The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0909, 2022-07-23 14:07:40

คู่มือนักเรียน 2565

คู่มือนักเรียน 2565

อุปกรณ์ส่อื สาร

กรณกี ารนำ� อุปกรณ์ส่ือสารมาโรงเรียน ถ้าสญู หายโรงเรยี นจะไม่รับผิดชอบ
เครื่องประดับ ห้ามใช้เครื่องประดับและเคร่ืองส�ำอางทุกชนิดตกแต่งร่างกาย (แม้จะเป็นต่างหู
แหวนพระ แหวนรุ่นหรือด้ายมงคลกต็ าม) เว้นแต่
1. นาฬิกาข้อมือต้องมีสายเป็นสแตนเลส หนัง หรือผ้าและมีขนาดสายกว้างไม่เกิน 2 ซม. ไม่มี

ลวดลายสฉี ูดฉาด
2. สายสร้อยคอเพ่ือแขวนพระหรือเครื่องหมายศาสนา ต้องเป็นสายสร้อยสแตนเลสเท่านั้น

มคี วามยาวไม่เกนิ 6 นวิ้ เมอื่ วดั จากลำ� คอ หรอื ซ่อนอยู่ในเสอ้ื แหวนพระหรอื ด้ายมงคลใช้สร้อย
หรือผูกติดไว้กับปลายสร้อยกรณีตรวจพบเคร่ืองประดับหรือของมีค่าจะริบหรือเก็บรักษาไว้
ไมเ่ กนิ 15 วนั ให้ผ้ปู กครองมาตดิ ตอ่ ขอรบั ด้วยตนเอง หากพน้ กำ� หนดจะไมร่ บั ผดิ ชอบใด ๆ ทง้ั สน้ิ
3. อปุ กรณ์เครื่องมอื จดั ฟนั ต้องมีใบรับรองแพทย์
4. คอนแทคเลนส์ให้ใช้สีและขนาดธรรมชาติ
5. แว่นสายตาและกรอบแว่นให้ใช้สดี �ำหรือสีน้�ำตาล

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
(3 = ดีเย่ียม, 2 = ด,ี 1 = ผ่านเกณฑ์, 0 = ไม่ผ่านเกณฑ์)

ขอ้ 1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ขอ้ 8 สรปุ ผล
รักชาต ิ ซือ่ สตั ย์ มวิี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง มุ่งมัน่ รักความ มีจติ
ศาสน์ กษตั รยิ ์ สุจรติ พอเพยี ง ในการทำ� งาน เปน็ ไทย สาธารณะ

101

หมวดที่ 4 ว่าดว้ ยการสง่ เสริมใหน้ กั เรยี นมคี ุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
และการตัดคะแนนพฤติกรรมของนักเรยี นโรงเรียนมธั ยมวดั สิงห์

เพ่ือให้การควมคุบความประพฤติของนักเรียนเป็นไปอย่างได้ผล มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
ตลอดจนสามารถท�ำให้นักเรียนแข่งขันกันในด้านการท�ำความดี อันก่อให้เกิดการส่งเสริมชื่อเสียงและ
เกียรตศิ กั ดแิ์ ห่งโรงเรยี นให้ดียิ่งข้นึ

โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์จงึ ได้วางระเบียบว่าด้วย “คะแนนความประพฤตินกั เรียน พ.ศ. 2550” ดังนี้
ขอ้ 1 ระเบียบนเี้ รยี กว่า “ระเบยี บว่าด้วยคะแนนความประพฤตนิ ักเรียน พ.ศ. 2550”
ขอ้ 2 กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั อนื่ ใดทข่ี ดั หรอื แยง้ กบั ระเบยี บนใี้ หถ้ อื วา่ ระเบยี บนถี้ กู ตอ้ งและใชร้ ะเบยี บนแ้ี ทน
คะแนนนักเรยี น
ขอ้ 3 แต่ละปีการศึกษา นักเรียนแต่ละคนจะมีคะแนนความประพฤติ 100 คะแนน
ขอ้ 4 นกั เรยี นคนใดถกู ตดั คะแนนความประพฤตติ ง้ั แต่ 20 คะแนนขนึ้ ไป ทางโรงเรยี นจะดำ� เนนิ การ ดงั นี้

