The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0909, 2022-07-23 14:07:40

คู่มือนักเรียน 2565

คู่มือนักเรียน 2565

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565

ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566

51

โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565

ระดับมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2566

52

โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565

ระดับมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2567

53

โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ปกี ารศึกษา 2565

ระดับมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2567

54

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

วสิ ัยทัศน์

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน มุ่งพฒั นาผู้เรียนทกุ คน ซง่ึ เป็นกำ� ลงั ของชาตใิ ห้เปน็ มนุษย์
ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส�ำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และเป็นพลโลก
ยดึ มนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มคี วามรแู้ ละทกั ษะพนื้ ฐาน
รวมท้ังเจตคติท่ีจ�ำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียน
เปน็ สำ� คญั บนพ้ืนฐานความเชือ่ ว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศกั ยภาพ

หลกั การ

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน มีหลกั การทส่ี ำ� คัญดงั น้ี
1. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาเพอื่ เอกภาพของชาติ มจี ดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ และเปา้ หมาย

ส�ำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความ
เปน็ ไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสตู รการศึกษาเพือ่ ปวงชน ทป่ี ระชาชนทกุ คนมโี อกาสได้รบั การศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคณุ ภาพ
3. เป็นหลักฐานการศึกษาที่สนองการกระจายอ�ำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ให้สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของท้องถน่ิ
4. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาทมี่ โี ครงสรา้ งยดื หยนุ่ ทงั้ ทางดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้
5. เปน็ หลักสูตรการศึกษาทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำ� คญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาส�ำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์

55

จดุ หมาย

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มปี ญั ญา มคี วามสขุ มศี กั ยภาพ
ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี จงึ กำ� หนดเปน็ จดุ หมายเพอื่ ใหเ้ กดิ กบั ผเู้ รยี นเมอ่ื จบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ดงั น้ี
1. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มทพี่ งึ ประสงค์ เหน็ คณุ ค่าของตนเอง มวี นิ ยั และปฏบิ ตั ติ นตาม

หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มคี วามรอู้ นั เปน็ สากลและมคี วามสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี

และมีทกั ษะชีวิต
3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตทดี่ ี มีสุขนิสัย และรักการออกก�ำลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจิตส�ำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ

การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
5. มีจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

มจี ติ สาธารณะทมี่ งุ่ ทำ� ประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ทดี่ งี ามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ

สมรรถนะส�ำคัญของผ้เู รยี น

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ม่งุ พฒั นาผู้เรยี นให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซง่ึ
การพฒั นาผเู้ รยี นใหบ้ รรลมุ าตรฐานการเรยี นรทู้ กี่ ำ� หนดนน้ั จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำ� คญั 5 ประการดงั น้ี
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ฒั นธรรมในการใช้

ภาษา ถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทศั นะของตนเองเพอ่ื แลกเปลย่ี น
ข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์ อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้ัง
การเจรจาตอ่ รองเพอื่ ขจดั และลดปญั หาความขดั แยง้ ตา่ งๆ การเลอื กรบั และไมร่ บั ขอ้ มลู ขา่ วสาร
ด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธีการสื่อสาร ท่ีมีประสิทธิภาพ
โดยคำ� นงึ ถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารสรา้ งองคค์ วามรู้
หรอื สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

56

3. ความสารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่างๆ ท่เี ผชญิ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์ และการเปล่ียนแปลงของเหตุการต่างๆ ในสังคมและแสวงหาความรู้มาใช ้
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยค�ำนึงถึงผลกระทบ
ท่เี กิดข้นึ ต่อตนเอง สังคมและส่งิ แวดล้อม

4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ เปน็ ความสามารถในการนำ� กระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการ
ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การท�ำงานและ
การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการเสรมิ ความสมั พนั ธ์อันดีระหว่างบคุ คล การจดั การปัญหาและ
ความขดั แย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กบั การปลย่ี นแปลงของสงั คมและสภาพ
สิง่ แวดล้อมและการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื กและใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้
การส่ือสาร การทำ� งาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสม และมคี ุณธรรม

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อน่ื ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซื่อสัตย์สจุ ริต
3. มวี ินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งม่นั ในการท�ำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจติ สาธารณะ

57

มาตรฐานการเรียนรู้

การพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ ความสมดลุ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ หลกั พฒั นาการทางสมองและพหปุ ญั ญา หลกั สตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จึงกำ� หนดให้ผู้เรยี น เรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดังน้ี
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
6. ศลิ ปะ
7. การงานอาชพี
8. ภาษาต่างประเทศ
ในแต่ละกลุ่มการเรยี นรู้ได้กำ� หนดมาตรฐานการเรยี นรู้ เปน็ เป้าหมายสำ� คญั ของการพฒั นาคณุ ภาพ
ผเู้ รยี น มาตรฐานการเรยี นรู้ ระบสุ งิ่ ทผ่ี เู้ รยี นพงึ ร้แู ละปฏบิ ตั ไิ ด้ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทพ่ี งึ ประสงค์
ทต่ี ้องการให้เกดิ แก่ผู้เรยี นเมื่อจบการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน นอกจากนนั้ มาตรฐานการเรยี นรู้ยงั เปน็ กลไกสำ� คญั
ในการขบั เคลอื่ นพัฒนาการศกึ ษาท้งั ระบบ เพราะมาตรฐานการเรยี นรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร
ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทง้ั เป็นเครือ่ งมือในการตรวจสอบเพื่อการประกัน
คุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึง
การทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพ
ดงั กลา่ วเปน็ สงิ่ สำ� คญั ทช่ี ว่ ยสะทอ้ นภาพการจดั การศกึ ษาวา่ สามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามทมี่ าตรฐาน
การเรยี นรู้กำ� หนดเพยี งใด

58

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือ
ความเปน็ มนษุ ย์ทสี่ มบรู ณ์ ทงั้ ร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสงั คม เสรมิ สร้างให้เปน็ ผมู้ ศี ลี ธรรม จรยิ ธรรม
มรี ะเบียบวินยั ปลูกฝงั และสร้างจติ ส�ำนกึ ของการทำ� ประโยชน์เพอ่ื สงั คม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่
ร่วมกบั ผู้อน่ื อย่างมีความสขุ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น แบ่งเปน็ 3 ลักษณะดังนี้
1. กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรยี นให้รู้จักตนเอง รู้รกั ษ์สิง่ แวดล้อม

สามารถคดิ ตัดสนิ ใจ คิดแก้ปญั หา ก�ำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทงั้ ด้านการเรรยี นและอาชีพ
สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากน้ียังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็น
กิจกรรมท่ชี ่วยเหลือและให้คำ� ปรกึ ษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพฒั นาผู้เรยี น
2. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนา ความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้น�ำผู้ตามที่ดี
ความรบั ผดิ ชอบการทำ� งานร่วมกนั การรู้จกั แก้ปญั หา การตดั สนิ ใจทเ่ี หมาะสม ความมเี หตผุ ล
การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออาทรและสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ
ความถนดั และความสนใจของผเู้ รยี นใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองในทกุ ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ การศกึ ษา
วิเคราะห์ วางแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมินและปรบั ปรุงการท�ำงาน เน้นการท�ำงานร่วมกนั
เปน็ กล่มุ ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั วฒุ ภิ าวะของผู้เรยี น บรบิ ทของสถานศกึ ษาและ
ท้องถิน่ กิจกรรมนักเรยี น ประกอบด้วย
2.1 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด และนักศึกษาวิชาทหาร
2.2 กจิ กรรมชุมนุม ชมรม
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียน บ�ำเพ็ญตน
ให้เป็นประโยชน์ต่อสงั คม ชุมชนและท้องถิน่ ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร เพือ่ แสดง
ถึงความรบั ผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสียสละต่อสงั คม มจี ิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสา
พัฒนาต่างๆ กจิ กรรมสร้างสรรค์สงั คม

59

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ
การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ให้ประสบผลส�ำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน
การเรยี นรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสำ� คญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น ซงึ่ เปน็ เป้าหมายหลกั ในการวดั
และประเมนิ ผลการเรยี นร้ใู นทกุ ระดบั ไม่ว่าจะเปน็ ระดบั ชน้ั เรยี น ระดบั สถานศกึ ษา ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา
และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ผลการ
ประเมนิ เปน็ ขอ้ มลู และสารสนเทศทแี่ สดงพฒั นาการ ความกา้ วหน้า และความสำ� เรจ็ ทางการเรยี นของผ้เู รยี น
ตลอดจนข้อมลู ที่เปน็ ประโยชน์ต่อการส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรยี นรู้อย่างเตม็ ศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเปน็ 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชน้ั เรยี น ระดับสถานศึกษา
ระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและระดบั ชาติ มีรายละเอยี ด ดงั นี้
1. การประเมนิ ระดับชั้นเรยี น
เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอบด�ำเนินการเป็นปกติและ
สม่�ำเสมอในการจัดการเรยี นการสอน ใช้เทคนิดการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสงั เกต
การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน งานใช้แบบทดสอบ
ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเอง หรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพ่ือน ผู้ปกครอง
ร่วมประเมิน
การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้
อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับ
การพัฒนาปรังปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน
ของตนด้วย ทั้งนโ้ี ดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนและตัวชวี้ ัด

60

2. การประเมนิ ระดับสถานศกึ ษา
เปน็ การตรวจสอบของผเู้ รยี นเปน็ รายป/ี รายภาค ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น และเปน็ การประเมนิ เก่ียวกบั การจดั การศกึ ษาของ
สถานศึกษาว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีสิ่งที่ต้องการพัฒนาในด้านใด
รวมทงั้ สามารถนำ� ผลการเรยี นของผ้เู รยี นในสถานศกึ ษาเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ระดบั ชาตแิ ละระดบั เขตพน้ื ที่
การศกึ ษาผลการประเมนิ ระดบั สถานศกึ ษาจะเปน็ ข้อมลู และสารสนเทศ เพอ่ื การปรบั ปรงุ นโยบาย หลกั สตู ร
โครงการหรอื วธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน ตลอดจนเพอ่ื การจดั ทำ� แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ตามแนวทางการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา และการรายงานผลการจดั การศกึ ษาตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
ขน้ั พน้ื ฐาน สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ผ้ปู กครองและชมุ ชน
3. การประเมนิ ระดับเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ตามภาระความรบั ผดิ ชอบ สามารถดำ� เนนิ การโดยการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี นดว้ ยวธิ กี าร
และเครอ่ื งมอื ทเี่ ปน็ มาตรฐานทจี่ ดั ทำ� และดำ� เนนิ การโดยเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา หรอื ดว้ ยความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน
ต้นสงั กัด และหรอื หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง นอกจากนย้ี ังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมลู จากการประเมนิ
ระดับสถานศึกษาในเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
4. การประเมนิ ระดบั ชาติ
เป็นการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี นในระดบั ชาตติ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนทเี่ รยี นในชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เข้ารับการประเมินผลจากการประเมินใช้เป็นช้อมูล
ในการเทยี บเคยี งคณุ ภาพการศกึ ษาในระดบั ตา่ งๆ เพอ่ื นำ� ไปใชใ้ นการวางแผนยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
ตลอดจนเปน็ ข้อมูลสนับสนุนการตดั สนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ

