๑๐ คน ส่วนท่ีเหลือก็จะเป็น พอถึงปลายเดือนก็มีการสรุปบัญชีรายรับรายจ่าย
ฝา่ ยบญั ชี ลา้ งจาน เตรยี มของ ทำ� ความสะอาด คละกนั ไป และแบ่งเงินปันผลให้นักเรียนในโครงการ แต่นอกเหนือ
ตั้งแต่ ม.๑-๓ จากเงินที่ได้รับแล้ว การประเมินผลยังพบว่านักเรียนมี
ประสิทธิผลทางการเรียนสูงข้ึน มีการคิดที่เป็นระบบขึ้น
รา้ นน้�ำชาร้อนๆ พรอ้ มเสิร์ฟ มที กั ษะการท�ำงานกบั ผอู้ นื่ ดขี น้ึ อกี ทง้ั ยงั สนใจอยากท�ำงาน
ประกอบอาชีพ หารายได้เข้าครอบครัวเพ่ิมข้ึนด้วย และที่
เมอ่ื เขา้ เทอม ๓ หลงั จากเดก็ ฝกึ ทำ� ชาชกั และอาหาร ส�ำคญั เดก็ ๆ มคี วามกระตอื รอื ร้น อยากมาโรงเรียนมากข้นึ
อืน่ ๆ จนฝีมืออยู่ตัวแล้ว เราจึงพาเดก็ ๆ ไปออกรา้ นตามงาน ส่วนเด็กนักเรียนในชั้นอื่นๆ ก็มีอาหารเช้าท่ีถูก
ตา่ งๆ เพอ่ื ใหเ้ ขามปี ระสบการณก์ ารบรกิ ารคนหมมู่ าก ไมต่ นื่ คน สุขลักษณะไว้รับประทาน ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน
และมใี จพรอ้ มทจี่ ะบรกิ าร และเปน็ การประชาสัมพันธ์ร้าน ก็เกิดความใกล้ชิดกันมากข้ึน มีความไว้วางใจกันมากขึ้น
ไปในตวั จากนน้ั ไมน่ านกถ็ งึ เวลาเปดิ รา้ นนำ้� ชา “คอลอแต” คนชุมชนยินดีให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนอย่าง
วันน้ี ถือเป็นวันพิเศษของโรงเรียนเราอีกวันหน่ึง เต็มท่ี อีกทั้งชุมชนยังมีความหวงแหนโรงเรียนรู้สึกเป็น
เด็กนกั เรียน ม.๑ - ๓ กลุ่มแรก เตรยี มอาหารไว้พรอ้ มพร่ัง เจา้ ของร่วมกนั ดว้ ย
ครูเรียกนักเรียนต้ังแต่ช้ันอนุบาลถึง ป.๖ มากินอาหาร อยา่ งไรกต็ าม แมป้ ญั หาความไมส่ งบจะเกดิ ขน้ึ เนอื งๆ
เชา้ เด็กบางคนบอกไม่มีเงิน ครูจงึ บอกวา่ “ไมเ่ ป็นไร วันน้ี จนท�ำให้โรงเรียนต้องหยุดการเรยี นการสอน รา้ นน้ำ� ชาตอ้ ง
เปิดร้าน พ่ีเขาให้กินฟรี” เราเชิญคณะกรรมการการศึกษา ปิดบริการ บางครั้งเด็กๆ เตรียมต้มไข่ไว้ขาย เมื่อโรงเรียน
ชาวบา้ น ผปู้ กครองและโรงเรยี นใกลเ้ คยี งมารว่ มงานเปดิ รา้ น หยุดกะทันหัน ของท่ีเตรียมไว้ก็ต้องแจกจ่ายไปกันเน่าเสีย
มกี ารสวดมนตอ์ วยพรตามหลักศาสนา รายได้ส่วนหน่ึงหายไป แต่เราก็ไม่หมดหวัง คณะครูยังพา
จากวันนน้ั ตง้ั แตเ่ วลา ๗.๑๕ น. – ๘.๑๕ น. ความ นักเรียนไปออกร้านงานต่างๆ ตามแต่โอกาสจะอ�ำนวยให้
คึกคักเล็กๆ จึงเกิดขึ้นท่ีร้านน้�ำชาคอลอแต โรงเรียน เขาไดฝ้ ึกอาชีพ ฝกึ ทักษะตอ่ ไปเท่าที่จะทำ� ได้
สุดทา้ ย อยากบอกทกุ คนว่า .......
“สถานการณค์ วามไมส่ งบไมใ่ ชอ่ ปุ สรรคขดั ขวางการ
พฒั นา ณ ปลายด้ามขวานนยี้ งั มีส่ิงดๆี ท่รี อคอยทา่ นสัมผสั
และรอคอยความชว่ ยเหลือจากทา่ น”

ออกร้านนอกสถานที่ ฝึกจากสถานการณจ์ ริงและ เคล็ดลับความส�ำเร็จ
ประชาสมั พันธร์ า้ นคอลอแต  การสร้างความรู้สึกมีส่วนร่วมและเป็น
เจ้าของ การวางแผนให้ดีและเตรียมตัวให้พร้อม
อยูเ่ สมอส�ำหรับโอกาสที่มาถงึ

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 81

การเพาะเหด็ นางฟ้า และการแปรรูปอาหารจากเห็ด

โรงเรยี นบา้ นไชยมงคล (สบื สนิ วิทยา) นครราชสมี า

... แซ่บเด้ ของแซบมากมี ของดีเกา่ แก่ ของพ่อของแม่ ตงั้ แตโ่ บราณ
ของกิน ท่ัวแคว้นแดนใด บม่ ีของไผ แซบ่ คือบา้ นเฮา
อาหาร ราคาประหยดั มีสารพดั ท้ังหวานทั้งคาว
ของสูง คือไขม่ ดแดง ราคาไมแ่ พง อร่อยไม่เบา
ของต�่ำ ทแ่ี สนอร่อย คอื ต้มบกั หอย ใสก่ บั ลาบเทา(เทาคอื สาหรา่ ยนำ้� จืด)
นอกนนั้ ให้เลอื กเอาเอง ผมจะร้องเพลง ให้ท่านเลือกเอา…

เสียงเพลง “อีสานแซ่บ” ของสมัย อ่อนวงศ์ เหด็ อยา่ งนำ�้ พรกิ หนมุ่ เหด็ นำ�้ พรกิ เผาเหด็ นำ้� พรกิ นรกเหด็
“ผู้เป็นยอดขุนพลแคนแห่งแดนสยาม” ท�ำให้ผม (ครูกิตติ เกยี๊ วเหด็ ไสก้ รอกเหด็ เตา้ ฮวยนมสดเหด็ เหด็ ชบุ แปง้ ทอด
ปอบอ) ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นไชยมงคล (สบื สนิ วทิ ยา) วุ้นกะทเิ หด็ ขา้ วเกรยี บเหด็ นางเลด็ หนา้ เห็ด ฯลฯ
อดอมยิม้ ไม่ได้ เพราะถ้าฟังเพลงนใ้ี หจ้ บกจ็ ะรู้จกั วตั ถดุ บิ ใน ไม่ว่าจะเป็นอาหารชนิดไหน ครูและนักเรียนที่
การท�ำอาหารอีสานบ้านเฮาอีกเยอะแยะมากมาย อย่างไข่ โรงเรียนของผมก็สามารถน�ำเห็ดไปดัดแปลงเป็นส่วน
มดแดง ปลาซิว ปลาร้า ปลาช่อน ส่วนเมนูอาหารก็อร่อย ประกอบได้แทบท้ังน้ัน แถมนักเรียนที่น่ียังรู้จักปลูกเห็ด
ใช่ย่อยมที ้งั ลาบ ทัง้ กอ้ ย ทั้งแกงทเ่ี ลา่ สามวันสามคืนกย็ งั ไม่ นางฟ้าไว้ท�ำอาหารกลางวันด้วยตัวเอง ที่ส�ำคัญยังได้วิชา
หมดเลยละ่ ครับ ความรู้ติดตัวไปอีกด้วย ดังน้ัน อยู่ที่ไหนก็ไม่มีทางอดตาย
แต่ท่ีฟังเพลงน้ีแล้วครื้มอกครื้มใจเป็นพิเศษ เพราะ ถา้ ได้มาเรยี น “วิชาเหด็ ” จากที่นี่
ผมคิดว่าต่อไปเพลงอีสานแซ่บคงต้องเติมเนื้อร้องไปด้วยว่า
ของดีบ้านเฮาน้ันมีเห็ดนางฟ้าด้วยเด้อ เพราะเห็ดนางฟ้า “วิชาเห็ด”...เรยี นสนุก กินได้ สร้างอาชพี
นอกจากจะน�ำมาต้มย�ำท�ำแกงแล้ว ยงั สามารถนำ� ไปแปรรปู
เป็นอาหารชนิดอื่นๆ ได้อีกมากมาย อย่างท่โี รงเรียนของผม ก่อนอ่ืน ต้องขอเล่านะครับว่า โรงเรียนของผมเป็น
ท�ำมาแล้ว ซึ่งมีทั้งเห็ดสวรรค์ ท่ีน�ำเห็ดไปทอดแล้วปรุงรส โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา ทส่ี อนเดก็ นกั เรยี นตงั้ แต่
แหนมเห็ด ท่ีใช้เห็ด เกลือ น�้ำตาลทราย ข้าวเหนียวน่ึง ชัน้ อนุบาลปีที่ ๑ ถงึ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ นกั เรียนส่วนใหญ่
กระเทียมมาคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน จากนั้นน�ำมาห่อเป็นมัด มาจากครอบครวั ทีม่ ฐี านะยากจน พอ่ แม่หาเชา้ กนิ คำ�่ และ
แล้วหมกั ไว้จนได้รสเปรีย้ วก�ำลงั ดี รวมถงึ อาหารแปรรปู จาก ระเหเร่ร่อนมาจากถิ่นอื่นเพื่อท�ำงานรับจ้างในพ้ืนที่ใกล้
โรงเรียน ที่มีทั้งฟาร์มหมู ฟาร์มไก่ และโรงงานท�ำแป้งมัน
ส�ำปะหลัง ส่วนบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของพวกเขาก็เป็นแค่
กระต๊อบหลังเล็กๆ ที่มีแต่หลังคากันแดดกันฝนเท่านั้น
ดังน้ันเม่ือเด็กที่นี่เรียนจบ ม.๓ พ่อแม่จึงไม่มีเงินทุนส่งให้
เรยี นตอ่ ตอ้ งออกมาขายแรงงานเหมอื นคนรนุ่ พอ่ รนุ่ แมต่ อ่ ไป
ฟงั แลว้ ชวี ติ เหมอื นนา่ เศรา้ นะครบั แตผ่ มคดิ วา่ ความ
ยากจนแก้ไขได้ด้วยปัญญา แม้เด็กเหล่านี้จะไม่มีทุนทาง
สังคมเทียบเท่ากับเด็กในเมือง แต่ส่ิงที่พวกเขาสามารถจะ
สร้างใหต้ วั เองไดค้ อื “ทนุ ชวี ิต”

82 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้

ทุนชีวิตทีว่ ่านค้ี ือการรูจ้ ักแปลงทนุ ความรูท้ มี่ ีอยเู่ ปน็ เพาะเห็ดและการแปรรูปอาหารจากเห็ด ที่สุดสองสามี
อาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ให้กับตัวเอง พวกเขาอาจไม่มี ภรรยาก็เลยหารายได้พิเศษด้วยการแปรรูปอาหารจากเห็ด
โอกาสเรียนจนจบสูงๆ แต่หากพวกเขาได้เรียนที่โรงเรียน เพ่ือจ�ำหน่ายเป็นของฝาก เม่ือย้ายมาเป็นครูท่ีโรงเรียนนี้
บา้ นไชยมงคล (สืบสินวทิ ยา) แหง่ น้ี ผมเชื่อว่าเดก็ นักเรยี น ครูค�ำพันจึงรับอาสาท�ำโครงการอาหารกลางวันเพ่ือเด็ก
เหล่านี้จะได้ทุนชีวิตกลับไปสร้างเน้ือสร้างตัวในอนาคต อยา่ งแขง็ ขัน รวมถึงรบั ผิดชอบโครงการใหม่นด้ี ้วย
สามารถพึ่งพิงตัวเองได้ นอกจากนน้ั เหตทุ เ่ี ราเลอื กเพาะเหด็ นางฟา้ กเ็ พราะ
ด้วยสภาพแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ของ เปน็ เหด็ ทเี่ พาะพนั ธไ์ุ ดง้ า่ ย ใชร้ ะยะเวลาในการเพาะเลยี้ งสน้ั
นักเรียน และผู้ปกครองท�ำให้ทางโรงเรียนของเราจัดการ มีรสชาติอร่อย และมีคุณค่าทางโภชนาการสูง แถมยังมี
เรยี นการสอนโดยนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของ สรรพคณุ ชว่ ยปอ้ งกนั โรคหวดั ชว่ ยการไหลเวยี นเลอื ดใหด้ ขี น้ึ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาปรับใช้เพ่ือให้นักเรียน และช่วยป้องกันโรคกระเพาะ ท่ีส�ำคัญโรงเรียนของเรา
เกดิ การเรยี นรสู้ กู่ ารปฏบิ ตั ิ และเปน็ แนวทางในการประกอบ สามารถน�ำเหด็ นางฟ้ามาท�ำเปน็ อาหารกลางวนั ให้เดก็ ๆ ใน
อาชพี ได้ โดยโครงการเพาะเหด็ นางฟา้ กเ็ ปน็ อกี โครงการหนงึ่ โรงเรียนได้อย่างหลากหลายอกี ดว้ ย
ท่ีโรงเรียนได้ดำ� เนินการภายใตห้ ลกั ปรชั ญาน้ี ท่ผี า่ นมาทาง
โรงเรียนสามารถน�ำผลผลิตท่ีได้มาแปรรูปเป็นอาหารจาน กระบวนการเพาะเห็ด ทค่ี รูและเด็กลงมือดว้ ยกัน
เหด็ ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย จนไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง ๓ ปซี อ้ น
ในการน�ำนักเรียนเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ก่อนหน้าที่จะมีโรงเรือนเพาะเห็ดท่ีได้มาตรฐานจาก
ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ งบประมาณของ สสค. ทางโรงเรียนเคยซ้ือก้อนเช้ือเห็ดมา
โครงการเพาะเห็ดนางฟ้าของโรงเรียนเกิดขึ้น ๓ ปี ทดลองเพาะ ๑,๐๐๐ กอ้ น ปรากฏว่าเสยี หายแทบท้งั หมด
ท่ีแล้ว เมื่อครูค�ำพัน แสงจ�ำปาย้ายมาเป็นครูที่โรงเรียน เพราะสภาพแวดลอ้ มและอณุ หภมู ไิ มเ่ หมาะสม แตห่ ลงั จาก
ของเรา เธอไดน้ ำ� ความรเู้ กย่ี วกบั การเพาะเหด็ นางฟา้ และการ ที่ได้ปรับปรุงโรงเรือนส�ำหรับเพาะเห็ดให้มีขนาด ๕ x ๑๐
แปรรูปอาหารจากเห็ดมาสู่นักเรียนและคุณครูในโรงเรียน เมตร พรอ้ มช้นั วางกอ้ นเหด็ เสร็จเรยี บรอ้ ยแล้ว หนทางขา้ ง
แรกทีเดียวผมเห็นเธอเพาะเห็ดท่ีใต้ถุนบ้านพักครู แต่ก็ไม่ หนา้ กด็ มู คี วามหวงั มากขน้ึ ครคู ำ� พนั เรมิ่ เดนิ หนา้ พาเดก็ ๆ ไป
ประสบผลส�ำเร็จเท่าที่ควรเพราะสภาพแวดล้อมไม่อ�ำนวย ศกึ ษาดูงานเก่ียวกับการเพาะเหด็ เปน็ ลำ� ดับแรก
ตอนหลังผมจึงชักชวนให้เธอดัดแปลงเรือนเพาะช�ำต้นไม้ ความจรงิ ตวั เธอเองกม็ ีความรู้ความสามารถในเรอ่ื ง
มาเป็นโรงเรือนเพาะเห็ดแทน แต่ก็ยังไม่ได้มาตรฐานของ นี้ครบถ้วน แต่ครูค�ำพันคิดว่าอยากให้เด็กได้ไปเห็นการใช้
โรงเรือนเพาะเห็ดที่ดี เนื่องจากหลังคาทรงตรงที่คลุมด้วย ชีวิตจริงๆ ของเกษตรกรท่ีเพาะเห็ดซึ่งมีเทคนิควิธีการและ
สแลนดด์ ำ� ไมส่ ามารถปอ้ งกนั ฝน และแสงแดดได้ ทำ� ใหผ้ ลผลติ ภูมิปัญญาชาวบ้านท่ีน่าสนใจ เธอจึงติดต่อประสานงานกับ
ทไี่ ดน้ อ้ ย มหิ นำ� ซำ้� เมอื่ ถงึ ฤดฝู น นำ�้ ฝนกต็ กลงมาถกู กอ้ นเชอื้ วทิ ยากรทอ้ งถน่ิ เพอื่ ชว่ ยอธบิ ายใหค้ วามรแู้ กเ่ ดก็ ๆ เรอ่ื งการ
เห็ดท�ำให้เกิดราด�ำ ก้อนเช้ือเน่าเสียเร็ว ทางคณะครูจึงคิด ดแู ลรกั ษาโรงเรอื นเพาะเหด็ การรดนำ�้ การเพาะกอ้ นเชอ้ื เหด็
กนั ว่าเรานา่ จะปรบั ปรงุ โรงเรอื นให้มปี ระสิทธภิ าพ น่จี งึ เป็น ตลอดจนการแปรรปู อาหารจากเหด็ อยา่ งไรกต็ าม การเพาะ
ทมี่ าใหเ้ รานำ� เสนอขอ้ มลู ไปยงั สำ� นกั งานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ กอ้ นเชอื้ เหด็ นน้ั ทางโรงเรยี นไมส่ ามารถทำ� เองได้ เพราะตอ้ ง
การเรยี นรแู้ ละพฒั นาเยาวชน (สสค.)เพอ่ื รบั การสนบั สนนุ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละงบประมาณคอ่ นขา้ งสงู จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งซอื้ กอ้ น
ด้านงบประมาณในการท�ำ “โครงการเพาะเห็ดนางฟ้า เช้อื เห็ดจากฟาร์มท่ีอยู่ในชุมชน
และการแปรรูปอาหารจากเห็ด” โดยน�ำเงินที่ได้ไปจัดท�ำ คร้ังน้ัน เม่ือนักเรียนระดับช้ัน ม.๑ - ม.๓ จ�ำนวน
โรงเรือนเพาะเห็ด และน�ำนักเรียนไปศึกษาดูงานยังแหล่ง ๗๘ คน ได้ไปเรยี นรกู้ ารเพาะเหด็ จากวิทยากรข้างนอก ทาง
เรียนรภู้ ายในชมุ ชน
สว่ นความสนใจในการเพาะเหด็ ของครคู ำ� พนั นนั้ เธอ
เลา่ ให้ผมฟงั ว่า สามีของเธอรับราชการเป็นทหารอยใู่ นคา่ ย
สรุ ธรรมพทิ กั ษ์ อ�ำเภอเมือง จงั หวดั นครราชสมี า ค่ายแห่ง
นี้เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงของเหล่าทหาร
สามีของเธอจึงพลอยไดร้ ับความรูต้ ่างๆ ไปด้วย รวมถึงการ

