The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kritsahna Suwan, 2019-07-30 10:55:44

นวัตกรรม

นวัตกรรม

สานฝันวัฒนธรรมพน้ื บ้าน

โรงเรียนบ้านเหล่าผกั ใส่ สกลนคร

วนั วาน ยามเย็นไกลออกไปในแคว้นแดนอสี าน เสยี งเพลงโปงลางแวว่ มาตามสายลม จาก
ท่วงทำ�นองคึกคัก สะท้อนความเป็นตัวตนคนพ้ืนบ้าน เม่ือใครได้ฟังก็ย่อมรู้ดีว่านี่คือวัฒนธรรม
ท้องถิ่นที่นับวันจะล้มหายตายจาก หากปราศจากการอนุรักษ์หรือความสนใจจากเด็กรุ่นใหม่
ซง่ึ นบั วันจะกลายเป็นสาวกเค ป๊อปมากข้ึนเรือ่ ยๆ

เมื่อบวกกับความต้องการสร้างแนวคิดการประกอบ เริ่มจากส�ำรวจความสนใจเร่ืองดนตรีพื้นบ้านของ
อาชีพท�ำมาหากินให้กับเด็ก โครงการสานฝันวัฒนธรรม เดก็ วา่ มมี ากนอ้ ยแคไ่ หน เรยี กไดว้ า่ สำ� รวจตน้ ทนุ เดมิ ทเ่ี ดก็ ๆ
พ้ืนบ้าน ของโรงเรียนบ้านเหล่าผักใส่ จึงเกิดขึ้นด้วยความ มีอยกู่ ่อน เพื่อให้รวู้ ่าจะต้องเพิ่มตอ้ งเตมิ ตอ้ งเสริมใหใ้ นส่วน
มุ่งม่ันต้งั ใจของ อ.มงคล ปางชาติ ไหน มากนอ้ ยเพยี งใด จากนนั้ จงึ วางแผนทำ� เอกสารประกอบ
การสอน คัดเลือกเพลง ทำ� คูม่ อื ไปจนถึงติดตอ่ คนทจ่ี ะมา
ไร้ทนุ ไมจ่ นหนทาง ชว่ ยสอน แลว้ จงึ เรมิ่ ขน้ั ตอนฝกึ ซอ้ ม ฝกึ สอน ตง้ั แตเ่ นอ้ื เพลง
การเล่นดนตรี และการร้องรำ�
แม้จะเป็นโรงเรียนที่ห่างไกลในจังหวัดสกลนคร
แต่เม่ือมีโอกาสดีได้รับทุนจากส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ง เรยี นร้องซ้อมร�ำ
การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) อาจารย์มงคล
จงึ สานฝนั ของตนเองและเดก็ ๆ ดว้ ยการใชเ้ งนิ ทนุ ทไ่ี ดใ้ นการ การฝกึ ซอ้ มเรมิ่ ตน้ ขน้ึ เปน็ เวลา ๑๕ วนั ทเ่ี ดก็ ๆ ทกุ คน
ซอื้ เครอื่ งดนตรี ทง้ั โปงลาง พณิ แคน กลอง ฉง่ิ ฉาบ และอนื่ ๆ ได้ฝึกประสบการณ์ใหม่ๆ นักเรียนชายฝึกเล่นเครื่องดนตรี
ทจ่ี ำ� เปน็ แลว้ เรม่ิ โครงการกบั นกั เรยี นชนั้ ม.ตน้ ทงั้ ๑๑๖ คน นักเรียนหญิงฝึกร�ำ โดยมีนักเรียนจากวิทยาลัยนาฎศิลป์

100 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

กาฬสินธุ์เป็นครูสอน จากนั้นจึงคัดเด็กชายท่ีมีความพร้อม พร้อมแสดง มีพ่อแม่ผู้ปกครองมานั่งคอยเชียร์ให้ก�ำลังใจ
ที่สุด ๒๐ คน ฝึกเป็นนักดนตรี และเด็กหญิง ๒๐ คน ลูกหลานกนั อยา่ งอุ่นหนาฝาคง่ั เพลงหน่งึ ผา่ นไป สองเพลง
ฝกึ เป็นนางร�ำ ถือเปน็ เด็กชดุ แรกหรือชุดบุกเบกิ ผ่านไป เด็กหายต่ืนคนร้องร�ำกันอย่างมั่นใจ ผู้ใหญ่เองก็
เดก็ ทง้ั ๔๐ คนจะไดไ้ ปเขา้ คา่ ยอบรม ฝกึ ซอ้ มรอ้ ง เลน่ สนกุ สนาน อีกท้งั ยังตบรางวลั ให้ ถงึ จะไม่มากไมม่ าย แตก่ ็
เต้น ร�ำ กว่าเดอื น จนจ�ำเนอ้ื เพลง โน๊ตเพลงได้แมน่ จำ� เป็น ทำ� ใหห้ วั ใจเดก็ ๆ พองโตดว้ ยความเชอื่ มน่ั วา่ การแสดงนนั้ คง
อันพร้อมท่ีจะออกงานแสดง นอกจากน้ันเด็กกลุ่มนี้ยังเป็น ตอ้ งถูกอกถูกใจพี่ปา้ น้าอาเปน็ แน่
แกนนำ� เพื่อนสอนเพ่อื น ฝึกสอนเพอ่ื นคนอื่นๆ ในชั้นใหม้ ี หลังจากน้ันเมื่อมีงานประจ�ำปีไม่ว่าจะเป็นงานบุญ
ความรู้เรื่องดนตรี และโปงลางด้วย เพ่อื เป็นก�ำลงั ส�ำรองใน อะไร เดก็ บา้ นเหลา่ ผักใส่กไ็ ด้ไปแสดงอยูเ่ นืองๆ ถงึ แม้จะได้
เวลาจำ� เปน็ กำ� ลงั ใจตอบแทนเปน็ เงนิ แลว้ ไมถ่ งึ ๕๐ บาทตอ่ คน แตก่ เ็ ปน็
ก�ำลังใจให้เด็กเป็นอยา่ งดี
ออกงาน ออกแขก “ช่วงแรกๆ พาเดก็ ไปแสดงตามงานบุญต่างๆ ใหเ้ ขา
ไดร้ จู้ กั ทำ� มาหากนิ ไมไ่ ปมว่ั สมุ กบั ยาเสพตดิ ไมย่ งุ่ เรอ่ื งชสู้ าว
จากเดก็ ทีไ่ มเ่ คยรอ้ งร�ำ ผา่ นการฝกึ ฝนจนเกิดทกั ษะ ไดเ้ งนิ มากแ็ บง่ ใหเ้ ขาไปเปน็ คา่ ขนม เดก็ ๆ รสู้ กึ ตวั เองมคี ณุ คา่
ร้องร�ำไม่ขัดเขิน แบบทดสอบแรกจึงเร่ิมข้ึนที่สนามของ มคี วามสามารถ หาเลยี้ งตวั เองไดแ้ มจ้ ะไมม่ ากไมม่ ายกต็ าม”
โรงเรยี น “วงโปงลางลกู อีสาน โรงเรียนบา้ นเหลา่ ผักใส”่ ความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่าในตัวเอง คือภูมิคุ้มกัน
สำ� คญั ทจ่ี ะปกปอ้ งวยั รนุ่ จากพฤตกิ รรมเสย่ี ง โปงลางจงึ เปน็
เคร่ืองมือหนึ่งในการกล่อมเกลาจิตใจ และเปิดทางเลือกสู่
การเป็นเด็กดีเป็นที่ยอมรับของสังคมให้กับเยาวชน ท้ังยัง
ไดเ้ งนิ ทองของตอบแทนเป็นของแถม สร้างความภาคภมู ิใจ
ที่ได้มสี ว่ นช่วยหารายไดอ้ ีกค�ำรบหนง่ึ

รางวัลทม่ี ากกวา่ เงิน

แลว้ วนั ทค่ี ณะโปงลางโรงเรียนบ้านเหลา่ ผกั ใสพ่ ร้อม
ออกงานใหญก่ ม็ าถงึ การประกวดแขง่ ขนั โปงลางระดบั มธั ยม
คอื เปา้ หมาย นกั ดนตรพี รอ้ ม นางรำ� พรอ้ ม ทกุ คนขน้ึ เวทโี ชว์
ลีลาตามท่ีได้ฝึกมาอย่างช�่ำชอง ผลจะเป็นอย่างไรไม่ส�ำคัญ
เทา่ กบั ทำ� อยา่ งสดุ ความสามารถ คอื สง่ิ ทอ่ี าจารยม์ งคลบอก
เด็กๆ
“ความจริงแล้วการเขา้ รว่ มประกวดของเด็กๆ ไม่ได้
ส�ำคัญอะไรนัก ส่ิงท่ีเราต้องการ คืออยากให้เด็ก สืบสาน

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 101

วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ มคี วามรู้มอี าชพี ตดิ ตวั เหน็ คณุ คา่ ในตวั เอง สังคม มีอาชีพการท�ำงาน หารายได้ให้ครอบครัวได้พอ
รู้จักท�ำงานเป็นทีม เพราะวงโปงลางต้องอาศัยความ ประมาณ แค่นีก้ ็ถอื เปน็ ความภมู ิใจของครแู ลว้ ”
พรอ้ มเพรยี งของคนในวง หากรอ้ งรำ� ไมต่ รงกนั ไมป่ ระสานกนั “แลว้ เรายงั ทำ� โครงการพสี่ อนนอ้ ง รนุ่ พคี่ ณะโปงลาง
กร็ ำ� ไม่สวย” ตอ้ งสอนน้องๆ ร่นุ ต่อไปใหแ้ สดงโปงลางไดด้ ว้ ย เปน็ การฝกึ
เดก็ รุ่นต่อรนุ่ และสรา้ งความสามัคคใี นโรงเรียนอีกทางหน่ึง
ถึงจะไม่ได้คาดหวังกับรางวัลใหญ่ แต่การฝึกซ้อม ปัจจุบันเราจึงมีวงโปงลางทั้งรุ่นเล็กรุ่นใหญ่ไว้ออกแสดง
อย่างต้ังใจ และความมุ่งมั่นของเด็กๆ ก็น�ำความช่ืนใจมา สืบสานศลิ ปะการแสดงทอ้ งถน่ิ ให้ยง่ั ยืนสบื ไป”
ให้ เมอ่ื วงโปงลางของโรงเรยี นบา้ นเหลา่ ผักใส่ สามารถคว้า วันน้ี จากรุ่นแรก มารุ่นสอง พ่ีน้องโรงเรียน
รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ ๒ จากงานศิลปหัตถกรรม บ้านเหล่าผักใส่ยังฝึกสอนน้องๆ รุ่นต่อไป ช่วยสืบสาน
นกั เรยี นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ครง้ั ที่ ๖๒ ประจำ� ปกี าร วัฒนธรรมพื้นบ้านให้คงอยู่ อีกทั้งยังฝึกทักษะอาชีพให้
ศึกษา ๒๕๕๕ จังหวัดชัยภูมิ ไดส้ �ำเรจ็ เดก็ ๆ อกี ทางหนง่ึ และเปน็ ความหวงั วา่ วฒั นธรรมพน้ื บา้ น
นอกจากจะสร้างช่ือเสียงให้โรงเรียนแล้ว ยังเป็น จะไม่หายไปจากดนิ แดนไทยอสี าน
ความภาคภูมใิ จของเดก็ ๆ ในคณะ วา่ ผลจากการฝกึ ฝนของ
พวกเขาไมศ่ นู ยเ์ ปลา่ สามารถสรา้ งงาน สรา้ งชอื่ เสยี งใหต้ ัว เคล็ดลบั ความส�ำเร็จ
เขา ครอบครัว และโรงเรียนไดจ้ รงิ ๆ ใสใ่ จ มุ่งมน่ั ทมุ่ เท เรยี นรู้ ท�ำงานเปน็ ทมี
“เม่ือเด็กโปงลางชดุ แรกจบไปแลว้ บางคนกไ็ ปเรยี น
ต่อด้านนาฏศิลป์ บางคนที่บ้านไม่มีเงินส่งเรียนต่อ เขาก็
ท�ำงานเป็นนักดนตรีโปงลางได้ เขาเหล่าน้ันจึงไม่เป็นภาระ

102 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้

การพัฒนากระบวนการเรียนรู้โดยใช้เครือข่าย

สงั คมเพอ่ื การเรยี นรู้ (Social Network)

โรงเรียนเบญ็ จะมะมหาราช อบุ ลราชธานี

โลกทกุ วนั นเ้ี ปลยี่ นแปลงเรว็ จนพอ่ อยา่ งผมแทบจะตามลกู สาวไมท่ นั ไหนจะดาราเกาหลี
ทเ่ี ขาชนื่ ชอบ เพลงปอ๊ บแดนซท์ เ่ี ขาชอบฟงั รวมถงึ เทคโนโลยอี ยา่ งเฟซบคุ๊ ทล่ี กู ๆ และเพอื่ น ๆ
ใชโ้ พสต์รูปและข้อความระหว่างกนั

จากชีวิตข้าราชการวัยใกล้เกษียณ ท่ีเรียกได้ว่า นอกจากจะเด่นในเรื่องทางธรรมแล้ว จังหวัดของ
โลวเ์ ทค (Low Technology) วนั นผ้ี มตอ้ งปรบั เปลยี่ นตวั เอง เราก็มีชื่อเสียงเป็นท่ีข้ึนชื่อลือชาในเรื่องทางโลกๆ เช่นงาน
ใหม้ ที ง้ั อเี มล มที งั้ เฟซบคุ๊ เพอื่ จะไดค้ ยุ กบั ลกู รเู้ รอ่ื ง ลกู สนใจ หตั ถกรรมอยา่ งผา้ กาบบวั ทมี่ คี วามวจิ ติ รงดงามผา้ ฝา้ ยทอมอื
เรอ่ื งไหน มปี ญั หาไมส่ บายใจเรอ่ื งอะไร ผมกแ็ อบๆ ดเู อาจาก หมอนขิด ผ้าไหม เครือ่ งทองเหลือง สว่ นของกินที่นก่ี ไ็ ม่แพ้
ขอ้ ความทพ่ี วกเขาสอ่ื สารในโลกออนไลนน์ แี่ หละ เพราะเดก็ ใครมที ง้ั หมยู อ กนุ เชยี ง โดยเฉพาะเคม็ บกั นดั (เคม็ สบั ปะรด)
วยั รนุ่ เขาไมค่ อ่ ยมาบอกความในใจของตวั เองกบั พอ่ แมห่ รอก ทพี่ ดู แลว้ นำ้� ลายสอขน้ึ มาเลยทเี ดยี ว เปน็ อาหารพนื้ เมอื งของ
ครบั สว่ นใหญก่ ็มักจะพดุ คุยปรึกษากับเพอ่ื นมากกวา่ ทน่ี ท่ี ำ� ดว้ ยเนอื้ ปลาสวายหรอื ปลาเทโพ หนั่ เปน็ ชนิ้ ยาวๆ ดอง
แม้เหมือนว่าลูกยิ่งโตก็ย่ิงถอยห่างจากเรามากขึ้น ในน�้ำเกลือและเนื้อสับปะรดท่ีซอยเป็นชิ้นเล็กๆ บรรจุใน
แต่ผมก็ถอื ไดว้ า่ ตวั เองยงั โชคดี ทมี่ าใชช้ ีวิตครอบครัวในตา่ ง ขวดแก้ว นำ� มาทำ� อาหารได้หลายอย่าง เชน่ ทอด หรอื หลน
จังหวดั ทเ่ี ป็นบ้านเกดิ ของตัวเอง ผมชอบศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ชอบเล่า
อบุ ลราชธานเี ปน็ จงั หวดั ทมี่ แี มน่ ้�ำมลู ไหลผา่ น ดงั นน้ั เรอื่ งโนน้ หรอื นใี้ หล้ กู สาวฟงั วา่ งๆ เรากข็ บั รถไปเทยี่ วดว้ ยกนั
จงึ มปี ระวตั ศิ าสตรท์ ยี่ าวนานและมคี วามอดุ มสมบรู ณม์ าแต่ ทั้งครอบครัว ผมอยากให้ลูกรู้จักใช้เทคโนโลยีต่างๆ แต่
อดีต เมอ่ื ก่อนมีพนื้ ที่กวา้ งใหญ่มากทส่ี ดุ ในประเทศไทย แต่ ในขณะเดยี วกนั กอ็ ยากใหม้ คี วามรกั ความผกู พนั รวมทง้ั ภาค
ภายหลงั แยกออกเปน็ จงั หวดั ยโสธร และจงั หวดั อำ� นาจเจรญิ ภูมิใจในท้องถ่ินของตัวเองด้วย ไม่ก่ีปีข้างหน้าประเทศไทย
ส�ำหรับคนที่สนใจในทางธรรมจะรู้ดีว่าท่ีน่ีเป็นสถานท่ีที่มี กจ็ ะเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น จะเกดิ การคา้ เสรี การเคลอ่ื นยา้ ย
พระอรยิ ะสงฆ์สายวัดปา่ เกดิ ข้ึนหลายรูป เช่น พระอาจารย์ ของแรงงานและอ่ืนๆ ตามมา ผมคิดว่าประเทศไทยต้อง
มั่น ภรู ิทตฺโต พระอาจารยเ์ สาร์ กนฺตสโี ล พระอาจารยข์ าว เตรียมความพร้อม โดยเฉพาะเรอ่ื งการศึกษาท่จี ะท�ำให้เดก็
อนาลโย รวมถึงพระโพธิญาณเถร (ชา สภุ ทโฺ ท) ไทยของเราน�ำพาประเทศไปสูค่ วามก้าวหนา้

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 103

ผมคิดว่าตัวเองคิดไม่ผิดที่ส่งลูกสาวไปเรียนท่ี “จากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช โรงเรียนประจ�ำจังหวัด และการส่ือสาร (Information and Communication
อุบลราชธานี ทน่ี ีม่ กี ารเรียนการสอนที่ถอื ไดว้ ่าเปน็ ต้นแบบ Technology-ICT) และการท่ีประเทศไทยจะก้าวสู่
ของโรงเรียนอื่นๆ ทั้งในระดับอ�ำเภอและระดับประเทศ ประชาคมอาเซียน พุทธศักราช ๒๕๕๘ ดังนั้นการจัดการ
เพราะมีคุณครูที่คิดค้นการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ เรียนการสอนในปัจจุบันครูต้องตระหนักว่า ‘กระบวนการ
ความเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และทส่ี ำ� คญั ยงั ทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ เรยี นรสู้ ำ� คญั กวา่ ความร’ู้ และ ‘ครมู ใิ ชผ่ มู้ อบความร’ู้ แตเ่ ปน็
รู้จักรากเหง้าของตัวเอง และภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ไปพร้อมกับเด็กและเยาวชน
อีกด้วย เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ตัวความรู้อีกต่อไป เพราะตัว
ความรู้น้ันมีมากมายมหาศาลเกินกว่าที่จะมอบให้นักเรียน
Social Network เชื่อมต่อท้องถิ่นกบั สงั คมโลก แต่ละชัน้ ปีได้ อีกทัง้ นักเรยี นในศตวรรษใหม่มีหนทางค้นหา
ความรู้ด้วยตัวเองจากทุกหนแห่งทั้งในส่ิงแวดล้อมและ
พ่อของหนูเป็นคนใฝ่เรียนใฝ่รู้ จากเด็กบ้านนอกคน อินเทอร์เน็ต ดังน้ันครูต้องพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียน
หน่ึงท่ีมีฐานะยากจน ก็มานะพยายามด้วยการบวชเรียน รู้ตลอดชีวิต….โครงการของเราด�ำเนินงานเป็นเครือข่าย
ทางธรรม แล้วสึกไปเรียนมหาวิทยาลัยจนจบปริญญาตรี ร่วมพัฒนาเป็นกลุ่มโรงเรียนท้ังหมด ๕ โรงเรียน ได้แก่
หลงั จากนน้ั กส็ อบทำ� งานรบั ราชการ เรม่ิ จากเปน็ ปลดั อำ� เภอ โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนแกนน�ำ โรงเรียน
จนทกุ วนั น้ไี ด้เปน็ นายอ�ำเภอ เครือข่ายประกอบด้วย โรงเรียนลือค�ำหาญวารินช�ำราบ
พ่อมักจะเล่าให้ฟังเสมอว่าชีวิตในวัยเด็กล�ำบาก โรงเรยี นเดชอุดม โรงเรยี นบณุ ฑริกวิทยาคาร และโรงเรียน
อย่างไร ท่านชอบเล่าเร่ืองโน้นเร่ืองน้ี แต่พอขึ้นช้ัน ส�ำโรงวิทยา”
มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ หนกู อ็ ยากคุยกบั เพอ่ื นมากกวา่ พอ่ ท้งั ๆ
ท่รี ูว้ ่าพอ่ รักและเปน็ ห่วง แตก่ ็ยงั อยากท่จี ะมี “โลกสว่ นตัว” กระบวนการเรยี นร้ทู คี่ รูและนกั เรยี นร่วมมือกนั
บ้าง หลังกลับจากโรงเรียนทุกวัน พ่อมักจะมาชวนคุยชวน
ถามว่าวันน้ีเรียนอะไรมาบ้าง โชคดีท่ีช่วงน้ีครูท่ีโรงเรียนท�ำ พอ่ ใชเ้ วลาในการอา่ นรายละเอยี ดของโครงการอยา่ ง
โครงการ “การพัฒนากระบวนการเรียนร้โู ดยใช้เครือขา่ ย ใสใ่ จ พรอ้ มถามคำ� ถามทส่ี งสยั วา่ “แสดงวา่ ครทู โ่ี รงเรยี นของ
สงั คมเพอ่ื การเรียนรู้ (Social Network)” หรอื เรียกงา่ ยๆ ลกู ก็ตอ้ งใช้โซเชยี ลเนต็ เวริ ์ค (Social Network) อย่างอีเมล
ว่าน�ำการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการเรียนรู้ ยทู บู เป็นก่อนจึงจะน�ำมาสอนนกั เรียนไดใ้ ช่ไหม”
หนจู งึ ไดโ้ อกาสบอกเลา่ ถงึ ประโยชนข์ องอนิ เทอรเ์ นต็ ใหพ้ อ่ ฟงั
เพง่ิ รเู้ หมอื นกนั นะเนย่ี วา่ พอ่ กม็ อี เี มล และเฟซบคุ๊ กบั เขาดว้ ย
อย่างนี้กง็ ่ายใหญ่ จะเล่าอะไรให้ฟงั ก็ไมต่ ้องอธิบายกันมาก
วันน้ีหนูเปิดเว็บไซต์ของโรงเรียนให้พ่อดู เพื่อให้พ่อ
อ่านบทความท่ีเขียนโดยครูลัดดา จิตรมาศ ซึ่งเป็นรอง
ผู้อำ� นวยการโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชว่าไดแ้ รงบันดาลใจ
ในการคิดโครงการน้ีได้อย่างไร

104 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้

“ถูกเผงเลยค่ะพอ่ ” ฉนั ตอบพรอ้ มกับแอบปล้ืมนดิ ๆ พ่อฟังฉันอธิบายเสียยืดยาว ไม่รู้ว่าจะแอบเหนื่อย
ทม่ี ีพ่อฉลาดและเขา้ ใจการเรียนการสอนยุคใหม่ หรือเปล่า แต่ก็เห็นต้ังอกต้ังใจฟังดี และก็มีค�ำถามต่อท้าย
ก่อนท่ีจะท�ำโครงการนี้ได้ ครูลัดดาต้องประชุมครู เหมือนทุกครั้งว่า “ลูกเรียนแบบน้ีแล้วดีอย่างไร เล่าให้พ่อ
ผบู้ รหิ าร คนในชมุ ชน และผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งอนื่ ๆเพอ่ื ใหท้ กุ คน ฟังหน่อยสิ”
ไดต้ ระหนกั ถงึ การพฒั นาการเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั “อันดับแรกก็สนุกค่ะพ่อ ไม่ต้องอุดอู้ท�ำรายงาน
การเปลยี่ นแปลงของโลก พรอ้ มทงั้ จดั ทำ� คมู่ อื การจดั กจิ กรรม อยู่แต่ในห้องเรียนหรือห้องสมุดแบบเดิมๆ แต่เราออกไป
การเรียนรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นเชื่อมโยงสู่ประเทศชาติและ
สังคมโลก จัดท�ำคู่มือการใช้เครือข่ายสังคมเพ่ือการเรียนรู้ หาความร้นู อกหอ้ งเรยี น ไปคยุ กับผู้รู้ที่เปน็ ชาวบ้าน ได้รู้ได้
และจัดอบรมครดู า้ นการใชเ้ ครือข่ายสงั คมเพอ่ื การเรยี นรู้ เห็นว่าเขาด�ำเนินชีวิตอย่างไร เรียกว่าเรียนรู้จากของจริง
อยา่ งไรกต็ าม พอ่ กย็ งั ไมว่ ายสงสยั วา่ การเรยี นแบบน้ี ก็ว่าได้ค่ะ รู้จักท�ำโครงงานเป็น แก้ปัญหาเป็น และรู้จักใช้
ครูกับนักเรียนจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร เม่ือถามมา เทคโนโลยีให้คุ้มค่า ในวันข้างหน้าเรียนจบจากท่ีน่ีแล้วไป
แบบน้ีก็เข้าทางหนู ได้โอกาสแสดงให้พ่อรู้ว่าลูกของพ่อก็ เรยี นตอ่ ระดบั มหาวทิ ยาลยั หรอื ในการทำ� งานหนกู ส็ ามารถ
เกง่ ไม่แพก้ ัน น�ำเทคโลยีเหลา่ นีไ้ ปใชไ้ ดด้ ้วยคะ่ ”
“พ่อคะ การเรียนการสอนแบบนี้ท�ำให้ครูและ พอ่ พยกั หนา้ หงกึ หงกั พรอ้ มรอยยม้ิ และพดู กบั หนวู า่
นักเรียนมาเรียนรู้ร่วมกัน ครูก็มีกระบวนการสอนด้วยการ “เทคโนโลยีเป็นแค่เคร่ืองมือหน่ึงในการแสวงหาความรู้
สร้างเว็บไซต์ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการใช้จีเมล สงิ่ สำ� คญั คอื เราตอ้ งใฝร่ อู้ ยเู่ สมอ และเรยี นรไู้ ปจนตลอดชวี ติ
(gmail) และท�ำโครงงานบนเว็บ ส่วนนักเรียนอย่างหนู เลยนะลกู ”
นอกจากจะหาความรู้จากปู่ย่าตายาย ปราชญ์ในหมู่บ้าน นแี่ หละพอ่ ของหนู น่าภมู ิใจทสี่ ดุ คะ่
แล้ว ก็ใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คน่ีแหละในการค้นคว้าหาข้อมูล
หรือท่ีเพื่อนๆ ชอบพูดกันว่า ‘อยากรู้เรื่องอะไรก็ถามครูกู เคล็ดลบั ความส�ำเรจ็
(กูเก้ิล-google)’ ซึ่งเป็นการค้นคว้าหาความรู้และน�ำ การน�ำเทคโนโลยีที่เป็นเรื่องใกล้ตัวเด็ก
เทคโนโลยีขั้นพ้ืนฐานมาใช้ แต่ข้ันสูงอีกนิดหรือแอดวานซ์ นักเรียนมาเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ซึ่ง
อีกหน่อยส�ำหรับหนูคือ ใช้อีเมลในการส่งงานครูแทนท่ีจะ ท�ำให้เกิดความสนุก น่าสนใจ อีกทั้งคุณครูทั้ง ๕
ต้องเขียนใส่สมุดรายงาน ซ่ึงช่วยประหยัดพลังงานได้ด้วย โรงเรยี นกใ็ หค้ วามร่วมมอื เป็นอย่างดี
นะคะพ่อ นอกจากน้ันเมื่อก่อนเวลาน�ำเสนองานเราต้อง
เอารปู ภาพไปแปะบนบอรด์ ใชไ่ หมคะ แตเ่ ดยี๋ วนเี้ รานำ� เสนอ
งานด้วยการสร้างอัลบ้ัมรูปในกูเกิลปิกาซ่าเว็บ (google
picasaweb) หรือน�ำเสนองานด้วยวิดีโอคลิปผ่านเว็บไซต์
ยูทูบ (youtube) ส่วนเวลาท�ำรายงานกลุ่มหนูกับเพ่ือนๆ
ก็ใช้กูเกิ้ลด้อคส์ (google docs) โดยเราสามารถแก้ไข
จดั เกบ็ และแชร์ไฟลเ์ อกสารต่างๆ ผา่ นบริการแอพฯ เวริ ์ด
โพรเซสเซอร์ (word processor) ไดบ้ นออนไลน์ ผา่ นทาง
สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ตได้ นั่นหมายความว่าเราไม่ได้น่ัง
เรียนอยู่แต่ในห้องเรียนกับกระดานด�ำอย่างเดียว แต่เรา
สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ไม่ว่าจะที่บ้าน หรือแม้แต่
ไปเทยี่ วทไี่ หนกส็ ามารถเรยี นรไู้ ดห้ มด อยา่ งทผี่ า่ นมาหนกู บั
เพื่อนท�ำโครงงาน ‘เยาวชนเบ็ญจะมะมหาราชร่วมสืบสาน
ขันหมากเบง็ ’ ขันหมากเบ็ง คือพานพมุ่ ใสด่ อกไมใ้ ชใ้ นการ
สักการะพระพทุ ธรูปมเี คร่ืองบชู า ๕ อยา่ ง ไดแ้ ก่ หมาก พลู
ธปู เทยี น ขา้ วตอกและดอกไม้ อยา่ งละ ๕ คู่ เราเรยี นรวู้ ธิ กี าร
ท�ำจากปราชญ์ชาวบ้าน แล้วก็ถ่ายภาพน�ำเสนอในเว็บไซต์
ของโรงเรียน และถา่ ยทำ� เปน็ วดิ โี อลงในยทู ูบดว้ ย ”

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 105

รัฐราษฎร์อนสุ รณ์ โรงเรียนแห่งโครงงาน

แบบบรู ณาการ ๑๐ ฐานการเรียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพียง

โรงเรียนรฐั ราษฎร์อนุสรณ์ นครสวรรค์

การเรยี นรทู้ ดี่ คี วรเกดิ จากความตอ้ งการ อดีตทีก่ �ำลงั เปลีย่ นไป
ความชอบ ความสนใจของเด็กๆ เฉกเช่น
ประสบการณ์ของโรงเรียนรัฐราษฎร์อนุสรณ์ นักเรียนรัฐราษฎร์อนุสรณ์ ต�ำบลบึงปลาทู อ�ำเภอ
ท่ีการเรียนรู้ทักษะชีวิตเกิดขึ้นได้ด้วยการ บรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ก็เหมือนกับนักเรียนใน
สรา้ งชมุ ชน การปกครอง แบ่งสนั ปนั สว่ นงาน ชนบทสว่ นใหญ่ คอื ไม่ไดศ้ กึ ษาตอ่ เมื่อจบชนั้ ม.๓ และชั้น
ของเดก็ เองจรงิ ๆ ม.๖ เน่ืองจากฐานะยากจน จึงไม่สนใจวิชาการ ขาดเรียน
บ่อย ผลประเมินทางด้านการเรียนจึงต่�ำมาก ขาดทักษะ
นายกอบต.หมู่บ้านน�ำทมี ชว่ ยกันเกยี่ วชว่ ยกันเก็บ ชีวิตโดยเฉพาะความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง คณะครูจึง
ด�ำเนินการวางรากฐานพัฒนาทักษะการคิดให้นักเรียน
ผ้ปู กครองชว่ ยสร้างศนู ยเ์ รียนรูใ้ นโรงเรยี น เพ่ือไปพัฒนากระบวนการเรียนรู้และอาชีพของตนให้ดีข้ึน
ด้วยโครงการรัฐราษฎร์อนุสรณ์ โรงเรียนแห่งโครงงาน
106 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ แบบบรู ณาการ ๑๐ ฐานการเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซึง่ มี
ครูปรียา เตี้ยมชุมพล เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ด้วยการ
สนับสนุนด้านงบประมาณจาก สสค.ที่มาสานต่อลมหายใจ
ของโครงการให้ยัง่ ยนื
การจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงานบรู ณาการ ๙
ฐานการเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ ประกอบดว้ ย ฐานปลกู
พืชผักสวนครัวโดยใช้ชีวภาพและระบบนิเวศในการก�ำจัด
แมลง ฐานน�้ำหมักชีวภาพ ฐานปุ๋ยเม็ด ฐานเล้ียงกบในบ่อ
เล้ียงปลาในนาข้าว ฐานปลูกข้าว สีข้าวกล้อง ฐานแปรรูป
และถนอมอาหาร ฐานเพาะเหด็ ฐานปลูกผกั พืน้ บา้ น และ
ฐานน�ำผลิตผลจ�ำหน่ายในราคาถูก ได้เร่ิมต้นขึ้น พร้อมกับ
ชวี ิตของนกั เรียนรฐั ราษฎรท์ งั้ ๒๓๔ คนที่เรม่ิ เปลย่ี นไป

