The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา (ฉบับปรับปรุง 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by การงานครูอ๋า, 2022-04-04 01:08:31

หลักสูตรสถานศึกษา ม.ต้น

หลักสูตรสถานศึกษา (ฉบับปรับปรุง 2560) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

96

คาอธบิ ายรายวิชา

ง 23101 วชิ าการงานอาชพี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกติ

......................................................................................................................................

ศึกษาการทางาน ท่ีมีประสิทธิภาพเป็นการปฏิบัติตามกระบวนการทางาน โดยการทาตามลาดับ

ขั้นตอน มีความคิดสร๎างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน เกี่ยวกับการอภิปรายข้ันตอน การทางานที่มี

ประสทิ ธิภาพ ทกั ษะ จดั การ

ใช๎ทักษะในการทางานรํวมกันอยํางมีคุณธรรม อภิปรายการทางานโดยใช๎ทักษะการจัดการเพ่ือการ

ประหยัดพลงั งาน ทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ๎ ม อภิปรายการหางานด๎วยวิธีที่หลากหลาย เข๎าใจทักษะที่จาเป็น มี

ประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ วิเคราะห์แนวทางเข๎าสูํอาชีพ ใช๎เทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาอาชีพ มี

คุณธรรม และเจตคตทิ ่ีดีตํออาชีพ ประเมนิ ทางเลือกในการประกอบอาชีพทสี่ อดคล๎องกับความร๎ูความถนัดและ

ความสนใจของตนเอง

เพ่ือใหผ๎ ๎ูเรยี นเหน็ ความสาคญั และมีเจตคตทิ ดี่ ีตอํ การประกอบอาชีพ มีความมํุงมั่นในการทางาน ใฝุ

ร๎ู ใฝุเรยี น มเี หตมุ ีผล มีความเสยี สละ สามารถอยํูรวํ มกับผอู๎ ืน่ ได๎อยาํ งมีความสุข

รหสั ตัวช้ีวดั ง 1.1 ม.3/2, ง 1.1 ม.3/3
ง 1.1 ม.3/1 ง 2.1 ม.3/2, ง 2.1 ม.3/3
ง 2.1.ม.3/1

รวมทั้งหมด 6 ตวั ช้ีวดั

97

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
กล่มุ สาระการงานอาชีพ

98

คาอธบิ ายรายวิชา

ง 21201 รายวชิ าคหกรรมท่ัวไป กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1 หนว่ ยกิต

......................................................................................................................................

ศึกษาความหมาย ความสาคัญ ประโยชน์ หลักการ วิธีการ ขั้นตอน กระบวนการทางาน การ

จัดการเก่ียวกับงานบ๎าน การทาความสะอาดและจัดตกแตํงบ๎าน บทบาทและหน๎าท่ีของสมาชิกในครอบครัว

และมจี ิตสานกึ รบั ผิดชอบตอํ ครอบครวั ประดิษฐเ์ ครอ่ื งใช๎และส่ิงตกแตํงบ๎าน การเลือกใช๎และดูแลรักษาเสื้อผ๎า

เครอ่ื งแตํงกายของตนเองและครอบครัว การร๎ูจกั เลือกบรโิ ภคอาหารท่ีมีประโยชน์ตํอรํางกายตลอดจนมารยาท

ในการรับประทานอาหารข้ันตอนวิเคราะห์วางแผนและลงมือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสร๎างวามสัมพันธ์ของ

สมาชิกในบ๎านการดูแลรักษาบ๎าน ผ๎าและเครื่อง แตํงกาย อาหารและโภชนาการ และลงมือผลิตช้ินงานตาม

ขน้ั ตอน กระบวนการทางานโดยใช๎กระบวนการกลมุํ นาเสนอผลงาน

โดยใช๎ทักษะกระบวนการทางาน การจัดการการ ทางานกลุํม การแสวงหาความรู๎ การแก๎ปัญหาใน

การทางาน

เพื่อให๎มีทักษะ มีคุณธรรมมีจิตสานึกในการใช๎พลังงานทรัพยากรและส่ิงแวดล๎อมในการ

ทางานบา๎ น มีเจตคติทดี่ ีตอํ งานเพอ่ื ให๎มนี ิสัยรกั การทางานบ๎าน

ผลการเรยี นรู้

1. ศึกษาความหมาย ความสาคญั ประโยชน์ หลักการ วธิ ีการ ข้นั ตอน การจดั การเกี่ยวกับงานบา๎ น

2. บทบาทและหนา๎ ทข่ี องสมาชิกในครอบครัวและมจี ิตสานึกรับผดิ ชอบตํอครอบครัว

3. ประดิษฐ์เครือ่ งใช๎และส่งิ ตกแตํงบา๎ นได๎

4. เลอื กใช๎และดแู ลรักษาเสือ้ ผ๎าเครือ่ งแตงํ กายของตนเองและครอบครวั

5. เลือกบริโภคอาหารท่มี ีประโยชนต์ อํ ราํ งกาย ตลอดจนมารยาทในการรับประทานอาหาร

6. วเิ คราะห์ วางแผนและลงมอื ปฏิบตั งิ านเกยี่ วกับการสรา๎ งวามสัมพันธข์ องสมาชกิ ในบ๎าน

7. ดูแลรักษาบา๎ นและเครื่องแตงํ กาย อาหารโภชนากาได๎

8. ลงมือผลิตชน้ิ งานตามขนั้ ตอน กระบวนการทางานโดยใช๎กระบวนการกลมุํ

9. นาเสนอผลงานโดยใช๎ทักษะกระบวนการทางานการจัดการ การทางานกลุํม การแสวงหาความร๎ู

การแกป๎ ัญหาในการทางาน

10. มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึก ในการใช๎พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล๎อมในการทางานบ๎าน

มีเจตคตทิ ด่ี ีตํองานเพ่อื ให๎มีนสิ ยั รกั การทางานบา๎ น

รวมทงั้ สิน้ 9 ผลการเรียนรู้

99

คาอธิบายรายวชิ า

ง 22202 วิชาการงานชา่ งทว่ั ไป กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

..............................................................................................................................................

ศึกษาเกี่ยวกับงานชํางท่ัวไปในบ๎าน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานชํางในบ๎าน ความรู๎เบ้ืองต๎น

เกี่ยวกับงานเขียนแบบ งานไฟฟูา งานโลหะ งานยนต์ งานไม๎ งานปูน งานประปา งานสี เป็นต๎น การเลือกใช๎

วัสดุอุปกรณ์ในบ๎านตามมาตรฐานเหมาะสมกับงานและการดารงชีวิต ท่ียึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ปฏบิ ตั ิฝกึ ทักษะเกยี่ วกับงานชํางท่วั ไปในบ๎านเกีย่ วกบั งานเขยี นแบบ งานไฟฟาู งานโลหะ งานยนต์

งานไม๎ งานปูน งานประปา งานสี จัดทาโครงงานชํางบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง

เพ่ือให๎มีความรู๎ ความเข๎าใจ และมีทักษะในการปฏิบัติงานงานชํางท่ัวไปในบ๎านอยํางปลอดภัย

เลือกใช๎วัสดุอุปกรณ์ในบ๎านตามมาตรฐานเหมาะสมกับงานและการดารงชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์

นอ๎ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาบูรณาการทาโครงงานชาํ งได๎

ผลการเรยี นรู้

1. ศึกษาเก่ยี วกับงานชํางท่ัวไปในบ๎าน ความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงานชํางในบา๎ น

2. ความรูเ๎ บอื้ งต๎นเกี่ยวกับงานเขยี นแบบ งานไฟฟูา งานโลหะ งานยนต์ งานไม๎ งานปูน งานประปางานสี

3. เลือกใช๎วัสดุอุปกรณ์ตามมาตรฐานเหมาะสมกับงานและการดารงชีวิตท่ียึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง

4. ปฏิบัติฝึกทักษะเก่ียวกับงานชํางทัว่ ไปในบ๎านเกีย่ วกบั งานเขยี นแบบ งานไฟฟูา งานโลหะ งานยนต์ งาน

ไม๎ งานปนู งานประปา งานสี

5. จัดทาโครงงานชาํ งบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

6. มคี วามร๎ู ความเขา๎ ใจ และมีทักษะในการปฏิบตั งิ านงานชาํ งทว่ั ไปในบ๎านอยํางปลอดภยั

7. มคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์น๎อมนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาบรู ณาการทาโครงงานชํางได๎

รวมทัง้ สน้ิ 7 ผลการเรยี นรู้

100

คาอธิบายรายวิชา

ง 23203 วชิ าการงานเกษตรทัว่ ไป กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี

ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1 หนว่ ยกิต

..........................................................................................................................................................

ศึกษาความหมาย ความสาคัญและประโยชน์ของพืชผักทั่วไป เชํน ผักกาด ผักคะน๎า กะหล่าปลี ฯลฯ

การจาแนกและการแบํงชนิดของพืชผัก ทาเลท่ีเหมาะสมสาหรับสวนผัก ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลตํอการเจริญเติบโต

ของพืชผัก ลักษณะของเมล็ดพันธุ์ท่ีดี การเตรียมดินปลูก การปฏิบัติดูแลรักษาการปูองกันโรคและการกาจัด

ศตั รูพชื การเก็บเก่ียวและการปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกยี่ ว การถนอมอาหารและการแปรรปู

วิเคราะห์ข๎อมูลความต๎องการของตลาด ทดสอบการงอกของเมล็ด เลือกปลูกผักอยํางน๎อย 3 ชนิด

ปฏบิ ตั งิ านเตรยี มงานเตรยี มดนิ ปลกู ทาแปลงเพาะเมลด็ ทดสอบการงอกเมล็ด เพาะเมล็ดหวํานเมล็ด ย๎ายกล๎า

ปลูก ดแู ลรกั ษา เก็บเกยี่ ว แปรรูปและจดั ผลติ ผลจาหนาํ ย คานวณคําใช๎จําย กาหนดราคาขาย จัดจาหนําย จด

บนั ทกึ การปฏิบัติงานการทาบญั ชีรายรับรายจาํ ยและประเมนิ ผล

นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ สุจริต มุํงมั่นในการทางาน ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช๎

ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ๎ มในการทางานอยํางคม๎ุ คาํ ถูกวิธแี ละตดั สินใจเลอื กอาชีพทหี่ ลากหลาย

ผลการเรยี นรู้
1. สามารถบอกความหมาย ความสาคัญและประโยชน์ของพืชผกั ทวั่ ไปได๎
2. สามารถวเิ คราะห์ความตอ๎ งการของตลาดพชื ผักแตํละชนดิ ได๎
3. สามารถบอกปัจจยั ท่มี ีอทิ ธิพลตํอการเจรญิ เติบโตของพืชผกั ได๎
4. สามารถปฏบิ ตั กิ ารปลกู พชื ผักทเี่ ลือกได๎
5. สามารถปฏิบัติดูแลรกั ษาพืชท่ปี ลูกได๎
6. สามารถบอกวธิ ีการปอู งกันและกาจัดศัตรพู ืชได๎
7. เก็บเกย่ี วและปฏิบตั ิหลังการเก็บเกย่ี วได๎
8. สามารถบอกวิธีการถนอมอาหารและการแปรรูปได๎
9. สามารถจดบนั ทึกการปฏิบัตงิ านและจัดทาบัญชีรายรบั รายจํายได๎
10. สามารถประเมนิ ผลการปลกู พชื ผักได๎

รวมทง้ั หมด 10 ผลการเรยี นรู๎

101

คาอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

102

คาอธบิ ายรายวชิ า

รายวชิ าสขุ ศึกษา1 รหัสวิชา พ 21101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี น 1 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หน่วยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายเก่ียวกับความสาคัญของระบบประสาทและระบบตํอมไร๎ทํอท่ีมีผลตํอ

สุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรํุน วิธีการดูแลรักษาระบบประสาทและตํอมไร๎ทํอให๎ทางาน

ตามปกติ ภาวะการเจริญเติบโตทางราํ งกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน วิธีปรับตัวตํอการเปล่ียนแปลงทาง

ราํ งกาย อารมณ์ จิตใจ และพัฒนาการทางเพศอยํางเหมาะสม แสดงทักษะการปฏิเสธเพ่ือปูองกันตนเองจาก

การถูกลํวงละเมิดทางเพศ เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย วิเคราะห์ปัญหาท่ีเกิดจากภาวะโภชนาการท่ีมี

ผลกระทบตอํ สุขภาพ ควบคมุ น้าหนักของตนเองให๎อยํูในเกณฑ์มาตรฐานเห็นคุณคําของการนาความรู๎ไปใช๎ใน

ชีวิตประจาวัน และรักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนร๎ู อยํูอยํางพอเพียง มํุงมั่นในการ

ทางาน รักความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ

โดยใช๎กระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษา การทางานเป็นทีม การคิดวิเคราะห์อยํางมี

วิจารณญาณและสร๎างสรรค์ การแก๎ไขปัญหา การสืบค๎นความรู๎ใช๎เทคโนโลยีเพ่ือเป็นเครื่องมือใน การเรียนรู๎

การสรปุ ความรู๎ และการฝกึ ปฏบิ ัติ

เพ่อื ใหเ๎ กดิ ความรู๎ ความเข๎าใจ และตระหนกั ถงึ ความสาคัญของการเสรมิ สรา๎ งสขุ ภาพ การปูองกันโรค

