พระราโชบาย
สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู
1. สบื สานพระราชปณิธานหรอื พระราชกระแสรับส่ังรชั กาลท่ี 9 เร่อื ง การสรา้ งคนดี
2. การศกึ ษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แกเ่ ดก็ ทศั นคตทิ ถ่ี ูกตอ้ ง (อุปนสิ ยั ) ที่ม่นั คงเขม้ แข็ง มีอาชีพ-มีงานทำ� ฯลฯ
3. เน้นการสร้างทัศนคติ (Attitude)
4. การศึกษาในภาพรวมท�ำอย่างไรให้เยาวชนมคี วามสนใจและเข้าใจเรอื่ งของสถาบันและประวตั ศิ าสตร์
คีตาภิวาทราชสดดุ ี
“พอ่ ...ครขู องแผ่นดนิ ”
ปาเจรา จรยิ า โหนติ คุนุตรา นสุ าสการ
เอกองค์ราชาครุ ุราชัน พ่อหลวงไทยนัน้ ทรงเปรื่องปราดศาสตรท์ กุ แขนง
เศรษฐกิจพอเพยี งปรัชญายกมาแสดง ทรงแนะนำ� ชี้แจงแก้ปญั หาประชาสขุ ใจ
ทรงเปน็ ครตู น้ แบบของความเป็นคร ู สอนการเรียนรู้คู่คุณธรรมน�ำสมัย
ลงมอื ทำ� คน้ คว้า คิด วิจยั รกั ความเป็นไทยกา้ วไกลเทคโนโลยี
ธ ทรงเป็นครูของครูทกุ คน องคภ์ ูมพิ ลทรงเปน็ ศกั ด์ิศรี
ขอเดชะใต้ฝ่าละอองธุล ี พระบารมศี ูนยร์ วมใจครไู ทยท้งั แผ่นดนิ
ณ ยามนีแ้ ม้เหนด็ เหน่อื ยพระวรกาย ทรงงานมากมายท่วั โลกยลยิน
แซซ่ ้องสรรเสรญิ ทรงพระเจรญิ ท่วั ถิน่ ครขู องแผ่นดนิ พอ่ หลวงดวงใจประชา
“ครุ ุมหาราชิน”ี
อัคราภิรกั ษ์ศิลปนิ เอกองคน์ ารนิ ทร์ปน่ิ ธรณินสยาม
สริ ิกิตเิ์ กรกิ พระยศสมญั ญานาม มิ่งมาตุคามดัง่ ครูของชาวไทย
ยา่ งพระบาทหยาดนำ้� พระทยั ทัว่ ถน่ิ สอนงานศลิ ป์ฟน้ื ฟูสู่สมยั
ชา่ งสบิ หมงู่ านฝีมือเลอื่ งลือไกล งามเพริศพิไลโขนนาฏะอลังการ
องคพ์ ระมหาราชนิ ี ทรงน�ำชวี รี าษฎร์สุขทุกสถาน
ศลิ ปาชพี ก�ำเนิดกอ่ เกิดงาน เชดิ ชสู านวฒั นธรรมด�ำรงไทย
ปรชั ญาปา่ รกั น�ำ้ ธารชีวนิ โอบอมุ้ แผน่ ดินอดุ มสมบูรณส์ ดใส
ทรงเป็นครเู หนอื เกลา้ ประชาชาตไิ ทย เทิดพระแม่ไท้ ครุ มุ หาราชินี
ค�ำน�ำ
หนังสือคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2565 จัดท�ำขึ้นเพ่ือให้นักเรียนและ
ผู้ปกครองระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ทกุ คนได้ศกึ ษาข้อมูล กฎระเบยี บ
ตา่ งๆ ของโรงเรยี นทนี่ กั เรยี นตอ้ งปฏบิ ตั ิ เชน่ ระเบยี บเกยี่ วกบั การแต่งกาย ทรงผม การขออนญุ าต
ออกนอกบริเวณโรงเรียน การมาสาย ระเบียบการวัดและประเมินผล รวมท้ังโครงสร้าง
ของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น
และระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย
อีกทง้ั เป็นแนวทางปฏิบตั ริ ่วมกนั ระหว่างโรงเรยี น ครู ผู้ปกครองและนกั เรียน เกยี่ วกับ
ระเบียบข้อบังคับท้ังในด้านงานปกครองและงานวิชาการ พร้อมรายละเอียดด้านการปฏิบัติตน
ตามระเบียบของโรงเรียน อันน�ำไปสู่ความเข้าใจ และการปฏิบัติท่ีถูกต้องระหว่างที่ศึกษาอยู่ใน
โรงเรยี นมัธยมวัดสงิ ห์
ทางโรงเรียนหวังว่าหนังสือคู่มือนักเรียนและผู้ปกครองเล่มนี้ จะเป็นคู่มือท่ีผู้ปกครอง
ใช้ให้เป็นประโยชน์ ท�ำให้เกิดความเข้าใจท่ีตรงกันในการร่วมมือกันดูแลนักเรียนของโรงเรียน
มัธยมวัดสิงห์ทุกคน ทางโรงเรียนใคร่ขอให้ผู้ปกครองและนักเรียนตระหนักอยู่เสมอว่า
การเรยี นร้จู ะประสบผลสำ� เรจ็ ได้ ขน้ึ อย่กู บั ความร่วมมอื ของผปู้ กครอง ครู และนกั เรยี นเปน็ สำ� คญั
โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์
สารบญั 6
8
คำ� น�ำ 28
ฝ่ายบรหิ ารและบคุ ลากร 29
แผนภมู โิ ครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน 30
ผังบรเิ วณโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ 31
ปูชนยี บคุ ลานุสรณ์ 33
วสิ ยั ทัศน์ 36
ประวัตโิ รงเรยี นมธั ยมวดั สงิ ห์ 42
กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ 43
กลุ่มบริหารวชิ าการ 55
โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2565 67
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปีการศกึ ษา 2551 68
สรปุ ขนั้ ตอนการวัดและประเมินผล 69
เกณฑ์การตดั สินผลการเรียนรายวชิ าต่างๆ 70
โครงสร้างการเรียน 72
แนวปฏิบัตขิ องนักเรยี นทางด้านวชิ าการ 73
ห้องสมุด 75
บรกิ ารแนะแนว 77
โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวชิ าการ GEP 81
โครงการหลกั สูตรภาษาองั กฤษ English Program 82
กลุ่มบริหารงานบุคคล 83
ระเบยี บโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ 91
แนวปฏบิ ตั ติ นของนักเรยี น 101
ระเบยี บการแต่งกาย 110
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 112
เด็ก ดี ศรี ม.ว.ส. 119
กลุ่มบรหิ ารทั่วไป 125
คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 127
สมาคมผู้ปกครองและครโู รงเรียนมัธยมวดั สิงห์ 129
สมาคมศิษย์เก่ามธั ยมวัดสิงห์
มลู นธิ ิมัธยมวัดสงิ ห์
ฝา่ ยบริหาร
นายโชตพิ งษ์ พรหมโชติ นายเทพพร อาจเวทย์ นางลดั ดาวลั ย์ เสยี งสังข์
รองผูอ้ ำ� นวยการโรงเรยี น ผู้อำ� นวยการโรงเรียน รองผู้อ�ำนวยการโรงเรยี น
กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล
กลมุ่ บริหารท่วั ไป
นายรชฎ ลัฐกิ า นางสาวคนึงนิตย์ สนุ ทวนคิ
รองผอู้ �ำนวยการโรงเรยี น ครชู ำ� นาญการพเิ ศษปฏบิ ตั ิหน้าที่ในต�ำแหน่ง
ผู้ชว่ ยผู้อำ� นวยการโรงเรยี นกลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ
กลุ่มบริหารวิชาการ
ผชู้ ่วยรองผูอ้ ำ� นวยการ
กลุ่มบริหารงานบคุ คล กลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป กลุ่มบรหิ ารวิชาการ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ
นางวชั ราภา ทองมี นางประนอม จน่ั แย้ม นางสาวจงกล ตง้ั ตุลานนท์ นางสาวคนงึิ นิตย์ สนุ ทวนคิ
นางวรทั ยา ไชยสงโท นางสมจติ ต์ ลิ้มโพธิ์แดน นายมงคล วงศ์พยัคฆ์ นางสาววงเดือน อปุ ชัย
นางภัควรินทร์ ธนะเนตรพิรุฬห์ นางพุทธิชาต คนอยู่ นางนมิ่ นวล อยเู่ จริญ นางสาวปราณวี ลั ย์ สายบุดดี
หวั หนา้ ระดับ
วา่ ที่ ร.ต.หญงิ จิรญั ญา ไชยโย นางสาวแสงเดอื น ชัยเชดิ ชู นางสาวมญิ ชญา พมิ พะชยั
หวั หน้าระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หัวหน้าระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 หวั หน้าระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
นางสาวสภุ าพิมพ์ บญุ วาสน์ นางสาวปัทมาพร อัศวโยธิน นางสาวกัญธนวณี ์ หมนี หลำ�
หัวหนา้ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 หวั หน้าระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 หวั หนา้ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
ฝา่ ยสนบั สนนุ การสอน
นางกานตท์ ิชา มีหริ ญั นางสมจติ ต์ ล้ิมโพธแิ์ ดน นางสาวจันทร์เพ็ญ รักอนนั ตชยั นางสาวจงกล ต้ังตุลานนท์
นางจุฑามาศ รงุ่ วิีถชี ัยพร นายวุฒินันท์ เรืองเอยี่ ม นางสาวศริ ิขวัญ แสงเพ็ชร นางสาวพมิ พป์ ระไพ สิงหะ นางสาวปยิ านุช จงึ เจรญิ
กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
นางนารินทร์ ลลี าวรรณศลิ ป นายธนกฤต เสง็ หู้ นางสาวนิศารัตน์ แสงรี นางสาวอาทิตยิ า มาลาแวจนั ทร์
นางสาวจารุณี ไทยทองหลาง นางสาวแสงเดือน ชัยเชิดชู นางสาวศริ ิพร วงษภ์ ักดี นางสาวภัทราพร เรืองบศุ
นางสาวอรวรรณ คำ� มีเขต นายชาตรี ตราชู นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ มิ งคล นางสาวพรปวณี ์ กณุ ี
นางสาวชนิฎา เตะ๊ ละ๊ นางสาวนฤมล สงิ ห์นี
กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นางสาววิรุวรรณ ลอื ชา นายวุฒชิ าติ จริ เดชกำ� จร นางจริ าภา ภิญโย นายสรุ เชษฐ อ้นเพ็ง