61

ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน
พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น ถอื เปน็ ภาระความรบั ผดิ ชอบของสถานศกึ ษาทจี่ ะต้องจดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื ปรบั ปรงุ
แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเด็กตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล
ท่ีจ�ำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการได้แก่กลุ่มผู้เรียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ
กลมุ่ ผ้เู รยี นทมี่ ผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตำ่� กล่มุ ผเู้ รยี นทม่ี ปี ญั หาดา้ นวนิ ยั และพฤตกิ รรม กลมุ่ ผ้เู รยี นทป่ี ฏเิ สธ
โรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น
ข้อมลู จากการประเมนิ จงึ เปน็ หวั ใจของสถานศกึ ษาในการดำ� เนนิ การช่วยเหลอื ผู้เรยี นได้ทนั ท่วงที เปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนได้รบั การพัฒนาและประสบความสำ� เร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจดั ท�ำระเบียบว่าด้วยการวดั และประเมนิ ผล
การเรยี นของสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งและเปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ ขอ้ กำ� หนดของหลกั สตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เพอื่ ให้บุคคลทเ่ี กยี่ วข้องทุกฝ่ายถอื ปฏิบัติร่วมกนั

เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรียน

1. การตดั สนิ ใจ การใหร้ ะดบั และการรายงานผลการเรยี น
1.1 การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน

คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอน
ต้องค�ำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลักและต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้าน
อย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้ังสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนา
จนเต็มตามศักยภาพ
1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นท้งั หมดในรายวิชานน้ั ๆ
2) ผู้เรยี นต้องได้รับการประเมนิ ทกุ ตัวชีว้ ดั และผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษาก�ำหนด
3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกวิชา

62

4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมนิ และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำ� หนด
ในการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
การพิจารณาเล่ือนขั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณา
เหน็ วา่ สามารถพฒั นา และสอนซอ่ มเสรมิ ไดใ้ หอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษาทจ่ี ะผอ่ นผนั
ใหเ้ ลอื่ นชน้ั ได ้ แตห่ ากผเู้ รยี นไมผ่ า่ นรายวชิ าจำ� นวนมาก และมแี นวโนม้ วา่ จะเปน็ ปญั หา
ต่อการเรยี นในระดบั ชัน้ ทส่ี ูงขึ้น สถานศกึ ษาอาจต้ังคณะกรรมการพจิ ารณาให้เรยี น
ซ้�ำชน้ั ได้ ทง้ั นี้ให้คำ� นึงถึงวฒุ ภิ าวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นส�ำคัญ

1.2 การให้ระดับผลการเรียน ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลข
แสดงระดบั ผลการเรียนเปน็ 8 ระดับ

การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์นนั้ ให้มรี ะดบั
ผลการประเมินเป็นดีเยย่ี ม ดี ผ่านและไม่ผ่าน

การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นจะตอ้ งพจิ ารณาทงั้ เวลาการเขา้ รว่ มกจิ กรรม การปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม และผลงานของผู้เรยี น ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษาก�ำหนด และให้ผลการเข้าร่วม
กจิ กรรมเป็นผ่านและไม่ผ่าน

1.3 การรายงานผลการเรยี น การรายงานผลการเรยี นเปน็ การสอ่ื สารใผผ้ ปู้ กครองและผเู้ รยี น
ทราบความก้าวหน้าในการเรยี นรู้ของผู้เรยี น ซง่ึ สถานศกึ ษาต้องสรปุ ผลการประเมนิ และ
จดั ท�ำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเปน็ ระยะๆ หรอื อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 คร้งั

การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน็ ระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ตั ขิ องผ้เู รยี นทส่ี ะทอ้ น
มาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้

2. เกณฑก์ ารจบระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้
1) ผเู้ รยี นเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานและเพม่ิ เตมิ โดยเปน็ รายวชิ าพนื้ ฐาน 66 หน่วยกติ และรายวชิ า

เพมิ่ เตมิ ตามทส่ี ถานศึกษากำ� หนด
2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกติ ตลอดหลักสตู รไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกติ โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน

66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเตมิ ไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกติ

63

3) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมนิ
ตามทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนด

4) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษาก�ำหนด

5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษาก�ำหนด

3. เกณฑก์ ารจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
1) ผ้เู รยี นเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานและเพม่ิ เตมิ โดยเปน็ รายวชิ าพนื้ ฐาน 41 หน่วยกติ และรายวชิ า

เพ่มิ เพมิ่ ตามที่สถานศกึ ษากำ� หนด
2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกติ โดยเป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน

41 หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
3) ผู้เรยี นมีผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามทสี่ ถานศึกษากำ� หนด
4) ผู้เรียนมผี ลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่

สถานศกึ ษาก�ำหนด
5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่

สถานศึกษาก�ำหนด

64

เอกสารหลกั ฐานการเรียน

เอกสารหลกั ฐานการเรยี น เปน็ เอกสารทสี่ ำ� คญั ทบ่ี นั ทกึ ผลการเรยี น ขอ้ มลู และสารสนเทศทเี่ กยี่ วขอ้ ง
กบั พฒั นาการของผู้เรยี นในด้านต่างๆ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้
1. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารก�ำหนด
1.1 ระเบยี นแสดงผลการเรียน (ปพ.1)
เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผู้เรียนตามรายวิชา ผลการ
ประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของสถานศกึ ษา และผล
การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น สถานศกึ ษาจะตอ้ งบนั ทกึ ขอ้ มลู และออกเอกสารนใี้ หผ้ ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล
เม่ือผู้เรียนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั (ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3) จบการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6)
หรอื เมื่อลาออกจากสถานศกึ ษาในทุกกรณี
1.2 ประกาศนยี บัตร (ปพ.2)
เปน็ เอกสารแสดงวฒุ กิ ารศกึ ษาเพอื่ รับรองศกั ด์แิ ละสทิ ธ์ิของผู้จบการศึกษาทส่ี ถานศึกษา
ให้ไว้แก่ผ้จู บการศกึ ษาภาคบงั คบั และผ้จู บการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
1.3 แบบรายงานผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษา (ปพ.3)
เปน็ เอกสารอนมุ ตั กิ ารจบหลกั สตู ร โดยบนั ทกึ รายชอื่ และขอ้ มลู ของผจู้ บการศกึ ษาภาคบงั คบั
(ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3) และผู้จบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6) เพื่อรายงานต่อหน่วยงาน
ต้นสังกัด
2. เอกสารหลักฐานการศึกษาทส่ี ถานศึกษากำ� หนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำ� ขน้ึ เพ่อื บนั ทกึ พฒั นาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมลู สำ� คัญเก่ียว
กับผู้เรยี น เช่น แบบรายงานประจำ� ตัวนักเรียน แบบบันทกึ ผลการเรียนประจำ� รายวิชา ระเบยี นสะสม ใบรบั
รองผลการเรียนและเอกสารอื่นๆ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการนำ� เอกสารไปใช้

65

การเทยี บโอนผลการเรียน

สถานศกึ ษาสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นของผ้เู รยี นในกรณตี ่างๆ ได้แก่ การย้ายสถานศกึ ษา การ
เปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษา
จากต่างประเทศและขอเข้าศกึ ษาต่อในประเทศ นอกจากนีย้ ังสามารถเทียบโอนความรู้ทกั ษะประสบการณ์
จากแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันการศึกษา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัด
การศกึ ษาโดยครอบครวั
การเทยี บโอนผลการเรียน ควรด�ำเนนิ การในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนหรือต้นภาคเรียนท่สี ถานศึกษา
รับผู้ขอเทยี บโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีได้รบั การเทยี บโอนควรก�ำหนดรายวิชา/จำ� นวน
หน่วยกติ ท่ีจะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม
การพจิ ารณาการเทียบโอน สามารถดำ� เนนิ การได้ ดงั นี้
1. พิจารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษา และเอกสารต่างๆ ทีใ่ ห้ข้อมลู แสดงความรู้ ความสามารถ

ของผู้เรยี น
2. พจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถของผ้เู รยี นโดยการทดสอบด้วยวธิ กี ารต่างๆ ทงั้ ภาคความรู้

และภาคปฏิบัติ
3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัตใิ นสภาพจริง
การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศ หรือแนวปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ

ส�ำหรบั การเทยี บโอนเข้าสู่การศกึ ษาในระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานให้ด�ำเนนิ การตามแนว
ปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั การเทียบโอนผลการเรยี นเข้าสู่การศึกษาในระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

66

สรุปข้ันตอนการวดั และประเมนิ ผลที่ส่งผลต่อการจบหลกั สตู ร

ทดสอบก่อนเรียน
แบบประเมนิ ครอบคลมุ เน้ือหา

1. ประเมินผลการเรยี นรู้ ทดสอบระหว่างเรยี นด้านความรู้ ผลการประเมนิ
ตามกลุ่มสาระ 8 กล่มุ สาระ ด้านทักษะกระบวนการเจตคติ 1, 1.5, 2, 2.5
และคุณลักษณะกลุ่มสาระ ฯ
3, 3.5, 4

2. ประเมินกิจกรรม ทดสอบหลังเรียน ผลการประเมนิ การตดั สิน
พัฒนาผเู้ รียน จากการเข้าร่วมกิจกรรมและเวลา “ผ่าน” ผลการเรียน
3. ประเมินคุญลักษณะ เข้าร่วมกิจกรรมรายปี/รายภาค ผ่าน ช่วงชั้น
อันพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น การผ่านจดุ ประสงค์ของกิจกรรม ทุกกิจกรรม
ผลการประเมิน
และสรุปผลเปน็ รายบคุ คล
เพ่ือสรุปการผ่านช่วงชั้น “ดเี ยย่ี ม/ดี”

จากคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของ
โรงเรียนก�ำหนดรายปี/รายภาค
ตัดสินคุณลกั ษณะผ่านช่วงชั้น

4. ประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ การผ่านจดุ ประสงค์ของกิจกรรม ผลการประเมิน
และเขียนส่อื ความ และสรุปผลเป็นรายบุคคล “ผ่าน”
3. ประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ เพอ่ื สรปุ การผ่านช่วงชน้ั
การเรียนระดบั ชาติ ตดั สินคุณลกั ษณะผ่านช่วงชัน้ ผลการประเมนิ
สถานศึกษา /
จากคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของ ประเทศมคี ณุ ภาพ
โรงเรียนกำ� หนดรายปี/รายภาค

67

เกณฑก์ ารตัดสนิ ผลการเรียนรายวชิ าตา่ งๆ

1. ผลการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ระดับผลการเรยี น ชว่ งคะแนน ความหมาย
4 80 - 100 ดเี ยย่ี ม
3.5 75 - 79 ดีมาก
3 70 - 74 ด ี
2.5 65 - 69 ค่อนข้างดี
2 60 - 64 ปานกลาง
1.5 55 - 59 พอใช้
1 50 - 54
0 0 - 49 ผ่านเกณฑ์ข้นั ต�่ำ
ต่ำ� กว่าเกณฑ์ขน้ั ต่�ำ

2. ผลการเรยี นรกู้ จิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (แนะแนว/กจิ กรรมนกั เรยี น/กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน)์

ระดบั ผลการเรียน ความหมาย
ผ ผู้เรยี นมเี วลาเข้าร่วมปฏบิ ัติกิจกรรมและมผี ลงาน
ตามเกณฑ์ทกี่ �ำหนด
มผ (ผู้เรยี นมีเวลาเข้าร่วมปฏิบัตกิ ิจกรรมและมผี ลงาน
ไม่เป็นตามเกณฑ์ทกี่ �ำหนด

3. การหมดสทิ ธเิ์ ข้ารบั การทดสอบปลายภาคเรยี น เนอ่ื งจากมเี วลาเรยี นไม่ถงึ ร้อยละ 80 จะได้ผลการเรยี น
“มส.”