4.1 ตดั คะแนนความประพฤตติ ้งั แต่ 20 - 98 คะแนน ด�ำเนนิ การว่ากล่าวตักเตอื น บันทกึ
พฤตกิ รรมและแจ้งแก่ผู้ปกครองทราบและบำ� เพญ็ ประโยชน์

4.2 นกั เรยี นทถ่ี กู หกั คะแนน 100 คะแนน ใหค้ ณุ ครทู ปี่ รกึ ษาเชญิ ผปู้ กครองมาพบทโี่ รงเรยี น
พบกับ คุณครูที่ปรึกษาและหัวหน้าระดับ พร้อมท�ำบันทึกการพบผู้ปกครองและ
ข้อตกลงระหว่างผู้ปกครองนักเรียนและโรงเรียนครั้งท่ี 1

4.3 นกั เรียนทถี่ กู หกั คะแนน 140 คะแนน พบหวั หน้าระดับและรองผู้อำ� นวยการโรงเรยี น
ท�ำตามข้อตกลงท่ีท�ำไว้ในครั้งท่ี 1 และท�ำข้อตกลงระหว่างผู้ปกครองนักเรียนและ
โรงเรยี นครงั้ ที่ 2

4.4 นักเรียนที่ถูกหักคะแนน 180 คะแนน พบหัวหน้าระดบั และรองผู้อ�ำนวยการโรงเรยี น
ท�ำตามข้อตกลงที่ท�ำไว้ในคร้ังที่ 2 และท�ำข้อตกลงระหว่างผู้ปกครองนักเรียนและ
โรงเรียนครัง้ ที่ 3

4.5 นกั เรยี นทถ่ี กู หกั คะแนน 200 คะแนน ใหน้ กั เรยี นเขา้ โครงการพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ตามคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ และผู้ปกครองเปน็ ผู้รับผดิ ชอบ ค่าใช้จ่ายท้ังหมด

102

4.6 ตัดคะแนนความประพฤติต้ังแต่ 15 คะแนนข้ึนไปโรงเรียนจะงดการพิจารณา
“เดก็ ดีศรี ม.ว.ส.” ประจำ� ปีน้นั

4.7 นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ถกู ตดั คะแนนความประพฤตติ ง้ั แต่ 70 คะแนน จะถกู ตดั สทิ ธิ์
การศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ (ถ้าถูกตัดคะแนนต้ังแต่
70 คะแนน ต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการการรับนักเรียนประจำ� ปี)

อ�ำนาจในการตดั คะแนน
ขอ้ 5 ครูโรงเรยี นมธั ยมวดั สงิ ห์ มีอำ� นาจในการตดั คะแนนความประพฤตนิ ักเรียน ดังนี้

5.1 ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ตัดคะแนนความประพฤติได้ตามความเหมาะสม ท้ังนคี้ รงั้ ละ
ไม่เกนิ 100 คะแนน

5.2 รองผู้อำ� นวยการโรงเรียน กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ กลุ่มบรหิ าร
งบประมาณ และกลุ่มบริหารท่ัวไป ตัดคะแนนความประพฤติได้ครั้งละไม่เกิน
60 คะแนน

5.3 ผู้ช่วยรองผู้อ�ำนวยการโรงเรียนทุกกลุ่มบริหารโรงเรียน ตัดคะแนนความประพฤติ
ได้ครั้งละไม่เกนิ 50 คะแนน

5.4 หวั หนา้ ระดบั หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ หวั หนา้ งาน ตดั คะแนนความประพฤตไิ ดค้ รงั้ ละไมเ่ กนิ
40 คะแนน

5.5 ครทู ป่ี รกึ ษา ครปู ระจำ� วชิ า ครทู พี่ บเหน็ การกระทำ� ความผดิ และบคุ ลากรของโรงเรยี น
ตดั คะแนนความประพฤตไิ ด้ครง้ั ละไม่เกิน 30 คะแนน