หมู่บา้ นฉันสร้างสรรคต์ ามใจ

คร้ังแรกที่จัดท�ำโครงการได้จัดฐานการเรียนรู้เป็น
ห้องท้ังหมด ๙ ห้อง เม่ือจัดท�ำเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง
ปรากฏว่าเกิดปัญหา คือ พ่ีใหญ่ (นกั เรยี น ม.ปลาย) ทำ� ฐาน
ของตนเองได้ดีแต่ก็เกี่ยงกัน โดยหัวหน้าหรือเรียกอีกอย่าง
ว่า “คนใช”้ ต้องรับผดิ ชอบทำ� ทุกอยา่ ง ถา้ งานไม่เรยี บรอ้ ย
ครูประจ�ำช้ันก็บ่นกับหัวหน้าห้อง ส่วนน้องเล็ก (นักเรียน
ม.ต้น) ก็ทำ� งานไมเ่ ปน็ ทำ� ใหน้ กั เรยี นทะเลาะกนั หลงั จาก
เกิดปัญหามากมาย งบประมาณก็ใกลห้ มด คิดว่าโครงการ
คงตอ้ งจบแนๆ่

เล้ยี งไก่ไข่แบบปลอ่ ยและจดั ท�ำโครงงานเครื่องให้น้�ำไกอ่ ัตโนมัติ เราตอ้ งปรบั ตวั เรามีโอกาสแค่ครั้งเดยี วถา้ ถกู ประมูลไปดา่ นชา้ งแย่แน่เลย

ครแู กไ้ ขปญั หาเรอ่ื งเดก็ โดยคดิ วา่ ถา้ ใหเ้ ดก็ มบี ทบาท ฝึกทักษะชีวิตพสี่ อนนอ้ ง
และหน้าที่ในกิจกรรมอย่างเต็มท่ีและอ�ำนาจสิทธิขาดอยู่
ท่ีนักเรียนคงน่าจะท�ำให้งานดีข้ึน แต่ก็เกิดปัญหาอีกจนได้ ไปขออาศัยอยู่หมู่บ้านอื่น คนในหมู่บ้านและผู้น�ำหมู่บ้าน
เพราะไมม่ ีงบทำ� ตอ่ โชคดที ไ่ี ด้ข่าวดจี าก สสค. วา่ โครงการ ดา่ นชา้ ง รสู้ กึ รอ้ นอกรอ้ นใจกนั มาก เรม่ิ เกดิ สำ� นกึ รกั หมบู่ า้ น
ของเราไดร้ บั การอนมุ ัตทิ นุ สนบั สนุน ขอแกต้ วั
เมอ่ื วางแผนเรยี บรอ้ ย เรากใ็ หน้ กั เรยี นมบี ทบาทมากขนึ้ หลงั จากนน้ั หมบู่ า้ นดา่ นชา้ งกเ็ ปน็ หมบู่ า้ นทข่ี ยนั และ
โดยก�ำหนดให้เขาจัดกิจกรรม แยกตามหมู่บ้านที่เขาอาศัย ทำ� งานสำ� เรจ็ โดยเปน็ หมบู่ า้ นแรกทส่ี ามารถสรา้ งนวตั กรรม
อยู่ในชีวิตจริง ๙ หมู่บ้าน ของต�ำบลบึงปลาทู คละชั้นปี ในหมู่บ้านของตน น่ันคือ เคร่ืองให้อาหารไก่ระบบส่ัน
การศึกษา ไม่สนใจวา่ เด็กในหมบู่ ้านจะมากหรอื นอ้ ย สะเทือนอัตโนมัติ (โดยการจิกของไก่) และเครื่องให้น�้ำไก่
เมอ่ื แยกเสรจ็ กม็ กี ารเลอื กตงั้ กำ� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น ผชู้ ว่ ย ประหยัดแรงงาน (จากการท่ีหมู่บ้านในชีวิตจริงของเด็กอยู่
ผู้ใหญ่บ้าน เพ่ือให้สมจริงในสถานการณ์จ�ำลอง และมีการ ไกลโรงเรยี น จงึ ทำ� ใหไ้ มอ่ ยากมาใหอ้ าหารไก่ เปด็ ในวนั เสาร-์
เลือกตัง้ นายก อบต. สมาชิก อบต. เลือกตั้งเสรจ็ กใ็ หผ้ ู้น�ำ อาทติ ย)์ ทำ� ใหห้ มบู่ า้ นอนื่ ๆ ตอ้ งปรบั และเรง่ สรา้ งนวตั กรรม
แต่ละหมู่บ้านช่วยกันวางงานให้เหมาะสมกับแต่ละหมู่บ้าน ในหมูบ่ า้ นของตนเองตามมา
ทั้ง ๑๐ หมู่บ้าน อ้อ! หมบู่ ้านที่ ๑๐ ท่ีเพิม่ ขึน้ คือ “หมู่บา้ น ประสบการณ์ของหมู่บ้านด่านซ้าย จึงแสดงให้เห็น
ตา่ งจงั หวดั ” ทนี่ กั เรยี นตงั้ ขน้ึ เอง เพราะพวกเขาเปน็ เดก็ ทม่ี า วา่ เดก็ รกั ชมุ ชนของตนมากขนึ้ สรา้ งความสามคั คใี นหมบู่ า้ น
จากจงั หวัดอื่นนอกนครสวรรค์ รถู้ งึ หนา้ ทข่ี องตนและมคี วามรบั ผดิ ชอบสงู ขนึ้ อกี ทง้ั ยงั เปน็
เมอื่ ตงั้ หมบู่ า้ นเรยี บรอ้ ยแลว้ คนในหมบู่ า้ นกค็ ดิ ตอ่ วา่ แรงขบั ดันหมู่บา้ นอื่นๆ ใหเ้ รง่ พัฒนาหม่บู ้านตนเองขน้ึ ด้วย
หมบู่ า้ นของเราจะทำ� อะไร บางหมบู่ า้ นปลกู ขา้ ว บางหมบู่ า้ น
เล้ยี งไก่ บางหมู่บ้านก็ปลกู ผกั สวนครวั หรือทำ� ป๋ยุ หมกั ซงึ่ ยอดผักแข่งกันยาว หมบู่ ้านคลองยาง ไม้เลือ้ ย
อาจารย์ก็เชิญปราชญ์ชาวบ้านมาให้ความรู้เด็กๆ ในเร่ืองที่
เขาตอ้ งการ โรงเรียนรัฐราษฎร์อนุสรณ์ มีพื้นท่ีลักษณะค่อนข้าง
หลงั จากนน้ั แตล่ ะหมบู่ า้ นกต็ งั้ ปราชญป์ ระจำ� หมบู่ า้ น ตำ่� อยแู่ ปลงหนง่ึ เวลาฝนตกมาทไี รนำ้� กจ็ ะขงั ตลอด แตท่ วา่ มี
ทำ� หนา้ ทคี่ อยพดู คยุ กบั คนหมบู่ า้ นอน่ื ทมี่ าขอความรู้ หรอื คน นกั เรยี นกลมุ่ หนง่ึ มสี มาชกิ ทง้ั หมด ๒๕ คน คดิ มาตงั้ หมบู่ า้ น
ภายนอกทมี่ าดงู าน เพราะเดก็ ทนี่ พ่ี ดู ไมเ่ กง่ ชอบทำ� งานและ
ยังขดั เขินอย่มู าก เด็กทกุ คนท�ำหนา้ ทไี่ ดต้ ามบทบาทหนา้ ที่
มีปัญหาก็ช่วยกันแก้ไข ท�ำให้เกิดทักษะชีวิตในสถานการณ์
จ�ำลอง และเกิดโครงงานในการแกไ้ ขปัญหาซ่งึ ท้าทายมาก

หมู่บ้านด่านช้างจะถูกประมูล

หมู่บ้านด่านช้างเป็นหมู่บ้านท่ีเด็กไม่ค่อยเอาใจใส่
กิจกรรมในหมู่บา้ นของตนเอง (กิจกรรมท่ีวา่ คือ เลย้ี งไก่ไข่
เลี้ยงเป็ดไข่) ท�ำให้เดือดร้อนหมู่บ้านอ่ืนๆ ต้องช่วยกันมา
ดูแล จึงมีประชุมลงมติกันว่าจะขายหมู่บ้านด่านช้างทอด
ตลาด โดยมีการประมูลในแต่ละหมู่บ้าน และสมาชิกต้อง

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 107

ลูกใหญส่ ุดตอ้ งประมลู กลว้ ยไม่มพี นั แตต่ �ำลงึ พนั ต้นกล้วย

เพ่ือใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจ น�ำไปสู่การตอ่ ยอดความคดิ พัฒนาชุมชนในชีวิตจริงของเขา
พอเพยี งบนทีแ่ ปลงน้ี ก็เปน็ ได้
สมาชกิ ทงั้ หมดรวมหวั กนั คดิ ไดว้ า่ จะท�ำฐานเศรษฐกจิ
พอเพียง เป็นหมู่บ้านไม้เลื้อย ปลูกฟักทอง ถ่ัวฝักยาว พชื ผักพัน(ธ์ุ)อะไร
ฟกั เขยี ว และตน้ ดอกสลดิ หลงั จากนนั้ ทกุ คนภายในหมบู่ า้ น
ก็ช่วยกันลงมือปลูกไม้เลื้อยตามความคิด แต่พอปลูกไปได้ ครง้ั หนง่ึ โรงเรยี นเราไดร้ บั การประเมนิ เรอ่ื งเศรษฐกจิ
ระยะหน่ึงก็เจอเหตุการณ์ท่ีไม่คาดคิด คือ เม่ือฝนตกก็เกิด พอเพยี ง คณะกรรมการถามว่า “ฟกั ทองมพี ันธ์ุอะไรบ้าง”
น้�ำท่วมในแปลงผักที่ปลูก ตามสภาพท่ีเป็นพื้นท่ีลุ่มต�่ำกว่า นักเรียนตอบ “ผมไม่ทราบเหมือนกันว่าฟักทองมัน
บรเิ วณอน่ื พันอะไรบ้าง แต่ที่รู้ๆ ผมว่ามันต้องพันร้านแน่นอนเพราะ
สมาชิกในหมู่บ้านจึงรวมตัวคิดกันใหม่ว่าจะท�ำ ผมทำ� รา้ นไว้ให้มันเรียบรอ้ ยแล้วครบั ”
อยา่ งไร จนในทส่ี ดุ กต็ กลงกนั วา่ ขดุ บอ่ เลย้ี งปลา เพอื่ ดกั ไมใ่ ห้ จากน้ันกรรมการชุดเดิมก็มาที่ฐานปลูกกล้วยแล้ว
นำ�้ ทว่ มมายงั แปลงผกั ลกู บา้ นจงึ ลงมอื ชว่ ยกนั ขดุ บอ่ และนำ� ถามวา่ กลว้ ยทปี่ ลกู ไวเ้ นย่ี พนั ธอ์ุ ะไร นกั เรยี นตอบ “ผมไมเ่ คย
ปลาดุกมาเลี้ยงอกี ๒๐๐ ตัว ผลปรากฏวา่ ได้ประโยชนจ์ รงิ เหน็ ตน้ กล้วยพนั อะไรเลยครับ มนั อย่ขู องมนั เฉยๆ มีแตเ่ ถา
ฟกั ทองกเ็ ลอ้ื ยข้นึ ในร้านทท่ี ำ� ไว้ ฟักเขยี วก็เลอื้ ยแซงฟักทอง ต�ำลึงนแี่ หละครบั ทีม่ าพนั มนั ”
ส่วนถ่ัวฝักยาวก็ไม่น้อยหน้าเลื้อยแซงหน้าเป็นผู้น�ำเลย สุดทา้ ยแล้ว บางครั้งเราอย่าไปรู้เลยวา่ พชื ผกั ท่ีปลกู
แตส่ ดุ ทา้ ยเจอตน้ ดอกสลดิ เลอ้ื ยพนั รวั้ ขา้ งหมบู่ า้ น ดอกสลดิ มนั มกี สี่ ายพนั ธ์ุ ขอเพยี งใหน้ กั เรยี นรจู้ กั ปลกู ไวก้ นิ ตามสภาพ
ออกดอกสเี หลืองทองสวยงามอรา่ มตาจัง จนสุดทา้ ยจรงิ ๆ ดนิ และอากาศของทอ้ งถนิ่ กน็ า่ จะเพยี งพอแลว้ สำ� หรบั ความ
ลกู ฟกั ทอง ลูกฟกั เขียว ถัว่ ฝักยาว และตน้ ดอกสลดิ แข่งกนั พอเพียง
ออกทงั้ ลกู ออกทงั้ ดอก เกบ็ กนิ ไดท้ กุ สว่ น ขายไดท้ กุ อยา่ งนำ� รัฐราษฎร์อนุสรณ์จึงเป็นอีกหน่ึงตัวอย่างของ
ผลกำ� ไรมาสหู่ มบู่ า้ นไมเ้ ลอ้ื ย โดยไมต่ อ้ งลงทนุ อะไรมากมาย นวัตกรรมสร้างสรรค์ด้านส่งเสริมทักษะชีวิตท่ีปรับให้
สอดรับกับบริบทของเดก็ ๆ ในชุมชน

แมเ้ วลากจิ กรรมสปั ดาหล์ ะ ๒ ชวั่ โมง จะไมม่ ากไมม่ าย เคลด็ ลับความส�ำเรจ็
หากแต่การร่วมแรงร่วมใจของเด็ก ไม่ว่าใครว่างก็จะ เปิดโอกาสให้เด็กคิด สร้างสรรค์พัฒนาศักยภาพ
แวะเวยี นมาดูหมู่บา้ น ถอนหญ้า ให้อาหารปลาเล็กๆ น้อยๆ ด้วยตนเอง
บวกความสนุกที่ได้เรียนรู้ ความรู้สึกเป็นเจ้าข้าวเจ้าของ
ชมุ ชนเลก็ ๆ ในโรงเรยี น ลว้ นทำ� ใหเ้ ขาเกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์
ความสามัคคี อยากพัฒนาหมู่บ้านให้ดี ซ่ึงส่ิงเหล่านี้อาจ

108 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

พัฒนาทักษะชีวิตสร้างอปุ นิสยั พอเพียง

โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ตาก ตาก

ทกุ วนั ศกุ ร์ ท่โี รงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหต์ าก นักเรยี นจะสดใสอยู่ในชดุ ประจำ� เผ่าของตนเอง
ทงั้ มง้ กะเหร่ียง ลซี อ มูเซอ เยา้ อาขา่ เดก็ ๆ นักเรียนชนเผา่ เหล่านี้มีถงึ รอ้ ยละ ๘๐ ของนักเรียน
เกอื บ ๑.๐๐๐ คน แมจ้ ะมที ม่ี าแตกตา่ งหลากหลาย บา้ งกย็ ากจน บา้ งกถ็ กู ทำ� รา้ ยทารณุ ถกู ทอดทง้ิ
แตท่ ุกคนล้วนแล้วแต่เป็นเดก็ ด้อยโอกาสทางการศึกษา

นอกจากฝึกความรับผิดชอบดูแลตนเองให้ได้แล้ว
การจัดให้อยู่ในเรือนนอนแบบคละชนเผ่ายังเป็นการจัดให้
นักเรียนได้เรียนรู้ท่ีจะอยู่ร่วมกัน เคารพและยอมรับความ
แตกต่างทางภาษา วัฒนธรรม เกิดความสามัคคีและเข้าใจ
กันมากขึ้น คืออีกหน่ึงในทักษะชีวิตท่ีโรงเรียนพยายาม
หล่อหลอมให้กับนักเรียน เพ่ราะนอกจากทักษะวิชาการ
แล้ว โจทย์ส�ำคัญของครูท่ีน่ีคือการบ่มเพาะทักษะชีวิตด้าน
ต่างๆ ให้เกิดขึ้นในตัวเด็ก เพื่อเป็นกุญแจที่จะช่วยให้พวก
เขาสามารถกา้ วไปสสู่ ังคมภายนอกได้อยา่ งมั่นคง

บ้านหลังที่สองของเด็กๆ ตน้ ทุนจากโรงเรยี น

ภารกจิ หลกั ของโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหต์ าก คอื การ “เม่อื ส�ำเร็จการศกึ ษาแลว้ เขานา่ จะกลบั ไปสทู่ อ้ งถนิ่
จัดการศึกษาให้แก่เด็กด้อยโอกาส ๑๐ ประเภท โรงเรียน เขา เพราะฉะน้ันเราต้องจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับวิถี
ประจ�ำแห่งน้ีจึงเป็นท้ังโรงเรียนและบ้านหลังที่สองให้กับ ชีวิตเขามากท่ีสุด” อ.สมศักด์ิ แสงประเสริฐ ผอ.โรงเรียน
นกั เรยี นทุกคน ทใ่ี หท้ ้ังวชิ าการ ความรกั ความอบอ่นุ ตลอด กลา่ วถึงจุดหมายของการศึกษาทนี่ ี่
ไปจนถึงทอ่ี ยู่ เสื้อผ้า อาหาร ๓ มอื้ รวมไปถงึ ของใช้ส่วนตวั “โอกาสทเี่ ขาจะศกึ ษาตอ่ ถา้ เขาไมม่ ที นุ เขากไ็ ปไมไ่ ด้
ทุกชิน้ ฉะนนั้ เราจะเนน้ สง่ เสรมิ อาชพี ใหก้ ับเขา” ครนู ยิ ม อย่รู ัมย์
“ทน่ี เ่ี หมอื นเปน็ ครอบครวั ใหญค่ รอบครวั หนง่ึ นะคะ กลา่ วถงึ แนวทางในการส่งตอ่ ลกู ศิษย์ให้ถงึ ฝ่งั ฝนั
เราก็พยายามปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ในเร่ืองมารยาท การฝึกฝนฐานอาชีพอย่างหลากหลายให้นักเรียนได้
ในเร่ืองความมีระเบียบวินัย การกินอยู่หลับนอน เราจะ ฝึกอาชีพตามความสนใจจึงเป็นส่ิงท่ีโรงเรียนด�ำเนินการมา
เพาะบม่ นสิ ยั พยายามใกลช้ ดิ เขา ดแู ลเขาเหมอื นลกู เพอื่ นๆ โดยตลอด นีค่ ือทุนดีของศึกษาสงเคราะหต์ ากท่ีมีอยู่แตเ่ ดมิ
ในหอ้ งหรอื ในกลมุ่ หอนอนกจ็ ะเหมอื นพน่ี อ้ งดแู ลกนั เอาใจใส่ “นอกจากจะมีความรู้แล้วต้องอยู่บนพ้ืนฐานหรือ
ซง่ึ กนั และกัน” อ.ทักษิณา ทองญวน รอง ผอ.ฝา่ ยบริหาร เงื่อนไขของคุณธรรม และเชื่อว่าหลักของความพอเพียง
งานท่ัวไป บอกเล่าถึงส่ิงท่ีทางโรงเรียนพยายามสร้างให้กับ เขาจะไม่ฟุ้งเฟ้อ เขาจะต้องใช้หลักคิดทุกครั้งในการด�ำเนิน
ลูกศิษยผ์ ไู้ กลพอ่ หา่ งแม่ ชวี ติ เมอื่ เขาจบออกไปแลว้ เขากจ็ ะไดเ้ ตบิ โตในสงั คม แตเ่ รา
เลอื กสงั คมไมไ่ ด้ เราคงจะตอ้ งพฒั นาหลอ่ หลอมทต่ี วั ของเขา
เองมากกวา่ เพอื่ ปรบั ตวั เขา้ กบั สงั คมนน้ั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ”
อ.นงค์นุช อดุ กันทา ผูร้ บั ผิดชอบโครงการกลา่ ว

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ 109

ท้ังหมดนี้คือท่ีมาของโครงการพัฒนาทักษะชีวิต เปน็ แหลง่ จำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑฝ์ มี อื นกั เรยี นและเครอื่ งอปุ โภค
สรา้ งอปุ นสิ ยั พอเพยี ง ทไี่ ดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ จาก สสค.เพอ่ื ให้ บริโภคชนิดต่างๆ คือห้องเรียนจากประสบการณ์จริงท่ี
เดก็ ๆ สามารถพฒั นาตนเองทงั้ ภายนอกและภายในไดอ้ ยา่ ง นักเรียนจะได้เรียนรู้การวางแผน เช็คสต็อกสินค้า การจัด
สมดลุ เมอื่ ไดร้ บั ทนุ โรงเรยี นนำ� มาปรบั ปรงุ ฐานการเรยี นรทู้ ม่ี ี ตกแต่งรา้ น รวมถงึ การบริการท่ดี ตี อ่ ลูกคา้ ให้กับนกั เรียน
อยใู่ หเ้ ปน็ ระบบมากขนึ้ มกี ารพฒั นาครโู ดยเชญิ วทิ ยากรทม่ี ี ช่างตัดผมทั้งชายหญิงคืออีกหน่ึงอาชีพที่เด็กๆ จะ
ความรคู้ วามสามารถมาจดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งเขม้ ขน้ ได้ฝึกฝนหากมีความสนใจ เพราะโรงเรียนเปิดร้านใกล้ๆ
จากน้ันครจู ะน�ำความรู้มาสู่เดก็ ๆ ผ่านการจัดคา่ ยฝึกอบรม รา้ นกอไผ่ไว้ใหบ้ ริการเพ่ือนนักเรยี นดว้ ยกัน
นักเรยี นแกนนำ� พลังพอเพยี ง ส�ำหรับเด็กท่ีมีใจรักด้านการตัดเย็บเส้ือผ้า ห้องตัด
โดยมีเป้าหมายให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในเร่ือง เยบ็ ของทางโรงเรยี นกม็ อี ปุ กรณแ์ ละครผู สู้ อนอยพู่ รอ้ มสรรพ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถน�ำไปใช้ในชีวิต เม่ือเดก็ ๆ ฝกึ จนช�ำนาญ โรงเรยี นก็จัดชน้ิ งานไปจ�ำหนายท่ี
ประจำ� วนั และสามารถเปน็ ผบู้ รรยายถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ น รา้ นคา้ ของโรงเรยี น เพอ่ื เปน็ รายไดข้ องแตล่ ะคน ชดุ นกั เรยี น
ศูนย์การเรยี นรู้ทง้ั ๕ ศูนย์ ใหแ้ ก่เพ่ือนหรือผ้สู นใจได้ ทที่ างโรงเรยี นแจกฟรใี หก้ บั นกั เรยี นทง้ั โรงเรยี นกเ็ ปน็ อกี งาน
สงั่ ตดั ทมี่ มี าประจำ� ทกุ ปี เดก็ ๆ หลายคนมาเยบ็ ผา้ ในชว่ งเยน็
๕ ศูนยก์ ารเรียนรู้ เตรียมพร้อมส่โู ลกกว้าง และวันหยุด สามารถสร้างรายได้ส่งตัวเองเรียนโดยไม่ต้อง
รบกวนเงินจากทางบ้าน เป็นอีกหน่ึงความภาคภูมิใจและ
การเรียนรู้ของครูและค�ำแนะน�ำจากที่ปรึกษา สรา้ งชอ่ งทางอาชีพในอนาคตใหก้ ับเดก็ ๆ
โครงการอย่างมหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำแพงเพชร ท�ำให้เกิด นอกจากทักษะอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้แล้ว ยัง
การจัดระบบใหม่ของฐานการเรียนรู้ทั้ง ๑๙ ฐานท่ีมีอยู่ มีทักษะชีวิตอีกหลายด้านที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับการใช้
อยา่ งกระจัดกระจายให้เป็นหมวดหมู่มากข้ึน กลายเป็น ๕ ชีวิตภายนอก ซ่ึงเด็กๆ ได้เรียนรู้จากศูนย์การเรียนรู้ต่างๆ
ศนู ย์การเรยี นรใู้ หญ่ คอื ศูนยก์ ารเรียนร้อู าชพี เพ่ือการมงี าน อย่างศูนย์การเรียนรู้หอนอนพอเพียงช่วยฝึกทักษะการ
ท�ำ ศูนย์การเรียนรู้หอนอนพอเพียง ศูนย์การเรียนรู้ศิลป ด�ำรงชีวิตและการอยู่ร่วมกัน กล่อมเกลาจิตใจให้เกิดความ
วฒั นธรรมท้องถิ่น ศูนย์การเรียนรู้เพ่มิ พูนปญั ญา และศนู ย์ รกั ความอบอนุ่
การเรียนรู้ชีววิถีพอเพียง ช่วยให้ครูท�ำงานอย่างเป็นระบบ ศนู ยก์ ารเรยี นรศู้ ลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ แหลง่ ศกึ ษา
และงา่ ยขนึ้ เด็กๆ ไดเ้ รียนรู้มากขนึ้ วิถีชีวิตและอัตลักษณ์ชนเผ่า ท�ำให้นักเรียนเห็นคุณค่าและ
ศูนย์การเรียนรู้อาชีพเพื่อการมีงานท�ำ ประกอบ ภาคภมู ิใจในรากเหงา้ ของตนเอง
ด้วยฐานงานอาชพี ตา่ งๆ มากมาย เดก็ ๆ จะไดฝ้ กึ ทกั ษะการ ศูนย์การเรียนรู้เพ่ิมพูนปัญญา ให้บริการทางด้าน
ทำ� งานทต่ี อ้ งลงมอื ทำ� จรงิ ทกุ ขน้ั ตอนและสรา้ งรายไดไ้ ดจ้ รงิ วิชาการ มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และส่ือทันสมัย มุ่งพัฒนา
ไมว่ า่ จะเปน็ การทำ� อฐิ บลอ็ กประสาน สนิ คา้ ขายดที มี่ ยี อดสงั่ ศักยภาพดา้ นการเรียนรู้ของนักเรียนให้เพ่ิมพนู ย่ิงข้ึน
จากลกู คา้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โรงสขี า้ วทเี่ ปดิ สที กุ วนั เพอ่ื นำ� ขา้ วมา ศนู ยก์ ารเรยี นรชู้ วี วถิ พี อเพยี ง บม่ เพาะการทำ� อยทู่ ำ�
เป็นอาหารกลางวันในโรงเรยี น และเด็กๆ จะไดค้ ่าแรงเป็น กินให้กบั เด็ก สร้างอาหารท่ปี ลอดภยั ใหแ้ ก่ตนเองเน่ืองจาก
รายได้ประจ�ำ เปน็ แหล่งวตั ถดุ ิบของอาหารกลางวนั ภายในโรงเรยี น
สำ� หรบั อาชพี ทหี่ นกั และเหนอ่ื ยอยา่ งชา่ งเชอื่ มเหลก็ ที่ศูนย์แห่งนี้ เด็กจะได้เรียนรู้ด้วยการลงมือท�ำทุก
เดก็ ๆ กส็ ามารถฝกึ ฝนจนช�ำนาญเปน็ งานทหี่ ลอ่ หลอมความ ขน้ั ตอนทำ� ใหไ้ ดท้ ง้ั ทกั ษะอาชพี และไดฝ้ กึ ความขยนั รบั ผดิ ชอบ
อุตสาหะพยายามให้กับพวกเรา โดยมีครูคอยดูแลเอาใจใส่ อดทน จนเกดิ เปน็ ฉนั ทะในการทำ� งาน เปน็ วชิ าชพี ทจี่ ะตดิ ตวั
อย่างใกลช้ ิด พวกเขาไปตลอด
ขณะทร่ี ้านคา้ กอไผ่ รา้ นค้าทที่ างโรงเรียนตั้งขึน้ เพอ่ื

110 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

“เป็นความรู้อีกแบบหน่ึง เพราะว่าที่น่ีเขาสอน ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันของเขา“ ครูบังอร จันทร์ชุ่ม ย้�ำถึง
หลายๆ อยา่ ง เรากศ็ กึ ษาแลว้ ไปพฒั นาท่ีบา้ นครับ” จุดม่งุ หมายของการฝกึ ฝน
“เราไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ กรงุ เทพฯ เราสามารถทำ� แปลง “สิ่งที่หนูได้เรียนรู้มากๆ คือ การท�ำงานไม่ใช่สิ่งที่
ผัก หรอื ท�ำ EM ท�ำปยุ๋ หมกั ขายได้ครบั ผมคิดว่าในอนาคต ท�ำให้เราเหนื่อย แต่เป็นส่ิงที่ฝึกให้เราเป็นคนดี มีความ
คงมสี ักครัง้ หน่งึ ทผ่ี มตอ้ งไปใชช้ ีวิตอยา่ งน้คี รบั ” รับผิดชอบในหน้าท่ีของตนเองมากกว่าคะ่ ”
เปน็ ตวั อยา่ งแนวทางการนำ� ไปใชใ้ นภายภาคหนา้ จาก “หาประสบการณใ์ หเ้ ยอะๆ คะ่ ถา้ เราไปอยภู่ ายนอก
นกั เรยี นหน่มุ ๒ คน แลว้ เรากจ็ ะไดเ้ อาตวั รอดได้ ถา้ เรามคี วามหนกั แนน่ ในตวั เอง
นอกจากการฝึกในศูนย์การเรยี นรแู้ ลว้ ส�ำหรบั ใครที่ จรงิ ๆ อยู่ไดอ้ ยู่แล้วค่ะ”
ใฝฝ่ นั อยากเปน็ พอ่ คา้ แมค่ า้ มอื อาชพี ในอนาคตทางโรงเรยี น คือเสียงตอบรับจากนักเรียนถึงสิ่งท่ีเขาได้เรียนรู้
ก็มีตลาดในชีวิตจริงให้ได้ฝึกฝนกันทุกวันเสาร์ ที่ตลาดนัด จนเกดิ ความม่ันใจในศักยภาพของตน พน้ ไปจากคนดอ้ ย
เทศบาลเมืองตาก เด็กๆ จะน�ำผลผลิตและผลิตภัณฑ์ฝีมือ โอกาส เพราะสามารถสร้างโอกาส สร้างอนาคตให้กับ
นกั เรยี นมาตง้ั รา้ นจำ� หนา่ ย นอกจากการวางแผนและแบง่ งาน ตนเอง ด้วยเมล็ดพันธุ์แห่งความรู้ที่ครูค่อยๆ บ่มเพาะ
อย่างเป็นระบบแล้ว เด็กๆ ยังได้เรียนรู้เทคนิคการค้าขาย เพอื่ วนั หนง่ึ ขา้ งหนา้ ทกั ษะชวี ติ ทคี่ อ่ ยๆ งอกเงยขนึ้ เหลา่ นี้
ทุกรูปแบบ จะชว่ ยใหพ้ วกเขาสามารถเอาตวั รอดและอยรู่ อดในสงั คม
ปา้ ย “โครงการสง่ เสรมิ การสรา้ งรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น ได้อยา่ งมีความสขุ
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ตาก” เรียกความสนใจจากลูกค้า
หลายคนใหแ้ วะเวยี นมาอดุ หนนุ สรา้ งรอยยมิ้ จากความภาค เคล็ดลบั ความส�ำเร็จ
ภูมใิ จให้กับเด็กๆ จิตวิญญาณความเป็นครูท่ีมุ่งส่งศิษย์ให้
ถึงฝั่งฝันของความส�ำเร็จ และการหลอมใจเป็น
ความในใจของครแู ละลกู ศษิ ย์ หนึ่งเดียว