4. การรอตัดสนิ ผลการเรียน เนอื่ งจากผู้เรยี นมผี ลการเรียนไม่ครบถ้วนจะได้ผลการเรยี น “ร”

68

โครงสร้างการเรียน

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปกี ารศกึ ษา 2565

โครงสร้าง หอ้ งเรียน

วิทยาศาสตร์ - คณติ ศาสตร์ 1-3

วทิ ยาศาสตร์ - คณติ ศาสตร์ (วิศวะฯ) 4

วทิ ยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ (คอมฯ) 4

ภาษาอังกฤษ - คณติ ศาสตร์ 5

ภาษาอังกฤษ - ภาษาฝรงั่ เศส 6

ภาษาอังกฤษ - ภาษาจีน 7

ภาษาอังกฤษ - ภาษาญี่ปุ่น 8

ศิลปกรรม - หตั ถกรรม 9

ภาษาไทย - สงั คมศาสตร์ (นิติ, รฐั ศาสตร์) 10

วทิ ยาศาสตร์ - คณติ ศาสตร์ (เตรยี มแพทย์) (GEP) 11

วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ (วิศวะฯ) (GEP) 12

วทิ ยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ (EP) 13

ศลิ ป์ - ภาษาอังกฤษ (EP) 14

69

แนวปฏบิ ัติของนักเรียนทางด้านวชิ าการ

ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2564 - 2566)

1. การขอเอกสารรับรองการเป็นนักเรยี นหรอื ผลการเรยี น

1. ให้นักเรียนน�ำรูปถ่ายชุดนักเรียนขนาด 1.5 น้ิว พ้ืนหลังสีฟ้า / น�้ำเงิน กรอกเอกสารค�ำร้อง
ท่งี านทะเบยี นและขอรบั เอกสารภายใน 3 วนั ทำ� การ

2. เมอ่ื ได้รบั เอกสาร นกั เรยี นสามารถนำ� เอกสารตวั จรงิ ไปถ่ายสำ� เนาเพอื่ ใช้ประกอบการศกึ ษาตอ่
หรือรับสิทธิ์ประโยชน์ของผู้ปกครองได้

3. ในการขอใบรับรองผลการเรียน 3 ภาคเรียน 5 ภาคเรียน เพื่อการศึกษาต่อ ขอให้นักเรียน
ยื่นค�ำร้องขอเอกสารภายในไม่เกินสัปดาห์ท่ี 2 ของเดือนกุมภาพันธ์ มิฉะน้ันจะท�ำให้เกิด
ความยุ่งยากแก่ผู้ปฏบิ ัติ

2. เอกสารเมอื่ จบหลักสูตร

เม่ือนักเรียนจบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ม.6) และการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) โรงเรียน
จะออกเอกสาร ปพ.1 และ ปพ.2 ให้นักเรียนเพอ่ื ใช้ในการศึกษาต่อหรอื ประกอบอาชีพ

3. การแจ้งการขาดเรียน

ถ้านักเรียนมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ครบตามท่ีก�ำหนดจะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบปลายภาค
เพอ่ื การติดตามและแก้ไขการขาดเรียนของนักเรยี น โดยโรงเรยี นมีข้นั ตอนการดำ� เนินการ ดังน้ี
1. เม่อื นักเรียนขาดเรียนเป็นเวลาหนึ่งในสามของเวลาทีข่ าดเรยี นได้
- ครผู ู้สอนแจ้งให้ครทู ีป่ รึกษาทราบ
- ครูท่ปี รกึ ษาแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ
2. เม่ือนักเรียนขาดเรียนเป็นเวลาหน่ึงในสามของเวลาท่ีขาดได้หลายวิชา ครูท่ีปรึกษาจะเชิญ

ผู้ปกครองไปพบเพื่อร่วมพจิ ารณาหาทางแก้ไข

70

4. การขอพกั การเรียน

นักเรียนท่ีมีความจ�ำเป็นไม่สามารถเรียนได้ตามปกติแต่ต้องการเข้าเรียนในปีการศึกษาต่อไป
ต้องปฏิบัติ ดังน้ี
1. รวบรวมเอกสารแสดงถงึ ความจำ� เปน็ เช่น ใบรับรองแพทย์
2. ให้ผู้ปกครองและนักเรียนแจ้งความประสงค์จะพักการเรียน (เวลา 1 ปีการศึกษา) ต่อ

ครูทีป่ รึกษา
3. เขยี นแบบบนั ทกึ ขอพกั การเรยี นและยน่ื หลกั ฐานประกอบการพจิ ารณาทหี่ อ้ งกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ
4. ดำ� เนนิ การให้เสรจ็ ส้นิ หลังเปิดภาคเรียน 7 วัน
เมื่อพักการเรียนเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแล้ว ผู้ปกครองและนักเรียนต้องแจ้งความประสงค์
ขอเข้าเรยี นต่อโดยแจ้งทีง่ านทะเบียนวดั ผล

5. นักเรยี นท่ีมคี วามจำ� เปน็ ต้องลาออกเพ่อื ศกึ ษาตอ่ ทอี่ ่นื ต้องปฏบิ ตั ิ ดังนี้

1. แจ้งให้ครูทป่ี รึกษาทราบ
2. นักเรียนขอ ปพ.1 ติดต่อโรงเรียนปลายทาง
3. เม่ือโรงเรยี นปลายทางพจิ ารณาแล้วรบั เข้าเรียน (ส�ำหรบั ม.1 - 3 ให้ผู้ปกครองเขียนคำ� ร้องขอ

ย้ายนกั เรยี น) ให้น�ำรปู ถ่ายชดุ นักเรียน ไม่สวมแว่นตา ขนาด 1.5 นวิ้ จ�ำนวน 2 รปู ส�ำเนาบตั ร
ประชาชนผู้ปกครอง 1 ชดุ ไปติดต่อขอลาออกท่งี านทะเบียนวดั ผลโดยผ่านครูท่ปี รึกษา
4. โรงเรียนจะออกหลักฐานการเรียน (ปพ.1) เพอ่ื ไปแสดงต่อโรงเรียนปลายทาง (ส�ำหรับนักเรียน
ม.1 - 3 โรงเรียนจะมหี นงั สอื ส่งตัว)

71

ห้องสมดุ

วัตถปุ ระสงค์ของหอ้ งสมดุ โรงเรียนมัธยมวดั สิงห์

1. เพอื่ การศกึ ษา สง่ เสรมิ ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารใชป้ ระโยชนจ์ ากสงิ่ พมิ พป์ ระเภทตา่ งๆ ภายในหอ้ งสมดุ และไดร้ บั
ความรู้เพ่มิ เตมิ กว้างขวางย่ิงขนึ้ โดยมุ่งใช้ห้องสมดุ เป็นสถานศึกษาไปตลอดชีวิต

2. เพอ่ื ใหค้ วามรขู้ า่ วสารหอ้ งสมดุ จดั สนองความตอ้ งการและธรรมชาตขิ องมนษุ ยใ์ นดา้ นอยากรอู้ ยากเหน็
โดยรวบรวมสิ่งพิมพ์ข่าวสารและความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ต่างๆ ทั่วโลก เพื่อให้ผู้ใช้บริการ
สามารถทนั ต่อเหตกุ ารณ์และความเปล่ียนปลงของโลก

3. เพ่ือการค้นคว้า ห้องสมุดเป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลใหม่ๆ ซ่ึงจะช่วยให้เกิดการพัฒนาสังคมและ
วิทยาการ

4. เพอื่ ความจรรโลงใจ ให้ความสุขทางใจ
5. เพ่ือการพกั ผ่อนหย่อนใจ ให้ความเพลดิ เพลนิ
6. เพื่อการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
7. เพ่ือปลกู ฝังและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านและมที ศั นคติท่ีดีต่อการอ่าน
8. เพอื่ ให้นักเรยี นรู้จกั ใช้ห้องสมดุ เพ่ือการศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง

บรกิ ารของหอ้ งสมุด

1. ให้อ่านและค้นคว้าโดยเสรี
2. ให้ยมื วัสดุบรกิ ารตามระเบยี บของห้องสมุด
3. ให้บรกิ ารตอบคำ� ถามและช่วยการค้นคว้า
4. ให้บรกิ ารนกั เรยี นเข้าใช้ห้องสมดุ เปน็ รายชน้ั
5. บริการคอมพวิ เตอร์เพอ่ื การสบื ค้น
เวลาเปิดบริการ : วนั จันทร์ - วันศุกร์ เวลา 07.00 - 17.00 น.

72

บริการแนะแนว

บรกิ ารแนะแนวเปน็ งานทจ่ี ดั ขนึ้ เพอื่ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นในดา้ นตา่ งๆ โดยมเี ปา้ หมายเพอื่ ชว่ ยใหน้ กั เรยี น
ประสบความส�ำเรจ็ ในการศกึ ษา การเลือกอาชพี และการพฒั นาตนเองด้านต่างๆ

จุดมงุ่ หมาย

1. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จกั ตนเองในด้านต่างๆ ได้แก่ ความสามารถ ความสนใจ ความถนดั อปุ นสิ ยั
และบุคลิกภาพของตนเอง เพื่อช่วยให้นักเรียนเลือกวิชาเรียน แผนการเรียนและเลือกอาชีพ
ทเ่ี หมาะสมกับตนเอง

2. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ลกั ษณะอาชพี ตา่ งๆ ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
และการเตรยี มตัวเพอื่ ประกอบอาชีพทต่ี นเองสนใจ

3. เพื่อให้นักเรียนทราบและเข้าใจปัญหาต่างๆ ท่ีเป็นข้อบกพร่องของตนเองแล้วหาทางแก้ไขได้
โดยขอค�ำปรกึ ษาจากครูแนะแนว

4. เพอื่ ใหน้ กั เรยี นไดม้ โี อกาสไดค้ วามรพู้ เิ ศษตา่ งๆ ทจี่ ะชว่ ยปรบั ปรงุ สง่ เสรมิ ใหม้ พี ฒั นาการดา้ นอารมณ์
ด้านการปรบั ตัวในสงั คมการเสริมสร้างบคุ ลกิ ภาพให้น่าชมและให้มีผลการเรยี นดยี งิ่ ขึน้

5. เพ่ือหาทางช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ โดยมีการคัดเลือกให้ได้รับ
ทนุ สงเคราะห์ประเภทต่างๆ

6. เพื่อให้ค�ำปรกึ ษาแก่ผู้ปกครองนกั เรียนที่มปี ัญหาและร่วมมอื กนั หาทางแก้ไขปญั หาต่อไป
7. เพอ่ื จัดทำ� สำ� รวจรวบรวมข้อมลู สถิตแิ ละข้อมลู ต่างๆ เกี่ยวกบั นกั เรียนเสนอผู้บริหารโรงเรียน