ประเภทความผิดและการตดั คะแนนความประพฤติ
ขอ้ 6 ให้จำ� แนกประเภทความผดิ เปน็ 5 ประเภท ตามความหนกั เบาของการกระท�ำความผดิ และ

ให้พิจารณา “เจตนา” ในการกระท�ำความผิด
6.1 ความผดิ สถานเบา ตดั คะแนนคร้ังละ 5 คะแนน
6.1.1 ส่งเสยี งดังอึกทกึ ในห้องเรยี น
6.1.2 ไม่รักษาเวลาในการเรยี น
6.1.3 ไม่รกั ษาความสะอาดห้องเรยี นหรือบริเวณทก่ี ระทำ� ธรุ กรรม

103

6.1.4 กล่าวค�ำหยาบ
6.1.5 นำ� อาหาร - เครื่องด่ืมออกนอกบริเวณท่ีก�ำหนด
6.1.6 ไม่นำ� บัตรประจ�ำตวั นกั เรียนมาโรงเรยี น
6.1.7 ไม่ปกั อกั ษรย่อของโรงเรยี น ชอ่ื - สกลุ และเครอ่ื งหมาย
6.1.8 แต่งกายผดิ ระเบยี บ เช่น ทรงผม เสื้อกางเกง กระโปรง ฯลฯ
6.1.9 นักเรียนชายเอาเส้ือออกนอกกางเกง นักเรียนหญิงมัธยมศึกษาตอนปลาย

เอาชายเสอื้ ออกนอกกระโปรง นกั เรยี นชาย - หญงิ แตง่ กายชดุ กจิ กรรมไมเ่ รยี บรอ้ ย
6.1.10 รองเท้าถุงเท้าผิดระเบยี บ
6.1.11 นกั เรียนชาย - หญงิ ใส่รองเท้าเหยยี บส้น
6.1.12 ไมร่ กั ษาความสะอาดของเครอื่ งแตง่ กายและอปุ กรณท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เครอ่ื งแบบ

นกั เรียน
6.1.13 นักเรียนทก่ี ระท�ำความผดิ สถานเบาแต่กระท�ำความผิดบ่อยครัง้ หรอื เนอื ง ๆ

โรงเรียนจะพิจารณาโทษเพิ่มทวีคูณ โดยเชิญผู้ปกครองรับทราบและแก้ไข
ถ้ายงั ไม่เปลยี่ นพฤติกรรมโรงเรยี นจะใช้สิทธดิ ำ� เนนิ การข้ันสถานหนกั ต่อไป
6.2 ความผดิ สถานกลางตดั คะแนนคร้ังละ 10 คะแนน
6.2.1 ขาดเรียนโดยไม่แจ้งเหตผุ ล โดยขาดเรียนตดิ ต่อกนั เกนิ 3 วนั
6.2.2 แสดงกิริยา วาจา ขาดความเคารพครหู รอื บคุ คลทวั่ ไป
6.2.3 หนชี ั่วโมงเรียน
6.2.4 ออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไม่ได้รับอนญุ าต
6.2.5 ปีนร้ัวโรงเรยี นเข้าหรอื ปีนรัว้ โรงเรยี นออก
6.2.6 นำ� รถจักรยานยนต์มาโรงเรยี น ทง้ั ในเวลาและนอกเวลาเรยี น
6.2.7 ขาดเรยี นและมาโรงเรยี นสายโดยไม่มเี หตผุ ลอนั ควรและบ่อยครงั้ สายเนอื ง ๆ
6.2.8 แสดงกิรยิ าวาจาไม่สุภาพกับนกั เรียนด้วยกนั
6.2.9 หลกี เลยี่ งการเข้าแถวและเคารพธงชาติ
6.2.10 กรณีครผู ู้สอนไม่อนุญาตให้ใช้โทรศัพท์มือถือในช่วั โมงเรียน