“คิดว่าเงินรายได้ท่ีเด็กได้ มันไม่ส�ำคัญเท่ากับ
ประสบการณ์ท่ีเด็กได้รับ เราเตรียมเป็นพ้ืนฐานให้เขา ถึง
แม้ว่าเขาจะได้เรียนต่อหรือไม่ก็ตาม ก็จะได้ทักษะตรงนี้

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 111

หอ้ งเรยี นธรรมชาติสรา้ งสรรค์ทักษะชีวติ

โรงเรียนสตรีสิริเกศ ศรสี ะเกษ

“เรามีสัญญาใจร่วมกนั ว่า ถา้ ท�ำอะไรก็จะท�ำร่วมกัน”
คอื คำ� มนั่ ของเครอื ขา่ ยศนู ยส์ ง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ เครอื ขา่ ยทผี่ นกึ กำ� ลงั กนั ถงึ ๑๓
โรงเรียน ได้ท�ำงานบ่มเพาะความเป็นพลังเครือข่ายและจิตอาสาร่วมกันมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๔ นับแต่
โรงเรยี นสตรสี ริ เิ กศ หวั หนา้ กลมุ่ ไดร้ บั เลอื กเปน็ สถานทตี่ งั้ ของศนู ยส์ ง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ
ในคร้ังน้ีเม่ือมารวมตัวกันท�ำโครงการห้องเรียนธรรมชาติสร้างสรรค์ทักษะชีวิต โดยมี สสค.ให้การ
สนับสนุนจงึ เปน็ การขับเคล่อื นที่น่าสนใจยิ่ง

หลอมใจเป็นหนึง่ เดยี ว โครงการเร่ิมเดินหน้าด้วยการจัดประชุมเครือข่าย
ท้ัง ๑๓ โรงเรียน เพ่ือรับทราบข้อตกลงโครงการ พร้อม
๑๓ โรงเรียนในเครือข่ายศูนย์สิ่งแวดล้อมศึกษา ร่วมกันวางแผนคิดออกแบบกิจกรรมในโครงการฯ โดย
จงั หวดั ศรสี ะเกษ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นศรสี ะเกษวทิ ยาลยั โรงเรยี น แต่ละโรงเรียนจะคิดรูปแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้
ราชประชานเุ คราะห์ ๒๙ โรงเรยี นวัดหลวงวิทยา โรงเรียน สอดคล้องกับบริบท และขนาดของโรงเรียนด้วยกิจกรรม
รวมสินวิทยา โรงเรียนวัดมหาพุทธาราม โรงเรียนเทศบาล ดา้ นสิ่งแวดล้อมตามแนวถนัด
๑ วัดเจยี งอี โรงเรียนเทศบาล ๒ รัชมงั คลานุสรณ์ โรงเรยี น “ข้ันแรกแต่ละโรงเรียนจะคิดโครงงานที่อยากท�ำมา
ศรสี ะเกษวทิ ยาลยั ๒ หว้ ยคลา้ โรงเรยี นสวสั ดวี ทิ ยา โรงเรยี น เสนอ ทำ� นเิ ทศกนั มผี รู้ เู้ ปน็ ปราชญภ์ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ มาชว่ ย
มารวี ทิ ยา โรงเรยี นอนบุ าลวดั พระโต โรงเรยี นสตรศี รสี ะเกศ วางแผนงานด้วย อย่างของโรงเรียนสตรีสิริเกศมีกิจกรรม
และโรงเรยี นสตรสี ริ เิ กศ ขนาดเลก็ บา้ งใหญบ่ า้ งแตกตา่ งกนั ไป หลัก คือ ท�ำน้�ำหมักชีวภาพ เพ่ือน�ำไปใช้ท้ังในโรงเรียน
บางแห่งก็เป็นโรงเรียนขยายโอกาส แต่ที่เหมือนกันคือทุก และทบ่ี า้ น การคัดแยกขยะรีไซเคิล แลว้ ขายแบง่ ปันรายได้
โรงเรยี นมีชั้นมธั ยมศกึ ษา แบบธนาคารขยะ กิจกรรมสวนครัวร้ัวกินได้ โดยปลูกผัก

112 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

ปลูกปา่ ค่ายหอ้ งเรียนธรรมชาติ พฒั นาทักษะชวี ติ

สวนครัวแบบอนิ ทรยี ์ บางโรงเรียนเปน็ โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธกจ็ ัด ตลอด ๓ วัน ๒ คืน ภายในค่ายเยาวชนห้องเรียน
กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมพัฒนาทักษะชีวิต บางโรงเรียน ธรรมชาติสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะชีวิต ที่มีโรงเรียนราช
เป็นโรงเรียนขนาดเล็กและยากจนก็คิดโครงการปลูกผัก ประชานุเคราะห์ ๒๙ เอื้อเฟือ้ สถานที่ นกั เรยี นและครผู ้รู บั
สวนครวั เพอื่ เปน็ แหลง่ อาหารในโรงเรยี น” อ.สวุ คนธ์ รงุ้ แกว้ ผิดชอบโครงการทั้ง ๑๓ โรงเรียน ได้มาเรียนรู้เรื่อง
ผู้รับผิดชอบโครงการยกตวั อยา่ งในรายละเอยี ด ส่ิงแวดล้อมและทักษะชีวิตร่วมกัน ผ่านกิจกรรมที่คัดสรร
แมก้ ารคดิ ออกแบบกจิ กรรมในโครงการพฒั นาทกั ษะ ภายในคา่ ย อาทิเชน่ การบรรยาย “ทกั ษะชวี ิตดี ชวี ีมีสขุ ”
ชวี ติ ของแตล่ ะโรงเรยี นจะมคี วามหลากหลายแตกตา่ งกนั ไป “ใชช้ วี ติ พอเพยี งกบั การทำ� บญั ชรี บั -จา่ ยประจำ� วนั ” “เรยี นรู้
แต่สิ่งหน่ึงท่ีเหมือนกันคือต้องสามารถน�ำทุนทางสังคมที่ เร่อื งเพศศึกษาในวัยร่นุ ” “ตน้ ไมม้ ิตรแท้ของมนษุ ย์”ฯลฯ
แต่ละโรงเรียนมีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อโครงการมาก “แต่ละโรงเรียนจะคัดเลือกเด็กมาเอง ส�ำหรับ
ทสี่ ดุ และสามารถเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ของนกั เรยี นใหเ้ ปน็ ไป โรงเรียนเราเลือกเด็กท่ีมีปัญหา เรียนอ่อน ไม่ต้ังใจเรียน
ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการหอ้ งเรยี นธรรมชาตฯิ ได้ และ จากชั้นม.๓ ท่ีครูดูแล ครูเรียกว่าเขาว่า ‘เด็กหลังห้อง’
ที่ส�ำคัญคือการได้เรียนรู้ร่วมกันระหว่างครูและนักเรียน กับเด็กทีเ่ ป็นคณะกรรมการนักเรยี นมาก่อน เพราะเด็กหลงั
พร้อมทง้ั ไดแ้ ลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ะหวา่ งเครือขา่ ย หอ้ งจะคดิ ชา้ ความรบั ผดิ ชอบ และภาวะผนู้ ำ� บางอยา่ งยงั ไม่
มากพอ เราเลยตอ้ งเอาเดก็ ท่เี ป็นคณะกรรมการนักเรียนมา
2 in 1 ทส่ี ตรสี ิริเกศ ชว่ ยดึงกระต้นุ เขา”
จากนั้นแต่ละโรงเรียนก็จะเร่ิมท�ำกิจกรรมภายใน
ส�ำหรับที่สตรีสิริเกศเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ มี โรงเรียนของตวั เอง
นกั เรยี นตงั้ แตช่ นั้ ม.๑-๖ รวมถงึ ๓,๑๑๖ คน นกั เรยี นมคี วาม
หลากหลายทั้งกลุ่มเด็กที่มีความเป็นเลิศด้านวิชาการ และ กรณีศกึ ษา : โรงเรยี นสตรสี ิริเกศ ขยะมหาศาล
เดก็ หลงั หอ้ งทต่ี อ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ขดา้ นการเรยี นเปน็ จำ� นวนสงู เก็บเทา่ ไรกไ็ มห่ มด
ถึงร้อยละ ๒๐ ของจ�ำนวนนักเรียนทง้ั หมด ซงึ่ ทางโรงเรยี น
ได้ท�ำข้อตกลงไว้กับ สพฐ.ว่าจะต้องปรับให้เหลือไม่เกิน ด้วยความท่ีเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่มีคนจ�ำนวนมาก
ร้อยละ ๕ มาอยูร่ ว่ มกัน ปญั หาทต่ี ามมามากก็คอื “ขยะลน้ โรงเรยี น”
ทางโรงเรยี นไดม้ กี ารจดั ประชมุ ครปู ระจำ� ชน้ั ประจำ� ที่มากมายขนาดที่ว่าแม่บ้านเก็บขวดพลาสติกขายได้วันละ
วิชา และผู้เก่ียวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน มีมติให้ เปน็ พนั บาท กิจกรรมแรกทที่ �ำจงึ เปน็ ธนาคารขยะ รณรงค์
ข้ันแรกครูประจ�ำวิชาออกแบบให้นักเรียนสอบเพ่ือปรับ ให้เด็กทิ้งขยะให้ถูกที่ และคัดแยกเป็นขยะรีไซเคิลเพ่ือขาย
ผลการเรียน เชิญผู้ปกครองและนักเรียนมาประชุมร่วมกับ ให้แมค่ า้ รบั ซอื้ ของเก่า ส่วนเงนิ ที่ได้กจ็ ะเข้ากองทนุ ธนาคาร
ครูประจ�ำชนั้ และครูประจำ� วชิ า ขยะ เพอื่ เอาไปทำ� กจิ กรรมในโรงเรยี น แลว้ กแ็ บง่ ใหน้ กั เรยี น
ข้ันตอนต่อมาคือการพัฒนานักเรียนเหล่านี้ด้าน ท่ีเปน็ สมาชกิ ตอนปลายเทอม
ทกั ษะชวี ติ ดว้ ยกจิ กรรมคา่ ยหอ้ งเรยี นธรรมชาตพิ ฒั นาทกั ษะ “แรกๆ มปี ัญหาหลายอย่าง แม่บา้ นเคอื ง คิดว่าครู
ชวี ติ และจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต จะหาผลประโยชน์ แยง่ รายได้ ครบู างทา่ นกส็ งสยั วา่ จะทำ� ได้
โครงการห้องเรียนธรรมชาติ สร้างสรรค์ทักษะชีวิต จรงิ เหรอ เพราะยงั ไมเ่ คยทำ� โครงการขนาดใหญม่ ากอ่ น ตอ้ ง
ส�ำหรับที่นี่ จึงเป็นการผนวก ๒ เรื่องเข้าด้วยกัน คือการ ประสานความเข้าใจกันท้ังเด็กท้ังผู้ใหญ่พอสมควร ชักชวน
พฒั นาเดก็ หลังหอ้ งด้วยส่ิงแวดล้อม เดก็ ม.๓ ที่ครสู อนอยู่ให้เข้าโครงการ ท้ังขู่ ทง้ั ปลอบ เพราะ
เด็กรังเกียจไมอ่ ยากทำ� ”
เม่ือได้ลงมือเป็นผู้เก็บด้วยตนเองพฤติกรรมการ
ทิ้งขยะก็เปล่ียนไป เด็กๆ เร่ิมทิ้งขยะเป็นท่ีเป็นทาง รักษา
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนมากข้ึนด้วย ผอ.จึงให้ขยายจาก
นกั เรยี นกลุม่ แกนน�ำเปน็ ท�ำทัง้ โรงเรียน สว่ นรายไดจ้ ากการ
ขายขยะทปี่ ระกาศใหท้ กุ คนทราบถว้ นหนา้ กนั อยา่ งโปรง่ ใส
ทกุ สปั ดาห์ และแบง่ เอาไปทำ� กจิ กรรมสาธารณะประโยชนข์ อง
โรงเรียน เชน่ เป็นขวญั และก�ำลงั ใจใหก้ บั นักกีฬาโรงเรยี น

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 113

สวนครัวลอยฟ้า

พอท�ำได้ดีก็ไปออกร้านขายในงานต่างๆ วงละ ๖๐ บาท
ขายดีพอสมควร และมีคนส่ังให้ท�ำเพ่ิมด้วย เด็กๆ ภูมิใจ
ตระหนักถึงคณุ ค่าของตนเอง”
“อีกโรงเรียนท่ีครูประทับใจเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก
เขาเป็นโรงเรียนขยายโอกาส แล้วเด็กยังยากจนด้วย
เขาเลอื กทำ� โครงการปลกู ผกั สวนครวั ตามแนวทางเศรษฐกจิ
พอเพยี ง ผลทไ่ี ด้ คือ เด็กมีอาหารกลางวันเพ่ิมขนึ้ จากผักท่ี
เขาปลูก จากไข่ จากปลา ท่ีเขาเลี้ยง เวลาครูจากโรงเรียน
ต่างๆ ไปดูงานหรือมาเยี่ยมกันก็จะมีตะกร้าผัก ตะกร้าไข่
ผลผลติ ทเ่ี ขาปลกู ได้ เลย้ี งไดใ้ นโรงเรยี นเปน็ ของฝากกนั ดว้ ย”

กระถางยางรถยนตป์ ลกู ไม้ประดับ พลังเครือขา่ ย

นอกจากนั้นแล้วโครงการผักสวนครัวก็เป็นอีก จากการที่เครือข่ายร่วมกันวางแผนและวิเคราะห์
โครงการหนึ่งท่โี รงเรยี นทำ� ขึ้น ให้เด็กๆ ไดน้ ำ� ไปรบั ประทาน ความเหมาะสมของกิจกรรมในแต่ละโรงเรียน แลกเปล่ียน
และจำ� หนา่ ยใหค้ นภายนอก ซง่ึ ไดร้ าคาดไี มแ่ พโ้ ครงการขยะ องคค์ วามรแู้ ละผรู้ ซู้ งึ่ กนั และกนั จงึ เกดิ ผลทง่ี ดงามชวนชน่ื ใจ
รไี ซเคลิ เลยทเี ดยี ว พรอ้ มกบั เปน็ การปลกู ทกั ษะชวี ติ ความรบั โรงเรยี นเครอื ขา่ ยทง้ั ๑๓ โรงเรียนมีผลการด�ำเนนิ งานเรือ่ ง
ผดิ ชอบ และรักษส์ ง่ิ แวดล้อมให้กับเดก็ ไปในตัว เศรษฐกจิ พอเพยี งไดผ้ ลดเี หมอื นกันโดยมิได้นัดหมาย
พร้อมกับทักษะชีวิตท่ีเด็กทุกคนได้รับคือความเป็น
ผลส�ำเร็จของเครอื ขา่ ย คนมีน้ำ� ใจ ชว่ ยเหลอื กนั เหน็ คณุ ค่าของการประกอบอาชพี
พร้อมกันนั้นวันน้ีเด็กหลังห้องท่ีดึงมาร่วมกิจกรรมก็มี
ส�ำหรับโรงเรียนในเครือข่ายแห่งอื่น อาจารย์ได้ยก แนวโน้มพฤติกรรมทดี่ ีขน้ึ
ตวั อย่างโครงการคณุ ธรรมจริยธรรมพฒั นาทักษะชีวิต ของ หอ้ งเรยี นธรรมชาตทิ เ่ี ครอื ขา่ ยทง้ั ๑๓โรงเรยี นรว่ มกนั
โรงเรียนวัดหลวงวทิ ยา ซง่ึ เปน็ โรงเรียนวิถพี ทุ ธวา่ กจิ กรรม รงั สรรค์ จงึ เปน็ หอ้ งเรยี นทกั ษะชวี ติ ทยี่ งิ่ ใหญไ่ ปพรอ้ มๆ กนั
ของโรงเรียนนี้จะน�ำเร่ืองพุทธศาสนามาพัฒนาทักษะชีวิต
ทุกวันพระ ครแู ละนักเรียนจะแต่งชดุ ขาวมาโรงเรียน มีการ เคล็ดลบั ความส�ำเรจ็
ทำ� บญุ ตักบาตร และการปลูกฝังจรยิ ธรรมตา่ งๆ ซึ่งกไ็ ดผ้ ลดี เคล็ดลับความส�ำเร็จ : จริงใจ แบ่งปัน
เชน่ กนั ช่วยเหลอื กนั
“หรือโรงเรียนเทศบาล ๒ เขาให้ปราชญ์ชาวบ้าน
มาสอนเด็กท�ำกระถางต้นไม้จากยางรถยนต์ เด็กก็ลองท�ำ
ตอนแรกก็เพ่ือใช้ปลูกผักสวนครัวในโรงเรียน ตอนหลัง

114 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้

การวจิ ยั และพฒั นาสอ่ื การสอนทกั ษะการชว่ ยฟนื้ คนื ชพี

สำ�หรบั นักเรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม กรงุ เทพฯ

หากคุณพบกลุ่มคนเหล่านี้ คนจมน�้ำ คนถูกไฟฟ้าดูด คนขาดอากาศหายใจเพราะเพ่ิงหนี
ออกมาจากกองเพลงิ คนไขโ้ รคหวั ใจ หรอื กนิ ยาเกนิ ขนาด ในสภาพหวั ใจหยดุ เตน้ และหยดุ หายใจ
กระทันหัน คุณจะท�ำอยา่ งไร
ตามคนมาช่วย โทร.เรยี กรถพยาบาล...อาจจะไมท่ ันการณ์
กดทห่ี นา้ อก เปา่ ลมเขา้ ปาก...ถกู ตอ้ งแลว้ คะ่ นน่ั เพราะคณุ ทราบดวี า่ กชู้ พี ดว้ ยการนวดหวั ใจ
และ mouth to mouth จะช่วยตอ่ เวลาให้คนไขไ้ ดร้ ับความชว่ ยเหลือที่เต็มทตี่ ่อไป
๔ นาทีแรกของการหยดุ หายใจจงึ เป็นชว่ งเวลาเป็นเวลาตายทเี ดยี ว
แต.่ ..แน่ใจหรือคะว่าคุณจะท�ำได้ถูกวธิ ี

กชู้ ีพ...ทกั ษะทีต่ ้องฝกึ ฝน

“ความรู้คคู่ ณุ ธรรม” คือ ปรชั ญาของโรงเรียนสาธติ
จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ดงั นนั้ นอกจากการเรียนการสอน
ที่เน้นความเป็นเลิศด้านวิชาการ ทางโรงเรียนจึงให้ความ
สำ� คญั กบั การฝกึ ใหเ้ ดก็ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมควบคกู่ นั ไปดว้ ย
การกู้ชีพช่วยชีวิตคนถือว่าเป็นส่ิงส�ำคัญท่ีไม่ควรมองข้าม
หากแต่อุปกรณ์การสอนที่จ�ำกัด จึงท�ำให้ทักษะด้านน้ี
มจี �ำกดั ตามไปดว้ ย
จากประสบการณ์การสอนวิชาสุขศึกษาและสอน
เร่อื งทักษะการชว่ ยฟ้นื คนื ชีพในระดับ ม.ปลายมาเปน็ เวลา
๕ ปี ท�ำให้ อ.จารุวรรณ ตันจันทร์พงศ์ โรงเรียนสาธิต
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยมธั ยม เหน็ วา่ ในการฝกึ ทกั ษะ
การกู้ชีพมีส่ิงส�ำคัญท่ีควรพัฒนาอยู่ ๒ เร่ือง คือ สื่อ และ
รูปแบบการเรยี นการสอน

การกู้ชีพจะเป็นไปอย่างมั่นใจและได้ผลก็ต่อเม่ือได้
เรยี นรฝู้ กึ ฝนจนเกดิ เปน็ ทกั ษะตดิ ตวั ชนดิ ทว่ี า่ เหน็ ปบุ๊ ทำ� ไดป้ บ๊ั
ทักษะชีวิตมีมากมาย เชน่ วา่ ยน้ำ� ข่จี กั รยาน ขับรถ
แต่ส่วนใหญ่เป็นการฝึกเพื่อไว้ช่วยเหลือตัวเองให้พ้นจาก
ความเส่ียง แต่การกู้ชีพเป็นทักษะเดียวท่ีฝึกเพ่ือช่วยชีวิต
ผูอ้ ่ืน จงึ เปน็ ทกั ษะที่สง่ เสรมิ คุณธรรมความดีงามอกี ดว้ ย

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ 115

“ขาดสื่อการสอนขาดอุปกรณ์ให้เรียนรู้ หุ่นจ�ำลอง เด็กบางกลุ่มก็ใส่ตุ๊กตาที่เวลากดแล้วมีเสียงดังไว้ในอกหุ่น
ที่ต้องใช้ในการเรียนการสอนทักษะกู้ชีพมีราคาแพง หรือมี เมอื่ กดในระดบั ทพ่ี อเหมาะก็มีเสยี งดงั จากอก กถ็ อื วา่ ผา่ น”
เฉพาะในสถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานต่างๆ ซ่ึงน้อยมาก ถึงแม้ว่าหุ่นที่นักเรียนผลิตขึ้นอาจจะยังไม่ได้ตาม
เม่ือเทียบกับความต้องการ และถูกขอยืมจากหลายๆ มาตรฐานสากล หากแต่ความพยายามและความคิด
สถาบนั บางครงั้ เมอื่ ตดิ ตอ่ ขอยมื ไป จงึ ขาดแคลนไมส่ ามารถ สร้างสรรค์ของเด็กๆ ต่างหากท่ีเป็นสิ่งส�ำคัญท่ีใช้วัดผล
นำ� มาใช้ได้ ในครง้ั น้ี
อีกเร่ืองหนงึ่ คอื รูปแบบการเรยี นการสอนการเรยี น ท่ีส�ำคัญเม่ือนักเรียนผลิตและปรับแก้หุ่นจนพอใช้
เรื่องการกู้ชีพ จะเน้นให้นักเรียนฝึกฝนจนเกิดทักษะชีวิต เรยี นไดใ้ นระดบั หนง่ึ แลว้ จะตอ้ งทำ� คมู่ อื การสรา้ งหนุ่ จำ� ลอง
ตดิ ตัว ต้องใชร้ ปู แบบการสอนหลากหลาย และมที ฤษฎีการ เพอ่ื เปน็ แนวทางสำ� หรบั นอ้ งๆ รนุ่ ตอ่ ไป ใหน้ ำ� มาใชเ้ รยี นหรอื
เรยี นรทู้ พ่ี ฒั นาการเรยี นการสอนใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ ท�ำให้ ผลิตหุ่นในเบื้องต้นได้ เป็นการส่งต่อความรู้ให้รุ่นน้องได้ไป
การเรยี นการสอนมคี วามนา่ สนใจ งา่ ยตอ่ การจดจำ� และนำ� ไป พัฒนาต่อยอดตอ่ ไป
ปฏบิ ัติไดท้ ันทว่ งที” ไม่เฉพาะแตน่ ักเรยี นทต่ี ้องทำ� หนุ่ กูช้ ีพ และคมู่ อื การ
ทง้ั หมดจงึ เปน็ ทมี่ าของโครงการการวจิ ยั และพฒั นา สรา้ งหนุ่ อาจารยผ์ สู้ อนกต็ อ้ งออกแบบหนุ่ ทสี่ ามารถใชเ้ รยี น
ส่ือการสอนทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพส�ำหรับนักเรียน ก้ชู ีพได้ดว้ ย โดยมขี ึน้ ตอนการทำ� งานเหมือนเดก็ ๆ ทกุ อย่าง
มัธยมศึกษาตอนปลายท่ีทางโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ ตง้ั แตก่ ารออกแบบ ผลติ หนุ่ และรวมถงึ การทำ� คมู่ อื การผลติ
มหาวทิ ยาลยั จดั ทำ� ขน้ึ โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ จากสำ� นกั งาน หนุ่ และพเิ ศษสำ� หรบั อาจารยต์ อ้ งทำ� คมู่ อื การเรยี นการสอน
ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน เทคนิคกูช้ ีพทเ่ี หมาะสมอีกดว้ ย
(สสค.) เพอ่ื เป็นตน้ แบบแก่โรงเรียนอืน่ ตอ่ ไป “อาจารยต์ อ้ งทำ� หนุ่ ตน้ แบบขนึ้ ดว้ ย หนุ่ บางประเภท
นกั เรียนทำ� ไมส่ ำ� เรจ็ เราก็ต้องดวู ่าผิดพลาดตรงไหน หรอื จะ
หุ่นกูช้ พี หลากไอเดยี เด็ด จากเด็กสร้างสรรค์ ปรับปรุงให้ดขี ึ้นไดอ้ ย่างไร เช่น หนุ่ บางตวั กดตรงอกแลว้ ไฟ
ไมต่ ดิ เรากต็ อ้ งหาทปี่ รกึ ษาทม่ี คี วามรเู้ รอ่ื งการตอ่ วงจรไฟฟา้
การวางแผนออกแบบโครงการเริ่มขึ้นจากการ มาชว่ ย เรียกว่าลองผิดลองถูกไปด้วยกนั กับเดก็ เหมือนกนั ”
ร่วมแรงร่วมใจของคณาจารย์หลายท่าน เม่ือโจทย์คือการ
ขาดแคลนส่ือ และการค้นหาเทคนิควิธีการสอนท่ีก่อให้ คน้ หาการสอนท่ที �ำให้จดจ�ำ ท�ำได้จรงิ
เกดิ ทกั ษะตดิ ตัวน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้จริง โครงการนี้จึงไม่ใช่เพยี ง
การฝึกทักษะกู้ชพี ธรรมดา แตเ่ รมิ่ ตง้ั แต่ใหเ้ ดก็ ได้มสี ่วนรว่ ม กว่าจะมาเป็นคู่มือการเรียนการสอนเทคนิคกู้ชีพท่ี
คิดหาไอเดียทำ� สื่อในการเรยี นดว้ ยตนเอง โดยมนี ักเรยี นชั้น เหมาะสม ในขน้ั ตอนการสอน และฝึกทดลองใชห้ ่นุ จำ� ลอง
ม. ๖ เป็นกลุ่มเป้าหมายเนื่องจากโตพอท่ีจะเข้าใจเทคนิค ไดแ้ ยกเดก็ ออกเป็น ๒ กล่มุ คือสายวิทย์ และสายศลิ ป์ โดย
การก้ชู พี ได้ดใี นระดบั หน่ึง ใชท้ ฤษฎี และเทคนคิ การเรยี นการสอนในรปู แบบตา่ งๆ เพอ่ื
“เรามเี ดก็ ชน้ั ม.๖เจด็ หอ้ งหอ้ งละประมาณ๓๐-๓๕คน พัฒนาความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติในทักษะการช่วยฟื้น
เราจึงให้แต่ละห้องท�ำหุ่นเพ่ือใช้เรียนกู้ชีพ โดยก�ำหนดให้ คืนชีพของวิชาสุขศึกษา คือ ทักษะปฏิบัติของเดวีส์(แบ่ง
ท�ำหุ่นท่ีมีช่วงวัยแตกต่างกัน ๓ แบบ คือ หุ่นเด็กทารก เป็นทักษะย่อยๆ ฝึกแต่ละทักษะย่อยๆ ก่อนจะเช่ือมกลับ
หุ่นเด็ก ๘ ขวบขึ้นไป และหุ่นคนอ้วนหรือคนแก่ ซ่ึงเด็กๆ มาเปน็ ทกั ษะใหญ)่ , ทกั ษะปฏบิ ตั แิ บบสาธติ (ครทู ำ� ใหเ้ ดก็ ด)ู ,
ต้องออกแบบหุ่นให้ใช้ในการเรียนการสอนกู้ชีพได้จริง การสอนแบบศนู ย์การเรยี นรู้ (จดั เป็นศูนย์ให้เดก็ เขา้ เรยี นรู้)
คือ ถ้าเป็นหุ่นท่ีใช้กู้ชีพระบบหายใจ ก็ต้องออกแบบให้
‘เป่าปาก แล้วอกยก’ เด็กๆ ก็ต้องไปคิดวิธีมาว่าจะท�ำ
อยา่ งไร
เราได้เห็นไอเดียท่ีน่าสนใจของเด็กๆ บางกลุ่มใช้วิธี
ไปซ้ือหุ่นมาจากประตนู ำ�้ แล้วใช้มีดผ่าตรงอกใหเ้ ปน็ รู ใส่ถุง
พลาสติกหรอื ลูกโป่งไวใ้ นโพรงอก และต่อสายยางมาที่ปาก
หนุ่ เมอ่ื เปา่ ลมลงไป ถงุ พลาสตกิ กข็ ยาย เขา้ หลกั การเปา่ ปาก
แลว้ อกยกไดจ้ รงิ หรอื อกี กรณหี นงึ่ คอื ทำ� หนุ่ สำ� หรบั ปม๊ั หวั ใจ

116 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้

และการสอนแบบ Walk Rally (การเรยี นรเู้ ปน็ กลมุ่ ดว้ ยการ
คน้ พบ เน้นการท�ำงานเป็นทีม)
“ขั้นตอนนี้เป็นข้ันตอนการสอนตามทฤษฎีที่มีแตก
ตา่ งกัน แล้ววดั ผลวา่ วิธกี ารไหนใช้ในการเรยี นการสอนได้ดี
ปัญหาที่พบคือ เด็กๆ ไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการท�ำ
กิจกรรมกู้ชีพ บางคนถึงขนาดยอมให้ตัดคะแนนเพราะไม่
อยากเป่าปากหุ่น แม้เราจะขู่ตัดคะแนน หรือเช็ดปากหุ่น
ด้วยแอลกอฮอล์ให้ดูแล้ว ก็ยังไม่ยอมอยู่ดี สุดท้ายเราเลย
ต้องปรับวิธีการใหม่โดยให้เด็กเลือกว่าจะกู้ชีพด้วยการปั๊ม
หัวใจ หรอื เปา่ ปาก เดก็ ก็ให้ความร่วมมือมากข้ึน”
ความยดื หยนุ่ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลอื กดว้ ยตนเองจงึ เปน็ อกี หนงึ่
ทางออกทชี่ ่วยให้เดก็ ไดฝ้ ึกตามเป้าหมายการสอน และเดก็
ร่วมมอื ในการฝกึ ปฏิบัติดว้ ยดยี งิ่ ข้นึ เพราะหัวใจของการฝึก
ปฏบิ ตั คิ ือการลงมือทำ� จรงิ และท�ำด้วยใจไม่ใชก่ ารบงั คับ
“ถึงจะมีเด็กให้ความร่วมมือ ๘๐ เปอร์เซ็นต์จาก
๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ แล้วใน ๘๐ เปอร์เซ็นต์นั้น มี ๑-๒ คน
ที่สามารถกชู้ ีพคนอืน่ ได้ กถ็ อื เปน็ ความสำ� เร็จของเราแล้ว”

