The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา (ฉบับปรับปรุง 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by การงานครูอ๋า, 2022-04-04 01:08:31

หลักสูตรสถานศึกษา ม.ต้น

หลักสูตรสถานศึกษา (ฉบับปรับปรุง 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

หลกั สูตรโรงเรียนละลมวทิ ยา

พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสูตรโรงเรยี นละลมวทิ ยา

พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 28
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

หลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรท่ีได๎พัฒนาให๎
สอดคลอ๎ งพระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พ.ศ. 2542 รวมทั้งให๎สอดคล๎องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกจิ สงั คม และความเจริญก๎าวหน๎าทางเทคโนโลยี ตลอดจนสอดคลอ๎ งกบั แนวนโยบายและความต๎องการ
การจัดการศกึ ษาของชาติ

โรงเรียนละลมวิทยาได๎ดาเนินการจัดทาหลักสูตรปีพุทธศักราช 2551 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และได๎นาไปใช๎ในปีการศึกษา 2551 จึงได๎ปรับปรุงรายวิชาเพ่ิมเติมให๎
สอดคล๎องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการโดยปรับโครงสร๎างหลักสูตรเปิดรายวิชาเพิ่มเติมไมํเกิน 200
ช่ัวโมง/ปี และจดั กิจกรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู๎ ในทุกชั้นปีของมัธยมศกึ ษาตอนตน๎

ดังน้ันในปีการศึกษา 2560 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจึงได๎มีมติที่ประชุมให๎มีการปรับปรุง
หลักสูตร เพื่อให๎สนองตํอความต๎องการของนักเรียน ผ๎ูปกครอง ท๎องถ่ิน และสอดคล๎องกับนโยบายขอ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

ในการดาเนินการจดั ทาหลกั สูตร คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร ไดศ๎ ึกษาเอกสาร ตาราที่เกี่ยวข๎องกับ
การจดั ทาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และได๎สารวจความต๎องการของนักเรียน
ผป๎ู กครอง ชมุ ชน และสอดคล๎องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการมาเป็นแนวทางในการจัดทา ดังนั้นคณะ
ผู๎จัดทาหวังเป็นอยํางย่ิงวํา หลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) นี้จะ
เกดิ ประโยชน์ตอํ บคุ คลทตี่ ๎องการนาหลกั สูตรไปสกํู ารปฏบิ ัติการสอนได๎อยาํ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

โรงเรียนละลมวิทยา

ประกาศโรงเรียนละลมวิทยา
เรือ่ ง ใหใ้ ช้หลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยา พทุ ธศักราช 2551

( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 )
............................................................................................................................
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) เป็น
หลักสูตรท่ีได๎พัฒนาให๎สอดคล๎องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมท้ังให๎
สอดคลอ๎ งกบั สภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และความเจริญก๎าวหน๎า ทางเทคโนโลยี ตลอดจน
สอดคล๎องกับแนวนโยบายและความต๎องการการจัดการศึกษาของชาติ ความต๎องการของถ๎องถ่ิน และผู๎เรียน
โรงเรียนละลมวิทยากาหนดให๎เริ่มใช๎หลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551 ในปีการศึกษา 2551
และได๎ปรับปรุงในปีการศึกษา 2560 ในระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ซ่ึงในหลักสูตร
ได๎กาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนร๎ูครบ ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดไว๎ ดังนั้น
โรงเรียนละลมวิทยาจึงประกาศใช๎หลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช
2560 ในปีการศึกษา 2561 เป็นต๎นไปและมีอานาจเพ่ิมเติม ปรับปรุงให๎เหมาะสมกับกลํุมเปูาหมายและวิธีจัด
การศกึ ษาอืน่ ๆได๎
ท้ังน้ี หลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยาได๎รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
เมือ่ วันท่ี 31 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2561 จึงประกาศให๎ใช๎หลกั สูตรโรงเรียนละลมวทิ ยาตั้งแตํบดั นเ้ี ปน็ ต๎นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2561

(นายทองอินทร์ มลพิ ันธ์) ( นายธีวราช อ่อนหวาน )
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ผู้อานวยการโรงเรยี นละลมวิทยา

สารบัญ หน๎า
1
ประกาศโรงเรียนละลมวทิ ยา 2
คานา 5
สารบัญ 6
7
ความนา 8
12
วสิ ัยทศั น์ 19
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 26
สมรรถนะสาคัญของผู๎เรียน 33
โครงสร๎างหลักสตู รโรงเรยี นละลมวิทยาระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น 49
โครงสรา๎ งเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น 53
โครงสร๎างกลุมํ สาระการเรียนร๎ู 66
คาอธบิ ายรายวิชาภาษาไทย 73
คาอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตร์ 80
คาอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 93
คาอธบิ ายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพมิ่ เติม 97
คาอธิบายรายวชิ าสังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม 101
คาอธิบายรายวชิ าสงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรมเพิ่มเตมิ 114
คาอธิบายรายวิชาภาษาตํางประเทศ 121
คาอธิบายรายวชิ าภาษาตํางประเทศ เพ่ิมเติม 129
คาอธิบายรายวิชาการงานอาชีพ 137
คาอธบิ ายรายวชิ าการงานอาชพี เพ่ิมเติม 148
คาอธบิ ายรายวชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา
คาอธบิ ายรายวิชาศิลปะ
กิจกรรมพฒั นาผ๎ูเรียน
เกณฑ์การจบหลกั สตู รระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน๎
ภาคผนวก
คณะผู๎จัดทา

1

ความนา

จากข๎อมูลในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช๎หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
ท่ีผํานมาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน๎นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนา
เยาวชน สูํศตวรรษท่ี 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 เพื่อนาไปสํูการ
พฒั นาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีมีความเหมาะสมชัดเจน ทั้งเปูาหมายของ
หลักสตู รในการพฒั นาคณุ ภาพผูเ๎ รียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสํูการปฏิบัติในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา
และสถานศึกษา โดยได๎มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู๎เรียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ มาตรฐานการเรียนร๎ูและตัวช้ีวัดที่ชัดเจน เพื่อใช๎เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอน
ในแตํละระดับ นอกน้ันได๎กาหนดโครงสร๎างเวลาเรียนข้ันต่าของแตํละกลํุมสาระการเรียนร๎ูในแตํละช้ันปีไว๎ใน
หลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให๎สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได๎ตามความพร๎อมและจุดเน๎น อีกท้ังได๎
ปรบั กระบวนการวัดและประเมนิ ผลผเู๎ รยี น เกณฑ์การจบการศกึ ษาแตํละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทาง
การศึกษาให๎มคี วามสอดคลอ๎ งกับมาตรฐานการเรียนร๎ู และมคี วามชัดเจนตอํ การนาไปปฏิบัติ

หลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) น้ี จัดทาข้ึนโดย
สะท๎อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนร๎ู และตัวชี้วัดที่กาหนดไว๎ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และกรอบหลักสูตรท๎องถ่ิน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 41 ซ่ึงมีความชัดเจนในเรื่อง
มาตรฐานและตัวช้วี ัด คณุ ภาพผ๎เู รยี น เวลาเรียน กิจกรรมพัฒนาผ๎เู รยี น การวัดและประเมินผลการเรียนร๎ู และ
การเทียบโอนระหวํางสถานศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนานักเรียน
โรงเรียนละลมวิทยาให๎มีความร๎ู ความสามารถและมีทักษะกระบวนการคิด เป็นคนดี มีคุณธรรม และ
ดารงชวี ติ ในสงั คมได๎อยํางเปน็ สุข

การจัดทาหลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง ปีพุทธศักราช 2560) จะประสบ
ความสาเรจ็ ตามเปาู หมายทคี่ าดหวัง ได๎ทุกฝุายท่ีเก่ียวข๎องทั้งบุคลากรในโรงเรียนต๎องรํวมรับผิดชอบรํวมกันทางานอยํางเป็น
ระบบ และตํอเนอ่ื ง ในการวางแผนดาเนินการ ชุมชน ครอบครัว ให๎การสํงเสริมสนับสนุนตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก๎ไข
เพ่ือพัฒนาผู๎เรยี นไปสูคํ ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู๎ ่ีกาหนดไว๎

หลักสตู รโรงเรียนละลมวทิ ยา พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต๎น ฉบับนีม้ แี ผนการจดั ชั้นเรียน โดยได๎จัดนักเรียนเข๎าเรยี น 3 ห๎องเรียนโดยเรียนแผนการเรียนเหมือนกัน
ทุกห๎องเรยี น ท้งั นี้ได๎จัดทาหลกั สูตรรายวิชาเพ่มิ เตมิ ทมี่ ีความสอดคล๎องกบั ทอ๎ งถิ่นและความต๎องการของผ๎ูเรียน
ทกุ กลํุมสาระการเรียนร๎ู เพื่อให๎นกั เรียนได๎เลือกเรยี นตามความสนใจและความถนดั ของนกั เรียน

2

วสิ ัยทัศน์ (VISION)

โรงเรยี นละลมวทิ ยา มุํงพัฒนาศกั ยภาพผ๎ูเรียนใหบ๎ รรลุมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน มีทักษะการ
เรียนร๎ูในศตวรรษท่ี 21 มีคุณธรรมจริยธรรม น๎อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งรํวมพฒั นาท๎องถ่ิน

ปรชั ญา คาขวญั สี ตน้ ไม้ ดอกไม้ อัตลกั ษณ์ เอกลกั ลักษณ์ และสัญลักษณโ์ รงเรยี น

1. ปรัชญา สสุ สฺ สู ลภเต ปญํ ญฺ “ ผฟ๎ู ังท่ดี ี ยํอมเกิดปญั ญา ”
2. คาขวัญโรงเรียน รักเรียน เรียนร๎ู สปูํ ัญญา
3. สปี ระจาโรงเรียน
เหลือง หมายถงึ ปญั ญา
แดง หมายถงึ ความรักในการเรยี นรู๎ (รกั การเรียนรู๎)

4. ต้นไม้ประจาโรงเรยี น
ตน๎ ราชพฤกษ์

5. ดอกไม้ประจาโรงเรยี น
ดอกบัว

6. อตั ลกั ษณ์ ของนกั เรยี น
ราํ เรงิ แจมํ ใส ใฝุเรียนรู๎ สง๎ู าน

7. เอกลักษณ์
สถานศึกษาพอเพยี ง

8. พระพทุ ธรปู ประจาโรงเรียน
พระพุทธรปู ปางลีลา

9. คา่ นิยมรว่ ม L.L.W.
L = Love
L = Learning
W = Wisdom
Love Learning to Wisdom หมายถึง รักเรยี น เรยี นร๎ู สูํ ปญั ญา

3

10. ตราสญั ลักษณ์ประจาโรงเรยี น

ความหมายของสัญลักษณ์ หมายถึง บุคคลท่ีได๎รับการพัฒนาและสํงเสริมให๎มีความรู๎ความสามารถ
และประสบการณ์มีความสามารถทั้ง 3 ด๎านบุคคลที่มีความรู๎ในด๎านวิชาการเปรียบกับดอกบัวท่ีบาน เม่ือ
ดอกบัวน้ันดูดซับเอาแรํธาตุตําง ๆ ที่อยํูในดินเจริญเติบโตเต็มท่ีพาตนเองให๎หลุดพ๎นจากโคลนตม คนที่มี
ความร๎ูนั้น ไมํใชํให๎เกิดประโยชน์แกํตนเองและครอบครัว สังคมสามารถดารงชีวิตอยํูในสังคมได๎อยําง มี
ความสุข ผู๎ท่ีมีทักษะความชานาญทางวิทยาการตําง ๆ ที่ได๎รับการฝึกฝนแล๎ว สามารถนาทักษะนั้นไปใช๎ ใน
การประกอบ อาชีพท่ีตนเองมีความถนัดและสุจริต เป็นผ๎ูมีคุณธรรม มีน้าใจดีงาม มีความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผํตํอ
คนท่ัวไป ประพฤติตนอยูํในกรอบของศีลธรรมอันดี เป็นที่ยอมรับของสังคมสํวนรวม ดารงชีวิตอยูํในสังคม
อยาํ งมีความสขุ

พันธกิจ (MISSION)

จัดการศึกษาให๎มีคุณภาพและมาตรฐานโดยการบริหารจัดการท่ีทันสมัยยึดหลักธรรมาภิบาล
ประสานงานทุกภาคสํวนเพื่อบูรณาการการจัดการศึกษา และสํงเสริมพัฒนาครูบุคลากรทางการศึกษาให๎เป็น
ครูมืออาชีพ มีจิตวิญญาณของความเป็นครู ร๎ูบทบาทหน๎าท่ีมีความรับผิดชอบและมีความก๎าวหน๎าทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาผ๎ูเรียนให๎บรรลุสูํมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีทักษะการเรียนรู๎ในศตวรรษท่ี 21 มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เป้าประสงค์ (GOALS)

เพ่ือให๎การจัดการศึกษาของโรงเรียนละลมวิทยา มีคุณภาพมาตรฐาน บนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
สามารถรํวมมือกับทุกภาคสํวนเพื่อพัฒนาศักยภาพผ๎ูเรียนให๎บรรลุมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21 มคี ุณธรรมจริยธรรม โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

4

ประเด็นกลยุทธ์

1. พัฒนาศกั ยภาพผเ๎ู รยี น
2. พัฒนาคุณภาพครแู ละบุคลากร
3. พฒั นาหลักสตู ร
4. พฒั นาระบบบริหารจดั การ
5. พฒั นาภมู ทิ ศั น์ ส่ิงแวดล๎อม และแหลํงเรียนรู๎

กลยุทธข์ องโรงเรยี นละลมวิทยา

1. สํงเสรมิ และสนับสนุนให๎ประชากรวยั เรียนทุกคนได๎รบั การศกึ ษาอยาํ งทวั่ ถงึ และมคี ุณภาพ

2. สํงเสริมการจัดการศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท๎องถิ่น ที่เน๎นผู๎เรียนเป็นสาคัญ

โดยใช๎ทกั ษะการเรียนรใู๎ นศตวรรษที่ 21 3.