เพอ่ื พัฒนาโรงเรียนในด้านต่างๆ
8. ร่วมมือกับกลุ่มบรหิ ารวิชาการ กลุ่มบริหารงานบคุ คล กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ กลุ่มบรหิ าร

ท่ัวไป เพื่อช่วยให้การบรหิ ารจดั การของโรงเรียนได้มีประสิทธภิ าพมากข้ึน ได้ผลดียง่ิ ขึน้

การจัดบริการแนะแนว โรงเรียนมัธยมวดั สิงห์

1. บริการรวบรวมข้อมูลเปน็ รายบุคคล เพอ่ื ให้ครไู ด้รู้จักนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล รวมทง้ั ทราบ
รายละเอยี ด ปญั หา หรอื ขอ้ มลู ตา่ งๆ เกย่ี วกบั นกั เรยี น เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู เบอื้ งตน้ ทจี่ ะนำ� ไปสกู่ ารชว่ ยเหลอื
สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ นกั เรยี นได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม จงึ มกี ารจดั ทำ� ระเบยี นสะสม ระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียน บันทกึ การเย่ยี มบ้าน แฟ้มคัดกรองนกั เรียน รวมถึงการทำ� แบบสำ� รวจ

73

แบบทดสอบและการสมั ภาษณ์
2. บริการสนเทศ เป็นบริการท่ีจัดขึ้นมาเพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ และให้ข้อมูลต่างๆ แก่
นกั เรยี นในทกุ ๆ ดา้ น ทงั้ ดา้ นการศกึ ษาตอ่ ดา้ นอาชพี ดา้ นสว่ นตวั และสงั คม และสามารถนำ� ขอ้ มลู นี้
ไปประกอบการพจิ ารณาการเลอื กแนวทางในการด�ำเนนิ ชวั ติ และปรบั ตวั ให้เข้ากบั ส่งิ แวดล้อม
ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซงึ่ ครแู นะแนวจะใหค้ วามรแู้ กน่ กั เรยี นทงั้ ในหอ้ งเรยี นโดยครแู นะแนวเอง
และมีวิทยากรจากภายนอกมาให้ความรู้ นอกจากนี้ยังมีการจัดหาเอกสาร หนังสือ วารสาร
สือ่ ทางด้านเทคโนโลยีต่างๆ ไว้ให้นักเรียนศึกษาหาข้อมูลในห้องแนะแนว การจัดทำ� ป้ายนิเทศ
การตดิ ประกาศ และมีการจดั ทศั นศึกษานอกสถานท่ี
3. บรกิ ารใหค้ ำ� ปรกึ ษา เปน็ การใหค้ ำ� ปรกึ ษาแกน่ กั เรยี นในเรอ่ื งตา่ งๆ ทง้ั ในรปู แบบกลมุ่ และรายบคุ คล
ซ่ึงจะช่วยให้นักเรียนเข้าใจตนเอง สามารถดูแลช่วยเหลือตนเองและพัฒนาตนเองได้ดียิ่งขึ้น
ซ่งึ จะช่วยให้นักเรียนมีแนวทางในการดำ� เนนิ ชวี ติ ได้อย่างมีความสุข
4. บรกิ ารจดั วางตวั บคุ คล เมอื่ ทราบขอ้ มลู นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คลแลว้ ครแู นะแนวจะทำ� การชว่ ยเหลอื
สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ตามความตอ้ งการและความเหมาะสมกบั นกั เรยี น ตามสภาพความเปน็ จรงิ
ของนักเรียน ได้แก่ การจัดทุนการศึกษาให้กับนักเรียนที่ประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
มคี วามประพฤติ เรยี บร้อย ตง้ั ใจเรยี น และนกั เรียนทเ่ี รียนดี การจดั โครงการนักเรยี นเรียนรวม
การส่งเสริมนักเรียนด้านการศึกษาต่อตามที่นักเรียนสนใจและถนัด การช่วยนักเรียนให้ม ี
รายได้พิเศษระหว่างเรียน วันหยุด และปิดภาคเรยี น
5. บริการติดตามผล หลังจากท่ีนักรียนได้รับการดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม และพัฒนาแล้วนั้น
ครแู นะแนวจะต้องตดิ ตามผลทีเ่ กิดกบั นักเรียน เช่น การตดิ ตามผลนักเรียนท่ีสำ� เร็จการศกึ ษา
จากโรงเรยี นไปแลว้ ทง้ั ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และตอนปลาย ตดิ ตามผลนกั เรยี นทกี่ ำ� ลงั เรยี นอยู่
เพื่อให้การช่วยเหลือนักเรียนในล�ำดับต่อไป และเพ่ือน�ำข้อมูลมาปรับปรุงในการด�ำเนินงาน
ของงานแนะแนวให้มีประสิทธภิ าพยงิ่ ข้ึน
การใชบ้ ริการแนะแนว
ห้องแนะแนวของโรงเรียนอยู่ทช่ี ้ัน 1 ของอาคาร 3 นกั เรียนคนใดประสงค์จะปรกึ ษาเร่อื งการศึกษา
หรือเร่ืองส่วนตัวไปพบครูแนะแนวได้ในเวลาราชการ หรือเพ่ือความสะดวกอาจจะนัดหมายกับครูล่วงหน้า
โดยการกรอกแบบฟอร์มนดั พบเพอื่ ขอคำ� ปรกึ ษากบั ครแู นะแนวทหี่ ้องแนะแนว แต่อย่างไรกต็ ามครแู นะแนว
จะมชี ว่ั โมงสอนในทกุ ระดบั ชน้ั ทกุ หอ้ งอยแู่ ลว้ นกั เรยี นควรใหค้ วามสนใจเพราะนกั เรยี นจะไดป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยงิ่
ในชั่วโมงแนะแนว 74

โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศทางวชิ าการ

ดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละภาษาอังกฤษ

Gifted Education Program in Science Maths and English (GEP : SME)

ความเป็นมา

การพัฒนาประเทศเข้าสู่สากลให้ทัดเทียมนานาอารยประเทศ สิ่งที่ส�ำคัญคือ การพัฒนาเยาวชน
ให้มีความรู้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์
จงึ ขออนญุ าตเปดิ หอ้ งเรยี นพเิ ศษ เพอื่ รองรบั โครงการความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์
ภาษาอังกฤษซง่ึ ได้ับอนมุ ตั จิ ากกระทรวงศกึ ษาธิการในระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 และระดับชั้นมธั ยมศกึ ษา
ปีที่ 4 ในปีการศกึ ษา 2550 เปน็ ต้นมา

วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื เปิดโกาสให้นกั เรยี นทีจ่ บช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ได้รับการพัฒนา
ให้เกิดความเป็นเลิศทางวชิ าการ ด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และภาษาอังกฤษ

2. เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษพร้อมปลูกฝัง
ความรคู้ วามสามารถในการคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ อนั เปน็ พน้ื ฐานของการศกึ ษาตอ่ อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ

3. เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนเป็นคนเก่ง คนดีและมีความสุข ประสบความส�ำเร็จในการศึกษาต่อ
ในมหาวิทยาลัยชน้ั นำ� ในประเทศและต่างประเทศ

หลกั สูตรและระบบการศกึ ษา

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ม.1)
จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรข้ันพ้ืนฐานโดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ
คณติ ศาสตร์ (สอนโดยครมู หาวทิ ยาลยั ) และภาษาองั กฤษ (สอนโดยครตู ่างชาต)ิ และเพม่ิ เตมิ เนอ้ื หาทจี่ �ำเปน็
ต่อการศกึ ษาในระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย พร้อมจัดให้นกั เรียนได้ศึกษาดงู านจากแหล่งต่างๆ

75

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4)
จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรข้ันพื้นฐานโดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ (สอนโดยครูต่างชาติ) นอกจากน้ียังมีคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยเพ่ิมพูน
ความรู้มุ่งสู่มหาวิทยาลยั

คุณสมบตั ิของผสู้ มคั ร

1. ผู้สมัครเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ต้องส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือก�ำลัง
ศกึ ษาอยู่เพอ่ื ศึกษาชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

2. ผู้สมัครเข้าเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ต้องส�ำเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หรือก�ำลัง
ศึกษาอยู่เพ่ือศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4

3. มีผลการเรยี นเฉลีย่ 3.00 และในรายวชิ าวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และภาษาองั กฤษไมน่ อ้ ยกวา่
2.50 (ผลการเรียนเฉลีย่ 5 เทอม)

หลกั ฐานการสมัคร

1. ใบสมคั รของทางโรงเรยี นมัธยมวัดสงิ ห์
2. รูปถ่ายสวมเครอ่ื งแบบนักเรียน ขนาด 1 นิว้ 3 รูป
3. ใบรบั รองผลการเรยี นทป่ี ระทบั ตราสถานศกึ ษา (ปพ.1 และ ปพ.7)
4. สำ� เนาทะเบยี นบ้านนกั เรียนและผู้ปกครอง
5. ส�ำเนาบตั รประชาชนนกั เรียนและผู้ปกครอง

76

โครงการหลกั สตู รภาษาอังกฤษ (English Program)

EP Background

Mathayomwatsing School is located on Ekachai Road. Bangkuntien, Jomthong,
Bangkok, It was established as a co-educational government school in 1953. Permission
to start the Mini-English Program was given by the Ministry of Education in 2003, and
in 2004 the Ministry of Education gave the school permission to start the English
Program make it third school in Bangkok to do so.

ความเปน็ มาของหลักสูตรภาษาองั กฤษ

โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ต้ังอยู่บนถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร
ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เปิดโครงการ Mini English Program เม่ือปีกรศึกษา 2546
และได้รับอนุญาตให้เปิดโครงการ English Program เมื่อปีการศึกษา 2547 นับเป็นโรงเรียนที่ 3
ในเขตกรงุ เทพมหาคร ที่ได้รับอนญุ าตให้เปิดโครงการ English Program จดั การเรยี นการสอนในระดับชน้ั
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และตอนปลาย (ม.1 - 6)

Goal
1. Students will posses skill for language communication data interpretation

and teachnology application for lifelong education.
2. Students will attain a creative desire for self-development through critical

thinking and problem solving.
3. Students will become world-class citizens on Thai bases.
4. Students will realize their full potential and self-value.