สิ่งทเ่ี งินซอื้ ไมไ่ ด้ กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ เกดิ จติ สาธารณะ มคี วามกลา้ ความมน่ั ใจ และ
การเหน็ ความสำ� คญั ของการชว่ ยชีวิตผู้อื่น”
องค์ความรู้จากโครงการนี้จะเผยแพร่สู่วงกว้างโดย เปน็ อกี หนงึ่ นวตั กรรมดา้ นทกั ษะชวี ติ ทย่ี งั่ ยนื สรา้ ง
การอบรมครู และผู้สนใจ บรรจุอยู่ในคู่มือการจัดท�ำหุ่น คณุ ธรรมแกผ่ ใู้ ห้และคุณประโยชนต์ อ่ ผรู้ บั สามารถน�ำไป
จ�ำลองทกั ษะการชว่ ยฟืน้ คืนชีพ อย่ใู นวีดิโอ ๒ เร่อื ง คอื เรอื่ ง ต่อยอดค้นหาวิธีการใหม่ๆ มาจัดกิจกรรมให้เหมาะสม
รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสามารถพัฒนาทักษะการช่วย กบั วยั และขยายผลสูโ่ รงเรียนอ่นื ๆ ตอ่ ไป
ฟื้นคืนชีพด้วยกระบวนการคิดสร้างสรรค์ และเร่ืองท่ีสอง
เป็นบันทึกการแสดงบทบาทสมมติทักษะการฟื้นคืนชีพใน เคลด็ ลบั ความส�ำเร็จ
สถานการณ์ต่างๆ อยู่ในรายงานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ แบ่งการท�ำงานออกเป็น ๓ ระยะ คือจัดท�ำ
ความเขา้ ใจ เจตคติ และการปฏิบตั ิในทกั ษะชว่ ยฟ้นื คนื ชพี หุ่นจำ� ลอง เปรยี บเทียบเทคนิคการสอน และอบรม
ของวิชาสขุ ศึกษา ระหว่างกลุ่มควบคมุ ท่ีเรียนด้วยการสอน ผู้สนใจ ในแต่ละระยะท�ำงานในลักษณะโครงการ
แบบสาธิต และกลุม่ ทดลองท่ีเรยี นด้วยการสอนแบบทกั ษะ วิจัยมีผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านคอยช่วยเหลือในการ
ปฏบิ ตั ขิ องเดวสี ์ นค่ี อื สงิ่ ทเ่ี ปน็ รปู ธรรม สว่ นสง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ และ พิจารณาตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้โครงการ
บรรจอุ ยู่ในผูร้ ่วมโครงการทุกคนมากกวา่ น้นั มีความถูกตอ้ งเหมาะสมที่สุด
“จากการใหเ้ ด็กทำ� งานและทำ� งานร่วมกับเดก็ ตรงน้ี
เราสรุปเป็นประสบการณ์ได้หลายข้อ คือ หนึ่ง ได้ทักษะ
กระบวนการท�ำงานในรูปแบบตนเอง และการท�ำงานกับ
ผอู้ นื่ ทบ่ี างครง้ั กต็ อ้ งโอนออ่ นหรอื ลองผดิ ลองถกู บา้ ง สอง ได้
สรา้ งนวตั กรรมใหมใ่ นสาขาวชิ าทตี่ นถนดั และเปน็ ประโยชน์
ต่อตนเองและผู้อื่น สาม นักเรียนมีทักษะการท�ำงานใน
รปู แบบตา่ งๆ รู้จักแบง่ เวลาในการทำ� งาน อยา่ งตอนทีท่ �ำ
โครงการตดิ ปญั หานำ้� ทว่ ม เวลาในการเรยี นการสอนนอ้ ยลง
โชคดีท่ีเด็กและอาจารย์ท่านอื่นๆ เข้าใจ และพยายาม
ชว่ ยเหลอื กนั มาทำ� งานเสาร์–อาทติ ย์ทำ� ใหผ้ า่ นไปดว้ ยดีส่ีคอื

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ 117

โครงการจดั การเรยี นการสอนบนฐานวฒั นธรรมชมุ ชน

โรงเรียนอดุ มสิทธิศกึ ษา กาญจนบุรี

โอะ๊ ม่ือโชเปอ เนอะ โอ๊ะ ชู่ อ่า
สวสั ดี สบายดหี รือเปล่า (ภาษากะเหร่ยี ง)
มงิ กะหล่าบ่า แนเกา๊ แน เจซตู นิ บาแด
สวัสดี สบายดี ขอบคณุ (ภาษาพมา่ )
แหมะเง่อระอาว ยามอะเหรห่ มอ่ นเกอะเหอะเกอะฮา
สวัสดี พูดภาษามอญไดห้ รอื เปล่า (ภาษามอญ)

ลดเลีย้ วลดั เลาะไปตามไหลเ่ ขา ขน้ึ ดอย ลงดอย ผา่ น มัธยมศึกษาเพียงแห่งเดียวในอ�ำเภอ ที่เปิดสอนในชั้น ม.
เส้นทางทุรกนั ดารหา่ งไกลจากตวั เมอื งกวา่ ๒๐๐ กิโลเมตร ๑ ถึง ม.๖
ไม่ไกลจากชายแดนไทย-พม่า เมืองเล็กๆ ชื่อว่าอ�ำเภอ ขนาดโรงเรียนในชุมชนเมืองหลายแห่ง ท่ีมีเพียง
สงั ขละบุรี ภาษาเดยี วยงั ประสบปญั หานานปั การในการพฒั นาคณุ ภาพ
ยามเช้าตรู่ของทุกวัน จะเห็นวิถีชีวิตอันหลากหลาย ผเู้ รยี น รวมทงั้ การแสวงหาความรว่ มมอื ในชมุ ชน นบั ประสา
ของชุมชน ผู้เฒ่าเฝ้ารอใส่บาตรพระ ชายหนุ่มในชุดโสร่ง อะไรกับโรงเรียนห่างไกล ทุรกันดาร และติดชายแดน
เตรียมตัวไปไร่ หญิงสาวใบหน้าหมดจด ประแป้งสีเหลือง เป็นท้ังทางผ่านและท่ีพักพิงของผู้คนหลายสัญชาติ อย่าง
ขมิ้นบนสองแก้ม ทูนกระจาดไว้บนศีรษะเดินไปตลาดเช้า อุดมสิทธิศึกษา ปัญหาส�ำคัญที่คณะครูต้องเผชิญโดย
เดก็ ชายหญิงแรกร่นุ ในเคร่ืองแต่งกายหลากสี สะพายย่าม ไม่อาจหลีกเลี่ยง คือ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
บา้ ง เปบ้ า้ ง เดนิ แถวมงุ่ หนา้ ไปโรงเรยี น นกั ทอ่ งเทยี่ วสะพาย ขนบธรรมเนียมประเพณี ความคิด ความเช่ือ และการส่ือ
กล้องเดินอยบู่ นสะพานไมเ้ กา่ แกท่ ี่ยาวท่สี ุดในประเทศไทย ความหมายทางภาษา
น่ีคือชุมชนที่อุดมไปด้วยวัฒนธรรมชนชาติที่หลาก แต่ท้ังผู้บริหารและคณะครูที่มีหัวใจนักสู้ ต่างรู้
หลาย ทง้ั ภาษา อาหาร การแตง่ กาย และประเพณวี ฒั นธรรม เหมือนๆ กันว่า “ปญั หาไมไ่ ดม้ ีไว้ใหก้ ล้มุ ”
ตัวอ�ำเภอตั้งอยู่ในบริเวณที่เรียกกันว่า สามประสบ
เพราะเป็นสถานที่ท่ีล�ำน้�ำสามสาย คือ ซองกาเลีย บิคลี่ ปัญหามไี วใ้ หแ้ ก้
และรันตี ไหลมาบรรจบกัน รวมท้งั ได้ชื่อวา่ เป็นดินแดนสาม
วัฒนธรรม คือ ไทย มอญ กะเหรีย่ ง นอกจากจะมีความแตกต่างหลากหลายทางด้าน
“แต่จริงๆ ชุมชนน้ีมีมากกว่าสามวัฒนธรรม ใน เชื้อชาติ วฒั นธรรมและภาษาแล้ว คนในชมุ ชนส่วนใหญ่ยัง
โรงเรียนเรามีเด็กๆ สารพัดเช้ือชาติ นอกจากไทย มอญ เป็นผู้อพยพ เคล่ือนย้ายจากต่างประเทศมาอาศัยอยู่ตาม
กะเหรีย่ ง ยังมกี ะหร่าง ลาว จนี พม่า แขกปากสี ถาน แขก แนวชายแดน ไม่มีหลักฐานการเข้าเมืองท่ีถูกต้อง ท�ำให้
บงั คลาเทศ นอกจากนน้ั ยงั มกี ลมุ่ เดก็ ไรส้ ญั ชาติ เพราะฉะนนั้ ไมส่ ามารถประกอบอาชพี บางอาชพี ได้ นอกจากปลกู ขา้ วไร่
การจัดการศึกษาในพื้นท่ีนี้จึงต้องค�ำนึงถึงเรื่องเหล่านี้ และ
ตอ้ งจดั การศกึ ษาที่เหมาะสม”
เปน็ คำ� บอกเลา่ ของครปู ระยรู สธุ าบรู ณ์ ผอู้ ำ� นวยการ
ผู้ซึ่งเพ่ิงได้รับรางวัล “ยอดครูผู้มีอุดมการณ์” ประจ�ำปี
๒๕๕๕ มาสดๆ ร้อนๆ ของโรงเรยี นอดุ มสิทธิศึกษา โรงเรียน

118 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้

ทอผา้ รบั จา้ งหาของปา่ จกั สาน ทำ� ไมก้ วาด พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง จำ� นวน ๕๖๘ คน ก็เพมิ่ ข้ึนเป็น ๑,๐๘๑ คน ในปี ๒๕๕๔
เด็กส่วนใหญ่ด้อยการศกึ ษา อ่านไมอ่ อก เขียนไม่ได้ ทำ� ให้มี จ�ำนวนเด็กออกกลางคนั มเี พียง ๗ คน จากปี ๒๕๕๐ ทีม่ ี
ฐานะยากจน ส่งผลให้เห็นความส�ำคัญของการหาเล้ียงชีพ เด็กออกกลางคนั สงู ถึง ๓๘ คน
มากกวา่ การสง่ เสรมิ ใหล้ กู หลานใชเ้ วลาอยใู่ นโรงเรยี น เดก็ เอง ท่ีน่าภาคภูมิใจเป็นอย่างย่ิง คือที่ส�ำคัญ “สาม
กอ็ ยากออกไปท�ำงานช่วยครอบครวั มากกว่าเรยี นหนังสอื ประสบโมเดล” หรอื ในชอื่ ผลงาน “นวตั กรรมบรหิ ารจดั การ
“เมอื่ กอ่ นปญั หาเดก็ ออกจากโรงเรยี นกลางคนั มมี าก รูปแบบสามประสบเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาส�ำหรับ
เลย ผมและครูจึงช่วยกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ปัญหาว่าใน ผู้ด้อยโอกาส” ของโรงเรียนสิทธิอุดมศึกษา ได้รับรางวัล
พื้นท่ีแห่งน้ีมีจุดอ่อน จุดแข็งอะไรบ้าง และจะหาวิธีใดให้ หน่ึงโรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม ระดับเหรียญทอง ในด้านการ
เดก็ ได้รบั การศกึ ษาอย่างเทา่ เทยี มกัน ท�ำอยา่ งไรจะจดั การ บรหิ ารและการจดั การสถานศกึ ษา จากสำ� นกั งานเลขาธกิ าร
ศึกษาให้เดก็ ๆ ทุกคนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ” คุรุสภาดว้ ย
ในที่สุดทางโรงเรียนก็ได้พัฒนา นวัตกรรมทางการ
ศึกษาขึ้น เรียกว่า สามประสบโมเดล เพื่อสร้างโอกาส ล�ำดับขน้ั ของนวัตถรรม
ทางการศึกษาใหก้ บั เดก็ ดอ้ ยโอกาส และเพื่อเป็นอตั ลกั ษณ์
ของชุมชนและเป็นแผนแม่บทของโรงเรียนในการบริหาร สามประสบโมเดล มีรูปแบบการบริหารจัดการที่
จัดการทุกดา้ นอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เรียกว่า เรียกว่า ASROVN ซึ่งมีกระบวนการท�ำงานต่างๆ
ในแตล่ ะข้นั ตอนเพอื่ นำ� ไปสู่ความสำ� เรจ็ ดังนี้
สามประสบโมเดล Awareness การสร้างความตระหนักให้ครู ชุมชน
และคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน เห็นความสำ� คญั
สามประสบโมเดล คือ นวัตกรรมการบริหารการ ในการสร้างโอกาสทางการศึกษาในเด็กด้อยโอกาสในพื้นที่
จัดการศึกษาท่ีน�ำทฤษฎีหลักการบริหารทางการศึกษา ถ่นิ ทรุ กันดาร
แนวคิดในการปฏิบัติงาน มาหลอมรวมกับวิถีชีวิตและ Survey สำ� รวจประชากรวยั เรยี นในพนื้ ทเ่ี ขตบรกิ าร
วัฒนธรรมชุมชน ท�ำให้การบริหารไม่แปลกแยกออกจาก ของโรงเรียนเพื่อรวบรวม ข้อมูลสารสนเทศ ในการสร้าง
ชมุ ชน นำ� ไปสกู่ ารได้รับความร่วมมือ และท�ำใหก้ ารบรหิ าร โอกาสทางการศกึ ษา
สถานศกึ ษาไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ประกอบดว้ ย การวางแผน สรา้ ง Road map แผนท่ีน�ำทางแผนงาน พัฒนาการ
ความรู้ ความเข้าใจ จดั เวทเี พ่อื รับฟังความคิดเห็นเก่ียวกับ จดั การศกึ ษาของโรงเรียน
การจัดการศึกษา โดยการมสี ่วนร่วมของครู คณะกรรมการ Observation การเฝ้าระวังตดิ ตามประเมนิ ผลการ
สถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ตัวแทนของนักเรียนและ จดั การศึกษาของโรงเรยี น ใหบ้ รรลุตามเป้าหมาย
หน่วยงานราชการอนื่ ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง Valuate การเพมิ่ คา่ การปรบั ปรงุ การทำ� งาน
ทง้ั ผบู้ รหิ ารและครูต่างร่วมกันฟันฝ่าทกุ วิถีทาง เพ่ือ Network ภาคีเครือข่ายสร้างความยั่งยืนในการ
ให้เด็กๆ ได้อยู่บนเส้นทางการศึกษาอย่างต่อเน่ืองยาวนาน จัดการศึกษาร่วมกนั บนฐานวัฒนธรรมชมุ ชน
ทีส่ ดุ จึงเปิดการเรยี นการสอนใน ๓ รูปแบบ ท้ังการศึกษา “กระบวนการการจัดการเรียนการสอน ให้ความรู้
ในระบบโรงเรียน นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น
และไดบ้ รู ณาการการจดั การศกึ ษาทงั้ ๓ รปู แบบเขา้ ดว้ ยกนั คุณธรรม จริยธรรมท่ีท�ำในโรงเรียนนั้น ครูก็จะน�ำรูปแบบ
โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานในท้องถิ่นและชุมชน เหล่านี้ไปจับซึ่งช่วยให้เราสามารถอุดรอยร่ัวช่องว่าง
จดั การเรยี นการสอนบนฐานวฒั นธรรมชมุ ชน ใหเ้ ดก็ นกั เรยี น วัฒนธรรมและหลักสูตรการเรียนรู้ได้” เป็นค�ำกล่าวของ
สามารถท�ำงานหาเล้ียงชีพไปพร้อมกับการเรียนได้ ท�ำให้ ผู้อำ� นวยการโรงเรยี น
เด็กสามารถสร้างรายได้ช่วยเหลือครอบครัว และมีโอกาส
ทางการศกึ ษาเพ่ิมข้ึน จากสามประสบโมเดล ส่กู ารเรยี นรู้บนฐาน
เด็กๆ มีความสุขและมั่นใจในอนาคตของตนเอง วฒั นธรรมชมุ ชน
มากข้ึน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น พ่อแม่ผู้ปกครอง
เกดิ ความเชอื่ มนั่ ศรทั ธาโรงเรยี นมากขน้ึ และจำ� นวนนกั เรยี น ปัจจุบัน กระแสวัฒนธรรมตะวันตกที่แพร่ผ่านส่ือ
ทีอ่ อกกลางคันก็ลดลง จากปีการศึกษา ๒๕๕๐ ทมี่ ีนักเรียน สารพัด ได้ไหลบ่ามากระทบกับกลุ่มเยาวชนอันเป็นวัยท่ี
รบั สอื่ ต่างๆ ไดง้ ่าย ทำ� ใหว้ ถิ ีชวี ติ ขนบธรรมเนียม ประเพณี

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 119

วัฒนธรรมของชาวสังขละบุรี รวมทั้งอาชีพที่พอเพียง “ถา้ จะให้เกดิ การพัฒนา เราต้องสร้างโอกาส ถ้าจะ
เรียบงา่ ยเริม่ มกี ารเปล่ยี นแปลง เกดิ ความยงั่ ยนื เราตอ้ งใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ ม” ครปู ระยรู สรปุ
ครูประยูรและคณะครูในโรงเรียน ต่างมองเห็นว่า
สภาพการณ์เช่นน้ีจะสร้างปัญหาให้ชาวสังขละบุรีและ วฒั นธรรม น�ำไปสู่ความเจริญงอกงาม
ประเทศไทยในอนาคต จงึ ไดว้ างแผนจดั ทำ� โครงการจดั การ
เรยี นการสอนบนฐานวฒั นธรรมชมุ ชนขน้ึ เพอื่ ทจ่ี ะอนรุ กั ษ์ สง่ิ ทผี่ อู้ ำ� นวยการโรงเรยี นอดุ มสทิ ธศิ กึ ษา มกั ยำ�้ เตอื น
วิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และอาชีพ กบั ครทู ุกคนอยู่เสมอ คอื
ของชาวสังขละบุรีเอาไว้ โดยเสนอขอรับการสนับสนุน “จะทำ� อะไรใหค้ ำ� นงึ ถงึ คณุ ภาพของผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั
งบประมาณจากส�ำนักงานส่งสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ เพราะโลกทกุ วนั นเี้ ปลย่ี นเรว็ การประกอบอาชพี กเ็ ปลย่ี นไป
คุณภาพเยาวชน (สสค.) เพ่ือพัฒนารูปแบบการเรียน ถา้ ไม่เตรียมเด็กให้เปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ คลอ่ งตวั ปรับ
การสอน ใหน้ กั เรยี นตระหนกั ในคณุ คา่ ของประเพณี วฒั นธรรม ตัวเองได้ดีขึ้น และมีทักษะด้านอารมณ์ เด็กจะเสียเปรียบ
รวมทงั้ อาชพี ทอ้ งถนิ่ เกิดความภูมใิ จในถิ่นเกิดของตน ท�ำงานไม่ได้ ทนอารมณ์ไม่ได้ ทนเหน่ือยไม่ได้ ซึ่งโรงเรียน
และแน่นอน หัวใจของการขบั เคลอื่ น ย่อมต้องเป็น ต้องปลูกฝังให้เด็กโดยผ่านกระบวนการทักษะชีวิต ความ
“สามประสบโมเดล” และกระบวนการ ASROVN เป็นครู ต้องเปน็ ผ้ใู ห้ ไม่ต้องถามว่าเราได้อะไร แต่ตอ้ งถาม
กิจกรรมในโครงการ ประกอบด้วย การพูดคุย วา่ เดก็ ไดอ้ ะไร ผปู้ กครองไดอ้ ะไร ชมุ ชนไดอ้ ะไร และโรงเรยี น
แลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ประเพณวี ฒั นธรรมของกะเหรยี่ ง ไดอ้ ะไร นอกจากนคี้ รตู อ้ งมคี วามรกั ความเมตตา เขา้ ใจเดก็
และมอญ ซ่ึงเปน็ กลมุ่ หลัก รวมทั้งการรวบรวมข้อมลู อาชพี ไม่ใช่หยิบหนังสือมาสอนเท่านั้น การให้แก่เด็กในวันนี้
ต่างๆ ในชุมชน เช่น ปลูกข้าวไร่ ทอผ้า ประมง จักสาน กุศลจะส่งถึงครูในวันขา้ งหนา้ ”
ท�ำไม้กวาด ซ่ึงล้วนเป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่า ให้เด็กๆ หากมองในมุมใหม่ ความหลากหลายทางชาติพันธุ์
ได้ท�ำความรู้จักและเข้าใจ ทั้งโดยการถ่ายทอดแบบเมตตา และวฒั นธรรมของชมุ ชนสังขละบรุ ี อาจมิใชป่ ัญหา หากคือ
เออ้ื อาทรจากครภู มู ปิ ญั ญาและผใู้ หญใ่ นชมุ ชน ทง้ั การเรยี นรู้ บรบิ ทสำ� คญั ทเ่ี ปน็ พลงั เสรมิ หนนุ ใหผ้ บู้ รหิ ารและครโู รงเรยี น
ผา่ นสอื่ สารสนเทศ และการค้นควา้ ทางอินเทอร์เนต็ อุดมสิทธิศึกษา ท่ีมีใจมุ่งมั่นในความเป็นครูท่ีแท้ สามารถ
เม่ือตระหนักรู้แล้ว เด็กๆ ก็ท�ำหน้าท่ีเป็นผู้เผยแพร่ สร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมให้กับเยาวชน
เรือ่ งราวเกย่ี วกับวัฒนธรรม ประเพณที ดี่ งี าม รวมทง้ั อาชีพ ในทอ้ งถ่ิน ไดม้ ที กั ษะชีวติ เพือ่ พัฒนาคุณภาพตนเอง
ท่นี า่ สนใจ ผา่ นสื่อสร้างสรรค์รูปแบบต่างๆ เชน่ การจดั ทำ� วฒั นธรรมคือความเจรญิ งอกงาม หากวัฒนธรรม
หนงั สั้น การจัดนทิ รรศการ รวมถงึ การแสดงพนื้ บา้ นต่างๆ หมายถงึ ความเป็นหน่งึ เดยี วกนั ของสงั คมใดๆ การเรียนรู้
ทสี่ รา้ งความเข้าใจซึ่งกันและกัน เร่ืองทักษะชีวิต ก็นับว่าเป็นวัฒนธรรมชุมชนที่เข้มแข็ง
ครปู ระยรู ยงั มองถงึ อกี หลายโครงการในอนาคต ทจ่ี ะ ของโรงเรยี นอุดมสิทธิศกึ ษาทแี่ สดงถึงความย่งั ยนื
จดั การศกึ ษาบนฐานวฒั นธรรมชมุ ชน เชน่ เชอ่ื มโยงประเพณี
วัฒนธรรมเข้ากับประชาคมอาเซียน การแลกเปลี่ยน เคล็ดลับความส�ำเร็จ
วัฒนธรรมชายขอบกับพม่า เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งทางด้าน ความเขม้ แขง็ ของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ความเปน็
สังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม น้�ำหน่ึงใจเดียวกันของบุคลากร และความร่วมมือ
โดยการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียน ชุมชน เทศบาลต�ำบล ของครูภมู ปิ ัญญาในท้องถิ่น
เอกชนรสี อรท์ เพอื่ เปน็ การสรา้ งรายไดแ้ กช่ มุ ชนและเปน็ การ
สนับสนุนเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรมประเพณีของชาว
สงั ขละบรุ ี

120 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้

โ ครงการเด่นด้าน บสอยถรา่ หิางานมรศปี จรึกดัะษสกิทาาธิภราพ

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 121

แคหวลา่งมเเรปยีน็ นพรลอู้ โจัลฉกรทิย่สี ะมนบำ�ูรไปณส์่สู ังคมแหง่ การเรียนรแู้ ละ

โรงเรียนกาญจนานเุ คราะห์ กาญจนบุรี

“ห้องน้ีคือห้องเรียนสีเขียวนะคะ เป็น ของโรงเรยี นกาญจนานุเคราะห์ก�ำลังจะผา่ นไป เสียงชน่ื ชม
หอ้ งเรียนประหยัดพลังงาน ลดการใช้ไฟฟ้า และมี จากครูอาจารย์จากโรงเรียนอื่นดังไม่ขาดสาย ส่วนพ่อแม่
นิทรรศการเรื่องการประหยดั พลงั งานแสดง” ผปู้ กครองทม่ี าชมผลงานลกู หลานกเ็ ปย่ี มไปดว้ ยความภมู ใิ จ
“ส่วนห้องนี้เป็นห้องเรียนอัฉริยะ เรามีไอที บางเสยี งสะท้อนใหข้ ยายวันจดั นิทรรศการเพิม่ ขนึ้
บอรด์ ทชั สกนี ขนาดใหญ่ เวลาจะเปลยี่ นอะไรกแ็ ตะ หลากเสียงช่ืนชมไม่ส�ำคัญเท่าการเรียนรู้ที่เด็กได้รับ
ที่หน้าจอได้เลยครับ” คอื คำ� ตอบของ ดร.เกศทพิ ย์ ศภุ วานชิ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบ
“หอ้ งนเ้ี ปน็ หอ้ งรซี อรท์ เซน็ เตอร์ (Resource โครงการก่อนเข้าประเด็นส�ำคัญเร่ืองการท�ำงานใน
Center) ไว้ให้นักเรียนหรืออาจารย์มาประชุม กระบวนการเรียนรู้น้ี
หรือจะไวม้ าหาข้อมูลก็ไดค้ ่ะ”
สร้างแหลง่ เรียนรูอ้ ฉั ริยะ

“โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์เป็นโรงเรียนที่มี
ศักยภาพด้านไอที เรามีห้องเรียนที่มีเทคโนโลยีสื่อสาร ทั้ง
คอมพิวเตอร์ โปรเจ็กเตอร์อยู่แล้ว แต่ยังไม่มีผลการเรียนรู้
ของเดก็ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม อกี ทง้ั ทางโรงเรยี นอยากใหเ้ ดก็ ได้
ใชเ้ วลานอกหอ้ งเรยี นอยา่ งเปน็ ประโยชน์ ใหน้ กั เรยี นและครู
ไดใ้ ชป้ ระโยชนม์ ากขึ้น เราเลยคดิ โครงการนีข้ ึน้ ”

เสยี งพาชมนทิ รรศการในโรงเรยี นกาญจนานเุ คราะห์
ดังเป็นระยะๆ จากห้องน้ันห้องน้ี ส่วนเด็กนักเรียนก็เดิน
ดูนิทรรศการต่างๆ ในมือถือสมุดพาสปอร์ตไว้ประทับตรา
ว่าได้เย่ียมชมห้องไหนบ้างแล้ว ส่วนบนเวทีกลุ่มโครงงาน
ของนักเรียนช้ัน ม. ๕ ก�ำลังเสนอผลงานท่ีค้นคว้ามาอย่าง
สนุกสนานเข้มขน้
บรรยากาศในวันสรุปโครงการแหล่งเรียนรู้อัจฉริยะ
นำ� ไปสู่สังคมแห่งการเรียนรแู้ ละความเป็นพลโลกท่สี มบูรณ์

122 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้

พอเขาท�ำงานเด่ียวแล้วเขาก็จะมีความรู้เร่ืองการ
เขียนรายงาน อาจารย์ก็มอบหมายให้ท�ำงานกลุ่ม กลุ่มละ
๓ คน เลอื กทำ� ไดต้ ามความชอบเชน่ กนั บางกลุ่มทำ� เรอ่ื งวธิ ี
ฆ่าแมลงสาบ บางกลุ่มทำ� เรื่องการเลย้ี งไกใ่ ห้อว้ น บางกล่มุ
กท็ ำ� เร่ือง EM เมอื่ เขาหาข้อมูลได้ เขาต้องเขยี นรายงานใหพ้ ี่
ม.๖ ตรวจก่อน และต้องเอารายงานทพี่ ่ี ม.๖ ตรวจแกแ้ ล้ว
มาสง่ อาจารยด์ ว้ ย เด็ก ม.๕ กไ็ ด้ทำ� งานรอบคอบขนึ้ สว่ นพ่ี
ม. ๖ ก็ได้ฝกึ หาขอ้ มลู ตรวจทานข้อมลู ซึ่งงานกลุ่มนี้เรามี
ระยะการท�ำงานให้หน่งึ เทอม ก็ประมาณ ๓ เดอื น”

โครงการเร่ิมต้นจากการประชุมครู-อาจารย์ใน หลังจากผลงานผ่านการตรวจทานจากพี่ ม.๖ และ
โรงเรียน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนแต่งตั้งคณะท�ำงาน จากนั้น อาจารยแ์ ล้ว เด็กๆ ตอ้ งเผยแพร่ผลงานลง เฟสบคุ๊ แฟนเพจ
คณะท�ำงานได้ก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนตั้งแต่ (Facebook Fanpage) ภาคภาษาองั กฤษของโรงเรียน ซงึ่
ม.๑-ม.๖ ทัง้ โรงเรยี น จะมอี าจารยค์ อยตรวจทานความเรยี บรอ้ ยในการใชภ้ าษาวา่
“กระบวนการกบั เดก็ เราทำ� แบบสอบถาม ถามเดก็ ๆ ถูกต้องสุภาพหรอื ไม่ ซึง่ เดก็ นกั เรียนคนอน่ื ๆ ในโรงเรยี นจะ
ว่าอะไรท่ีเขาคิดว่าเป็นปัจจัยท่ีท�ำให้เขาอยากเรียนรู้ เด็ก ไดเ้ ขา้ มาอา่ นงานน้ดี ้วย
ตอบว่ามีสามเร่ือง คือ สิง่ แวดล้อมที่กระตนุ้ ให้อยากเรียนรู้ ไมเ่ พยี งวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ ทา่ นนั้ ทเี่ ดก็ ไดใ้ ชเ้ ทคโนโลยี
ครเู ก่ง และเพ่ือนดชี วนกนั ทำ� งาน” ในการหาความรู้ วิชาพละศึกษา เดก็ ๆ กไ็ ดถ้ ่ายวีดิโอสอน
เม่ือรู้ความต้องการของนักเรียนแล้ว ดร.เกศทิพย์ ไอคโิ ด แล้วแชร์ลงในเวป็ ไซต์ยทู บู ด้วยเช่นกนั
จึงวางแผนให้ครูและนักเรียนได้ใช้เทคโนโลยีในการเรียน “ความจริงแล้วเราพยายามให้เด็กใช้เทคโนโลยี
การสอนมากขน้ึ เพราะหอ้ งเรยี นทงั้ ๗๒ หอ้ ง มคี อมพวิ เตอร์ สารสนเทศหลายวชิ า แตว่ ิชาวทิ ยาศาสตร์อาจจะได้ผลมาก
และโปรเจ็กเตอร์อยู่แล้ว เลยน�ำระบบทัชสกีนมาใช้ใน หน่อย เพราะเป็นวิชาท่ีต้องหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตมาก
การเรยี นการสอนมากขนึ้ มหี อ้ งรซี อรท์ เซน็ เตอร์ (Resource อยูแ่ ล้ว”
Center) ไวใ้ หค้ รู และนกั เรยี นใชป้ ระชมุ หรอื หาขอ้ มลู ตา่ งๆ
สว่ นหอ้ งสมดุ อฉั รยิ ะกแ็ บง่ ออกเปน็ ๓ โซน โซนเงยี บ ไวอ้ า่ น เดก็ รเู้ รยี น ครเู รยี นรู้
หนังสือเงียบๆ ห้ามใช้เสียง โซนประชุม แบ่งมุมไว้ส�ำหรับ
ให้เด็กๆ ได้มีที่ประชุมการท�ำรายงาน และโซนหนังสือ เมอ่ื เดก็ อยากไดค้ รเู กง่ ๆ ครู – อาจารย์ของโรงเรียน
ส�ำหรับการสืบค้นด้วยต�ำราโดยเฉพาะ ซ่ึงในห้องสมุดน้ีก็มี กาญจนานุเคราะห์ก็ต้องปรับเปล่ียนเช่นเดียวกัน อาจารย์
คอมพิวเตอร์ไว้บริการนักเรียนให้หาข้อมูลเร่ืองต่างๆ ด้วย มกี ารประชุมนิเทศสอ่ื การสอน แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นถึง
เช่นกนั ความเหมาะสมของสอื่ การสอนของอาจารยแ์ ตล่ ะทา่ น เพอ่ื
“ไม่เพียงการเรียนรู้ในห้องเท่าน้ันท่ีส�ำคัญ เรามอง ปรับปรงุ ใหด้ ียง่ิ ข้นึ
วา่ เดก็ ควรสบื คน้ ขอ้ มลู ไดท้ กุ สถานท่ี เมอ่ื เราสรา้ งสงิ่ อำ� นวย “เราคุยกันดว้ ยความรัก ความปรารถนาดี อยากให้
ความสะดวกในการหาขอ้ มลู ใหเ้ ขามากพอแลว้ เราไดม้ อบหมาย อาจารยม์ ีสอื่ การสอนทด่ี ี อาจารย์แต่ละทา่ นกช็ ว่ ยกันอยา่ ง
งานให้เด็กท�ำ อย่างตัวอาจารย์เองสอนวิทยาศาสตร์ เต็มที่ ไม่โกรธไม่เคืองกันเวลาวิพากษ์ผลงาน แล้วก็เอา
ม.๕ กม็ อบหมายทั้งงานเดยี่ วและงานกล่มุ ให้เขาไดท้ ำ� คำ� แนะนำ� ทไ่ี ดไ้ ปปรบั ปรงุ ผลงานใหด้ ขี นึ้ ผลทไ่ี ดค้ อื อาจารย์
ให้เขาท�ำงานเด่ียวก่อน ให้สืบค้นข้อมูลเรื่องที่สนใจ มีสอ่ื การสอนทีด่ ี เดก็ กถ็ ูกใจ สนกุ กับการเรียนมากขน้ึ ”
แลว้ มารายงาน แตล่ ะคนก็จะทำ� เรื่องไม่เหมอื นกนั บางคน
ทำ� เรอื่ งทำ� ไมวยั รนุ่ ไทยชอบใชแ้ บลก็ เบอรร์ ี่ ครกู จ็ ะถามตอ่ วา่ สูพ่ ลโลกท่สี มบูรณ์
วัยรุ่นไทยหมายถึงใคร แล้วแบล็กเบอร์ร่ีมีอะไรรุ่นไหนบ้าง
เด็กก็ต้องไปสืบค้นข้อมูลมาตอบ แต่ละโจทย์มีระยะเวลา นอกจากการจดั สภาพแวดล้อมทีก่ ระตุ้นการเรยี นรู้
ทำ� งาน ๑-๒ สปั ดาห์ ใหเ้ ดก็ แลว้ ครอู าจารยก์ ม็ สี ว่ นสำ� คญั ทท่ี ำ� ใหเ้ ดก็ อยากเรยี นรู้
ครูทุกๆ คนในโรงเรียนจะกระตุ้นให้เด็กใช้ประโยชน์จาก
สอื่ สารสนเทศ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาพดู กระตนุ้ เดก็ ในคาบเรยี น