นายอนนั ต์ ปิงยศ นางสาวละมลุ ตาลกลุ นางสาวปราณวี ัลย์ สายบุดดี นางสาวปทั มาพร อศั วโยธนิ
นางสาวแพรวนภา โพจนา นายศิวพล นนั ทพานชิ ย์ นายอภิรกั ษ์ วรปรียากลุ นางสาวรมยพร สันทดั การ
นายปพนณฏั ฐ์ ดุษดี นางสาวกญั ธนวณี ์ หมนี หลำ� นายวรวฒุ ิ บตุ รศาสตร์ วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ จริ ัญญา ไชยโย
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายเอกภพ สร้อยฟา้ นางสาวทิพากร ลั่นนาวา นางสาวรอพดิ า หลงเปา๊ ะ นางสาวรุ่งนภา นว่ มน้อย
ว่าท่ี ร.ต.วุฒพิ งศ์ สิทธคิ ุณ นายพฒุ เิ ศรษฐ์ พุ่มจ�ำเนียร นายสทุ ธพิ งษ์ โฉมศรี นางสาวอรุณพร บุญนลิ
นางสาวกรรวี เกตสุ รุ ยิ วงศ์ นายอนรุ กั ษ์ ทองอรา่ ม นางสาวปัณณภัสร์ เบี้ยวเกบ็ นางสาวนันทยา วงศ์จนี
วา่ ท่ี ร.ต.นพรจุ จนั ทรผ์ อง นางสาวปนัดดา เสนารัตน์ นางสาวเกศสุดา ช่นื ใจชม นายอศั รากร คณุ ฟอง
กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวมณสิ ร เตอื นธรรมรกั ษ์ นางสาวสุพัตรา เกตแุ กว้ นางสาวนูรียะ๊ แดเมาะเล็ง นายมานะชยั หวังผล
นางสาววิรากานต์ สร้อยสวุ รรณ์ นายกฤตยชญ์ มสี ตั ย์
นายสวุ ัฒน์ ภเู ดน็ นายวรวทิ ย์ ทองเหลอื ง นางสาวแสงดาว จนั ทรสทิ ธ์ิ นายดฤษธกิ รณ์ เซง่ สมหวงั
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ
นางสาวฑัชชานนั ทร์ ชราชติ นายทะเล สนุ ทรกล�ำภ์ นางสาวณวรินญญ์ บุญปก นางภคั วรินทร์ ธนะเนตรพริ ุฬห์
นายสุชาติ จงประเสริฐกุล นายอดิเรก จนั ทร์แทน นางสาวสิรริ ัตน์ สบื แกว้ นางสาวสุกฤตา อานนท์
นางสาวจุฬารตั น์ ดวงแกว้ นางสาวเมนดา จ้ยุ บญุ มี นางสาวเสาวรัตน์ เจรญิ วรชยั นางสาวลักษณาวดี หลกั ค�ำ
นางสาวกลุ รตั น์ นิธรุ ัมย์ นายพงศธร แกว้ อมร นางสาวศศธิ ร นลิ พุ่ม นางสาวอรญั ญา อรุณวงิ
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ
นางสาวชรีนชุ สกั ดา นางสาวเอมมิการ์ ต้ายไธสง นางสาวณชั กมล หนุ่ เก่า นางสาวรุ่งฤดี ทองดี นางสาวพรรัตน์ พาเชื้อ
นางสาวมญิ ชญา พิมพะชัย นางสาวชนวรรณ แปน้ งาม นางสาวศภุ าดา สาระกลุ นายณฐั พงศ์ จอมงาม นายพงศธร หอยสังฆ์
Mr.Rowell Albancis Baldoza Miss Juliet Kisakye Mrs.Judelyn Amparo Liu Mr.Nformi Bime Jude Thadeus
Mr.Lin Lin Mr.Mohammad Nayeb Miss Mitra Khajegi Kakhki Miss Alice Muthama
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
นายทศพล เวชกามา นางสาวดาวใจ ศรสี อาด นางวรทั ยา ไชยสงโท นายวรวิทย์ มัคคารมณ์
นางศุภกร โซว่ ิเชียร นางนม่ิ นวล อย่เู จรญิ นายเผดจ็ ฉมิ พันธ์ นายดรณ์ สขุ อนนั ตกุล
นางสาวอัญชนา โพธพิ ลากร นางสาวมนิ ตรา โกพล นายมงคล วงศ์พยัคฆ์ นางสาวปนัดดา บญุ ปัญญา
นายศภุ มติ ร อารมี ิตร นางสาวพฤกษา มัญจกาเภท นางสาวพชั รี บญุ เรอื ง นางสาวคณาพร หว้ ยหงษ์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
นางสาวอุมาพร วฒั นา นายภานพุ งศ์ ชูชน่ื นางสาวพรพมิ ล จตุ ตะไร นายชชั วาลย์ ชยั สวา่ ง
นางสาวสาธิดา บญุ เกิด นายจริ เมธ ศรีทอง
กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
นายธนกฤต พมุ่ มาศ นางสาววภิ าพร มแี สน นางสาวจินดา ผาดศรี นางพุทธชิ าต คนอยู่
นางสาวเกษร ศรีทองสขุ นางสาวจารุวรรณ ย่งิ ยงค์ นางสาวนพรัตน์ เชอ่ื มสขุ นางสาวจันทร์เพญ็ ชยั วฒุ ิ
นายนราพงษ์ มาสิก นางสาวบุษราคมั กมั พลานนท์ นายวายุภักษ์ สริ กิ าญจนสกุล นางสาวกรกฎ จติ รานุเคราะห์
กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
นางเมยี วดี ดีพนู นางสาวสภุ าพมิ พ์ บุญวาสน์ นางสาวรัฐธณา ปลิวศรีแกว้