104

6.2.11 ก่อการทะเลาะวิวาทกบั เพ่ือนในโรงเรียนเดียวกนั
6.2.12 มาไม่ถึงโรงเรยี น
6.2.13 นกั เรียนมาโรงเรียนสายหลงั เวลา 08.00 น.
6.2.14 นักเรียนทำ� สผี มให้ผิดจากธรรมชาติ

6.3 ตดั คะแนนความประพฤตคิ รั้งละ 20 คะแนน
6.3.1 แสดงกิริยา วาจาไม่สภุ าพหรอื แสดงอาการกระด้างกระเด่ืองต่อครู
6.3.2 เป็นผู้ยยุ งให้เกิดความแตกแยกความสามคั คีในหมู่คณะหรอื ต่อต้านระเบยี บ

ของโรงเรียน
6.3.3 มีอปุ กรณ์การพนันไว้ในครอบครอง
6.3.4 พดู จาหรอื ขู่กรรโชกโดยหวังเอาทรัพย์สนิ ของผู้อน่ื
6.3.5 ลักขโมยสิ่งของนักเรียน
6.3.6 เทยี่ วกลางคนื เปน็ นจิ หรอื เขา้ ไปในสถานทท่ี ไ่ี มเ่ หมาะสมกบั สภาพการเปน็ นกั เรยี น

6.4 ความผิดร้ายเรง ตดั คะแนนคร้ังละ 30 คะแนน
6.4.1 ก่อเหตุทะเลาะวิวาทกันรุนแรงกับเพื่อนโรงเรียนเดียวกันหรือต่างโรงเรียน

โดยมีอาวุธ
6.4.2 พกพาอาวธุ หรอื น�ำอาวธุ มาโรงเรียน
6.4.3 พฤติกรรมชู้สาว ประพฤตปิ ระเวณี
6.4.4 ขดั ขวางการปฏิบัติหน้าท่ีของครู
6.4.5 ประทุษร้ายเพอื่ นนกั เรียน
6.4.6 ก่อความไม่สงบทำ� ให้เกดิ ความสบั สนวุ่นวายในโรงเรยี น
6.4.7 ทำ� ลายทรัพย์สมบัติของโรงเรยี น
6.4.8 ลักขโมยสมบตั ิของโรงเรียน
6.4.9 เล่นการพนนั
6.4.10 สูบบหุ รี่ ดืม่ สุรา ด่ืมของมนึ เมา เสพยาเสพตดิ ร้ายแรงผดิ กฎหมายหรือมีไว้

ในครอบครอง

105

6.4.11 ประทษุ ร้ายร่างกายผู้อน่ื เพ่ือประสงค์ทรพั ย์สนิ
6.4.12 ขาดเรียนนานตดิ ต่อกนั เกนิ 15 วนั โดยไม่ทราบสาเหตุ
6.4.13 ชักน�ำหรือนำ� บคุ คลภายนอกเข้ามาทะเลาะววิ าทภายในโรงเรยี น
6.4.14 นักเรียนหญิงซอยผมผดิ จากทรงนักเรียน นกั เรยี นชายตดั ผมทรงสกินเฮด
6.4.15 กอ่ เหตทุ ะเลาะววิ าทกบั นกั เรยี นดว้ ยกนั ภายนอกโรงเรยี นหรอื กบั นกั เรยี นตา่ งสถาบนั
6.4.16 กระทำ� ความผดิ ทางอาญาหรอื ถกู เจ้าหนา้ ทต่ี ำ� รวจจบั ดำ� เนนิ คดที างกฎหมาย