สํงเสริมให๎ผู๎เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคํานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ

และยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

4. สํงเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให๎เป็นครูมืออาชีพ มีจิตวิญญาณของความเป็นครูร๎ู

บทบาทหนา๎ ทแ่ี ละมีความกา๎ วหน๎าทางวิชาชีพ

5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการและการประกันคุณภาพภายในให๎มีคุณภาพประสิทธิภาพ บูรณนา

การการมีสวํ นรํวมกบั ทกุ ภาคสวํ น

6. พัฒนาสภาพแวดลอ๎ ม แหลงํ เรยี นร๎ู สอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยีใหเ๎ อ้อื ตอํ การจดั การเรียนรู๎

หลักสตู รโรงเรียนละลมวิทยามหี ลกั การที่สาคญั ดงั นี้

1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นศักยภาพของชาติมีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนร๎ูเป็น
เปูาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให๎มีความร๎ูทักษะเจตคติและคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
ควบคํูกบั ความเปน็ สากล

2. เป็นหลักสตู รการศึกษาเพื่อปวงชนทปี่ ระชาชนทุกคนมีโอกาสได๎รับการศึกษาอยํางเสมอภาคและมี
คณุ ภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจให๎สังคมมีสํวนรํวมในการจัดการศึกษาให๎
สอดคล๎องกบั สภาพและความต๎องการของท๎องถิน่

4. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาทีม่ โี ครงสรา๎ งยดื หยํนุ ทง้ั ดา๎ นสาระการเรียนรู๎เวลาและการจดั การเรียนรู๎
5. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาท่เี นน๎ ผู๎เรียนเป็นสาคัญ

5

6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัยครอบคลุมทุก
กลุํมเปูาหมายสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรแู๎ ละประสบการณ์

จุดหมาย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมํุงพัฒนาผู๎เรียนให๎เป็นคนดีมีปัญญามีความสุขมีศักยภาพใน
การศึกษาตอํ และประกอบอาชีพจึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือใหเ๎ กิดกับผเ๎ู รยี นเมื่อจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานดังน้ี

1 มคี ณุ ธรรมจริยธรรมและคาํ นยิ มท่พี ึงประสงค์เหน็ คณุ คําของตนเองมีวินยั และปฏิบัตติ นตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มคี วามรูค๎ วามสามารถในการสอื่ สารการคดิ การแกป๎ ัญหาการใช๎เทคโนโลยแี ละมที ักษะชีวิต
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทดี่ ีมีสุขนสิ ยั และรักการออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติมีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล๎อมมีจิต
สาธารณะที่มุงํ ทาประโยชนแ์ ละสรา๎ งสงิ่ ทด่ี ีงามในสังคมและอยรูํ ํวมกนั ในสงั คมอยาํ งมีความสุข

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมุํงพัฒนาผ๎เู รียนให๎มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์เพ่ือให๎สามารถ
อยูํรํวมกับผ๎อู น่ื ในสังคมไดอ๎ ยํางมคี วามสุขในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลกดังนี้

1. รักชาติศาสนก์ ษัตริย์
2. ซอื่ สัตย์สจุ รติ
3. มวี ินัย
4. ใฝเุ รยี นร๎ู
5. อยูํอยํางพอเพียง
6. มงํุ มนั่ ในการทางาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ
นอกจากนส้ี ถานศกึ ษาสามารถกาหนดคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์เพิ่มเติมให๎สอดคล๎องตามบริบทและ
จุดเน๎นของตนเอง

6

สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน

ในการพัฒนาผู๎เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมํุงเน๎นพัฒนาผ๎ูเรียนให๎มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานท่ีกาหนดซ่ึงจะชํวยให๎ผ๎ูเรียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลัก ษณะอันพึงประสงค์ดังน้ีหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานมุํงให๎ผเ๎ู รยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการดงั นี้

1. ความสามารถในการสื่อสารเป็นความสามารถในการรับและสํงสารมีวัฒนธรรมในการใช๎ภาษา
ถํายทอดความคิดความร๎ูความเข๎าใจความร๎ูสึกและทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข๎ อมูลขําวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตํอการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาตํอรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย๎งตํางๆการเลือกรับหรือไมํรับข๎อมูลขําวสารด๎วยหลักเหตุผลและความถูกต๎องตลอดจนการ
เลอื กใช๎วธิ ีการสอื่ สารท่มี ปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่มี ีตํอตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิดเป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิดอยําง
สร๎างสรรค์การคิดอยํางมวี จิ ารณญาณและการคดิ เป็นระบบเพ่อื นาไปสํูการสร๎างองค์ความรู๎หรือสารสนเทศเพ่ือ
การตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมไดอ๎ ยํางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหาเป็นความสามารถในการแก๎ปัญหาและอุปสรรคตํางๆที่เผชิญได๎
อยํางถูกต๎องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข๎อมูลสารสนเทศเข๎าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ตํางๆในสังคมแสวงหาความรู๎ประยุกต์ความร๎ูมาใช๎ในการปูองกันและแก๎ไขปัญหา
และมีการตดั สินใจที่มปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนตํอตนเองสังคมและส่งิ แวดลอ๎ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตเป็นความสามารถในการนากระบวนการตํางๆไปใช๎ในการดา
เนนิ ชวี ติ ประจาวนั การเรยี นรูด๎ ว๎ ยตนเองการเรียนรู๎อยํางตํอเนอ่ื งการทางานและการอยูํรํวมกันในสังคมด๎วยการ
สร๎างเสริมความสมั พันธ์อนั ดรี ะหวาํ งบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย๎งตํางๆอยํางเหมาะสมการปรับตัว
ให๎ทนั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล๎อมและการรู๎จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมํพึงประสงค์ท่ีสํงผล
กระทบตํอตนเองและผอ๎ู นื่

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลอื กและใช๎เทคโนโลยีด๎านตํางๆและมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด๎านการเรียนรู๎การส่ือสารการทางานการ
แก๎ปญั หาอยํางสร๎างสรรค์ถกู ตอ๎ งเหมาะสมและมีคณุ ธรรม

7

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นละลมวิทยา พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-3)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน(หน่วยกิต)

รายวชิ าพนื้ ฐาน ม.1 ม.2 ม.3 รวม 3 ปี

ภาษาไทย 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 360 (9นก.)

คณติ ศาสตร์ 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 360 (9นก.)

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๏วทิ ยาศาสตร์ 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 360 (9นก.)

๏ออกแบบเทคโนโลยีและวทิ ยาการคานวณ 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๏ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม

๏วฒั นธรรมและการดาเนนิ ชีวิตในสังคม 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 360 (9นก.)

๏เศรษฐศาสตร์

๏ภมู ิศาสตร์

๏ประวตั ศิ าสตร์ 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

ภาษาตํางประเทศ 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 360 (9นก.)

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) 240 (6นก.)

ศลิ ปะ 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) 240 (6นก.)

การงานอาชีพ 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

รวมเวลาเรยี น(พื้นฐาน) 880 (22นก.) 880 (22นก.) 880 (22นก.) 2,640 (66นก.)

รายวชิ าเพมิ่ เติม ม.1 ม.2 ม.3 รวม 3 ปี

หนา๎ ท่พี ลเมือง 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

ต๎านทจุ รติ 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

เทคโนโลยีสารสนเทศฯ 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

การงานอาชพี เพมิ่ เตมิ 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

ภาษาองั กฤษเพ่ิมเติม 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

ภาษาจนี 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 120 (3นก.)

รวมเวลาเรยี น(เพ่ิมเติม) 200(6นก.) 200(6นก.) 200(6นก.) 200(6นก.)

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น/ชมุ นุม/กจิ กรรมลด 120ชั่วโมง 120ชวั่ โมง 120ชวั่ โมง 360ชว่ั โมง

เวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้

รวมเวลาเรยี นท้ังหมด ไมเ่ กนิ 1,200 ชั่วโมง/ปี 3,600 ช่ัวโมง

8

โครงสร้างเวลาเรยี น
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนตน้

9

โครงสรา้ งเวลาเรียนโรงเรยี นละลมวิทยา พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1

ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยกติ /ชม. ภาคเรียนที่ 2 หน่วยกติ /ชม.
/สปั ดาห์ /สปั ดาห์
รายวิชาพน้ื ฐาน รายวชิ าพืน้ ฐาน
ท21101 ภาษาไทย 1 12.0 (480ชม.) ท21102 ภาษาไทย 2 10.0(400ชม.)
ค21101 คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน 1 1.5/60/3 ค21102 คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน 2 1.5/60/3
ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 1.5/60/3 ว21102 วิทยาศาสตร์ 2 1.5/60/3
ว21103 ออกแบบเทคโนฯและวิทยาการฯ1 1.5/60/3 - 1.5/60/3
ส21101 สงั คมศึกษา 1 1.0/40/2 ส21102 สังคมศกึ ษา 2 -
ส21103 ประวตั ศิ าสตร์ 1 1.5/60/3 ส21104 ประวัติศาสตร์ 2 1.5/60/3
พ21101 สขุ ศึกษา 1 0.5/20/1 พ21102 สขุ ศึกษา 2 0.5/20/1
พ21103 เทเบิลเทนนสิ 0.5/20/1 พ21104 ฟตุ บอล 0.5/20/1
ศ21101 ศลิ ปะ 1 0.5/20/1 ศ21102 ศลิ ปะ 2 0.5/20/1
ง21101 การงานอาชีพ 1 1.0/40/2 - 1.0/40/2
อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 1.0/40/2 อ21102 ภาษาอังกฤษ 2 -
รวมรายวิชาพื้นฐาน 1.5/60/3 รวมรายวชิ าพื้นฐาน 1.5/60/3
รายวิชาเพ่มิ เติม 12 /480/24 รายวิชาเพิ่มเตมิ 10/400/20
จ20207 ภาษาจนี เบอื้ งตน๎ 1 2.0(80ชม.) จ20208 ภาษาจนี เบ้อื งต๎น 2 2.5(100ชม.)
ส21231 หนา๎ ทีพ่ ลเมือง 1 0.5/20/1 ส21232 หน๎าทพี่ ลเมือง 2 0.5/20/1
0.5/20/1 0.5/20/1
ส20221 ต๎านทจุ รติ 1 ส20222 ตา๎ นทุจรติ 2
อ20201ภาษาองั กฤษฟังพดู 1 0.5/20/1 0.5/20/1
- อ20202 ภาษาองั กฤษฟังพดู 2
- 0.5/20/1 ง21201 คหกรรมท่ัวไป 0.5/20/1
รวมรายวชิ าเพิ่มเตมิ - ว21281 เทคโนโลยสี ารสนเทศฯ1 1.0/40/2
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - รวมรายวิชาเพิ่มเตมิ 1.0/40/2
-กจิ กรรมแนะแนว 2.0/80/4 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน 4.0/160/8
-ลูกเสอื เนตรนารี 60/3 ชม. -กิจกรรมแนะแนว 60/3 ชม.
-ชมุ นุมวิชาการ 20/1 -ลูกเสอื เนตรนารี 20/1
กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้ 20/1 -ชมุ นมุ วชิ าการ 20/1
รวมเวลาเรียนท้งั ส้ิน 20/1 กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ 20/1
40/2 ชม. รวมเวลาเรยี นทั้งสน้ิ 40/2 ชม.
700/35 ชม. 700/35 ชม.

10

โครงสร้างเวลาเรียนโรงเรียนละลมวิทยา พทุ ธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2

ภาคเรยี นท่ี 1 หน่วยกิต/ชม. ภาคเรียนท่ี 2 หนว่ ยกติ /ชม.
/สัปดาห์ /สัปดาห์
รายวชิ าพื้นฐาน
ท22101 ภาษาไทย 3 12.0 (480ชม.) รายวชิ าพน้ื ฐาน 10.0(400ชม.)
ค22101 คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน 3 1.5/60/3
ว22101 วิทยาศาสตร์ 3 1.5/60/3 ท22102 ภาษาไทย 4 1.5/60/3
ว22103 ออกแบบเทคโนฯและวทิ ยาการฯ2 1.5/60/3
ส22101 สังคมศกึ ษา 3 1.5/60/3 ค22102 คณิตศาสตร์พ้นื ฐาน 4 -
ส22103 ประวตั ิศาสตร์ 3 1.5/60/3
พ22101 สขุ ศกึ ษา 3 1.5/60/3 ว22102 วทิ ยาศาสตร์ 4 0.5/20/1
พ22103 กระบ่กี ระบอง 0.5/20/1
ศ22101 ศลิ ปะ 3 1.0/40/2 - 0.5/20/1
ง22101 การงานอาชีพ 2 1.0/40/2
อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 1.5/60/3 ส22102 สงั คมศึกษา 4 -
รวมรายวิชาพน้ื ฐาน 1.5/60/3
รายวิชาเพิม่ เตมิ 0.5/20/1 ส22104 ประวัตศิ าสตร์ 4 10/400/20
จ20209 ภาษาจีนเบื้องต๎น 3 2.5(100ชม.)
ส22233 หนา๎ ท่ีพลเมอื ง 3 0.5/20/1 พ22102 สุขศกึ ษา 4 0.5/20/1
ส20223 ตา๎ นทุจรติ 3 0.5/20/1
อ20203 ภาษาอังกฤษอํานเขยี น1 0.5/20/1 พ22104 กรฑี า 0.5/20/1
- 0.5/20/1
- 1.0/40/2 ศ22102 ศิลปะ 4 1.0/40/2
รวมรายวิชาเพิ่มเติม 1.0/40/2
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 1.0/40/2 - 4.0/160/8
-กจิ กรรมแนะแนว 60/3 ชม.
-ลกู เสือ เนตรนารี 1.5/60/3 อ22102 ภาษาอังกฤษ 4 20/1
-ชุมนุม 20/1
กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้ 12 /480/24 รวมรายวชิ าพ้ืนฐาน 20/1
รวมเวลาเรียนทง้ั สิน้ 40/2 ชม.
2.0(80ชม.) รายวชิ าเพ่ิมเตมิ 700/35 ชม.