การหลีกเลยี่ งปัจจยั และพฤตกิ รรมเส่ียงทีม่ ผี ลตํอสขุ ภาพ รกั การออกกาลังกาย รวํ มกจิ กรรมนันทนาการอยํางมี

ความสขุ นาความรไู๎ ปปรบั ใชใ๎ นชีวิตประจาวนั อยํางถูกต๎อง ตอํ เนอื่ งเปน็ ระบบ และเหมาะสม

รหสั ตวั ชี้วดั
พ 1.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4
พ 2.1 ม.1/1 , ม.1/2
พ 4.1 ม.1/1 , ม.1/2, ม.1/3

รวมท้ังหมด 9 ตัวช้ีวัด

103

คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รายวิชาเทเบลิ เทนนิส รหัสวิชา พ 21103 กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี เวลา 20 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษาและวิเคราะห์ความสามารถของตนเองตามหลักการเคลื่อนไหวท่ีใช๎ทักษะกลไกและทักษะ

พื้นฐานที่นาไปสํูการพัฒนาทักษะการเลํนกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทีมโดยใช๎ทักษะพ้ืนฐาน

ตามชนิดกฬี ารวํ มกิจกรรมนนั ทนาการและนาหลักความรู๎ทีไ่ ด๎ไปเชื่อมโยงสัมพันธ์กับวิชาอ่ืนความสาคัญขอการ

ออกกาลงั กาย และการเลํนกฬี า จนเป็นวถิ ชี ีวิตท่ีมีสุขภาพดี ออกกาลังกายและเลือกเข๎ารํวมเลํนกีฬาตามความ

ถนัด ความสนใจอยํางเต็มความสามารถพร๎อมท้ังมีการประเมินการลํนของตนเองและผ๎ูอื่น ปฏิบัติตามกฎ

กตกิ าและข๎อตกลงตามชนิดกฬี าที่เลอื กเลํน วางแผนการรุกและการปูองกันในการเลํนกีฬาท่ีเลือกและนาไปใช๎

ในการเลนํ อยํางเป็นระบบรํวมมือในการเลนํ กีฬาและการทางานเป็นทีมอยํางสนุกสนานวิเคราะห์ เปรียบเทียบ

ยอมรับความแตกตาํ งระหวํางวธิ ีการเลนํ กฬี าของตนเองและผอ๎ู ่นื

โดยใชก๎ ระบวนโดยใชก๎ ระบวนการสรา๎ งความรก๎ู ระบวนการคิด กระบวนการเรียนร๎ูจากประสบการณ์

จริง กระบวนการเรียนรู๎การเรียนร๎ูของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติลงมือทา

จรงิ เพื่อให๎เกิดมคี วามรู๎ ความเขา๎ ใจ ความคิด สามารถสอื่ สารสง่ิ ทีเ่ รยี นรู๎ ความสามารถในการตัดสินใจ

เห็นคุณคําของการนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตประจาวันและรักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย

ใฝุเรยี นรู๎อยอํู ยาํ งพอเพยี ง มํงุ มน่ั ในการทางานรักความเปน็ ไทยมีจิตสาธารณะ

รหสั ตัวช้ีวัด
พ 3.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3
พ 3.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3, ม.1/4 , ม.1/5, ม.1/6

รวมท้ังหมด 9 ตัวชีว้ ัด

104

คาอธิบายรายวิชา

รายวชิ าสุขศกึ ษา2 รหสั วิชา พ 21102 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี น 2 เวลา 20 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หน่วยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายเก่ียวกับความสาคัญของการปฐมพยาบาลและเคลื่อนย๎ายผู๎ปุวยอยําง

ปลอดภัย และบอกความสัมพนั ธ์ของการใชส๎ ารเสพตดิ กบั การเกิดโรคและอุบัติเหตุ และวิธีการชักชวนผ๎ูอื่นให๎

ลด ละ เลิกสารเสพติดโดยใช๎ทักษะตํางๆ สร๎างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบเห็น

คณุ คําของการนาความรูไ๎ ปใชใ๎ นชวี ติ ประจาวนั และรักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนร๎ู อยํู

อยํางพอเพยี ง มุงํ มน่ั ในการทางาน รักความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ

โดยใช๎กระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษา การทางานเป็นทีม การคิดวิเคราะห์อยํางมี

วิจารณญาณและสรา๎ งสรรค์ การแก๎ไขปัญหา การสืบค๎นความรู๎ใช๎เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือใน การเรียนร๎ู

การสรปุ ความร๎ู และการฝึกปฏิบตั ิ

เพ่ือใหเ๎ กิดความร๎ู ความเขา๎ ใจ และตระหนักถึงความสาคัญของการเสริมสร๎างสุขภาพ การปูองกันโรค

การหลีกเล่ยี งปัจจยั และพฤตกิ รรมเส่ียงทมี่ ผี ลตํอสขุ ภาพ รกั การออกกาลังกาย รวํ มกิจกรรมนันทนาการอยํางมี

ความสุข นาความรูไ๎ ปปรับใช๎ในชีวติ ประจาวันอยาํ งถกู ต๎อง ตํอเนือ่ งเปน็ ระบบ และเหมาะสม

รหัสตวั ช้ีวัด
พ 4.1 ม.1/3
พ 5.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4

รวมท้ังหมด 5 ตวั ชว้ี ัด

105

คาอธบิ ายรายวิชา

รายวิชาฟตุ บอล รหสั วิชา พ21104 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี น 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หน่วยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของกีฬาฟุตบอล การเลือก การดูแลรักษาอุปกรณ์และสิ่งอานวยความ

สะดวก มารยาทของผ๎ูเลํนและผ๎ูดูท่ีดี การบริหารกาย การเคล่ือนไหวพ้ืนฐาน การเสริมสร๎างสมรรถภาพทาง

กาย การฝึกทักษะเบ้ืองต๎น กติกาการแขํงขันเบื้องต๎นและการเลํนเป็นทีมโดยรํวมเลํนและแขํงขันอยํา ง

สนกุ สนาน ยึดหลักความปลอดภยั เพือ่ พฒั นาบคุ ลิกภาพและสมรรถภาพของตวั เองอยเํู ปน็ ประจา

โดยใช๎กระบวนโดยใช๎กระบวนการสร๎างความรู๎กระบวนการคิด กระบวนการเรียนร๎ูจาก

ประสบการณ์จริง กระบวนการเรียนร๎ูการเรียนรู๎ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการ

ปฏิบัตลิ งมือทาจรงิ เพอ่ื ให๎เกิดมคี วามร๎ู ความเข๎าใจ ความคิด สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู๎ ความสามารถในการ

ตดั สินใจ

เหน็ คณุ คาํ ของการนาความรูไ๎ ปใช๎ในชีวิตประจาวนั และรกั ชาติ ศาสนา กษตั ริย์ ซอ่ื สัตย์สจุ ริต มีวินัย

ใฝุเรียนรู๎ อยูอํ ยาํ งพอเพยี ง มํุงมัน่ ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ

รหัสตัวช้ีวัด
พ 3.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3
พ 3.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3, ม.1/4 , ม.1/5, ม.1/6

รวมท้ังหมด 9 ตวั ชวี้ ดั

106

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รายวิชาสุขศึกษา 3 รหสั วิชา พ 22101 กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษาและวเิ คราะห์ การเปลี่ยนแปลงและปจั จัยทีม่ ีผลตอํ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการด๎านรํางกาย

จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุํน ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลตํอเจตคติในเรื่องเพศ ปัญหาและผลกระทบที่

เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน วิธีการปูองกันตนเอง การหลีกเล้ียงจากโรคติดตํอทางเพศสัมพันธ์ เอดส์

การตั้งครรภ์ไมํพึงประสงค์ ความสาคัญของความเสมอภาคทางเพศและการวางตัวได๎อยํางเหมาะสม การ

เลือกใช๎บรกิ ารทางสขุ ภาพอยํางมีเหตุผล ผลของการใชเ๎ ทคโนโลยที ีม่ ผี ลตอํ สุขภาพ

โดยใช๎กระบวนการสร๎างความรู๎ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู๎จากประสบการณ์จริง

กระบวนการเรียนร๎ูการเรียนรู๎ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เพื่อให๎เกิดมีความรู๎ ความเข๎าใจ

ความคิด สามารถสื่อสารสง่ิ ทเี่ รยี นรู๎ ความสามารถในการตดั สินใจ

เห็นคุณคําชองการนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตประจาวัน และรักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มี

วนิ ัย ใฝุเรียนรู๎ อยอูํ ยํางพอเพยี ง มุํงม่นั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ

รหัสตัวช้ีวดั
พ 1.1 ม.2/1 , ม.2/2
พ 2.1 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/3 , ม.2/4
พ 4.1 ม.2/1 , ม.2/2

รวมท้ังหมด 8 ตัวชว้ี ดั

107

คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

รายวิชาตะกร้อ รหัสวชิ า พ22103 กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา

มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศกึ ษาเพอื่ ให๎มีความรู๎ ความเขา๎ ใจเกี่ยวกับกีฬาตะกร๎อ ประวัติความเป็นมา คุณคํา ทักษะของการ

เลํน กายบริหาร การเสริมสร๎างสมรรถภาพทางกาย การเสริมสร๎างสมรรถภาพทางกลไก การเลํนด๎วยความ

ปลอดภัย การดูแลรักษาอุปกรณ์ มารยาทท่ีดีของการเลํนกีฬาดูกีฬา กติกาและระเบียบของการแขํงขันกีฬา

ตะกร๎อ

มีทักษะการเคล่ือนไหวพื้นฐานในการเลํนกีฬาตะกร๎อ การอบอํุนรํางกาย การเลํนลูกด๎วยหน๎าเท๎า

หลังเท๎า เขํา ไหลํ ศีรษะ ศอก การพักลูก การเดาะลูก การเลํนเป็นทีม รูปแบบของการเลํนและการ

แขํงขนั กีฬา

เห็นคุณคําการนาความร๎ูไปใช๎ในชีวิตประจาวันและรักชาติศาสนา กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุ

เรยี นรู๎ อยอํู ยาํ งพอเพยี ง มุํงมนั่ ในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ

รหัสตวั ชี้วดั
พ 3.1 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/3, ม.2/4
พ 3.2 ม. 2/1 , ม.2/2 , ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5

รวมท้ังหมด 9 ตวั ชีว้ ัด

108

คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รายวชิ าสขุ ศึกษา 4 รหัสวิชา พ 22102 กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษาและวิเคราะห์ความเจริญก๎าวหน๎าทางการแพทย์ที่มีผลตํอสุขภาพความสัมพันธ์ของภาวะ

สมดุลระหวํางสุขภาพกายและสุขภาพจิตลักษณะอาการเบื้องต๎นของผู๎ที่มีปัญหาสุขภาพจิต วิธีปฏิบัติตนเพ่ือ

จดั การกับอารมณ์ ความเครยี ด การพัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเองให๎เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ปัจจัย

และแหลํงท่ีชํวยเหลือ ฟื้นฟูผ๎ูติดสารเสพติด วิธีหลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง ทักษะชีวิตใน

การปูองกนั ตนเอง หลกี เลี่ยงสถานการณ์คับขนั ท่อี าจนาไปสูอํ ันตราย

โดยใช๎กระบวนการสร๎างความร๎ู กระบวนการคิด กระบวนการเรียนร๎ูจากประสบการณ์จริง

กระบวนการเรียนร๎ูการเรียนรู๎ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เพ่ือให๎เกิดมีความร๎ู ความเข๎าใจ

ความคิด สามารถสื่อสารสง่ิ ทเ่ี รยี นรู๎ ความสามารถในการตัดสนิ ใจ

เหน็ คุณคาํ ชองการนาความรไ๎ู ปใช๎ในชวี ิตประจาวัน และรักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มี

วนิ ยั ใฝเุ รียนร๎ู อยูํอยํางพอเพียง มุํงมัน่ ในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ

รหสั ตวั ช้ีวัด
พ 4.1 ม.2/3 , ม.2/4 , ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7
พ 5.1 ม.2/1 , ม.2/2, ม.2/3

รวมทั้งหมด 8 ตวั ช้ีวดั

109

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รายวชิ ากรฑี า รหัสวชิ า พ 22104 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่วยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษาและวิเคราะห์ สาเหตุการเปล่ียนแปลงทางกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาท่ีเกิดจาก

การออกกาลังกายและเลํนกีฬาเป็นประจาจนเป็นวิถีชีวิต เลือกเข๎ารํวมกิจกรรมการออกกาลังกาย เลํนกีฬา

ตามความถนัด ความสนใจ พร๎อมท้ังวิเคราะห์ ความแตกตํางระหวํางบุคคลเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนา

ตนเอง มีระเบียบ มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา ข๎อตกลงในการเลํนกีฬาที่เลือก วางแผนการรุก การปูองกันใน

การเลนํ กฬี าท่เี ลือกเลํน นาไปใช๎ในการเลํน อยํางเหมาะสมกับทีม นาผลการปฏิบัติในการเลํนกีฬามาสรุปเป็น

วธิ เี หมาะสมกบั ตนเองดว๎ ยความมงํุ มน่ั

โดยใช๎กระบวนการสร๎างความร๎ู กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู๎จากประสบการณ์จริง

กระบวนการเรียนรู๎การเรียนรู๎ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติลงมือทาจริง

เพอื่ ใหเ๎ กดิ มคี วามรู๎ ความเขา๎ ใจ ความคดิ สามารถส่ือสารสงิ่ ท่เี รียนรู๎ ความสามารถในการตัดสนิ ใจ

เห็นคุณคําการนาความร๎ูไปใช๎ในชีวิตประจาวัน และรักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย

ใฝเุ รียนรู๎ อยูํอยํางพอเพียง มํุงมั่นในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ

รหัสตัวช้ีวดั
พ 3.1 ม. 2/1 , ม. 2/2 , ม.2/3
พ 3.2 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/3, ม.2/4,ม.2/5 , ม.2/6 , ม.2/7 , ม.2/8

รวมทั้งหมด 10 ตัวช้วี ัด

110

คาอธบิ ายรายวชิ า

รายวชิ าสขุ ศึกษา 5 รหัสวิชา พ 23101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี น 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายการเจริญเติบโตแตํละชํวงวัย แนวทางการดาเนินชีวิตของวัยรํุนท่ี

สอดคลอ๎ งกบั ความคาดหวังของสงั คม การวเิ คราะหส์ ่ือโฆษณา การปฏบิ ัติเกย่ี วกบั อนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม

กับวัยของตน สถาบันครอบครัวและแนวทางปูองกันความขัดแย๎งในครอบครัว คุณคําของอาหารกับการสร๎าง

เสริมสขุ ภาพโรคตดิ ตอํ และโรคไมํติดตํอ เห็นคุณคําของการนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตประจาวัน และรักชาติ ศาสน์

กษัตริย์ ซ่อื สตั ย์สจุ รติ มวี ินัย ใฝุเรียนรู๎ อยํอู ยํางพอเพียง มงํุ ม่นั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ

โดยใช๎กระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษา การทางานเป็นทีม การคิดวิเคราะห์อยํางมี

วิจารณญาณและสร๎างสรรค์ การแก๎ไขปัญหา การสืบค๎นความร๎ูใช๎เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนร๎ู

การสรุปความร๎ู และการฝกึ ปฏิบตั ิ

เพอ่ื ใหเ๎ กิดความรู๎ ความเขา๎ ใจ และตระหนกั ถึงความสาคัญของการเสริมสร๎างสุขภาพ การปูองกันโรค

การหลกี เลยี่ งปัจจัยและพฤตกิ รรมเส่ียงท่ีมผี ลตอํ สุขภาพ รกั การออกกาลังกาย รวํ มกิจกรรมนันทนาการอยํางมี

ความสุข นาความรูไ๎ ปปรบั ใช๎ในชวี ติ ประจาวันอยํางถกู ต๎อง ตอํ เนื่องเป็นระบบ และเหมาะสม

รหสั ตวั ช้ีวัด

พ 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
พ 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
พ 4.1 ม.3/2 ม.3/3
รวม 8 ตัวชวี้ ัด

111

คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

รายวิชาวอลเล่ยบ์ อล รหัสวิชา พ 23103 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาและวิเคราะห์ ปฏิบัติการเลํนกีฬาไทยและกีฬาสากล โดยใช๎เทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและ

ทมี นาหลกั ความรูแ๎ ละทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลํนเกม และการเลํนกีฬาไปใช๎สร๎างเสริม

สุขภาพอยํางตํอเน่ืองเป็นระบบ รํวมกิจกรรมนันทนาการและนาหลักความรู๎ วิธีการไปขยายผลการเรียนร๎ู

ให๎กับผ๎ูอ่นื มารยาทในการเลํนและดูกฬี าดว๎ ยความมนี า้ ใจนักกีฬา

โดยใช๎กระบวนการสร๎างความรู๎ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนร๎ูจากประสบการณ์จริง

กระบวนการเรียนรู๎การเรียนรู๎ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติลงมือทาจริง

เพือ่ ให๎เกดิ มีความร๎ู ความเขา๎ ใจ ความคดิ สามารถสือ่ สารสงิ่ ทเี่ รียนรู๎ ความสามารถในการตดั สินใจ

เห็นคุณคําของการนาความร๎ูไปใช๎ในชีวิตประจาวันและรักชาติศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย

ใฝุเรียนร๎ู อยอํู ยาํ งพอเพยี ง มํงุ มั่นในการทางาน รกั ความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ

รหสั ตัวช้ีวัด
พ 3.1 ม.3/1, ม.3/2 , ม.3/3
พ 3.2 ม. 3/1 ,ม.3/2 , ม.3/3, ม.3/4 , ม.3/5 , ม. 3/6 , ม.3/7

รวมท้ังหมด 10 ตัวชี้วดั

112

คาอธบิ ายรายวชิ า

รายวิชาสขุ ศึกษา 6 รหสั วิชา พ 23102 กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี น 2 เวลา 20 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบาย การมสี วํ นรวํ มในการแก๎ไขปญั หาสขุ ภาพในชมุ ชน โดยการเก็บรวบรวม

และวิเคราะหข์ ๎อมูลด๎านสุขภาพที่แตกตํางของแตํละชุมชน จัดการเวลาในการออกกาลังกาย การพักผํอน และ

การสร๎างเสริมสมรรถภาพตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของแตํละบุคคลอยํางเหมาะสมปูองกันและ

หลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเสี่ยงตํอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช๎ยา สารเสพติด และความรุนแรง ปฏิบัติการ

ชํวยฟื้นคืนชีพได๎อยํางถูกวิธีเห็นคุณคําของการนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตประจาวัน และรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ซื่อสตั ย์สุจริต มวี ินัย ใฝเุ รียนร๎ู อยูํอยํางพอเพยี ง มุํงมน่ั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ

โดยใช๎กระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษาการทางานเป็นทีมการคิดวิเคราะห์อยํางมี

วิจารณญาณและสร๎างสรรค์ การแก๎ไขปัญหา การสืบค๎นความร๎ูใช๎เทคโนโลยีเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการเรียนร๎ู

การสรุปความรู๎ และการฝึกปฏบิ ัติ

เพือ่ ใหเ๎ กิดความร๎ู ความเข๎าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของการเสริมสร๎างสุขภาพ การปูองกันโรค

การหลกี เลย่ี งปจั จยั และพฤตกิ รรมเส่ยี งทีม่ ีผลตํอสุขภาพ รักการออกกาลังกาย รํวมกิจกรรมนันทนาการอยํางมี

ความสขุ นาความร๎ไู ปปรบั ใชใ๎ นชวี ิตประจาวนั อยาํ งถูกต๎อง ตอํ เนอื่ งเปน็ ระบบ และเหมาะสม

รหสั ตัวช้ีวัด ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
พ 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
พ 5.1 ม.3/1 ม.3/2

รวม 10 ตัวชี้วดั

113

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รายวิชาบาสเกตบอล รหัสวิชา พ 23104 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาและวิเคราะห์ การออกกาลังกาย เลํนกีฬาอยํางสม่าเสมอ นาแนวคิดหลักการจากการเลํนไป
พัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเองดว๎ ยความภาคภูมใิ จ ปฏิบตั ิตนตามกฎ กตกิ า ข๎อตกลงในการเลํนตามชนิดกีฬาที่
เลอื ก และนาแนวคิดท่ไี ด๎ ไปพฒั นาคุณภาพชีวิตของตนเองในสังคม การจาแนกกลวิธีการรุก การปูองกัน และ
ใช๎ในการเลํนกีฬาที่เลือก และตัดสินใจเลือกวิธีท่ีเหมาะสมกับทีมไปใช๎ได๎ ตามสภาพการณ์ของการเลํน เสนอ
ผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองที่เกิดจากการออกกาลงั กาย การเลํนกฬี าเป็นประจา

โดยใช๎กระบวนการสร๎างความรู๎ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนร๎ูจากประสบการณ์จริง
กระบวนการเรียนรู๎การเรียนร๎ูของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติลงมือทาจริง
เพือ่ ใหเ๎ กิดมีความรู๎ ความเข๎าใจ ความคิด สามารถส่อื สารส่งิ ทเ่ี รียนร๎ู ความสามารถในการตัดสนิ ใจ

เห็นคุณคําของการนาความร๎ูไปใช๎ในชีวิตประจาวันและรักชาติศาสน์กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝุเรียนร๎ู อยํูอยาํ งพอเพียง มุงํ มั่นในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ

รหสั ตวั ช้ีวัด
พ 3.1 ม. 3/1 ,ม.3/2 , ม.3/3
พ 3.2 ม. 3/1 ,ม.3/2 , ม.3/3, ม.3/4 , ม.3/5 , ม. 3/6 , ม.3/7

รวมท้ังหมด 10 ตัวชี้วัด

114

คาอธิบายรายวิชา
กลมุ่ สาระศลิ ปะ

คาอธบิ ายรายวิชา 115

ศ 21101 ศิลปะ (สาระดนตรี-นาฏศิลป)์ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1
1.0 หน่วยกิต
กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ จานวน 40 ชว่ั โมง

ศึกษาเก่ียวกับเพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน๎ต เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทาง
ดนตรี โน๎ตบทเพลงไทยและสากล วิธีการขับร๎องบทเพลงในรูปแบบตํางๆ วงดนตรีไทย วงดนตรีพื้นเมือง วง
ดนตรีสากล การถํายทอดอารมณ์ของบทเพลง การประเมินคุณภาพของเพลงและการนาเสนอบทเพลง การ
ใช๎และบารุงรกั ษาเครอื่ งดนตรี ดนตรีกับสังคมไทย การแสดงนาฏศิลป์ การปฏิบัตินาฏยศัพท์และภาษาทําทาง
นาฏศิลป์ การสรา๎ งสรรค์กิจกรรมการแสดง และการศึกษาค๎นคว๎าละครไทยยุคสมัยตํางๆ และปัจจัยท่ีมีผลตํอ
การเปลีย่ นแปลงของนาฏศิลปแ์ ละละครไทย

โดยใช๎ทักษะกระบวนการแสดงออกทางดนตรี ทักษะกระบวนการแสดงออกทางนาฏศิลป์อยําง
สร๎างสรรค์ อําน เขียน ขับร๎อง ปฏิบัติ ประยุกต์ใช๎ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ถํายทอดความร๎ูสึก
อธิบาย บรรยาย อภปิ ราย ระบุ เปรียบเทยี บ ประเมินและแสดงความคดิ เห็น

เพื่อให๎เกิดความร๎ูความเข๎าใจ ความสัมพันธ์ระหวํางดนตรี-นาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
ชน่ื ชมเหน็ คุณคาํ ของดนตรี-นาฏศลิ ปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ๎ งถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

รหสั ตวั ชี้วัด
ศ 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9,
ศ 2.2 ม.1/1, ม.1/2
ศ 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
ศ 3.2 ม.1/1, ม.1/2

รวมท้ังหมด 18 ตวั ชีว้ ัด

คาอธบิ ายรายวิชา 116

ศ 21102 ศิลปะ (สาระทัศนศิลป์) ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2
1.0 หน่วยกิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ จานวน 40 ช่ัวโมง

ศึกษาทัศนศิลป์ เก่ียวกับความแตกตํางและความคล๎ายคลึงกันของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และ
ส่ิงแวดล๎อม ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์โดยเน๎นความเป็นเอกภาพความกลมกลืน และ
ความสมดุล วาดภาพทัศนียภาพแสดงให๎เห็นระยะไกลใกล๎ เป็น 3 มิติ ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรืองาน
กราฟิก ประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผ๎ูอ่ืนโดยใช๎เกณฑ์ที่
กาหนดให๎ ระบุเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท๎องถิ่นตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคตํางๆ ในประเทศไทย ความแตกตํางของจุดประสงค์ในการสร๎างสรรค์
งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและสากล

โดยใช๎ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ เพื่อฝึกทักษะสร๎างสรรค์งานทัศนศิลป์ คิดสร๎างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ถํายทอดความร๎ูสึก ประยุกต์ใช๎ ระบุ บรรยาย วาดภาพ รวบรวม การส่ือถึง
เรื่องราวของงาน ออกแบบ นาเสนอ ประเมินและเปรียบเทียบ

เพือ่ ใหเ๎ กดิ ความรคู๎ วามเข๎าใจ ทักษะกระบวนการทาทัศนศิลป์ได๎อยํางอิสระ ชื่นชมและเห็นคุณคํางาน
ทัศนศิลป์ เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการใช๎ทักษะชีวิตและ
ความสามารถในการใช๎เทคโนโลยี

รหสั ตวั ชี้วัด
ศ 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6
ศ 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3

รวมท้ังหมด 9 ตัวช้ีวดั

ศ 22101 ศิลปะ (สาระทศั นศิลป)์ คาอธิบายรายวิชา 117
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
จานวน 40 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1
1.0 หน่วยกติ

ศึกษาทัศนศิลป์ เกี่ยวกับรูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ บรรยายเก่ียวกับความ
เหมือนและความแตกตํางของรูปแบบการใช๎วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน วาดภาพด๎วยเทคนิคท่ี
หลากหลายในการส่ือความหมายและเรื่องราวตําง ๆ สร๎างเกณฑ์ในการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์
นาผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแกไขและพัฒนางาน วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละครบรรยาย
วิธกี ารใช๎งานทัศนศลิ ปใ์ นการโฆษณาเพือ่ โน๎มน๎าวใจและนาเสนอตวั อยาํ งประกอบ ระบุ และบรรยายเก่ียวกับ
วัฒนธรรมตาํ ง ๆทีส่ ะทอ๎ นถงึ งานทัศนศลิ ป์ในปัจจุบัน บรรยายถึงการเปล่ียนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทย
ในแตํละยุคสมัยโดยเน๎นถึงแนวคิดและเน้ือหาของงาน และเปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงาน
ทัศนศิลปท์ ่ีมาจาก วฒั นธรรมไทยและสากล