เวน้ แตค่ วามผดิ นนั้ เปน็ ลหโุ ทษหรอื กระท�ำโดยประมาท ทงั้ นใี้ หพ้ จิ ารณาผลเสยี
แห่งกรณี
6.4.17 ลกั ษณะความผดิ อ่ืนทโี่ รงเรียนเหน็ สมควรพิจารณาโทษตามกรณีความผิด
การหามาตรการ การมาสายของนกั เรียน
6.5 การตัดคะแนนความประพฤตกิ ารมาโรงเรียนสาย ดงั น ี้
6.5.1 มาสาย 07.41 - 08.00 น. หักคะแนนพฤติกรรม 5 คะแนน และให้เข้าแถว
ทสี่ นามปฏิบตั ิกิจกรรมเหมือนนกั เรียนที่มาเข้าแถวตอนเช้า
6.5.2 มาสาย 08.01 - 08.50 น. หกั คะแนนพฤตกิ รรรม 10 คะแนน
6.5.3 มาสาย 08.51 - 09.40 น. หกั คะแนนพฤตกิ รรรม 15 คะแนน
6.5.4 มาสาย 09.41 - 10.30 น. หักคะแนนพฤตกิ รรรม 20 คะแนน
6.5.5 มาสาย 10.31 - 11.20 น. หกั คะแนนพฤตกิ รรรม 25 คะแนน
6.5.6 มาสาย 11.21 - 12.10 น. หักคะแนนพฤตกิ รรรม 30 คะแนน
6.5.7 มาหลัง 12.11 น. ให้นักเรียนไปศึกษาด้วยตนเองที่บ้าน ยกเว้น นักเรียน
ที่ไปหาหมอ มใี บรบั รองแพทย์มาแสดง หรอื มผี ู้ปกครองมารับรอง
การเพิม่ คะแนนความประพฤตินักเรยี น
ข้อ 7 การเพิ่มคะแนนความประพฤตนิ ักเรยี นท่ีกระทำ� ความดี พจิ ารณาตามกรณี ดงั น้ี
7.1 เพิม่ คร้งั ละ 5 คะแนน
7.1.1 เกบ็ เงินหรอื ส่ิงของมรี าคาตำ�่ กว่า 50 บาท นำ� ส่งเพอ่ื ประกาศหาเจ้าของ
7.1.2 บำ� เพ็ญประโยชน์เพือ่ ช่วยเหลือผู้อืน่

106

7.2 เพิ่มครั้งละ 10 คะแนน
7.2.1 เก็บเงินหรอื สง่ิ ของมรี าคาเกนิ 50 บาทขึน้ ไป นำ� ส่งเพอ่ื ประกาศหาเจ้าของ
7.2.2 ช่วยเหลอื กจิ กรรมหรอื แจ้งเบาะแสให้ครทู ราบแหล่งอบายมขุ หรอื เหตกุ ารณ์

ทก่ี ่อให้เกดิ ความเสยี หายหรือบอกช่อื - สกุลของผู้กระทำ� ความผดิ
7.3 เพิ่มครัง้ ละ 20 คะแนน
7.3.1 นำ� ชื่อเสยี งเกียรติยศมาสู่โรงเรยี น
ขอ้ 8 ในกรณที นี่ กั เรยี นประพฤตผิ ดิ และจะตอ้ งถกู ลงโทษตดั คะแนนความประพฤตเิ กนิ อำ� นาจ

ของผู้ตัดคะแนนให้บันทึกรายงานเสนอต่อผู้มีอ�ำนาจสูงกว่า น�ำเข้าคณะกรรมการ
พิจารณาเป็นผู้ตัดคะแนนตามแบบรายงาน
ขอ้ 9 ในกรณที นี่ กั เรยี นกระทำ� ความดี ใหห้ วั หนา้ ระดบั บนั ทกึ รายงานคะแนนไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน
และส่งให้ครูทป่ี รึกษาเพอื่ ลงบนั ทึกในสมุดประจำ� ตัวนกั เรยี น
ข้อ 10 ให้หัวหน้าระดับท�ำสรุปรายงานตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนและเพิ่มคะแนน
ความประพฤตินักเรียนเป็นรายภาคเรียน เสนอต่อรองผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหาร
งานบคุ คลและผู้อำ� นวยการโรงเรียนเพ่อื ดำ� เนนิ การต่อไป
ขอ้ 11 เม่ือสิ้นภาคเรียนท่ี 2 ของแต่ละปีการศึกษาให้ฝ่ายทะเบียนประวัติสรุปผลรายงาน
การผา่ นชว่ งชน้ั ของนกั เรยี นชว่ งชนั้ ที่ 3 และชว่ งชนั้ ที่ 4 แจง้ ปดิ ภาคเรยี นใหน้ กั เรยี นทราบ
นักเรียนที่ไม่ผ่านให้แสดงความจ�ำนงขอแก้ไขกับกลุ่มบริหารงานบุคคลตามเง่ือนไข
วนั เวลา ที่กำ� หนด
ข้อ 12 เกณฑ์การผ่านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรียน มดี งั นี้
100 คะแนน ระดบั ดเี ย่ยี ม
70 - 99 คะแนน ระดบั ดี
41 - 69 คะแนน ระดับ ผ่าน
0 - 40 คะแนน ระดับ ไม่ผ่าน