นายจตพุ งศ์ กัลณา นายอนุรัตน์ ทองสกุล นางสาวมินทธ์ ิตา ธนนันท์นราพลู
กล่มุ สาระการเรียนรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
นายณฏั ฐชยั เศรษฐกลุ โอฬาร นางปภาพินท์ นาภูมิ นายสทุ ธิชัย วรี ะเสถยี ร นางสาวคนึงนิตย์ สนุ ทวนคิ
นายปกรณ์ ฤกษ์วิไล นายฤทธิพงษ์ ประทุมสวุ รรณ์ นางสาวกงิ่ แก้ว แชม่ บรสิ ทุ ธิ์ นายโปลศิ เช้อื แก้ว
นายอานนท์ ทบั ทมิ
กล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ
นายปริญญา ภคู่ ร้าม นายธวัชชยั นลิ ประดบั นายธวัช จตรุ ัตนโชติ นางวัชราภา ทองมี
นางสาวมนันยา วรรณศรสี วสั ดิ์ นางสาวสภุ ศิ า แสงอาวุธ นางสาวพรวมิ ล คงพนู นายตะวัน โตเอ่ยี ม
นางสาวภัทรชนก ภัทรกุลรพี
กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี
นายไพฑูรย์ สดม้ยุ นางประนอม จนั่ แย้ม นางสาววงเดอื น อปุ ชยั นางสาวจรยิ าพร สอนใจ
วา่ ที่ ร.ต.หญิงนงนภสั บญุ ภลิ ะ นางสาวกนกพัชร์ ศริ กิ ลุ วริ ยิ ะ นายนวพล พรมลี นางวิบลู ยศ์ ิริ ทบั สุข
นางสาวพรนภา คดิ กล้า นางสาวภทั ราพร ทิพย์รองพล นางธญั ญลักษณ์ วิจติ รจนิ ต์
English Program
Miss Rowena L. Panganiban Miss Sylvie Longie Njawe Mrs.Cecyl Dagala Lacson Mr.Dylan B. Bazar
Miss Lannys Entierro Tianzon Miss Gretchen Joy Obligar Mr. Ruggero Fiore Miss Mariia Kateshova
Mr.Naveed Alam นางสาวเกศณิ ี ทว้ มกลดั นางสาวศิระมนต์ รงุ่ แสง นางสาววาสนา นลิ ร�ำไพ
ลูกจ้างช่ัวคราวประจ�ำส�ำนักงาน
นางสาวเกตุวดี ต่อี ่ำ� นางสาวกอบกมล โตสัจจวงศ์ นางสาวกมลทพิ ย์ ผวิ นวล นางสาวเมตตา ส�ำเนยี งใส
นางสาวสชุ าวดี เขยะตา นางสาวสริ นิ ธร สเตรามันต์ นางศริ ิวรรณ ยอดแปลน นางสาวนนั ทน์ ภัส ปริญญาอภนิ นั ท์
นางสาวกาญจนา บบั ติสตา นางศิริรัตน์ ทับทมิ นางสาววนั ทนา ขำ� ขะจิต นางสาวพรรณี รักท้วม
ว่าที่ ร.ต.ดเิ รก เจยี นพนู สิน
พนกั งานขบั รถ
นายไพรตั น์ แซ่ตนั๊ นายจ�ำเนยี ร เชือ้ ฮ้อ นายเลิศศักดิ์ ปลาบทู่ อง
พนักงานรักษาความปลอดภัย
นายกานต์ ศิรขิ นั ธ์ นายฉัตรชัย มงคลศิริสมบัติ นายอภเิ กยี รติ โคตวงค์
ลูกจ้างชว่ั คราว
นายวชิ ติ มะลวิ ลั ย์ นายไพรชั คงสุขศรี นายทองคำ� บญุ สนิ
ลูกจ้างช่วั คราว
นายทินยา สิมสี นายเอกชยั ตรีเมฆ นายสมบูรณ์ แกว้ อุดม นางจรนิ ภู่อารยี ์
นางรววี รรณ เหน็ ชัด นางศศธิ ร พ่งึ โพธิท์ อง นางตว๋ิ แจม่ แจ้ง นางสาวเหลอื ศรีบญุ
นางสาวปิยะวรรณ พุ่มถาวร นางจตุ พิ ร นาควจิ ติ ร นางอภญิ ญา เพง็ ทอง นางสมพร ทบั ทอง
นางสาวเพชรนาลนิ ลอยรอ่ น นางสาวจิรพันธ์ อยพู่ ิทกั ษ์ นางไพลิน โพธิ์ลบิ
ทิศทางการบรหิ ารจดั การศึกษาของโรงเรยี นมัธยมวดั สงิ ห์
ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2565 - 2567)
ปรัชญา (Philosophy)
ใฝ่หาความรู้ เชิดชสู ถาบัน ยึดม่นั คุณธรรม
วิสยั ทศั น์ (Vision)
ผู้เรียนมีคณุ ภาพระดบั มาตรฐานสากล เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้คู่คณุ ธรรม
อัตลกั ษณ์ (Identities)
ใฝ่หาความรู้ เชดิ ชสู ถาบนั ยึดมน่ั คุณธรรม
เอกลักษณ์ (Identity)
บรรยากาศดี กจิ กรรมเด่น เป็นศูนย์รวมชุมชน
พันธกิจ (Missions)
1. พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้มศี กั ยภาพ สมรรถนะ และคณุ ลักษณะตามเป้าหมายของหลกั สูตร
2. พัฒนาหลักสตู ร เทคโนโลยีสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสม เออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้
อย่างมคี ณุ คณุ ภาพ
3. พัฒนา ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ครใู ห้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี
4. ส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม หลักธรรมาภิบาล และระบบประกัน
คุณภาพการศึกษา
31
เปา้ ประสงค์ (Goals)
1. ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดี มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีศักยภาพตามอัตลักษณ์ และมีทักษะ
ในการด�ำเนนิ ชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. สมั ฤทธิผลของการจดั การศึกษาเปน็ ไปตามเกณฑ์คณุ ภาพมาตรฐานสากล
3. ครูมุ่งพฒั นาตนเองให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชพี และเป็นครมู ืออาชีพ
4. องค์กรทุกภาคส่วนมสี ่วนร่วมส่งเสริม และสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนมธั ยมวัดสงิ ห์
1. แผนพัฒนาด้านคณุ ภาพผู้เรยี น
2. แผนพฒั นาด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอน
3. แผนพัฒนาด้านคณุ ภาพครแู ละกระบวนการบรหิ ารจัดการ
32
ประวตั ิโรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์
โ รงเรียนมธั ยมวดั สงิ ห์ (ม.ว.ส.) แต่เดมิ ช่ือ โรงเรยี นวดั สิงห์ (ว.ส.) เปล่ยี นช่อื เปน็ โรงเรยี น
สิงหราชพิทยาคม (ส.พ.)เมื่อปี พ.ศ. 2514 และเปล่ียนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ (ม.ว.ส.) เม่ือปี
พ.ศ. 2538 เปน็ โรงเรยี นประเภทสหศกึ ษาขนาดใหญพ่ เิ ศษ สงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตงั้ อย่เู ลขที่ 35 ก. หมู่ 3 ถนนเอกชยั แขวงบางขนุ เทยี น เขตจอมทอง กรงุ เทพมหานคร
มพี นื้ ท่ี 37 ไร่ 100 ตารางวา โดยเช่าที่ดินของวัดสงิ ห์ส่วนหน่งึ และเปน็ ทีด่ นิ ราชพัสดอุ กี ส่วนหนึ่ง โรงเรยี น
เปิดท�ำการสอนครงั้ แรกเมือ่ วันจันทร์ท่ี 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 (ซ่ึงถือเป็นวนั สถาปนาโรงเรยี น) เริม่ ต้น
เปิดสอนในช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จำ� นวน 1 ห้องเรยี น มีนกั เรียน 47 คน ครู 4 คน โดยมี ครหู งมิ เกบไว้
เป็นครูใหญ่คนแรก ในระยะแรกโรงเรียนมีอาคารเรียนเป็นเรือนไม้ชั้นเดียวหลังคามุงจาก จ�ำนวน 1 หลัง
การท�ำกิจกรรมต่างๆ จึงต้องอาศัยศาลาโรงทึมท่ีวัดสิงห์อยู่เสมอ พระครูฉ่อง (พระครูอุดมสิกขกิจ)
เจา้ อาวาสวดั สงิ หใ์ นสมยั นน้ั ไดใ้ หค้ วามกรณุ าอปุ ถมั ภโ์ รงเรยี นตลอดมา โรงเรยี นไดพ้ ฒั นากา้ วหนา้ มาโดยล�ำดบั
มีการก่อสร้างอาคารเรยี นเพิม่ เตมิ หลายหลัง
โรงเรียนมีนักเรียนเพ่ิมมากข้ึนทุกปี ได้ขยายระดับช้ันเรียนจากชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จนถึง
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย กาลเวลาที่ผ่านพ้นไปหลายสิบปี โรงเรียนเปลีย่ นผู้บรหิ ารไปตามวาระเช่นกนั
นับต้งั แต่เปิดโรงเรยี นจนถงึ ปัจจบุ ัน ดงั น้ี
นายหงมิ เกบไว้ ครใู หญ่ตง้ั แต่ พ.ศ. 2496 - 2503
นายยงยทุ ธ โคตมะ ครูใหญ่ตง้ั แต่ พ.ศ. 2503 - 2505
นายจรันต์ เศรษฐบตุ ร อาจารย์ใหญ่ตง้ั แต่เ พ.ศ. 2505 - 2511
นางกรรณี หงั สนาวนิ อาจารย์ใหญ่ตง้ั แต่เ พ.ศ. 2512 - 2516
นางวรณ ี ศริ บิ ญุ ผู้อำ� นวยการตงั้ แต่เ พ.ศ. 2516 - 2520
นางประจวบ ชำ� นิประศาสน์ ผู้อำ� นวยการต้งั แต่เ พ.ศ. 2520 -2526
นายส�ำราญ รัตนวิทย์ ผู้อ�ำนวยการต้งั แต่เ พ.ศ. 2526 - 2531
33
นายไพบลู ย์ ฉิ่งทองค�ำ ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่เ พ.ศ. 2531 - 2539
นายครรชติ ตรานุชรตั น์ ผู้อ�ำนวยการต้งั แต่เ พ.ศ. 2539 - 2543
นายประเสรฐิ กมลนาวิน ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่เ พ.ศ. 2543 - 2545
นายไพโรจน์ สวุ รรณภกั ดี ผู้อ�ำนวยการตัง้ แต่เ พ.ศ. 2546 - 2549
นายสมศกั ดิ์ โคกทอง ผู้อ�ำนวยการตง้ั แต่เ พ.ศ. 2549 - 2555