โดยใช๎ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ เพื่อฝึกทักษะสร๎างสรรค์งานทัศนศิลป์ คิดสร๎างสรรค์
ศกึ ษาคน๎ ควา๎ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ถํายทอดความรู๎สึก วาดภาพ บรรยาย ประยุกต์ใช๎ อภิปราย
สร๎างเกณฑ์ ปรับปรุงแกไข พฒั นางาน นาเสนอ ระบุ เปรียบเทยี บ

เพื่อให๎เกิดความรู๎ความเข๎าใจ ทักษะกระบวนการทาทัศนศิลป์ได๎อยํางอิสระ ชื่นชม และเห็นคุณคํา
งานทัศนศิลป์ เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการแก๎ปัญหา
ความสามารถในการใชท๎ กั ษะชีวติ และความสามารถในการใช๎เทคโนโลยี

รหสั ตัวชี้วดั
ศ 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, , ม.2/7
ศ 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3

รวมทั้งหมด 10 ตวั ชีว้ ดั

คาอธิบายรายวิชา 118

ศ 22102 ศลิ ปะ (สาระดนตรี-นาฏศลิ ป)์ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2
1.0 หนว่ ยกิต
กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ จานวน 40 ชว่ั โมง

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน๎ต เคร่ืองหมายและ
สัญลักษณ์ทางดนตรี โน๎ตบทเพลงไทยและสากล เทคนิคการขับร๎องบทเพลงในรูปแบบตําง ๆ การสร๎างสรรค์
บทเพลง การบรรยายอารมณค์ วามรู๎สึกในการฟงั เพลง การประเมนิ งานดนตรี อธิบายบทบาท และอิทธิพลของ
อาชีพดนตรี องค์ประกอบของดนตรีพ้ืนฐาน ดนตรีตํางประเทศ บรรยายอิทธิพลของเหตุการณ์ใน
ประวัติศาสตร์กับการเปล่ียนแปลงทางดนตรี การแสดงนาฏศิลป์ การปฏิบัตินาฎยศัพท์และภาษาทําทาง
นาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์และการละครกับศิลปะแขนงอ่ืน วิเคราะห์ วิจารณ์โดยใช๎หลักและวิธีการ
วิเคราะห์ วิจารณ์การแสดง แดสงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พ้ืนเมือง ละครไทย ละครพ้ืนบ๎าน และสามารถอธิบาย
เข๎าใจเกี่ยวกบั การแสดงละครไทยในยคุ สมยั ตาํ ง ๆ

โดยใช๎ทักษะกระบวนการแสดงออกทางดนตรี ทักษะกระบวนการแสดงออกทางนาฏศิลป์อยําง
สร๎างสรรค์ อําน เขียน ขับร๎อง ปฏิบัติ ประยุกต์ใช๎ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ถํายทอดความรู๎สึก
อธิบาย บรรยาย อภิปราย ระบุ เปรยี บเทียบ ประเมนิ และแสดงความคดิ เห็น

เพ่ือให๎เกิดความร๎ูความเข๎าใจ ความสัมพันธ์ระหวาํ งดนตรี-นาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม
ชน่ื ชมเห็นคณุ คําของดนตรี-นาฏศลิ ป์ท่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท๎องถิ่น ภูมิปญั ญาไทยและสากล

รหัสตัวช้ีวัด
ศ 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7
ศ 2.2 ม.2/1, ม.2/2
ศ 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5
ศ 3.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3

รวมท้ังหมด 17 ตัวช้วี ัด

คาอธิบายรายวชิ า 119

ศ 23101 ศิลปะ (สาระดนตรี-นาฏศลิ ป์) ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1
1.0 หนว่ ยกิต
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน 40 ชั่วโมง

ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับองค์ประกอบงานดนตรี การขับร๎องและบรรเลงดนตรี หลักการประพันธ์
เพลงการเปรียบเทียบงานดนตรี อิทธิพลทางดนตรี การจัดการแสดงดนตรีในงานตําง ๆ วิวัฒนาการของดนตรีไทย
และสากล องคป์ ระกอบของบทละคร นาฏยศัพทแ์ ละภาษาทํา ราวงมาตรฐาน การแสดงนาฏศิลป์ประเภทตําง ๆ การ
ประดิษฐ์ทําราประกอบการแสดง องค์ประกอบของนาฏศิลป์ การสร๎างสรรค์งานแสดง ความสาคัญและบทบาทของ
นาฏศลิ ป์และการละครในชีวิตประจาวัน และการอนรุ ักษน์ าฏศลิ ป์

โดยใช๎ทักษะกระบวนการแสดงออกทางดนตรี ทักษะกระบวนการแสดงออกทางนาฏศิลป์อยําง
สร๎างสรรค์ อําน เขียน ขับร๎อง ปฏิบัติ ประยุกต์ใช๎ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ถํายทอดความร๎ูสึก
อธบิ าย บรรยาย อภปิ ราย ระบุ เปรยี บเทยี บ ประเมนิ และแสดงความคดิ เห็น

เพอ่ื ให๎เกิดความรูค๎ วามเขา๎ ใจ ความสมั พนั ธ์ระหวํางดนตรี-นาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
ช่นื ชมเหน็ คณุ คาํ ของดนตรี-นาฏศลิ ป์ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ๎ งถนิ่ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

รหสั ตัวช้ีวัด
ศ 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7
ศ 2.2 ม.3/1, ม.3/2
ศ 3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7
ศ 3.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3

รวมท้ังหมด 19 ตวั ชว้ี ัด

ศ 23102 ศิลปะ (สาระทศั นศิลป)์ คาอธบิ ายรายวิชา 120
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
จานวน 40 ชั่วโมง ภาคเรียนท่ี 2
1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาทัศนศิลป์ เก่ียวกับทัศนธาตุหลักการออกแบบในสิ่งแวดล๎อมและงานทัศนศิลป์ ระบุ และ
บรรยายเทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร๎างงาน ทัศนศิลป์ วิเคราะห์ และบรรยายวิธีการ ใช๎ทัศนธาตุ และ
หลักการออกแบบในการสร๎างงานทัศนศิลป์ของตนเองให๎มีคุณภาพ สร๎างงานทัศนศิลป์อยํางน๎อย 3 ประเภท
มที กั ษะในการผสมผสานวัสดุตํางๆ ในการสร๎างงานทัศนศิลป์โดยใช๎หลักการออกแบบ การสร๎างงานทัศนศิลป์
แบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ์ และจินตนาการ การประยุกต์ใช๎ทัศนธาตุและหลักการ
ออกแบบสร๎างงานทศั นศิลป์ การใช๎เทคนิค วิธีการที่หลากหลายสร๎างงานทัศนศิลป์เพ่ือส่ือความหมาย การ
ประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ และเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช๎เกณฑ์ท่ีกาหนดขึ้นอยํางเหมาะสม และนาไปจัด
นทิ รรศการ

โดยใช๎ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ เพื่อฝึกทักษะสร๎างสรรค์งานทัศนศิลป์ คิดสร๎างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ถํายทอดความรู๎สึก ประยุกต์ใช๎ ระบุ บรรยาย วาดภาพ รวบรวม การส่ือถึง
เร่ืองราวของงาน ออกแบบ นาเสนอ ประเมนิ และเปรยี บเทียบ

เพื่อใหเ๎ กดิ ความรคู๎ วามเข๎าใจ ทกั ษะกระบวนการทาทัศนศิลป์ได๎อยํางอิสระ ชื่นชมและเห็นคุณคํางาน
ทัศนศิลป์ เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการใช๎ทักษะชีวิตและ
ความสามารถในการใช๎เทคโนโลยี

รหสั ตัวชี้วัด
ศ 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10, ม.3/11
ศ 1.2 ม.3/1, ม.3/2

รวมท้ังหมด 13 ตวั ชีว้ ัด

121

กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน

122

กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น

กิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน โรงเรียนละลมวิทยามํุงให๎ผู๎เรียนได๎พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยําง
รอบด๎านเพือ่ ความเปน็ มนษุ ยท์ ่ีสมบูรณ์ ทงั้ รํางกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และสงั คม เสริมสร๎างให๎เป็นผู๎มีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร๎างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได๎
และอยํูรวํ มกบั ผอู๎ ืน่ อยาํ งมคี วามสขุ

กจิ กรรมพัฒนาผู๎เรยี นแบํงเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. กจิ กรรมแนะแนว

เป็นกิจกรรมท่ีสํงเสริมและพัฒนาผ๎ูเรียนให๎ร๎ูจักตนเอง รู๎รักษ์สิ่งแวดล๎อม สามารถคิดตัดสินใจ คิด
แก๎ปัญหา กาหนดเปูาหมาย วางแผนชีวิตท้ังด๎านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได๎อยํางเหมาะสม
นอกจากนี้ยังชํวยให๎ครูร๎ูจักและเข๎าใจผู๎เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมที่ชํวยเหลือและให๎คาปรึกษาแกํผ๎ูปกครองใน
การมีสวํ นรํวมพัฒนาผู๎เรยี น

2. กิจกรรมนกั เรยี น
เป็นกิจกรรมที่มุํงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผ๎ูนาผู๎ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทางาน

รํวมกัน การรู๎จักแก๎ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชํวยเหลือแบํงปันกัน เอื้ออาทร และ
สมานฉันท์ โดยจดั ให๎สอดคลอ๎ งกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู๎เรียนให๎ได๎ปฏิบัติด๎วยตนเอง
ในทุกข้ันตอน ได๎แกํ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน๎นการ
ทางานรํวมกันเป็นกลุํม ตามความเหมาะสมและสอดคล๎องกับวุฒิภาวะของผ๎ูเรียน บริบทของสถานศึกษาและ
ทอ๎ งถนิ่ กจิ กรรมนกั เรียนประกอบด๎วย

2.1 กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และนักศกึ ษาวชิ าทหาร
2.2 กิจกรรมชมุ นมุ ชมรม
3. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่สํงเสริมให๎ผู๎เรียนบาเพ็ญตนให๎เป็นประโยชน์ตํอสังคมชุมชนและท๎องถิ่นตามความ
สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตํอสังคม มีจิตสาธารณะ
เชํน กจิ กรรมอาสาพัฒนาตําง ๆ กจิ กรรมสร๎างสรรค์สังคม

123

แนวการจดั กจิ กรรรมแนะแนว

การจดั กิจกรรมแนะแนว สถานศกึ ษาไดบ๎ ริหารจดั การให๎บุคลากรที่เก่ียวข๎อง มีหน๎าที่และมีสํวนรํวม

ในการพัฒนาผเู๎ รยี น ใหบ๎ รรลตุ ามจุดหมายของหลักสูตร และมาตรฐานการแนะแนวด๎านผ๎ูเรียน โดยจัดเวลาให๎

เปน็ ไปตามสัดสํวนของการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู๎ รยี นในแตํชั้นปี รวมท้ังจัดบริการและกิจกรรมนอกห๎องเรียนให๎

ครอบคลมุ ทง้ั 5 งาน และมีกจิ กรรมอยํางนอ๎ ย 9 กิจกรรม ตามแนวการจดั กิจกรรม แนะแนว ดังนี้

การจัดกจิ กรรมแนะแนว มภี าระงาน 2 ลักษณะคือ

1. การจดั บรกิ ารแนะแนว

2. การจดั กิจกรรมในและนอกหอ๎ งเรยี น

การจดั บรกิ ารแนะแนว

ครูทุกคน รวมถงึ ครูแนะแนวด๎วย รวํ มรบั ผิดชอบ และมีหน๎าที่ในการจัดบริการแนะแนว โดยมีครูแนะ

แนวเป็นที่ปรึกษาและประสานงานเพื่อพัฒนาผู๎เรียนให๎ได๎มาตรฐานและครอบคลุมบริการแนะแนวท้ัง 5 งาน

ตามวธิ กี ารดงั น้ี

งาน วธิ ีการ

1. งานศึกษารวบรวมข๎อมูล - ศกึ ษา รวบรวม วิเคราะห์ สรปุ และนาเสนอ
ข๎อมลู ของผเ๎ู รยี น

2. งานสารสนเทศ - จดั ศนู ยส์ ารสนเทศทางการแนะแนวในรปู
ศนู ยก์ ารเรียนรู๎ดว๎ ยตนเอง โดยครอบคลุมดา๎ น
การศึกษา อาชีพ ชีวติ และสังคม

3. งานให๎คาปรกึ ษา - อบรมทกั ษะการให๎คาปรกึ ษาเบอ้ื งตน๎ แกํครู
ให๎คาปรกึ ษาผู๎เรียนทั้งรายบุคคลและเปน็ กลํุม
- ศกึ ษารายกรณี (Case study) และจดั กลุมํ
ปรกึ ษาปญั หา (Case conference)
- สํงตํอผู๎เชยี่ วชาญ ในกรณีท่ีผ๎ูเรียนมีปัญหา