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 123

โฮมรมู หรอื หากอาจารยไ์ ปเจอเดก็ นง่ั เลน่ ใชเ้ วลาวา่ งไมเ่ ปน็ ความรู้ของเดก็ กนั จรงิ ๆ วา่ มีความเข้าใจและความสามารถ
ประโยชนก์ ็จะบอกให้กลับไปทำ� งาน ไปหาขอ้ มูลดกี วา่ ในการใชเ้ ทคโนโลยมี ากน้อยแคไ่ หน
เด็ก ม.๕ และ ม.๖ ได้ฝกึ ใช้องั กฤษดว้ ยการเผยแพร่ “สว่ นเดก็ ทไ่ี ม่มีหนา้ ทป่ี ระจ�ำห้อง หรือมีหนา้ ท่ีอะไร
ผลงานลงเฟสบคุ๊ แฟนเพจ ส่วนน้องๆ ชัน้ อ่ืนๆ กต็ อ้ งเขา้ ไป เขาตอ้ งเข้าชมงาน โดยเราจะมีฐาน ๕ ฐานใหเ้ ขาไปชมและ
อา่ น นอกจากนที้ างโรงเรยี นยงั มเี วบ็ ไซตข์ องโรงเรยี นใหเ้ ดก็ ประทับตราลงในสมุดพาสปอร์ตว่าได้เข้ามาท�ำกิจกรรมใน
เข้าไปพูดคยุ แลกเปลยี่ นความคิดเห็นกันในห้องสนทนา แตล่ ะฐานแลว้ วธิ นี ช้ี ว่ ยใหเ้ ดก็ สนกุ กบั กจิ กรรมและไดค้ วาม
“เรามีห้องสนทนาในเว็บปกติของโรงเรียน วิธีน้ีจะ รู้ไปพร้อมกัน ซ่ึงก็มีคนเรียกร้องให้จัดเพ่ิม แต่เราคิดว่าวัน
ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้การใช้เทคโนโลยี น้องเล็กได้ปรึกษา เดยี วก็เพียงพอแล้ว”
ปัญหากบั พใ่ี หญ่ หรอื ปรกึ ษางานกันระหวา่ งเพือ่ น โดยเรา เทคโนโลยีท่ีเป็นดาบสองคม หากความพยายาม
จะมีอาจารย์ด้านสารสนเทศเป็นผู้ควบคุมการใช้ภาษาหรือ กระตุ้น ผลักดันให้เด็กเข้าถึงอย่างถูกวิธี โดยผู้ใหญ่คอย
ความเหมาะสมเรอ่ื งตา่ งๆ อกี ที ดูแล ก็จะชว่ ยใหเ้ ด็กเรียนรู้ใช้งานอยา่ งถูกต้อง เป็นคนที่
ความเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ กบั ตวั เดก็ เขาใชเ้ วลาวา่ งเปน็ เท่าทันส่ือและเป็นคนที่มีศักยภาพได้ในอนาคต จึงเป็น
ประโยชน์มากข้ึน งานที่เราให้ท�ำก็คือการบา้ นท่ีเขาต้องท�ำ ตวั อยา่ งของการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาจากตน้ ทนุ เดมิ
อยู่แล้ว ไมไ่ ด้เพมิ่ ภาระใหเ้ ขา เพียงแตก่ ระตุ้นให้เขาใชเ้ วลา ท่ีมีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้อย่างสอดคล้องกับยุค
ว่างที่โรงเรียนในการสืบค้นข้อมูล แล้วเด็กก็ท�ำงานกันออก สมัย
มาไดด้ ี
วนั น�ำเสนอผลงานนี้ เราเชิญ ผอ.โรงเรียน อาจารย์ เคล็ดลับความส�ำเรจ็
นกั เรยี น จากหลายโรงเรยี นมารว่ มงาน รวมถงึ ผปู้ กครองของ ความชดั เจนในการทำ� งาน การมอบหมายงาน
เด็กๆ เราให้เด็กเป็นคนแนะนำ� หอ้ งแตล่ ะห้อง คอื หอ้ งสมดุ อย่างเป็นระบบ จัดสรรหน้าท่ีอย่างถูกท่ีถูกเวลา
อัฉริยะ ห้องเรียนสีเขียว ห้องรซี อรท์ เซ็นเตอร์ (Resource (put the right man on the right job)
Center) และน�ำชมนิทรรศการต่างๆ เอง เด็กท�ำได้ดีมาก
เพราะเขาไดใ้ ชง้ านหอ้ งเหลา่ นน้ั ดว้ ยตนเอง เรยี นรจู้ นมคี วาม
เข้าใจ ส่วนเด็กท่ีท�ำโครงงานนอกจากเสนอผลงานผ่านเว็บ
แล้วก็ได้พรีเซ็นต์งานในวันนี้ด้วย คือเป็นวันที่เราได้สรุป

124 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้

เศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื อาหารกลางวนั ทีย่ งั่ ยืน

โรงเรยี นบ้านร่องหอย

ฟัก แฟง นำ้� เต้าลกู โตหอ้ ยอย่เู ตม็ ซมุ้ ผกั
ในแปลงกำ� ลงั แตกใบเขยี วสดนา่ รบั ประทาน กบ
ตวั เขอื่ งในบอ่ เลย้ี ง หนอ่ ไมห้ วานแตกหนอ่ ลอ้ ฝน
เหด็ นางฟา้ บานสะพรงั่ อยเู่ ตม็ โรงเพาะเหด็ และ
ผลิตผลจากฐานกจิ กรรมอ่นื ๆ นบั รวมร่วม ๑๐
ฐาน ทโี่ รงเรยี นบา้ นรอ่ งหอยในวนั นี้ ไมเ่ พยี งเปน็
แหล่งอาหารกลางวันคุณภาพดีที่สร้างความ
อมิ่ ทอ้ ง รปู รา่ งสมวยั และผลการเรยี นทดี่ ขี นึ้ ใหก้ บั
นักเรียนทัง้ ๑๕๔ ชีวติ แตย่ ังเป็นแหลง่ เรียนรู้
ทักษะอาชีพจากการลงมือปฏิบัติจริง ท่ีสร้าง
รอยยม้ิ สดใสและความภาคภมู ใิ จใหก้ บั นกั เรยี น
ทกุ คน แตกตา่ งจากภาพในอดตี อยา่ งสน้ิ เชิง

นอ้ งอ่ิมแตพ่ ีอ่ ด แสงทอง ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื อาหาร
กลางวนั ทยี่ ง่ั ยนื มุ่งม่นั ต้ังใจอยากให้เด็กๆ ในโรงเรยี นแหง่ น้ี
โรงเรยี นบ้านรอ่ งหอย ตั้งอยู่ทีต่ �ำบลวังน�ำ้ ลดั อำ� เภอ ได้กินอาหารกลางวันอ่ิมกันถ้วนหน้า แต่ปัญหาใหญ่คืองบ
ไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค์ อยหู่ า่ งจากตวั จงั หวดั นครสวรรค์ อาหารกลางวนั ทโี่ รงเรยี นไดร้ บั มไี มเ่ พยี งพอสำ� หรบั เดก็ ทกุ คน
๙๐ กโิ ลเมตร เป็นโรงเรยี นขยายโอกาสเปิดสอนช้ันอนุบาล อ.สมศกั ด์ิ แกน่ ยงิ่ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นรอ่ งหอย
๑ ถงึ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ นักเรยี นรอ้ ยละ ๘๐ มฐี านะยากจน เล่าถึงปัญหาในอดีตว่า “ค่าอาหารกลางวันเขาให้เฉพาะ
พ่อแม่หยา่ รา้ ง ขาดความอบอ่นุ ขาดแคลนอาหาร ส�ำหรับเด็กประถม ระดับมัธยมนั้นไม่มีให้ นักเรียน
“ช่วงหมดหน้านาผู้ปกครองจะเข้าไปท�ำงานใน กต็ อ้ งกลบั ไปรบั ประทานอาหารกลางวนั ทบ่ี า้ น ปญั หาทตี่ ามมา
กรุงเทพฯ ปล่อยให้ลูกอยู่กับปู่ย่าตายาย เราเป็นเด็กท่ี คือนักเรียนกลับไปแล้ว ไม่กลับมาเรียนในภาคบ่าย ไปมี
ยากจนมาก่อน รู้ว่าความอดอยากยากจนเป็นอย่างไร จึง เรอื่ งทะเลาะววิ าทบา้ ง ยาเสพตดิ บา้ ง ชสู้ าวบา้ ง ผมแกป้ ญั หา
อยากทำ� โครงการฯ เพอื่ ทดแทนสงิ่ ทเี่ ราไมเ่ คยม”ี ครยู ทุ ธนา ดว้ ยการใหน้ กั เรียนมธั ยมห่อขา้ วมาโรงเรยี น แต่เดก็ ไมย่ อม
ห่อข้าวมาท่ีโรงเรียน เพราะเขาอายที่ท่ีบ้านไม่มีกับข้าว
เขากย็ อมอดอาหารกลางวันแทน”
น้องอม่ิ แตพ่ อ่ี ด ทำ� ใหค้ นเป็นครูน่ิงดูดายต่อไปไม่ได้
ผอู้ �ำนวยการโรงเรียนจงึ ประชุมทมี กำ� หนดวิสัยทัศนช์ ดั เจน
เดก็ ตอ้ งอม่ิ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ ชว่ ยกนั ระดมทนุ และระดมแรง
ทั้งจากภายนอกและในชุมชน จนได้รับงบประมาณจาก
มลู นธิ ิป่อเต็กตง๊ึ ในปี ๒๕๕๐
ในระยะแรกได้เงินสนับสนุนมาก็น�ำไปซ้ืออาหาร
เม่ือเงินหมดวงจรความอดอยากก็กลับมาอีก ทางโรงเรียน

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 125

จึงชักชวน อบต.และชาวบ้านให้เข้ามาคิดหาทางออกใน แหล่งอาหาร แหล่งเรยี นรู้
ระยะยาว
“ถา้ คนเราทอ้ งหวิ อยู่ จะใหต้ ง้ั ใจเรยี นคงจะเปน็ ไปไมไ่ ด้ เดก็ ๆ ทง้ั โรงเรยี นจะเปน็ ทง้ั ผเู้ รยี นและเปน็ กำ� ลงั หลกั
เราเล็งเห็นความส�ำคัญในเรื่องนี้จึงสนับสนุนเต็มท่ี เด็กจะ ในการผลติ โดยมคี รเู กษตรทม่ี ที งั้ ความรแู้ ละใจรกั เปน็ กำ� ลงั
ได้ไม่อด” ทองสุข หาเวียง นายก อบต.วังน้�ำลัด จึงช่วย หลักในการบริหารจัดการดูแล มีภูมิปัญญาชาวบ้านจาก
ผลกั ดนั ให้ อบต.วงั นำ�้ ลดั จดั สรรงบประมาณสนบั สนนุ ตง้ั แต่ ชมุ ชนที่ศรัทธาในความรกั ความทุ่มเทของครเู ข้ามารว่ มเปน็
ปี ๒๕๕๑ จนถึงปัจจบุ นั ที่ปรึกษา
งบสนับสนุนส่วนหน่ึงจึงน�ำไปเป็นต้นทุนซื้อกล้าไผ่ ค่อยๆ ปลูก ค่อยๆ สรา้ ง ค่อยๆ เพิ่มขน้ึ ทลี ะอยา่ งๆ
เช้ือเห็ด เมล็ดพันธุ์ผัก พันธุ์กบ และพันธุ์ปลา ซึ่งผลผลิต จนมีผลผลิตให้เก็บกินเป็นอาหารกลางวันได้อย่างเพียงพอ
ท่ีงอกเงยเหล่าน้ีจะกลายไปเป็นอาหารกลางวันของเด็กๆ ส�ำหรับเด็กๆ ทุกคน จากฐานนาข้าว ฐานปลูกไผ่หวาน
แต่อาหารกลางวันท่ีผลติ ได้กย็ งั ไมเ่ พียงพอ โรงเรยี นยังตอ้ ง ฐานปุ๋ยหมัก ฐานเลี้ยงปลา ฐานเพาะเห็ด ฐานเล้ียงกบ
พงึ่ พาวัตถุดิบจากภายนอกอยมู่ าก ฐานเลย้ี งไก่เนื้อ ฐานเลี้ยงเป็ดไข่ ฐานผกั ปลอดสารพษิ และ
ดงั นน้ั เมอื่ ไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ จาก สสค.ทำ� ใหส้ ามารถ ล่าสดุ ฐานไก่ไข่ ทุกวนั น้ีเด็กๆ บ้านร่องหอยจะมาโรงเรียน
สร้างฐานการผลิตอาหารเพอื่ พึง่ ตนเองแบบครบวงจร จาก พร้อมกับห่อข้าวเปล่ามาด้วย ส่วนกับข้าวมีอยู่แล้วใน
เดิมที่มีปลาเพียง ๑ กระชังก็เพิ่มเป็น ๒ กระชัง จากเดิม โรงเรยี นเตม็ ไปหมด
ที่มีกบเพยี ง ๑ กระชงั ก็เพม่ิ เป็น ๓ กระชงั มีการตอ่ เตมิ ทกุ เชา้ และเยน็ เดก็ ๆ จะลงประจำ� การทฐี่ านกจิ กรรม
ขยายโรงเพาะเหด็ เพ่มิ ฐานไก่ไขข่ ึน้ มาเป็นฐานท่ี ๑๐ อกี ทั้ง ทตี่ นเองรับผิดชอบ ซึ่งแตล่ ะฐานมกี ารแบง่ เด็กแบบคละชน้ั
ต่อยอดขยายกิจกรรมการผลิตให้มีความหลากหลายมั่นคง ตง้ั แตเ่ ดก็ เลก็ ไปจนถงึ เดก็ โตตามความสมคั รใจ ตลอดหนง่ึ ปี
และเพียงพอส�ำหรับเด็กทุกคนตลอดทั้งปี ควบคู่ไปกับการ เตม็ เดก็ จะไดเ้ รยี นรกู้ ารผลติ ในทกุ ขนั้ ตอนไปจนถงึ เกบ็ เกยี่ ว
จดั กจิ กรรมการเรียนรู้บนฐานกิจกรรมทง้ั ๑๐ ฐาน เผชญิ ปญั หาอปุ สรรคและไดค้ น้ พบคำ� ตอบจากประสบการณ์
ตรง การไดท้ ำ� ซำ�้ ในแต่ละรอบการผลิต ทำ� ให้เดก็ ๆ เก่งขึ้น
ช�ำนาญข้ึน และผูกพันกันมากขึ้น ภายในการน�ำของพี่ๆ
ม.๓ ทคี่ อยพาน้องๆ ท�ำ
ทุกวันพฤหัสคาบเรียนสุดท้าย สมาชิกแต่ละฐาน
จะมาสรุปผลและวางแผนการท�ำงานร่วมกันช่วยกันคิด
ช่วยกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยมีครูประจ�ำกลุ่มช่วยให้ค�ำ
ปรึกษาเติมเต็มความรู้ท่ีจ�ำเป็นให้ เป็นบรรยากาศแห่งการ
เรียนรู้ท่ีเต็มไปด้วยการมีส่วนร่วมและมีชีวิตชีวา เพราะ
ผู้เรียนทุกคนล้วนเป็นผู้ปฏิบัติตัวจริง และเมื่อครบปีเด็กๆ
กจ็ ะเปล่ียนฐานการเรียนรู้ไปสู่ฐานใหม่ หมนุ เวยี นเรยี นร้ไู ป
จนครบทุกกลมุ่ เมื่อจบการศกึ ษา

126 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

“เด็กๆ จะไดเ้ รยี นรู้ทุกอย่าง ถา้ เขาเรียนตั้งแต่ ป.๑ นอกจากขายใหโ้ รงเรยี นแลว้ ผลผลติ ทไี่ ดม้ ากๆ อยา่ ง
ก็จะได้ครบ ๙ กิจกรรมพอดีเม่ือจบ ม.๓ เราไม่ได้ท�ำแค่ เห็ดนางฟ้า ยังน�ำไปขายให้ชุมชนเพ่ือเพ่ิมรายได้ให้กับกลุ่ม
เพ่ือให้เด็กได้อาหารกลางวันอย่างเดียว เราท�ำเพ่ือให้เด็ก ผลผลิตอีกส่วนหน่ึงก็จะน�ำมาแปรรูป เด็กๆ ก็จะได้เรียนรู้
ไดค้ วามรู้ ไดค้ วามคิด ไมใ่ ชว่ า่ เราคดิ แลว้ เราก็ทำ� ให้ ต้องให้ ทกั ษะอาชีพเพมิ่ มากขน้ึ อย่างเช่น น้ำ� พรกิ เผาเห็ดทคี่ ณุ ครู
เดก็ มสี ว่ นรว่ มในการทำ� ดว้ ย เขาจะไดท้ กั ษะในการทำ� งาน” และเด็กๆ ชว่ ยกันปรบั ปรงุ จนไดส้ ตู รถกู ใจ สร้างมูลคา่ เพ่ิม
ผอ.สมศกั ดเ์ิ ผยแนวคิดเบ้อื งหลงั โครงการ ไดอ้ กี ทางหนงึ่ หนอ่ ไมห้ นา้ ฝนทเ่ี กบ็ กนิ ไมท่ นั กน็ ำ� มาทำ� หนอ่
ไมด้ อง ถนอมไว้กินไดใ้ นช่วงหน้าแล้ง สว่ นไข่เปด็ กน็ ำ� มาทำ�
ทักษะชวี ติ ทกั ษะอาชีพ ไข่เค็มหอม สูตรอร่อยของบ้านร่องหอย ที่มีเคล็ดลับอยู่ที่
การน�ำน�ำ้ ใบเตยมาผสมคลุกเคล้ากับดินสอพอง
เดก็ กลุ่มเห็ดช่วยกนั เกบ็ เห็ดนางฟา้ ทีก่ �ำลังออกดอก รายได้ต่างๆ ท่ีเข้ามาจะเก็บรวบรวมไว้เป็นกองทุน
บานสะพร่งั สง่ ไปยงั โรงครวั เพอื่ ทำ� ต้มย�ำเห็ด เมนทู แี่ ม่ครัว ของแต่ละกลุ่ม มีการท�ำบัญชีรายรับ รายจ่าย ซึ่งครูและ
ลงมอื ท�ำอยา่ งสุดฝีมือ นกั เรยี นจะชว่ ยกนั บรหิ ารจดั การใหห้ มนุ เวยี นและยง่ั ยนื มากขนึ้
“ภูมิใจค่ะ ท�ำให้น้องกิน” ด.ญ.สิทธิดา ไพเกาะ “ผมว่านี่คือความส�ำเร็จของโรงเรียน จุดหมาย
นักเรยี นชน้ั ม.๓ หน่ึงในแมค่ รวั กลา่ วพรอ้ มรอยย้ิม ทท่ี ำ� ใหม้ โี ครงการนเ้ี กดิ ขน้ึ มา ของผม ของโรงเรยี น ของทา่ น
“อาหารท่ีเราท�ำก็เป็นของท่ีเราเลี้ยงเอง ท�ำเอง ผู้บริหารก็คือเด็ก ไม่ว่าเด็กท่ีน่ีจะเรียนต่อหรือไม่เรียนต่อ
ท�ำด้วยน�้ำพักน้�ำแรงของพวกเรา” ด.ช.สิงหนาท ค�ำแสง เขาจะไม่อดตาย เพราะว่าได้มีวิชาชีพตรงนี้ติดตัวไป”
นักเรยี นช้นั ม.๑ บอกด้วยน้ำ� เสียงภาคภูมิใจ ครยู ุทธนาบอกอย่างมงุ่ มนั่
บ่ายนี้ที่สระน้�ำดูจะคึกคักเป็นพิเศษ เพราะมี ในวันนี้นอกจากอาหารกลางวันท่ียั่งยืน กิจกรรม
ผู้ปกครองหลายคนมาจับปลาสวายในกระชังท่ีก�ำลังโตได้ท่ี ในทกุ ฐานยังเอื้อให้เด็กๆ ได้เรยี นรคู้ ุณธรรม มคี วามซื่อสัตย์
ซ่ึงหากเป็นงานเหนือบ่ากว่าแรงของครูและนักเรียนแล้ว มคี วามรบั ผดิ ชอบ มคี วามขยนั อดทน อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง เดก็ ๆ
ชาวบา้ นจะเปน็ กองหนุนเข้ามาชว่ ยทนั ที ปลาเหลา่ นีจ้ ะน�ำ จึงมีความประพฤติท่ีดี ไม่หนีเรียน ไม่ทะเลาะเบาะแว้งกัน
ไปทำ� เปน็ ปลาสวายแดดเดยี วแสนอรอ่ ยแหลง่ ของโปรตนี ชนั้ ไม่มีพฤติกรรมเร่ืองชู้สาว และท่ีส�ำคัญ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์
ดี ยงั มตี ้มฟักแฟงเนือ้ หวานท่เี พิ่มตัดมาจากซ้มุ ผกั เมื่อเชา้ น้ี ของนักเรียนไม่ติดยาเสพติด ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทาง
“อาหาเช้า-เย็นอาจจะไม่ดีหน่อย แต่กลางวันเขา การเรยี นดีข้ึนไปด้วย
จะได้เต็มท่ี เป็นอาหารที่ดี ปลอดสารพิษ เพราะฉะนั้น จากความหิวน�ำไปสู่การคิดและแก้ปัญหาร่วมกัน
สขุ ภาพกจ็ ะดีข้ึน” ค�ำกลา่ วครยู ทุ ธนาเหน็ ได้ชัดจากส่วนสงู จนก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลง เกิดกระบวนการเรียนรู้
และน�ำ้ หนกั ตวั ของเด็กท่เี พิม่ ขึน้ พัฒนาทักษะและคุณภาพชีวิต พร้อมกับสร้างอาหาร
แต่ละวันเมนูอาหารก็จะหมุนเวียนไปตามวัตถุดิบที่ กลางวันได้อย่างย่ังยืน ท�ำให้เด็กๆ อิ่มท้องพร้อมๆ
แตล่ ะกลมุ่ ผลติ ได้ โดยโรงเรยี นจะนำ� งบทไ่ี ดร้ บั มาซอื้ ผลผลติ ไปกับได้เรียนรู้อย่างมีความสุข คิออีกหนึ่งตัวอย่างของ
ของแต่ละกลุ่ม ดังนั้นทุกกลุ่มจึงต้องวางแผนจัดการการ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาท่ีมุง่ เดก็ เป็นเป้าหมายหลกั
เพาะปลกู และเลยี้ งสตั วใ์ หไ้ ดผ้ ลผลติ ออกมาอยา่ งสมำ่� เสมอ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพท่ีน่าภาคภูมใิ จ
พอกนิ ตลอดทัง้ ปี

เคลด็ ลบั ความส�ำเร็จ
การมองปัญหาปากท้องของเด็กอย่างเป็น
องค์รวม และแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ ความมงุ่ มัน่
ตั้งใจจริงของคณะครูและผู้บริหารท่ีก่อให้เกิดความ
รว่ มมือจากชมุ ชน

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ 127

การบรู ณาการกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใชห้ นงั สน้ั

โรงเรยี นพระแก้ววทิ ยา สุรนิ ทร์

คิด เขียนบท จดั ท�ำ น�ำเสนอสตอรบี่ อร์ดหนังสน้ั เรียนร้วู ิธีถา่ ยทำ� มุมกล้อง

แม้จะเป็นโรงเรียนในจังหวัดท่ีห่างไกล แต่ก็ไม่มีอะไรหยุดความฝันและจินตนาการได้
การเรียนรู้ผ่านช่องทางการทำ�ภาพยนตร์หรือหนังสั้น จึงเป็นอีกช่องทางการเรียนการสอน
ที่ชว่ ยใหน้ กั เรยี นสนกุ และเรยี นรไู้ ปพร้อมกัน

จากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร สังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) เพ่ือน�ำ
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ซึง่ มุง่ มาจดั ทำ� สอื่ การเรยี นการสอนเชิงบูรณาการใหต้ รงกบั ความ
ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำ� คญั ๕ ประการ คอื  ความสามารถ สนใจของเดก็ ๆ เพราะโครงการใดๆ จะเกดิ ขน้ึ ไมไ่ ดเ้ ลย หาก
ในการสอื่ สาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้ทักษะชวี ติ และ เด็กไมย่ อมรบั หรือไมร่ สู้ กึ สนุกกับโครงการเหลา่ นน้ั
การใช้เทคโนโลยี โดยครูผู้สอนต้องปลูกฝังและพัฒนาให้ผู้
เรียนเกิดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระ แต่เน่ืองจากโรงเรียน สนุก สร้างสรรค์ ท�ำงานดว้ ยความรกั
พระแก้ววิทยา จังหวัดสุรินทร์ ยังไม่มีการจัดการเรียน
การสอนแบบบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มี เมอื่ โครงการผา่ นการสนบั สนนุ จาก สสค.แลว้ อาจารย์
ประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน เมื่อสังเกตพบ สุพชิ ฌาย์และคณะจงึ เรม่ิ การทำ� งาน โดยจัดอบรมให้ความ
วา่ เดก็ ๆ มคี วามสนใจเร่ืองคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีเปน็ รู้เก่ียวกับการท�ำหนังสั้น ต้ังแต่เชิญวิทยากรท่ีมีความรู้ด้าน
พเิ ศษ “ โครงการการบรู ณาการกจิ กรรมการเรยี นการสอน การท�ำภาพยนตร์มาให้ความรู้กับนักเรียนมัธยมต้น-ปลาย
โดยใชห้ นงั สนั้ ” จึงเกดิ ข้นึ จ�ำนวน ๓๗๐ คน และอาจารยใ์ นโรงเรยี น ๑๘ คน
อาจารยส์ พุ ชิ ฌาย์ เทศทอง เจา้ ของไอเดยี โครงการ ดว้ ยเวลาอบรม ๓ วัน สองวนั แรก นกั เรียนและครู
การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้หนังส้ัน ได้เรียนรูข้ ั้นตอนการถา่ ยทำ� ภาพยนตร์ หนงั สัน้ และสารคดี
เป็นผู้เสนอของบประมาณสนับสนุนจากส�ำนักงานส่งเสริม กันเต็มอิ่มตั้งแต่วิธีเขียนสคริปไปจนถึงข้ันตอนการถ่ายท�ำ
และโพสตโ์ ปรดักชน่ั คอื อบรมการใช้โปรแกรมตดั ตอ่ วดิ ีโอ

128 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

จากนนั้ จงึ แบง่ นกั เรยี นเปน็ กลมุ่ ละ ๕ – ๘ คน ไดก้ ลมุ่ สารคดีเร่ืองน้ีเป็นอีกหนึ่งเร่ืองราวท่ีถ่ายทอดความ
กิจกรรมท้ังหมด ๓๖ กล่มุ โดยใหน้ กั เรยี นเลอื กอย่างอิสระ เปน็ มารากเหงา้ ทอ้ งถน่ิ ชาวสรุ นิ ทรท์ เี่ ชอื่ มโยงกบั อาณาจกั ร
ว่าอยากอยู่กลุ่มเดียวกับเพื่อนคนไหน และเลือกอาจารย์ เขมรโบราณ และยงั สะทอ้ นแงง่ ามทางวฒั นธรรมวา่ เราและ
ที่ปรึกษากลุ่มละ ๑ คน ซึ่งอาจารย์แต่ละท่านดูแลเด็ก ประเทศเพอื่ นบ้านลว้ นเป็นพนี่ ้องกนั
คนละไม่เกนิ ๓ กลุ่ม แลว้ จงึ เลือกประเภทหนังท่ีสนใจจาก นอกจากนน้ี กั เรยี นยงั ทำ� หนงั สน้ั เกย่ี วกบั สาธารณสขุ
๓ ประเภท คอื หนงั สนั้ สง่ เสรมิ คณุ ธรรม ภาพยนตรจ์ ากกลมุ่ สุขภาพ สงั คม และอื่นๆ อีกหลายเรื่อง รวมแล้วมีหนงั สัน้
สาระการเรยี นรู้ หรอื หนังสารคดี ๓๖ เรื่อง ซึ่งต้องยอมรับว่าความส�ำเร็จนี้เกิดจากความ