นายประมาณ ชพู ิพัฒน์ ผู้อ�ำนวยการตง้ั แต่เ พ.ศ. 2555 - 2558
นายสพุ จน์ หล้าธรรม ผู้อ�ำนวยการตงั้ แต่เ พ.ศ. 2558 - 2561
นายบณุ ยพงศ์ โพธิวัฒน์ธนตั ผู้อ�ำนวยการตง้ั แต่เ พ.ศ. 2561 - 2563
นายเทพพร อาจเวทย์ ผู้อ�ำนวยการต้งั แต่ เ พ.ศ. 2563 - ปจั จุบัน
ในระยะแรกอาจกล่าวได้ว่าโรงเรียนตั้งอยู่ในสวนแถบชานเมืองของฝั่งธนบุรี รอบบริเวณเป็น
สวนผลไม้ท่ีข้นึ ช่อื ได้แก่ ส้มเขยี วหวาน ฝรงั่ และผลไม้อนื่ ๆ สภาพโรงเรียนยังเป็นเรือนไม้ พืน้ ท่ียังมีลกั ษณะ
เปน็ สวน ทุ่งนา การเดินทางมาโรงเรียนสมัยก่อนต้องอาศยั รถไฟ รถราง ซึง่ วง่ิ ต้ังแต่สถานีคลองสานจนถงึ
มหาชัย หรือมิฉะน้ันก็มาทางเรือหรือเดินมาจนกระทั่งประมาณปี พ.ศ. 2506 ได้มีการสร้างถนนเอกชัย
นกั เรยี นจงึ เปลย่ี นความนยิ มมาใชบ้ รกิ ารรถยนตโ์ ดยสารกนั เปน็ สว่ นใหญ่ ส่วนสภาพพน้ื ทข่ี องโรงเรยี นกไ็ ด้รบั
การปรบั ปรงุ ตลอดมาจากท้องร่องสวนทม่ี นี �้ำเจงิ่ นองกก็ ลายเปน็ สนามฟตุ บอลกว้างใหญ่ จากทางเดนิ ทเี่ ปน็
ดนิ โคลนกก็ ลายมาปน็ ถนนคอนกรตี และไดร้ บั การปรบั แตง่ บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มมตี น้ ไมท้ ร่ี ม่ รน่ื สวยงาม
อย่างท่ีเหน็ ในปัจจบุ นั สง่ิ ต่างๆ เหล่านเ้ี ปน็ ความเหน่อื ยยากจากการร่วมแรงร่วมใจของศิษย์รุ่นพี่ๆ รวมท้ัง
ครอู าจารย์ทไ่ี ด้สร้างสรรค์มาแต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ ันน้ี สืบทอดกนั มาทัง้ ส้นิ
34
ก�ำหนดวนั เปดิ - ปิดภาคเรียน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดก้ ำ� หนดไว้ ดังน้ี
ภาคเรยี นท่ี 1 วันเปิดภาคเรยี น วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2565
วนั ปิดภาคเรียน วันที่ 11 ตุลาคม 2565
ภาคเรียนท่ี 2
วนั เปิดภาคเรียน วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565
วันปิดภาคเรียน วันท่ี 31 มนี าคม 2566
การจัดคาบเรยี นและเลิกเรยี น
07.40 น. เข้าแถวพิธเี คารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ
08.00 - 08.50 น. เร่มิ เรยี นคาบที่ 1
08.50 - 09.40 น. คาบท่ี 2
09.40 - 10.30 น. }คาบท่ี 3
10.30 - 11.20 น. พักกลางวนั 1 คาบเรียน
11.20 - 12.10 น. คาบท่ี 4
12.10 - 13.00 น. คาบท่ี 5
13.00 - 13.50 น. คาบท่ี 6
13.50 - 14.40 น. คาบท่ี 7 ม.ต้นเลกิ เรียน
14.40 - 15.30 น. คาบท่ี 8 ม.ปลายเลกิ เรียน
15.30 - 16.20 น. คาบท่ี 9 (การเลิกเรียนอาจเปลี่ยนแปลง
16.20 - 17.10 น. คาบท่ี 10 ตามตารางเรียน)
คาบท่ี 11
35
36
กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ
กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ เกี่ยวข้องกบั ผู้ปกครองนกั เรียนในส่วนของการเงิน มี 2 ประเภท ดงั น้ี
1. เงนิ ทนี่ ักเรียนไดร้ ับการสนบั สนนุ จากรัฐบาลมี 6 รายการ
1) เงนิ อุดหนนุ รายหวั
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 1,750 บาท/คน/ภาคเรยี น
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1,900 บาท/คน/ภาคเรยี น
โรงเรียนน�ำมาจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศกึ ษาของโรงเรยี นทก่ี ำ� หนดไว้
2) เงนิ ปัจจัยพื้นฐานสำ� หรับนักเรียนยากจน ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1,500 บาท/คน/ภาคเรยี น
กระทรวงศึกษาธกิ ารกำ� หนดเกณฑ์ในการพิจารณานักเรียนทยี่ ากจน ดงั นี้
1. พิจารณาจากครอบครวั ทีม่ ีรายได้เฉลี่ยต่อเดอื นไม่เกนิ 3,000 บาท
2. เมื่อผ่านเกณฑ์การพิจารณา ข้อ 1.1 แล้ว จะพิจารณาเกณฑ์สถานะครัวเรือนเพื่อจัดระดับ
ความยากจน ดังน้ี
1.2.1 สมาชกิ ครวั เรือนทม่ี ีภาระพึง่ พงิ (ผู้พกิ าร/เจบ็ ป่วยเรอื้ รัง ผู้สงู อายุ หรือผู้ไม่มรี ายได้)