ยากแกํการแก๎ไข

4.งานกจิ กรรมสํงเสริม พฒั นา ชํวยเหลือ - จัดกลํุมพฒั นาผ๎ูเรยี นดว๎ ยเทคนคิ ทางจิตวิทยา
- จดั บริการ สรา๎ งเสริมประสบการณ์ รวมทง้ั

ผเู๎ รียน ให๎การสงเคราะห์ เพื่อตอบสนองความถนดั
ความตอ๎ งการ และความสนใจของผู๎เรียน

งาน วธิ กี าร

5. งานติดตามประเมินผล - ตดิ ตาม ดูแลพฤตกิ รรมและพฒั นาการของผเู๎ รียน
- ติดตามผลผเ๎ู รียน

- ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานแนะแนว

124

การจดั กจิ กรรมในและนอกหอ้ งเรียน

ครูทกุ คนรวํ มรบั ผดิ ชอบ และมีหน๎าท่ใี นการจัดกิจกรรมแนะแนว โดยมคี รแู นะแนวเปน็ ท่ีปรึกษาและ

ประสานงาน รํวมกนั วางแผนและหาวธิ ีการทเ่ี หมาะสมมาใชพ๎ ัฒนาผู๎เรียน เชนํ

ในห๎องเรยี น นอกห๎องเรยี น

1. กิจกรรมโฮมรูม 1. กจิ กรรมกลุํมทางจิตวทิ ยาและการแนะแนว เชนํ

2. กิจกรรมคาบแนะแนว โปรแกรมพฒั นาตนเองเกย่ี วกับการรู๎จัก และเหน็

3. การสอดแทรกกระบวนการแนะแนว คุณคาํ ในตนเอง

2. การอบรมเชิงปฏบิ ัติการ เชํน โครงการอบรม

ผ๎นู าในโรงเรียนสหวทิ ยาเขต

4. การทัศนศกึ ษาแหลงํ วทิ ยาการ และ

สถานประกอบการ

5. การเชิญวทิ ยากร ให๎ความรู๎ เชํน ผู๎ปกครอง

นักเรยี น ศษิ ย์เกาํ ภูมิปัญญาท๎องถน่ิ

6. การจดั นิทรรศการ

7. การจัดปูายนิเทศ

8. การปฐมนเิ ทศ

9. การปจั ฉิมนเิ ทศ

10. การจัดเสยี งตามสาย

11. ชุมนมุ แนะแนว

12. กจิ กรรมผ๎ูปกครองพบครูของลกู รกั

13. กจิ กรรมเพ่อื นชวํ ยเพ่ือน

โดยดาเนินการตามกจิ กรรมอย่างน้อย 9 กิจกรรม
1. ศึกษาและรวบรวมข๎อมลู ผู๎เรยี นท่ตี นเองรับผดิ ชอบเปน็ รายบคุ คล
2. คัดกรองผู๎เรยี นเพ่ือจาแนกผ๎เู รยี นออกเป็น 2 กลมํุ คอื กลุํมปกติและกลุํมพเิ ศษ
3. ดูแลชวํ ยเหลอื ใหค๎ าปรกึ ษาเบื้องต๎น ในด๎านตําง ๆ ให๎ผู๎เรียนพัฒนาเดก็ ตามศักยภาพ
4. พฒั นาระบบข๎อมูลและภูมิความร๎ทู ่ีทันสมยั เป็นประโยชน์และจาเป็นในการดาเนินชวี ิต
5. ประสานงานกบั ผู๎เกี่ยวขอ๎ งภายในสถานศึกษา เพ่ือให๎ได๎ข๎อมูลเกีย่ วกับผเ๎ู รยี น แนวทางการดแู ล
ชวํ ยเหลือ และการสงํ ตํอผ๎ูเรียน
6. ประสานงานกบั ผู๎ปกครอง ชมุ ชน เพอ่ื การรํวมมอื ในการดูแลชํวยเหลือผเู๎ รยี น

125

7. จัดกจิ กรรมท้ังในและนอกห๎องเรยี น เพอ่ื ปูองกัน แก๎ไข และการสํงเสรมิ พฒั นาผ๎เู รยี นทุกคน รวมทัง้ ผู๎
ท่มี คี วามสามารถพิเศษ ผด๎ู ๎อยโอกาส คนพิการ ตลอดจนผ๎ูมีปญั หาชวี ติ และสังคมใหส๎ ามารถพฒั นาตน
ไดเ๎ ต็มศกั ยภาพ

8. รํวมจัดบรกิ ารตําง ๆ เชํน
 แนะแนวกลุํม
 จัดบริการดา๎ นสุขภาพ
 จัดหาทุนและอาหารกลางวนั
 จัดหางาน
 จดั ให๎มกี ารฝึกงานและหารายไดร๎ ะหวํางเรยี น
 จดั ศนู ยก์ ารเรียนรูใ๎ หผ๎ ๎เู รียนเพ่ือการวางแผนชีวิต
 จัดบริการชวํ ยผ๎เู รียนท่มี ีปัญหา หรือความต๎องการพิเศษ
 ติดตามผลผูเ๎ รยี นทัง้ ในปจั จบุ ัน และจบการศึกษาแลว๎

9. นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และประชาสัมพนั ธ์

แนวการจัดกิจกรรมนกั เรยี น

มี 2 กิจกรรมดังนี้
1. กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี
2. กจิ กรรมชมุ นุม

นักเรียนทกุ คนจะต๎องผาํ นกิจกรรมนักเรียนท้ัง 2 กจิ กรรม
แนวการจดั กจิ กรรมชุมนุม

1. กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี
โรงเรียนละลมวทิ ยาได๎ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมลกู เสือ/เนตรนารี ดังน้ี
หลกั การ
กระบวนการลูกเสือมหี ลักการสาคัญ คือ
1. มศี าสนาเป็นหลกั ยึดทางจติ ใจ จงรักภกั ดตี อํ ศาสนาทตี่ นเคารพนับถือ และพึงปฏบิ ัตศิ าสนกจิ ด๎วย

ความจรงิ ใจ
2. จงรกั ภักดตี ํอพระมหากษัตริย์และประเทศชาตขิ องตน พรอ๎ มดว๎ ยการสํงเสรมิ และสนบั สนนุ สันติ

สุขและสนั ตภิ าพ ความเขา๎ ใจที่ดซี ่ึงกันและกัน และความรํวมมือซึ่งกนั และกนั ต้ังแตรํ ะดับท๎องถน่ิ
ระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ
3. เขา๎ รํวมพัฒนาสงั คม ยอมรบั และให๎ความเคารพในเกยี รติและศักดิศ์ รขี องผ๎ูอ่ืนและเพื่อนมนษุ ย์ทุก
คน รวมทั้งธรรมชาติและสรรพสิง่ ทั้งหลายในโลก

126

4. มคี วามรับผดิ ชอบตํอการพัฒนาตนเองอยํางตํอเนื่อง
5. ลกู เสือทุกคนต๎องยึดม่นั ในคาปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ
วตั ถปุ ระสงค์
พระราชบญั ญตั ิลูกเสอื พ.ศ. 2551 มาตรา 8 ได๎กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการฝกึ อบรมลูกเสือเพ่อื
พัฒนาลกู เสอื ทงั้ ทางกาย สติปัญญา จติ ใจ และศลี ธรรม ให๎เปน็ พลเมอื งดี มีความรับผิดชอบ และชวํ ย
สรา๎ งสรรค์สังคมใหเ๎ กิดความสามัคคีและมีความเจริญก๎าวหนา๎ ทงั้ นเ้ี พ่ือความสงบสุขและความม่ันคงของ
ประเทศชาติตามแนวทางดงั ตํอไปน้ี
1. ให๎มนี ิสัยในการสงั เกต จดจา เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง
2. ให๎มีความซ่ือสตั ย์สุจริต มรี ะเบยี บวนิ ัย และเห็นอกเห็นใจผ๎อู นื่
3. ให๎รู๎จกั บาเพ็ญประโยชน์เพื่อสาธารณประโยชน์
4. ใหร๎ ๎ูจกั ทาการฝมี ือและฝึกฝนการทากิจกรรมตาํ ง ๆ ตามความเหมาะสม
5. ให๎รู๎จักรักษาและสงํ เสริมรารีตประเพณี วัฒนธรรม และความม่นั คงของประเทศชาติ
ขอบขา่ ย
กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี เป็นกิจกรรมที่มํุงปลกู ฝงั ระเบยี บวนิ ยั และกฎเกณฑ์ เพ่ือการอยํูรํวมกนั ให๎
รู๎จกั การเสียสละและบาเพ็ญประโยชน์แกสํ งั คมและวิถชี วี ิตในระบอบประชาธิปไตย ซง่ึ การจดั กจิ กรรมลูกเสือ
เนตรนารี ให๎เป็นไปตามข๎อบังคบั ของสานกั งานลูกเสอื แหํงชาติ รวมทัง้ ใหส๎ อดคลอ๎ งกับหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนละลมวทิ ยาได๎กาหนดหลักสูตรเป็น ดงั นี้
ลกู เสอื สามัญรุํนใหญชํ ้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3
แนวการจัดกจิ กรรม
การกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางการจดั กจิ กรรมตามวธิ ีการลกู เสือ(Scout Method) ซ่งึ มี
องค์ประกอบ 7 ประการ คือ
1. คาปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลกั เกณฑท์ ่ลี กู เสือทุกคนให๎คามน่ั สัญญา วําจะปฏบิ ัตติ ามกฎของ

ลกู เสอื กฎของลูกเสือมีไวใ๎ ห๎ลกู เสือเปน็ หลักในการปฏบิ ัติ ไมไํ ด๎ “ห๎าม” ทา หรือ “บังคับ” ใหท๎ า
แตถํ ๎า “ทา” ก็จะเกิดผลดีแกํตวั เอง เป็นคนดี ไดร๎ ับการยกยอํ งวาํ เปน็ ผู๎มเี กียรตเิ ชอ่ื ถือได๎
2. เรยี นร๎จู ากการกระทา เปน็ การพฒั นาสวํ นบคุ คล ความสาเร็จหรือไมสํ าเรจ็ ของผลงานอยํูท่ีการ
กระทาของตนเอง ทาให๎มีความรท๎ู ี่ชดั เจน และสามารถแก๎ปัญหาตาํ ง ๆ ดว๎ ยตัวเองได๎ และท๎าทาย
ความสามารถของตนเอง
3. ระบบหมูํเป็นรากฐานอันแท๎จรงิ ของการลูกเสือ เปน็ พน้ื ฐานของการอยํรู วํ มกันการยอมรับซึง่ กนั
และกัน การแบงํ หน๎าที่ความรับผดิ ชอบ การชํวยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ซึ่งเป็นการเรียนร๎ู การใช๎
ประชาธปิ ไตยเบ้ืองตน๎
4. การใช๎สญั ลกั ษณร์ วํ มกนั ฝกึ ใหม๎ คี วามเป็นหนึ่งเดียวในการเปน็ สมาชกิ ลูกเสอื เนตรนารี ดว๎ ยการ
ใชส๎ ัญลกั ษณร์ วํ มกัน ไดแ๎ กํ เคร่อื งแบบ เคร่ืองหมาย การทาความเคารพ รหัส คาปฏิญาณ กฎ คติ

127

พจน์ คาขวญั ธง เป็นต๎น วธิ กี ารนจ้ี ะชวํ ยใหผ๎ ูเ๎ รียนตระหนกั และภาคภูมิใจในการเป็นสมาชิกของ
องค์การลูกเสอื โลก ซึ่งมสี มาชิกอยูํทั่วโลกและเป็นองค์กรท่ีมีจานวนสมาชกิ มากท่ีสุดในโลก
5. การศกึ ษาธรรมชาติ คือ สง่ิ สาคัญอนั ดับหน่ึงในกิจกรรมลกู เสอื ธรรมชาตอิ นั โปรํงใสตามชนบทปุา
เขา ปาุ ละเมาะ และพํุมไม๎ เป็นทีป่ รารถนาอยํางย่ิงในการไปทากิจกรรมกับธรรมชาติ การปีนเขา
ตั้งคํายพักแรมในสุดสปั ดาห์หรือตามวาระของการอยคูํ าํ ยพักแรม ตามกฎระเบียบ เปน็ ทีเ่ สนํหา
แกเํ ดก็ ทกุ คน ถา๎ ขาดสงิ่ นี้แล๎ว กไ็ มํเรียกวําใชช๎ วี ิตแบบลกู เสอื
6. ความก๎าวหนา๎ ในการเข๎ารวํ มกิจกรรม กิจกรรมตาํ ง ๆ ที่จัดให๎เด็กทาต๎องให๎มีความก๎าวหน๎าและ
ดึงดูดใจ สรา๎ งใหเ๎ กิดความกระตือรือรน๎ อยากที่จะทา และวัตถปุ ระสงค์ในการจัดแตลํ ะอยํางให๎
สมั พนั ธก์ บั ความหลากหลายในการพัฒนาตนเอง เกมการเลนํ ที่สนกุ สนาน การแขงํ ขันกันกเ็ ป็นสิ่ง
ดงึ ดดู ใจและเปน็ การจงู ใจทด่ี ี
7. การสนบั สนุนโดยผใู๎ หญํ ผ๎ูใหญเํ ปน็ ผูท๎ ช่ี ้แี นะหนทางท่ีถูกต๎องให๎แกํเดก็ เพื่อให๎เขาเกิดความมั่นใจ
ในการท่จี ะตดั สินใจกระทาสิ่งใดลงไป ท้ังคํมู คี วามต๎องการซ่ึงกันและกัน เดก็ ก็ต๎องการให๎ผ๎ูใหญํ
ชวํ ยช้ีนา ผใู๎ หญํเองก็ตอ๎ งการนาพาให๎ไปสํหู นทางที่ดี ให๎ได๎รับการพัฒนาอยํางถกู ต๎องและดีที่สุด
จงึ เป็นการรํวมมือกนั ทัง้ สองฝุาย