77

เป้าหมาย

1. นักเรยี นมที ักษะทางภาษาอังกฤษในการส่ือสารและในการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ
2. นกั เรยี นมีความกระตอื รอื ร้นในการพัฒนาตนเอง สามารถคิดวเิ คราะห์ได้ และแก้ปัญหาเปน็
3. นกั เรยี นมีความเปน็ สากลบนพืน้ ฐานความเปน็ ไทย
4. นักเรียนมคี วามตระหนักในศักยภาพ และคณุ ค่าแห่งตน

Mission

1. To introduce English as a medium of teaching Maths, Science, Physical
Education, Social Studies and Languages

2. To enable students to think, communicate and learn English inside as well
as outside school.

3. To use the latest Information Teacnology and Multimedia in keeping the
curriculum up-to-date.

4. To create an English atomosphere conducive to learning.
5. To provide all facilities for learning under one roof.

พันธกิจ

1. ใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการสอนในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา
สุขศึกษา และภาษา

2. ส่งเสริมให้นักเรียนใช้ภาษาองั กฤษในการคดิ การสือ่ สารทง้ั ในโรงเรยี น และนอกโรงเรียน
3. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัยในการจดั การเรียนรู้
4. สร้างบรรยากาศให้เอ้อื ต่อการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ
5. จัดท�ำห้องเรียน และจดั หาส่ือการเรยี นการสอนท่ีทนั สมยั และพอเพียง

78

Program Vision

“OUR ENGLISH PROGRAM STRIVES TO PRODUCE GLOBAL-MINDED STUDENTS
WHO MAINTAIN A PROFOUND AWARENESS OF THEIR THAI CULTURE AND HERITAGE”

วสิ ัยทัศนโ์ ครงการ

“มุ่งสู่สากลบนพื้นฐานความเปน็ ไทย”

Admissipn Policy

We prefer attentive and industrious students with a strong basic knowledge of English.
The expected GPA is about 3.50 for M.1 and 3.00 for M.4 Catchment area is not
necessary

การรับนักเรียน

โรงเรยี นต้องการนกั เรยี นทต่ี ง้ั ใจเรยี น มพี น้ื ฐานทางภาษาองั กฤษดพี อสมควร เกรดเฉลย่ี 3.50 ขน้ึ ไป
สำ� หรบั นกั เรยี นทตี่ ้องการสมคั รเข้าเรียนในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 และเกรดเฉลย่ี 3.00 ขึ้นไป สำ� หรับ
นักเรียนท่ีต้องการสมัครเข้าเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 การรับนักเรียนไม่จ�ำกัดพ้ืนที่การศึกษา
(ในกรณที เ่ี กรดเฉล่ยี ไม่ถงึ เกณฑ์ทก่ี ำ� หนด ทางโรงเรยี นจะพจิ ารณาจากความเหมาะสมตามศกั ยภาพ และ
พืน้ ฐานความรู้ของนักเรียน)

Facilities

we provide all facilities to success : ICT Center, Science Laboratory, Library,
Self-Access Learning Center, Music Room, Golf Gear, Electronic Boards and others.

79

หอ้ งเรยี น และสือ่ การเรียนรู้

โรงเรียนมีห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ทั้งวิชาเคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์
หอ้ งสมดุ หอ้ งดนตรี และอปุ กรณอ์ นื่ ๆ ทสี่ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ทง้ั ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น เชน่ โปรเจคเตอร์
เคร่อื งเล่นดีวดี ี เคร่อื งฉายทบึ แสง ทวี ี เครื่องเสียง อปุ กรณ์การเรียนกอล์ฟ กระดาษอจั ฉรยิ ะ เครือ่ งดนตรี
เปน็ ต้น

Activities

Ecology Camp, English Camp, Field Trips, Overseas Trips, Table’Manners Course,
Music, Sports, Languages and others.

กิจกรรม

โรงเรียนได้ส่งเสริมนักเรียนให้ร่วมกิจกรรมต่างๆ เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาตนเองในทุกด้าน เช่น
ค่ายอนุรักษ์ธรรมชาติ, ค่ายภาษาอังกฤษ, ทัศนศึกษาในประเทศ และต่างประเทศ อบรมมารยาทบนโต๊ะ
อาหาร, ดนตร,ี กีฬา, ภาษา และกจิ กรรมอ่นื ๆ

Curriculum

The basic Education Curriculums (BE.2544, BE.2551 and BE.2561) are used
topromote morality, intellectual growth, quality of life and competitive ability.

หลักสตู รการเรียนการสอน

ใช้หลกั สตู รกระทรวงศึกษาธกิ าร พุทธศักราช 2544 และ 2551 ส�ำหรับโครงการ EP วิชาที่เรยี น
กบั ครชู าวต่างชาติ ได้แก่วิชา คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สขุ ศกึ ษา สงั คมศึกษา และวิชาภาษาองั กฤษ และ
หลักสูตรฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2561 เพม่ิ วชิ าภาษาจนี และภาษาอังกฤษเพ่อื อาชีพ

80



ระเบยี บโรงเรียนมธั ยมวดั สิงห์ พทุ ธศักราช 2565
หมวดที่ 1 วา่ ด้วยหน้าทข่ี องนักเรียนโรงเรยี นมธั ยมวัดสงิ ห์

เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและเป็นการเสริมสร้างความมีระเบียบวินัยของนักเรียน โรงเรียน

กำ� หนดแนวปฏิบตั ิ

เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ติ นของนกั เรยี นโรงเรยี นมธั ยมวดั สงิ หเ์ พอื่ ใหน้ กั เรยี นถอื ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
การปฏบิ ัตโิ ดยทวั่ ไป

1. นักเรียนต้องปฏิบัติตามแนวปฏิบัติโดยเคร่งครัดไม่ฝ่าฝืนระเบียบ เพราะแนวปฏิบัติก่อให้เกิด
ความดีงามและเรียบร้อยแก่บุคคลและหมู่คณะ

2. นกั เรยี นต้องมาโรงเรยี นตามวนั และเวลาอย่างสม่�ำเสมอ การหยดุ เรยี นดว้ ยประการใด ๆ กต็ าม
นักเรยี นต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามแนวปฏบิ ตั ิการลาหยดุ เรียน

3. นกั เรยี นตอ้ งปฏบิ ตั ติ นเปน็ คนดมี คี วามขยนั หมน่ั เพยี รสจุ รติ ประพฤตติ นเปน็ ทร่ี กั ของบดิ ามารดา
ผู้ปกครอง ครู เพ่อื นนกั เรยี นและบคุ คลทัว่ ไป

4. นักเรียนพึงรักษาความสามัคคีในระหว่างเพ่ือนนักเรียนด้วยกัน การแตกแยกความสามัคคี
ในระหว่างเพอ่ื นนักเรยี นถือว่าเปน็ ความผิดร้ายแรง

5. นกั เรียนพึงเข้าใจในสิทธิและหน้าท่ีของตนเอง รู้จกั เคารพสทิ ธแิ ละหน้าท่ีของผู้อนื่
6. นกั เรียนเป็นผู้มีความกล้าหาญ มีกริ ยิ าวาจาสุภาพ มสี มั มาคารวะและศีลธรรมอนั ดงี าม
7. นกั เรียนพงึ เปน็ ผู้มัธยัสถ์ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย

82

8. นกั เรียนพงึ รกั ษาเครือ่ งแต่งกายและเครอ่ื งเรยี นของตนให้เรียบร้อยและสะอาดอยู่เสมอ
9. นักเรียนพึงช่วยรักษาทรัพย์สนิ ของโรงเรยี น ถ้าชำ� รดุ เสยี หายต้องชดใช้
10. นักเรียนพึงรกั ษาความสวยงาม ความสะอาดของอาคารเรียนและบริเวณโรงเรยี นโดยทั่วไป
11. นักเรียนพึงใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองต่อครอบครัวและหมู่คณะ ช่วยกันส่งเสริม

สนบั สนุนออกความคดิ เห็นเพอ่ื ปรับปรุงส่งเสรมิ กจิ กรรมของโรงเรยี นให้เจรญิ ยิ่งขึน้
12. นกั เรียนทกุ คนต้องรักษาชื่อเสยี งและเกยี รตยิ ศของโรงเรยี น
13. นักเรียนทุกคนต้องมีบัตรประจำ� ตัวนกั เรียนของโรงเรียน
14. นกั เรยี นตอ้ งแต่งเครอ่ื งแบบนกั เรยี นไปตดิ ตอ่ ราชการหรอื เข้าไปในโรงเรยี นหรอื เข้ารว่ มกจิ กรรม

ใด ๆ ของโรงเรียน
15. นกั เรยี นนำ� บคุ คลภายนอกมาร่วมกจิ กรรมใด ๆ ให้ขออนญุ าตโรงเรยี นก่อนและต้องรบั ผดิ ชอบ

ต่อการกระทำ� ซึ่งนักเรียนนำ� มาด้วย

หมวดท่ี 2 ว่าด้วยการปฏบิ ตั ิของนักเรียนมธั ยมวดั สงิ ห์

การมาเรียนและการกลบั บ้านหลังเลิกเรียนในวันปกติ

1. นกั เรียนจะต้องมาถงึ โรงเรยี นก่อนเวลา 07.30 น. และเม่ือเข้าประตโู รงเรียน นกั เรยี นจะต้อง
ท�ำความเคารพครูพร้อมกบั สแกนหน้าเพ่อื แสดงว่านกั เรียนมาถงึ โรงเรียนแล้ว

2. การมาโรงเรยี นหลงั เวลา 07.40 น. ถือว่ามาสาย สำ� หรบั นกั เรียนท่มี าสายต้งั แต่ 3 ครง้ั ข้นึ ไป
ในแต่ละสัปดาห์ถือว่ามาสายบ่อยครั้งโรงเรียนจะเชิญผู้ปกครองมาพบเพ่ือแจ้งพฤติกรรม
การมาสายและจะด�ำเนินการตามระเบียบ ว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติของนักเรียน
ปี 2565

3. การกลับบ้านหลังเลิกเรยี น นกั เรยี นต้องสแกนหน้ากลับบ้านทุกวนั
4. นกั เรยี นต้องออกจากโรงเรยี นกอ่ นเวลา 18.00 น. ยกเวน้ กรณที ม่ี คี รนู ดั หมายและควบคมุ กำ� กบั

ดูแล

83

การเข้าแถวกอ่ นเขา้ เรียน

การเข้าแถวก่อนเข้าเรียนเปน็ สิ่งจ�ำเปน็ และสำ� คัญท่ีนักเรียนทกุ คนจะต้องปฏบิ ตั ดิ ังนี้
1. นกั เรียนทกุ คนต้องถอื เป็นหน้าทท่ี จ่ี ะต้องมาโรงเรยี นให้ทันก่อนเข้าแถวในตอนเช้า
2. การเข้าแถวก่อนเข้าเรียนในตอนเช้า
l เมอ่ื ไดย้ นิ เพลงโรงเรยี นนกั เรยี นตอ้ งหยดุ กจิ กรรมตา่ งๆ ทกุ ชนดิ และรบี ไปเขา้ แถวหนา้ เสาธง

หรอื ตามจุดทีก่ ำ� หนด
l นกั เรียนต้องเข้าแถวและจดั แถวให้เรียบร้อย
l นักเรียนจะต้องร่วมพิธีด้วยความตงั้ ใจและพร้อมเพรยี งกนั
l เดินแถวเข้าห้องเรียนอย่างมรี ะเบียบ

พิธีเคารพธงชาติ เพลงชาติ

(ผู้นำ� น�ำร้องเพลง) ประเทศไทยรวมเลอื ดเน้อื ชาติเช้ือไทย
(นกั เรยี น ร้องพร้อมกนั ) เป็นประชารัฐ ผไทของไทยทุกส่วน
อยู่ด�ำรงคงไว้ได้ท้ังมวล ด้วยไทยล้วนหมาย รกั สามคั คี
ไทยนรี้ กั สงบ แต่ถึงรบไม่ขลาด เอกราชจะไม่ให้ใครข่มข่ี
สละเลือดทุกหยาดเปน็ ชาติพล ี เถลิงประเทศชาติไทยทวมี ีชัย ชโย