ถา่ ยทำ� หนังสั้นเร่อื ง รักของแม่ ตดั ต่อ รับเกยี รติบัตรอบรม การผลิตหนงั สั้น

เม่อื ได้เพอ่ื นไดค้ รู ไดเ้ รื่องแลว้ เด็กๆ จึงเริ่มลงมอื คิด รว่ มแรงรว่ มใจของคณะครทู กุ คนในโรงเรยี นทค่ี อยเปน็ ก�ำลงั ใจ
สครปิ ต์ วางพลอ็ ต และออกไปถา่ ยท�ำหนัง ตามท่ีไดก้ �ำหนด รวมถึงสละเวลาออกไปถา่ ยงานกบั เด็กๆ คอยให้ค�ำแนะนำ�
ไว้ ขั้นตอนน้ีเป็นขั้นตอนท่ีสนุกและเด็กๆ อยากมีส่วนรวม ตลอดจนชว่ ยแกป้ ญั หา รวมไปถงึ ผบู้ รหิ ารทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ
มากท่สี ดุ ขนั้ ตอนหน่งึ แต่ละกลุ่มคิดงานกนั อยา่ งสร้างสรรค์ ให้ก�ำลงั ใจ และ สสค. ที่ให้งบประมาณสนับสนนุ
หากเปน็ หนังสน้ั ทค่ี ดิ วา่ จะสง่ ประกวด เดก็ ๆ จะคัดตัวแสดง จากขั้นตอนถ่ายท�ำ สู่โพสต์โปรดักช่ัน แล้วก็ถึง
อย่างพิถีพิถันกันเป็นพิเศษ เขียนเร่ือง วางโครงมาให้ครู เวลาทท่ี ุกคนรอคอย คือ ขัน้ ตอนการเผยแพรผ่ ลงาน และ
ทป่ี รกึ ษาตรวจปรบั แกก้ อ่ นถา่ ยจรงิ กนั หลายครง้ั (จนถงึ ถา่ ย ประชาสมั พนั ธศ์ กั ยภาพและความคดิ สรา้ งสรรคข์ องนกั เรยี น
ซอ่ มในกรณที ยี่ งั ไมถ่ กู ใจ) เดก็ ๆ จงึ ไดเ้ รยี นรกู้ ารทำ� งานอยา่ ง ในการทำ� หนังสน้ั ตอ่ สาธารณชน ซ่ึงมที ั้งการจดั ฉายในหอ้ ง
รอบคอบ เอาใจใส่ และทมุ่ เทกับการท�ำงานกันอยา่ งจริงจงั ประชมุ ใหญ่ของโรงเรียน ๒ คร้งั ใหน้ ักเรยี นทุกช้ันปไี ด้ชม
ส่วนหนังส้ันท่ีเด็กๆ ให้ความสนใจนิยมท�ำมากท่ีสุด คือ ร่วมกนั
สารคดที อ่ งเทย่ี วแนวประวตั ศิ าสตร์ ทไี่ ดอ้ อกไปถา่ ยทำ� เรอ่ื งราว พิธีกรกล่าวเชิญชวน ผู้ชมทุกคนพร้อมประจ�ำที่
ปราสาทหินในจังหวัดสุรินทร์ เหตุผลก็เพราะเป็นสารคดี เด็กๆ ลุ้นกันตัวโก่งว่าหนังกลุ่มไหน ครูจะวิจารณ์ให้ข้อคิด
ท่องเท่ียวที่ได้แนะน�ำโบราณสถานในบ้านเกิด อีกท้ังยังได้ เห็นอย่างไรบ้าง เด็กบางคนก็ลุ้นว่าจะมีตัวเองอยู่ในจอ
ออกไปเที่ยวดว้ ยนัน่ เอง หรือเปล่า เม่ือได้เห็นตัวเองก็ยิ้มแก้มแทบปริ ส่วนเพ่ือน
สารคดีวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน เกี่ยวกับพิธีแซนโฏนตา ขา้ งๆ กส็ ะกดิ หรอื โหแ่ ซว บางคนมพี อ่ แม่ ผปู้ กครองไดเ้ ขา้ ฉาก
ประเพณีโบราณอันมีประวัติความเป็นมายาวนานนับพันปี ก็ถือเป็นความภาคภูมิใจอย่างย่ิง นอกจากนี้อาจารย์
ต้ังแตส่ มยั ขอมโบราณ ซงึ่ ชาวสุรินทร์จดั ขนึ้ เป็นประจ�ำทุกปี ยังได้จัดนิทรรศการแสดงผลงาน และที่ส�ำคัญคือการใช้สื่อ
เพื่อเซ่นไหว้บรรพบุรุษ แสดงออกถึงความกตัญญูต่อผู้มี อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ผยแพรผ่ ลงานผา่ นเวบ็ ไซตย์ ทู บู (You Tube)
พระคณุ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ความรกั ความผกู พนั ความกตัญญู จึงเป็นอีกหน่ึงความภาคภูมิใจของเด็กๆ ท่ีผลงานเขาได้
ของสมาชิกในครอบครวั เครอื ญาติ และชมุ ชน เผยแพร่ไปท่ัวโลก และบรรลุเปา้ ประสงคข์ องโครงการท่ไี ด้

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้ 129

บูรณาการการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมากท่ีสุดครั้งหน่ึงของ แม้จะไม่สามารถสรุปได้ ว่าโครงการนี้มีผลต่อการ
โรงเรยี น สอบท่ีดีข้ึนของนักเรียน ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ แต่น่ีก็คือก้าว
เล็กๆ ทนี่ ำ� มาซ่ึงความภมู ใิ จของผู้สอน และผู้มสี ว่ นผลักดัน
ผลส�ำเร็จเกินคาดหมาย โครงการทุกๆ คน

หากมองดา้ นการเรยี นการสอน“โครงการการบรู ณาการ รางวัลจากความคดิ สร้างสรรค ์
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้หนังส้ัน” มีส่วนช่วยให้
นกั เรยี นของโรงเรยี นพระแกว้ วทิ ยา ประสบความสำ� เรจ็ ดา้ น ส�ำหรับเด็กๆ ส่ิงที่ช่วยยืนยันคุณภาพผลงาน และ
วิชาการเป็นอย่างดี ดังจะเห็นได้จากผลการสอบ O-NET เปน็ รางวลั ใหก้ บั ความมงุ่ มนั่ ตง้ั ใจในการผลติ ผลงานของเขา
ประจ�ำปกี ารศึกษา ๒๕๕๔ ของนกั เรียนระดับชัน้ ม.๓ และ คือการท่ีหนังสั้นในโครงการนี้หลายเร่ืองได้รับรางวัลการ
ม.๖ ทีส่ งู ข้นึ โดยวิชาที่เด็กชั้น ม.๓ มีคะแนนสงู ขึน้ คือ วชิ า ประกวดโครงการหนังส้ัน จากหลายสถาบัน อาทเิ ช่น
ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์ และศิลปะ ส่วนช้นั • รางวลั เหรยี ญทอง การแขง่ ขนั ประกวดภาพยนตร์
ม.๖ รายวิชาท่คี ะแนนดีขนึ้ คือ ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ สน้ั สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖
และการงานอาชพี และเทคโนโลยี งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจ�ำปี ๒๕๕๔ ระดับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื ภาพยนตร์ เรื่อง “บ้า”
นำ� เสนอภาพยนตร์ เรอ่ื ง” บา้ ” งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ประจำ� ปี • รางวัลชนะเลิศ การประกวดส่ือสร้างสรรค์
๒๕๕๔ ระดับภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จังหวัดมหาสารคาม ประเภทหนังส้ัน หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าช่วยพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนไทยได้อย่างไร ส�ำนักงานหลักประกัน
สุขภาพ เขต ๙ นครราชสีมา ภาพยนตร์ เรื่อง “ชีวิตน้ี...
มหี ลกั ประกนั ”
ความส�ำเร็จในการประกวด และการเข้าร่วมการ
ประกวดระดับประเทศนี้ ไดส้ รา้ งความภาคภมู ิใจใหก้ บั เด็ก
วา่ โรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คมยกยอ่ งใหก้ ารยอมรบั ทำ� ใหเ้ ดก็
เห็นคณุ ค่าในตวั เอง และจากความส�ำเร็จเลก็ ๆ นีเ้ อง ท�ำให้
เดก็ บางคนตอ่ ยอดเลอื กเรยี นตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษาในสาขา
วชิ าการผลติ ภาพยนตร์ และคณะนเิ ทศศาสตร์
โครงการน้ีจงึ เป็นเหมือนแรงบันดาลใจใหเ้ ดก็ ค้นพบ
ศักยภาพในตัวเอง และท�ำให้เขาเหล่านั้นรู้ถึงความชอบ
ความรกั ในการเลอื กเสน้ ทางชวี ิตอกี ด้วย ทส่ี ุดแลว้ โครงการ
การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้หนังส้ัน
จึงเป็นอีกหน่ึงตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นว่า การเรียนรู้แบบ
บูรณาการอย่างสร้างสรรค์ บวกกบั ความสนุกในการท�ำงาน
มกั มผี ลสำ� เรจ็ ทนี่ า่ ภาคภมู ใิ จของทงั้ อาจารยผ์ สู้ อน และเดก็ ๆ
รวมอยดู่ ว้ ยเสมอ

รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดสื่อสร้างสรรค์ ประเภทหนังสั้น เคล็ดลับความส�ำเรจ็
จากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต ๙ จากภาพยนตร์เร่ือง วางแผนการท�ำงานและมอบหมายงานใน
“ชีวติ นี้...มีหลักประกัน” แต่ละกิจกรรมให้ชัดเจน ท�ำงานตามแผนท่ีวางไว้
ตรวจสอบการทำ� งานกบั ผเู้ กย่ี วขอ้ งเปน็ ระยะๆ มอง
ให้เห็นปัญหา อปุ สรรค และหาแนวทางแกไ้ ข

130 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้

อนรุ กั ษ์วัฒนธรรมเพื่อปลกู ฝังภูมิปัญญาท้องถ่นิ

และเสรมิ สร้างคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องนกั เรียนโรงเรยี นสงู เนิน

โรงเรยี นสูงเนนิ นครราชสีมา

“สวัสดีค่ะ ขอน�ำผู้มีเกียรติทุกท่านเข้าสู่
ดินแดนอารยธรรมเก่าแก่ อ�ำเภอสูงเนิน...
ถนิ่ เดมิ โคราช  พระพทุ ธไสยาสน์ศลิ า ธรรมจกั ร
ล้�ำค่า ปราสาทหินโบราณ ส้มโอหวานรสดี
ประเพณกี ินเขา่ ค�ำ่ แดนธรรมวะภแู ก้ว”

เสียงเจื้อยแจ้วชวนฟังของยุวมัคคุเทศก์ตัวน้อย มองเห็นสถานการณไ์ ม่ต่างกนั
ท่ีก�ำลังเชิญชวนแขกบ้านแขกเมือง ให้รู้จักของดีที่เป็น “เดีย๋ วนอ่ี นี าง ไอน้ ายน้อย ไมร่ อ่ งเพลงโคราช ไม่ก๋นิ
เอกลักษณ์เมืองสูงเนินด้วยความภาคภูมิใจอยู่นี้ คือหนึ่ง เขา่ ปาด เขา่ แพะ แกงบวน และไมพ่ ดู ไมจ่ าภาษาโคราชบา้ น
ในผลส�ำเร็จของ โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมเพื่อปลูกฝัง เอง๋ กันเด้ิง”
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึง
ประสงคข์ องนกั เรยี นโรงเรยี นสงู เนนิ จงั หวดั นครราชสมี า ชมุ นมุ อนรุ กั ษว์ ัฒนธรรม
ซง่ึ ไดร้ ับการสนับสนนุ จาก สสค.
เพราะที่น่ีก็พบปัญหาแห่งยุคสมัยไม่ต่างอะไรจาก ทุกวันอังคารคาบเรียนสุดท้าย เด็กๆ นักเรียนช้ัน
ที่อื่นๆ คอื เยาวชนร่นุ ใหมเ่ ริม่ หลงลมื และละเลยวฒั นธรรม ม.๑-ม.๖ ท้ัง ๒,๐๑๙ คน ต่างแยกย้ายกันไปท�ำกิจกรรม
ทอ้ งถ่ิน มองไม่เห็นคณุ ค่าของมรดกภูมิปัญญาที่บรรพบรุ ษุ ชมุ นุมท่ีพวกเขาสนใจซึง่ มีมากกว่า ๔๐ ชุมนมุ ในจ�ำนวนนี้
ได้ส่ังสมและสืบทอดต่อกนั มา มี ๖ ชมุ นมุ ซ่งึ ไดร้ บั การสนับสนนุ จากโรงเรยี น และ สสค.
เพอื่ ใหเ้ กดิ การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมท้องถนิ่ “โคราชบา้ นเอ๋ง”
ท�ำอย่างไรให้เด็กรักท้องถน่ิ ซ่งึ ก็ได้รับความนยิ มจากเดก็ ๆ อยา่ งล้นหลาม เพราะเต็มไป
ดว้ ยกจิ กรรมดๆี ทส่ี นุกสนานมากมาย
“ไม่ใช่ความผิดของเด็กๆ หากแต่เป็นหน้าท่ีของ
โรงเรียนท่ีมีบทบาทในการจัดการศึกษาให้กับพวกเขา อนรุ กั ษ์ภาษาโคราช
เพราะความหมายของการศกึ ษา คอื กระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื
ความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอด “ใครไม่รู่จิไป๋เท่ียวก๊ะไหนหมู่ แก่ลองไปเที่ยวแถว
ความรู้ การฝึกอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การ ลานอนสุ าวรยี ย์ า่ โมถว่ั ะ เคา้ จด๊ั ดเี๋ จน่ ดอกเดไ่ ปด๋ ถู๋ ว่ั ะ เดยี๋ วจิ
สรา้ งสรรคจ์ รรโลงความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ การสรา้ งองค์ หาวา่ ฉนั ฉ่ปี ด๊ อ๊กี แกะ่ ”
ความรู้ การศกึ ษาจงึ มหี นา้ ทสี่ ำ� คญั ทจี่ ะสรา้ งความตระหนกั หลังจากฝึกพูดภาษาโคราชในกิจกรรมชุมนุม
ใหก้ บั นกั เรยี น” จนคลอ่ งแลว้ ทกุ เชา้ ของวนั พธุ และวนั พฤหสั บดจี ะมดี เี จตวั จว๋ิ
“จะทำ� อย่างไรใหเ้ ดก็ ๆ เกดิ ความรสู้ กึ รักท้องถน่ิ ” ส่งส�ำเนียงภาษาโคราชที่มีจังหวะจะโคนสนุกสนานน่าฟัง
คอื โจทย์ใหญท่ ่ี อ.ธรรมชาติ อมฤกษ์ ผู้อ�ำนวยการ
โรงเรยี นสงู เนนิ โยนลงมาให้ อ.สาธติ ปลวิ สงู เนนิ และ อ.เรณู
เวบสูงเนิน ช่วยกันคิด ในฐานะลูกหลานชาวสูงเนินที่

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้ 131

ผ่านเสียงตามสาย ทกั ทายเด็กๆ ทุกคนในโรงเรียน หน่ึงใน
กิจกรรมอนรุ ักษ์ภาษาถนิ่ ที่ อ.อารยี ์ บุญปล้มื กลมุ่ สาระ
การเรยี นรภู้ าษาไทย ไดร้ ณรงคใ์ หน้ กั เรยี นหนั กลบั มาเรยี นรู้
ภาษาด้ังเดิมของพ่อแม่มากข้ึน รื้อฟื้นความทรงจ�ำสมัย
ยงั เปน็ เดก็ เลก็ ๆ ท่เี คยนอนหนนุ ตกั แม่ ฟังผูใ้ หญ่พดู คยุ กนั
“จ๋งิ ๆ แล่วมันเปน๋ ความภูมใิ จ๋ของลกู โคราชทุกคนท่ี
จไิ ด่พดู ภาษาโคราชบา้ นเอง๋ ใหค่ นอ่ืนเค้าไดร่ ู่ ว่าน่คี อื ภาษา
โคราชหน่าไม่ใช่ภาษาอีสาน มันเป๋นเอกกะล๋ัก ซ่ึงไหม่มี
จังหวัด๊ ไหนเหมอื น”
นอกจากน้ียังมีเพลงโคราช เพลงพ้ืนบ้านที่หาฟัง
ยากข้ึนทุกวัน ซึ่งเป็นเพลงที่ท้าวสุรนารีหรือท้าวย่าโมชอบ
มาก เด็กๆ หลายคนเคยไดย้ นิ อย่บู า้ งเวลาที่มีการบวงสรวง
อนสุ าวรยี ์ท้าวย่าโม แตก่ ็ไม่บ่อยนัก คณุ ครจู ึงชวนวิทยากร
ท้องถิ่นท่ีมีจิตอาสา มาช่วยสอนเพลงโคราชให้พวกเขาทุก
สปั ดาห์ ทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ ไดฝ้ กึ รอ้ ง ฝกึ รำ� จนเกง่ สามารถออกงาน
แสดงได้ดว้ ยความภาคภมู ิใจ

อาหารทอ้ งถนิ่ โคราช ยุวมคั คุเทศก์

ยา้ ยมาดทู ชี่ มุ นมุ อนรุ กั ษอ์ าหารทอ้ งถน่ิ โคราชกนั บา้ ง วันน้ีมีคณะอาจารย์จากโรงเรียนอื่นมาเย่ียมชม
ท่นี ท่ี ง้ั สนกุ และอร่อย เพราะทุกสัปดาห์ เด็กๆ จะไดเ้ รียนรู้ โรงเรียนสูงเนิน จึงเป็นโอกาสดีท่ีเหล่ายุวมัคคุเทศก์จะได้
การท�ำอาหารทอ้ งถน่ิ โคราชหลากหลายเมนู แสดงฝมี อื การเปน็ ไกดท์ อ้ งถน่ิ ซงึ่ พวกเขาไดฝ้ กึ ฝนมาอยา่ งดี
อย่างผัดหม่ีโคราช อาหารข้ึนชื่อของท้องถ่ินท่ีนิยม จากการทคี่ รไู ดพ้ าลงพนื้ ทเี่ พอ่ื ศกึ ษาศลิ ปะสมยั ทวารวดี
ท�ำกินกันทุกบ้าน โดยเฉพาะเวลามีงานบวช งานแต่ง และ ในเขตเมอื งเสมา และศลิ ปะสมยั ขอมในเขตเมอื งโคราฆะปรุ ะ
งานเฉลิมฉลองท้งั หลาย นิยมรับประทานคู่กบั ส้มตำ� โคราช ซง่ึ เปน็ เมอื งเกา่ ๒ เมอื ง ทเี่ คยเจรญิ รงุ่ เรอื งมาตงั้ แตส่ มยั ขอม
รสชาตเิ ขา้ กนั ยังเป็นใหญ่อยูบ่ นแผ่นดนิ ทีร่ าบสงู ของอสี าน ก่อนจะกลาย
เข่าแพะ หรือข้าวแพะ เป็นอาหารพื้นเมืองอีกจาน มาเปน็ เมืองโคราชอย่างทุกวันนี้
หน่ึงที่สะท้อนถึงภูมิปัญญาของผู้เฒ่าผู้แก่ท่ีต้องการจะสอน ท�ำให้เด็กๆ ได้รับความรู้มากมายจากการได้สัมผัส
ให้ลูกหลานกินผักเป็น มีลักษณะคล้ายข้าวต้มเครื่องใส่ผัก ของจริง และเกิดความภาคภูมิใจที่บ้านเกิดของพวกเขามี
หลายๆ ชนดิ เชน่ ฟกั ทองออ่ น ดอกฟกั ทอง เหด็ บวบ ตำ� ลงึ แหล่งโบราณสถานส�ำคัญซ่ึงมีประวัติศาสตร์ยาวนานต้ังอยู่
ขา้ วโพดออ่ น ใบแมงลกั  ฯลฯ เปน็ อาหารจานเดยี วมคี ุณค่า และยงั เปน็ ความภาคภมู ใิ จของโรงเรยี นดว้ ยเชน่ กนั โรงเรยี น
ทางอาหารครบทกุ หมู่ จงึ ไดจ้ ำ� ลองสถานทส่ี ำ� คญั ๆ ของเมอื งโคราชมาไวท้ เี่ มอื งเกา่
ส่วนขนมพื้นบ้านโคราชอย่างขนมเข่าปาด หรือ จ�ำลองของโรงเรียนดว้ ย
ข้าวปาด ทำ� จากแปง้ ข้าวเจ้ากวนกบั น้�ำตาล ทเ่ี รยี กวา่ ขนม แม้วันน้ีจะไมไ่ ด้เห็นของจรงิ แต่เด็กๆ ยวุ มัคคุเทศก์
เข่าปาดก็เพราะว่า เม่ือกวนจนแป้งสุกซึ่งเน้ือแป้งยังมี กไ็ ดบ้ รรยายใหค้ วามรมู้ ากมายผา่ นเมอื งเกา่ จำ� ลอง จนคณะ
ลกั ษณะเหลวอยู่ กจ็ ะตกั ใสถ่ าดแลว้ เกลย่ี หรอื ปาดใหท้ วั่ เมอ่ื ดงู านหลายคนเหน็ ภาพตาม เหมอื นกบั วา่ ไดไ้ ปเทย่ี วในสถาน
ขนมเย็นแล้วจะแข็งตัว มักจะตัดเป็นชิ้นสี่เหล่ียม เวลาจะ ทจี่ รงิ อย่างไรอยา่ งนนั้
รับประทานก็ขูดมะพร้าวเป็นเส้นๆ ผสมกับเกลือเล็กน้อย
นำ� มาโรยหนา้ ...ดูนา่ กนิ เปน็ ท่ีสุด
อาหารหลายอย่างเด็กๆ ไม่เคยชิมมาก่อน แต่วันน้ี
พวกเขาได้มาลงมือท�ำด้วยตัวเอง หลายคนบอกว่าจะกลับ
ไปท�ำใหพ้ อ่ และแมไ่ ดช้ ิมฝีมือของตัวเองบ้าง

132 ๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้

อ.ปรียาภา สุกรินทร์ และ อ.ศุกร์กัญญา ปราบ
สงู เนนิ ไดค้ ิดคน้ ประดษิ ฐท์ ่ารำ� “ระบ�ำเสมานคร” ขึ้น โดย
จินตนาการจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเมืองเสมาใน
อดีต ออกมาเป็นระบ�ำท่ีมีความอ่อนช้อย งดงาม ซ่ึงเด็กๆ
ไดฝ้ กึ ซอ้ มทา่ รำ� กนั อยา่ งอยา่ งตงั้ อกตงั้ ใจ และไดน้ ำ� ไปแสดง
ในงานต่างๆ อยเู่ สมอ

ประตมิ ากรรมทอ้ งถ่นิ เสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะพงึ ประสงค์

นอกจากกลุ่มยุวมัคคุเทศก์แล้ว การได้ลงไป รอยย้มิ และความมงุ่ มั่นตัง้ ใจของเดก็ ๆ ท�ำให้เห็นว่า
ทัศนศึกษาที่เมืองโบราณต่างๆ ยังท�ำให้เด็กๆ ที่สนใจงาน พวกเขามคี วามสขุ กบั การไดเ้ รยี นรกู้ จิ กรรมตา่ งๆ ทโ่ี รงเรยี น
ด้านประติมากรรมท้องถิ่นได้เรียนรู้ภูมิปัญญาของช่างปั้น ได้จัดสรรขึน้ เกิดความรู้ความเข้าใจ เกดิ ความรัก ตระหนัก
สมัยก่อน ท่ีได้ถ่ายทอดผลงานอันวิจิตรงดงามจนมาถึง และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อีกท้ังยัง
ปัจจุบัน สามารถสร้างสรรค์ผลงานและน�ำเสนอต่อสาธารณชนได้
บวกกบั การไดร้ บั ความรจู้ ากวทิ ยากรทอ้ งถนิ่ ตอ่ ศกั ด์ิ อย่างมคี ุณภาพ
โลสงู เนนิ ชา่ งปน้ั ฝมี อื ชน้ั ครขู องชมุ ชน ทมี่ าชว่ ยสอนการปน้ั คือการเสริมสรา้ งคณุ ลักษณะพึงประสงคท์ งั้ ๔ ดา้ น
แบบนนู ตำ�่ นนู สงู รปู หนา้ คนและพระพทุ ธรปู อกี ทง้ั งานปน้ั ใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั นกั เรยี น ไดแ้ ก่ การมสี นุ ทรยี ภาพตอ่ วฒั นธรรม
รูปลอยตัว เทวรปู ยุคโบราณ เปน็ งานเลยี นแบบงานโบราณ เกดิ ความรักและหวงแหนทอ้ งถ่นิ มีจติ บรกิ าร และมีความ
ที่พบในอ�ำเภอสูงเนิน ซ่ึงเด็กๆ ก็สามารถท�ำออกมาได้ดี ภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย
หลายคนฉายแววศิลปินจนวิทยากรเอ่ยปากชมว่าสามารถ โครงการนี้สะท้อนให้เห็นการบริหารจัดการสถาน
นำ� ไปต่อยอดเปน็ อาชีพไดใ้ นอนาคต ศกึ ษาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพของโรงเรียนสูงเนิน ทสี่ ามารถ
เชอื่ มรอ้ ยความรว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ น ทง้ั จากบคุ ลากรใน
ดนตรไี ทยและระบ�ำเสมานคร โรงเรยี น วิทยากรทอ้ งถ่นิ นกั เรียน และผปู้ กครอง ทรี่ ว่ ม
มอื รว่ มใจกันอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมอันมคี ่าของชาวสูงเนินให้
วงดนตรไี ทย โรงเรยี นสงู เนนิ นบั เปน็ กจิ กรรมทส่ี รา้ ง อยคู่ ่กู บั พวกเขาตอ่ ไป
ชื่อเสียงให้กับโรงเรียนมามากมายหลายเวที โดยเฉพาะ
ในงานประเพณีกินเข่าค่�ำและงานฉลองวันชัยชนะท่านท้าว เคล็ดลับความส�ำเร็จ
สุรนารี ซง่ึ ครูและเด็กๆ จะพากันฝึกซ้อมในคาบชมุ นมุ และ เหน็ ปญั หา ตระหนักถงึ บทบาท พลงั จากทุก
หลงั เลกิ เรยี นอยา่ งขยนั ขนั แขง็ เพอื่ ใหก้ ารแสดงผลงานออก ภาคสว่ น กจิ กรรมทห่ี ลากหลายและขบั เคลอ่ื นอยา่ ง
มาดที ่ีสุด สร้างความประทับใจให้กับผู้มาเทีย่ วชมงาน เปน็ กระบวนการ
นอกจากนค้ี รยู งั ไดค้ ดิ คน้ เพลงบรรเลง ซง่ึ ใชป้ ระกอบ
การแสดงระบ�ำเสมานคร การแสดงท่ีเป็นเอกลักษณ์ของ
โรงเรียนอกี ด้วย

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 133

กพรัฒะบนวานทกักาษระกกาารรสสะอกนดกเสาียรงอ่านภาษาองั กฤษผา่ น
ส�ำ หรบั นักเรยี นท่ีอ่านค�ำ ภาษาอังกฤษไม่ได้ในโรงเรียนขยายโอกาส
ทางการศึกษา
ส�ำ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต ๕
โรงเรยี นหนองผอื ราษฎร์ประสิทธ์ิ ขอนแกน่ ABC

“ซี เอ ที แคท แมว” ภาษาอังกฤษ ปญั หาสากลของเด็กไทย
“อาร์ เอ ที แรท หนู”
เสยี งทอ่ งคำ�ศพั ทอ์ ยา่ งพรอ้ มเพรยี งกนั “เด็กบางคนอยู่ ม. สามแลว้ ยงั อา่ นชื่อตวั เองไมไ่ ด้
ดงั ออกมาจากหอ้ งเรียน เปน็ สัญญาณใหร้ วู้ า่ สะกดไม่เป็น ครยู งั คิดเล่นๆ เลยวา่ จะให้เรียนจบดไี หม”
เป็นคาบเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ ดว้ ยเสยี งดัง อ.พัชนี เพียทา สะท้อนปัญหาเด็กพูด-อ่านภาษา
ฟังชดั ดฉู ะฉาน ทำ�ใหห้ ลงคดิ ว่าเด็กนักเรยี น องั กฤษไมไ่ ด้ ทเ่ี มอ่ื หนั มามองเพอ่ื นครจู ากโรงเรยี นอน่ื กล็ ว้ น
ตอ้ งอา่ นออก เขา้ ใจภาษาองั กฤษไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ประสบปัญหาไม่ต่างกัน ครูไม่สามารถสอนให้เด็กอ่านได้
เปน็ แน่ กระทง่ั ลองหยบิ ฉลากผลติ ภณั ฑอ์ ะไร เดก็ กอ็ า่ นไมอ่ อก ยง่ิ เปน็ โรงเรยี นขยายโอกาสอยา่ งทอ่ี าจารย์
บางอย่างมาให้ลองอ่าน แล้วเด็กอ่านไม่ได้ ท�ำงานอยู่ด้วยแล้ว เด็กเรียนอ่อนจนครูอ่อนใจ แม้จะลอง
สะกดไม่เป็น ปรบั การเรยี นการสอนหลายแบบแล้วก็ยังไม่เห็นผล
คงเป็นโชคดีของเด็กอยู่บ้าง เม่ืออาจารย์พัชรีได้พบ
134 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ กับระบบการประสมเสียง (Phonic Combination) เม่ือ
ทดลองฟัง ทดลองใช้ ศึกษาข้อมูลจนคิดว่าน่าจะเป็นทาง
ที่ใช่ อาจารยพ์ ัชรจี งึ ชักชวนเพื่อนครูอกี ๔ โรงเรยี น ได้แก่
โรงเรียนบ้านหนองแดง โรงเรียนบ้านกง (ประชานุกูล)
โรงเรยี นบา้ นโคกไมง้ าม โรงเรยี นบา้ นศรสี ขุ รวมกบั โรงเรยี น
บ้านหนองผือราษฎร์ประสิทธ์ิ เป็น ๕ โรงเรียน จาก ๓

อำ� เภอ ของจงั หวดั ขอนแกน่ จบั มอื กนั จดั ทำ� โครงการพฒั นา
ทกั ษะการสอนการอา่ นภาษาองั กฤษผา่ นกระบวนการการ
สะกดเสียง ส�ำหรับนักเรียนที่อ่านค�ำภาษาอังกฤษไม่ได้
ในโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพนื้ ที่
การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๕ โดยได้รับทุน
สนับสนุนจากส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ
คณุ ภาพเยาวชน หรือ สสค.