2. กิจกรรมชุมนุม ชมรม เป็นกิจกรรมท่ีมํงุ เนน๎ การเตมิ เต็มความร๎คู วามชานาญและประสบการณ์
ของผู๎เรยี นให๎กวา๎ งขวางยิ่งข้นึ เพื่อคน๎ พบความถนดั ความสนใจของตนเองและพฒั นาตนเองให๎เต็มศักยภาพ
โรงเรียนละลมวิทยาได๎มีแนวทางในการจดั กจิ กรรมดังนี้

1. หลักการจดั กจิ กรรมชมุ นุม ชมรม
1.1 เป็นกิจกรรมทเี่ กดิ จากความสมคั รใจของผู๎เรยี น โดยมีครเู ปน็ ทป่ี รกึ ษา
1.2 เป็นกิจกรรมทผ่ี ู๎เรยี นชํวยกันคดิ ชํวยกันทา และชํวยกันแกป๎ ัญหา
1.3 เป็นกจิ กรรมที่พฒั นาผ๎เู รียนตามสาระท่ีกาหนดนอกเหนอื จากการเรียนการสอน
1.4 เป็นกจิ กรรมทสี่ ํงเสรมิ และพัฒนาศักยภาพของผูเ๎ รยี น
1.5 เป็นกจิ กรรมที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา หรือท๎องถ่ิน

2. วัตถุประสงค์การจัดกิจกรรมชุมนมุ ชมรม
2.1 พฒั นาความรู๎ ความสามารถ ดา๎ นการคิด สังเคราะห์ เพือ่ ให๎เกิดทักษะประสบการณ์
ทั้งวิชาการและวชิ าชพี ตามศักยภาพ
2.2 เสริมสร๎างคุณธรรม จรยิ ธรรม และคาํ นยิ มท่พี ึงประสงค์
2.3 สํงเสริมใหม๎ สี ขุ ภาพและบคุ ลกิ ภาพทางดา๎ นราํ งกายและจติ ใจที่ดี
2.4 ใช๎เวลาวํางใหเ๎ กดิ ประโยชนต์ ํอตนเอง ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ
2.5 มมี นษุ ยสัมพันธใ์ นการทางานรวํ มกับผูอ๎ นื่ ในระบอบประชาธปิ ไตย

128

แนวการจดั กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์

โรงเรียนละลมวทิ ยาไดม้ แี นวทางในการจัดกิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ดังน้ี
1.จัดกิจกรรมภายในโรงเรยี น (เพ่ือปลกู ฝังจิตอาสา)
2. จัดกจิ กรรมภายนอกโรงเรยี น(กิจกรรมอาสาสมัครเพ่ือสังคม)เป็นกจิ กรรมท่ผี ๎เู รียนไดร๎ ับการ

สนับสนุน โดยใหท๎ ากจิ กรรมด๎วยความสมคั รใจทเ่ี ปน็ ประโยชน์ แกชํ มุ ชนและสังคมโดยรวม
การจดั กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ดาเนนิ การ 5 ขั้นตอน ดังน้ี
ขั้นตอนท่ี 1 การสารวจเพ่ือศึกษาสภาพปจั จบุ ันปัญหาตํางๆทั้งภายในโรงเรียนและชุมชน
ขน้ั ตอนที่ 2 การวิเคราะหห์ าสาเหตุของปัญหาตํางๆ และจัดลาดับปัญหาตามความสาคัญ จาเป็นและ

เรงํ ดวํ นจากมากไปหาน๎อย
ข้นั ตอนที่ 3 วางแผน ออกแบบกจิ กรรม และจัดทาปฏิทนิ การปฏิบตั กิ จิ กรรม
ขัน้ ตอนท่ี 4 ปฏิบัติกิจกรรมตามแผนทว่ี างไว๎
ขน้ั ตอนท่ี 5 แลกเปลีย่ นเรียนรู๎หลังจากเสร็จส้นิ การปฏบิ ตั ิกิจกรรมเพ่ือถอดบทเรยี นและสะท๎อน ใน

ประเดน็ ดังน้ี คอื ผลท่ีเกดิ กับผปู๎ ฎบิ ัตกิ ิจกรรมและผลทเ่ี กดิ แกํสงั คมภายหลังจาก การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม จากน้นั
นาไปสรุป รายงานและเผยแพรํ ประชาสัมพันธ์การปฏบิ ัติกจิ กรรม
การจดั กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์โรงเรียนไดด้ าเนนิ การจดั กิจกรรมดงั น้ี

1.จัดกจิ กรรมพัฒนาผู๎เรยี นตามทกี่ าหนดในหลักสตู ร
2. จัดบูรณาการในกิจกรรมการเรียนร๎ู 8 สาระการเรียนรู๎
3. จัดกจิ กรรมลกั ษณะโครงการ / โครงงาน/กิจกรรม
4. จดั กิจกรรมรวํ มกบั องคก์ รอนื่

1) รํวมกบั หนวํ ยงานอืน่ ท่เี ขา๎ มาจัดกจิ กรรมในโรงเรยี น
2) รํวมกับหนวํ ยงานอืน่ ที่จดั กิจกรรมนอกโรงเรยี น

129

เกณฑ์การจบหลกั สูตร
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

130

เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

โรงเรียนละลมวทิ ยาไดก๎ าหนดเกณฑ์การจบหลกั สตู รในระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน๎ ดงั นี้
(1) ผ๎ูเรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หนํวยกิตและรายวิชา

เพมิ่ เตมิ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด (ไมํน๎อยกวํา 11 หนวํ ยกติ )
(2) ผ๎เู รยี นตอ๎ งไดห๎ นํวยกติ ตลอดหลักสูตรไมํนอ๎ ยกวาํ 77 หนํวยกิตโดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หนํวย

กิต และรายวิชาเพ่มิ เตมิ ไมํนอ๎ ยกวาํ 11 หนวํ ยกติ
(3) ผู๎เรียนมีผลการประเมิน การอําน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผําน เกณฑ์

การประเมินตามทีส่ ถานศึกษากาหนด
(4) ผ๎ูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผํานเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศกึ ษากาหนด
(5) ผู๎เรียนเข๎ารํวมกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียนและมีผลการประเมินผํานเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศกึ ษากาหนด

เกณฑก์ ารประเมินรายวิชาพืน้ ฐาน และรายวิชาเพ่มิ เตมิ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้
การประเมินผลการเรียนตามกลํุมสาระการเรียนรู๎ทั้ง 8 กลุํมสาระ เป็นการประเมินความร๎ู

ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิด ที่กาหนดอยํูในตัวชี้วัดในหลักสูตรซึ่งจะนาไปสูํการสรุปผลการ
เรยี นร๎ขู องผูเ๎ รยี นตามมาตรฐานการเรยี นรู๎

- แจง๎ ใหผ๎ ๎เู รยี นทราบถึงมาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู๎ทตี่ อ๎ งการวดั และวธิ กี ารประเมินผล
- มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู๎ จะต๎องครอบคลุมพฤติกรรมด๎านพุทธิพิสัย จิตพิสัยและทักษะ
กระบวนการ
- ประเมนิ ผลกํอนเรยี น เพื่อศกึ ษาความรู๎พืน้ ฐานของผเู๎ รยี น
- วัดและประเมินผลระหวํางเรียน เพ่ือจัดการสอนซํอมเสริมและเพ่ือนาผลการเรียนการวัดผล
ระหวํางเรียนไปรวมกับการวัดผลกลางภาคและปลายภาคเรียนโดยให๎วัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐาน/
ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู๎ การวดั ผลและประเมนิ ผลระหวาํ งภาคเรยี นประกอบดว๎ ย
- วัดผลและประเมนิ ผลระหวํางเรยี น (กํอน-หลัง กลางภาคเรียน)
- วัดผลกลางภาคเรยี น ภาคเรยี นละ 1 คร้ัง
- วัดผลปลายภาคเรยี น
การประเมินการอําน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี นของผู๎เรียนให๎ครูประจาวิชาดาเนินการวัดผลตามเกณฑ์
ทก่ี าหนดดงั น้ี
โรงเรียนจัดให๎มีการประเมิน เป็น การสอบกลางภาค ปลายภาค โดยใช๎รูปแบบการประเมินจาก
แบบทดสอบมาตรฐานประเมนิ การอํานคิดวเิ คราะห์และเขียน โดยคณะกรรมการระดับช้ันปีเป็นคณะกรรมการ

131

ออกแบบทดสอบ เพ่ือทดสอบกับผ๎ูเรียนทุกคนทุกระดับชั้น และสํงผลการประเมินให๎ครูวัดผลเพ่ือสรุปผลการ
ประเมนิ และนาเสนอผูบ๎ ริหารเพื่อพจิ ารณาอนุมัติตํอไป

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผ๎ูเรียน ให๎ครูผู๎สอนดาเนินการวัดผลไปพร๎อมกับการ
ประเมนิ ผลระดับชนั้ เรียนตามเกณฑท์ กี่ าหนดดังนี้

ใชร๎ ปู แบบการประเมนิ กลมุํ สาระการเรยี นรู๎และผ๎ูท่ีรบั ผิดชอบพฒั นาและประเมินทุกคุณลักษณะโดย
มีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา เป็นองค์คณะบุคคลท่ีคอย
ชํวยเหลือคณะครู คณะกรรมการชุดน้ีจะทางานรํวมกับครูประจาช้ัน หรือครูที่ปรึกษา หรือครูทํานอ่ืนที่สนใจ
ทากรณีศกึ ษารวํ มกันโดยครูทีป่ รึกษารํวมกับครฝู ุายปกครอง และสํงผลการประเมินให๎ครูวัดผลเพ่ือสรุปผลการ
ประเมินและนาเสนอผู๎บริหารสถานศึกษา เพอ่ื พจิ ารณาอนุมตั ิตอํ ไป

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียนให๎ประเมินเป็นรายภาค โดยสถานศึกษากาหนดแนวทางการ
ประเมนิ ผรู๎ บั ผิดชอบกิจกรรมดาเนินการประเมินตามจุดประสงคโ์ ดยมีแนวปฏบิ ัติ ดังนี้

1. ตรวจสอบเวลาเข๎ารํวมกิจกรรมของผ๎ูเรียนให๎มีเวลาเข๎ารํวมกิจกรรมไมํน๎อยกวําร๎อยละ 80 ของ
เวลาในการเข๎ารํวมกจิ กรรมทง้ั หมด

2. ประเมินผู๎เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ ช้ินงานของผ๎ูเรียนโดยประเมินผลด๎วยวิธีการ
ประเมินตามสภาพจรงิ คือการจากการสงั เกต การปฏบิ ัติงาน ผลงาน/ช้นิ งาน

3. ผู๎เรียนที่มีผลการประเมินไมํผํานตามเกณฑ์เวลาการเข๎ารํวมกิจกรรม หรือเกณฑ์การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผ๎ูเรียนหรือท้ังสองเกณฑ์ ถือวําไมํผํานการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน
ผู๎สอนต๎องดาเนินการซํอมเสริมและประเมินจนผําน ท้ังนี้ควรดาเนินการให๎เสร็จสิ้นในปีการศึกษาน้ัน ยกเว๎นมี
เหตุสุดวิสัยใหอ๎ ยูใํ นดุลยพนิ ิจของผ๎ูบิหารสถานศึกษา

การตัดสนิ ผลการเรยี น ใหถ๎ อื ปฏิบัติดงั น้ี
หลกั สูตรโรงเรียนละลมวทิ ยา พุทธศักราช 2551 กาหนดหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนร๎ู
เพ่อื ตดั สินผลการเรียนของผ๎ูเรียน ดงั นี้
1) ผ๎ูเรยี นต๎องมเี วลาเรียนไมนํ ๎อยกวาํ ร๎อยละ 80 ของเวลาเรียนทง้ั หมด
2) ผู๎เรยี นตอ๎ งไดร๎ ับการประเมนิ ทกุ ตัวช้วี ดั และผํานตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
3) ผ๎ูเรียนต๎องได๎รับการตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา
4) ผเู๎ รยี นท่ีไมไํ ดว๎ ัดผลกลางภาคเรยี น ไมํไดว๎ ัดผลปลายภาคเรียน และไมํได๎สํงงานที่ได๎รับมอบหมายท่ี
ผสู๎ อนกาหนดเปน็ งานสาคญั หรือเหตุสดวิสยั ทาให๎ประเมินผลการเรียนไมํได๎ ให๎ได๎รับผลการเรียน “ร”กรณีที่
ผ๎ูเรียนได๎รับผลการเรียน “ร” เพราะไมํสํงงานนั้น ให๎แจ๎งเหตุผลตํอผ๎ูบริหารสถานศึกษา หรือผ๎ูท่ีผู๎บริหาร
สถานศึกษามอบหมาย เพ่ือพิจารณาอนุมตั ิ
5) ผูเ๎ รียนท่ีประสงค์จะเรียนสาระการเรยี นรใู๎ ด โดยไมํต๎องการหนํวยกิต ให๎อยํูในดุลยพินิจของผู๎บริหาร
สถานศึกษาท่ีจะอนุญาตให๎เข๎าเรียนได๎และถ๎ามีเวลาเรียนครบร๎อยละ 80ของเวลาเรียนท้ังหมดให๎ได๎ผลการ
เรียน “มก”