0.5/20/1 จ20210 ภาษาจนี เบอ้ื งต๎น 4

0.5/20/1 ส22234 หน๎าทพ่ี ลเมอื ง 4

0.5/20/1 ส20224 ตา๎ นทจุ รติ 4

0.5/20/1 อ20204 ภาษาอังกฤษอํานเขยี น2

- ง22202 งานชาํ งทัว่ ไป

- ว22281 เทคโนโลยสี ารสนเทศฯ2

2.0/80/4 รวมรายวชิ าเพ่มิ เติม

60/3 ชม. กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

20/1 -กิจกรรมแนะแนว

20/1 -ลูกเสอื เนตรนารี

20/1 -ชุมนมุ

40/2 ชม. กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้

700/35 ชม. รวมเวลาเรียนทงั้ ส้นิ

11

โครงสรา้ งเวลาเรยี นโรงเรียนละลมวิทยา พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

ภาคเรียนท่ี 1 หนว่ ยกิต/ชม. ภาคเรยี นที่ 2 หน่วยกติ /ชม.
/สปั ดาห์ /สปั ดาห์
รายวิชาพน้ื ฐาน รายวิชาพ้นื ฐาน
ท23101 ภาษาไทย 5 12.0 (480ชม.) ท23102 ภาษาไทย 6 10.0(400ชม.)
ค23101 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน 5 1.5/60/3 ค23102 คณิตศาสตร์ พ้นื ฐาน 6 1.5/60/3
ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 1.5/60/3 ว23102 วทิ ยาศาสตร์ 6 1.5/60/3
ว23103 ออกแบบเทคโนฯและวิทยาการฯ3 1.5/60/3 - 1.5/60/3
ส23101 สังคมศกึ ษา 5 1.0/40/2 ส23104 สงั คมศึกษา 6 -
ส23102 ประวตั ิศาสตร5์ 1.5/60/3 ส23105 ประวัตศิ าสตร6์ 1.5/60/3
พ23101 สขุ ศกึ ษา 5 0.5/20/1 พ23102 สขุ ศึกษา 6 0.5/20/1
พ23103 วอลเลยบ์ อล 0.5/20/1 พ23104 บาสเกตบอล 0.5/20/1
ศ23101 ศลิ ปะ 5 0.5/20/1 ศ23102 ศลิ ปะ 6 0.5/20/1
ง23101 การงานอาชีพ 3 1.0/40/2 - 1.0/40/2
อ23101 ภาษาองั กฤษ 5 0.5/20/1 อ23102 ภาษาองั กฤษ 6
รวมรายวชิ าพ้นื ฐาน 1.5/60/3 รวมรายวชิ าพน้ื ฐาน 1.5/60/3
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 12 /480/24 รายวชิ าเพิ่มเตมิ 10/400/20
จ20211 ภาษาจนี เบื้องต๎น 5 2.0(80ชม.) จ20212 ภาษาจีนเบ้ืองต๎น 6 2.5(100ชม.)
ส23235 หนา๎ ทพี่ ลเมอื ง 5 0.5/20/1 ส23236 หนา๎ ทีพ่ ลเมอื ง 6 0.5/20/1
ส20225 ตา๎ นทจุ รติ 5 0.5/20/1 ส20226 ตา๎ นทจุ รติ 6 0.5/20/1
อ20205 การส่ือสารเพ่อื อาเซียน 1 0.5/20/1 อ20206 การส่ือสารเพือ่ อาเซียน 2 0.5/20/1
- 0.5/20/1 ง23203 งานเกษตรทั่วไป 0.5/20/1
- - ว23281 เทคโนโลยสี ารสนเทศฯ3 1.0/40/2
รวมรายวชิ าเพ่ิมเตมิ - รวมรายวิชาเพิม่ เตมิ 1.0/40/2
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 2.0/80/4 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน 4.0/160/8
-กิจกรรมแนะแนว 60/3 ชม. -กจิ กรรมแนะแนว 60/3 ชม.
-ลกู เสอื เนตรนารี 20/1 -ลูกเสอื เนตรนารี 20/1
-ชุมนมุ 20/1 -ชุมนุม 20/1
กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ 20/1 กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ 20/1
รวมเวลาเรียนทั้งส้นิ 40/2 ชม. รวมเวลาเรียนทั้งส้ิน 40/2 ชม.
700/35 ชม. 700/35 ชม.

12

โครงสร้างกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

13

โครงสรา้ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นละลมวิทยา พุทธศกั ราช 2551
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้น

ที่ รายวิชา ประเภท เวลาเรียน เวลาเรียน จานวน ระดับช้ัน-
หน่วยกติ ภาคเรียน
1 ท21101 ภาษาไทย 1 วิชา (ชั่วโมง/ภาค) (ชวั่ โมง/สปั ดาห)์
2 ท21102 ภาษาไทย 2 1.5 1-1
3 ท22101 ภาษาไทย 3 พน้ื ฐาน 60 3 1.5 1-2
4 ท22102 ภาษาไทย 4 1.5 2-1
5 ท23101 ภาษาไทย 5 พน้ื ฐาน 60 3 1.5 2-2
6 ท23102 ภาษาไทย 6 1.5 3-1
พน้ื ฐาน 60 3 1.5 3-2

พน้ื ฐาน 60 3

พืน้ ฐาน 60 3

พืน้ ฐาน 60 3

โครงสรา้ งกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ โรงเรยี นละลมวิทยา พุทธศกั ราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้

ที่ รายวิชา ประเภท เวลาเรียน เวลาเรยี น จานวน ระดับชน้ั -
หนว่ ยกิต ภาคเรยี น
1 ค21101 คณิตศาสตร์ 1 วิชา (ชั่วโมง/ภาค) (ชัว่ โมง)
2 ค21102 คณติ ศาสตร์ 2 1.5 1-1
3 ค22101 คณติ ศาสตร์ 3 พน้ื ฐาน 60 3 1.5 1-2
4 ค22102 คณติ ศาสตร์ 4 1.5 2-1
5 ค23101 คณติ ศาสตร์ 5 พน้ื ฐาน 60 3 1.5 2-2
6 ค23102 คณิตศาสตร์ 6 1.5 3-1
พืน้ ฐาน 60 3 1.5 3-2

พืน้ ฐาน 60 3

พน้ื ฐาน 60 3

พ้ืนฐาน 60 3

14

โครงสร้างกลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนละลมวทิ ยา พุทธศักราช 2551
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น

ที่ รายวิชา ประเภท เวลาเรยี น เวลาเรยี น จานวน ระดบั ชน้ั -
วชิ า (ชั่วโมง/ภาค) (ช่วั โมง/ หนว่ ยกิต ภาคเรยี น
สปั ดาห)์
1-1
1 ว21101 วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน 60 3 1.5 1-2
1-1
2 ว21102 วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน 60 3 1.5 2-1
2-2
3 ว21103 ออกแบบเทคโนฯและวทิ ยาการฯ1 พื้นฐาน 40 2 1.0 2-1
3-1
5 ว22101 วิทยาศาสตร์ พน้ื ฐาน 60 3 1.5 3-2
3-1
6 ว22102 วทิ ยาศาสตร์ พื้นฐาน 60 3 1.5 1-2
2-2
7 ว22103 ออกแบบเทคโนฯและวิทยาการฯ2 พนื้ ฐาน 40 2 1.0 3-2

9 ว23101 วทิ ยาศาสตร์ พนื้ ฐาน 60 3 1.5

10 ว23102 วทิ ยาศาสตร์ พื้นฐาน 60 3 1.5

11 ว23103 ออกแบบเทคโนฯและวทิ ยาการฯ3 พื้นฐาน 40 2 1.0

13 ว21281 เทคโนโลยสี ารสนเทศฯ 1 เพ่มิ เติม 40 2 1.0

14 ว22281 เทคโนโลยีสารสนเทศฯ 2 เพม่ิ เติม 40 2 1.0

15 ว23281 เทคโนโลยีสารสนเทศฯ 3 เพิ่มเติม 40 2 1.0

15

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรยี นละลมวทิ ยา
พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

ที่ รายวชิ า ประเภท เวลาเรยี น เวลาเรียน จานวน ระดบั ชั้น-

1 ส 21101 สังคมศกึ ษา วชิ า (ชัว่ โมง/ภาค) (ช่วั โมง/สปั ดาห)์ หน่วยกิต ภาคเรยี น
2 ส 21102 สงั คมศึกษา
3 ส 21103 ประวตั ศิ าสตร์ พื้นฐาน 60 3 1.0 1-1
4 ส 21104 ประวตั ศิ าสตร์
5 ส 22101 สงั คมศึกษา พืน้ ฐาน 60 3 1.0 1-2
6 ส 22102 สงั คมศกึ ษา
7 ส 22103 ประวตั ิศาสตร์ พืน้ ฐาน 20 1 0.5 1-1
8 ส 22104 ประวตั ศิ าสตร์
9 ส 23101 สงั คมศกึ ษา พื้นฐาน 20 1 0.5 1-2
10 ส 23102 สังคมศกึ ษา
11 ส 23103 ประวัติศาสตร์ พื้นฐาน 60 3 1.0 2-1
12 ส 23104 ประวตั ศิ าสตร์
13 ส 21231 หน๎าทพ่ี ลเมือง 1 พน้ื ฐาน 60 3 1.0 2-2
14 ส 21232 หน๎าท่พี ลเมือง 2
15 ส 22233 หน๎าท่พี ลเมือง 3 พน้ื ฐาน 20 1 0.5 2-1
16 ส 22234 หนา๎ ที่พลเมือง 4
17 ส 23235 หนา๎ ทพ่ี ลเมอื ง 5 พน้ื ฐาน 20 1 0.5 2-2
18 ส 23236 หนา๎ ท่พี ลเมือง 6
19 ส 20221 ต๎านทุจรติ 1 พน้ื ฐาน 60 3 1.0 3-1
20 ส 20222 ตา๎ นทุจริต 2
21 ส 20223 ตา๎ นทจุ รติ 3 พื้นฐาน 60 3 1.0 3-2
22 ส 20224 ตา๎ นทจุ ริต 4
23 ส 20225 ตา๎ นทจุ รติ 5 พน้ื ฐาน 20 1 0.5 3-1
24 ส 20226 ตา๎ นทุจรติ 6
พน้ื ฐาน 20 1 0.5 3-2

เพิ่มเติม 20 1 0.5 1-1

เพ่ิมเติม 20 1 0.5 1-2

เพ่มิ เติม 20 1 0.5 2-1

เพิม่ เติม 20 1 0.5 2-2

เพิ่มเติม 20 1 0.5 3-1

เพม่ิ เติม 20 1 0.5 3-2

เพม่ิ เติม 20 1 0.5 1-1

เพิ่มเติม 20 1 0.5 1-2

เพม่ิ เติม 20 1 0.5 2-1

เพ่ิมเติม 20 1 0.5 2-2

เพ่ิมเติม 20 1 0.5 3-1

เพม่ิ เติม 20 1 0.5 3-2

16

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ โรงเรียนละลมวทิ ยา พุทธศกั ราช 2551
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน๎

ที่ รายวชิ า ประเภทวิชา เวลาเรียน เวลาเรียน จานวน ระดับชน้ั -ภาค
หนวํ ยกิต เรียน
(ช่วั โมง/ภาค) (ชัว่ โมง/สปั ดาห)์ 1 -1
1.0 1-2
1 อ21101 ภาษาอังกฤษ พื้นฐาน 60 3 1.0 2-1
1.0 2-2
2 อ21102 ภาษาอังกฤษ พื้นฐาน 60 3 1.0 3-1
1.0 3-1
3 อ22101 ภาษาอังกฤษ พน้ื ฐาน 60 3 1.0
0.5 ไมรํ ะบุช้ันปี
4 อ22102 ภาษาอังกฤษ พนื้ ฐาน 60 3 0.5 ไมํระบุช้นั ปี
0.5 ไมํระบชุ ั้นปี
5 อ23101 ภาษาอังกฤษ พน้ื ฐาน 60 3 0.5 ไมํระบชุ ั้นปี
0.5 ไมํระบุชั้นปี
6 อ23102 ภาษาอังกฤษ พน้ื ฐาน 60 3 0.5 ไมํระบุชั้นปี
0.5 ไมํระบุชน้ั ปี
7 อ20201 ภาษาองั กฤษ ฟัง พูด 1 เพมิ่ เติม 20 1 0.5 ไมรํ ะบชุ น้ั ปี
0.5 ไมํระบุชน้ั ปี
8 อ20202 ภาษาอังกฤษ ฟัง พูด 2 เพิ่มเติม 20 1 0.5 ไมรํ ะบชุ ั้นปี
0.5 ไมรํ ะบชุ ั้นปี
9 อ20203 ภาษาองั กฤษอําน-เขียน 1 เพิ่มเติม 20 1 0.5 ไมรํ ะบุช้ันปี