Phonic ฝกึ อ่าน ผ่านการออกเสียงตัวอกั ษร เมื่อยาขมเรม่ิ เป็นขนมหวาน

โครงการเร่ิมจากการจัดหาระบบ Phonic ซ่ึงเป็น นอกจากการเรยี นดว้ ยซดี รี อมโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาติดตั้งในห้องคอมพิวเตอร์ของ อาจารย์พัชรียังได้ท�ำเอกสารการเรียนการสอน เป็นคู่มือ
โรงเรียนและโรงเรียนเครือข่าย แล้วฝึกครูผู้สอนภาษา และตารางการออกเสียงเทียบเสียงพยัญชนะและเสียงสระ
องั กฤษในเครอื ขา่ ยใหอ้ อกเสยี ง ใชโ้ ปรแกรมจนช�่ำชองกอ่ น องั กฤษ-ไทยให้เดก็ ได้ดูประกอบดว้ ย
จึงเริ่มทดลองสอน ทดลองเรยี นกบั เดก็ ๆ “ตอนแรกทำ� คมู่ อื แบบธรรมดาไมม่ ลี กู เลน่ อะไร เดก็
“ระบบ Phonic กค็ ือโปรแกรมการออกเสียงให้เดก็ เลยไม่สนใจ ไม่ดูไม่อ่าน ท้ิงๆ ขว้างๆ เราเลยปรับใหม่ใส่
ฝึกพดู ตาม เหมือนทีน่ กั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัย เรียนวชิ าภาษา ลูกเล่นลงไป ท�ำเป็นสมุดภาพ มีสีสัน มีตัวการ์ตูน เด็กก็
อังกฤษแบบ Phonetic ทีต่ ้องออกเสียงตัวอักษร ไมใ่ ช้อา่ น สนใจกนั มากขนึ้ ”
ตวั อักษร เช่น ตวั บี (b) ก็ต้องออกเสียง เบอะ ไม่ใช่ บี ตัวพี เปน็ ตวั อยา่ งทช่ี ดั เจนวา่ เนอื้ หาสาระทดี่ ตี อ้ งควบคกู่ บั
(p) กต็ ้องออกเสียง เพอะ ไม่ใชอ่ ่านว่า พี อยา่ งน้ีเปน็ ตน้ ” การนำ� เสนอทโี่ ดนใจ ทำ� นองเดยี วกบั ยาดแี ตข่ ม คนไมน่ ยิ มกนิ
“เหมอื นในภาษาไทยเหมือนกนั เราใชก้ ารออกเสยี ง ก็ไม่เกิดประโยชน์ ก็ไม่อาจนับเป็นยาดี แต่ถ้าปรับกล่ินรส
แบบ phonic มาตง้ั แตแ่ รก สงั เกตเวลาสะกดคำ� เราสะกดวา่ ใหจ้ ูงใจ กนิ ได้ง่ายขึน้ ยานั้นกจ็ ะเกิดประโยชน์
กอ – อิ – นอ เราไมไ่ ดพ้ ดู วา่ ไก่ – อิ – หนู ใชไ่ หม เพยี งแตเ่ รา “แรกทีเดยี วโครงการนจ้ี ะท�ำแตเ่ ฉพาะเดก็ มธั ยม ๑
ไมเ่ อาสงิ่ เหลา่ นไ้ี ปใชก้ บั ภาษาองั กฤษจงึ ทำ� ใหเ้ ดก็ อา่ นภาษา ถงึ ๓ แตเ่ หน็ วา่ โรงเรยี นของเรามชี น้ั ประถม กเ็ ลยลองใชส้ อน
อังกฤษไม่ได้ เพราะเด็กถูกสอนให้จ�ำทีละตัว คือ เอ บี ซี เดก็ ประถมดว้ ย ซง่ึ ผลทไ่ี ดเ้ ปน็ ทนี่ า่ พอใจมาก เดก็ เรยี นรกู้ าร
เมอ่ื จะมาประสมคำ� จงึ ท�ำไม่ได้”

๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 135

นอกจากนี้อาจารย์ยังทดลองน�ำฉลากสินค้า
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ท่ีมีภาษาอังกฤษมาให้เด็กอ่าน ก็ปรากฏ
ว่าเด็กอ่านค�ำท่ีไม่เคยเห็นมาก่อนได้ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม
แม้จะอา่ นออกแลว้ แต่ความหมายในคำ� นัน้ ยังเป็นเรื่องยาก
อยดู่ ี
“เวลาเอาฉลาก หนังสือ หรือแผ่นพับอะไรมาใหเ้ ด็ก
ลองอ่าน เขาอา่ นกนั ได้มากขน้ึ แม้จะยงั ไมช่ ดั ถอ้ ยชดั ค�ำ แต่
กถ็ อื วา่ มีพฒั นาการทด่ี ี เรอื่ งที่หว่ งคอื เดก็ อ่านไดแ้ ล้วยงั ไม่รู้
ความหมาย ซงึ่ เรากพ็ ยายามให้เขาพกดิกชนั นารตี ิดตวั เมื่อ
อา่ นอะไรแลว้ กใ็ หเ้ ปดิ หาความหมายเลย วธิ นี กี้ ช็ ว่ ยใหเ้ ขาจำ�
ความหมายของคำ� ได้ดีขน้ึ ด้วย”

ออกเสยี งไดด้ กี วา่ พม่ี ธั ยม เขา้ ใจวา่ เกดิ จากเดก็ ประถมเขายงั ขาดอุปกรณไ์ มใ่ ช่อุปสรรค
ไมถ่ กู ปลกู ฝงั ระบบการอา่ นออกเสยี งภาษาองั กฤษแบบเดมิ ๆ
เมื่อเราถา่ ยทอดระบบ Phonic ให้ เขาจึงรับได้เร็วกว่า ส�ำหรับโรงเรียนเครือข่ายท่ีรับทุนร่วมกัน อาจารย์
ส่วนในเด็กมธั ยมตอ้ งประมาณ ๓ เดอื นขนึ้ ไป ถึงจะ พัชรีเล่าว่า มีพัฒนาการเร็วบ้างช้าบ้างต่างกันไป ซ่ึงเกิด
เหน็ ผลความเปลย่ี นแปลง อยา่ งทบ่ี อกไปแลว้ วา่ โรงเรยี นเรา จากทั้งปจั จยั ภายในของเด็กเองทเ่ี ข้าใจช้า ทำ� ไมไ่ ด้ หรือไม่
เปน็ โรงเรยี นขยายโอกาส ประสทิ ธภิ าพการเรยี น ความใสใ่ จ ตง้ั ใจ และยงั มปี จั จยั ภายนอกเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งดว้ ย เนอ่ื งจาก
ของเดก็ ตอ่ การเรยี นจึงไม่ค่อยดนี ัก ต้องใหเ้ วลาเขา” โปรแกรม Phonic น้ี ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการฟงั การเรยี น
ไม่เพียงแต่ปรับเปล่ียนวิธีการสอน แต่คณะครูยัง การสอนสะกดคำ�
ติดตามประเมินผลว่าวิธีการน้ีจะสามารถช่วยลูกศิษย์ได้ บางครง้ั คาบเรยี นภาษาองั กฤษ หอ้ งคอมพวิ เตอรเ์ กดิ
เพียงใด ด้วยการทดสอบความรูก้ อ่ น (pre-test) และหลงั ไมว่ า่ ง เด็กกเ็ รยี นระบบ Phonic ไมไ่ ด้ ซ่งึ ส�ำหรับโรงเรยี น
(post-test) ใชร้ ะบบการสอนแบบน้ี โดยกอ่ นใชร้ ะบบการ บ้านหนองผือราษฎรป์ ระสทิ ธ์ิ ของอาจารย์พชั รี อาจารย์ได้
สอนไดล้ องใหเ้ ดก็ อา่ นคำ� ในภาษาองั กฤษวา่ ๓๐ คำ� จะอา่ น แกป้ ญั หาโดยซอื้ จอโปรเจก็ เตอรม์ าไวท้ โี่ รงเรยี น เมอื่ ถงึ คาบ
ได้กคี่ ำ� เมอ่ื ใชร้ ะบบนี้สอนได้ ๑ เดอื น วัดผลครั้งแรก เด็ก วชิ าภาษาองั กฤษทจ่ี ะเรยี นระบบ Phonic กต็ อ่ คอมพวิ เตอร์
เร่ิมอ่านคำ� ในภาษาองั กฤษได้บ้างแต่ยังนอ้ ยมาก จนกระท่ัง เข้ากับโปรเจ็กเตอร์ให้เรียนในห้องเรียนเลย โดยที่ไม่ต้อง
เดือนท่ี ๓ เดก็ จงึ เรม่ิ อา่ นออกมากขึน้ คืออ่านไดถ้ งึ ๒๕ ค�ำ อาศัยห้องคอมพวิ เตอรห์ ลักของโรงเรยี นเป็นหอ้ งเรยี น
จาก ๓๐ คำ� “ไม่ได้หวังอะไรมากมาย ขอแค่เด็กเขาอ่านออก
ทงั้ หมดนเ้ี กดิ จากความพยายามในการคน้ หา ปรบั วธิ ี แค่น้ีเราก็ถือว่าประสบความส�ำเร็จในระดับหน่ึงแล้ว”
การสอน และใหเ้ วลา ดว้ ยความเขา้ อกเขา้ ใจในบรบิ ทของลกู อาจารย์พัชรกี ล่าวทง้ิ ท้าย
ศษิ ยเ์ ป็นส�ำคัญ แม้ไม่รู้ว่าพัฒนาการด้านภาษาที่สองของเด็กไทย
จะไปไดไ้ กลแคไ่ หน แตอ่ ยา่ งนอ้ ยการชว่ ยกนั คนละไมค้ นละมอื
ก็เหมือนเป็นแสงสว่างเล็กๆ ส�ำหรับเด็กขาดโอกาส ที่ช่วย
จดุ ประกายความหวงั ใหฝ้ ง่ั ฝนั ในการเรยี นรภู้ าษาทสี่ องขยบั
ใกลเ้ ขา้ มาอกี นดิ

เคลด็ ลับความส�ำเรจ็
สรา้ งความเขา้ ใจ ทำ� งานเปน็ ทมี ใสใ่ จ อดทน

136 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

สถานที่ตดิ ตอ่ โรงเรยี นท่ีไดร้ ับเลอื กเปน็ โครงการท่ีมปี ระสิทธภิ าพ

โครงการเดน่ ด้านพฒั นาทกั ษะการคดิ

๑. บทเรยี นวิทยาศาสตร์แบบบูรณาการ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดจากบทปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์
ทส่ี อดแทรกภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ
โรงเรียนแคนดงพิทยาคม ๒๗๕ หม่ทู ่ี ๑๑ ต�ำบลแคนดง อำ� เภอแคนดง จงั หวัดบรุ รี ัมย์ ๓๑๑๕๐ 
๒. การพัฒนาทักษะการคดิ โดยใช้กิจกรรมการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย
โรงเรยี นเฉลิมขวัญสตรี ๒๘ ถนนพทุ ธบูชา ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมือง จงั หวัดพษิ ณุโลก ๖๕๐๐๐
๓. มหัศจรรย์การคดิ การพัฒนาทกั ษะการคิดทางคณติ ศาสตร์โดยใช้ SDM
โรงเรยี นชุมแพศึกษา ๑๖๗ หมู่ ๑๘ ถนนมลวิ รรณ ตำ� บลชมุ แพ อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๓๐
๔. การพัฒนาสอ่ื ประกอบการเรียนวิชาท้องถน่ิ ของเรา
โรงเรียนโนนเจรญิ พทิ ยาคม บา้ นโนนเจรญิ ๑๒๐ หมู่ ๑ ต�ำบลโนนเจรญิ อำ� เภอบ้านกรวด จงั หวดั บรุ รี ัมย์ ๓๑๑๘๐
๕. SQ3R กับการพัฒนากระบวนการคิดด้วยคำ� ถามหมวกความคิด ๖ ใบ
โดยใชอ้ ตั ลกั ษณข์ องโรงเรียนเปน็ ฐานในการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านเตง (เรือนจลุ ประชาสรรค)์ ๒๒๐ หมทู่ ่ี ๔ ตำ� บลแหลมโตนด อ�ำเภอควนขนุน จังหวดั พัทลงุ ๙๓๑๑๐
๖. ศลิ ปะสรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการสร้างนักคิด
โรงเรียนบ้านฟา้ หว่ น ตำ� บลฟา้ ห่วน อ�ำเภอค้อวัง จังหวดั ยโสธร ๓๕๑๖๐
๗. อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารสร้างหุ่นยนต์จากวัสดุรไี ซเคลิ
โรงเรยี นบา้ นห้วยจรเข้ หม่ทู ี่ ๑๕ บา้ นหว้ ยจรเข้ ตำ� บลหนิ ดาด อ�ำเภอดา่ นขนุ ทด จงั หวัดนครราชสีมา ๓๐๒๑๐
๘. ฝึกอบรมการพฒั นาทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ดว้ ยการเรียนรูบ้ รู ณาการผ่านพนั ธุ์พืช
โรงเรียนปยิ ชาติพฒั นา ในพระราชูปถมั ภ์ฯ ตำ� บลพรหมณี อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก ๒๖๐๐๑
๙. ยวุ วจิ ัยคณิตศาสตร์
โรงเรยี นพนาศกึ ษา หมู่ ๑๐ ถนนอุปชติ ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวดั อ�ำนาจเจรญิ ๓๗๑๘๐
๑๐. มะแขน่ เมอื งลสี ู่เวทโี ลก
โรงเรยี นเมืองลีประชาสามัคคี ๔๗ หมู่ ๑ ต.ปิงหลวง อ.นาหมน่ื จ.น่าน ๕๕๑๘๐
๑๑. การพัฒนาทกั ษะการคิดวิชาคณิตศาสตร์ไตรภาคี
โรงเรียนเลงิ นกทา ๒๙๙ หมู่ ๑๒ ถนนทยาปัสสา ตำ� บลสามแยก อำ� เภอเลงิ นกทา จงั หวดั ยโสธร ๓๕๑๒๐
๑๒. การพัฒนาทักษะความคิดข้นั สูงเพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นในโรงเรียนศรีรตั นวทิ ยา
โรงเรียนศรีรตั นวิทยา ๑๓๕ ตำ� บลสะพุง อ�ำเภอศรรี ัตนะ จงั หวดั ศรสี ะเกษ ๓๓๒๔๐
๑๓. การพฒั นาอัจฉรยิ ภาพทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนโดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad
เครื่องช่วยในการเรยี นรู้
โรงเรียนศรสี �ำโรงชนปู ถมั ภ์ ๙๗ หมู่ ๖ ต�ำบลคลองตาล อ�ำเภอศรสี ำ� โรง จังหวัดสุโขทยั ๖๔๑๒๐
๑๔. ลูกอยุธยาคน้ หา unseen ในจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
โรงเรยี นอยธุ ยาวทิ ยาลยั ๕๖ หมู่๒ ถนนปา่ โทน ตำ� บลประตชู ยั อำ� เภอพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ๑๓๐๐๐

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 137

โครงการเดน่ ดา้ นส่งเสริมทักษะชวี ติ

๑๕. โรงเรยี นต้นแบบศนู ยเ์ รยี นรสู้ ิ่งแวดล้อมเฉลมิ พระเกยี รติ
โรงเรยี นกดุ บากพฒั นาศกึ ษา ๒๗๙ หมู่ ๑ ถนน กดุ บาก - คำ� เพมิ่ ตำ� บลกดุ บาก อำ� เภอกดุ บาก จงั หวดั สกลนคร ๔๗๑๘๐
๑๖. สง่ เสรมิ การพฒั นากระบวนการเรยี นรสู้ ง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษา เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพนกั เรยี นสกู่ ารสรา้ งสำ� นกึ รกั ทอ้ งถนิ่
และสิ่งแวดล้อม
โรงเรียนขามแกน่ นคร ถนนกสิกรทุ่งสรา้ ง ตำ� บลศิลา อำ� เภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น ๔๐๐๐๐
๑๗. พฒั นาการเรยี นรคู้ วบคทู่ กั ษะชวี ติ
โรงเรียนชุมชนบา้ นหว้ ยยายจิว๋ ๓๙๙ หมู่ ๑ บ้านหว้ ยยายจิ๋ว ถนนสุรนารายณ์ ตำ� บลหว้ ยยายจว๋ิ อ�ำเภอเทพสถิต
จงั หวดั ชัยภูมิ ๓๖๒๓๐
๑๘. เขยี นใจกอ่ นเขยี นรปู
โรงเรยี นซับมงคลวทิ ยา หมู่ท่ี ๘ บา้ นซบั มงคล ตำ� บลโปง่ นก อ�ำเภอเทพสถติ จงั หวัดชัยภูมิ ๓๖๒๓๐
๑๙. พฒั นาทกั ษะชวี ติ ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โรงเรียนดอนน�ำ้ ใสวิทยา หมู่ ๑ ตำ� บลบา้ นวัง อำ� เภอโนนไทย จงั หวดั นครราชสมี า ๓๐๒๒๐
๒๐. การสง่ เสรมิ และพฒั นาทกั ษะชวี ติ ของนกั เรยี นโรงเรยี นนครขอนแกน่ โดยใชโ้ ครงสรา้ งซที (SEAT)
โรงเรียนนครขอนแกน่ เลขท่ี ๒๒๘ หมู่ ๒ ถนนมะลิวัลย์ ตำ� บลบา้ นทมุ่ อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน่ ๔๐๐๐๐
๒๑. ลมหายใจของใบเตย
โรงเรยี นนาเฉลยี งพทิ ยาคม ๒๑๔ หมู่ ๘ ถนนสระบรุ -ี หลม่ สกั ตำ� บลนาเฉลยี ง อำ� เภอหนองไผ่ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๖๗๒๒๐
๒๒. การจดั การศกึ ษาโดยนอ้ มนำ� ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสวู่ ถิ ชี วี ติ ทย่ี ง่ั ยนื
โรงเรียนนำ�้ เกลยี้ งวิทยา ๘๕ หมู่ ๕ หมบู่ า้ นวารีรัตน์ ตำ� บลนำ�้ เกล้ยี ง อ�ำเภอนำ้� เกลี้ยง จงั หวัดศรสี ะเกษ ๓๓๑๓๐
๒๓. กจิ กรรมบรู ณาการโครงงานสาระทอ้ งถนิ่ เรอื่ งกลว้ ย พชื ลำ้� คา่ คบู่ า้ นเขายายกะตา
โรงเรียนบา้ นเขายายกะตา หมู่ท่ี ๒ ถนนสระบุรี - หลม่ สกั บ้านหนองเตา่ ตำ� บลชยั นารายณ์ อ�ำเภอชยั บาดาล
จงั หวัดลพบุรี ๑๕๑๓๐
๒๔. รา้ นนำ�้ ชาโรงเรยี น เปดิ โลกการเรยี นรเู้ พอ่ื เดก็ ไทย
โรงเรยี นบ้านคอลอตนั หยง บา้ นคอลอตันหยง ต�ำบลบ้านคอลอตันหยง อ�ำเภอหนองจกิ จงั หวัดปตั ตานี ๙๔๑๗๐
๒๕. การเพาะเหด็ นางฟา้ และการแปรรปู อาหารจากเหด็
โรงเรยี นบา้ นไชยมงคล (สบื สินวทิ ยา) หม่ทู ่ี ๕ บา้ นหนองไทร ต�ำบลไชยมงคล อำ� เภอเมอื งนครราชสีมา
จงั หวดั นครราชสมี า ๓๐๐๐๐
๒๖. สง่ เสรมิ นวตั กรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรเู้ รอ่ื งสมนุ ไพรใกลต้ วั
โรงเรยี นบา้ นนาขอม หมทู่ ่ี ๑ บ้านนาขอม ต�ำบลนาขอม อำ� เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค์ ๖๐๒๒๐
๒๗. ดนตรสี บื สานตา้ นยาเสพตดิ
โรงเรยี นบา้ นนาบอน บ้านนาบอน ต�ำบลบา้ นนาบอน อ�ำเภอคำ� มว่ ง จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ๔๖๑๘๐
๒๘. สง่ เสรมิ รายไดร้ ะหวา่ งเรยี น
โรงเรียนบ้านเมืองกืด้ หมู่ท่ี ๑ บ้านเมืองกดื้ ต�ำบลกดื้ ช้าง อ�ำเภอแมแ่ ตง จงั หวัดเชียงใหม่ ๕๐๑๕๐
๒๙. การเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
โรงเรยี นบ้านรางกระตา่ ย “พิริยะประชาวิทยาคาร” ๓๔/๒ หมู่ที่ ๖ ตำ� บลตะคร�้ำเอน อำ� เภอท่ามะกา
จงั หวดั กาญจนบรุ ี ๗๑๑๓๐

138 ๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

๓๐. เขา้ ใจเรอื่ งเพศศกึ ษา พฒั นาทกั ษะชวี ติ
โรงเรยี นบา้ นวงั หนิ หมู่ที่ ๑๓ บา้ นวังหิน ถนนวังหนิ -ชนแดน ตำ� บลวงั หนิ อ�ำเภอวงั โปง่ จังหวดั เพชรบูรณ์ ๖๗๒๔๐
๓๑. สานฝนั วฒั นธรรมพน้ื บา้ น
โรงเรยี นบ้านเหล่าผกั ใส่ บา้ นพนาสวรรค์ ตำ� บลบา้ นเหล่าผกั ใส่ อ�ำเภอบา้ นม่วง จงั หวดั สกลนคร ๔๗๑๔๐
๓๒. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้โดยใช้เครอื ขา่ ยสงั คมเพือ่ การเรียนรู้ (Social Network)
โรงเรยี นเบญ็ จะมะมหาราช ๖๐๐ ถนนสรรพสทิ ธิ์ ต�ำบลในเมอื ง อ�ำเภอเมืองอบุ ลราชธานี
จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๓๔๐๐๐
๓๓. รฐั ราษฎรอ์ นสุ รณโ์ รงเรยี นแหง่ โครงงานแบบบรู ณาการ ๑๐ ฐานการเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
โรงเรยี นรฐั ราษฎรอ์ นุสรณ์ ๒๑๓ หมทู่ ่ี ๒ ตำ� บลบงึ ปลาทู อ�ำเภอบรรพตพิสัย จังหวดั นครสวรรค์ ๖๐๑๘๐
๓๔. พฒั นาทกั ษะชวี ติ สรา้ งอปุ นสิ ยั พอเพยี ง
โรงเรียนศึกษาสงเคราะหต์ าก ๑๗๐ หมทู่ ่ี ๔ ต�ำบลแมท่ อ้ อำ� เภอเมือง จังหวดั ตาก ๖๓๐๐๐
๓๕. หอ้ งเรยี นธรรมชาตสิ รา้ งสรรคท์ กั ษะชวี ติ
โรงเรยี นสตรีสิรเิ กศ ๘๘๒ ถนนอุบล ตำ� บลเมืองใต้ อ�ำเภอเมอื งศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ๓๓๐๐๐
๓๖. การวจิ ยั และพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอนทกั ษะการฟน้ื คนื ชพี สำ� หรบั นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝา่ ยมัธยม ซอยจุฬาลงกรณ์ ๑๑ ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วนั
กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐
๓๗. จดั การเรยี นการสอนบนฐานวฒั นธรรมชมุ ชน
โรงเรียนอุดมสทิ ธิศึกษา ๑๖๑/๑ หมทู่ ี่ ๓ บา้ นไหล่น�ำ้ ต�ำบลหนองลู อำ� เภอสงั ขละบุรี จงั หวดั กาญจนบุรี ๗๑๒๔๐

โครงการเด่นดา้ นบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๓๘. แหลง่ เรยี นร้อู จั ฉรยิ ะนำ� ไปสูส่ ังคมแห่งการเรยี นร้แู ละความเปน็ พลโลกท่สี มบูรณ์โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์
โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ๖๕ ถนนคเู มือง ตำ� บลบา้ นเหนือ อำ� เภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบรุ ี ๗๑๐๐๐
๓๙. เศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่อื อาหารกลางวันท่ียั่งยนื
โรงเรยี นบา้ นร่องหอย หมู่ที่ ๔ บ้านรอ่ งหอย ต�ำบลวังน้�ำลดั อำ� เภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๒๒๐
๔๐. การบูรณาการกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใชห้ นังสั้น
โรงเรยี นพระแก้ววิทยา ตำ� บลพระแกว้ อำ� เภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ๓๒๑๕๐
๔๑. อนุรักษว์ ฒั นธรรมเพ่อื ปลูกฝงั ภูมิปัญญาท้องถิน่ และเสรมิ สร้างคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนักเรียน
โรงเรียนสงู เนนิ
โรงเรยี นสงู เนนิ ๖๔๔ ถนนมิตรสัมพนั ธ์ หมู่ ๑ บ้านสูงเนิน อ�ำเภอสงู เนนิ จงั หวัดนครราชสมี า ๓๐๑๗๐
๔๒. พัฒนาทักษะการสอนการอา่ นภาษาอังกฤษผ่านกระบวนการการสะกดเสียง
ส�ำหรับนักเรยี นท่อี ่านคำ� ภาษาองั กฤษไมไ่ ด้ในโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา
สำ� นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต ๕
โรงเรยี นบา้ นหนองผือราษฎรป์ ระสทิ ธิ์ หมูท่ ี่ ๗ บ้านหนองผือ ต�ำบลบ้านผอื อำ� เภอหนองเรือ
จงั หวัดขอนแกน่ ๔๐๒๔๐

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้ 139

๑๙๕ โครงการท่ีเข้ารว่ มโครงการเพอื่ การส่งเสริมสงั คมแหง่ การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน

ภายใตโ้ ครงการสง่ เสริมนวัตกรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ระดับมัธยมศกึ ษา
ครั้งท่ี ๑/๒๕๕๔ รุน่ ๒

โครงการประเภทพฒั นาทกั ษะการคดิ

๑. พฒั นานกั เรยี นผูน้ ำ� เยาวชนคนกมลาไสย โรงเรียนกมลาไสย กาฬสินธุ์
๒. คดิ สรา้ งสรรค์ บันดาลศิลป์ โรงเรยี นกสุ มุ าลยว์ ทิ ยาคม สกลนคร
๓. ศนู ยก์ ารเรยี นร้สู งิ่ แวดลอ้ มในโรงเรียน เพ่อื พัฒนาทักษะการคดิ โรงเรยี นขเ้ี หล็กพทิ ยาคม รอ้ ยเอด็
๔. ส่งเสรมิ ทักษะชีวิตด้วยจติ สาธารณะ โรงเรยี นเขาสวนกวางวิทยานกุ ูล ขอนแก่น
๕. วารสารสร้างสรรค์ โรงเรียนค�ำเตยอุปถัมภ์ นครพนม
๖. บทเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ บบบรู ณาการเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ จากบทปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตรท์ ส่ี อดแทรกภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
โรงเรยี นแคนดงพทิ ยาคม บุรีรมั ย์
๗. การพฒั นาทกั ษะการคดิ ดว้ ยการเรยี นรู้บนฐานโครงงานตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โรงเรียนโคกก่อพทิ ยาคมมหาสารคาม
๘. การพฒั นาทกั ษะการคิดของนักเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาโดยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
โรงเรียนจตรุ พักตรพิมานรชั ดาภิเษก ร้อยเอ็ด
๙. การพัฒนาทักษะการคิดโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนรูอ้ ยา่ งหลากหลาย โรงเรยี นเฉลิมขวัญสตรี พษิ ณุโลก
๑๐. การพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เช่ือมโยงวิถีชีวิตชาวบ้านกับลุ่มน�้ำล�ำห้วยกระโตก โดยใช้กระบวนการ ๕ ข้ัน
โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นโนนเปือย(มหาพมิ พส์ งเคราะห)์ ยโสธร
๑๑. มหศั จรรยก์ ารคิด: การพฒั นาทกั ษะการคิดทางคณติ ศาสตรโ์ ดยใช้ SDM โรงเรยี นชุมแพศึกษา ขอนแก่น
๑๒. พฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดนักเรยี นเพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม เชยี งราย
๑๓. เขียนใจก่อนเขยี นรปู โรงเรยี นซับมงคลวทิ ยา ชัยภมู ิ
๑๔. หนุ่ ยนต์ GoGo Board เพื่อการเรียนรตู้ ลอดชีวติ โรงเรยี นดรุณสิกขาลัย กรุงเทพฯ
๑๕. สง่ เสรมิ การอา่ นคิดวเิ คราะห์ด้วยวารสารนอกห้องเรยี น โรงเรียนดารุสสาลาม นราธิวาส
๑๖. พฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ สหู่ อ้ งเรยี นเพอื่ แกป้ ญั หาในอนาคต โรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๙๙ (บา้ นแมส่ ยุ ะ) แมฮ่ อ่ งสอน
๑๗. หลกั สูตร ๙ นวมินทร์ เปดิ โลก โรงเรยี นนวมินทราชนิ ทู ศิ สตรีวทิ ยา ๒ กรุงเทพฯ
๑๘. การพัฒนาทกั ษะการคดิ ดว้ ยการเรียนรู้บนฐานโครงงานสมนุ ไพร ในภมู ิปญั ญาปา่ โรงเรียน
โรงเรียนนาสนี วนพิทยาสรรค์ มหาสารคาม
๑๙. พัฒนาทักษะการคิดแบบบูรณาการโดยผู้เรียนใช้กระบวนการโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
โรงเรียนโนนค�ำพทิ ยาคม บงึ กาฬ
๒๐. การพฒั นาสื่อประกอบการเรยี นวิชาทอ้ งถ่นิ ของเรา โรงเรยี นโนนเจรญิ พทิ ยาคม บุรีรมั ย์
๒๑. รปู แบบพหุระดับการพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์ โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา(สงิ ห์ สิงหเสน)ี กรุงเทพฯ
๒๒. พฒั นาการคิดดว้ ยเทคนิคโครงงาน โรงเรยี นบรรหารแจม่ ใสวิทยา ๗ สพุ รรณบรุ ี
๒๓. การพัฒนาสมรรถนะส�ำคัญของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นด้านการคิด และการแก้ปัญหา โดยใช้หลักการเรียนรู้
บูรณาการแบบองค์รวม โรงเรียนบ้านกระโดนคอ้ (กระโดนค้อผดุงวทิ ยา) สรุ ินทร์
๒๔. ปราชญน์ ้อยนกั คิด โรงเรียนบา้ นเขาชะโงก เพชรบรู ณ์
๒๕. กจิ กรรมบรู ณาการโครงงานสาระทอ้ งถน่ิ เรอ่ื ง”กลว้ ย...พชื ลำ�้ คา่ คบู่ า้ นเขายายกะตา” โรงเรยี นบา้ นเขายายกะตา ลพบรุ ี
๒๖. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน Integrated Instruction Rally เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน
โรงเรียนบา้ นเขาแหลม กาญจนบุรี

140 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

๒๗. ร้านน้ำ� ชาโรงเรียน เปดิ โลกการเรียนร้เู พ่อื เดก็ ไทย โรงเรียนบา้ นคอลอตันหยง ปตั ตานี
๒๘. หน่งึ กลมุ่ สาระการเรยี นรหู้ นึง่ นวตั กรรมสร้างสรรคท์ ักษะการคิด โรงเรียนบ้านคำ� สวา่ ง นครพนม
๒๙. การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ เชงิ ระบบของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี๑-๖ โดยใชก้ ารจดั การเรยี นรบู้ รู ณาการแบบองคร์ วม
โรงเรยี นบา้ นตรมึ (ตรมึ วทิ ยานเุ คราะห)์ สรุ นิ ทร์
๓๐. SQ3R กบั การพฒั นากระบวนการคดิ ดว้ ยคำ� ถาม หมวกความคดิ ๖ ใบ โดยใชอ้ ตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี นเปน็ ฐานในการเรยี นรู้
โรงเรียนบา้ นเตง (เรอื นจลุ ประชาสรรค)์ พัทลุง
๓๑. พฒั นาทกั ษะชีวิต ปลกู จติ คณุ ธรรม นำ� น้องท�ำความดี โรงเรยี นบ้านท่าไม้ กำ� แพงเพชร
๓๒. บูรณาการทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ส่กู ารเรียนรู้ โรงเรียนบ้านทา่ ศลิ า สุรนิ ทร์
๓๓. เรียนรู้มงุ่ สู่กระบวนการคดิ โรงเรียนบา้ นท่าสองแคว แมฮ่ อ่ งสอน
๓๔. บริหารจติ เจรญิ ปญั ญา บอกลาส่ิงเสพตดิ โรงเรียนบ้านบาก ๒ มุกดาหาร
๓๕. พัฒนาทกั ษะการคิด เศรษฐกจิ พอเพยี งเคียงวิถปี ระชาธิปไตย โรงเรยี นบา้ นปง่ ไฮราษฎร์สามัคคี บงึ กาฬ
๓๖. ศลิ ปะสรา้ งสรรค์ จินตนาการสรา้ งนกั คิด โรงเรียนบา้ นฟา้ ห่วน ยโสธร
๓๗. อ่านเขียนเรียนร้กู ้าวสู่สากล โรงเรยี นบา้ นภูมิศาลา ศรีสะเกษ
๓๘. สร้างหนงั สอื สำ� หรบั เด็ก โรงเรียนบ้านไรพ่ ฒั นา ชัยภมู ิ
๓๙. พัฒนาทกั ษะการคิดดว้ ยโครงงาน โรงเรยี นบ้านวงั ยาว เพชรบูรณ์
๔๐. การพฒั นาความสามารถในการคดิ วจิ ารณญาณและความคดิ สร้างสรรค์
โรงเรียนบา้ นหนองสามสหี นองดนิ ดำ� อำ� นาจเจริญ
๔๑. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร สรา้ งหุ่นยนตจ์ ากวสั ดรุ ไี ซเคลิ โรงเรียนบา้ นหว้ ยจรเข้ นครราชสมี า
๔๒. เดอะสตาร์บุ่งคล้านคร โรงเรียนบุ่งคล้านคร บงึ กาฬ
๔๓. ห้องเรียนสร้างนักคิด ของกลุ่มโรงเรยี นมัธยมศึกษาอ�ำเภอปง โรงเรียนปงรชั ดาภเิ ษก พะเยา
๔๔. นักอนุกรมวธิ านรนุ่ เยาว์ โรงเรียนปางมะคา่ วิทยาคม ก�ำแพงเพชร
๔๕. ฝกึ อบรมการพฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะหด์ ้วยการเรียนรบู้ รู ณาการผา่ นพนั ธุพ์ ืช
โรงเรยี นปิยชาตพิ ัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ นครนายก
๔๖. รว่ มกันคิดรว่ มกนั เรยี น โรงเรียนผดุงนารี มหาสารคาม
๔๗. เสรมิ สร้างทักษะการอา่ นคิดวิเคราะห์ โรงเรียนผดงุ มาตร นราธิวาส
๔๘. ยวุ วจิ ยั คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นพนาศึกษา อำ� นาจเจริญ
๔๙. พัฒนาการคดิ เป็นระบบด้วยชุดแก้ปญั หาทา้ ความสามารถ โรงเรยี นพยัคฆภมู ิวิทยาคาร มหาสารคาม
๕๐. ห้องเรียนสร้างนักคิด โรงเรียนพระพทุ ธบาท "พลานกุ ูลวิทยา" สระบรุ ี
๕๑. ส่งเสริมอจั ฉรยิ ภาพด้านหนุ่ ยนต์โดยใชส้ ื่อประสม โรงเรยี นโพนพิทยาคม สกลนคร
๕๒. การบูรณาการทักษะการคิดโดยใชก้ จิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ ฐาน โรงเรียนภวู่ ิทยา นครราชสมี า
๕๓. การพฒั นาศูนยบ์ ริการออนไลน์ด้านการจดั การเรยี นการสอนวิชาเคมีด้วยวธิ สี บื เสาะหาความรู้
โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ์ นครปฐม
๕๔. การพฒั นาการคดิ วิเคราะหด์ ว้ ยโครงงานการผลติ ภาพยนตร์สั้น โรงเรยี นมัธยมศรสี ำ� เภาลนู สุรนิ ทร์
๕๕. นักปญั ญาประดิษฐร์ ่นุ เยาว์ โรงเรียนเมอื งพลพทิ ยาคม ขอนแกน่