107

ขอ้ 13 โรงเรียนมอบหมายอ�ำนาจจากการด�ำเนินการพัฒนาพฤติกรรมนักเรียนและการ
ลงโทษนกั เรยี นใหก้ ลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คลและครทู กุ ทา่ นดำ� เนนิ การตามความเหมาะสม
แก่กรณคี วามผดิ ทงั้ นโี้ ดยยดึ ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการลงโทษนกั เรยี น
นกั ศึกษา พ.ศ. 2548 ในการด�ำเนนิ การอย่างเคร่งครัด

คณุ สมบตั ิของผู้ปกครองนักเรยี น

1. ผู้ปกครอง คอื บดิ ามารดาหรอื ญาตพิ ่ีน้องทมี่ ีอายุ 20 ปีข้ึนไป สามารถปกครองอบรมสง่ั สอน
นกั เรยี นทอ่ี ยู่ภายในปกครองได้ มอี าชพี เป็นหลกั ฐาน ไม่เปน็ นกั เรียน นกั ศึกษาและนิสติ

2. ผู้ปกครองต้องอยู่บ้านเดียวกันกบั นกั เรียน (มีชื่อในทะเบยี นบ้านเดียวกนั )
3. ผู้ปกครองต้องลงชอ่ื ในตวั อย่างลายมอื ผู้ปกครองต่อหน้าครูจึงจะถอื ว่าเป็นลายมอื ทส่ี มบรู ณ์
4. หากผปู้ กครองมคี วามจำ� เปน็ ไมส่ ามารถตดิ ตอ่ กบั ทางโรงเรยี นไดต้ อ้ งมอบหมายเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร

ให้ตัวแทนทีร่ ะบใุ นแบบประวตั นิ ักเรียนเท่านัน้ เป็นผู้มาติดต่อกับทางโรงเรียน
5. นักเรียนคนใดจะเปล่ียนผู้ปกครองต้องแจ้งให้ทางโรงเรียนทราบและน�ำผู้ปกครองใหม่มาท�ำ

หลกั ฐานการเปน็ ผู้ปกครองพร้อมทง้ั สำ� เนาทะเบยี นบ้าน ซงึ่ มชี อื่ นกั เรยี นอยู่ด้วยและนำ� รปู ถ่าย
ผู้ปกครองขนาด 4 x 5 ซม. 1 รูป มาทำ� หลักฐานด้วย
6. นกั เรียนเปล่ยี นที่อยู่ใหม่ต้องแจ้งให้โรงเรยี นทราบทันที
7. หน้าทข่ี องผู้ปกครอง
l จดั หาเครอ่ื งแบบนกั เรยี นทถี่ กู ตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรยี นและจดั หาอปุ กรณใ์ หแ้ กน่ กั เรยี น

ให้ครบถ้วน
l ผ้ปู กครองต้องรบั ผดิ ชอบ ชดใช้ค่าเสยี หายในกรณที น่ี กั เรยี นท�ำลายทรพั ย์สนิ ของโรงเรียน

เสียหาย

108

มาตรฐานทางการศกึ ษาในการดแู ล ติดตามและสกดั กนั้ บุหรี่และสงิ่ เสพตดิ

1. มีการติดตามนักเรียนที่เลิกสูบบุหร่ีจนจบการศึกษา โดยนักเรียนต้องมีสมุดรายงานตัวซึ่งครู
จะบนั ทกึ พฤติกรรมท่ีสงั เกตพบ เช่น มกี ลน่ิ บุหรี่