10 อ20204 ภาษาองั กฤษอําน-เขยี น 2 เพิม่ เติม 20 1

11 อ20205 การสอื่ สารเพื่ออาเซียน 1 เพิ่มเติม 20 1

12 อ20206 การสื่อสารเพ่ืออาเซียน 2 เพมิ่ เติม 20 1

13 จ20207 ภาษาจีนเบื้องตน๎ 1 เพม่ิ เติม 20 1

14 จ20208 ภาษาจนี เบอื้ งตน๎ 2 เพิ่มเติม 20 1

15 จ20209 ภาษาจีนเบอื้ งตน๎ 3 เพมิ่ เติม 20 1

16 จ20210 ภาษาจีนเบ้อื งต๎น 4 เพิม่ เติม 20 1

17 จ20211 ภาษาจนี เบื้องต๎น 5 เพม่ิ เติม 20 1

18 จ20212 ภาษาจีนเบ้ืองต๎น 6 เพมิ่ เติม 20 1

17

โครงสร้างกลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ โรงเรยี นละลมวิทยา พุทธศกั ราช 2551
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้

ท่ี รายวชิ า ประเภท เวลาเรยี น เวลาเรียน จานวน ระดับชั้น-
หนว่ ยกิต ภาคเรียน
1 ง21101 การงานอาชีพ 1 วชิ า (ชวั่ โมง/ภาค) (ชวั่ โมง/สปั ดาห์)
2 ง22101 การงานอาชีพ 2 1.0 1-1
3 ง23101 การงานอาชีพ 3 พน้ื ฐาน 40 2 1.0 2-1
4 ง21201 คหกรรมทว่ั ไป 1.0 3-1
5 ง22202 งานชํางท่วั ไป พน้ื ฐาน 40 2 1.0 1-2
6 ง23203 งานเกษตรท่วั ไป 1.0 2-2
พ้นื ฐาน 40 2 1.0 3-2

เพม่ิ เติม 40 2

เพม่ิ เติม 40 2

เพ่ิมเติม 40 2

โครงสร้างกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนละลมวิทยา พุทธศกั ราช 2551
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้

ท่ี รายวิชา ประเภท เวลาเรยี น เวลาเรียน จานวน ระดับชัน้ -
หนว่ ยกิต ภาคเรยี น
1 พ 21101 สขุ ศกึ ษา 1 วิชา (ชั่วโมง/ภาค) (ช่ัวโมง/สัปดาห)์
2 พ 21102 สุขศกึ ษา 2 0.5 1-1
3 พ 21103 เทเบิลเทนนสิ พื้นฐาน 20 1 0.5 1-2
4 พ 21104 ฟุตบอล 0.5 1-1
5 พ 22101 สุขศกึ ษา 3 พน้ื ฐาน 20 1 0.5 1-2
6 พ 22102 สุขศึกษา 4 0.5 2-1
7 พ 22103 กระบ่ีกระบอง พน้ื ฐาน 20 1 0.5 2-2
8 พ 22104 กรีฑา 0.5 2-1
9 พ 23101 สขุ ศกึ ษา 5 พน้ื ฐาน 20 1 0.5 2-2
10 พ 23102 สขุ ศกึ ษา 6 0.5 3-1
11 พ 23103 วอลเลย์บอล พน้ื ฐาน 20 1 0.5 3-2
12 พ 23104 บาสเกตบอล 0.5 3-1
พน้ื ฐาน 20 1 0.5 3-2

พน้ื ฐาน 20 1

พน้ื ฐาน 20 1

พนื้ ฐาน 20 1

พื้นฐาน 20 1

พื้นฐาน 20 1

พน้ื ฐาน 20 1

18

โครงสรา้ งกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะโรงเรียนละลมวิทยา พทุ ธศักราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

ที่ รายวิชา ประเภท เวลาเรยี น เวลาเรียน จานวน ระดับชั้น-
หนว่ ยกติ ภาคเรียน
1 ศ 21101 ศิลปะ 1 วิชา (ชว่ั โมง/ภาค) (ชว่ั โมง/สปั ดาห์)
2 ศ 21101 ศิลปะ 2 1.0 1-1
3 ศ 22101 ศิลปะ 3 พน้ื ฐาน 40 2 1.0 1-2
4 ศ 22102 ศิลปะ 4 1.0 2-1
5 ศ 23101 ศิลปะ 5 พ้ืนฐาน 40 2 1.0 2-2
6 ศ 23102 ศลิ ปะ 6 1.0 3-1
พน้ื ฐาน 40 2 1.0 3-2

พนื้ ฐาน 40 2

พื้นฐาน 40 2

พ้ืนฐาน 40 2

19

คาอธบิ ายรายวิชา
กลมุ่ สาระภาษาไทย

คาอธบิ ายรายวชิ า 20

ท21101 ภาษาไทย ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1
1.5 หน่วยกิต
กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย จานวน 60 ชั่วโมง

ศกึ ษาหนงั สือนทิ านเรือ่ งเลาํ บทความเอกสารทางวิชาการงานเขียนเร่ืองท่ีฟังและดูระบุเหตุและผล
และข๎อเท็จจรงิ กบั ข๎อคิดเหน็ จากเรอ่ื งท่ีอําน อธิบายลักษณะเสียงในภาษาไทยชนิดและหน๎าที่ของคาสานวนที่
เปน็ คาพังเพยและสภุ าษิตศกึ ษาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีเกี่ยวกับบันทึกการเดนิ ทางศาสนาประเพณีพิธกี รรม
ฝึกอํานออกเสียงร๎อยแก๎วร๎อยกรองอํานจับใจความสาคัญระบุและอธิบายคาเปรียบเทียบและคาท่ีมีหลาย
ความหมายในบริบทตํางๆ อํานและปฏิบัติตามเอกสารคูํมือคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดเขียนส่ือสาร
เขียนรียงความเชิงพรรณนาเขียนยํอความเขียนจดหมายสํวนตัวจดหมายกิจธุระเขียนรายงานพูดสรุปใจความ
สาคัญพูดรายงานพูดแสดงความคิดเห็นทํองจาบทอาขยานและบทร๎อยกรองที่มีคุณคํา สามารถสื่อสารหรือ
ทักทายด๎วยภาษาอังกฤษและภาษาในกลุํมอาเซียนในห๎องเรียนและนอกห๎องเรียนได๎อยํางถูกต๎องเหมาะสม
สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวมาประยุกต์ใช๎ท้ังยังมีทักษะ
ชวี ติ ทสี่ ามารถนาไปใช๎จรงิ ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม

เพ่ืออธิบายตีความวิเคราะห์ประเมินคําวรรณคดีวรรณกรรมสรุปความรู๎และข๎อคิดจากการอํานเพื่อ
ประยุกต์ใช๎ในชีวิตจริงและสื่อตํางๆฝึกอํานเขียนฟังดูพูดได๎อยํางถูกต๎องเหมาะสมมีมาร ยาทในการอํานเขียน
การฟังดูและพูดมีนสิ ัยรกั การอํานและการเขียน

การวัดผลและประเมนิ ผล ใช๎วธิ ีการทีห่ ลากหลายตามสภาพจริง สอดคลอ๎ งกบั เนอื้ หาสาระ
ทักษะ/ กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอําน คิดวิเคราะห์และเขียนส่ือความหมาย และ
สมรรถนะสาคัญของผ๎ูเรยี นทตี่ ๎องการวดั

รหสั ตวั ชี้วดั
ท 1.1 ม.1/1 , ท 1.1 ม.1/2 , ท 1.1 ม.1/3 ,ท 1.1 ม.1/6
ท 2.1 ม.1/1 , ท 2.1 ม.1/2 , ท 2.1 ม.1/3 ,ท 2.1 ม.1/5 , ท 2.1 ม.1/6
ท 3.1 ม.1/1 , ท 3.1 ม.1/2 , ท 3.1 ม.1/3 ,ท 3.1 ม.1/4 , ท 3.1 ม.1/6
ท 4.1 ม.1/1 , ท 4.1 ม.1/2, ท 4.1 ม.1/3 ,ท 4.1 ม.1/4
ท 5.1 ม.1/2 , ท 5.1 ม.1/1,3 ,ท 5.1 ม.1/4 ,ท 5.1 ม.1/5

รวม 22 ตัวช้ีวัด

คาอธบิ ายรายวชิ า 21

ท 21102 ภาษาไทย ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2
1.5 หน่วยกติ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จานวน 60 ชั่วโมง

ศึกษาหนังสือ เรื่องสั้น บทสนทนา งานเขียนเชิงสร๎างสรรค์ บทความ เอกสารทางวิชาการ งาน
เขียน ส่ือตํางๆการสร๎างคา ระบุข๎อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูง หรือ โน๎มน๎าว
ใจ วเิ คราะห์ความแตกตํางของภาษาพูดและภาษาเขียน ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมที่เก่ียวกับบันเทิงคดี
สุภาษิตคาสอนเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ วรรณกรรมท๎องถ่ิน ฝึกการอํานออกเสียงร๎อยแก๎วร๎อยกรอง อํานจับ
ใจความสาคัญ คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนบรรยายประสบการณ์ เขียนเรียงความเชิงพรรณนา
เขียนแสดงความคิดเห็นจาก สื่อตํางๆ เขียนจดหมาย กิจธุระ เขียนรายงาน ปฏิบัติตามคูํมือแนะนา
วิธีการใชง๎ านของเครือ่ งมอื หรือเครอื่ งใชใ๎ นระดบั ทย่ี ากข้นึ แตํงบทร๎อยกรองประเภทกาพย์ยานี 11 ทํองจาบท
อาขยานและบทร๎อยกรองท่ีมีคุณคํา สามารถสื่อสารหรือทักทาย ด๎วยภาษาอังกฤษและภาษาในกลํุมอาเซียน
ในห๎องเรียนและนอกห๎องเรียนได๎อยํางถูกต๎องเหมาะสม สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
พระบาทสมเด็จพระเจา๎ อยํหู วั มาประยุกต์ใช๎ท้งั ยังมีทักษะชีวิตทีส่ ามารถ นาไปใช๎จรงิ ไดอ๎ ยํางเหมาะสม

เพอื่ อธิบาย ตีความ วิเคราะห์ ประเมินคาํ วรรณคดี วรรณกรรม และสอ่ื ตาํ งๆ ฝึกอําน เขียน ฟัง
ดู พดู ไดอ๎ ยาํ งถูกต๎องเหมาะสม มีมารยาทในการอําน เขียน การฟัง ดู และพูด มีนิสัยรักการอํานและการ
เขยี น

การวัดผลและประเมินผล ใช๎วิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพจริง สอดคล๎องกับเนื้อหาสาระ
ทักษะ/ กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอําน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความหมาย และ
สมรรถนะสาคัญของผู๎เรยี นท่ีตอ๎ งการวัด
รหสั ตัวช้ีวัด

ท 1.1 ม.1/1 ,ท 1.1 ม.1/2 ,ท 1.1 ม.1/4,ท 1.1 ม.1/5,ท 1.1 ม.1/7 ,ท 1.1 ม.1/8 ท 1.1 ม.1/9
ท 2.1 ม.1/4,ท 2.1 ม.1/7 ,ท 2.1 ม.1/8 ,ท 2.1 ม.1/9
ท 3.1 ม.1/5 ท 4.1 ม.1/5,
ท 4.1 ม.1/6 ท 5.1 ม.1/1 ,
ท 5.1 ม.1/2 ,ท 5.1 ม.1/3 ,ท 5.1 ม.1/4,ท 5.1 ม.1/5
รวมท้ังหมด 19 ตวั ชว้ี ดั

คาอธบิ ายรายวชิ า 22
ท22101 ภาษาไทย ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จานวน 60 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 1
1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาหลักการอาํ นออกเสยี งรอ๎ ยแก๎วรอ๎ ยกรองประเมนิ คาํ จากเร่ืองที่อาํ นระบขุ ๎อสังเกตโนม๎ น๎าวใจ
และความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงบอกมารยาทในการอํานหลักการเขียนบรรยายและ
พรรณนาหลักการเขียนเรียงความยํอความการเขียนรายงาน การเขียนโฆษณาประชาสัมพันธ์ในงานอาชีพ
ตํางๆ จดหมายกิจธุระมารยาทในการเขียนมารยาทในการพูดวิธีสร๎างคาในภาษาไทยลักษณะของคา
ภาษาตํางประเทศในภาษาไทยอธิบายฉันทลักษณ์กลอนสุภาพคุณคําของวรรณกรรมและวรรณคดีที่อํานฝึก
ปฏิบัติการอํานออกเสยี งร๎อยแกว๎ ร๎อยกรองอาํ นจบั ใจความเขียนผังความคิดจากเรื่องท่ีอํานอํานอยํางมีมารยาท
คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทยการอํานจับใจความสา คัญสรุปความและ
อธิบายรายละเอียดจากเร่ืองที่อําน เขียนบรรยายและพรรณนาเรียงความยํอความรายงานวิเคราะห์และ
วิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดูอยํางมีเหตุผล เขียนอยํางมีมารยาทพูดสรุปใจความสาคัญการพูดวิเคราะห์ข๎อเท็จจริง
ข๎อคิดเห็นและความนําเช่ือถือของขําวสาร วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมการทํองจาบทอาขยาน
ตามกาหนด สามารถสื่อสารหรือทักทายด๎วยภาษาอังกฤษและภาษาในกลุํมอาเซียนในห๎องเรียนและนอก
ห๎องเรียนได๎อยํางถูกต๎องเหมาะสม สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระ
เจา๎ อยํหู วั มาประยุกต์ใช๎ทัง้ ยงั มีทกั ษะชีวิตทสี่ ามารถนาไปใชจ๎ รงิ ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม

เพ่ืออธิบายคุณคําการใชภ๎ าษาไทยการวิจารณ์โต๎แย๎งมีมารยาทในการอํานการเขียนการฟังการดูและ
การพูดเห็นคุณคําในวรรณคดีและวรรณกรรมตัดสินใจยอมรับนาไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวันพร๎อมท้ัง
อนุรักษ์สืบทอดไปสูํประชาคมอาเซียน มีมารยาทในการอําน เขียน การฟัง ดู และพูด มีนิสัยรักการอํานและ
การเขยี น