84

ค�ำนมสั การพระรตั นตรัย
(ผนู้ �ำ กล่าวน�ำ) อะระหงั สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
(นกั เรยี น รบั พรอ้ มกนั ) สมเดจ็ พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหนั ต์ หมดจากกิเลสเครือ่ งเศร้าหมอง ตรสั รู้
ชอบได้ด้วยพระองค์เอง
พทุ ธงั ภะคะวันตงั อะภวิ าเทมิ ข้าพเจ้าขอไหว้พระผู้มีพระภาคเจ้า
สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม พระธรรมอนั พระผมู้ พี ระภาคเจ้าตรสั ไว้ดแี ลว้
ธมั มังนะมัสสาม ิ ข้าพเจ้าขอไหว้พระธรรม
สปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้
สังฆัง นะมามิ ข้าพเจ้าขอไหว้พระสงฆ์

บทเคารพคุณบิดามารดา
(ผู้น�ำ กล่าวน�ำ) อะนนั ตะคณุ ะสมั ปันนา
(นักเรยี น รบั พรอ้ มกัน) ชะเนตชิ ะนะกา อโุ ภ มยั หงั มาตาปิตูนังวะ ปาเท วนั ทามิ สาทะรัง
บิดามารดาทั้งสองของข้าพเจ้า ถึงพร้อมด้วยพระคุณเป็นอเนกอนันต์ ข้าพเจ้า
ขอกราบไหว้แทบเท้าท่านทั้งสองนนั้ ด้วยความเคารพ

บทเคารพคุณครู - อาจารย์

(ผนู้ �ำ กลา่ วน�ำ) ปาเจรา จะรยิ า โหนติ คุณตุ ตะรา นสุ าสะกา
(นักเรียน รบั พร้อมกนั ) ขา้ ขอประณตน้อมครอู าจารย์ผ้ใู หว้ ทิ ยาทาน แด่ศษิ ย์ทกุ ผชู้ รู าศี พระคณุ ลน้ ฟ้าบารมี

มวลศษิ ย์รู้ดี อเนกอนันต์นานา

(ผนู้ ำ� กล่าวนำ� ) ปญั ญาวุฒกิ ะเรเตเต ทินโน วาเท นะมามิหัง
(นกั เรยี น รบั พรอ้ มกัน) ความเจรญิ แหง่ ปญั ญาทง้ั หมด ทมี่ อบทมุ่ เทใหข้ า้ พเจา้ ขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย ขอนอ้ มรบั เอา

ความเจริญแห่งปัญญานัน้

85

คำ� กล่าวค�ำปฏิญาณตน (ผู้น�ำกล่าวน�ำ นกั เรยี นกล่าวตามทลี ะวรรค)
พวกเราเปน็ คนไทย อย่ไู ด้จนถงึ ทกุ วนั นี้ กเ็ พราะเรามชี าติ มศี าสนา มพี ระมหากษตั รยิ ์ ซง่ึ บรรพบรุ ษุ

ของเราเอาเลือด เอาเนื้อ เอาชีวิตและความล�ำบากยากเข็ญเข้าแลกไว้ เราต้องสละชีพเพ่ือชาติ เราต้อง
บำ� รงุ ศาสนา เราต้องรกั ษาพระมหากษัตริย์
เรานกั เรยี น จกั ต้องประพฤตติ น ใหอ้ ยใู่ นระเบยี บวนิ ยั ของโรงเรยี น มคี วามซอ่ื สตั ยต์ ่อตนเองและผ้อู น่ื
เรานักเรียนจักต้องไม่ท�ำตนให้เปน็ ท่เี ดอื ดร้อน แก่ตนเองและผู้อืน่

การแสดงความเคารพ

การแสดงความเคารพเปน็ การแสดงออกของผู้ทีไ่ ด้รบั การศึกษาอบรม นักเรียนจะต้องปฏบิ ัติ ดังนี้
1. พึงแสดงความเคารพครูอาจารย์
2. เมื่อนกั เรียนนงั่ หรือยนื กบั ท่ี เมอ่ื ครูผ่านมาในระยะพอสมควรให้ทำ� ความเคารพด้วยการไหว้
3. เมอื่ นกั เรียนเข้าหรือออกนอกบริเวณโรงเรยี น จะต้องท�ำความเคารพครูเวรทอ่ี ยู่บรเิ วณประตู

โรงเรียนโดยหันหน้าไปทางครเู วรและวางกระเป๋านักเรียนแล้ว จึงท�ำความเคารพด้วยการไหว้
4. เมอื่ นกั เรยี นเดนิ สวนกบั ครู ให้แสดงความเคารพโดยการยนื ตรงแล้วทำ� ความเคารพดว้ ยการไหว้

เมื่อครเู ดนิ ผ่านไปแล้วจงึ เดินต่อไป
5. เมือ่ นักเรียนเดนิ ตามหลงั ครู ไม่ควรเดนิ แซงขึน้ หน้า นอกจากจำ� เปน็ จรงิ ๆ ควรกล่าวค�ำขออภัย

หรือขออนุญาต
6. ในการเดินสวนทางกบั ครทู บี่ นั ได นกั เรียนควรหยุดให้ครขู ึ้นหรือลงก่อน
7. เมื่อครพู ูดกบั นักเรียนคนใด นกั เรียนคนน้นั ควรยืนตรง
8. เมื่อนักรียนมาพบหรือส่งงานครู นักเรียนต้องยืนตรงในระยะพอสมควรและท�ำความเคารพ

ด้วยการไหว้ เมื่อจะกลับให้ทำ� ความเคารพอีกคร้งั หนง่ึ
9. เมือ่ มผี ู้ตรวจเย่ยี มมาโรงเรยี น ให้นกั เรียนแสดงความเคารพด้วยการไหว้
10. การแสดงความเคารพเม่ือพบครูนอกบริเวณโรงเรียน พึงท�ำความเคารพด้วยการไหว้และ

กล่าวค�ำสวสั ดี

86

11. การแสดงความเคารพของนักเรียนท่ีแต่งเครื่องแบบลูกเสือ เนตรนารี หรือยุวกาชาดให้ท�ำ
ความเคารพตามแบบลูกเสอื เนตรนารีหรอื ยวุ กาชาด

12. การแสดงความเคารพของนักเรียนที่แต่งเคร่ืองแบบนักศึกษาวิชาทหารรักษาดินแดนให้ท�ำ
ความเคารพแบบนกั ศึกษาวิชาทหาร

การปฏิบตั ิตนในห้องเรียน

1. ต้งั ใจเรียน ตรงต่อเวลา
2. รกั ษากิรยิ าวาจามารยาทให้เรยี บร้อย
3. รกั ษาความสะอาดของห้องเรียน
4. รักษาทรัพย์สิน อุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องเรียน หากนกั เรยี นคนใดทำ� ของเสยี หายจะต้องรายงาน

ให้ครูทป่ี รึกษาทราบทันทแี ละจะต้องชดใช้ค่าเสียหาย
5. ต้องได้รบั อนุญาตจากครจู ึงจะออกจากห้องเรยี นได้
6. ห้ามนำ� อาหารหรือของขบเคี้ยวทกุ ชนดิ เข้ามารบั ประทานในห้องเรียน
7. ไม่ท�ำให้ห้องเรยี นหรอื อาคารเรียนสกปรกด้วยประการใด ๆ ทั้งส้ิน
8. ห้ามเล่นในห้องเรียน หรืออาคารเรยี น
9. เมื่อไม่มกี ารเรียนการสอน ห้ามส่งเสยี งรบกวนนักเรยี นช้นั อน่ื ทก่ี ำ� ลังเรียนอยู่
10. คาบเรียนใดถ้าไม่มีครูเข้าสอนให้หัวหน้ารายงานหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชานั้นๆ หรือ

รองผู้อ�ำนวยการสถานศกึ ษากลุ่มบริหารวชิ าการทราบเพ่อื จัดครเู ข้าสอนแทน
11. นกั เรยี นจะต้องไม่ออกจากห้องเรยี นในขณะเปลย่ี นวชิ าเรยี น ยกเวน้ กรณมี กี ารเปลย่ี นห้องเรยี น
12. การเปลี่ยนห้องเรียน ให้นักเรียนเดินเป็นแถวอย่างมีระเบยี บ
13. ในระหว่างเวลาเรียน นกั เรียนจะไปอยู่ทีอ่ น่ื ๆ มไิ ด้ เว้นแต่ได้รบั อนุญาตจากครูผู้สอน
14. ไม่ใส่รองเท้าข้ึนอาคารเรียนและจัดรองเท้าหน้าห้องเป็นระเบียบเรียบร้อยหรือน�ำรองเท้า

ใส่ถงุ พลาสติกไปวางไว้ในห้องเรยี นเพอ่ื ป้องกนั การสญู หาย

87

รักษาความสะอาดและความเป็นระเบยี บในห้องเรยี น

1. จดั โต๊ะ เก้าอ้ี ให้เป็นระเบยี บและรกั ษาโต๊ะ เก้าอข้ี องตนให้สะอาดตลอดเวลา
2. ไมข่ ดี เขยี นเกา้ อี้ โตะ๊ ฝาผนงั ประตู หนา้ ตา่ ง ของหอ้ งเรยี นและอาคารใหส้ กปรกหรอื ชำ� รดุ เสยี หาย
3. ทำ� ความสะอาดห้องเรยี นและเทขยะทกุ วัน ตามวันเวลาและเวรทค่ี รทู ีป่ รึกษากำ� หนด

การขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน

1. เมื่อบิดามารดา ผู้ปกครองหรือผู้ท่ไี ด้รบั มอบฉันทะจากผู้ปกครอง (การมอบฉนั ทะจะต้องมอบ
เป็นลายลักษณ์อักษรผู้มอบต้องน�ำบัตรประชาชนไปด้วย) ให้เป็นตัวแทนมารับนักเรียนต้อง
ปฏิบตั ดิ งั นี้

u ผู้มารับนักเรียนแจ้งความประสงค์และแสดงบัตรประจ�ำตัวประชาชนเพ่ือขออนุญาต
รบั นกั เรยี นออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นที่สำ� นกั งานกลุ่มบริหารงานบคุ คล

u ให้นักเรียนนำ� ใบอนุญาตเสนอครูทป่ี รึกษาและครหู ัวหน้าระดับลงนามรับทราบ
2. เมื่อมีอาการป่วยและครูพยาบาลเห็นว่านักเรียนควรกลับไปพักผ่อนที่บ้านหรือจะต้องไปรับ

การตรวจรักษาอย่างถูกต้องจากแพทย์ นักเรียนต้องได้รับใบแสดงความเห็นจากครูพยาบาล
ไปมอบให้กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คลเพอื่ ออกใบอนญุ าต
3. เม่ือได้รับอนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนให้นักเรียนน�ำใบอนุญาตติดตัวไปตลอดเวลาที่อยู่
นอกบรเิ วณโรงเรยี น
4. ผ้ทู อี่ อกนอกบรเิ วณโรงเรยี นโดยมไิ ด้รบั อนญุ าตถอื ว่าออกไปโดยมชิ อบ นกั เรยี นจะต้องรบั โทษ
และเชญิ ผู้ปกครองมาพบเพอ่ื ทราบ บันทกึ ภาคทัณฑ์ไว้
5. การขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น กอ่ นโรงเรยี นเลกิ ไม่ว่ากรณใี ดๆ ต้องมผี ปู้ กครองมารบั