2. ใช้มาตรการสกดั กนั้ นักเรียนสบู บุหรใี่ นโรงเรียนโดยให้นกั เรียนทสี่ บู บหุ รใี่ นโรงเรียนคดั ลายมือ
คำ� ว่า “โรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ 100%” ลงในสมุดจำ� นวน 1 เล่ม

3. มมี าตรการดแู ลนกั เรยี นทส่ี บู บหุ รใ่ี นโรงเรยี น คอื หากพบวา่ สบู บหุ รจ่ี ะมกี ารตกั เตอื นในครง้ั แรก
และตดั คะแนนความประพฤติ 30 คะแนน เชญิ ผปู้ กครองมารบั ทราบ ถ้าพบครง้ั ต่อไปภาคทณั ฑ์
และเชญิ ผู้ปกครองมารบั ตัวนักเรยี นไปบำ� บัดรกั ษา

4. มีมาตรการดูแลนักเรียนท่ีสูบบุหร่ีในโรงเรียน คือ หากพบว่าสูบบุหร่ีในโรงเรียนคร้ังแรก
จะเชิญผู้ปกครองมารับทราบและลงโทษโดยให้บ�ำเพ็ญประโยชน์ 10 วัน ถ้าจับได้คร้ังท่ี 2
จะถกู จับปรบั 2,000 บาท โดยผู้ปกครองเสียค่าปรบั ที่สถานีตำ� รวจและผู้ปกครองจะต้องพา
นกั เรียนไปรบั การบำ� บัดจนสามารถเลิกบหุ รี่ได้

สิ่งเสพตดิ
1. โรงเรยี นน�ำไปทำ� การตรวจรกั ษาและติดตามแก้ไข
2. เม่ือได้รับการตรวจและแพทย์เห็นว่าไม่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนหรือได้รับการรักษาหายแล้ว

ให้ผู้ปกครองพานักเรียนเข้ารายงานตวั เพ่อื ขอเรยี นต่อไปตามปกติ
3. ผู้ปกครองนักเรียนจะต้องท�ำทณั ฑ์บนไว้กับทางโรงเรยี นและติดตามแก้ไข
4. เม่อื นักเรียนกลับไปเสพสงิ่ เสพติด โรงเรียนจะเชญิ ผู้ปกครองมารับทราบและพจิ ารณาตดิ ตาม

แก้ไขเปน็ ราย ๆ ไป ว่าจะดำ� เนนิ การช่วยเหลืออย่างไรต่อไป

109

เกณฑก์ ารคดั เลอื กนกั เรียนเขา้ รับเกยี รติบัตร
ในงานวันเชิดชเู กียรติ “เด็กดี ศรี ม.ว.ส.”

1. ประเภทนกั เรยี นที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยม
คุณสมบตั ิ

1. เปน็ นกั เรียนโรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์ในระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3
2. เป็นนักเรยี นโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ในระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6
3. มผี ลการเรยี นเฉลีย่ 5 ภาคเรยี น สงู สุดในระดบั ชั้น

2. ประเภทนกั เรยี นท่มี ผี ลการเรยี นดีเย่ียม
คุณสมบัติ

1. มีผลการเรียนเฉลี่ยไม่ตำ�่ กว่า 3.90
2. เป็นนกั เรียระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

3. ประเภทนกั เรยี นที่มคี วามประพฤติดีเย่ียม
คุณสมบตั ิ

มคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ย สมควรเปน็ แบบอยา่ งแกเ่ พอื่ นในหอ้ งเรยี น ไมเ่ คยถกู ตดั คะแนนพฤตกิ รรม

4. ประเภทนักเรียนทส่ี รา้ งชอื่ เสียงใหก้ บั โรงเรียน
คุณสมบัติ

นักเรียนที่มีผลงานในการประกวด แข่งขัน และได้รับรางวัลไม่ต�่ำกว่าระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาขึน้ ไป