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 83

วิทยากรไดม้ อบกอ้ นเชอ้ื เห็ดให้นักเรยี นคนละ ๕ ก้อน เพอื่ อยา่ งไรกต็ าม แมว้ า่ การเรยี นรเู้ รอ่ื งการเพาะเหด็ และ
ไปฝึกเพาะเลี้ยงต่อท่ีบ้าน ครูค�ำพันเห็นเป็นโอกาสอันดีจึง การแปรรูปอาหารจากเห็ดจะอยู่ในชั่วโมงการงานอาชีพ
ให้เดก็ ๆ นำ� ความร้จู ากการศึกษาเรียนร้กู ้อนเช้อื เห็ดท่ีนำ� ไป ที่มแี ค่ ๒ ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์ แต่ผมก็ยงั เชื่อว่าเด็กๆ ไดเ้ รียนรู้
เพาะทีบ่ ้าน มาตอ่ ยอดทโี่ รงเรียนต่อไป อะไรมากกวา่ นน้ั เพราะนอกจากเดก็ ๆ จะไดร้ จู้ กั ใชเ้ วลาวา่ ง
เม่ือเด็กมีความรู้ และโรงเรียนมีโรงเพาะเห็ดที่ได้ ให้เป็นประโยชน์ รู้จักหารายได้ระหว่างเรียน พวกเขายัง
มาตรฐาน ทางโรงเรยี นจงึ จดั หากอ้ นเชอ้ื เหด็ จำ� นวน ๒,๐๐๐ สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาอ่ืนๆ มาใช้ในการท�ำ
ก้อน ซึ่งเพียงพอต่อการผลิตเพื่อจ�ำหน่ายและให้นักเรียน โครงการนไ้ี ดอ้ ยา่ งแยบยล
รบั ประทานมาเพาะในโรงเรอื นหลงั ใหม่ ปรากฏวา่ ไดผ้ ลผลติ ดี เช่นเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ผ่านการวัดการเจริญ
สามารถนำ� มาทำ� เปน็ อาหารกลางวนั และแปรรปู อาหารจาก เติบโต หรือการช่ังน้�ำหนักของเห็ด รวมถึงจากการท�ำ
เห็ดได้หลากหลาย โดยเฉพาะเห็ดสวรรค์ และแหนมเห็ด บัญชรี ายรบั -รายจ่าย หรือเรียนรู้วิชาศลิ ปะจากการวาดรูป
กลายเป็นสินค้าขายดีของโรงเรียน และกลายเป็นของฝาก ประกอบ การออกแบบตกแตง่ ผลติ ภณั ฑ์ และการจดั กระเชา้
ทมี่ ชี อื่ เสยี ง มคี นในชมุ ชนมาสง่ั ซอ้ื มากมายเพอื่ เปน็ ของฝาก ตา่ งๆ เรยี นรวู้ ชิ าสขุ ศกึ ษา จากการคน้ ควา้ หาขอ้ มลู เกยี่ วกบั
ในเทศกาลตา่ งๆ รวมถงึ ทางโรงเรยี นจดั เปน็ กระเชา้ ของฝาก คณุ ค่าทางโภชนาการของเหด็
ผมู้ าเยยี่ มมาเยือนอกี ด้วย ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ เด็กๆ ยังได้เรียนรู้วิธีการแกป้ ญั หาจาก
งานนี้ผมคิดว่าครูและนักเรียนต้องท�ำงานประสาน สถานการณ์จริง เช่น ในการเพาะเห็ดนางฟ้าพบว่ามีศัตรู
กันเป็นใจเดยี วจึงจะออกมาสำ� เร็จ ครตู อ้ งมีความตั้งใจท่ีจะ พชื ท่ีส�ำคัญคือ แมลงหวี่ และแมลงปีกแข็ง เด็กๆ จงึ ชว่ ยกัน
ถ่ายทอดความรู้ ลองผิดลองถูกสูตรการแปรรูปอาหารจาก ค้นคว้าหาข้อมูล และทดลองน�ำน�้ำหมักสมุนไพรจาก
เหด็ ไปพรอ้ มๆ กบั นกั เรยี น สว่ นนกั เรยี นกไ็ ดเ้ รยี นรเู้ รอื่ งตา่ งๆ ดาวเรือง ตะไคร้ และลูกสะเดามาฉีดพ่น ผลปรากฏว่า
ตง้ั แตก่ ารสรา้ งโรงเรอื นเพาะเหด็ ทไี่ ดม้ าตรฐาน ขน้ั ตอนการ น�้ำหมักจากลูกสะเดาใช้ได้ผลดีที่สุด ส่วนสภาพอากาศที่
แปรรูปอาหารจากเห็ด ไปจนถึงวิธีการจัดจ�ำหน่าย เรียนรู้ ร้อนมากเกินไป จนเป็นอุปสรรคต่อการออกดอกของเห็ด
เรื่องความสามัคคีจากการช่วยกันท�ำความสะอาดก้อน เดก็ ๆ กช็ ว่ ยกันแกไ้ ขดว้ ยการนำ� สแลนด์สดี ำ� มาใช้กรองแสง
เชื้อเห็ด และการช่วยกันเก็บผลผลิต เรียนรู้เร่ืองความ ซ่งึ ช่วยเกบ็ ความช้ืนในโรงเรอื นได้ระดับหน่งึ
ประหยัด จากการที่มีเห็ดไว้รับประทานในโครงการอาหาร แค่เหด็ นางฟา้ อยา่ งเดยี ว ไม่นา่ เชอื่ ใชไ่ หมล่ะครบั วา่
กลางวนั โดยไมต่ อ้ งซอื้ หา เรยี นรเู้ รอ่ื งความซอื่ สตั ยจ์ ากการที่ จะสามารถแตกยอดความรู้ไปได้มากมายขนาดนี้ ผมคิดว่า
ครูมอบหมายให้จัดท�ำบัญชีรายรับ-รายจ่ายจากการเพาะ ถ้าในชุมชนของเรามีของดีหรือภูมิปัญญาอะไรที่อยู่ใกล้ตัว
เหด็ เพอื่ จำ� หนา่ ยใหก้ บั ชมุ ชน และเรยี นรเู้ รอ่ื งความมรี ะเบยี บ เราก็สามารถน�ำมาเรียนรู้ เพ่ิมมูลค่า สร้างอาชีพและสร้าง
วินัยจากการดูแลรักษาโรงเรือนเพาะเห็ด การรดน้�ำ และ ความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนท้ังชาวบ้าน ครู และ
การเก็บผลผลิต นักเรียนได้เหมอื นที่โรงเรียนผมน่แี หละ
ว่าแต…่ จะกล้าลองดูสกั ตงั้ ไหมละ่ ครับคุณครู
บรู ณาการความร้สู ู่เรอ่ื ง “เห็ด”
เคลด็ ลบั ความส�ำเรจ็
เน่ืองจากโครงการนี้ได้รับผลตอบรับท่ีดี เป็นที่ ความเอาจริงเอาจัง และความเอาใจใส่ของ
ยอมรับของชุมชน ผู้ปกครองและบุคคลท่ัวไป จนได้รับ ครูทุกคนในโรงเรียน โดยเฉพาะครูท่ีเป็นหัวหน้า
“รางวัลหน่ึงนวัตกรรม หน่ึงโรงเรียน” ของระดับเขตการ โครงการทจ่ี ดุ ประกายใหเ้ กดิ กจิ กรรมนี้ รวมถงึ ความ
ศึกษา ทางโรงเรียนจึงได้บรรจุโครงการเพาะเห็ดนางฟ้า คิดสร้างสรรค์ของครูและนักเรียนในการแปรรูป
และการแปรรูปอาหารจากเห็ด เข้าไปในหลักสูตรการงาน อาหารจากเหด็ ได้อย่างหลากหลาย
อาชพี “หนงึ่ โรงเรยี นหนึ่งผลิตภัณฑ”์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เร่ือง การแปรรูปอาหาร
จากเห็ดนางฟ้า เปน็ หลกั สตู รเพ่มิ เตมิ ให้แก่นักเรยี นระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ทุกคนได้เรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทาง
ในการประกอบอาชีพ พร้อมขยายผลไปยังนักเรียนช้ันอื่น
และผู้สนใจตอ่ ไป

84 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

ส่งเสริมนวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

เร่อื งสมนุ ไพรใกลต้ วั

โรงเรยี นบ้านนาขอม นครสวรรค์

“แม่ครับ…ผมรู้สึกคร่ันเน้ือคร่ันตัว สงสัยจะเป็นหวัดแน่เลย” ผมบอกกับแม่ในเช้า
วนั หนงึ่ ที่ตืน่ ขึ้นมาแลว้ รสู้ ึกปวดศีรษะ มีอาการเหมือนจะเป็นไข้ แทนที่แม่ของผมจะเดนิ ไปหยิบ
ยาพาราเซตามอล แมก่ ลบั บอกกบั ผมวา่ “รอเดย๋ี วนะลกู แมจ่ ะไปเดด็ ยอดฟา้ ทะลายโจรขา้ งบา้ น
มาตม้ ให้ด่ืม วันนี้นอนพักเยอะๆ เด๋ียวกห็ าย”

กานพลู กระวาน ลูกใตใ้ บ

เวลาเป็นไข้เจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ แม่ของผมไม่เคย สมุนไพรต่างๆแล้ว ก็ยงั ขยายความรใู้ นเรอ่ื งนไี้ ปสเู่ รอื่ งอนื่ ๆ
ต้องไปซื้อหาหยูกยาที่ไหน เพราะที่ต�ำบลนาขอม อ�ำเภอ อีกดว้ ย
ไพศาลี จงั หวดั นครสวรรคข์ องเรา ทั้งเด็กเล็กเดก็ โต ผู้ใหญ่
ในหมู่บ้านต่างรู้ดีว่าแค่เดินเข้าไปในสวนข้างบ้านเราก็จะมี “เชญิ ชมสวนสมนุ ไพรที่โรงเรยี นบ้านนาขอมครบั ”
ยาสมุนไพรใกล้ตัวไว้ใชส้ อยมากมาย
ก่อนหนา้ น้ี คนในหม่บู า้ นของผมปลูกพชื สมนุ ไพรไว้ เชา้ วนั นผ้ี มไดร้ บั มอบหมายจากครธู วชั ชยั จนิ ดาศรี
ทบี่ า้ นเยอะแยะ เชน่ ฟา้ ทะลายโจร รางจดื ขมน้ิ ชนั กะเพรา ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านนาขอม ต�ำบลนาขอม อ�ำเภอ
ทองพนั ชง่ั กระเจย๊ี บแดง มะขามปอ้ ม ยา่ นาง มะรมุ ชมุ เหด็ ไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค์ และครปู ระชา อนุ่ เจรญิ ครสู อน
เทศ บอระเพด็ เสลดพงั พอน มะแวง้ ฯลฯ แตพ่ อเวลาผา่ นไป วิชาเกษตรท่ีเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนี้ ให้เป็นมัคคุเทศน์
คนรุ่นปู่ย่าตายายล้มหายตายจาก ความรู้เรื่องสมุนไพร นำ� เพอื่ นๆ จากตา่ งโรงเรยี นเดนิ ชมสวนสมนุ ไพรทอ่ี ยภู่ ายใน
ก็พลอยหายตามไปด้วย ถึงขนาดที่คนรุ่นหลังไม่รู้ว่าพืช โรงเรียนของเรา
สมนุ ไพรชนดิ นน้ั ๆมชี อ่ื เรยี กวา่ อะไรและมสี รรพคณุ อยา่ งไรบา้ ง สวนสมนุ ไพรแหง่ นมี้ เี นอื้ ทไ่ี รเ่ ศษๆ แตก่ ลบั มสี มนุ ไพร
แตส่ องปีทผ่ี ่านมาน้ี หลงั จากที่โรงเรียนบ้านนาขอม นบั รอ้ ยชนดิ ซงึ่ เราแยกปลกู เปน็ หมวดหมตู่ ามการบำ� บดั โรค
ของผม ทำ� โครงการสง่ เสรมิ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี น ตา่ งๆ ท้งั หมด ๑๖ กลมุ่ อาการ
รู้เร่ืองสมุนไพรใกล้ตัว นอกจากนักเรียนอย่างผมจะรู้จัก “บริเวณสวนส่วนน้ี เราใช้ปลูกพืชสมุนไพรที่เป็น
กลุม่ ยาแก้ทอ้ งข้ึน ทอ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ เชน่ กานพลู กระวาน