การวัดผลและประเมินผล ใช๎วิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคล๎องกับเน้ือหาสาระ ทักษะ/
กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอําน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความหมาย และสมรรถนะสาคัญ
ของผ๎เู รยี นทต่ี อ๎ งการวดั
รหัสตวั ช้ีวดั

ท1.1 ม. 2/1 ,ท 1.1 ม.2/2 ,ท 1.1 ม.2/3 ,ท 1.1 ม.2/6 ,ท 1.1 ม.2/7 ,ท 1.1 ม.2/8
ท 2.1 ม. 2/1 ,ท 2.1 ม.2/2 ,ท 2.1 ม.2/3 ,ท 2.1 ม.2/4 ,ท 2.1 ม.2/8
ท 3.1 ม.2/1 ,ท 3.1 ม.2/2 ,ท 3.1 ม.2/4,ท 3.1 ม.2/6
ท 4.1 ม.2/1 ,ท 4.1 ม.2/5 ,ท 5.1 ม.2/1 ,ท 5.1 ม.2/3 ,ท 5.1 ม.2/5
รวมทั้งหมด 20 ตวั ชว้ี ดั

คาอธบิ ายรายวชิ า 23
ท22102 ภาษาไทย ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2
ภาคเรยี นที่ 2
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จานวน 60 ช่วั โมง 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาหลักการอํานออกเสียงร๎อยแก๎วร๎อยกรองมารยาทในการอํานความมีมารยาทในการเขียน
หลักการพูดในโอกาสตํางๆมารยาทในการพูดหลักการใช๎คาราชาศัพท์อภิปรายแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ี
อํานวิเคราะห์และจาแนกข๎อเท็จจริงจากเร่ืองท่ีอํานระบุข๎อสังเกตจากการอํานวิจารณ์เร่ืองท่ีฟังและดูอธิบาย
วิธีการเขียนรายงานโครงสร๎างประโยคสามัญประโยครวมและประโยคซ๎อนศึกษาคุณคําของวรรณคดีและ
วรรณกรรมที่อําน สรปุ เน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอํานในระดับท่ียากขึ้นสรุปความร๎ูและข๎อคิดจากเร่ือง
ทีอ่ ํานและนาไปใชฝ๎ กึ อํานออกเสยี งรอ๎ ยแกว๎ ร๎อยกรองมีมารยาทในการอาํ นคดั ลายมือด๎วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด
จับใจความสาคัญสรุปความและอธิบายรายละเอียดจากเรื่องท่ีอํานเขียนบรรยายและพรรณนาเรียงความยํอ
ความรายงาน เขียนโฆษณาประชาสัมพันธ์ในงานอาชีพตํางๆจดหมายกิจธุระวิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองท่ีฟัง
และดูอยํางมีเหตุผล เขียนวิเคราะห์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นอยํางมีมารยาทพูดในโอกาสตํางๆ การพูด
รายงานฟังดูและพูดอยํางมีมารยาทใช๎คาราชาศัพท์ แตํงบทร๎อยกรองประเภทกลอนสุภาพ วิเคราะห์วิจารณ์
วรรณคดีและวรรณกรรมท๎องถิ่นท่ีอําน พร๎อมยกเหตุผลประกอบ ทํองจาบทอาขยานและบทร๎อยกรองท่ีมี
คุณคําสามารถสอ่ื สารหรือทักทายด๎วยภาษาอังกฤษและภาษาในกลุมํ อาเซียนในห๎องเรียนและนอกห๎องเรียนได๎
อยํางถูกต๎องเหมาะสมสามารถนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํู หัวมา
ประยกุ ต์ใช๎ทัง้ ยงั มีทักษะชีวิตที่สามารถนาไปใช๎จริงไดอ๎ ยํางเหมาะสม

เพื่อเห็นคุณคํามารยาทการอํานการเขียนวิจารณ์โต๎แย๎ง มารยาทการฟังการดูและพูดตัดสินใจ
ยอมรับและเหน็ คณุ คําของวรรณคดีและวรรณกรรมนาไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวันพร๎อมทั้งอนุรักษ์สืบทอด
ไปสปูํ ระชาคมอาเซยี น มีมารยาทในการอําน เขียน การฟงั ดู และพดู มีนิสยั รกั การอํานและการเขียน

การวัดผลและประเมินผล ใช๎วิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคล๎องกับเน้ือหาสาระ
ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอําน คิดวิเคราะห์และเขียนส่ือความหมายและ
สมรรถนะสาคัญของผเู๎ รยี นทีต่ อ๎ งการวัด
รหสั ตัวช้ีวัด

ท 1.1 ม 2/1 ,ท 1.1 ม 2/2 ,ท 1.1 ม 2/4 ,ท 1.1 ม 2/5 ,ท 1.1 ม 2/8
ท 2.1 ม 2/4 ,ท 2.1 ม 2/5 ,ท 2.1 ม 2/6,ท 2.1 ม 2/7,ท 2.1 ม 2/8 ท 3.1 ม 2/2 ,ท 3.1 ม 2/3
ท 4.1 ม 2/4 ,ท 3.1 ม 2/6 ท 4.1 ม 2/2 ,ท 4.1 ม 2/3 ,ท 4.1 ม 2/4
ท 5.1 ม 2/1 ,ท 1.1 ม 2/2 ,ท 5.1 ม 2/3 ,ท 5.1 ม 2/4 ,ท 5.1 ม 2/5
รวมทั้งหมด 22 ตวั ชว้ี ดั

ท23101 ภาษาไทย คาอธิบายรายวชิ า 24
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
จานวน 60 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1
1.5 หน่วยกติ

ศึกษาการอํานออกเสียงร๎อยแก๎วร๎อยกรอง ระบุความแตกตํางของคาที่มีความหมายโดยตรงและ
โดยนัย ใจความสาคัญ และรายละเอียดของข๎อมูล วิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินคําเร่ืองท่ีอําน เปรียบเทียบ
ประเมินความถูกต๎อง วิจารณ์ความสมเหตุสมผลวิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็น โต๎แย๎ง ตีความ และ
ประเมินคุณคําจากเร่ืองราว ประสบการณ์จากการอําน เพ่ือนาไปใช๎ในการแก๎ปัญหาในชีวิตฝึกคัดลายมือ
เขียนข๎อความ โดยใช๎ถ๎อยคาถูกต๎องตามระดับภาษา เขียนชีวประวัติ หรืออัตชีวประวัติ เลําเหตุการณ์
ข๎อคิดเห็น และทัศนคติ เขียนยํอความ จดหมายกิจธุระ อธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต๎แย๎ง
วเิ คราะหว์ ิจารณ์ แสดงความรูค๎ วามคิดเหน็ โต๎แย๎ง กรอกแบบสมัครงาน เขียนบรรยายเกี่ยวกับความร๎ู และ
ทักษะที่เหมาะสมกับตนเองและงาน เขียนรายงานการศึกษาค๎นคว๎า และโครงงานจากเรื่องราวตําง ๆ
เหตุการณ์ประสบการณ์ ฝกึ แสดงความคดิ เห็นและประเมนิ เร่อื งวิเคราะหแ์ ละวิจารณ์ พูดรายงาน ประเด็นที่
ศกึ ษา พดู ในโอกาสตําง ๆ ไดต๎ รงวัตถุประสงค์พูดโน๎มน๎าว ลาดับเน้ือหาอยํางมีเหตุมีผล จากเรื่องท่ีฟังและดู
ศกึ ษาจาแนกการใชค๎ าภาษาตํางประเทศในภาษาไทย แตํงบทร๎อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ บอกคุณคําของ
วรรณคดี วรรณกรรม ทํองจาบทร๎อยกรองท่ีมีคุณคําตามความสนใจ และนาไปใช๎อ๎างอิง บรรยายความร๎ู
เกย่ี วกบั งานทักษะอาชพี ทกี่ าหนด เพ่อื นาสํูประชาคมอาเซียน สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา๎ อยหํู วั มาประยุกตใ์ ช๎ทั้งยังมีทกั ษะชวี ิตท่ีสามารถนาไปใช๎จรงิ ได๎อยาํ งเหมาะสม

เพ่อื ให๎ อําน เขยี น ฟัง ดู พูด ใช๎ภาษาถูกต๎องตามหลักเกณฑ์ เห็นคุณคําของวรรณคดีวรรณกรรม
วรรณกรรมท๎องถิ่น มมี ารยาทในการใช๎ภาษา นาความร๎ู ประสบการณ์ ไปใช๎พัฒนาตนเองในชีวิตประจาวัน
ได๎อยาํ งมีคณุ ภาพ มีมารยาทในการอําน เขียน การฟงั ดู และพดู มนี ิสัยรกั การอํานและการเขยี น

การวดั ผลและประเมนิ ผล ใชว๎ ธิ ีการท่ีหลากหลายตามสภาพจริง สอดคล๎องกับเนื้อหาสาระ ทักษะ/
กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอําน คิดวิเคราะห์และเขียนส่ือความหมาย และสมรรถนะ
สาคัญของผเู๎ รยี นทต่ี อ๎ งการวัด
รหสั ตวั ช้ีวดั

ท 1.1ม 3/1 , ท 1.1ม 3/2 , ท 1.1ม 3/3, ท 1.1ม 3/5, ท 1.1ม 3/6, ท 1.1ม 3/7
ท 1.1ม 3/8 , ท 1.1ม 3/9 , ท 1.1ม 3/10 ท 2.1ม 3/1 , ท 2.1ม 3/2 , ท 2.1ม 3/3 ,
ท 2.1ม 3/4 , ท 2.1ม 3/5 , ท 2.1ม 3/6 ,ท 2.1ม 3/7 , ท 2.1ม 3/8 , ท 2.1ม 3/9 ,
ท 2.1ม 3/10, ท 3.1ม 3/1, ท 3.1ม 3/2 , ท 3.1ม 3/3 , ท 3.1ม 3/4 , ท 3.1ม 3/5 ,
ท 3.1ม 3/6 , ท 4.1ม 3/1, ท 4.1ม 3/6ท 5.1ม 3/4
รวมท้ังหมด 28 ตัวช้วี ัด

คาอธบิ ายรายวชิ า

ท23102 ภาษาไทย ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 25
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย จานวน 60 ชว่ั โมง
ภาคเรยี นท่ี 2
1.5 หน่วยกิต

ศึกษาการอํานออกเสียงร๎อยแก๎วร๎อยกรอง ระบุความแตกตํางของคาที่มีความหมายโดยตรงและ
โดยนัย สรุปใจความสาคัญเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึกยํอความ และรายงานจากเร่ืองท่ีอําน
ตีความ ประเมินคําแนวคิดจากเร่ืองที่อํานฝึกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนคาอวยพรในโอกาสตําง ๆ
เขียนยํอความ พระราชดารัสพระบรมราโชวาท จดหมายราชการ เขียนอธิบายชี้แจง แสดงความคิดเห็น
และโต๎แย๎งในเร่ืองตําง ๆ กรอกแบบสมัครงาน พูดแสดงความคิดเห็น พูดวิเคราะห์วิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดู
พดู รายงาน พูดโตว๎ าทีพูดอภปิ ราย ยอวาที โน๎มน๎าวใจ ศกึ ษาประโยคที่ซับซ๎อนระดับภาษา วิเคราะห์คาทับ
ศัพท์คาศัพท์บัญญัติ ศัพท์วิชาการและวิชาชีพ แตํงโคลงสี่สุภาพ อํานวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรม
ท๎องถ่ิน วิเคราะห์คุณคําจากเรื่องทีอําน ทํองบทอาขยาน และบทร๎อยกรองที่มีคุณคํา บรรยายความรู๎
เกี่ยวกับงานทักษะอาชีพท่ีกาหนด เพื่อนาสํูประชาคมอาเซียน สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวมาประยุกตใ์ ชท๎ ้ังยงั มีทกั ษะชีวติ ทีส่ ามารถนาไปใชจ๎ ริงได๎อยํางเหมาะสม

เพื่อให๎ อําน เขียน ฟัง ดู พูด ใช๎ภาษาไทยได๎ถูกต๎องตามหลักเกณฑ์เห็นคุณคําของวรรณคดี
วรรณกรรมวรรณกรรมท๎องถิ่นและใช๎ภาษาอยํางมีมารยาทนาความรู๎ไปใช๎พัฒนาตนเองในชีวิตประจาวันได๎
อยาํ งมีคุณภาพ มีมารยาทในการอําน เขยี น การฟัง ดแู ละพดู มนี ิสัยรกั การอาํ นและการเขยี น

การวัดผลและประเมินผลใช๎วิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพจริงสอดคล๎องกับเนื้อหาสาระทักษะ/
กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์การอําน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความหมายและสมรรถนะสาคัญ
ของผู๎เรียนท่ตี อ๎ งการวดั
รหัสตัวชี้วดั

ท 1.1ม 3/1 ,ท 1.1ม 3/2 , ท 1.1ม 3/3 ,ท 1.1ม 3/4 , ท 1.1ม 3/6 ,ท 1.1ม 3/8,ท 1.1ม 3/10
ท 2.1ม 3/1 ,ท 2.1ม 3/2 ,ท 2.1ม 3/3 ,ท 2.1ม 3/ 4, ท 2.1ม 3/5 ,ท 2.1ม 3/6, ท 2.1ม 3/7
ท 2.1ม 3/8 ,ท 2.1ม 3/10ท 3.1ม 3/1 }ท 3.1ม 3/2 ,ท 3.1ม 3/3, ท 3.1ม 3/5,ท 3.1ม 3/6
ท 4.1ม 3/2 ,ท 4.1ม 3/3 ,ท 4.1ม 3/4 ,ท 4.1ม 3/5, ท 4.1ม 3/6
ท 5.1ม3/1 , ท 5.1ม 3/2, ท 5.1ม 3/3 ,ท 5.1ม 3/4
รวมท้ังหมด 30 ตวั ช้วี ัด