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 141

๕๖. มะแข่นเมืองลี สเู่ วทโี ลก โรงเรียนเมอื งลปี ระชาสามัคคี น่าน
๕๗. การพฒั นาทักษะการคดิ ดว้ ยการมีสว่ นร่วม โรงเรียนแม่ออนวทิ ยาลยั เชียงใหม่
๕๘. รฐั ราษฎรอ์ นุสรณ์ โรงเรยี นแห่งโครงงานแบบบรู ณาการ ๑๐ ฐานการเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนรัฐราษฎร์อนุสรณ์ นครสวรรค์
๕๙. การพฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ เรอ่ื งการเคลอื่ นที่ สำ� หรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ โดยใชก้ ารเรยี นรแู้ บบสบื เสาะ
หาความรู้ โรงเรียนลำ� ดวนพทิ ยาคม บุรีรมั ย์
๖๐. ผลการจัดการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์การสืบเสาะโดยใช้การบูรณาการร่วมระหวา่ งปฏิบัติการทดลองจริงผ่านคอมพิวเตอร์
และสถานการณจ์ ำ� ลองบนคอมพิวเตอร์ โรงเรยี นเลยพทิ ยาคม เลย
๖๑. การพัฒนาทกั ษะการคิดวิชาคณติ ศาสตรไ์ ตรภาคี โรงเรียนเลงิ นกทา ยโสธร
๖๒. การสร้างชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง ชวี ิตมดแดงและการเลยี้ งมดแดง เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิด และคุณธรรมส�ำหรับ
นกั เรยี น โรงเรียนวงั หลวงพทิ ยาสรรพ์ หนองคาย
๖๓. พัฒนาทกั ษะการคิด ดว้ ย กจิ กรรม ”รกั ษ”์ ชุมชน โรงเรยี นวดั สว่างวงษ(์ ตาคลปี ระชานุกลู ) นครสวรรค์
๖๔. การพฒั นาการจัดการเรียนรเู้ พื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยกระบวนการทางวิจยั โรงเรียนวาปปี ทุม มหาสารคาม
๖๕. ยอ้ นรอยอดีตรุง่ เรืองเมืองธนบรุ ี โรงเรียนศรนี คร สุโขทัย
๖๖. การพัฒนาทกั ษะการคิดขน้ั สงู เพื่อยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนในโรงเรยี นศรีรัตนวทิ ยา
โรงเรยี นศรรี ตั นวทิ ยา ศรสี ะเกษ
๖๗. ชดุ ทบทวนบทเรยี นเพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธก์ิ ารทดสอบแหง่ ชาต(ิ O-NET) วิชาคณติ ศาสตร์ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้
โรงเรยี นศรสี วัสดิว์ ทิ ยาคารจงั หวัดนา่ น น่าน
๖๘. การพฒั นาอจั ฉรยิ ภาพทางดา้ นคณติ ศาสตรข์ องนกั เรยี นโดยใชโ้ ปรแกรม The Geometer s Sketchpad เปน็ เครอ่ื งชว่ ย
ในการเรียนรู้ โรงเรียนศรีสำ� โรงชนปู ถมั ภ์ สโุ ขทยั
๖๙. การใช้ Clay animation เป็นเครอ่ื งมอื การเรยี นรู้ เพือ่ สง่ เสริมทักษะการคิดข้นั สงู
โรงเรียนหนองนาค�ำวิทยาคม ขอนแก่น
๗๐. พัฒนาทักษะการสอนการอ่านภาษาอังกฤษผ่านกระบวนการสะกดเสียงส�ำหรับนักเรียนท่ีอ่านค�ำภาษาอังกฤษไม่ได้
ในโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา โรงเรียนหนองผือราษฎรป์ ระสิทธิ์ ขอนแกน่
๗๑. รว่ มพลงั สรา้ งสรรคส์ ังคมนกั คิด ปลกู จติ สาธารณะ โรงเรยี นหนองแวงวทิ ยาคม มกุ ดาหาร
๗๒. พฒั นาทกั ษะการคดิ ประดิษฐผ์ ลงานสู่สาธารณชน โรงเรยี นหนองเหล็กศึกษา มหาสารคาม
๗๓. ลกู อยธุ ยาค้นหา unseen ในจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา โรงเรยี นอยุธยาวทิ ยาลัย พระนครศรีอยุธยา

โครงการประเภทสง่ เสรมิ ทกั ษะชวี ิต

๗๔. โรงเรยี นตน้ แบบศูนย์เรียนร้สู ง่ิ แวดล้อมเฉลิมพระเกยี รติ โรงเรยี นกดุ บากพัฒนาศึกษา สกลนคร
๗๕. มคั คุเทศก์น้อยเดนิ ปา่ ตามรอยพ่อ โรงเรยี นกดุ เรือค�ำพิทยาคาร สกลนคร
๗๖. ส่งเสริมการพัฒนากระบวนการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาเพ่ือพัฒนาศักยภาพนักเรียนสู่การสร้างส�ำนึกรักท้องถ่ินและ
สิ่งแวดลอ้ ม โรงเรยี นขามแก่นนคร ขอนแกน่
๗๗. การจดั กิจกรรมเพอ่ื พฒั นาจิตสาธารณะของนักเรยี นโรงเรยี นค�ำเขือ่ นแก้วชนูปถัมภ์
โรงเรยี นค�ำเขอื่ นแกว้ ชนปู ถัมภ์ ยโสธร
๗๘. เมนอู าหารพ้ืนบ้านภไู ทยคำ� ตากลา้ สู่สากล โรงเรยี นคำ� ตากลา้ ราชประชาสงเคราะห์ สกลนคร

142 ๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้

๗๙. โค้งไผ่วิทยา สถาบนั แหง่ การเรยี นรู้ โรงเรียนโค้งไผว่ ิทยา ก�ำแพงเพชร
๘๐. พัฒนาจิตสาธารณะนกั เรียนฆ้องชัย โรงเรียนฆอ้ งชยั วิทยาคม กาฬสนิ ธุ์
๘๑. โครงงานอาชพี จากภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ เพื่อพฒั นาทักษะชีวติ โรงเรียนชมุ ชนบ้านนำ�้ ดบิ แมฮ่ ่องสอน
๘๒. พัฒนาการเรยี นรู้ ควบคทู่ ักษะชวี ิต โรงเรียนชมุ ชนบา้ นหว้ ยยายจิว๋ ชยั ภูมิ
๘๓. ยวุ ทตู คตุ ฏอบะฮฺสร้างสุข โรงเรียนดวงแกว้ พทิ ยา กระบี่
๘๔. พัฒนาทักษะชีวิตดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนดอนน�ำ้ ใสวทิ ยา นครราชสีมา
๘๕. การพฒั นาคุณภาพนกั เรยี นดา้ นทักษะชวี ติ โดยผา่ น OPOP โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ นครสวรรค์
๘๖. ศนู ยก์ ารเรียนร้ทู กั ษะชีวิตปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนทองแสนขันวิทยา อุตรดิตถ์
๘๗. ตวั โน้ตเปลีย่ นชีวติ โรงเรียนทา่ ลาด นครราชสีมา
๘๘. ชงโค สตดู ิโอ สรา้ งสรรค์รายการโทรทศั น์ โรงเรยี นท่าใหม่ “พลู สวสั ดิร์ าษฎรน์ กุ ูล” จนั ทบุรี
๘๙. การสง่ เสริมและพฒั นาทกั ษะชีวิตของนักเรียนโรงเรียนนครขอนแก่นโดยใช้โครงสร้างซที (SEAT)
โรงเรียนนครขอนแกน่ ขอนแก่น
๙๐. สืบสานวฒั นธรรมภูไทรว่ มใจอนุรักษ์ โรงเรียนนาไครพ้ ิทยาสรรพ์ กาฬสินธุ์
๙๑. ลมหายใจของใบเตย โรงเรียนนาเฉลยี งพิทยาคม เพชรบรู ณ์
๙๒. คลังสมองของท้องถิ่น โรงเรยี นนาเชือกวทิ ยาสรรพ์ กาฬสินธ์ุ
๙๓. การศกึ ษาและพฒั นากระบวนการตดั สนิ ใจของนกั เรยี นจากการจดั การเรยี นรตู้ ามทฤษฎกี ารเรยี นรเู้ ชงิ สงั คมวฒั นธรรม
เรื่องปราสาทในมติ วิ ิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ โรงเรยี นนารายณค์ ำ� ผงวทิ ยา สุรินทร์
๙๔. การจดั การศกึ ษาโดยนอ้ มน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถชี วี ิตท่ยี ง่ั ยืน โรงเรยี นนำ�้ เกล้ยี งวิทยา ศรีสะเกษ
๙๕. การอนรุ กั ษ์พนั ธุ์พชื ทอ้ งถิน่ ดว้ ยการเพาะเลี้ยงเน้อื เยอื่ โรงเรยี นน�้ำหนาววทิ ยาคม เพชรบรู ณ์
๙๖. สม้ ต้นสุดท้ายท่ีปลายสวน โรงเรียนบางปะกอกวทิ ยาคม กรงุ เทพฯ
๙๗. พฒั นากิจกรรมเกษตรน้อมนำ� ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฎิบัตใิ นโรงเรียงบา้ นกลาง
โรงเรยี นบา้ นกลาง กาฬสนิ ธ์ุ
๙๘. สบื สานการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมภาษาถิ่น (ผญา) สู่การพฒั นาท้องถิ่น โรงเรยี นบา้ นกาบิน อุบลราชธานี
๙๙. สรา้ งสรรคส์ ่งิ ประดิษฐ์ พิชติ ขยะ โรงเรียนบ้านเกาะรัง ลพบุรี
๑๐๐. การเรยี นรู้ส่วู ถิ ีพอเพยี ง โรงเรียนบา้ นโคกปรอื เพชรบรู ณ์
๑๐๑. ค่ายเยาวชนสร้างคนคณุ ธรรม โรงเรียนบา้ นจะแนะ นราธิวาส
๑๐๒. การพัฒนาความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้การจัดการเรียนรู้บูรณาการ
แบบองค์รวม โรงเรียนบา้ นฉลกี สรุ ินทร์
๑๐๓. ตน้ แบบการพฒั นาทักษะชวี ติ นกั เรียนโรงเรยี นบา้ นชอ่ ระกา จงั หวัดชยั ภมู ิ โรงเรียนบา้ นช่อระกา ชยั ภูมิ
๑๐๔. ศลี ธรรม จริยธรรม คณุ ธรรมน�ำชวี ติ โรงเรียนบา้ นซำ� หวาย อบุ ลราชธานี
๑๐๕. เรยี นรชู้ วี ิต พฒั นาทักษะ ตามวิถีแหง่ ความพอเพยี ง โรงเรยี นบา้ นดอนงวั อุบลราชธานี
๑๐๖. จิตอาสา พัฒนาทกั ษะชวี ติ ตามแนวคิดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรยี นบา้ นดอนเชยี งโท อุบลราชธานี
๑๐๗. สง่ เสรมิ การพฒั นาทกั ษะชวี ิตตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนบา้ นโดนอาว ศรสี ะเกษ
๑๐๘. ศนู ยเ์ รยี นรสู้ วนเกษตรอนิ ทรยี น์ อ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี นบ้านตระกาศขอนแกน่ ศรสี ะเกษ
๑๐๙. "ศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งโรงเรยี นบา้ นตาก "ประชาวทิ ยาคาร"
โรงเรียนบ้านตาก "ประชาวทิ ยาคาร" ตาก
๑๑๐. สง่ เสริมนวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ เรือ่ ง สมุนไพรใกลต้ วั โรงเรียนบา้ นนาขอม นครสวรรค์

๔๒ นวัตกรรมสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรู้ 143

๑๑๑. ห้องเรยี นพอเพยี ง โรงเรยี นบา้ นนางามมติ รภาพท่ี ๑๓๑ สระแกว้
๑๑๒. ดนตรสี บื สานตา้ นยาเสพติด โรงเรยี นบ้านนาบอน กาฬสินธ์ุ
๑๑๓. เพียงและพอก็มสี ขุ โรงเรยี นบา้ นนาโพธ์ิ มุกดาหาร
๑๑๔. โครงงานอาชีพจากภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เพ่อื พฒั นาทักษะชวี ติ โรงเรยี นบา้ นนำ�้ ดบิ ตาก
๑๑๕. รู้ทำ� นำ� ธรรมะกับปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรยี นบา้ นโนนค้อ อบุ ลราชธานี
๑๑๖. โรงเรียนบา้ นบอ่ เบย้ี โรงเรียนบ้านบ่อเบยี้ อุตรดติ ถ์
๑๑๗. ป้องกนั พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนโรงเรียนบา้ นบัวชมุ โรงเรียนบ้านบวั ชุม ลพบรุ ี
๑๑๘. การสง่ เสริมการเรยี นรดู้ ว้ ยกจิ กรรมเนน้ ทักษะชีวติ (Life Skills) โรงเรยี นบ้านบ(ุ ประชารัฐพัฒนา) นครราชสีมา
๑๑๙. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม พฒั นาศกั ยภาพทกั ษะชวี ติ สรา้ งสรรค์ ภายใตโ้ ครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรกู้ ารอนรุ กั ษศ์ ลิ ปวฒั นธรรม
และภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ โรงเรียนบ้านปรางค์นอ้ ย ลพบุรี
๑๒๐. กลมุ่ สัมพันธ์ประสานใจส่งเสริมพัฒนาทกั ษะชวี ติ นกั เรียนมัธยม โรงเรยี นบ้านโปง่ ขุนเพชรพฒั นา ชัยภูมิ
๑๒๑. การสง่ เสรมิ ทกั ษะชวี ติ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื พฒั นากระบวนการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
โรงเรยี นบา้ นพะแนงวทิ ยา ศรสี ะเกษ
๑๒๒. สง่ เสริมรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น โรงเรียนบา้ นเมืองกด้ื เชียงใหม่
๑๒๓. ตน้ กล้าแหง่ ชีวิต โรงเรยี นบ้านไมต้ ะเคยี น ล�ำพนู
๑๒๔. การเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบา้ นรางกระตา่ ย "พิรยิ ะประชาวิทยาคาร” กาญจนบุรี
๑๒๕. สร้างงานสร้างรายได้ด้วยตาข่ายดกั ปลา (สานมอง) โรงเรยี นบ้านล�ำเพญิ สรุ นิ ทร์
๑๒๖. สรา้ งและพัฒนาหลกั สตู รการจัดการศกึ ษาทสี่ ่งเสริมการพฒั นาทักษะชีวิต โรงเรียนบ้านวนาหลวง แม่ฮอ่ งสอน
๑๒๗. เข้าใจเร่ืองเพศศึกษา พัฒนาทกั ษะชีวิต โรงเรียนบา้ นวงั หิน เพชรบูรณ์
๑๒๘. ศึกษาป่าเชิงอนุรักษ์เพื่อเป็นแหล่งเรยี นรู้ โรงเรียนบา้ นสะพานหิน นครราชสีมา
๑๒๙. สง่ เสริมการสร้างงานอาชีพในโรงเรียน โรงเรียนบ้านสังเมก็ ศรสี ะเกษ
๑๓๐ คอมพิวเตอร์พฒั นาภาษาอังกฤษ โรงเรียนบ้านหนองยา่ งทอย เพชรบรู ณ์
๑๓๑. การสง่ เสริมทักษะชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชด�ำริ
โรงเรียนบ้านหนองหล่มหนองเหล่า อบุ ลราชธานี
๑๓๒. เสรมิ สร้างพฒั นาทกั ษะชีวติ ใชป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี นบ้านหมากมาย อุบลราชธานี
๑๓๓. พหปุ ญั ญาพฒั นาทักษะชีวติ โรงเรียนบา้ นหมากม่ี สุรนิ ทร์
๑๓๔. สานฝนั วฒั นธรรมพน้ื บา้ น โรงเรียนบ้านเหลา่ ผักใส่ สกลนคร
๑๓๕. เยาวชนรกั ษแ์ หล่งน�ำ้ โรงเรยี นบึงไทรพิทยาคม ขอนแกน่
๑๓๖. การพฒั นากระบวนการเรยี นร้โู ดยใช้เครือขา่ ยสังคมเพือ่ การเรียนร้(ู Social Network)
โรงเรยี นเบ็ญจะมะมหาราช อุบลราชธานี
๑๓๗. พ่ีน�ำน้องรักษน์ ำ�้ โดยทมี เยาวชน ๕ ส รักษ์น้�ำงาว โรงเรยี นประชาราชวิทยา ลำ� ปาง
๑๓๘. เกง่ และดี ชีวีสขุ สนั ต์ สรา้ งสรรคค์ วามเป็นไทย โรงเรียนปรางคก์ ู่ ศรีสะเกษ
๑๓๙. วิจยั การศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรยี นรเู้ ก่ียวกบั ชนดิ ของพันธ์ุพชื ในชุมชนของนักเรียนโรงเรียนปลาคา้ ววทิ ยานสุ รณ์ โดย
ใช้กจิ กรรมฐานการเรียนร้ชู นิดของพันธ์ุพชื โรงเรยี นปลาค้าววทิ ยานสุ รณ์ อำ� นาจเจริญ
๑๔๐. พัฒนาและสรา้ งเสรมิ ทกั ษะชีวติ นักเรียนมัธยมศกึ ษาโรงเรยี นปากจาบวิทยา โรงเรียนปากจาบวทิ ยา ชัยภูมิ
๑๔๑. เสริมสร้างทกั ษะชีวติ หลังเลกิ เรยี น โรงเรยี นปางมะผา้ พิทยาสรรพ์ แมฮ่ อ่ งสอน
๑๔๒. เพม่ิ ศกั ยภาพความเปน็ ผนู้ ำ� ทางพระพทุ ธศาสนาใหก้ บั สามเณรนกั เรยี น โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมานสุ รณว์ ดั ฟา้ สวรรค์ นา่ น

144 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้

๑๔๓. กลา้ พนั ธ์ใุ หม่ ใจอาสา รักษผ์ ืนปา่ คืนธาราสแู่ ผน่ ดนิ โรงเรียนพชิ ยั รัตนาคาร ระนอง
๑๔๔. จิตอาสาพาความรคู้ ูค่ ุณธรรมน�ำสู่น้อง โรงเรยี นภซู างวิทยาคม พะเยา
๑๔๕. กลมุ่ ศรสี มเดจ็ รว่ มเสรมิ สรา้ งการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ (Thinking skills) อยา่ งมวี จิ ารณญาณโดยกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ดว้ ยโครงงาน โรงเรียนมหาไชยพทิ ยาคม กาฬสนิ ธุ์
๑๔๖. พัฒนาและเสริมสรา้ งทักษะชวี ติ ผู้เรยี นตามลักษณะทอ้ งถ่ิน โรงเรยี นมิตรภาพวิทยา นครราชสมี า
๑๔๗. แปรรูปของเหลือใชส้ รา้ งรายได้ โรงเรยี นเมอื งอุบล อบุ ลราชธานี
๑๔๘. เยาวชนมืออาชพี (ชีวติ น้มี คี วามหมาย) โรงเรยี นแมแ่ ตง เชยี งใหม่
๑๔๙. เกษตรทฤษฎใี หม่ โรงเรียนร่มเกลา้ กาญจนบรุ ี (ในโครงการพระราชดำ� ร)ิ กาญจนบรุ ี
๑๕๐. ชวี ติ สดใสในชุมชนน่าอยู่ ตามหลักแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนรวมไทยพฒั นา ๑ ตาก
๑๕๑. เยาวชนแกนน�ำรว่ มใจ น�ำเยาวชนไทยฟืน้ ฟูคุณธรรมจรยิ ธรรม โรงเรยี นรอ่ งค�ำ กาฬสินธุ์
๑๕๒. อนรุ กั ษแ์ ละสืบสานองค์ความรูช้ มุ ชน โรงเรยี นราษฎรส์ ามคั คี นครพนม
๑๕๓. สง่ เสริมผูเ้ รียนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศึกษา โรงเรียนวชิรธรรมสถติ พัทลงุ
๑๕๔. ส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต โรงเรยี นวรคณุ อปุ ถมั ภ์ ศรีสะเกษ
๑๕๕. พัฒนาทักษะชวี ิต ส่อู าชพี ทีย่ ง่ั ยนื โรงเรียนวงั ไพรวิทยาคม สระแก้ว
๑๕๖. อบนวดสมุนไพรเสรมิ สรา้ งทักษะชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนวงั ม่วงพทิ ยาคม หนองคาย
๑๕๗. ท�ำสมาธิดว้ ยกจิ กรรมสรา้ งสรรค์ มุง่ ม่นั ส่ทู ักษะอาชพี โรงเรียนวังใหมพ่ ฒั นา ชัยภูมิ
๑๕๘. นักเรยี นเพอื่ นทป่ี รกึ ษาพฒั นาทกั ษะชีวิต โรงเรียนวิทยาราษฎรน์ กุ ลู สรุ นิ ทร์
๑๕๙. หว่ งใย ใส่ใจ เดก็ ไทยยคุ ไซเบอร์ II โรงเรยี นเวียงป่าเปา้ วิทยาคม เชียงราย
๑๖๐. พัฒนาทกั ษะการคิดตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียงโรงเรียนเวียงสะอาดพิทยาคม
โรงเรียนเวยี งสะอาดพทิ ยาคม มหาสารคาม
๑๖๑. คา่ ยพฒั นาความฉลาด ๔ ดา้ น สำ� หรับเด็กไทยกลุ่มวยั รนุ่ โรงเรยี นศรปี ทมุ พทิ ยาคม สรุ ินทร์
๑๖๒. การพฒั นาอาชพี ทอ้ งถ่ินชุมชนโกตาบารูเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ โรงเรียนศรีฟารีดาบารูวิทยา ยะลา
๑๖๓. พัฒนาทักษะชวี ิตสรา้ งอุปนสิ ัยพอเพยี ง โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ตาก ตาก
๑๖๔. ห้องเรยี นธรรมชาตสิ ร้างสรรคท์ ักษะชีวิต โรงเรยี นสตรสี ริ เิ กศ ศรีสะเกษ
๑๖๕. รจู้ กั เลอื ก รจู้ กั ธรรม นำ� ไปพัฒนา โรงเรียนสมเดจ็ พระพุทธชนิ วงศ์ เชียงใหม่
๑๖๖. เศรษฐกจิ พอเพียงในโรงเรยี นสงั วาลย์วทิ ย์ ๓ โรงเรยี นสังวาลยว์ ทิ ย์ ๓ แมฮ่ ่องสอน
๑๖๗. การวจิ ัยและพัฒนาสอ่ื การสอนทักษะการชว่ ยฟื้นคืนชพี สำ� หรับนักเรยี นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝ่ายมัธยม กรงุ เทพฯ
๑๖๘. การเรยี นร้แู บบโครงงานสู่ตน้ กลา้ อาชีพแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนสามชยั กาฬสนิ ธ์ุ
๑๖๙. ยุวเกษตรกรในโรงเรียน โรงเรียนหมบู่ ้านปา่ ไมห้ ้วยจนั ทน์ ศรสี ะเกษ
๑๗๐. จักรยานคุณธรรม โรงเรยี นหัวหินวฒั นาลัย กาฬสนิ ธุ์
๑๗๑. พี่และน้องร่วมสะท้อนความคดิ ใส่ใจชวี ิตและการเรียน โรงเรียนอนุกลู นารี กาฬสินธ์ุ
๑๗๒. การพฒั นาทกั ษะชวี ติ นกั เรยี นผา่ นการเรยี นรดู้ ว้ ยระบบสหกรณค์ รบวงจรโรงเรยี นอนบุ าลสวรรคโลก ฯ เฉลมิ พระเกยี รติ
ฉลองพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา โรงเรียนอนบุ าลสวรรคโลก(คุง้ วารีวิทยา) สุโขทยั
๑๗๓. จัดการเรียนการสอนบนฐานวัฒนธรรมชุมชน โรงเรยี นอดุ มสิทธิศึกษา กาญจนบรุ ี
๑๗๔. ตน้ กล้าประชาธปิ ไตย สร้างสำ� นึกดีดว้ ยวิถีเยาวชน โรงเรยี นอบุ ลรตั นราชกัญญาราชวทิ ยาลัย นครนายก

๔๒ นวัตกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้ 145

โครงการประเภทบริหารจัดการสถานศึกษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ


๑๗๕. แหล่งเรียนรู้อัจฉริยะน�ำไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้และความเป็นพลโลกที่สมบูรณ์โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์
โรงเรยี นกาญจนานเุ คราะห์ จงั หวัดกาญจนบุรี
๑๗๖. เครอื ขา่ ยผใู้ หญ่ใจดี เพอ่ื การพฒั นาคุณภาพเยาวชน โรงเรียนชมุ ชนเปือยหัวดง อ�ำนาจเจรญิ
๑๗๗. การพฒั นาการเรยี นรดู้ า้ นดาราศาสตรแ์ ละอวกาศของนักเรยี นกลุ่มโรงเรยี นท่าหลวงสมั พนั ธ์
โรงเรยี นทา่ หลวงวทิ ยาคม ลพบุรี
๑๗๘. การบรหิ ารจดั การเรยี นรู้ สกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ในยคุ โลกไรพ้ รมแดน โรงเรยี นเทพศริ นิ ทรล์ าดหญา้ กาญจนบรุ ี
๑๗๙. ฉลาดคิด ประดษิ ฐ์สรา้ งสรรค์ ก้าวทนั เทคโนโลยี โรงเรียนธญั บุรี ปทมุ ธานี
๑๘๐. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยระบบการบริหารจัดการ "โรงเรียนเชิงนิเวศ" โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
สมุทรปราการ สมุทรปราการ
๑๘๑. เพาะเหด็ นางฟา้ และการแปรรปู อาหารจากเห็ด โรงเรียนบ้านไชยมงคล(สบื สินวทิ ยา) นครราชสีมา
๑๘๒. จดั การเรยี นรทู้ ่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำ� คญั ด้านการพัฒนาการคิด โรงเรยี นบ้านดงบงั อ�ำเภอบึงโขงหลง สังกดั สำ� นกั งาน
เขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ โรงเรยี นบ้านดงบงั บึงกาฬ
๑๘๓. โครงงานศิลปกรรม ๙ วดั เมืองอบุ ลราชธานี โรงเรียนบ้านดา้ มพรา้ อุบลราชธานี
๑๘๔. เสรมิ สรา้ งการเรยี นรตู้ ามศักยภาพผเู้ รียนและเพ่มิ ศกั ยภาพการจดั การเรียนรขู้ องครูและผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
โรงเรยี นบา้ นเพชรมงคล กำ� แพงเพชร
๑๘๕. เศรษฐกิจพอเพียงเพอ่ื อาหารกลางวันทยี่ ่ังยืน โรงเรยี นบา้ นร่องหอย นครสวรรค์
๑๘๖. การพัฒนาความสามารถและทกั ษะนักเรยี นตามจดุ เน้นการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น โรงเรยี นบา้ นโสมน สุรินทร์
๑๘๗. การทอผ้าไหมและยอ้ มสีโดยใชว้ สั ดธุ รรมชาติ โรงเรียนบ้านหนองไมถ้ ี่ สุรนิ ทร์
๑๘๘. การจดั การขยะอย่างเปน็ ระบบ โรงเรยี นบ้านหว้ ยผึง้ ใหม่ แมฮ่ อ่ งสอน
๑๘๙. การบรู ณาการกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้หนังส้นั โรงเรียนพระแก้ววทิ ยา สุรินทร์
๑๙๐. การใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ ฐานสู่สงั คมการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ โรงเรียนภูกระดึงวิทยาคม เลย
๑๙๑. รูปแบบการพฒั นาเครือขา่ ยการบริหารการจัดการการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพนกั เรียนมธั ยมศึกษา
โรงเรยี นละทายวทิ ยา ศรสี ะเกษ
๑๙๒. การพฒั นารูปแบบการบรหิ ารโรงเรียนศรีเมอื งวทิ ยาคารสูโ่ รงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนศรีเมืองวิทยาคาร อบุ ลราชธานี
๑๙๓. อนรุ ักษ์วัฒนธรรม เพื่อปลูกฝงั ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ และเสรมิ สร้างคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของนักเรียน
โรงเรยี นสงู เนนิ โรงเรียนสูงเนนิ นครราชสีมา
๑๙๔. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยนวัตกรรมส่ิงแวดล้อมศึกษาโดยใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้
โรงเรียนหกสิบพรรษาวทิ ยาคม อุบลราชธานี
๑๙๕. การสรา้ งแบบวัดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ส�ำหรับนกั เรยี นโรงเรียนอตุ รดติ ถ์ดรณุ ี โรงเรียนอตุ รดติ ถด์ รณุ ี อุตรดิตถ์

146 ๔๒ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้

โครงการเพ่อื การส่งเสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นรูแ้ ละคณุ ภาพเยาวชน

ภายใต้โครงการส่งเสรมิ นวตั กรรมสร้างสรรค์การเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศกึ ษา
คร้ังท่ี ๑/๒๕๕๔ รุน่ ท่ี ๒

คณะกรรมการผู้บริหารโครงการ

นพ.สภุ กร บัวสาย ผจู้ ัดการสำ� นักงานส่งเสรมิ สังคมแห่งการเรยี นรู้และคุณภาพเยาวชน
อาจารย์นคร ตงั คะพิภพ ที่ปรึกษาส�ำนักงานสง่ เสรมิ สงั คมแห่งการเรียนร้แู ละคณุ ภาพเยาวชน
รศ.ดร.จิราภรณ์ ศริ ิทวี ท่ปี รึกษาชดุ โครงการ
นางสาวประพาฬรัตน์ คชเสนา นักวชิ าการ

คณะผู้ทรงคณุ วฒุ ติ ดิ ตาม สนับสนุน และประเมินผล ส่วนกลาง

นายสมพงษ์ ฟงั เจรญิ จิตต์ หวั หน้าโครงการ
นางสาวนราทพิ ย์ พ่มุ ทรัพย์ รองหวั หนา้ โครงการ
นายประกอบ นวลขาว รองหัวหนา้ โครงการ
นางสาวอังคณา เชาวว์ ฒั นาพานิช เจ้าหนา้ ท่กี ารเงนิ และบัญชี

คณะผู้ทรงคณุ วฒุ ิติดตาม สนับสนุน และประเมนิ ผล ประจ�ำภาค

นายสุรัช เภาเพ่ิม ผทู้ รงคุณวุฒติ ิดตามโครงการ ภาคกลาง ๑
นางสาววรรณศรี หาระคณู ผู้ทรงคณุ วุฒติ ดิ ตามโครงการ ภาคกลาง ๒
นางนติ ยา บญุ เปง็ ผู้ทรงคุณวุฒติ ิดตามโครงการ ภาคเหนอื ๑
นายเกษม นวมครุฑ ผูท้ รงคุณวุฒติ ดิ ตามโครงการ ภาคเหนือ ๒
นายมนทพิ ย์ ทรงกิตตพิ ิศาล ผ้ทู รงคุณวุฒติ ิดตามโครงการ ภาคใต้
นายนคร วชิ ัยผนิ ผูท้ รงคุณวฒุ ติ ิดตามโครงการ ภาคอสี าน ๑
นางสาวอญั ชัญ เมอื งนลิ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิติดตามโครงการ ภาคอสี าน ๒
นายพงศธร ไวเชิงค้า ผทู้ รงคณุ วฒุ ิติดตามโครงการ ภาคอสี าน ๓

๔๒ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์การเรยี นรู้ 147

ABC

สำ� นกั งานสง่ เสรมิ สังคมแห่งการเรียนรแู้ ละคณุ ภาพเยาวชน (สสค.)
Quality Learning Foundation
ตู้ ปณ.๓๔ ปณฝ.สนามเปา้ ๑๐๔๐๖
www.QLF.or.th


Click to View FlipBook Version