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ 85

ดปี ลี เพอ่ื นๆ เหน็ ไหมครบั ตน้ ดปี ลหี นา้ ตาคลา้ ยตน้ พรกิ ไทย “ทุกฝา่ ยรว่ มใจ” หวั ใจของความส�ำเรจ็
เลย เราจะนำ� ลกู ของมนั ไปทำ� เปน็ ยา หมอยาพนื้ บา้ นทมี่ าให้
ความรพู้ วกเราบอกวา่ ใหใ้ ชล้ กู ดปี ลี ๒๐ ลกู ตม้ กบั นำ้� ๒ แกว้ นอกจากความเขียวขจี และดอกเล็กๆ ของ
แลว้ ดม่ื วนั ละ ๒ ครงั้ ๆ ละ ๑ แกว้ กอ่ นอาหารเชา้ -เยน็ จะชว่ ย สมุนไพรจะท�ำให้ใครต่อใครที่มาเท่ียวสวนสมุนไพรของเรา
แก้ไอ และแก้ท้องอืดได้ เพลดิ เพลนิ แลว้ ปา้ ยบอกชอื่ สมนุ ไพรแตล่ ะชนดิ กย็ งั เชอื้ เชญิ
ส่วนด้านน้ี เราปลูกสมุนไพรกลุ่มยาแก้ไข้ ลด ใหเ้ พอื่ นต่างโรงเรียนหยดุ อ่านเปน็ ระยะๆ
ความร้อน เช่น บอระเพ็ด ประค�ำดคี วาย ยา่ นาง ลกู ใต้ใบ ผมนึกย้อนถึงปีก่อนโน้นท่ีครูประชาท�ำโครงการน้ี
ปลาไหลเผือก ฟ้าทะลายโจร และอื่นๆ อีกมากมาย โดย ใหม่ๆ ความจริงครูท�ำโครงการศึกษาและอนุรักษ์สมุนไพร
เฉพาะฟา้ ทะลายโจรนผ่ี มเองใชเ้ ปน็ ประจำ� ครบั เวลาไมส่ บาย ไทยมาก่อนหน้านี้แล้ว พอย้ายมาเป็นครูของโรงเรียนเรา
แมไ่ มต่ อ้ งไปซอื้ ยาทรี่ า้ นขายยา แตจ่ ะนำ� ฟา้ ทะลายโจรมาตม้ จึงปรึกษากับผู้อ�ำนวยการโรงเรียนว่าน่าเสียดายท่ีสมุนไพร
ให้ผมด่ืมแทน ช่วงท่ีไข้หวัดนกระบาดเน่ียฟ้าทะลายโจร ประจ�ำถ่ินของต�ำบลเราก�ำลังจะสูญหาย อย่างเช่น ราก
ดังใหญ่เลยครับ เพราะองค์การอนามัยโลก (WHO) สามสิบ หรือท่ีเรียกกันว่า “สาวร้อยผัว” รวมถึง เอนอ้า
ได้รับรองว่า ฟ้าทะลายโจร เป็นสมุนไพรที่ช่วยบรรเทา โด่ไม่รู้ล้ม ซ่ึงทั้งหมดเป็นยาบ�ำรุงก�ำลังของทั้งสุภาพบุรุษ
อาการหวดั ได้ เพราะมฤี ทธใ์ิ นการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหร้ า่ งกาย และสุภาพสตรี
คนทเี่ ปน็ หวดั หรอื รอ้ นในบอ่ ยๆ ถา้ รบั ประทานฟา้ ทะลายโจร ผู้อ�ำนวยการเห็นด้วยว่าเราน่าจะร่วมมือกันอนุรักษ์
กจ็ ะสามารถชว่ ยกระตนุ้ ภมู คิ มุ้ กนั ใหด้ ขี นึ้ จงึ ไมเ่ ปน็ หวดั งา่ ย สมุนไพรเหล่าน้ีไว้ พอดีกับท่ีทางส�ำนักงานส่งเสริมสังคม
ส่วนอาการร้อนในก็จะหายไปด้วย ถ้าเพื่อนๆ อยากรู้ว่า แห่งการเรียนเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้เปิด
ฟ้าทะลายโจรมีรสชาติอย่างไร ลองเด็ดชิมได้เลยครับ… โอกาสใหเ้ สนอโครงการเพอื่ ขอรบั การสนบั สนนุ ทางโรงเรยี น
ขมใชไ่ หมละครบั รสขมแบบนค้ี รขู องผมบอกว่ามสี รรพคณุ จึงเดนิ หน้าในเรื่องน้ีอย่างเต็มท่ี
เป็นยาเย็น ช่วยแกร้ อ้ นในได้ดี เพอ่ื นๆ คงไมช่ อบ ผมเองก็ ครบู อกวา่ การทำ� งานครง้ั นตี้ อ้ งใชท้ มี เวริ ค์ เปน็ อยา่ งมาก
ตอ้ งกลน้ั ใจทานครบั พรอ้ มกบั ทอ่ งไวใ้ นใจวา่ ‘หวานเปน็ ลม โดยเร่ิมจากการที่โรงเรียนด�ำเนินการส�ำรวจความคิดเห็น
ขมเป็นยา กินแล้วหาย ไม่วายชีวาแน่เอย’…ถ้าอยากหาย ของนักเรียน คณะครู ผู้ปกครองและชุมชนว่าเห็นด้วย
ปว่ ยก็ต้องทานครับ กับการอนุรักษ์พันธุ์พืชสมุนไพรเพ่ือเป็นมรดกให้กับ
ยังไม่เหน่ือยกันใช่ไหมครับ ผมจะพาไปดูกลุ่ม ลกู หลานหรอื ไม่ เมอ่ื ทกุ ภาคสว่ นเหน็ ดว้ ย ครกู เ็ ชญิ วทิ ยากร
สมุนไพรท่ีเป็นกลุ่มยาแก้บิด ท้องเดิน ท้องร่วง และโรค มาให้ความรู้เก่ียวกับสมุนไพร ทั้งที่เป็นแพทย์แผนไทย
กระเพาะเชน่ กระทอื อา่ นวา่ ‘กระทอื ’นะครบั ไมใ่ ช่‘กระบอื ’ จากตัวเมืองนครสวรรค์ รวมถึงได้รับความร่วมมือจาก
เดี๋ยวจะเข้าใจผิดกันไปใหญ่ ต้นกระทือหน้าตาคล้ายต้นขิง คณุ ณฐั ธชยั นชุ ชม หวั หนา้ สวนรกุ ขชาติ ๑๐๐ ปี กรมปา่ ไม้
และต้นไพล เห็นไหมครับว่ามีดอกเป็นทรงกระบอกสีเขียว (ซับสมบูรณ์)ที่มาให้ความรู้และช่วยประสานความร่วมมือ
สีแดงสวยเชียวละ ท่ีบ้านของผมแม่จะขุดกระทือมาทั้งต้น กับเครือข่ายสมุนไพร เพราะก่อนหน้านี้ทางสวนรุกขชาติ
แล้วลอกกาบออก เลือกเอาแต่ส่วนที่เป็นช่อดอกอ่อน ๑๐๐ ปี ฯ ได้ท�ำโครงการ “ท่องไพร หัวใจไพศาลี” โดย
เนอ้ื ในอ่อนๆ นำ� ไปลวกจม้ิ น้ำ� พริก ท�ำแกงเลียง หรอื ทำ� แกง ให้โรงเรียนของเราและโรงเรียนอ่ืนๆ ในบริเวณใกล้เคียงได้
เผ็ดอร่อยมาก นอกจากนั้นสมุนไพรกลุ่มน้ีก็ยังมีกระชาย รวมตัวกันเป็น “เครือข่ายสมุนไพร” เพ่ือช่วยกันอนุรักษ์
ทับทิม ฝร่ัง เพกา และเปล้าน้อย โดยเฉพาะเปล้าน้อย พืชสมุนไพรและพันธุ์ไม้ของอ�ำเภอไพศาลีด้วยกัน โดยเรา
คนไทยเรานิยมน�ำมาใช้เป็นสมุนไพรรักษาโรคมานาน ใหส้ ญั ญาใจกนั วา่ เราจะชว่ ยเหลอื กนั ในเรอ่ื งของการอนรุ กั ษ์
โดยเฉพาะสว่ นใบนยิ มนำ� มาตม้ รกั ษาโรคกระเพาะ แตป่ จั จบุ นั พนั ธ์พุ ืชและพนั ธไ์ุ ม้ต่างๆ
สมุนไพรชนดิ นี้ไดถ้ กู ญีป่ ุน่ นำ� ไปจดสทิ ธบิ ัตรเรียบร้อยแลว้ ”

86 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

“ทอดผ้าป่าสมนุ ไพร” ได้ท้งั บญุ ทั้งแหลง่ เรียนรู้ โครงงานอาชีพ ได้รับรางวัลเหรียญทองระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษา และระดับภาคเหนอื
แล้ววันท่ีเราได้เห็นพลังของชุมชนและเครือข่าย ล่าสุดพวกเราได้ต่อยอดน�ำสมุนไพรมาท�ำน�้ำ
สมุนไพรก็มาถึง หลังจากท่ีครูในโรงเรียนและนักเรียนได้ สมุนไพร เช่น ใบเตย กระเจ๊ยี บ จ�ำหนา่ ยใหเ้ พอ่ื นนกั เรียน
ท�ำการสำ� รวจพชื สมนุ ไพรท่ีอยูใ่ นท้องถิ่น ดว้ ยการถา่ ยภาพ แทนท่ีจะให้ร้านค้ามาจ�ำหน่ายน�้ำอัดลม นอกจากนั้นยัง
จดั ทำ� เปน็ หนงั สอื สมนุ ไพรใกลต้ วั โดยรวบรวมพชื สมนุ ไพร พฒั นาสมนุ ไพรเปน็ ผลติ ภณั ฑอ์ นื่ ๆ เชน่ บาลม์ เสลดพงั พอน
ในทอ้ งถิน่ แบง่ ตามอาการรักษาโรค ๑๖ อาการ และแผน่ ลกู ประคบ ซง่ึ ในอนาคตจะมกี ารตอ่ ยอดใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรู้
ภาพการเรียนรู้ ซ่ึงภาพสมุนไพรที่ครูให้พวกเราไปถ่ายมา เรอ่ื งการนวดแผนไทย เพราะทางโรงเรยี นเหน็ วา่ เราสามารถ
จดั ทำ� เปน็ หนงั สอื นนั้ ไดม้ าจากสมนุ ไพรของชาวบา้ น รวมถงึ ผลิตนำ�้ มนั ส�ำหรับนวด และลูกประคบได้ด้วยตัวเอง เราจึง
ภาพสมุนไพรทีท่ างเครือข่ายส่งมาให้ จากนนั้ ทางเครือขา่ ย น่าจะเรียนรู้ศาสตร์ด้านน้ีเพ่ิมเข้ามา เพื่อวันหน่ึงนอกจาก
สมุนไพรก็ให้ค�ำแนะน�ำว่า เราควรที่จะจัด “ทอดผ้าป่า เดก็ นกั เรยี นจะสามารถปลกู สมนุ ไพรไวใ้ ชเ้ อง รจู้ กั สรรพคณุ
สมนุ ไพร” เพอื่ ปรบั ปรงุ สวนสมนุ ไพรของโรงเรยี นทม่ี อี ยเู่ ดมิ ตา่ งๆ ของสมนุ ไพรแลว้ กอ็ าจยดึ การนวดแผนไทยเปน็ อาชพี
ให้เป็นแหล่งเรยี นรู้สมนุ ไพรของคนในทอ้ งถ่ินอยา่ งแทจ้ ริง ไดต้ อ่ ไปอกี ด้วย
ภาพงานวนั นน้ั ไมต่ า่ งกบั การทอดผา้ ปา่ ทท่ี ำ� กนั ทว่ั ไป ผมคดิ วา่ สงิ่ ทตี่ วั เองไดร้ บั จากการเรยี นทน่ี ่ี คอื ความรู้
แตกต่างกันก็แต่แทนที่ชาวบ้านในชุมชนใกล้เคียง รวมถึง และทักษะการใช้ชวี ติ เม่อื เจบ็ ไข้ไดป้ ่วยผมก็รูว้ า่ จะสามารถ
โรงเรียนที่เป็นเครือข่ายสมุนไพรจะน�ำปัจจัยท่ีเป็น “เงิน” น�ำสมุนไพรท่ีปลูกไว้ท่ีบ้านชนิดไหนมาบ�ำบัดรักษาตัวเอง
มาทอดผ้าป่ากน็ ำ� “พืชสมนุ ไพร” ใสถ่ ุงกันมาท�ำบุญแทน … รวู้ า่ จะท�ำน้ำ� มันเหลอื ง ยาหมอ่ ง สเปรยต์ ะไคร้หอมกันยุงไว้
เสยี งพระสวดใหพ้ รในวนั นน้ั ทำ� ใหค้ นทน่ี ำ� สมนุ ไพรมาทำ� บญุ ใชเ้ องไดอ้ ยา่ งไร หรอื ทดี่ กี วา่ นน้ั ถา้ ผมจะยดึ การทำ� ผลติ ภณั ฑ์
ต่างอิ่มบุญกันไปถ้วนหน้า แม้กระทั่งตัวผมเองก็ยังจดจ�ำ เหลา่ น้ีเปน็ อาชพี โอกาสท่ีจะหาเลีย้ งตวั เองได้ก็มอี ยมู่ าก
เหตกุ ารณใ์ นวนั นนั้ ได้เป็นอย่างดี วนั นน้ั ชาวบ้านบางคนน�ำ ทกุ วนั นคี้ นในชมุ ชนบรเิ วณโรงเรยี นไดม้ โี อกาสใชส้ วน
สมนุ ไพรทต่ี วั เองไมร่ จู้ กั ชอ่ื มาสอบถามชอื่ และสรรพคณุ จาก สมนุ ไพรแห่งนเ้ี ป็นทั้งแหล่งเรยี นรู้ และเปน็ ทั้งโรงพยาบาล
แพทย์แผนไทยท่ีมาร่วมบญุ ในครั้งนี้ด้วย ใครเจบ็ ปว่ ยขนึ้ มา กม็ กั จะมาหาคณุ ครทู โี่ รงเรยี นเพอื่ ถามหา
หนงึ่ สปั ดาหห์ ลงั จากนนั้ ผม เพอื่ นๆ และคณะครกู เ็ รม่ิ ยาสมนุ ไพรแกโ้ รคตา่ งๆ เชน่ เบาหวาน ความดนั หรอื บางคน
ลงมอื ปลกู พชื สมนุ ไพรดว้ ยกนั ผมไดเ้ รยี นรวู้ ธิ กี ารขดุ ดนิ การ ทเ่ี คยทดลองใช้น้ำ� มนั เหลือง ยาหมอ่ งที่ทางโรงเรียนทำ� แจก
ปลกู การขยายพนั ธ์ุ รวมถงึ การดแู ลรกั ษา พวกเราไมจ่ �ำเปน็ ก็ยังถามไถ่วา่ จะท�ำอีกเมือ่ ไร เพราะใชแ้ ลว้ ไดผ้ ลดี
ต้องท่องจ�ำจากหนังสือว่าพืชสมุนไพรชนิดนี้หน้าตาเป็น ท่ีผ่านมาโรงเรียนของเราจัดการศึกษาตามหลัก
อยา่ งไร มสี รรพคณุ อยา่ งไรบา้ ง แตส่ ามารถเหน็ ภาพสมนุ ไพร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เราเป็นโรงเรียนต้นแบบ
จากของจรงิ ดมกลนิ่ ได้ เดด็ มาชมิ ได้ และทสี่ ำ� คญั พวกเราได้ ยุวเกษตร ของกรมพัฒนาที่ดิน จังหวัดนครสวรรค์ และ
น�ำสมุนไพรท่ีปลูกเองกับมือไปท�ำเป็นโครงงานสมุนไพร เป็นโรงเรียนสถานศกึ ษาพอเพยี ง ท�ำให้ทีโ่ รงเรียนของเรามี
ใกล้ตัว ๓ โครงงาน คือ โครงงานน้�ำมันเหลืองสมุนไพร ทั้งบ้านดิน แปลงผัก บ่อเล้ียงปลา และตอนน้ีก็มีสวน
โครงงานยาหม่องเสลดพังพอน และโครงงานสเปรย์ สมนุ ไพรใหใ้ ครตอ่ ใครมาเย่ียมชมอีกดว้ ย
ตะไคร้หอมกันยุง ผลิตภัณฑ์ที่เราท�ำขึ้นมาน้ี ทางโรงเรียน ไม่ต้องบอกก็คงรู้นะครับว่าผมภูมิใจในโรงเรียน
ไดน้ ำ� ไปร่วมจดั นทิ รรศการในงานตา่ งๆ และสง่ เขา้ ประกวด คุณครู ชุมชน และเครือข่ายของเรามากแค่ไหน หากมี
เวลาวา่ ง ลองแวะมาชมโรงเรยี นผมไดน้ ะครบั ยนิ ดตี อ้ นรบั
เสมอ