26

คาอธิบายรายวิชา
กล่มุ สาระคณติ ศาสตร์

27

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ค21101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทักษะการแก๎ปัญหาในสาระตํอไปนี้จานวนตรรกยะ จานวนเต็ม สมบัติ
ของจานวนเต็ม ทศนิยมและเศษสํวน จานวนตรรกยะและสมบัติของจานวนตรรกยะ เลขยกกาลังที่มีเลขชี้
กาลังเป็นจานวนเต็มบวก การนาความร๎ูเกี่ยวกับจานวนเต็ม จานวนตรรกยะ และเลขยกกาลังไปใช๎ในการ
แกป๎ ญั หา สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สมการเชิงเส๎นตัวแปรเดียว การแก๎สมการเชิงเส๎นตัวแปรเดียว
การนาความร๎ูเก่ียวกับการแก๎สมการเชิงเส๎นตัวแปรเดียวไปใช๎ในชีวิตจริงอัตราส่วน อัตราสํวนของจานวน
หลายๆ จานวน สัดสํวน การนาความร๎ูเก่ียวกับอัตราสํวน สัดสํวนและร๎อยละไปใช๎ในการแก๎ปัญหา

โดยนาความร๎ู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ีหลากหลายมาใช๎ในการแก๎ปัญหาในสถานการณ์
ตํางๆได๎อยํางเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได๎อยํางเหมาะสม ใช๎ภาษาแล ะ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร ส่ือความหมาย และนาเสนอได๎อยํางถูกต๎องชัดเจน เช่ือมโยงความรู๎
ตํางๆในคณิตศาสตร์และนา ความร๎ูทักษะกร ะบวนการทาง คณิตศาสตร์ไป เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมี
ความคิดริเร่ิมสร๎างสรรค์

เพื่อให๎เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทางานอยํางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนร๎ู มุํงม่ันในการทางาน รักความเป็น
ไทย มจี ติ สาธารณะ พรอ๎ มทง้ั ตระหนกั ในคณุ คําและมีเจตคติท่ีดตี ํอคณติ ศาสตร์

รหสั ตวั ชี้วดั
ค1.1 ม.1/1, ม.1/ 2, ม.1/ 3
ค1.3 ม.1/1

รวมท้ังหมด 4 ตัวชี้วัด

28

คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

ค21102 คณิตศาสตร์พนื้ ฐาน 2 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา วเิ คราะห์ อธบิ าย ฝึกทักษะการแก๎ปัญหาในสาระตํอไปน้ีสมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของ
ความสัมพันธ์เชิงเส๎น สมการเชิงเส๎นสองตัวแปร การนาความรู๎เกี่ยวกับสมการเชิงเส๎นสองตัวแปร และกราฟ
ของความสัมพนั ธ์เชิงเสน๎ ไปใชใ๎ นชีวติ จริงสถติ ิการต้ังคาถามทางสถติ ิ การเกบ็ รวบรวมขอ๎ มูล การนาเสนอข๎อมูล
ได๎แกํ แผนภมู ริ ูปภาพ แผนภมู ิแทงํ กราฟเสน๎ และแผนภูมิรูปวงกลม การแปลความหมายข๎อมูล การนาสถิติไป
ใช๎ในชวี ิตจรงิ การสรา้ งทางเรขาคณิต การสร๎างพื้นฐานทางเรขาคณติ การสร๎างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช๎การ
สร๎างพื้นฐานทางเรขาคณิต การนาความรู๎เกี่ยวกับการสร๎างพ้ืนฐานทางเรขาคณิตไปใช๎ในชีวิตจริงมิติสัมพันธ์
ของรูปเรขาคณิต หน๎าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพท่ีได๎จากการมองด๎านหน๎า ด๎านข๎าง ด๎านบนของรูป
เรขาคณติ สามมิตทิ ปี่ ระกอบขน้ึ จากลกู บาศก์

โดยนาความร๎ู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ีหลากหลายมาใช๎ในการแก๎ปัญหาในสถานการณ์
ตํางๆได๎อยํางเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได๎อยํางเหมาะสม ใช๎ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร ส่ือความหมาย และนาเสนอได๎อยํางถูกต๎องชัดเจน เช่ือมโยงความร๎ู
ตํางๆในคณิตศาสตร์และนาความร๎ูทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมี
ความคดิ ริเรม่ิ สร๎างสรรค์

เพ่ือให๎เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทางานอยํางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วิจารณญาณ มีความเช่ือมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนรู๎ มุํงมั่นในการทางาน รักความเป็น
ไทย มจี ติ สาธารณะ พรอ๎ มท้ังตระหนักในคณุ คําและมีเจตคติทดี่ ีตํอคณติ ศาสตร์

รหสั ตัวชี้วัด
ค2.2 ม.1/1, ม.1/ 2
ค3.1 ม.1/1

รวมทั้งหมด 3 ตัวช้ีวัด

29

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

ค22102 คณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน 3 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชว่ั โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศกึ ษา วิเคราะห์ อธบิ าย ฝกึ ทักษะการแกป๎ ัญหาในสาระตํอไปนี้จานวนตรรกยะ เลขยกกาลังที่มีเลขชี้
กาลังเป็นจานวนเต็ม การนาความรู๎เกี่ยวกับเลขยกกาลังไปใช๎ในการแก๎ปัญหาจานวนจริง จานวนอตรรกยะ
จานวนจริง รากทสี่ องและรากทสี่ ามของจานวนตรรกยะ การนาความรูเ๎ กี่ยวกับจานวนจริงไปใช๎ทฤษฎีบทพีทา
โกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับการนาความรู๎เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับไปใช๎ในชีวิตจริง
พหุนาม พหุนาม การบวก การลบ และการคูณของพหุนามการหารพหุนามด๎วยเอกนามท่ีมีผลหารเป็นพหุ
นามการแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช๎ สมบัติการแจกแจง
กาลังสองสมบูรณ์ ผลตํางของกาลังสอง เป็นต๎นสถิติ การนาเสนอและวิเคราะห์ข๎อมูล ได๎แกํ แผนภาพจุด
แผนภาพตน๎ – ใบ ฮิสโทแกรมและคาํ กลางของข๎อมลู การแปลความหมายผลลพั ธ์ การนาสถิตไิ ปใช๎ในชีวิตจรงิ

โดยนาความร๎ู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช๎ในการแก๎ปัญหาในสถานการณ์
ตํางๆได๎อยํางเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได๎อยํางเหมาะสม ใช๎ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร ส่ือความหมาย และนาเสนอได๎อยํางถูกต๎องชัดเจน เชื่อมโยงความรู๎
ตํางๆในคณิตศาสตร์และนาความร๎ูทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมี
ความคิดรเิ รมิ่ สรา๎ งสรรค์

เพ่ือให๎เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทางานอยํางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วิจารณญาณ มีความเช่ือม่ันในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนรู๎ มํุงม่ันในการทางาน รักความเป็น
ไทย มีจติ สาธารณะ พรอ๎ มท้ังตระหนักในคณุ คําและมเี จตคตทิ ดี่ ตี ํอคณติ ศาสตร์

รหสั และตัวชีว้ ัด
ค1.1 ม.2/1, ม.2/2
ค1.2 ม.2/1ม.2/2
ค2.2 ม.2/5
ค3.1 ม.2/1

รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด

30

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ค22102 คณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐาน 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

ศกึ ษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝกึ ทักษะการแกป๎ ญั หาในสาระตํอไปนี้พื้นท่ีผิวการหาพื้นท่ีผิวของปริซึมและ
ทรงกระบอก การนาความรู๎เก่ียวกับพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกไปใช๎ในการแก๎ปัญหาปริมาตร การหา
ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก การนาความร๎ูเก่ียวกับปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกไปใช๎ในการ
แก๎ปัญหาเส้นขนาน สมบัติเกี่ยวกับเส๎นขนานและรูปสามเหลี่ยมการเท่ากันทุกประการความเทํากันทุก
ประการของรปู สามเหลี่ยม การนาความรเ๎ู กยี่ วกับความเทํากันทุกประการไปใช๎ในการแก๎ปัญหาการแปลงทาง
เรขาคณิต การเล่ือนขนาน การสะท๎อน การหมุน การนาความร๎ูเก่ียวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช๎ในการ
แก๎ปัญหาการสร้างทางเรขาคณิต การนาความรู๎เก่ียวกับการสร๎างทางเรขาคณิตไปใช๎ในชีวิตจริง

โดยนาความร๎ู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช๎ในการแก๎ปัญหาในสถานการณ์
ตํางๆได๎อยํางเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได๎อยํางเหมาะสม ใช๎ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร ส่ือความหมาย และนาเสนอได๎อยํางถูกต๎องชัดเจน เช่ือมโยงความรู๎
ตํางๆในคณิตศาสตร์และนาความร๎ูทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกับศาสตร์อ่ืนๆและมี
ความคดิ รเิ ร่มิ สร๎างสรรค์

เพื่อให๎เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทางานอยํางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วิจารณญาณ มีความเช่ือม่ันในตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนรู๎ มํุงมั่นในการทางาน รักความเป็น
ไทย มจี ิตสาธารณะ พรอ๎ มทัง้ ตระหนกั ในคณุ คาํ และมีเจตคตทิ ดี่ ีตํอคณิตศาสตร์

รหัสและตัวชี้วัด
ค2.1 ม.2/1, ม.2/2
ค2.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4

รวมทั้งหมด 6 ตวั ชี้วดั

31

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

ค23101 คณิตศาสตรพ์ นื้ ฐาน 5 กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทักษะการแก๎ปัญหาในสาระตํอไปนี้ระบบสมการ ระบบสมการเชิงเส๎น
สองตัวแปร การแก๎ระบบสมการเชิงเส๎นสองตัวแปร การนาความร๎ูเก่ียวกับการแก๎ระบบสมการเชิงเส๎นสองตัว
แปรไปใช๎ในการแก๎ปัญหาสมการกาลังสองตัวแปรเดียว สมการกาลังสองตัวแปรเดียว การแก๎สมการกาลัง
สองตัวแปรเดยี ว การนาความรเ๎ู กีย่ วกับการแก๎สมการกาลงั สองตัวแปรเดียวไปใช๎ในการแก๎ปัญหาฟังก์ชันกาลัง
สอง กราฟของฟังก์ชันกาลังสอง การนาความร๎ูเกี่ยวกับฟังก์ชันกาลังสองไปใช๎ในการแก๎ปัญหาการแยกตัว
ประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวําสองสถิติ ข๎อมูลและการวิเคราะห์ข๎อมูล
ได๎แกํ แผนภาพกลอํ ง การแปลความหมายผลลัพธ์ การนาสถิติไปใช๎ในชีวิตจริงความน่าจะเป็น เหตุการณ์จาก
การทดลองสุํม ความนําจะเปน็ การนาความรเู๎ กี่ยวกับความนาํ จะเปน็ ไปใช๎ในชวี ิตจรงิ

โดยนาความรู๎ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ีหลากหลายมาใช๎ในการแก๎ปัญหาในสถานการณ์
ตํางๆได๎อยํางเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได๎อยํางเหมาะสม ใช๎ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได๎อยํางถูกต๎องชัดเจน เช่ือมโยงความร๎ู
ตํางๆในคณิตศาสตร์และนา ความรู๎ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกับศาสตร์อื่ นๆและมี
ความคิดรเิ ริ่มสรา๎ งสรรค์

เพ่ือให๎เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทางานอยํางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนรู๎ มํุงมั่นในการทางาน รักความเป็น
ไทย มจี ติ สาธารณะ พรอ๎ มทัง้ ตระหนกั ในคุณคาํ และมีเจตคตทิ ี่ดีตํอคณติ ศาสตร์

รหสั และตัวช้ีวดั
ค1.2 ม.3/1, ม.3/2
ค1.3 ม.3/2, ม.3/3
ค3.1 ม.3/1
ค3.2 ม.3/1

รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด

32

คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ค23102 คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน 6 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชว่ั โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศกึ ษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทกั ษะการแกป๎ ัญหาในสาระตอํ ไปนี้อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียวอสมการ
เชงิ เสน๎ ตวั แปรเดยี ว การแก๎อสมการเชิงเส๎นตัวแปรเดียว การนาความรู๎เก่ียวกับการแก๎อสมการเชิงเส๎นตัวแปร
เดยี วไปใชใ๎ นการแก๎ปญั หาพ้นื ที่ผวิ การหาพื้นท่ผี ิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนาความรู๎เก่ียวกับพ้ืนที่
ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลมไปใช๎ในการแก๎ปัญหาปริมาตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรง
กลม การนาความรู๎เก่ียวกับปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมไปใช๎ในการแก๎ปัญหาความคล้าย รูป
สามเหลยี่ มท่ีคลา๎ ยกนั การนาความรูเ๎ ก่ยี วกับความคล๎ายไปใช๎ในการแก๎ปัญหาอัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราสํวน
ตรีโกณมิติการนาคําอัตราสํวนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา ไปใช๎ในการแก๎ปัญหา
วงกลม วงกลม คอรด์ และเส๎นสมั ผสั ทฤษฎบี ทเกย่ี วกบั วงกลม

โดยนาความร๎ู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ีหลากหลายมาใช๎ในการแก๎ปัญหาในสถานการณ์
ตํางๆได๎อยํางเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได๎อยํางเหมาะสม ใช๎ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได๎อยํางถูกต๎องชัดเจน เชื่อมโยงความรู๎
ตํางๆในคณิตศาสตร์และนาความร๎ูทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกับศาสตร์อ่ืนๆและมี
ความคิดริเร่มิ สรา๎ งสรรค์