132

6) ผเ๎ู รยี นตอ๎ งไดร๎ บั การประเมนิ และมีผลการประเมินผํานตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนดในการอํานคิด
วิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู๎เรียนเพื่อให๎การจัดการเรียนร๎ูบังเกิดผล
ผ๎ูเรียนต๎องได๎รับการพัฒนาอยํางเพียงพอในความร๎ู ทักษะ คุณลักษณะที่กาหนดในตัวชี้วัด โดยมีเวลาเรียนที่
เพียงพอตํอการพัฒนาดว๎ ย

7) กรณีท่ีผ๎ูเรียนมีผลการเรียนต่ากวําเกณฑ์ท่ีกาหนด (0) ให๎ดาเนินการซํอมเสริมปรับปรุงแก๎ไขผู๎เรียน
ในสาระการเรียนรู๎รายภาค ท่ีได๎ระดับผลการเรียน “0” โดยกาหนดการในสํวนที่เก่ียวข๎องกับตัวช้ีวัดหรือผล
การเรยี นร๎ทู ่ไี มํผาํ นเกณฑ์การประเมินด๎วยวิธกี ารทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ จนผ๎ูเรยี นสามารถผํานเกณฑ์การประเมินผล
การเรียนร๎ู

8) การตัดสินผลการเรียน ตัดสินเป็นรายวิชา โดยใช๎ผลการประเมินระหวํางปีและปลายภาคตาม
สดั สํวนดงั น้ี

1. การประเมินผลในกลํุมสาระการเรียนรู๎ภาษาไทย แบํงการประเมินผลออกเป็นการประเมินผล
ระหวํางเรยี น กลางภาค และการประเมนิ ผลปลายภาคเรียนในอตั ราสํวนร๎อยละ 60-20-20

- คะแนนตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรร๎ู ะหวํางเรยี นในอัตราสวํ นร๎อยละ 60 โดยใชว๎ ิธีการวดั ท่ีหลากหลาย
- คะแนนตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู๎กลางภาคในอัตราสํวนร๎อยละ 20 ซงึ่ ต๎องดาเนินการตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรยี นกาหนด
- คะแนนผลการเรยี นรป๎ู ลายภาคให๎มีอัตราสํวนคะแนนร๎อยละ 20 โดยใช๎วิธีการวัดตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรยี นกาหนด
2. การประเมินผลในกลํุมสาระการเรียนรู๎คณิตศาสตร์ แบํงการประเมินผลออกเป็นการประเมินผล
ระหวาํ งเรียน กลางภาค และการประเมนิ ผลปลายภาคเรยี นในอัตราสํวนร๎อยละ 60-20-20
- คะแนนตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรร๎ู ะหวาํ งเรยี นในอัตราสํวนร๎อยละ 60 โดยใชว๎ ิธีการวดั ที่หลากหลาย
- คะแนนตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรก๎ู ลางภาคในอตั ราสํวนร๎อยละ 20 ซ่ึงต๎องดาเนินการตามปฏิทินท่ีทาง
โรงเรียนกาหนด
- คะแนนผลการเรียนรูป๎ ลายภาคใหม๎ ีอตั ราสวํ นคะแนนรอ๎ ยละ 20 โดยใช๎วิธีการวัดตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรยี นกาหนด
3. การประเมินผลในกลํุมสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบํงการประเมินผลออกเป็นการ
ประเมนิ ผลระหวาํ งเรียน กลางภาค และการประเมนิ ผลปลายภาคเรียนในอัตราสวํ นรอ๎ ยละ 60-20-20
- คะแนนตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรร๎ู ะหวาํ งเรียนในอตั ราสวํ นรอ๎ ยละ 60 โดยใชว๎ ธิ กี ารวดั ทห่ี ลากหลาย
- คะแนนตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นร๎ูกลางภาคในอัตราสํวนรอ๎ ยละ 20 ซ่ึงต๎องดาเนินการตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรียนกาหนด
- คะแนนผลการเรยี นรูป๎ ลายภาคให๎มีอัตราสํวนคะแนนร๎อยละ 20 โดยใช๎วิธีการวัดตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรียนกาหนด

133

4. การประเมินผลในกลุํมสาระการเรียนร๎ูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แบํงการประเมินผล
ออกเป็นการประเมินผลระหวํางเรียน กลางภาค และการประเมินผลปลายภาคเรียนในอัตราสํวนร๎อยละ 60-
20-20

- คะแนนตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรรู๎ ะหวํางเรยี นในอัตราสํวนรอ๎ ยละ 60 โดยใชว๎ ธิ ีการวดั ท่หี ลากหลาย
- คะแนนตัวชี้วดั /ผลการเรียนรูก๎ ลางภาคในอตั ราสวํ นรอ๎ ยละ 20 ซ่งึ ต๎องดาเนินการตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรียนกาหนด
- คะแนนผลการเรยี นรู๎ปลายภาคให๎มีอัตราสํวนคะแนนร๎อยละ 20 โดยใช๎วิธีการวัดตามปฏิทินท่ีทาง
โรงเรียนกาหนด
5. การประเมินผลในกลํุมสาระการเรียนร๎ูสุขศึกษาและพลศึกษา แบํงการประเมินผลออกเป็นการ
ประเมนิ ผลระหวาํ งเรยี น กลางภาค และการประเมินผลปลายภาคเรียนในอัตราสํวนรอ๎ ยละ 60-20-20
- คะแนนตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู๎ระหวาํ งเรียนในอตั ราสํวนรอ๎ ยละ 60 โดยใชว๎ ธิ กี ารวัดทหี่ ลากหลาย
- คะแนนตัวชวี้ ดั /ผลการเรยี นร๎ูกลางภาคในอัตราสํวนร๎อยละ 20 ซ่ึงต๎องดาเนินการตามปฏิทินท่ีทาง
โรงเรยี นกาหนด
- คะแนนผลการเรียนรป๎ู ลายภาคให๎มอี ัตราสํวนคะแนนร๎อยละ 20 โดยใช๎วิธีการวัดตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรียนกาหนด
6. การประเมินผลในกลํุมสาระการเรียนรู๎ดนตรีและนาฏศิลป์ แบํงการประเมินผลออกเป็นการ
ประเมนิ ผลระหวํางเรียน กลางภาค และการประเมินผลปลายภาคเรยี นในอตั ราสํวนรอ๎ ยละ 60-20-20
- คะแนนตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรร๎ู ะหวาํ งเรียนในอัตราสํวนรอ๎ ยละ 60โดยใช๎วธิ กี ารวัดท่ีหลากหลาย
- คะแนนตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นรก๎ู ลางภาคในอัตราสํวนร๎อยละ 20 ซึ่งต๎องดาเนินการตามปฏิทินท่ีทาง
โรงเรยี นกาหนด
- คะแนนผลการเรียนรูป๎ ลายภาคให๎มีอัตราสํวนคะแนนร๎อยละ 20 โดยใช๎วิธีการวัดตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรียนกาหนด
7. การประเมินผลในกลํุมสาระการเรียนร๎ูการงานอาชีพ แบํงการประเมินผลออกเป็นการ
ประเมินผลระหวํางเรียน กลางภาค และการประเมนิ ผลปลายภาคเรียนในอัตราสํวนรอ๎ ยละ 80-10-10
- คะแนนตวั ชีว้ ดั /ผลการเรียนรร๎ู ะหวาํ งเรยี นในอัตราสวํ นรอ๎ ยละ 60โดยใช๎วิธีการวัดท่ีหลากหลาย
- คะแนนตัวช้วี ัด/ผลการเรียนร๎ูกลางภาคในอัตราสํวนร๎อยละ 20 ซ่ึงต๎องดาเนินการตามปฏิทินที่ทาง
โรงเรียนกาหนด
- คะแนนผลการเรยี นร๎ูปลายภาคใหม๎ ีอัตราสํวนคะแนนร๎อยละ 20 โดยใช๎วิธีการวัดตามปฏิทินท่ีทาง
โรงเรยี นกาหนด
8. การประเมินผลในกลํุมสาระการเรียนรู๎ภาษาตํางประเทศ แบํงการประเมินผลออกเป็นการ
ประเมินผลระหวํางเรียน กลางภาค และการประเมินผลปลายภาคเรียนในอตั ราสํวนรอ๎ ยละ 60-20-20
- คะแนนตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรรู๎ ะหวาํ งเรียนในอัตราสํวนรอ๎ ยละ 60 โดยใชว๎ ิธีการวัดท่หี ลากหลาย

134

- คะแนนตวั ชวี้ ัด/ผลการเรียนรู๎กลางภาคในอัตราสวํ นร๎อยละ 20 ซ่งึ ตอ๎ งดาเนินการตามปฏิทินที่ทาง

โรงเรยี นกาหนด

- คะแนนผลการเรียนรูป๎ ลายภาคให๎มีอัตราสํวนคะแนนร๎อยละ 20 โดยใช๎วิธีการวัดตามปฏิทินที่ทาง

โรงเรียนกาหนด

9. การประเมินผลระหวํางภาคคะแนนเก็บทุกประเภท นักเรียนสามารถท่ีจะทาคะแนนเพ่ิมได๎

หลังจากครูผู๎สอนได๎ประกาศคะแนนให๎ร๎ู และครูผ๎ูสอนต๎องเปิดโอกาสให๎นักเรียนได๎พัฒนาตนเองจนกวําจะ

ประเมินผล การเรยี นรปู๎ ลายภาคเรียน

10. ถ๎าผลการประเมินการอําน คิดวิเคราะห์และเขียนในแตํละด๎านไมํผํานให๎ครูผู๎สอนในรายสาระ

การเรียนรน๎ู น้ั ทาการซํอมเสริมให๎ผํานเกณฑ์ในแตลํ ะด๎าน

11. การสรุปการประเมินการอําน คิดวิเคราะห์และเขียนในแตํละด๎านตามข๎อกาหนดในข๎อ 3 ให๎

ไดผ๎ ลการประเมนิ เปน็ ผาํ น (ผ)

12. ถา๎ ผลการประเมนิ ไมเํ ปน็ ไปตามขอ๎ 3 ใหไ๎ ดผ๎ ลการประเมินเปน็ ไมผํ าํ น (มผ)

13. การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นระดับมธั ยมศึกษาตอนตน๎ ให๎ประเมินเปน็ รายภาค

14. การประเมินการอํานการคิดวิเคราะห์และการเขียนให๎ประเมินเป็นรายภาคการให๎ระดับผลการ

เรียนการตัดสินผลการเรียนรายวิชาของกลุํมสาระการเรียนรู๎ให๎ใช๎ระบบแสดงระดับผลการเรียนในแตํละกลุํม

สาระการเรียนเป็น 8 ระดับรายวิชาท่ีจะนับหนํวยกิตได๎จะต๎องได๎ระดับผลการเรียนตั้งแตํ 1 ขึ้นไป โดยมีแนว

การให๎ระดบั ผลการเรยี นดงั นี้

ระดับผลการเรยี น ความหมาย ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ

4 ดเี ย่ยี ม 80-100

3.5 ดมี าก 75-79

3 ดี 70-74

2.5 คอํ นข๎างดี 65-69

2 ปานกลาง 60-64

1.5 พอใช๎ 55-59

1 ผาํ นเกณฑ์ข้ันตา่ 50-54

0 ตา่ กวาํ เกณฑ์ 0-49

การประเมินการอํานอําน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นผํานและไมํผําน ถ๎ากรณีที่ผํานกาหนดเกณฑ์

การตัดสนิ เปน็ ดเี ยีย่ ม ดี และผําน

ดเี ย่ียม หมายถงึ มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอําน คิดวิเคราะห์ และเขียนท่ีมีคุณภาพดีเลิศ

อยํูเสมอ

ดี หมายถึง มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอําน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพเป็นท่ี

ยอมรับผําน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอําน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่

ยอมรับ แตยํ ังมขี อ๎ บกพรอํ งบางประการ

135

ไมํผําน หมายถึง ไมํมีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอําน คิดวิเคราะห์ และเขียนหรือถ๎ามี

ผลงาน ผลงานนน้ั ยังมขี ๎อบกพรอํ งท่ีต๎องไดร๎ ับการปรับปรุงแก๎ไขหลายประการ

การประเมนิ การอําน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ให๎คะแนนโดยแบํงเป็น 3 ดา๎ น คอื

อําน 30 คะแนน

การคิดวเิ คราะห์ 40 คะแนน

การเขยี น 30 คะแนน

รวมเป็น 100 คะแนน ซ่ึงผลการเรียนแบํงเป็น 4 ระดบั และแบํงชํวงคะแนนในแตลํ ะดา๎ นดงั น้ี

ระดับผล ชํวงคะแนน ชํวงคะแนน ชวํ งคะแนนเป็นร๎อยละ

การประเมนิ (เต็ม 25 คะแนน) (เตม็ 50 คะแนน) (เตม็ 100 คะแนน)