เคล็ดลบั ความส�ำเร็จ
การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง
รวมถึงความร่วมแรงร่วมใจของทุกภาคส่วน
โดยเฉพาะการรวมตัวกันเป็นเครือข่ายสมุนไพร
ท่ีเป็นพลงั ขับเคลอื่ นให้การทำ� งานส�ำเรจ็

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้ 87

ดนตรีสบื สานต้านยาเสพตดิ

โรงเรยี นบา้ นนาบอน กาฬสินธุ์

วันจันทร์ท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๕
เวลา ๑๒.๓๐ น.วงดนตรชี าโด้ ของโรงเรียน
บ้านนาบอน ได้ฤกษ์เปิดการแสดงในพิธี
เปิดการแข่งขันกีฬานักเรียนระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา คร้ังท่ี ๘ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
กาฬสินธุ์ เขต ๓ ณ สนามโรงเรียนบา้ นนาคู
พฒั นา (กรป.กลางอปุ ถัมภ)์

ผมและเพอื่ นๆ นอ้ งๆ ในวงดนตรตี นื่ เตน้ กบั งานนม้ี าก “จงภมู ิใจเถดิ ท่ีเกดิ เป็นไทย มิเปน็ ทาสใคร แหละมี
เราตน่ื กนั แตเ่ ชา้ มารวมพลทีโ่ รงเรยี นตง้ั แต่เวลา ๖.๓๐ น. นำ�้ ใจลน้ ปรมิ่
เพื่อจัดเตรียมอุปกรณ์ในการแสดง ท่ีมีทั้งกีตาร์ กีตาร์เบส ทั่วโลกกล่าวขาน ขนานนาม ให้ว่าสยามเมืองย้ิม
คยี บ์ อรด์ และกลองชดุ รวมถงึ ชว่ ยกนั จดั เตรยี มเครอ่ื งแตง่ กาย เราควรกระหยม่ิ ถงึ ความดีงาม...”
ของน้องๆ ชั้นประถมท่ีมาร�ำรีวิวประกอบเพลง เมื่อได้ หลังจากเสียงเพลงที่สะท้อนถึงความภาคภูมิใจใน
เวลา ๗.๐๐ น. พวกเรากวา่ ๓๐ ชวี ติ จงึ ขน้ึ รถบสั เพอื่ เดนิ ทาง ความเป็นไทยจบลง เสียงร้องของน้องเต้ย นักเรียนช้ัน
ไปยังสถานทจ่ี ดั การแขง่ ขนั ม.๒ ในเพลง “กระแซะ” ของพุ่มพวง ดวงจันทร์ก็ดังขึ้น
ช่วยสร้างความคึกคักสนุกสนานต่อในทันที จบแล้วก็เป็น
จดุ เปลย่ี นของชวี ิตผม คือ “ดนตร”ี การรีวิวประกอบเพลงของน้องๆ ชั้นประถมที่มีความ
พร้อมเพรียงสวยงาม
ใครๆ ก็เรียกผมว่า “อาร์ต” แต่ชื่อจริงของผมคือ คราวนี้ก็มาถึงหน้าที่ของผมกับเพ่ือนผู้หญิงอีกคนท่ี
พีระพล เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ของโรงเรียน รับหน้าที่ร้อง “เพลงอาเซียนร่วมใจ” สลับเสียงชาย-หญิง
บ้านนาบอน อ�ำเภอคำ� ม่วง จังหวดั กาฬสินธ์ุ กอ่ นหน้านี้ คู่กัน เพลงนี้มีการแต่งเน้ือร้องและท�ำนองโดยประภาส
ไม่มีใครคาดคิดว่าผมจะมาเป็นนักร้องน�ำในวงดนตรีได้ ชลศรานนท์ ดนตรโี ดยคณุ พระชว่ ยออรเ์ คสตรา และขบั รอ้ ง
เพราะผมถูกจัดอยู่ในประเภทกลุ่มเส่ียง เป็นนักเรียนท่ีอยู่ โดยปาน-ธนพร แวกประยูร และบ-ี พรี ะพฒั น์ เถรวอ่ ง
ในสภาพแวดล้อมและครอบครัวท่ีขาดความอบอุ่นและมี “อาเซยี นรว่ มใจ อาเซยี นเรามารว่ มใจ อาเซยี นรว่ มใจ
โอกาสตดิ ยาเสพตดิ สว่ นวรี กรรมของผมกใ็ ชย่ อ่ ยทง้ั โดดเรยี น อาเซยี นเรามารว่ มใจ
สูบบุหร่ี จนที่สุดแม่กับพ่อเลี้ยงต้องเปล่ียนโรงเรียนให้ผม
จากโรงเรยี นในตวั อำ� เภอมาเปน็ โรงเรยี นบา้ นนาบอนซง่ึ เปน็
โรงเรียนใกลบ้ า้ นแทน เพอื่ จะไดด้ แู ลอยา่ งใกลช้ ดิ
เสียงพิธีกร เรียกวงดนตรีชาโด้ ของโรงเรียนบ้าน
นาบอนข้ึนท�ำการแสดง หลันเพื่อนผู้หญิงที่เรียนอยู่ ม.๓
เหมือนผมออกไปร้องเพลง “สยามเมืองย้ิม” ของพุ่มพวง
ดวงจันทร์ เป็นการเปิดงาน เสียงปรบมือจากคณะครูและ
นกั เรยี นทง้ั ๑๐ โรงเรยี นทเี่ ขา้ แขง่ ขนั กฬี าในครงั้ นดี้ งั กกึ กอ้ ง

88 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้

มาเลเซีย พมา่ กัมพชู า ลาว ไทย สิงคโปร์ เวยี ดนาม บรูไน แน่นอนท่ีสุด ส่ิงที่วัยรุ่นอย่างผมโหยหาก็แค่ใคร
ฟิลปิ ปินส์ ... อินโดนีเซยี สักคนที่เข้าใจ นอกจากดนตรีแล้วผมก็ยังมีครูอภิศักด์ิ
อาเซยี นรว่ มใจ อาเซยี นเรามารว่ มใจ อาเซยี นร่วมใจ สุวงทา ซ่ึงท�ำหน้าที่ฝึกซ้อมวงดนตรีวงน้ีอีกหน่ึงคน ที่ยัง
อาเซียนเรามารว่ มใจ ศรทั ธาในความดงี ามทมี่ ีอย่ใู นตัวผม
(ญ.) รอบบา้ นเราอยตู่ ดิ กนั ขอบรวั้ ชนกนั เปน็ บา้ น
พเ่ี มอื งนอ้ ง ฝึกดนตรีให้หนีห่างยาเสพตดิ
ตะวันออกเฉียงใต้เรืองรอง แผ่นดินสีทองสาดส่อง
บ้านเรา โรงเรยี นบา้ นนาบอนของเราเปน็ โรงเรยี นขยายโอกาส
รอบบ้านเราอยู่ติดกัน สุขทุกข์รวมกัน แบ่งปัน ขนาดใหญ่ ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีแห้งแล้งกันดาร พ่อแม่ผู้ปกครอง
บรรเทา ของเด็กนักเรียนส่วนใหญ่อพยพเข้าไปท�ำงานในเมือง
ฝนรั่ว ฝนแล้งก็แบ่งเบา บ้านเธอบ้านเขา เรามา เพ่อื นรนุ่ ผมหลายคนจึงตอ้ งอย่กู ับปู่ย่าตายาย
ชว่ ยเหลอื กัน ครอู ภศิ กั ดบ์ิ อกกบั ผมวา่ ครวู วิ ฒั นาคสิ าลงั ผอู้ ำ� นวยการ
อาเซียนร่วมใจ อาเซียนเรามาร่วมใจ อาเซียนร่วมใจ โรงเรยี นและครทู กุ คนเปน็ หว่ งเดก็ รนุ่ ผมมาก กลวั วา่ จะขาด
อาเซียนเรามารว่ มใจ ความอบอนุ่ แลว้ ไปยงุ่ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ จงึ คดิ ทำ� โครงการที่
(ช.) ข้าวปลาและอาหาร ตั้งร้านเรียงกัน ผูกพัน จะให้พวกผมไดใ้ ช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ ในปีการศกึ ษา
แลกเปลยี่ น ๒๕๕๔ โรงเรียนจึงได้จัดต้ังโครงการดนตรีสืบสานต้าน
วฒั นธรรมเราหมนุ เวยี น ปรบั เปลยี่ นเชอ่ื มโยง เสรมิ สง่ ยาเสพติดข้ึน โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการ
แข็งแรง จัดซ้ือเคร่ืองดนตรีและฝึกอบรมจาก ส�ำนักงานส่งเสริม
(พรอ้ มกนั ) มาจับมอื กันสรา้ งรัว้ เพราะลมเศรษฐกิจ สงั คมแหง่ การเรยี นรแู้ ละคณุ ภาพเยาวชน (สสค.) ผมยงั จำ�
นนั้ มนั พัดแรง ที่ ผอ.พดู หน้าเสาธงไดว้ ่า
ร้ัวน้ีจะแข็งจะแกร่ง มันอยู่ท่ีเรา ผองชาวอาเซียน “ดนตรีเป็นทูตทางวัฒนธรรมและสังคมที่สามารถ
ร่วมใจ...” กลอ่ มเกลาจติ ใจ ปลกู ฝงั จติ วญิ ญาณใหเ้ กดิ ความสำ� นกึ รกั ใน
ผมร้องเพลงสุดเสียง ใส่ความรู้สึกลงไปในเพลง ความดีงาม เป็นการฝึกทกั ษะของชวี ติ ทำ� ใหร้ ู้จักแกป้ ญั หา
อยา่ งเต็มที่ เมือ่ กวาดสายตาไปรอบเวที กเ็ ห็นดวงตาหลาย รับผิดชอบตนเองและปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
คู่มองมาท่ีผมไม่วางตา ท�ำให้เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจใน อย่างมีความสขุ ...”
ตัวเองอย่างประหลาด เหมือนสิ่งท่ีผมท�ำมีคุณค่ามากมาย คงจะจรงิ อยา่ งท่ี ผอ.ว่า การได้ฝึกซอ้ มดนตรีทกุ เยน็
มหาศาล ผมไม่ใช่เดก็ นอกสายตาใครๆ อกี ตอ่ ไปแลว้ ใช่ไหม หลังเลิกเรียน ช่วยท�ำให้ผมเข้าเรียนในวิชาอื่นๆ มากข้ึน
ผมสามารถเปน็ เดก็ ดไี ดเ้ หมอื นคนอนื่ ๆใชไ่ หม...ผมแอบถาม ผมเร่ิมรู้สึกเห็นใจครูที่ต้องมาเหนื่อยปากเปียกปากแฉะ
ตวั เองอยู่ในใจ สอนเราซ�้ำๆ ทุกวัน แล้วเมื่อก่อนผมท�ำได้อย่างไรนะ ท่ี
จวบจนถึงตอนเย็น เมื่อถึงเวลาปิดงาน ผมออกไป โดดเรยี นไปนง่ั สมุ หวั กบั เพอื่ นผชู้ ายเพอ่ื ลองสบู บหุ รด่ี ว้ ยกนั
ร้องเพลงสดุ ท้ายของตวั เอง เพลง “ซมซาน” ของเสก โลโซ ทงั้ ทคี่ รูพรอ้ มสละแรงกายแรงใจเพ่อื พวกเรา
ซึ่งเปน็ เพลงโปรดของผมเลยกว็ า่ ได้ แลว้ ทำ� ไมผมตอ้ งนอ้ ยใจวา่ แมไ่ มร่ กั ทง้ั ทคี่ วามจรงิ แม่
“เกิดมาไม่เคยเจอ ใครเหมือนเธอ หลับฝันละเมอ รักผมมากทีส่ ุด เพียงแตแ่ มต่ อ้ งทำ� หน้าทห่ี าเล้ยี งครอบครวั
ภาพเธอคอยหลอนทุกคืน จึงไม่มีเวลามาพูดคุยกับผมมากนัก เพลง “แม่” ของเสก
หลับลงคราใด อยากนอนไม่ยอมต่ืน ก็ทุกค�่ำคืน โลโซทผ่ี มรอ้ งซำ�้ ไปซำ�้ มาวา่ “คดิ ถงึ แมข่ นึ้ มา นำ�้ ตามนั กไ็ หล
เจอเธอทปี่ ลายฟ้าไกล อยากกลบั ไป ซบลงทต่ี รงตกั แม่ ในออ้ มกอด รกั จรงิ ทเี่ ทยี่ งแท้
กไ็ ดแ้ ตเ่ พอ้ แตฝ่ นั ลมลม กห็ ลงชนื่ ชม โดยเธอไมร่ ตู้ วั ในอกแม่ สุขเกินใคร...” มันคอ่ ยๆ สลายความร้สู ึกน้อยเนื้อ
เจอเธอทไี ร จติ ใจเตน้ รวั ฉนั กลวั ฉนั กลวั กลวั เธอไมส่ นใจ ต�่ำใจของผมลงทีละนิดๆ วันน้ีผมยังไม่กล้าพูดบอกรักแม่
อยากเดนิ เขา้ ไป บอกวา่ รกั เธอ เวลาทเี่ จอทเี่ ธอสง่ ยมิ้ มา แต่วันหนึ่งผมจะทำ� และจะเป็นลูกทด่ี ีให้แม่ภูมิใจ
เหมือนดั่งโลกนี้ สดใสข้ึนทันตา ในช่วงเวลาที่ ก่อนหน้าท่เี ราจะตงั้ วงดนตรขี ึน้ มา ครใู นโรงเรียนได้
ตอ้ งการใคร เข้าใจสักคน…” ไปเย่ียมบ้านของนักเรียนชั้น ม.๑-ม.๓ ทั้งหมด ๑๖๘ คน
เพื่อพูดคุยสอบถามปัญหากับพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย และก็คง