เพ่ือให๎เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทางานอยํางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วิจารณญาณ มีความเชื่อม่ันในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนรู๎ มุํงมั่นในการทางาน รักความเป็น
ไทย มีจิตสาธารณะ พร๎อมทง้ั ตระหนักในคณุ คําและมเี จตคตทิ ีด่ ีตํอคณิตศาสตร์

รหสั และตวั ชี้วดั
ค1.3 ม.3/1
ค2.1 ม.3/1, ม.3/2
ค2.2 ม.3/2, ม.3/3

รวมท้ังหมด 5 ตัวชี้วัด

33

คาอธิบายรายวชิ า
กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

34

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว21101 รายวชิ า วิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
จานวน 1.0 หน่วยกติ เวลา 40 ชว่ั โมง ภาคเรียนที่ 1

อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ โดยใช๎หลักฐานเชิง
ประจักษ์ท่ไี ดจ๎ ากการสังเกตและการทดสอบ และใช๎สารสนเทศที่ได๎จากแหลํงข๎อมูลตําง ๆ รวมทั้งจัดกลํุมธาตุ
เป็นโลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ วิเคราะห์ผลจากการใช๎ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี ที่มีตํอ
ส่ิงมีชีวิต ส่ิงแวดล๎อม เศรษฐกิจและสังคม จากข๎อมูลท่ีรวบรวมได๎ ตระหนักถึงคุณคําของการใช๎ธาตุโลหะ
อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอแนวทาง การใช๎ธาตุอยํางปลอดภัย คุ๎มคํา เปรียบเทียบ จุดเดือด
จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิและสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิ เขียนกราฟ แปลความหมายข๎อมูลจากกราฟ
หรอื สารสนเทศ อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแนํนของสารบริสุทธ์ิและสารผสม ใช๎เคร่ืองมือเพ่ือวัดมวล
และปรมิ าตรของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม อธบิ ายเก่ียวกบั ความสัมพันธ์ระหวํางอะตอม ธาตุ และสารประกอบ
โดยใชแ๎ บบจาลองและสารสนเทศ อธิบายโครงสร๎างอะตอมที่ประกอบด๎วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
โดยใช๎แบบจาลอง อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการจดั เรียงอนภุ าค แรงยดึ เหนย่ี วระหวาํ งอนภุ าค และการเคลื่อนท่ี
ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๏ส โดยใช๎แบบจาลอง อธิบาย
ความสัมพันธ์ระหวํางพลังงานความร๎อนกับการเปล่ียนสถานะของสสาร โดยใช๎หลักฐานเชิงประจักษ์และ
แบบจาลอง เปรียบเทียบรปู ราํ งและโครงสรา๎ งของ เซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ รวมทั้งบรรยายหน๎าที่ของผนังเซลล์
เย่ือห๎ุมเซลล์ ไซโทพลาซึมนิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ ใช๎กล๎องจุลทรรศน์ใช๎แสง
ศึกษาเซลล์ และโครงสร๎างตํางๆ ภายในเซลล์ อธิบาย ความสัมพันธ์ ระหวํางรูปรํางกับการทาหน๎าท่ีของเซลล์
อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดย เร่ิมจากเซลล์เน้ือเย่ือ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็นสิ่งมีชีวิต อธิบาย
กระบวนการแพรํและออสโมซิส จากหลักฐานเชิง ประจักษ์ และยกตัวอยํางการแพรํ และออสโมซิสใน
ชีวติ ประจาวนั ระบปุ ัจจัยท่ีจาเป็นในการสังเคราะห์ดว๎ ยแสงและผลผลิต ที่เกิดข้ึนจากการ สังเคราะห์ด๎วยแสง
โดยใช๎หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายความสาคัญของการสังเคราะห์ ด๎วยแสงของพืชตํอส่ิงมีชีวิตและ
ส่งิ แวดล๎อม ตระหนกั ในคุณคาํ ของพชื ทีม่ ตี อํ สิ่งมีชีวติ และสง่ิ แวดล๎อม โดยการรํวมกนั ปลกู และดูแลรักษาต๎นไม๎
ใน โรงเรียนและชุมชน บรรยายลักษณะ และหน๎าที่ของ ไซเล็มและโฟลเอ็ม เขียนแผนภาพท่ีบรรยาย ทิศ
ทางการลาเลียงสารใน ไซเล็มและโฟลเอ็มของพืช อธิบายการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศและไมํอาศัยเพศของ พืช
ดอก อธิบายลักษณะโครงสรา๎ งของดอกทีม่ ีสวํ นทาให๎เกิดการถํายเรณู รวมท้ัง บรรยายการปฏิสนธิของพืชดอก
การเกิด ผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด ตระหนักถึง ความสาคัญของสัตว์ที่ชํวยในการ
ถํายเรณูของพืชดอก โดยการไมทํ าลายชวี ติ ของสตั ว์ทีช่ ํวยใน การถํายเรณู อธบิ าย ความสาคัญ ของธาตุอาหาร
บางชนิดที่มีผลตํอการเจริญเติบโตและการดารงชีวิตของพืช เลือกใช๎ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชใน
สถานการณ์ที่กาหนด เลือกวิธีการขยายพันธ์ุพืชให๎เหมาะสมกับความต๎องการ ของมนุษย์ โดยใช๎ความรู๎

35

เก่ียวกบั การ สืบพันธุ์ของพืช อธิบาย ความสาคัญ ของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใช๎ประโยชน์
ด๎านตาํ ง ๆ ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องการขยายพนั ธ์พุ ืช โดยการนาความร๎ูไปใช๎ ในชีวิตประจาวนั

โดยอาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความร๎ู การสบื คน๎ ขอ๎ มลู การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพ่ือให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงที่เรียนร๎ู และนาความรู๎ไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน
มีจติ วิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม และจริยธรรม

เพื่อให๎ผ๎ูเรียนเกิดความร๎ู ความคิด และความเข๎าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งที่เรียนร๎ู
และนาความรไ๎ู ปใชใ๎ นชวี ิตตนเอง ตลอดจนมจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคาํ นิยมทถ่ี กู ต๎อง

ตวั ชีว้ ดั
ว 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11
ม.1/12ม.1/13 ม.1/14 ม.1/15 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18
ว 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10

รวม 28 ตวั ช้ีวัด

36

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว21102 รายวิชา วทิ ยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน กลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 2

เข๎าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถํายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหวํางสสาร
และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข๎องกับเสียง แสง และคล่ืน
แมเํ หล็กไฟฟาู รวมท้งั นาความรู๎ไปใชป๎ ระโยชน์ เข๎าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทา
ตํอวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนที่แบบตําง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์ เข๎าใจองค์ประกอบ และ
ความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปล่ียนแปลงลมฟาู อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทัง้ ผลตํอสงิ่ มีชวี ิตและส่งิ แวดลอ๎ ม

วเิ คราะห์ แปล ความหมาย ขอ๎ มลู และ คานวณปริมาณ ความร๎อนที่ทาให๎ สสารเปล่ียน อุณหภูมิและ
เปลี่ยนสถานะ โดยใช๎สมการ Q = mcΔt และ Q = mL ใช๎เทอร์มอมิเตอร์ในการวัด อุณหภูมิของสสาร
สรา๎ งแบบจาลอง ทอ่ี ธิบายการขยายตัวหรอื หดตัวของสสาร เน่อื งจากได๎รับหรือสูญเสียความร๎อน ตระหนักถึง
ประโยชนข์ อง ความรขู๎ องการหด และขยายตัวของ สสารเน่อื งจากความรอ๎ นโดย วิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหา
และเสนอแนะ วิธีการนาความรู๎ มาแก๎ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน วิเคราะห์ สถานการณ์การ ถํายโอนความร๎อน
และคานวณปริมาณความร๎อนที่ถํายโอนระหวํางสสารจนเกิดสมดุลความร๎อนโดยใช๎สมการ Qสูญเสีย = Q
ได๎รับ สร๎างแบบจาลองท่ีอธิบายการถํายโอนความร๎อนโดยการนาความร๎อน การพาความร๎อน การแผํรังสีความ
ร๎อน ออกแบบ เลือกใช๎และสร๎างอุปกรณ์เพื่อแก๎ปัญหาในชีวิตประจาวันโดยใช๎ความร๎ูเกี่ยวกับการถํายโอน
ความร๎อน สร๎างแบบจาลองที่อธิบายความสัมพันธ์ระหวํางความดันอากาศกับความสูงจากพ้ืนโลก สร๎าง
แบบจาลองที่อธบิ ายการแบํงช้ันบรรยากาศและเปรียบเทียบประโยชน์ของบรรยากาศ แตํละช้ัน อธิบายปัจจัย
ท่ีมผี ลตํอการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟูาอากาศ จากข๎อมลู ทีร่ วบรวมได๎ เปรียบเทียบกระบวนการเกิด
พายุฝนฟูาคะนองและพายุหมุนเขตร๎อน และผลที่มีตํอส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล๎อม รวมทั้งนาเสนอแนวทางการ
ปฏิบัติตนให๎เหมาะสมและปลอดภัย อธิบายการพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์ อากาศอยํางงํายจากข๎อมูลท่ี
รวบรวมได๎ ตระหนกั ถึงคุณคาํ ของการพยากรณ์อากาศ โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบตั ติ นและการใช๎ประโยชน์
จากคาพยากรณ์อากาศ อธิบายสถานการณแ์ ละผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกจากข๎อมูลท่ีรวบรวม
ได๎ ตระหนักถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกโดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใต๎การ
เปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลก

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู๎ การสืบค๎นข๎อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพ่ือให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู๎ และนาความร๎ูไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน
มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ุณธรรม และจรยิ ธรรม

เพ่ือให๎ผู๎เรียนเกิดความร๎ู ความคิด และความเข๎าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งที่เรียนร๎ู
และนาความรู๎ไปใช๎ในชวี ิตตนเอง ตลอดจนมีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคํานยิ มทถี่ กู ต๎อง

37

ตวั ชวี้ ดั
ว 2.2 ม.1/1
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7

รวม 15 ตวั ชี้วัด

38

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ว21103 รายวชิ า การออกแบและเทคโนโลยี กลุ่มสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
จานวน 0.5 หน่วยกติ เวลา 20 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 1

ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่สํงผลตํอการ
เปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ระบปุ ัญหาหรอื ความต๎องการในชีวติ ประจาวัน รวบรวม วิเคราะห์ข๎อมูล แนวคิดท่ี
เกยี่ วข๎องกบั ปญั หา การออกแบบวธิ กี ารแก๎ปญั หา ตดั สินใจเลือกขอ๎ มูลท่จี าเป็น นาเสนอแนวทางการแก๎ปัญหา
ให๎ผอ๎ู ืน่ เขา๎ ใจ วางแผนดาเนินการแก๎ปัญหา ด๎วยการทดสอบ ประเมนิ ผล ระบขุ ๎อบกพรํองทเ่ี กิดข้ึน พร๎อมท้ังหา
แนวทางการปรับปรุงแก๎ไข และนาเสนอผลการแก๎ปัญหา เลือกใช๎วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟูา หรือ
อิเล็กทรอนกิ สเ์ พื่อแกป๎ ัญหาได๎อยาํ งถูกต๎อง เหมาะสมและปลอดภยั

โดยอาศัยกระบวนการเรียนร๎ูโดยใช๎ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และการเรียนร๎ู
แบบใช๎โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เน๎นให๎ผ๎ูเรียนได๎ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณก์ ารแกป๎ ัญหาวางแผนการเรียนร๎ู และนาเสนอผํานการทากจิ กรรมโครงงาน

เพื่อให๎ผ๎ูเรียนมีความร๎ู ความเข๎าใจ ความสัมพันธ์ของความร๎ูวิทยาศาสตร์ท่ีมีผลตํอการพัฒนา
เทคโนโลยีประเภทตําง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่สํงผลให๎มีการคิดค๎นความร๎ูทางวิทยาศาสตร์ที่ก๎าวหน๎า
ผลของเทคโนโลยีตํอชีวิต สังคม และส่ิงแวดล๎อม ตลอดจนนาความร๎ูความเข๎าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยไี ปใช๎ให๎เกดิ ประโยชน์ตํอสงั คม และการดารงชีวติ จนสามารถพฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ
ความสามารถในการแก๎ปัญหาและการจัดการทักษะในการส่ือสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผ๎ูที่มี
จิตวทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คาํ นิยมในการใช๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยํางสร๎างสรรค์
รหสั ตัวชว้ี ัด

ว 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5
รวม 5 ตวั ช้วี ดั

39

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว21104 รายวิชา วทิ ยาการคานวณ กลุ่มสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1
จานวน 0.5 หน่วยกิต เวลา 20 ชวั่ โมง ภาคเรยี นที่ 2

ศึกษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะท่ีจาเป็นตํอการแก๎ปัญหา ข้ันตอนการแก๎ปัญหา
การเขยี นออกแบบและเขียนโปรแกรมอยํางงาํ ยท่ีมกี ารใชง๎ านตวั แปร เง่ือนไข และการวนซ้า เพ่ือแก๎ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข๎อมูลปฐมภูมิ การประมวลผลข๎อมูล การสร๎างทางเลือกและ
ประเมินผลเพ่ือตัดสินใจ โดยใช๎ซอฟแวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย ปลอดภัย ใช๎สื่อและ
แหลงํ ข๎อมูลตามขอ๎ กาหนดและข๎อตกลง

โดยใช๎กระบวนการเรียนรู๎โดยใช๎ปัญหาเป็นฐานเพื่อเน๎นให๎ผู๎เรียนได๎ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด
เผชิญสถานการณ์ การแก๎ปัญหาวางแผนการเรียนรู๎ ตรวจสอบการเรียนร๎ูและนาเสนอผํานการทากิจกรรม
โครงงาน

เพ่ือให๎เกิดการเห็นคุณคําของการนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์ในชีวิตประจาวันมีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรมคุณธรรมและคาํ นยิ มในการใชว๎ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยํางสรา๎ งสรรค์