เมื่อผูป้ กครองไปพบที่โรงเรียน

1. โรงเรียนอนุญาตให้พบเมอื่ มีความจำ� เปน็ จริงๆ เพราะจะเสียการเรยี น
2. ครูจะตามนักเรียนให้พบกับผู้ทม่ี าขอพบได้เฉพาะระหว่างเวลาหมดคาบเรยี น
3. ผู้มาขอพบให้ติดต่อครูฝ่ายประชาสัมพันธ์ ผู้มาขอพบจะต้องรู้จักชื่อจริง นามสกุลจริง

ของนักเรียน ระดับชนั้ ห้องของนักเรียน เพ่ือความสะดวกในการติดต่อ

88

4. นกั เรยี นจะพูดคุยกบั ผู้ทม่ี าขอพบเฉพาะในส�ำนกั งานประชาสัมพนั ธ์หรอื ส�ำนักงานกลุ่มบรหิ าร
งานบุคคลเท่าน้นั

5. โรงเรียนจะไม่ตามตัวหรือประกาศทางเครื่องขยายเสียงขณะท่ีมีการเรียนการสอน เพราะจะ
ทำ� ให้นกั เรียนเสียเวลาเรียนหรือทำ� ให้มเี สยี งรบกวนผู้เรียนอน่ื

6. ครจู ะไม่ตามตัวนักเรยี นให้ผู้มาขอพบกรณีที่ครพู ิจารณาแล้วเห็นว่าไม่สมควร
7. ถ้านกั เรียนฝ่าฝืนจะถกู ลงโทษโดยการอบรมตักเตอื น

การลากิจ ลาปว่ ย และการขาดเรยี น

1. การหยุดเรียนทุกคร้ัง นักเรียนจะต้องย่ืนใบลาต่อครูท่ีปรึกษา ตามเหตุผลท่ีแท้จริงเมื่อมา
โรงเรียนได้ในวันแรก จดหมายมี 2 ลักษณะ ให้ใช้ลกั ษณะใดลกั ษณะหนง่ึ

- นกั เรยี นเปน็ ผเู้ ขยี นจดหมายลาเอง ตอนส่วนล่างของจดหมายลาตอ้ งมผี ปู้ กครองลงลายมอื
ช่อื เพื่อรับรองการลาของนกั เรยี น

- ผู้ปกครองเป็นผู้เขียนจดหมายลาช้แี จงเหตผุ ลการขาดเรียนของนักเรยี น
2. ถ้าไม่ปฏิบตั ถิ ือเปน็ การผดิ ระเบียบของโรงเรียนต้องถูกพจิ ารณาลงโทษและถือว่า “ขาดเรียน”
3. ถา้ นกั เรยี นไมน่ ำ� จดหมายลาสง่ ครทู ปี่ รกึ ษาตงั้ แต่ 2 ครง้ั ขนึ้ ไป จะเชญิ ผปู้ กครองมาพบเพอ่ื ทราบ

และแก้ไขปัญหาทันที
4. ถ้าหากว่านักเรียนปลอมลายมือชื่อผู้ปกครองจะถูกลงโทษตามระเบียบของโรงเรียน เพราะ

ถอื ว่าปลอมแปลงเอกสารและแจ้งความเทจ็ แก่โรงเรยี น
5. ในกรณีที่นักเรียนขาดเรียนติดต่อกันตั้งแต่ 3 วันโดยไม่ส่งใบลาหรือแจ้งให้โรงเรียนทราบจะ

ด�ำเนนิ การดังน้ี
- ครทู ปี่ รกึ ษาจะแจง้ ผปู้ กครอง ถา้ ยงั ไมไ่ ดร้ บั การตดิ ตอ่ ครทู ปี่ รกึ ษาจะออกใบแจง้ เปน็ ครงั้ ที่ 2

โดยส่งจดหมายลงทะเบยี น
- หากไม่ได้รับการติดต่อภายใน 7 วัน ครูที่ปรึกษาจะเสนอกลุ่มบริหารงานบุคคลเพื่อ

น�ำเสนอหวั หน้าสถานศึกษาพจิ ารณา

89

เมือ่ มกี จิ กรรมท่ตี ้องมาทำ� ทีโ่ รงเรียนในวนั หยุด

1. ต้องมคี รคู วบคุมดูแล โดยครผู ู้ควบคุมต้องแจ้งให้ผู้อ�ำนวยการทราบหรือขออนญุ าตก่อน
2. นักเรียนต้องได้รบั อนุญาตจากผู้ปกครองก่อน โดยต้องมีจดหมายของผู้ปกครองยืนยันด้วย
3. การเขา้ มาในโรงเรยี นตอ้ งแลกบตั รนกั เรยี นหรอื บตั รประชาชนไวท้ ยี่ ามเมอื่ ผา่ นประตทู างวดั สงิ ห์

ทุกครงั้
4. ผู้ท่ีมิได้รับอนุญาตโดยถูกต้องจะไม่มีสิทธ์ิเข้าในโรงเรียนหรือเม่ือเข้ามาแล้วจะต้องถูกให้ออก

จากโรงเรียน
5. ถ้ากิจกรรมนนั้ ก่อให้เกดิ ความเสียหายใด ๆ ขน้ึ หรือกระทำ� ไม่เปน็ ไปตามทขี่ ออนญุ าต ครูควร

จะสัง่ ให้หยุดท�ำกจิ กรรมนน้ั และให้นักเรียนออกไปจากโรงเรยี น

บัตรประจำ� ตวั นกั เรียน

นักเรียนทกุ คนต้องมีบตั รประจำ� ตัว ซ่ึงทางโรงเรียนจะเป็นผู้ออกให้โดยนกั เรียนต้องปฏิบัตดิ งั นี้
1. นกั เรียนจะต้องนำ� บัตรประจำ� ตัวติดตัวเสมอเม่ือมาโรงเรียน
2. เมือ่ จะตดิ ต่องานกบั ฝ่ายต่างๆ ของโรงเรยี นหรือการเข้าสอบจะต้องแสดงบตั รทุกครั้ง มฉิ ะนั้น

อาจไม่ได้รับการบรกิ ารหรืออนุญาตให้เข้าสอบ
3. เม่ือบัตรประจ�ำตัวหายหรือช�ำรุดจะต้องแจ้งกลุ่มบริหารงานบุคคลทราบและขอท�ำบัตรใหม่

พร้อมชำ� ระเงินค่าธรรมเนยี ม


90

หมวดท่ี 3 วา่ ดว้ ยการแตง่ กายของนักเรยี นโรงเรยี นมัธยมวัดสงิ ห์
ระเบยี บการแต่งกาย

เครือ่ งแบบนักเรยี นชาย

กางเกง กางเกงทรงนกั เรยี นขาสนั้ ใช้ผ้าโทเรสดี ำ� เนอื้ ผ้าเรยี บ เมอ่ื ใช้แล้วสไี ม่ตกหรอื ซดี ไม่คบั หรอื
หลวมจนเกนิ ไป ขอบเอวมีขนาดกว้าง 3 - 3.5 ซม. หกู างเกงกว้างไม่เกิน 1 ซม. มหี ู 5 หรอื 7 หู ไว้ร้อยเข็มขดั
มจี บี ด้านหน้า 2 จบี มกี ระเป๋าข้างตรงตามแนวตะเขบ็ ทง้ั สองข้างไม่มกี ระเป๋าหลงั กางเกงสนั้ เหนอื เข่าวดั จาก
กลางลูกสะบ้าประมาณ 5 ซม. เมื่อยืนตรงขอบขากางเกงห่างจากขาต้ังแต่ 8 - 10 ซม. ปลายขาพับเข้า
ข้างในกว้าง 5 ซม. เป้ากางเกงผ่าด้านหน้าใช้ซิปซ่อนไว้ข้างในสวมทับชายเส้อื ไว้ข้างใน อย่างเรยี บร้อย
เส้อื ใช้ผ้าโทเรเนือ้ เกลย้ี งเรียบไม่มีลวดลาย ไม่มนั หรือบาง แบบเสอ้ื เชิ้ตคอพบั ปกเส้ือไม่เล็กหรอื
ใหญ่เกินไป ไม่ติดกระดุมทป่ี กผ่าอกตลอด สาบนอกขนาด 3 - 4 ซม.ไม่มีสาบหรือจีบหลงั ใช้กระดมุ สขี าว
เส้นผ่าศนู ย์กลาง 1 ซม. ตัวเสือ้ ไม่ตเี กล็ดเพอ่ื เข้ารปู หรือตัวใหญ่เกินไป ไหล่เส้ือไม่ตกจากบ่า แขนเส้ือยาว
เสมอข้อศอกเม่อื ยกแขนขนานกับพืน้ ความกว้างของแขนเสอ้ื วดั จากแขน 5 - 10 ซม. มกี ระเป๋าเบอ้ื งซ้าย
อย่รู ะดบั ราวนม (รมิ บนอยู่ระหว่างกง่ึ กลาง ลกู กระดมุ บนลกู ทส่ี องกบั ลกู ทสี่ ามนบั จากลกู บนสดุ ) ขนาดกว้าง
9 -13 ซม. ลึก 10 - 15 ซม.
เขม็ ขดั สดี ำ� ไม่มลี วดลายทำ� ด้วยหนงั ขนาดกว้าง 2.5 - 4 ซม. หวั โลหะสีเงนิ สี่เหลีย่ มมน มีเข็มกลัด
อันเดียว มีปลอกสีเดียวกับตัวเข็มขัดหนึ่งปลอกไว้สอดปลายเข็มขัด ปลายหางเข็มขัดไม่ตัดเป็นชายธง
หรอื ส้ันเกนิ ไป
รองเทา้ ใช้รองเทา้ ผา้ ใบสดี ำ� หมุ้ สน้ หวั มน ส้นเตยี้ สงู ไมเ่ กนิ 3 ซม. ชนดิ ผกู เชอื กธรรมดาไม่มลี วดลาย
ใด ๆ เชือกผูกและตาไก่ร้อยเชอื กสเี ดียวกบั รองเท้า
ถงุ เทา้ สีขาว เนอื้ ไม่บางหรือหนาเกนิ ไป ไม่ฟหู รือนูนเปน็ ลกู ฟูก ทอด้วยไนล่อนแนวเดยี วไม่ใหญ่
ไม่มลี วดลาย ความยาวครงึ่ น่อง ไม่พับ

91

ทรงผมนกั เรยี นชาย
นักเรยี นชายให้ไว้ผมรองทรงสงู ผมด้านข้างและด้านหลงั ต้องยาวไม่เกนิ ตีนผม ด้านหน้ายาวไม่เกิน
3 ซม. ไม่ใส่น�้ำมนั เจล ไม่เปลยี่ นสผี ม ไม่กัดสีผม ไม่กนั และแกะลายผม ไม่ไว้หนวดเครา