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 89

จะรู้ว่าเด็กคนไหนจัดอยุ่ในกลุ่มเส่ียง หลังจากนั้นครูก็ อีกอึดใจหนงึ่ ครกู พ็ ูดขน้ึ มาวา่ “สัญญากับครไู ดไ้ หมวา่ จะไม่
คัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงโดยขอความร่วมมือจาก ยุง่ เก่ยี วกบั ยาเสพติด”
หน่วยงานต่างๆ เชน่ เจา้ หนา้ ท่ตี �ำรวจจากสถานีตำ� รวจภธู ร “ไดค้ รบั ครู” ผมตอบสน้ั ๆ แตใ่ นใจน้ันคดิ ว่า กค็ รูทำ�
ค�ำมว่ งและเจ้าหนา้ ทจี่ ากโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำ� บล เพอ่ื พวกเรามาขนาดน้ี ทำ� ไมผมจะทำ� อะไรเพื่อครบู ้างไม่ได้
นาบอน เพื่อคัดกรองนักเรียนกลุ่มเส่ียงที่เข้าไปยุ่งเก่ียวกับ ผมสญั ญาด้วยเกยี รติของลูกผ้ชู ายเลยครบั
ยาเสพตดิ ด้วยการตรวจปัสสาวะเพอื่ หาสารเสพติด บางคร้ังเวลาเรานั่งรสบัสไปแสดงยังที่ต่างๆ
หลังจากนั้นครูในโรงเรียนก็ชักชวนผมและเพ่ือนๆ ครูอภิรักษ์ก็มักจะเข้ามาพูดคุยกับเราทุกคน จนผมเคย
โดยเฉพาะท่ีอยู่ในกลุ่มเสี่ยงให้มาตั้งวงดนตรีสากล เผลอแซวว่า “ครูเป็นครแู นะแนว หรือครสู อนวิทยาศาสตร์
ดว้ ยกนั เราเลน่ ทงั้ เพลงลกู ทงุ่ และเพลงไทยสากล โดยใชเ้ วลา กันแน่ครับ” ครูได้แต่หัวเราะ แต่ผมรู้ดีว่าท่ีครูซักครูถาม
ว่างตอนเย็นหลังเลิกเรียนมาซ้อมดนตรี บางคนเล่นดนตรี ก็เพราะรักและเปน็ หว่ งพวกเรา ถา้ ไมห่ ว่ งครูวิทยาศาสตรท์ ่ี
บางคนก็เป็นนักร้อง ส่วนน้องๆ ช้ันประถมก็มาเต้น สอนเดก็ ช้ันประถม คงไมอ่ าสามาตั้งวงดนตรี และคอยถาม
ประกอบรวี วิ เพลง ทำ� ใหว้ งดนตรขี องเราเปน็ วงทคี่ รบเครอื่ ง สารทุกข์สุขดิบของพวกเราราวกับเป็นครูแนะแนวอย่างนี้
ดงั นน้ั หนว่ ยงานต่างๆจงึ เชิญพวกเราไปแสดงอยู่บ่อยๆ เชน่ หรอกใชไ่ หมครับ
ในงานเปิดกีฬาเขตฯ หรือในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน หลังจากท�ำโครงการดนตรีสืบสานต้านหาเสพติด
ครูสอนดนตรีของพวกเราก็เป็นครูในโรงเรียนอย่างครู จนประสบความส�ำเร็จ ท�ำให้โรงเรียนมีแนวคิดท่ีจะพัฒนา
อภิรักษ์ ที่ท�ำหน้าท่ีสอนดนตรีสากลและท�ำหน้าท่ีติดต่อ โรงเรียนให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และช่วยแก้ปัญหา
ประสานงาน หรือถ้าดนตรีชนิดไหนครูไม่ถนัดก็จะให้ เยาวชนหา่ งไกลยาเสพตดิ และเพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ การสอดรบั
วิทยากรจากข้างนอก ซ่ึงอาจเป็นศิษย์เก่าหรือคนในต�ำบล กับนโยบายของรัฐบาลที่จะรวมเป็นประชาคมอาเซียนในปี
ที่มีความสามารถมาสอนแทน ๒๕๕๘ โรงเรยี นของเราจงึ ตอ่ ยอดโครงการนเ้ี ปน็ “โครงการ
ดนตรเี พอ่ื อาชพี สอู่ าเซยี น” เพอ่ื ชว่ ยแกไ้ ขปญั หาของเยาวชน
ฝึกระเบียบวนิ ัย การปรบั ตัวเข้าสังคมดว้ ยดนตรี และพฒั นาศักยภาพของสถานศึกษาอย่างแท้จริง
ด้วยเหตุนี้ โรงเรียนจึงมีแนวคิดในการพัฒนาโดยใช้
กว่าเราจะได้ไปแสดงในแต่ละครั้ง ครูจะให้เรา นวตั กรรม Nabon Model 5-2-8 (N= narcotics ยาเสพตดิ
ฝึกซ้อมจนพอใจกันทั้งสองฝ่าย ส่วนเพลงที่คัดเลือกมาร้อง A= anti ต่อตา้ น B= band วงดนตรี O= organization
ก็เป็นเพลงทีท่ งั้ ครู และพวกผมไดม้ านง่ั คิดปรกึ ษาหารือกนั องค์กรได้รว่ มคดิ รว่ มท�ำ รว่ มนำ� เสนอ N= nabon school
บางเพลงยากเกนิ ไปนกั ดนตรกี เ็ ลน่ ไมไ่ ด้ บางเพลงกไ็ มเ่ หมาะ โรงเรียนบ้านนาบอนที่น�ำดนตรีมาแก้ไขปัญหาอย่างเป็น
กบั การเตน้ รวี วิ ประกอบ เราตอ้ งชว่ ยกนั เลอื กจนเปน็ ทพี่ อใจ ข้ันตอนและสร้างสรรค์ ) เพ่ือให้เกดิ ความสมบรู ณ์มากท่ีสดุ
ของทุกฝา่ ย ในการดำ� เนินโครงการ
เมอ่ื กอ่ นผมเปน็ คนทไ่ี มม่ รี ะเบยี บวนิ ยั ชอบเอาแตใ่ จ ผมเช่ือว่า ถ้าครูในประเทศไทยเป็นอย่างครูใน
ตัวเอง อยากท�ำอะไรก็ท�ำ ไม่อยากท�ำใครก็บังคับผมไม่ได้ โรงเรียนของผม นักเรยี นอย่างผมก็อยากเป็นเด็กดี ให้สม
แต่พอได้มาฝึกซ้อมร้องเพลงกับวงดนตรีชาโด้ ผมก็ต้องไป กบั ความตง้ั ใจและความทุม่ เทของครูครับ
ฝกึ ซอ้ มใหต้ รงเวลา ตอ้ งรจู้ กั ปรบั ตวั ในการพดู คยุ หรอื ใชช้ วี ติ
กบั เพอื่ นๆ นอ้ งๆ คนอน่ื ๆ เวลาไปแสดงทไี่ หนกต็ อ้ งตนื่ แตเ่ ชา้ เคล็ดลับความส�ำเร็จ
เพื่อไปเตรียมอุปกรณ์ท่ีโรงเรียน ไม่ใช่ไปสายให้คนอื่นรอ การน�ำความสามารถพิเศษของครูมาใช้ให้
ผมกลายเป็นรุ่นพี่ท่ีมีรุ่นน้องเฝ้ามองอยู่ ดังน้ันผมจึงต้องมี เกิดประโยชน์สูงสุด ทง้ั ครูทเ่ี ก่งด้านดนตรี และครทู ่ี
ความรับผดิ ชอบมากขึ้น เก่งด้านการแสดง รวมท้ังการหาวิธีแก้ไขปัญหา
วันหนึ่ง หลังซ้อมดนตรีเสร็จแล้วครูอภิรักษ์ขับรถ ยาเสพตดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยใชด้ นตรเี ปน็ เครอ่ื งมอื
ไปสง่ ผมและเพือ่ นๆ คนอ่นื ๆ ระหว่างทีน่ ัง่ อย่ใู นรถด้วยกนั ทสี่ ำ� คญั ทำ� ใหเ้ ดก็ เกดิ ความภาคภมู ใิ จและเหน็ คณุ คา่
ครูถามผมว่า “ย้ายมาเรียนโรงเรียนน้ีแล้วมปี ญั หาอะไรไหม ในตัวเอง
มีอะไรให้ครูช่วยก็บอกได้ แล้วตอนนี้ยังสูบบุหร่ีอยู่อีกหรือ
เปล่า” ผมตอบครูว่า “ไม่สูบครับ”แล้วยาเสพติดอย่างอื่น
ละ่ ” ครถู ามต่อ “ผมไมเ่ คยยุ่งเกีย่ วครับ” เราน่ังเงียบกนั ไป

90 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

สง่ เสริมรายไดร้ ะหว่างเรยี น

โรงเรียนบา้ นเมืองกืด้ เชียงใหม่

“เพื่อนฉันเป็นชาวเขาชาวดอย ตวั น้อยๆ หนา้ ขาวๆ มาโรงเรียนก็มากนั แตเ่ ช้า ทั้ง
มง้ เยา้ กะเหร่ียง มูเซอ เพื่อนชาวม้งเขามีน้ำ� ใจ เอาแครอทมาให้เสมอ พูดจรงิ จังทกุ คร้งั
ที่เจอ ฟังเสยี งเธอนา่ รักจัง…
“…ท่ีโรงเรียนฉันมีเมฆลอย ปุยน้อยๆ ล่องลอยตามลม มีลมพัดไม่ต้องมีพัดลม
น�ำ้ ค้างพรมเยน็ ฉำ่� ยามเช้า เพื่อนฉันเปน็ ชาวเขาชาวดอย ตัวน้อยๆ หน้าตาขาวๆ ถึงอยู่
ไกลสดุ ตาปา่ เขา แต่หมูเ่ ฮามนี �ำ้ ใสใจจริง…”

คร้ังแรกท่ีได้ยินเพลง “เด็กดอยใจดี” ของน้อง โรงเรียนของเรามีท้ังจุดเด่นและจุดด้อย จุดด้อย
มายด์-ชลนิภา แสงทอง ผม (ครูณรงค์ จันทร์ศริ ิ) ก็แอบคิด คือพ่อแม่ผู้ปกครองของนักเรียนที่น่ีมีฐานะยากจน จึงไม่
เข้าข้างตัวเองว่านี่คือเพลงที่แต่งข้ึนมาเพ่ือโรงเรียนของเรา สามารถให้การสนับสนุนนักเรียนในด้านต่างๆ เช่น เร่ือง
โดยเฉพาะ แต่เพลงท่ีพวกเราแต่งแล้วร้องกันจริงๆ ใน อาหาร เครื่องนุ่งห่ม อุปกรณ์การเรียน รวมถึงพ่อแม่ยัง
โรงเรียนนัน้ มีว่า ต้องการแรงงานของลูกในการช่วยเหลืองานไร่งานนา
“โอ่ โอ…เมอื งกด้ื บ้านเรา โอ่ โอ…เมืองก๊ืดบ้านเรา มี ท่ีส�ำคัญถนนหนทางมาโรงเรียนก็เป็นถนนดินลูกรังและ
น�้ำ ภเู ขา ผลไมม้ ากมี จะไปไหนขช่ี ้างล่องแพ…” อยู่ห่างไกลจากบางหมู่บ้านอีกด้วย ดังนั้นส่วนใหญ่เม่ือ
ผมคอื ครดู อยขนานแท้ สอนอยทู่ โ่ี รงเรยี นบา้ นเมอื งกดื้ นักเรียนเหล่านี้เรียนจบมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ พวกเขาก็ไม่มี
ตำ� บลกดื้ ชา้ ง อำ� เภอแมแ่ ตง จงั หวดั เชยี งใหม่ เดก็ ๆ ทน่ี น่ี า่ รกั โอกาสได้ศึกษาต่อ ดังนั้นโจทย์ของเราจึงมีว่าจะท�ำอย่างไร
และใสบริสทุ ธ์ิ ส่วนใหญ่เปน็ กล่มุ ชาติพนั ธต์ุ า่ งๆ เชน่ อาขา่ ใหเ้ ดก็ นกั เรยี นเหลา่ นส้ี ามารถมาเรยี นหนงั สอื ไดโ้ ดยทพี่ อ่ แม่
ลาหู่ ไทยใหญ่ จีนฮ่อ และคนในพนื้ ราบ ไม่เดือดร้อน และถ้าเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ ๓ แล้ว