รหัสตัวชี้วัด
ว4.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4

รวมทั้งหมด 4 ตวั ชี้วัด

รหสั วชิ า ว22101 คาอธิบายรายวิชา 40
เทคโนโลยี รายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละ

จานวน 1.0 หนว่ ยกติ เวลา 40 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ 1

ศึกษาสมบัติของส่ิงมีชีวิต หนํวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผํานเซลล์ ความสัมพันธ์ของ
โครงสรา๎ ง และหน๎าทข่ี องระบบตํางๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร๎างและ
หน๎าท่ีของอวัยวะตํางๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน สมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์
ระหวํางสมบัติของสสารกับโครงสร๎าง และแรงยึดเหนี่ยวระหวํางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี แปลความหมายของพลังงาน การ
เปล่ียนแปลงและการถํายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหวํางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน
ธรรมชาตขิ องคล่นื ปรากฏการณ์ที่เกย่ี วข๎องกบั เสียง แสง และคลื่นแมเํ หล็กไฟฟาู

โดยใช๎กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู๎ การสืบค๎นข๎อมูล การสังเกต การ
วเิ คราะห์ การอภปิ ราย การอธิบายและการสรุปผล

เพอ่ื ให๎ผเ๎ู รียนเกิดความรู๎ ความคิด และความเข๎าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู๎
และนาความร๎ไู ปใช๎ในชวี ิตตนเอง ตลอดจนมจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคํานยิ มทถ่ี กู ต๎อง

ตวั ชี้วัด
ว 1.2 ม 1-17
ว 2.1 ม 1-6
ว 2.3 ม 1-6

รวม 29 ตัวช้ีวดั

รหสั วิชา ว22102 คาอธิบายรายวชิ า 41
เทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์และ

จานวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ 2

ศกึ ษา ธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจาวัน ผลของแรงที่กระทาตอํ วัตถุ ลกั ษณะการเคลื่อนที่แบบตํางๆ
ของวัตถุ แปลความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถํายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหวํางสสาร
และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข๎องกับเสียง แสง และคล่ืน
แมเํ หล็กไฟฟูา ศึกษาองคป์ ระกอบ และความสมั พันธช์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก และ
บนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟูาอากาศและภูมิอากาศโลก และผลตํอสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล๎อม รวมท้ังนาความรูไ๎ ปใชป๎ ระโยชน์

โดยใช๎กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู๎ การสืบค๎นข๎อมูล การสังเกต การ
วเิ คราะห์ การอภิปราย การอธิบายและการสรุปผล

เพื่อให๎ผู๎เรียนเกดิ ความร๎ู ความคิด และความเข๎าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงที่เรียนร๎ู
และนาความรูไ๎ ปใชใ๎ นชวี ติ ตนเอง ตลอดจนมจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคาํ นยิ มทถ่ี กู ต๎อง

ตัวชี้วดั
ว 2.2 ม 1-15
ว 3.2 ม 1-10

รวม 25 ตัวชี้วัด

42

คาอธบิ ายรายวิชา

รหัสวชิ า ว22103 รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี กลุ่มสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
จานวน 0.5 หน่วยกิต เวลา 20 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1

ศกึ ษาวิธกี ารคาดการณ์แนวโน๎มเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นโดยการพิจารณาจากสาเหตุ หรือปัจจัยที่สํงผล
ตํอการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช๎เทคโนโลยี ระบุปัญหาหรือความ
ต๎องการในชุมชนหรอื ท๎องถ่นิ สรุปกรอบของปัญหา ออกแบบวธิ ีการแกป๎ ัญหา ภายใตเ๎ งอ่ื นไขและทรัพยากรที่มี
อยูํ นาเสนอแนวทางการแก๎ปัญหาให๎ผ๎ูอ่ืนเข๎าใจ วางแผนดาเนินการแก๎ปัญหา ด๎วยการทดสอบ ประเมินผล
ระบุข๎อบกพรํองท่ีเกิดขึ้น พร๎อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก๎ไข และนาเสนอผลการแก๎ปัญหา เลือกใช๎วัสดุ
อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟูา หรืออเิ ลก็ ทรอนิกส์เพือ่ แก๎ปัญหาได๎อยาํ งถกู ต๎อง เหมาะสมและปลอดภัย

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู๎โดยใช๎ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และการเรียนรู๎
แบบใช๎โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เน๎นให๎ผู๎เรียนได๎ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณ์การแก๎ปญั หาวางแผนการเรียนรู๎ และนาเสนอผาํ นการทากิจกรรมโครงงาน

เพื่อให๎ผู๎เรียนมีความรู๎ ความเข๎าใจ ความสัมพันธ์ของความร๎ูวิทยาศาสตร์ท่ีมีผลตํอการพัฒนา
เทคโนโลยีประเภทตําง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่สํงผลให๎มีการคิดค๎นความร๎ูทางวิทยาศาสตร์ท่ีก๎าวหน๎า
ผลของเทคโนโลยีตํอชีวิต สังคม และสิ่งแวดล๎อม ตลอดจนนาความรู๎ความเข๎าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีไปใช๎ให๎เกดิ ประโยชน์ตอํ สังคม และการดารงชวี ิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ
ความสามารถในการแก๎ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผู๎ท่ีมี
จติ วทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คาํ นยิ มในการใช๎วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยํางสรา๎ งสรรค์
รหสั ตัวชวี้ ัด

ว 4.1 ม.2/1
ว 4.1 ม.2/2
ว 4.1 ม.2/3
ว 4.1 ม.2/4
ว 4.1 ม.2/5
รวม 5 ตวั ชีว้ ัด

43

อธิบายรายวิชา

รหัสวชิ า ว22104 รายวิชา วิทยาการคานวณ กลมุ่ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
จานวน 0.5 หน่วยกิต เวลา 20 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2

ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใช๎แนวคิดเชิงคานวณในการแก๎ปัญหาหรือการทางานท่ีพบในชีวิตจริงออกแบบ
และเขยี นโปรแกรมที่ใช๎ตรรกะและฟังก์ชันในการแก๎ปัญหาโดยอภิปรายองค์ประกอบและหลักการทางานของ
ระบบคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีการสอ่ื สาร

โดยใช๎กระบวนการเรียนรู๎โดยใช๎ปัญหาเป็นฐานเพื่อเน๎นให๎ผ๎ูเรียนได๎ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด
เผชิญสถานการณ์ การแก๎ปัญหาวางแผนการเรียนรู๎ ตรวจสอบการเรียนรู๎และนาเสนอผํานการทากิจกรรม
โครงงาน

เพื่อให๎เกิดการเห็นคุณคําของการนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์ในชีวิตประจาวันมีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรมคุณธรรม มีความรับผิดชอบ สร๎างและแสดงสิทธิในการเผยแพรํผลงานและคํานิยมในการใช๎
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอยํางสร๎างสรรค์

รหสั ตวั ช้ีวัด
ว4.2 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/3 , ม.2/4

รวมทั้งหมด 4 ตวั ชวี้ ัด

44

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว23101 รายวิชา วิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
จานวน 1.0 หน่วยกติ เวลา 40 ชั่วโมง ภาคเรียนท่ี 1

ศึกษา อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของ ระบบนิเวศที่ได๎จากการสารวจ รูปแบบ
ความสัมพันธ์ระหวํางส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบตํางๆในแหลํงที่อยูํเดียวกันที่ได๎จากการสารวจ สร๎าง
แบบจาลองในการอธบิ ายการถํายทอดพลังงานในสายใยอาหาร อธิบายความสัมพันธ์ของผ๎ูผลิต ผู๎บริโภค และ
ผู๎ยํอยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศการสะสมสารพิษในส่ิงมีชีวิตในโซํอาหาร ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต
และสิ่งแวดล๎อมในระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหวําง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช๎แบบจาลอง การ
ถํายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวท่ีแอลลีล เดํน ขํมแอลลีลด๎อยอยําง
สมบูรณ์ การเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกและคานวณอัตราสํวนการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรํุนลูก
ความแตกตํางของการแบํงเซลล์แบบ ไมโทซิสและไมโอซิส การเปล่ียนแปลงของยีนหรือโครโมโซมอาจทาให๎
เกิดโรคทางพันธุกรรม พร๎อมท้ังยกตัวอยํางโรคทางพันธุกรรม ประโยชน์ของความรู๎เรื่องโรคทางพันธุกรรม
การใช๎ประโยชนจ์ ากสง่ิ มีชวี ิตดดั แปรพันธุกรรม และผลกระทบทอ่ี าจมตี อํ มนุษยแ์ ละสิ่งแวดลอ๎ ม ประโยชน์และ
ผลกระทบของสิง่ มชี ีวิตดัดแปรพันธุกรรมท่ีอาจมีตํอมนุษย์และส่ิงแวดล๎อมโดยการเผยแพรํความร๎ูท่ีได๎จากการ
โต๎แย๎งทางวิทยาศาสตร์ เปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตําง ๆ
อธิบายความสาคัญของความหลากหลายทางชวี ภาพท่มี ตี ํอการรกั ษาสมดลุ ของระบบนิเวศและตํอมนุษย์ ความ
หลากหลายทางชวี ภาพ

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความร๎ู การสืบค๎นข๎อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพื่อให๎เกิดความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู๎ ตระหนักถึงคุณคํา และนาความรู๎ไปประยุกต์ใช๎ใน
ชีวิตประจาวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม

เพ่ือให๎ผู๎เรียนเกิดความร๎ู ความคิด และความเข๎าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนร๎ู
และนาความรู๎ไปใชใ๎ นชวี ติ ตนเอง ตลอดจนมจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคํานิยมทีถ่ ูกตอ๎ ง
ตัวชี้วดั

ว 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ว 1.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/11
รวม 17 ตวั ช้ีวดั

45

คาอธิบายรายวิชา

รหัสวชิ า ว23102 รายวชิ า วิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3
จานวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ 2

ศึกษา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหวํางความตํางศักย์กระแสไฟฟูา และความต๎านทาน และคานวณ
ปริมาณที่เก่ียวข๎องโดยใช๎สมการ V= IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหวําง
กระแสไฟฟูาและความตาํ งศกั ย์ไฟฟูาการใช๎โวลตม์ เิ ตอร์ แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณทางไฟฟูา วิเคราะห์ความ
ตํางศักย์ไฟฟูาและกระแสไฟฟูาในวงจรไฟฟูาเมื่อตํอตัวต๎านทานหลายตัวแบบอนุกรมและแบบขนานจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพวงจรไฟฟูาแสดงการตํอตัวต๎านทานแบบอนุกรมและขนาน การทางาน
ของชิ้นสํวนอิเล็กทรอนิกส์อยํางงํายในวงจร อธิบายและคานวณพลังงานไฟฟูาโดยใช๎สมการW= Pt รวมท้ัง
คานวณคําไฟฟูาของเคร่ืองใช๎ ไฟฟูาในบ๎าน การเลือกใช๎เครื่องใช๎ไฟฟูาโดยนาเสนอวิธีการใช๎เคร่ืองใช๎ไฟฟูา
อยํางประหยดั และปลอดภยั สร๎างแบบจาลองทอ่ี ธิบายการเกดิ คลน่ื และบรรยายสวํ นประกอบของคล่ืน อธิบาย
คล่ืนแมํเหล็กไฟฟูาและสเปกตรัมคลื่นแมํเหล็กไฟฟูาจากข๎อมูลที่รวบรวมไดประโยชน์และอันตรายจากคล่ืน
แมํเหล็กไฟฟูา และอันตรายจากคล่ืนแมํเหล็กไฟฟูาในชีวิตประจาวัน ออกแบบการทดลองและดาเนินการ
ทดลองดว๎ ยวิธที ี่เหมาะสมในการอธบิ ายกฎการสะท๎อนของแสง เขียนแผนภาพการเคล่ือนที่ของแสง แสดงการ
เกิดภาพจากกระจกเงา อธิบายการหักเหของแสงเม่ือผํานตัวกลางโปรํงใสที่แตกตํางกัน และอธิบายการ
กระจายแสงของแสงขาวเมื่อผํานปริซึมจากหลักฐานเชิงประจักษ์เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง

ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวกับแสงการเคล่ือนท่ีของแสง แสดงการเกิดภาพจากเลนส์บาง การทางานของ
ทัศนอุปกรณ์ แสดงการเกิดภาพของทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา อธิบายผลของความสวํางท่ีมีตํอดวงตาจาก
ขอ๎ มลู ที่ไดจ๎ ากการสบื ค๎น การวดั ความสวาํ งของแสงโดยใช๎อุปกรณ์วัดความสวํางของแสงความสวํางของแสงท่ี
มีตํอดวงตา อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด๎วยแรงโน๎มถํวง สร๎างแบบจาลองที่อธิบายการ
เกิดฤดู และการเคล่ือนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิดข๎างข้ึนข๎างแรม การเปล่ียนแปลงเวลาการข้ึนและตก
ของดวงจันทร์ และการเกิดน้าขึ้นน้าลง การใช๎ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศและยกตัวอยํางความก๎าวหน๎า
ของโครงการสารวจอวกาศ

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู๎ การสืบค๎นข๎อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพื่อให๎เกิดความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู๎ ตระหนักถึงคุณคํา และนาความร๎ูไปประยุกต์ใช๎ใน
ชวี ิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม และจริยธรรม

เพ่อื ให๎ผูเ๎ รยี นเกดิ ความรู๎ ความคดิ และความเข๎าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู๎
และนาความร๎ูไปใชใ๎ นชีวติ ตนเอง ตลอดจนมจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคาํ นยิ มท่ถี ูกตอ๎ ง

ตัวช้วี ดั
ว 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8


Click to View FlipBook Version