เครือ่ งแบบนักเรียนหญิง

กระโปรง กระโปรงสีกรมท่าใช้ผ้าโทเรเนอื้ เกลีย้ งไม่มลี วดลาย ขอบกระโปรงขนาด 2.5 - 3 ซม.
เอวไม่ต่�ำ ตัวกระโปรงด้านหน้าและด้านหลังพับจีบให้ลึก ข้างละ 3 จีบ หันจีบออก ด้านนอกตีเกล็ดทับ
บนจีบยาว 10 ซม. เว้นระยะตรงกลางพองาม เมอ่ื ยนื ตรงความยาวของกระโปรงคลุมเข่าเกินลงไป 3 นว้ิ
ไม่เย็บปลายสอบเข้าหรือเย็บตรงชายกระโปรง เย็บบานออกเป็นทรงเอ (A) มีกระเป๋าแนวเดียวกับตะเข็บ
ข้างขวา 1 กระเป๋า ขอบกระโปรงพับตลบ ด้านในกว้าง 6 ซม. เอวอยู่พอดี ไม่หลวม ไม่พบั ขอบเมื่อสวม
เสอ้ื ใช้ผ้าโทเรสขี าวเนอื้ เกลี้ยงเรยี บไม่มีลวดลาย ไม่มนั และไม่บางเกินควร ตัวเสื้อหลวม พอสวม
เสือ้ ได้สะดวก
นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น เสื้อคอปกทหารเรือ สาบตลบเข้าข้างใน ส่วนบนของสาบให้ใหญ่
เมอ่ื แบะคอแล้วไม่เหน็ ตะเขบ็ ข้างใน ปกขนาด 10 ซม. ใช้ผ้าสองชนั้ เยบ็ แบบเข้าถำ้� แขนยาวเหนอื ศอกเลก็ น้อย
ปลายแขนจีบเลก็ น้อย ขอบปลายแขนประกอบด้วยผ้า 2 ชั้น กว้าง 3 ซม. ความยาวของตวั เสือ้ เม่ือยืนตรง
วดั จากข้อมือ (กระดูกข้อมอื ) ขนึ้ มาไม่เกนิ 5 ซม. และไม่ยาวกว่าข้อมือ ชายขอบเสอื้ พับเข้าข้างในไม่เกิน
3 ซม. กระเป๋าติดตอนล่างด้านขวาขนาดกว้าง 7 - 8 ซม. ความกว้างของโบว์ไม่ต่�ำกว่า 3 นิ้ว ใช้แบบ
ผูกเสรจ็ เมอื่ ผูกแล้วให้เงื่อนกะลาสอี ยู่ตรงระดบั รอยพบั ของปก
นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เสอื้ คอเชติ้ ผ่าอกตลอด สาบตลบเข้าข้างในกว้าง 3 ซม. มกี ระดมุ
กลมสีขาว 5 เม็ด ตวั เส้ือไม่มเี กลด็ เพ่อื เข้ารูป ตวั ไม่ใหญ่เกินไป ไหล่เส้อื ไม่ตกจากบ่า แขนเส้อื ยาวเหนือศอก
เลก็ น้อย ปลายแขนจีบเลก็ น้อย ปลายแขนมขี อบพบั ขนาด 3 ซม. สอดชายเส้อื ไว้ในกระโปรงอย่างเรยี บร้อย
นักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ต้องใส่เส้ือบังทรง (เส้ือทับ) คอกระเช้า
ใหเ้ รยี บรอ้ ย ไมใ่ สเ่ สอ้ื ชน้ั ในแบบสายไขวค้ ลอ้ งคอ ใหใ้ สเ่ สอื้ ชนั้ ในและเสอ้ื บงั ทรงสขี าวหา้ มใสส่ อี นื่ ไมม่ ลี วดลาย

92

เข็มขัด เข็มขัดใช้เฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้เข็มขัดหนังสีด�ำกว้าง 3 - 4 ซม.
หวั รปู ส่ีเหล่ยี มผืนผ้า หนังหุ้มสดี ำ� มปี ลอกสีดำ� หนงึ่ ปลอกคาดทับกระโปรง
รองเท้า ใช้รองเท้าสีด�ำแบบนักเรียน มีสายรัดในตัว ไม่มีลวดลายส้นเตี้ยสูงไม่เกิน 3 ซม.
วันท่มี เี รียนหรอื ฝึกวิชาพลศกึ ษาอนญุ าตให้สวมรองเท้าเครอื่ งแบบวชิ าพลศกึ ษาได้
ถุงเท้า ถุงเท้าสีขาว เนื้อไม่บางหรือหนาเกินไป ไม่ฟูหรือนูนเป็นลูกฟูก ทอด้วยไนล่อนแนวเดียว
ไม่ใหญ่ ไม่มลี วดลาย ความยาวครง่ึ น่องและพบั เหนอื ข้อเท้าสองทบ ขนาดกว้าง 1.5 - 2 ซม.
ทรงผม
นกั เรยี นหญงิ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ตดั สนั้ ตรงโดยรอบศรี ษะแบบทรงนกั เรยี นความยาวเสมอตงิ่ หู
หวีแสกข้างติดก๊บิ ธรรมดาสดี ำ� ด้านข้างบรเิ วณขมับห้ามดึงผมไปตดิ กบิ๊ กลางศรี ษะ หรือไว้ผมยาวเสมอกนั
ไม่เกินสะบกั หลงั ถักเปีย 2 ข้างและผกู โบว์ทับให้เรียบร้อย
นักเรียนหญิงมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัดส้ันตรงทรงนักเรียน ความยาวไม่เกินปกเสื้อ ถ้าไว้
ผมยาวต้องไม่เกินสะบกั หลัง ถกั เปียเดียวธรรมดาจากกลางศรี ษะแล้วผกู โบว์ทบั ให้เรียบร้อย
หมายเหตุ ใช้ริบบิ้นตามสีที่โรงเรียนก�ำหนดเท่านั้น โดย ม.1, ม.4 ก�ำหนดให้ใช้ริบบ้ินสีนำ้� เงิน
ม.2, ม.5 กำ� หนดให้ใช้ริบบิน้ สนี ำ้� ตาล ม.3, ม.6 กำ� หนดให้ใช้ริบบนิ้ สดี ำ�
ทรงผม หา้ มซอยผมทกุ ชนดิ หา้ มดดั ผม หา้ มโกรกหรอื ยอ้ มสผี ม หา้ มตอ่ ผมแฟชน่ั หา้ มตดั ผมดา้ นหนา้
(ผมม้า) หา้ มประดับผมด้วยวตั ถุอ่นื ใด หา้ มสไลดผ์ มดา้ นข้างหรือปลายผม

93

การปักอักษรย่อโรงเรียน ใช้ปักอักษรย่อชื่อโรงเรียน “ม.ว.ส.” ตามแบบของโรงเรียนท่ีอกเสื้อ
เบือ้ งขวาด้วยด้ายหรือไหมสนี ำ้� เงนิ ปกั จดุ บอกระดบั ชั้นใต้ชอ่ื (ความกว้างของจุดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 ซม.)
การตดิ เครอ่ื งหมายโรงเรยี น เฉพาะนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ใหต้ ดิ เครอ่ื งหมายโรงเรยี น
ตามแบบของโรงเรยี นที่อกเสอ้ื เบ้ืองขวาเหนืออักษรชอื่ โรงเรียน
การปกั ชอ่ื นักเรยี นทุกคนปักชื่อและนามสกลุ ของตนเองด้วยไหมสีน�้ำเงินอกั ษรสูง 1/2 ซม. ทเ่ี ส้อื
ด้านซ้ายมอื เหนือกระเป๋า ระดบั เดียวกบั อักษรย่อ “ม.ว.ส.”
การปกั รหัสชั้น
ให้ใช้รหสั บอกช้ัน โดยปักใต้ชือ่ นกั เรียนและใช้ระบบตามตัวอย่างนี้
ช้ัน ม.1 ใช้รหัส l
ชั้น ม.2 ใช้รหสั l l
ชน้ั ม.3 ใช้รหสั l l l
ช้ัน ม.4 ใช้รหสั l
ชน้ั ม.5 ใช้รหสั l l
ชั้น ม.6 ใช้รหัส l l l



การปักรหัสช้ันให้ใช้วงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 ซม. ปักด้วยด้ายหรือไหมสีน้�ำเงิน
ปกั เตม็ วงกลม (ตรงกลางระหว่างช่อื และนามสกุล)

94









เครือ่ งแบบพลศึกษานักเรยี นชาย

กางเกง ใช้กางเกงขายาว ผ้ายดื สกี รมท่าขลบิ สชี มพู
เส้ือ ผ้าโทเรสีชมพู ไหล่สโลป มีกระเป๋าเบ้ืองซ้ายอยู่ระดับราวนม มีตราเคร่ืองหมายโรงเรียน
ทกี่ ระเปา๋ เสอื้ ปกั ชอ่ื นามสกลุ ดา้ นขวาดว้ ยไหมสนี ำ้� เงนิ ปกั จดุ บอกระดบั ชน้ั ใตช้ อื่ ระดบั แนวขอบบนของกระเปา๋ เสอื้
ชายเสอ้ื ไว้นอกกางเกง
รองเทา้ - ถงุ เท้า ใช้รองเท้าผ้าใบและถุงเท้าเครือ่ งแบบนกั เรียนชาย

เคร่อื งแบบพลศกึ ษานกั เรียนหญงิ

กางเกง กางเกงขายาว ผ้ายืด สกี รมท่าขลบิ สีชมพู
เส้อื แบบเดียวกันกบั นักเรียนชาย
รองเท้า - ถุงเทา้ ใช้รองเท้าผ้าใบหุ้มส้นสขี าวหัวมน ส้นเตยี้ สูงไม่เกนิ 3 ซม. ชนดิ ผกู เชอื ก ไม่มี
ลวดลายใด ๆ เชอื กผูกสีเดียวกับรองเท้า ถงุ เท้าใช้แบบเดียวกบั ถุงเท้านักเรียน
การแต่งกายเครื่องแบบพลศกึ ษา
1. ให้นกั เรียนแต่งเครือ่ งแบบพลศึกษามาเรียนได้เฉพาะวันทีม่ กี ารเรยี นวิชาพลศึกษาเท่าน้นั
2. อนุญาตให้นักเรยี นแต่งเครือ่ งแบบวิชาพลศกึ ษามาจากบ้านได้
3. ให้นกั เรียนทแ่ี ต่งเครื่องแบบวชิ าพลศึกษาเรยี นวชิ าการอ่ืน ๆ ได้

99

เครื่องแบบกิจกรรม

ให้ใช้ตามแบบที่กิจกรรมน้ันก�ำหนด โดยได้รับอนุญาตให้ใช้จากทางโรงเรียนและให้ใช้ในวันท่ีมี
การเรยี นกิจกรรมหรอื วันทีป่ ฏิบตั กิ จิ กรรมเท่านั้น
กระเปา๋ หนงั สอื เพอื่ ความสะดวกในการนำ� หนงั สอื และอปุ กรณ์การเรยี นมาโรงเรยี นและกลบั บ้าน
จึงกำ� หนดให้นักเรยี นทุกคนมีกระเป๋าเพอ่ื ใส่หนงั สอื และอปุ กรณ์การเรียนตามแบบต่าง ๆ ดังนี้
1. กระเป๋าหนังหรอื พลาสติกสีด�ำ มฝี าพับปิดด้านหน้า
2. กระเป๋าหนังหรอื พลาสติกสีด�ำ มีซิปเปิด - ปิดด้านบน
3. กระเป๋าเป้ ตามแบบทีโ่ รงเรยี นกำ� หนดมีตราสัญลกั ษณ์โรงเรียน ห้ามใช้ เป้ ย่าม กระเป๋าสาน

หรอื กระเป๋าอ่นื ใดทีผ่ ดิ จากแบบทโ่ี รงเรยี นกำ� หนดข้างต้น
4. กระเป๋าหว้ิ ใส่อุปกรณ์เฉพาะทโ่ี รงเรยี นจดั ท�ำเท่านนั้

100


Click to View FlipBook Version