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ 91

พวกเขาจะหาเลย้ี งชพี ไดอ้ ยา่ งไร โดยทไ่ี มต่ อ้ งออกไปทำ� งาน อาชพี ไดเ้ มอ่ื จบการศกึ ษา อกี ทงั้ ยงั เปน็ การหารายไดร้ ะหวา่ ง
นอกชุมชน หรือถ้าพวกเขาอยากเรียนต่อ พวกเขาจะเห็น เรยี น ชว่ ยแบง่ เบาภาระของครอบครวั ซึง่ เร่ิมต้นการเรียนรู้
โอกาสและหนทางในชวี ติ ของตวั เองได้อย่างไร ในห้องเรียน หลังจากน้ันก็ให้เลือกเรียนตามความสนใจโดย
ทำ� เปน็ กจิ กรรมชมรมไดแ้ ก่ ชมรมนวดแผนไทย ชมรมรา้ น
เมอื งกดื้ โมเดล : โรงเรยี นเปน็ ฐาน เนน้ การมสี ว่ นรว่ ม กาแฟ ชมรมโฮมสเตย์ ชมรมจกั สานและรอ้ ยลกู ปดั ชมรม
ท�ำซีเมนต์บล็อก ชมรมมัคคุเทศน์น้อย (Little Guide)
ส่วนจุดเด่นของเรา คือ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ชมรมทำ� ขนมไทย ชมรมดนตรไี ทย และชมรมรีไซเคลิ
ครูณรงค์ อภัยใจ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องในชุมชนได้คิดค้น ในขน้ั แรกเราใหเ้ ด็กๆ ได้เรยี นภาคทฤษฎจี ากคณุ ครู
มาเป็น “เมอื งกื้ดโมเดล” ทมี่ ีรปู แบบการจดั การศกึ ษาเพ่ือ ในห้องเรียน รวมทั้งเชิญปราชญ์ชาวบ้านมาเป็นวิทยากร
พัฒนาอาชีพส�ำหรับเด็กในพื้นที่ภูเขาสูงและถิ่นทุรกันดาร หรือบางครั้งก็น�ำนักเรียนไปเรียนรู้ยังสถานท่ีจริง เช่น
โมเดลท่ีว่านี้เน้นการพัฒนาโดยยึดโรงเรียนเป็นฐาน คือ กจิ กรรมโฮมสเตย์ ทางเราก็ติดตอ่ ไปยงั อบต.เพ่ือประสาน
เน้นการเรียนการสอนของโรงเรียนที่ยึดบริบทของชุมชน กับทางผู้ประกอบการรีสอร์ท โรงแรมในการพานักเรียน
เปน็ สำ� คญั คน้ หาศกั ยภาพและอตั ลกั ษณข์ องตนเอง รวมถงึ ไปเรียนรู้การจัดการด้านการโรงแรมในด้านต่างๆ เช่น
เนน้ การมสี ว่ นรว่ มจากครู วทิ ยากรในชมุ ชน ปราชญช์ าวบา้ น การจัดโต๊ะแบบสากล การปเู ตียง กจิ กรรมนี้นอกจากเด็กๆ
ตัวแทนชุมชน ตัวแทนนักเรียน รวมถึง อบต. ส�ำนักงาน จะไดป้ ฏบิ ตั จิ รงิ แลว้ ทางเรากย็ งั ฝากฝงั กบั สถานประกอบการ
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๒ มาคิด ว่าในอนาคตหากต้องการพนักงานที่มีความรู้ความสามารถ
แก้ปญั หารว่ มกนั ทางเราก็มีการฝึกสอนมาเป็นอย่างดี ซ่ึงช่วยท�ำให้เด็กๆ
ผอ.ณรงค์ บอกว่าเราต้องรู้จักน�ำบริบทของชุมชน เหน็ ลทู่ างในการประกอบอาชพี ในอนาคตของตวั เองไดอ้ กี ดว้ ย
มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ โดยการพจิ ารณาศกั ยภาพของเราทม่ี ี เราจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบนม้ี าไดร้ ะยะหนง่ึ และ
ใน ๓ ด้านคือ หน่ึงศกั ยภาพดา้ นภูมิศาสตร์ โรงเรียนของเรา ได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณจากส�ำนักงานส่งเสริม
มีภูเขาสวย แม่น�้ำไหลผ่าน มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งโรงแรม สงั คมแห่งการเรียนรแู้ ละพัฒนาคณุ ภาพเยาวชน (สสค.)
รีสอร์ท โฮมสเตย์ ปางช้าง มีกิจกรรมการท่องเท่ียวหลาก ให้ทำ� “โครงการส่งเสริมรายได้ระหวา่ งเรียน” ให้มคี วาม
รูปแบบท้ังข่ีช้าง ล่องแพ สอง ศักยภาพด้านมนุษย์หรือ ยงั่ ยืนและเปน็ แบบอย่างทดี่ ีตอ่ ไป
ด้านชุมชน เรามีภูมิปัญญาของตัวเอง มีปราชญ์ชาวบ้าน
มผี ปู้ กครองนกั เรยี นทที่ ำ� งานจกั สาน นวดแผนไทย เลน่ ดนตรี เวลคัม ทู โรงเรยี นบ้านเมอื งกืด้
ไทยเปน็ และสาม ศกั ยภาพด้านวฒั นธรรม เรามอี ัตลกั ษณ์
ของโรงเรียนทแี่ ข็งแกร่ง นักเรยี นมาจากกลุม่ ชาติพนั ธุ์ตา่ งๆ ณ โรงเรยี นบา้ นเมอื งกด้ื ของเรา เรยี กไดว้ า่ เปน็ แหลง่
เช่น บางคนพูดภาษาจีนได้เพราะในครอบครัวใช้ภาษาจีน ทอ่ งเทยี่ วทส่ี ำ� คญั ของเมอื งเชยี งใหม่ เพราะบรเิ วณใกลเ้ คยี ง
เราก็น�ำส่งิ นี้มาเปน็ จุดเด่นของเรา มีท้ังปางชา้ งของคณุ แสงเดอื น ชัยเลิศ ผ้กู ่อตง้ั ศนู ย์บรบิ าล
ด้วยจุดเด่นที่ว่านี้เองท�ำให้เราน�ำมาปรับใช้ใน ช้างตำ� บลก้ดื ช้าง ผู้ได้รับรางวลั “ฮีโร่ ออฟ เอเชีย ๒๐๐๕”
การเรียนการสอน โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้การท�ำกิจกรรม ในด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และเป็นเจ้าของบริษัท
ต่างๆ จากการลงมือปฏิบัติจริง สามารถน�ำไปประกอบ น�ำเที่ยว ท�ำให้ที่นี่มีนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติเข้ามาเท่ียว

92 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

เยอะมาก ส่วนใหญ่ก็จะมาข่ีช้าง ล่องแพ เป็นอาสาสมัคร หลงั จากนน้ั มคั คเุ ทศนน์ อ้ ยกจ็ ะพานกั ทอ่ งเทยี่ วไปยงั
ดูแลช้างท่ีเจ็บป่วย และยังมาเป็นอาสาสมัครสอนหนังสือ ชมรมต่างๆ
ให้เด็กๆ ท่ีโรงเรียนด้วย นอกจากปางช้างแห่งน้ีแล้ว ยังมี ผมสอนให้เด็กๆ พูดอยา่ งน้ี ซ่งึ อาจดูเหมือนเปน็ การ
สถานประกอบการดา้ นการทอ่ งเทยี่ วอน่ื ๆ ทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ ท่องบท แต่ผมเช่ือว่าวันหน่ึงเม่ือเด็กฝึกพูดจนเก่งแล้ว
ในการท�ำโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน เขาก็จะสามารถคิดสร้างสรรค์ค�ำพูดต่างๆ ได้ด้วยตัวเอง
โรงเรยี นบา้ นเมอื งกด๊ื โดยเราทำ� ขอ้ ตกลงกบั สถานประกอบการ ผมสอนเด็กนักเรียนลึกลงไปในรายละเอียดต่างๆ ต้ังแต่
บรษิ ทั ทวั รใ์ หน้ ำ� นกั ทอ่ งเทย่ี วเขา้ มาทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ ภายใน การพดู มารยาท หรอื แมก้ ระทงั่ การคดิ คา่ สว่ นแบง่ กบั รา้ นคา้
โรงเรยี นทุกวนั พฤหสั บดี อื่นๆ ในโรงเรียนเหมือนท่ีไกด์มืออาชีพจ�ำเป็นต้องเรียนรู้
เหตุท่ีเลือกเป็นวันน้ีก็เพราะโรงเรียนของเรามีการ ส่วนเด็กๆ ที่อยู่ชมรมอ่ืนๆ เช่นชมรมนวดแผนไทย เราก็
สร้างหอพักให้นักเรียน เพื่อแก้ปัญหาในการเดินทางมา สอนให้สนทนาสื่อสารกับชาวต่างชาติเป็นภาษาง่ายๆ เช่น
โรงเรยี นของเดก็ นกั เรยี นทอ่ี ยหู่ า่ งไกล ทกุ เยน็ วนั ศกุ รพ์ วกเขา “Where are you” (คุณมาจากประเทศอะไรคะ) หรือสอน
ก็จะเตรียมตัวกลับบ้าน ส่วนวันจันทร์เขาก็เพ่ิงกลับมา ให้เด็กๆในชมรมดนตรีไทยแนะน�ำเคร่ืองดนตรีเป็นภาษา
จากบ้าน เราจึงเลือกใช้วันพฤหัสบดีเป็นวันท�ำกิจกรรม งา่ ยๆ เชน่ “This is called salor” (นี่เรยี กว่าสะล้อคะ่ )
ชมรม บรรยากาศในวนั นน้ั โรงเรยี นของเราจะคกึ คกั ไปดว้ ย เม่ือเด็กๆ ท�ำงานมีรายได้ เราจะให้เด็กน�ำเงินไป
ชาวตา่ งชาติ ทเี่ ขา้ มาทำ� กจิ กรรมในบรเิ วณตา่ งๆ เชน่ หอ้ งนวด ฝากในบัญชีออมทรัพย์ประจ�ำวันของพวกเขา ซึ่งส่วนใหญ่
รา้ นขายกาแฟ รา้ นขายขนมไทย บา้ นพักโฮมสเตย์ ๒ หลัง เด็กๆ จะพยายามเก็บเงินเหลา่ นนั้ ไว้ไมน่ �ำไปใชจ้ า่ ย เมื่อจบ
ห้องจักสานและร้อยลูกปัด โรงท�ำซีเมนต์บล็อก เม่ือมา การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ เด็กนักเรียนบางคนอาจมี
ทนี่ ห่ี ากนกั ทอ่ งเทย่ี วสนใจเรยี นรเู้ รอื่ งอะไรกส็ ามารถทดลอง เงนิ เก็บคนละ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาทเลยทีเดียว ผปู้ กครอง
ปฏิบัติได้ ดังน้ันบางคนอาจจะมานวดหรือมาเรียนรู้เรื่อง ของเด็กๆ แทบทุกคนชอบการเรียนการสอนของเราแบบน้ี
การนวด หรือมาเรียนท�ำขนมพืน้ บา้ นของท่นี ่ี เพราะนอกจากจะสอนให้เด็กๆ รู้จักความรับผิดชอบ รู้จัก
เมอ่ื ชาวตา่ งชาตมิ าถงึ ทโ่ี รงเรยี น จะมมี คั คเุ ทศนน์ อ้ ย ท�ำบัญชีรายรับ-รายจ่าย กล้าแสดงออก รู้จักการท�ำงาน
ใหก้ ารตอ้ นรบั ดว้ ยภาษาองั กฤษทไี่ ดร้ บั การฝกึ สอนมาจากผม เป็นทีมฯลฯ ยังท�ำใหม้ ีรายไดร้ ะหว่างเรยี นอีกดว้ ย
ผูท้ ำ� หนา้ ทีด่ ูแลเดก็ ๆ ในชมรมน้ี สว่ นตวั เดก็ ๆ เองกไ็ ดฝ้ กึ ทกั ษะชวี ติ อยา่ งหลากหลาย
“Ladies and Gentlemen ,Today I would like อย่างน้อยๆ ก็ ๓ อย่าง เพราะเราใหเ้ ดก็ ที่เรยี นชัน้ ม.๑-ม.๓
to show you about the activities” ท�ำกจิ กรรมของชมรมปลี ะ ๑ อย่างไมซ่ ้�ำกนั ในแต่ละปี ปนี ี้
(ท่านสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี วันนี้หนูขอเชิญ อาจเข้าชมรมนวดแผนไทย อีกปีอาจเข้าชมรมท�ำขนมไทย
ทกุ ท่านเย่ยี มชมกจิ กรรมตา่ งๆของโรงเรียนเราค่ะ) แลว้ แต่ความสมัครใจของนักเรียนแต่ละคน
ส่ิงท่ีเราต้องการให้นักเรียนได้รับไม่ใช่เงิน แต่
อยากให้พวกเขาเตบิ โตขน้ึ มามคี ุณภาพชีวิตท่ดี ี มคี วามรู้
มีทักษะชีวิต สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขโดย
ไม่ต้องพึ่งพาภายนอก แต่เรียนรู้ท่ีจะน�ำศักยภาพของ
ตนเองและชุมชนมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์นัน่ เอง

เคล็ดลับความส�ำเร็จ
การรู้จักน�ำศักยภาพของชุมชนท่ีเป็นแหล่ง
ทอ่ งเทย่ี วมาเออื้ ประโยชนใ์ นการเรยี นการสอน และ
การลงมือปฏิบัติจริง รวมถึงการให้ความส�ำคัญกับ
การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆในชุมชนเพื่อ
ประสานการทำ� งานใหส้ อดคล้องกัน

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ 93

ศูนยก์ ารเรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียงเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวิต

โรงเรยี นบา้ นรางกระต่าย “พริ ิยะประชาวทิ ยาคาร” กาญจนบุรี

เม่ือก่อนผมติดเกมครับ ชอบหนีแม่
ไปเล่นเกมเล้ยี งหมูทรี่ า้ นเน็ต (เกมออนไลน์
ทางอินเทอร์เน็ต) แต่เด๋ียวนี้ไม่ค่อยไปเล่น
แล้วครับ เลีย้ งหมจู รงิ ๆ ดีกว่า ไดป้ ระโยชน์
กว่าเยอะ

ทำ� คอกหมหู ลมุ

ขวัญมา นักเรียนชั้น ป.๖ เล่าให้ฟังถึงความ นักเรียนช่วยกนั ปรงุ อาหารเลีย้ งสัตว์ในโครงการ
เปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ หลงั จากทเ่ี ขาไดร้ บั มอบหมายใหด้ แู ล
หมู ๒ ตัว ท่ีศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้าน เลา้ หมหู ลมุ ของพวกเขา พวกมนั สง่ เสยี งอดู๊ อดู๊ ทนั ที เพราะ
รางกระตา่ ย “พริ ิยะประชาคาร” อ�ำเภอทา่ มะกา จงั หวัด รู้ว่าได้เวลาอาหารแล้ว เด็กๆ จึงช่วยกันเอาหยวกกล้วยท่ี
กาญจนบรุ ี สับจนละเอียดมาผสมคลุกเคล้ากับร�ำ แล้วน�ำไปให้เจ้าหมู
ท่ีน่ีแทบไม่ต่างจากโรงเรียนขยายโอกาสทั่วไปท่ี ผูห้ ิวโหย อกี ท้งั พวกเป็ดและไกใ่ นเลา้ ท่ีพากนั รอ้ งก๊าบ ก๊าบ
นกั เรยี นสว่ นใหญม่ ฐี านะยากจน ผปู้ กครองมอี าชพี รบั จา้ ง บา้ ง กระต๊าก กระต๊าก ระงมไปหมด
กไ็ ปขายแรงงานในเมืองกรุง ท�ำให้เด็กๆ ขาดท่พี ่ึงพงิ ทางใจ ขวัญมาบอกว่า “ตอนแรกๆ ก็เหนื่อย แต่พอท�ำไป
ขาดคนคอยอบรมขัดเกลา ทำ� มากร็ สู้ กึ มคี วามสขุ เวลาอยกู่ บั พวกมนั กเ็ ลน่ กบั มนั อยา่ ง
อ.ปรชี า สวนสำ� ราญ มองเหน็ ปรากฏการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ หมูเนี่ยบางครงั้ คุยกบั มนั มันก็เข้าใจ จรงิ ๆ หมูก็มีชวี ติ จติ ใจ
กบั เดก็ ๆ เหลา่ นจี้ งึ ไมน่ งิ่ นอนใจ พยายามสรา้ งแนวทางในการ เหมอื นคนนั่นแหละ แคต่ อ้ งเดินสขี่ าเทา่ น้นั เอง”
ด�ำเนินชีวิตท่ีดีให้กับพวกเขา ด้วยการน้อมน�ำปรัชญา ทุนสนับสนุนท่ีได้รับจาก สสค. โรงเรียนได้น�ำมา
เศรษฐกจิ พอเพยี งของในหลวงมาปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ ในรปู แบบ ตอ่ ยอด ขยายฐานการเรยี นรตู้ า่ งๆ ทมี่ อี ยใู่ หด้ ยี ง่ิ ขน้ึ ทกุ วนั นี้
ศนู ยเ์ รยี นรเู้ พอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ ทเี่ ปดิ กวา้ งใหน้ กั เรยี นทกุ ๆ คน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงจึงมีกิจกรรมหลากหลายให้
นกั เรยี นไดเ้ รยี นรตู้ ามความสนใจ ไมว่ า่ จะเปน็ การปลกู พชื ผกั
การเกษตรแบบพอเพยี ง