1.2.2 การอยู่อาศยั (บ้านตนเอง/บ้านเช่า/อยู่กับผู้อ่นื )
1.2.3 ลกั ษณะที่อยู่อาศยั 1.2.4 ท่ดี ินทำ� การเกษตรได้ (รวมเช่า)
1.2.5 แหล่งนำ้� ดืม่ 1.2.6 แหล่งไฟฟ้า
1.2.7 ยานพาหนะในครวั เรอื น (ทีใ่ ช้งานได้) 1.2.8 ของใช้ในครวั เรือน (ทีใ่ ช้งานได้)
3) เงนิ สนับสนุนค่าหนงั สอื เรียน
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 808 บาท/คน/ปี
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 921 บาท/คน/ปี
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 996 บาท/คน/ปี
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 1,384 บาท/คน/ปี
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 1,326 บาท/คน/ปี
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 1,164 บาท/คน/ปี
โรงเรยี นด�ำเนินการจดั หาให้ตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ
37
4) ค่าอุปกรณ์การเรยี น
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 210 บาท/คน/ภาคเรียน
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 230 บาท/คน/ภาคเรียน
5) ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 450 บาท/คน/ปี
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 500 บาท/คน/ปี
6) ค่ากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 440 บาท/คน/ภาคเรยี น
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 475 บาท/คน/ภาคเรยี น
โรงเรยี นจัดกจิ กรรมให้นักเรียนโดยรวม
2. เงินผู้ปกครองจ่ายเพ่ือสนับสนุนการจัดกิจกรรมของนักเรียนส่วนที่เกินกว่าท่ีรัฐจัดให้คือเงินบ�ำรุง
การศึกษา ท่ีโรงเรียนขออนุญาตจากส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1
ขออนุญาตเก็บรายละเอยี ดดังน้ี
38
แบบอนุมัติการเกบ็ เงินบำ� รงุ การศกึ ษา ปีการศึกษา 2565
โรงเรยี นมัธยมวดั สงิ ห์ สำ� นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1
ในสว่ นท่ีผปู้ กครองจะนำ� เงนิ มาชำ� ระทกุ เปิดภาคเรียนจนนักเรยี นจบการศกึ ษา
ที่ รายการ จ�ำนวนเงินทขี่ ออนุมัติจดั เกบ็
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รวม ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม
1 คา่ ใชจ้ ่ายในกรณโี รงเรยี นจัดทำ� เปน็ ลกั ษณะพเิ ศษ
1.1 ค่าคู่มือนักเรียน 100 - 100 100 - 100
1.2 ค่าบตั รประจำ� ตวั นกั เรยี น - - - - - -
(กรณบี ัตร Smart Card) 100 - 100
1.3 ค่าปฐมนิเทศนกั เรยี น 50 - 100 100 50 100
1.4 ค่าวารสารโรงเรียน 50 100 50
2. ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการเรยี นการสอนนอกเหนอื หลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
2.1 ห้องเรียนพเิ ศษ EP 27,500 27,500 55,000 27,500 27,500 55,000
English Program - - - - -
2.1 ห้องเรียนพเิ ศษ MEP - - - - - -
(Mini English Program)
2.3 ห้องเรียนพเิ ศษตามโครงการ - - - - - -
Education Hub 15,000 30,000 15,000 15,000 30,000
(โยธินบรู ณะ)
2.4 ห้องเรียนพิเศษด้านภาษา -
2.5 ห้องเรียนพเิ ศษ 15,000
วทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์
อืน่ ๆ
39
ท่ี รายการ จ�ำนวนเงินที่ขออนมุ ัติจดั เก็บ
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รวม ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รวม
3. ค่าใช้จ่ายเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพและความสามารถของนกั เรียน (ตามท่ีจ่ายจริง ทกุ รายการรวมกัน
ไม่เกนิ 1,250 บาทต่อภาคเรียน
3.1 โครงการพฒั นาทกั ษะตามความถนัด 125 125 250 125 125 250