3 20-25 42-50 80-100

2 17-19 36-41 70-79

1 13-16 24-35 50-69

0 1-12 1-23 1-49

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทุกคุณลักษณะและเพื่อการเล่ือนช้ัน และจบการศึกษา

เป็นผํานและไมํผําน ในการผํานกาหนดเกณฑ์การตัดสินเป็นดีเย่ียม ดี และผําน และความหมายของแตํละ

ระดับ ดังน้ี

ดีเยี่ยม หมายถึง ผู๎เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนาไปใช๎ในชีวิตประจาวันเพื่อ

ประโยชนส์ ุขของตนเองและสังคม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 5-8คุณลักษณะ และ

ไมมํ คี ณุ ลักษณะใดไดผ๎ ลการประเมนิ ตา่ กวําระดับดี

ดี หมายถึง ผ๎ูเรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพ่ือให๎เป็นการยอมรับของสังคม โดย

พจิ ารณาจาก

1 ไดผ๎ ลการประเมนิ ระดบั ดีเยีย่ ม จานวน 1-4 คณุ ลกั ษณะ และไมมํ ีคุณลักษณะใดได๎ผลการประเมิน

ต่ากวาํ ระดับดี หรือ

2. ได๎ผลการประเมินระดับดีเย่ียม จานวน 4 คุณลักษณะ และไมํมีคุณลักษณะใดได๎ผลการประเมิน

ต่ากวาํ ระดบั ผาํ น หรอื

3. ได๎ผลการประเมินระดับดี จานวน 5-8 คุณลักษณะ และไมํมีคุณลักษณะใดได๎ผลการประเมินต่า

กวําระดับผํานผําน หมายถึง ผ๎ูเรียนรับรู๎และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีสถานศึกษากาหนดโดย

พจิ ารณาจาก

- ได๎ผลการประเมินระดับผําน จานวน 5-8 คุณลักษณะ และไมํมีคุณลักษณะใดได๎ผลการประเมินต่า

กวําระดบั ผําน หรอื

- ได๎ผลการประเมินระดับดี จานวน 4 คุณลักษณะ และไมํมีคุณลักษณะใดได๎ผลการประเมินต่ากวํา

ระดบั ผาํ น

136

ไมํผําน หมายถึง ผู๎เรียนรับรู๎และปฏิบัติได๎ไมํครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีสถานศึกษากาหนด

โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดับไมํผําน ตั้งแตํ 1 คุณลักษณะการประเมินกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน จะต๎อง

พิจารณาท้งั เวลาการเข๎ารวํ มกิจกรรม การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมโดยแบงํ ชํวงคะแนนในแตํละด๎านของคุณลกั ษณะ

อนั พงึ ประสงค์ดังน้ี

ระดับผล ชํวงคะแนน ชวํ งคะแนน ชวํ งคะแนน ชวํ งคะแนน

การประเมิน (เตม็ 10 คะแนน) (เต็ม 15 คะแนน) (เต็ม 20 คะแนน) เป็นร๎อยละ

3 8-10 12-15 16-20 80-100

2 7 10-11 13-14 70-79

1 5-6 7-9 10-12 50-69

0 1-4 1-6 1-9 1-49

การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเ๎ รยี น
จะต๎องพิจารณาทั้งเวลาเข๎ารํวมกิจกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู๎เรียนตามเกณฑ์ที่

สถานศึกษากาหนดและใหผ๎ ลการประเมินเปน็ ผาํ น และไมํผาํ น
“ผ” หมายถึง ผ๎ูเรียนมีเวลาเข๎ารํวมกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน ร๎อยละ 80 ปฏิบัติติกิจกรรมและมี

ผลงานไมนํ ๎อยกวาํ ร๎อยละ 80
“มผ” หมายถึง ผ๎ูเรียนมีเวลาเข๎ารํวมกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียนไมํถึงร๎อยละ 80 ปฏิบัติกิจกรรม

และมผี ลงานไมถํ งึ รอ๎ ยละ 80
ในกรณีท่ีผู๎เรียนได๎ “มผ” ครูผู๎ดูแลกิจกรรมต๎องจัดซํอมเสริมให๎ผู๎เรียนทากิจกรรมในสํวนท่ีผู๎เรียน

ไมํได๎เข๎ารํวมหรือไมํได๎ทาจนครบถ๎วน แล๎วจึงเปล่ียนผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ได๎ท้ังน้ีต๎องดาเนินการ
ให๎เสร็จส้นิ ภายในปีการศึกษานน้ั ยกเว๎นมีเหตสุ ุดวสิ ัยใหอ๎ ยใูํ นดุลยพินจิ ของสถานศึกษา

137

ภาคผนวก

138

139

140

คาสงั่ โรงเรยี นละลมวิทยา
ที่ 81 / 2561

เรือ่ ง แตงํ ตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ การยกราํ งหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

-----------------------------------------------------------------

เพื่อให๎การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล๎องกับสภาพความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม
และความเจริญก๎าวหน๎าทางวิทยาการ เป็นการสร๎างกุลยุทธ์ใหมํในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให๎สามารถ
ตอบสนองความต๎องการของบุคคล สังคมไทย ผ๎ูเรียนมีศักยภาพในการแขํงขันและรํวมมืออยํางสร๎างสรรค์ใน
สังคมโลก เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 และ
พระราชบญั ญัติการศึกษาแหํงชาติพ.ศ.2542 กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช๎หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 เพือ่ ให๎การดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เป็นไปด๎วยความเรียบร๎อยบรรลุตามวัตถุประสงค์ อาศัยอานาจตามความใน
มาตรา 39 ข๎อ 2 แหํงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และแก๎ไข
เพ่ิมเติมทุกฉบับ จึงแตํงตั้งคณะกรรมการยกรํางหลักสูตรโรงเรียนละลมวิทยา พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ดงั นี้

1. คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา
1.1 นายธีวราช ออํ นหวาน ผอ๎ู านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
1.2 นางอัมพร แพงมา ครู/ครชู านาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ
1.3 นายพรี ณัฐ วันดรี ัตน์ คร/ู ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ
1.4 นางรัตนา ทองม่นั ครู/ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ
1.5 นางสาวบานเยน็ บุตะมี คร/ู ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ
1.6 นายเฉลิมชยั ศรีชัย คร/ู ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานุการ

มหี นา้ ที่ 1. ใหค๎ าปรึกษาแนะนาอานวยความสะดวกในการปรบั ปรุงและจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษาและกลํมุ
สาระการเรียนรต๎ู าํ งๆ

2. กากบั ดแู ล แก๎ปัญหาอนั อาจจะเกิดข้นึ ในการจัดทาหลักสตู รสถานศึกษาและกลํมุ สาระการเรียนรู๎
ตํางๆ

141

2. คณะกรรมการยกร่างและจัดทาหลกั สตู รโรงเรียนละลมวิทยา

2.1 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

1. นางณฎั ฐนนั ท์ สนิ ธพุ งษ์ ครู/ครูชานาญการ หวั หนา๎
ผชู๎ วํ ย
2. นายวรวฒุ ิ โพธท์ิ ิพย์ ครู ผช๎ู วํ ย

3. นายอภวิ ิชญ์ ธรรมพรพิทวสั ครู ประธานกรรมการj,j
รองประธานกรรมการ
2.2 กล่มุ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ
กรรมการ
1. นางวิภาพร แก๎วรกั ษา คร/ู ครชู านาญการ กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
2. นายพีรณฐั วันดรี ตั น์ คร/ู ครูชานาญการพเิ ศษ
ประธานกรรมการ
3. นายทวีศักด์ิ กระจาย ครู/ครูชานาญการ รองประธานกรรมการ
กรรมการ
4. นางอรอุมา ขันทอง ครูผช๎ู วํ ย กรรมการ
กรรมการ
5. นายพิชิต เสนคาสอน ครูผช๎ู ํวย กรรมการ

6. นางสาวผํองศรี บุญกูํ ครู/ครูชานาญการ หวั หนา๎
ผชู๎ วํ ย
2.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ผช๎ู วํ ย

1. นางพิมพ์พิลาส รตั นพันธ์ คร/ู ครูชานาญการ ประธานกรรมการ
กรรมการ
2. นางสาวสุกญั ญา ยตุ มิ ิตร ครู/ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ
กรรมการ
3. นายนิติวัฒน์ โนนนอ๎ ย ครู กรรมการและเลขานุการ

4. นางสาวปาลติ า เผาํ ภูรี ครผู ู๎ชวํ ย หัวหน๎า
ผู๎ชวํ ย
5. นายณัฐพงศ์ วงศ์จอม ครูผู๎ชํวย

6. นางสาวลาพู ศรีชัย ครู

2.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

1. นางสุนีย์ เสนคราม คร/ู ครชู านาญการ

2. นางสาวสรุ ัตน์ ศรีลาชัย ครู

3. นางสาวนชุ จรุ ี ทองกา ครูผชู๎ วํ ย

2.5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

1. นางสาวอรนุช วันคา ครู

2. นางอมั พร แพงมา ครู/ครชู านาญการพเิ ศษ

3. นางสาวสุภาพร ชิตภักด์ิ ครู/ครชู านาญการพเิ ศษ

4. นางสาวสชุ าดา คาใสขาว ครอู ัตราจ๎าง

5. นางรตั นา ทองมนั่ คร/ู ครูชานาญการพิเศษ

2.6 กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปศกึ ษา

1. นางสาวบานเย็น บตุ ะมี ครู/ครชู านาญการพิเศษ

2. นายประหยัด เอมโอษฐ ครอู ตั ราจา๎ ง

2.7 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

142

1. นายเฉลมิ ชัย ศรลี าชยั ครู/ครูชานาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ

2. นางสาวชนกนนั ท์ พลภักดี ครู/ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

3. นางสาวศริ ิลักษณ์ สะสาง ครผู ชู๎ ํวย กรรมการ

4. นายประหยดั บุตะเคียน พนกั งานราชการ กรรมการ

5. นางสาวขวญั ฤดี พงเมือง พนักงานราชการ กรรมการและเลขานุการ

2.8 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา

1. นายสทิ ธิโชค แวนํ แก๎ว ครู หัวหน๎า

2. นายศรเพช็ ร คาศรี ครูอัตราจา๎ ง ผูช๎ วํ ย

มีหน้าท่ี 1. ศึกษามาตรฐาน ตัวชี้วัดหลักสูตรกลุํมสาระการเรียนรู๎คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา

ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) และกลุํมสาระการเรียนรู๎อ่ืนทุกกลุํม

สาระการเรียนร๎ู เพ่ือใช๎เป็นขอ๎ มูลในการพฒั นาหลักสูตร

2. จัดทาโครงสร๎างหลักสูตรสถานศึกษาและโครงสร๎างเวลาเรียนทุกกลุํมสาระการเรียนรู๎ ให๎

สอดคลอ๎ งกบั เกณฑ์การวัดผลประเมินผลและเกณฑ์การจบหลักสูตร

3. วิเคราะห์มาตรฐาน ตัวชี้วัดและผลการเรียนร๎ูที่คาดหวังให๎ครอบคลุมและครบถ๎วนตามรูปแบบที่

กาหนด

4. จัดทาคาอธิบายรายวิชา ออกแบบหนํวยการเรียนร๎ูและแผนการจัดการเรียนรู๎ท่ีเน๎นผู๎เรียนเป็น

สาคัญโดยใชท๎ ักษะกระบวนการในศตวรรษท่ี 21

5. รวบรวมข๎อมูลมาเพื่อจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช

2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ให๎มีองค์ประกอบครบถ๎วนตามท่ีสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา

เขต 28 กาหนด

6. นารํางหลักสูตรสถานศึกษาเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนละลมวิทยาเพ่ือ

อนุมตั ิ

7. จัดทาประกาศโรงเรียนละลมวิทยาเรื่องการใช๎หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้น

พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

8. สํงหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนละลมวิทยา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551

แกํสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 28 ตามกาหนด

9. นิเทศ กากบั ตดิ ตามการใชห๎ ลกั สตู รสถานศกึ ษา ตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช

2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลมุํ สาระการเรยี นรคู๎ ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ในระดับชน้ั มธั ยม

ศึกษาปที ี่ 1 และชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ปกี ารศึกษา 2561

10. สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งานให๎ผูบ๎ รหิ ารทราบเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให๎

มคี ุณภาพยง่ิ ข้นึ ตอํ ไป

11. ปฏิบตั ิหนา๎ ทอี่ ืน่ ๆตามท่ีได๎รับมอบหมาย

143

ขอให๎ผ๎ูทไี่ ดร๎ ับการแตงํ ตั้งปฏบิ ัติหน๎าท่ีที่ไดร๎ ับมอบหมายอยาํ งเตม็ ความสามารถ ดว๎ ยความ
เสยี สละ เพ่อื ให๎เกดิ ผลดีตํอทางราชการโดยแทจ๎ ริง หากมีปัญหาหรอื อุปสรรคในการปฏิบัตงิ านใหร๎ ายงาน
ใหโ๎ รงเรียนทราบเพ่ือสง่ั การแก๎ไขตํอไป

สั่ง ณ วนั ที่ 16 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2561

( นายธวี ราช อํอนหวาน )
ผอู๎ านวยการโรงเรียนละลมวทิ ยา

144

145


Click to View FlipBook Version