เมื่อมาถึงโรงเรียน ขวัญมาและเพ่ือนๆ จะตรงมาที่

94 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้

ช่วยกนั ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ ชมุ ชนช่วยเจาะบอ่ บาดาลเพราะอยากเห็นกงั หนั ลมชักน�ำ้ จากบอ่ บาดาล

สวนครัว การเลี้ยงปลา กบ เป็ด ไก่เนื้อ ไก่ไข่ และยังมี ใกลๆ้ กนั กม็ จี กั รยานปม๊ั นำ้� ซงึ่ เดก็ ๆ พากนั มาตอ่ แถว
แปลงนา มีโรงเพาะเห็ด ซ่ึงแต่ละฐานกิจกรรมต่างก็มี ปน่ั ปน่ั ป่ัน กันอยา่ งสนุกสนาน แรงป่ันของเด็กๆ จะทำ� ให้
นักเรียนช้ันต่างๆ มาประจ�ำการ ท�ำหน้าท่ีท่ีพวกเขาได้รับ สายพานของเคร่ืองปั๊มน�้ำหมุนแทนการใช้พลังงานไฟฟ้า
มอบหมายอย่างดที ีส่ ดุ สามารถปั๊มน�ำ้ จากบ่อขนึ้ มารดผักสวนครัวได้ งานนที้ ง้ั สนกุ
ผลจากการดูแลเอาใจใส่ ท�ำให้แม่ไก่ใจดีออกไข่ให้ ทง้ั ไดป้ ระโยชน์ชว่ ยประหยดั พลงั งานและไดอ้ อกกำ� ลงั กายดว้ ย
เด็กๆ เก็บได้ทุกวัน ส่วนเห็ดนางฟ้าก็ไม่น้อยหน้า พากัน “เราตอ้ งประหยดั พลงั งานคะ่ เพราะพลงั งานของเรา
ออกดอกเบ่งบานเต็มไปหมด และผลผลติ เหล่านก้ี จ็ ะกลาย กำ� ลงั จะหมดไป”
ไปเป็นอาหารกลางวนั ใหก้ บั พวกเขานัน่ เอง “เด๋ียวน้ีใช้ไฟกันเปลือง เพราะมีโรงงานผลิตให้เลย
ไม่กลัว แต่ไฟฟ้าจะหมดวันไหน ไม่มีใครรู้ แต่ถ้าเราใช้
พลงั งานแหง่ อนาคต พลังงานทดแทน อย่างพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้�ำ
พลังงานลม พวกนี้มันเป็นพลังงานทส่ี ะอาด ใช้ผลิตกระแส
พ้ืนท่ีส่วนหน่ึงของศูนย์เรียนรู้แห่งนี้ ถูกแบ่งไว้ให้ ไฟฟา้ ได้ ถงึ จะผลติ ได้น้อยแต่กส็ ามารถใชไ้ ด้...”
กับแนวคิดส�ำคัญอีกเรื่องหน่ึงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ “ไมท่ ำ� ใหโ้ ลกร้อนดว้ ยครบั ”
พอเพยี ง น่นั กค็ ือ “พลังงานทดแทน”
แมจ้ ะเกดิ จากความชอบสว่ นตวั ของ อ.ปรชี า ทสี่ นใจ บรู ณาการการเรยี นการสอน
ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองมานานแล้ว แต่การน�ำมาจุด
ประกายความคดิ และถา่ ยทอดความรเู้ รอื่ งพลงั งานทดแทน บ่อยครั้งท่ี อ.ยุพิน ทัศนวิจิตรพันธ์ ซึ่งสอน
ให้กับเด็กๆ เพ่ือให้เกิดจิตส�ำนึกต่อการใช้พลังงานอย่าง วิทยาศาสตร์ระดับช้ัน ม.ต้น จะพานักเรียนมาเรียนรู้เรื่อง
คมุ้ คา่ นบั เปน็ เรอ่ื งทสี่ มสมยั และเปน็ สงิ่ จ�ำเปน็ มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ “พลังงาน” ที่ศูนย์เรียนรู้พลังงานทดแทน โดยมี อ.ปรีชา
ในอนาคต... มาช่วยให้ความรู้และอธิบายให้ฟังอย่างละเอียด พร้อมกับ
หลอดไฟเลก็ ๆ ทม่ี แี สงสวา่ งแวบวาบขนึ้ มา ทำ� ใหเ้ ดก็ สาธิตให้ดูอีกด้วย เป็นการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
น้อยเห็นประจักษ์กับสายตาตนเองว่า พลังงานแสงอาทิตย์ ที่ช่วยให้เด็กๆ เข้าใจเนื้อหาวิชามากข้ึน เพราะได้เห็นจาก
สามารถเปลี่ยนเป็นกระแสไฟฟ้าได้จริงๆ ด้วยแผงโซลาร์ ของจริงนั่นเอง
เซลล์ที่ อ.ปรีชา นำ� มาตดิ ตั้งไว้ “วิทยาศาสตร์มันไม่ได้อยู่แต่ในห้องเรียนอย่างเดียว
นอกจากน้ยี งั มีกังหันลมสูบน้ำ� ตวั ใหญ่ ทีช่ าวบ้านมา ถ้าเราพาเขาออกมาสัมผัสของจริงและเช่ือมโยงให้เขาเห็น
ชว่ ยกนั ลงมอื ลงแรงสรา้ งใหอ้ ยา่ งสวยงาม เมอื่ สายลมพดั มา ว่า เร่ืองนี้สามารถอธิบายได้ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์
ปะทะใบพัด ก็ท�ำให้กังหันหมุนต้ิวๆ ตามแรงลม แรงหมุน อย่างไร เขาจะสนุกและอยากจะเรียนรู้มากขึ้น” อ.ยุพิน
ของใบพัดจะท�ำให้ปั๊มชักท�ำงาน และสามารถดึงน้�ำจาก กลา่ ว
บอ่ บาดาลขึน้ มาใช้ได้ เมื่อเด็กๆ ได้รู้จักพลังงานทดแทนมากขึ้น ก็ท�ำให้
ท่ีน่ียังมีเครื่องกรองน้�ำแบบประหยัด และมีเคร่ือง พวกเขาเกิดความคิดสร้างสรรค์ น�ำไปสู่การท�ำโครงงาน
ท�ำความเย็นเล็กๆ ซ่ึงอาจจะไม่เย็นเท่าเคร่ืองปรับอากาศ วิทยาศาสตร์ และไปแข่งขันในเวทีต่างๆ จนได้รับรางวัล
แตก่ ไ็ มต่ อ้ งเสยี เงนิ คา่ ไฟฟา้ เพราะใชพ้ ลงั งานจากแบตเตอรร์ ่ี มามากมาย เช่น เคร่ืองท�ำน�้ำอุ่นจากปุ๋ยหมัก ได้รับรางวัล
ทเี่ ก็บจากแผงโซลารเ์ ซลล์อกี ทหี นึ่ง เหรยี ญทองในงานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน เปน็ ต้น

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้ 95

ประกอบงานไม้ไผ่ “ชว่ ยใหเ้ รามสี มาธิ เกิดความอดทนครบั ”
เด็กๆ ช่วยกันเล่าถึงขั้นตอนการฝึกและส่ิงท่ีได้เรียนรู้
การสรา้ งงานจากไมไ้ ผ่ นอกเหนอื จากการฝึกอาชีพ

อ.ปรีชา ให้ความส�ำคัญกับการฝึกทักษะอาชีพมาก อ.ปรีชา กล่าวด้วยความภาคภูมิใจว่า “เด็กของเรา
เพราะกว่าคร่ึงหน่ึงของเด็กๆ ที่จบออกไป มักจะไม่ศึกษา ถ้าจบ ม.๓ แลว้ ส่วนหนึง่ จะไปต่อวิทยาลยั เทคนคิ เขาจะได้
ตอ่ ดงั นน้ั นอกจากกจิ กรรมทางดา้ นการเกษตรแลว้ อ.ปรชี า ทกั ษะตรงนตี้ ิดตัวไปด้วย เรอ่ื งการใช้เครอื่ งมือต่างๆ ซ่งึ เขา
ยงั สอนใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรกู้ ารทำ� ผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ จากไมไ้ ผ่ จะได้เปรียบจากเด็กคนอื่นๆ เพราะเขาเคยใช้เคร่ืองมือ
ดว้ ย เพราะเปน็ วสั ดใุ นทอ้ งถนิ่ ทหี่ าไดไ้ มย่ าก สามารถสานตอ่ เหล่านี้มาแล้ว ท�ำเป็นแล้ว สบายมาก เคยมีอาจารย์จาก
เป็นอาชีพในอนาคตของพวกเขาได้ เทคนิคชมว่า เดก็ ๆ ของเราใชเ้ ครอื่ งมอื เก่ง ไมต่ ้องสอนเลย
ท่นี ่ี อ.ปรชี า จะสอนใหเ้ ดก็ ๆ ท�ำข้าวของเครื่องใช้ ซง่ึ เราภูมิใจมากครบั ”
จากไมไ้ ผห่ ลายอยา่ ง เชน่ โคมไฟ เตยี งนอน กงั หนั นำ�้ มา่ นนำ้�
ฯลฯ ซึ่งเป็นของประดับตกแต่งบ้านและสวนท่ีได้รับความ
นิยมอย่างมาก เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าได้อย่างดี คือการบม่ เพาะทกั ษะชีวติ
เพราะจากไม้ไผ่ล�ำละไม่กี่บาท เมื่อน�ำมาท�ำเป็นเตียงนอน
แลว้ สามารถขายได้หลายพันบาทเลยทีเดียว ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จึงไม่เป็นเพียง
นอกจากจะบรู ณาการกบั การเรยี นการสอนในชวั่ โมง โครงการท่ีหวังผลแค่วันนี้ แต่เป็นการบ่มเพาะทักษะชีวิต
การงานพืน้ ฐานอาชพี ท่ี อ.ปรชี า รบั ผดิ ชอบอย่แู ล้ว ในเวลา ด้านต่างๆ ให้เกิดข้ึนในตัวเด็กผ่านการลงมือท�ำ เกิดเป็น
ว่างช่วงพักกลางวันและหลังเลิกเรียน หากเด็กๆ คนไหน ความสามารถในการคิดได้ ท�ำเป็น พร้อมกับคุณธรรมใน
สนใจและตอ้ งการหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี นกส็ ามารถเขา้ มาฝกึ หัวใจท่ีค่อยๆ งอกงามขึ้นทุกวัน นี่คือฐานทุนท่ีพวกเขาจะ
ทำ� ได้ โดยจะมนี า้ วฒั น์ (ศริ วิ ัฒน์ สอสอาด)นักการภารโรง นำ� ติดตัวไปใช้ในอนาคต
คนเก่งทพ่ี ว่ งตำ� แหนง่ ชา่ งไม้ ๒ ไว้ดว้ ย มาช่วยใหค้ ำ� แนะนำ� “สนกุ ครบั ไดค้ ดิ ไดว้ เิ คราะห์ ไดฝ้ กึ ทกั ษะการใชช้ วี ติ
และดแู ลการใชเ้ ครอื่ งมอื ตา่ งๆเชน่ เลอื่ ยไฟฟา้ สวา่ นเครอื่ งตดั เราสามารถเอาไปใชท้ ี่อ่นื ได้ อ.ปรีชา เขาจะสอนอยเู่ สมอว่า
เครอื่ งเจาะ เครื่องเจยี ไมไ้ ผ่ ไมใ่ หเ้ ด็กๆ ได้รับอันตรายจาก ชีวิตเราไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบเสมอไป เราต้องอดทน
การใชง้ าน และนา้ วัฒน์ยังมคี วามรมู้ ากมาย สามารถให้คำ� รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ และตอ้ งขยนั ความขยนั คอื สง่ิ ทด่ี ที ส่ี ดุ ”
แนะนำ� แก่เด็กๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี “ทำ� ใหห้ นูรูว้ า่ เราอยแู่ บบพอเพียง มีบา้ นหลงั เลก็ ๆ
“ตรงไหนที่เราทำ� ไมไ่ ด้ ครูจะมาชว่ ยดู หรือนา้ วัฒน์ เลย้ี งเปด็ เลยี้ งไก่ ปลกู ผกั เอาไวก้ นิ เหลอื ก็ขาย”
กจ็ ะสอน วา่ ต้องทำ� ยงั ไงบ้าง” “ถา้ ผมเรยี นจบไปแลว้ ไมม่ เี งนิ เรยี นตอ่ ผมกส็ ามารถ
“อย่างเครื่องมือพวกน้ีเราจะค่อยๆ ฝึกทีละอย่าง ท�ำไร่นาสวนผสม ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง
ถ้ามาใหม่ๆ จะฝึกใช้มีดก่อน ค่อยๆ เหลาไม่ไผ่จนกลม ทำ� แบบทโ่ี รงเรยี นสอนนแ่ี หละ ไมต่ อ้ งเขา้ กรงุ เทพฯ ไดอ้ ยกู่ นั
ฝึกใช้มีด ถา้ เร่มิ เปน็ แล้ว กเ็ ร่มิ ใช้เลอ่ื ย สวา่ น” พรอ้ มหนา้ พรอ้ มตา พอ่ แม่ ลูก แค่นี้ก็มคี วามสขุ แล้ว”
“ช่วยให้เราได้ฝึกคิดเลขด้วยครับ อย่างกังหันไม้ไผ่ คือผลท่ีเกิดจากความร่วมมือร่วมใจของผู้อ�ำนวย
มนั มสี ว่ นประกอบเยอะ เราตอ้ งคำ� นวณสว่ นตา่ งๆ ใหเ้ ทา่ กนั การ อาจารย์ และนกั เรียนทกุ คน รวมถงึ สสค. ซง่ึ เปน็
ไม่อยา่ งนั้นมนั จะไม่หมนุ ” แรงหนุนส�ำคัญที่ช่วยกันสร้างสรรค์ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ
พอเพียงแห่งน้ีให้มีชีวิตชีวา มีรอยยิ้มและเปี่ยมไปด้วย
ความสขุ ...