ของนกั เรียน นอกเวลาเรยี น 400 400 800 400 400 800
3.2 ค่าจ้างครชู าวต่างชาติ - - - - - -
3.3 ค่าตอบแทนวทิ ยากรภายนอก - - - - - -
3.4 ค่าเรยี นปรับพนื้ ฐานความรู้
(เฉพาะช้นั มยั มศกึ ษาปีท่ี 1 และ 4 )
4. ค่าจัดการเรยี นการสอนเสรมิ เพิม่ เตมิ ใหก้ ับนกั เรียนนอกเหนอื จากเกณฑ์มาตรฐานทั่วไป
(เก็บตามทจี่ า่ ยจรงิ โดยประหยัด)
4.1 ค่าจ้างครทู ่มี ีความเชีย่ วชาญ 500 500 1,000 500 500 1,000
ในสาขาเฉพาะ 1,500 3,000
4.2 ค่าจ้างครูเฉพาะแผนการเรียนจีน - - - 1,500 500 1,000
4.3 ค่าสาธารณูปโภคส�ำหรับ 500 500 1,000 500 500 1,000
ห้องเรยี นปรับอากาศ
4.4 ค่าสอนคอมพวิ เตอร์ กรณ ี 500 500 1,000 500 125 250
โรงเรียนจดั คอมพิวเตอร์ให้กบั
นักเรียนเกนิ มาตรฐานท่รี ัฐ
จัดให้ (1 เครอื่ ง:นักเรียน20 คน)
4.5 ค่าใช้จ่ายในการจดั ร่วม โครงการ 125 125 250 125
โครงงาน และกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนเกนิ มาตรฐานท่รี ัฐจดั ให้
40
ท่ี รายการ จำ� นวนเงนิ ท่ีขออนุมัตจิ ดั เก็บ
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รวม ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รวม
4. ค่าจดั การเรยี นการสอนเสรมิ เพิม่ เตมิ ให้กับนกั เรยี นนอกเหนอื จากเกณฑ์มาตรฐานทวั่ ไป
(เก็บตามทจ่ี ่ายจริง โดยประหยัด) (ต่อ)
4.5 ค่าใช้จ่ายในการไปทศั นศึกษา - - - - - -
ตามแหล่งเรียนรู้ของนกั เรยี น
เกินมาตรฐานทร่ี ัฐจัดให้
5. ค่าใชจ้ า่ ยในการดูแลด้านสวสั ดกิ ารและสวสั ดิภาพนักเรียน
(เก็บตามท่ีจา่ ยจริง โดยประหยดั )
5.1 ค่าประกันชีวิตนกั เรียน/ 300 - 300 300 - 300
ค่าประกันอุบัติเหตุนักเรียน 1,000 2,000 1,000 1,000 2,000
5.2 ค่าจ้างบุคลากรทีป่ ฏบิ ตั ิงาน 1,000
ในสถานศึกษา - 100 100 - 100
5.3 ค่าตรวจสขุ ภาพนกั เรียน 100
เปน็ กรณีพเิ ศษนอกเหนือจาก - - - - -
การให้บริการสาธารณสขุ ของรัฐ 3,200 7,000 3,800 3,200 7,000
5.4 ค่าอาหารกลางวนั นักเรียน - 4,200 9,000
รวม (เฉพาะหอ้ งเรยี นปกต)ิ 3,800 - - 4,800 16,675 33,950
รวม (เฉพาะหอ้ งเรยี นภาษาจนี ) - 16,575 34,250 17,275 29,175 58,950
รวม (เฉพาะหอ้ งเรียน GEP) 17,575 29,175 59,250 29,775
รวม (เฉพาะห้องเรยี น EP) 30,075
เงินท้ังหมดที่ได้รับจากผู้ปกครองนี้ โรงเรียนจัดท�ำโครงการ/กิจกรรมให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของโรงเรยี น
41
42
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นมัธยมวัดสิงห์ ปกี ารศึกษา 2565
ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565
43
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565
ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
44
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นมัธยมวัดสิงห์ ปกี ารศึกษา 2565
ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566
45
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565
ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2566
46
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นมัธยมวัดสิงห์ ปกี ารศึกษา 2565
ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2567
47
โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565
ระดับมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2567
48
โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565
ระดับมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565
49
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565
ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
50