เคล็ดลับความส�ำเรจ็
ความมงุ่ มน่ั ตงั้ ใจทจ่ี ะทำ� สง่ิ ดๆี ใหก้ บั นกั เรยี น
คอื พลงั ส�ำคัญทท่ี �ำใหเ้ ราไม่ทอ้ แท้

96 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้

เข้าใจเรือ่ งเพศศกึ ษา พัฒนาชวี ิต

โรงเรยี นบ้านวังหิน เพชรบรู ณ์

“เซ็กซ์ในวัยเรียน” คำ�นี้อาจเป็นคำ�ที่หอมหวานเย้ายวนชวนอยากรู้ สำ�หรับเด็กทุกคนที่
ยา่ งเข้าสวู่ ยั รุ่นหนมุ่ สาว แตส่ ำ�หรบั พอ่ แม่ผู้ปกครองแลว้ นน้ั คำ�นี้ก็เปรียบดงั ฝันร้ายท่ีคอยพราก
อนาคตอนั สดใสของลูกรกั

ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
จัดโครงการเข้าใจเรอ่ื งเพศศึกษา พฒั นาชีวิต ขน้ึ เพื่อให้
ความรู้ด้านเพศศึกษาที่ถูกต้องแก่นักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
พอ่ แม่ รวมไปถงึ ผนู้ �ำชุมชน
ครูพรทิพย์ มากมี ผู้รับผิดชอบโครงการ เล่าถึง
โครงการน้ีว่า “บอกตรงๆ ว่าโรงเรียนเราเป็นโรงเรียนใน
บ้านนอก แถมครอบครัวผู้ปกครอง และนักเรียนส่วนใหญ่
ก็ยังยากจน พ่อแม่ต้องไปท�ำมาหากินที่อื่น ทิ้งลูกหลานให้
อยู่กับตายาย บางคร้ังก็ขาดความเข้าใจกัน เลยท�ำให้เด็ก
หลงใหลไปเร่อื งกามารมณไ์ ด้ง่าย”

ครูมใิ ชเ่ พยี งผ้สู อนหนังสอื เฝ้าระวงั ...ลอ้ มร้ัวป้องกัน

ยิ่งในสังคมต่างจังหวัด พ่อแม่ไปท�ำมาหากินต่างถิ่น โครงการนี้ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยความเชือ่ วา่ หากจะใหค้ วามรู้
ลูกจึงอยู่ในความดูแลของปู่ย่า ตายาย ปัญหาท่ีตามมาก็ เร่อื งเพศทถ่ี ูกตอ้ งแก่เด็ก เรากต็ ้องให้ความรู้ ความเข้าใจที่
คือ เดก็ คดิ วา่ พอ่ แม่ไมร่ กั สว่ นปู่ยา่ ตายายก็ไมก่ ลา้ ตักเตอื น ถูกต้องแก่พ่อแม่ ผู้ปกครองก่อน ทางโรงเรียนจึงเร่ิมจาก
หลาน เพราะคิดว่าตัวเองไม่ใช่พ่อแม่หรือบางครอบครัวแม้
เดก็ จะอยู่กับพอ่ แม่ หากด้วยการงานท่ีรดั ตัวและพฤตกิ รรม
ไมก่ ลา้ แสดงความรกั ของพอ่ แม่ ทำ� ใหเ้ ด็กโหยหา ขาดความ
รกั ความอบอุ่น จนเป็นชอ่ งว่างให้เกดิ ปัญหาชู้สาวในวยั ร่นุ
และนบั วนั จะยงิ่ รนุ แรงขนึ้ เรอื่ ยๆ ในเมอื่ เขาเหลา่ นน้ั ลว้ นเหน็
ตัวอย่างท่ีมากมีไปด้วยเรื่องกามารมณ์และความรักจากส่ือ
นานาชนดิ ไมว่ า่ จะเปน็ ละครโทรทศั น์ หรืออินเทอรเ์ นต็
ดว้ ยตระหนกั วา่ ครมู ใิ ชผ่ สู้ อนหนงั สอื เพยี งอยา่ งเดยี ว
แต่ต้องเป็นผู้ยกระดับวิญญาณของมนุษย์ ต้องสอนทุกด้าน
ต้องมคี วามรกั ความสงสาร ความเมตตา และสง่ิ สำ� คญั ต้อง
สอนให้ลูกศิษย์มีความรู้คู่ความดี มีอนาคตท่ีสดใส อยู่ใน
โลกอย่างมีความสุข สามารถอยูร่ ว่ มกบั ผูอ้ ่ืนได้ มคี รอบครัว
ท่ีสมบูรณ์ ท�ำให้ทางโรงเรียนตัดสินใจร่วมกับส�ำนักงาน

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 97

การจัดเสวนาระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครอง ครู ผู้น�ำชุมชนและ ฐานท่ี ๕ การป้องกันโรคเอดส์และโรคทางเพศ
หน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขอ�ำเภอ สมั พนั ธ์ เปน็ อกี ฐานทไี่ ดร้ บั ความสนใจจากเดก็ เพราะคณุ ครู
หัวหนา้ บา้ นพักเดก็ และครอบครวั จงั หวัดเพชรบูรณ์ เพือ่ ให้ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้น�ำถุงยางอนามัยและอุปกรณ์
พอ่ แมเ่ กดิ ความเข้าใจ ตระหนัก รว่ มกนั หาแนวทางป้องกัน ป้องกันการตั้งครรภ์มาบอกเล่าและแนะน�ำวิธีการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการ อย่างถกู ต้อง ถึงจะเขินอายแต่ทงั้ ครูและลกู ศิษยก์ ็ไดเ้ รียนรู้
ตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น และสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังใน การปอ้ งกันตัวเองในระดบั หนง่ึ
โรงเรยี นและชมุ ชน ฐานท่ี ๖ การป้องกันตัวเองในภาวะคับขันและวิธี
“เราเชญิ พอ่ แม่ผปู้ กครองของเด็ก ม.๑ ถงึ ม.๓ มา การปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ มีเจ้าหน้าที่ต�ำรวจจากสถานี
นั่งคุยกัน หาหนทางแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่น โชคดีที่พ่อแม่ ต�ำรวจวังโป่งและครูฝ่ายปกครองโรงเรียนบ้านวังหิน เป็น
ผูป้ กครองเขา้ ใจ เราเลยสรปุ กันวา่ จะมตี ัวแทนเฝ้าระวังจาก วทิ ยากรมาสอนการศิลปะการปอ้ งกันตวั เบ้ืองต้น และฐาน
ภาคประชาสงั คม ก็คอื ผปู้ กครองของเดก็ ม.๑-๓ ท้ัง ๑๑๔ ที่ ๗ ความรู้ E-learning เรยี นรู้การใช้คอมพวิ เตอร์ในการ
คน คอยสอดส่องดูแลพฤติกรรมลูกหลาน ถ้าเห็นท่าไม่ดี หาข้อมูลต่างๆ เช่น เร่ืองความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
หรือออกนอกลู่นอกทางกจ็ ะมาแจ้งทางโรงเรยี นเพอ่ื หาทาง สทิ ธใิ นเน้ือตัวร่างกาย การเคารพสิทธขิ องผอู้ ื่น หนา้ ทแ่ี ละ
แกก้ นั ต่อไป” ความรับผิดชอบตามวัยและในครอบครัว โดยมีครูผู้สอน
คอมพวิ เตอรโ์ รงเรียนบ้านวงั หนิ เป็นวทิ ยากร
จบั เพศศกึ ษามาใสฐ่ านการเรียนรู
จากการลอ้ มรว้ั ปอ้ งกนั มาสกู่ ารใหค้ วามรเู้ พอ่ื ใหเ้ ดก็

มีความเข้าใจเร่ืองเพศอย่างถูกต้อง โดยจัดอบรมความรู้แก่

นักเรยี นชัน้ มัธยมท่ี ๑-๓ จ�ำนวน ๑๑๔ คน ผา่ นฐานการ สานรัก สรา้ งความเขา้ ใจ
เรยี นรู้ ๗ ฐาน เพ่ือลดความตงึ เครยี ด หรือกระดากอายของ
ท้ังเด็กและผ้ใู หญ่เม่ือตอ้ งพูดถึงเร่ืองเพศลง เม่ือเด็กมีความรู้ความเข้าใจเร่ืองเพศศึกษาในระดับ
ฐานที่ ๑ เรียนรสู้ ถานการณ์ ปญั หา และผลกระทบ หนึ่งแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนสานความรัก ความเข้าใจและ
จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการต้ังครรภ์ที่ไม่ ความอบอนุ่ ในครอบครวั ซง่ึ ถอื เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทเี่ ปน็ เกราะ
พร้อมในวัยรุ่น ฐานที่ ๒ เพศศึกษา ฐานท่ี ๓ ทักษะชีวิต ปอ้ งกนั เดก็ จากเซก็ ซใ์ นวยั เรยี น เพราะเมอ่ื เดก็ ๆ ไดร้ บั ความ
เป็นฐานที่เด็กๆ ชอบกันมาก เพราะเป็นเร่ืองที่เขาไม่เคยรู้ รักจากครอบครัวอย่างเต็มเปี่ยม เขาจะไม่โหยหาความรัก
มาก่อน ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองการตั้งครรภ์ ความไม่พร้อมหาก จากทอี่ น่ื เพอื่ มาเติมเต็ม
เปน็ คุณแม่ต้งั แตใ่ นวยั รนุ่ รวมไปถงึ การระวงั ตวั ไม่ใหต้ กอยู่ กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว จึงเป็นอีก
ในความเสีย่ งทางเพศ ฐานที่ ๔ การวางแผนครอบครวั กิจกรรมท่ีคิดข้ึนเพ่ือให้ความส�ำคัญกับพ่อแม่ลูก และเรียก
ไดว้ ่าเป็นกจิ กรรมที่ซ้งึ และมีคณุ ค่าทสี่ ุดสำ� หรบั ทกุ ๆ คน
กระดาษรูปหัวใจแต่ละแผ่นที่แจกให้กับผู้ปกครอง
และเดก็ คนละแผ่น พร้อมกับโจทยใ์ หเ้ ขียนความรสู้ กึ หรอื
ความคบั ขอ้ งใจทม่ี ตี อ่ กนั เมอ่ื นำ� กลบั มาตดิ บนบอรด์ อกี ครง้ั
กระดาษแผน่ นอ้ ยๆ กลบั ชว่ ยเปน็ นกพริ าบสอื่ สารความในใจ
ทีต่ า่ งฝ่ายต่างไม่เคยรมู้ ากอ่ นได้เปน็ อยา่ งดี

98 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

“เบอ่ื ลูกนอนต่นื สาย” เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ทางโรงเรียนพยายามผลักดัน เพราะ
“เบือ่ แม่ชอบบน่ ” ตระหนักดีว่าเด็กๆ มักมอบความไว้ใจเบ้ืองต้นให้กับเพ่ือน
“แม่ไม่รักผมเลย” กอ่ นเปน็ อนั ดบั แรก เรมิ่ ดว้ ยการอบรมนกั เรยี นชน้ั มธั ยม ๑ -๓
“หนูเสยี ใจมากทีแ่ มบ่ อกวา่ เก็บเขามาจากถังขยะ” สร้างเครือข่ายผู้น�ำรุ่นใหม่ในโรงเรียน และสร้างเครือข่าย
เม่ือให้กระดาษอีกแผ่นเพื่อเขียนความรู้สึกว่าอยาก ระหว่างกลุม่ เพอ่ื น เลอื กตัวแทน ๕ คน ของแตล่ ะช้นั เรยี น
ใหพ้ อ่ แม่ หรอื ลกู ทำ� อะไร กท็ ำ� ใหต้ า่ งฝา่ ยไดโ้ อกาสละความ เป็นเพ่ือนที่ปรึกษา คอยสอดส่องดูแลเพ่ือนในห้องที่มี
กลวั ความเขินอาย บอกความต้องการใหอ้ กี ฝา่ ยไดเ้ ข้าใจ พฤติกรรมเส่ียง และน�ำปัญหาปรึกษาครูเพ่ือหาแนวทาง
“อยากให้แม่กอดหนูบ้าง เพราะต้ังแต่มีน้อง แม่ก็ แก้ไข
กอด ก็รักแต่นอ้ ง ไมร่ กั หนู”
ท�ำให้แม่ได้รู้ว่าลูกน้อยใจคิดว่าแม่ไม่รัก หรือพ่อแม่ เมอื่ พๆ่ี ชนั้ มธั ยมมคี วามเขา้ ใจทม่ี ากพอแลว้ คณะครู
บางคนพอได้อ่านสิ่งที่ลูกเขียนก็รู้สึกเสียใจ และคิดไม่ถึงว่า โรงเรยี นบา้ นวงั หนิ จงึ จดั นทิ รรศการสรปุ ความรู้ ความเขา้ ใจ
สิ่งท่ีได้ท�ำได้พูดไปตอนโกรธจะท�ำให้ลูกเสียใจมาก พ่อแม่ เรอ่ื งเพศศึกษาทีจ่ ัดสำ� หรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓
ลกู จงึ ได้ปรบั ความเขา้ ใจกนั มากขึ้น ใหน้ อ้ งๆ ทกุ คนในโรงเรยี นมสี ว่ นรว่ มกบั กจิ กรรมในโครงการ
คือส่วนหนึ่งของความรู้สึกที่ถ่ายทอดออกมา ก่อให้ ครัง้ นีด้ ้วย ยงิ่ พๆ่ี มธั ยมเขา้ ใจปรบั ประยกุ ต์การนำ� เสนอให้
เกดิ ความเขา้ ใจ และสานสายใยครอบครวั ใหแ้ นน่ แฟน้ ยง่ิ ขนึ้ เหมาะกบั วัยนอ้ งๆ ประถมด้วยการแสดงหนุ่ มือ นอ้ งๆ กย็ ่ิง
ให้ความสนใจกจิ กรรมมากเปน็ พิเศษ
โต้วาท.ี ..ตรวจสอบความเข้าใจ แม้จะเหน็ดเหน่ือย แต่โครงการนี้ก็สร้างความ
ประทับใจให้กับครู อาจารย์ทุกคนทีเ่ ก่ยี วข้อง เพราะเปน็
กจิ กรรมโตว้ าที ญตั ติ “เพศสมั พนั ธว์ ยั รนุ่ วนุ่ อยา่ งไร” งานทที่ า้ ทายความรคู้ วามสามารถอย่างยงิ่ เนอ่ื งจากเปน็
และ “การตงั้ ครรภแ์ มว่ ยั รนุ่ วนุ่ เพราะใคร” ระหวา่ งนกั เรยี น งานทต่ี อ้ งแกป้ ญั หาในดา้ นพฤตกิ รรม ดา้ นความรสู้ กึ และ
หญงิ และนกั เรยี นชาย ม.๑ – ๓ ชนั้ ละ ๕ คน คอื กจิ กรรมถดั มา คา่ นยิ มของคนในยคุ ดจิ ติ อล การตดิ ตอ่ สอ่ื สารไรพ้ รมแดน
ของโครงการเพื่อตรวจสอบความเข้าใจและทัศนคติของ และน่าชน่ื ใจเป็นอยา่ งย่ิงที่ไดเ้ หน็ ความเปลยี่ นแปลง เดก็
เด็กๆ ในเรื่องเพศศึกษาที่ได้เรียนรู้ไป ว่าเด็กทั้งสองกลุ่มมี มปี ัญหาชสู้ าวลดลงอยา่ งเหน็ ได้ชัด
ความเขา้ ใจในระดบั ใด ซึง่ ผลทีไ่ ด้รับก็นา่ พอใจเป็นอย่างยงิ่
นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจเรอื่ งเพศศกึ ษา และความไมพ่ รอ้ มของ เคล็ดลับความส�ำเร็จ
เซ็กสใ์ นวยั เรียนเพิ่มมากขนึ้ อย่างชดั เจน ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่ต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงท้ังด้านความคิด ด้านพฤติกรรมการ
เพอ่ื นทป่ี รกึ ษา...ทกุ ปัญหาเพ่ือนพรอ้ มรบั ฟงั กระท�ำ รวมท้ังนักเรียนเองต้องมีความตั้งใจ สนใจ
ดแู ลตนเอง โดยมคี รู พอ่ แม่ และเพอ่ื น เปน็ ทป่ี รกึ ษา
เพ่ือนช่วยเพ่ือน ให้ค�ำปรึกษาเม่ือเพื่อนเกิดปัญหา ให้ความรกั ความเอาใจใส่ ให้ก�ำลังใจ

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 99


Click to View FlipBook Version