5. ประเภทนักเรียนที่มจี ติ สาธารณะดีเยยี่ ม
คุณสมบัติ

นกั เรยี นทีม่ จี ติ สาธารณะอาสาช่วยเหลืองานครู กิจกรรมโรงเรยี น และองค์กรภายนอก

110

6. ประเภทผนู้ ำ� นกั เรียนดเี ยยี่ ม
คณุ สมบตั ิ

1. ปฏบิ ตั หิ น้าท่หี ัวหน้าห้อง, สภานกั เรียน
2. เป็นคณะกรรมการนักเรยี น ปีการศึกษา 2565
3. เป็นสารวตั รนักเรียน ปีการศึกษา 2565
4. เปน็ ประธานคณะสี ปีการศึกษา 2565

การสมคั ร

ครูที่ปรึกษา ครูท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียนประเภทต่าง ๆ เป็นผู้พิจารณาย่ืนแบฟอร์มการคัดเลือก
นกั เรยี นทผ่ี ่านขัน้ ตอนการรบั รองแล้ว พร้อมเอกสารประกอบผ่านหวั หน้าระดับเพอื่ พิจารณา หวั หน้าระดับ
ส่งให้คณะกรรมการคัดเลอื ก “เด็กดีศรี ม.ว.ส.” เป็นผู้พิจารณาการคัดเลอื ก

คณะกรรมการคดั เลอื ก “เด็กดีศรี ม.ว.ส.” ประกอบดว้ ย
1. ครูผู้เสนอชอ่ื นักเรียน เป็นผู้พิจารณาให้เปน็ ไปตามคุณสมบัตทิ ่กี ำ� หนดแต่ละประเภท
2. หัวหน้าทะเบยี นเปน็ ผู้รบั รองผลการเรียน (ประเภทเรียนด)ี
3. ครทู ี่ปรึกษาเปน็ ผู้พจิ ารณาความประพฤติ
4. หวั หน้าระดับชนั้ เปน็ ผู้พิจารณาความประพฤตแิ ละความเหมาะสม
5. คณะกรรมการฝ่ายปกครองเปน็ ผู้พจิ ารณาตดั สินโดยเดด็ ขาด
6. คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นเป็นผู้พิจารณาอนุมตั ิ
หมายเหตุ โรงเรียนขอสงวนสิทธ์ิที่จะไม่มอบเกียรติบัตรให้กับนักเรียนท่ีได้รับการพิจารณาให้เป็น
“เด็กดีศรี ม.ว.ส.” แล้วพบว่าภายหลงั นักเรียนขาดคุณสมบัติตามเกณฑ์ทก่ี ำ� หนดไว้
ให้รองผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคลเป็นผู้รับผิดชอบด�ำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี
ให้เรม่ิ ใช้ระเบยี บน้ี ตั้งแต่ วนั ท่ี 16 พ.ค. 2565 เป็นต้นไป
ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 16 พ.ค. 2565
111 (นายเทพพร อาจเวทย์)
ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนมัธยมวดั สิงห์

112

งานโภชนาการ

(1) เวลารับประทานอาหาร
ภาคเช้า ก่อนเวลา 07.30 น.
ภาคกลางวนั
l คาบเรียนที่ 4 เวลา 11.30 - 12.20 น.
l คาบเรียนท่ี 5 เวลา 11.20 - 12.10 น.
(2) การฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร
l นักเรียนนงั่ รับประทานอาหารในโรงอาหาร และสถานท่ที ่ีจดั ไว้ให้เท่าน้นั
l เข้าแถวซือ้ อาหารหน้าร้านจ�ำหน่ายอาหารทกุ ครั้ง
l ไม่น�ำภาชนะ และอุปกรณ์ในการรบั ประทานอาหารออกนอกโรงอาหารโดยเดด็ ขาด
l รับประทานอาหารเสร็จแล้วให้น�ำภาชนะส่งคืนพร้อมรบั บตั รคนื ในท่ีที่จดั ไว้
l รกั ษาความสะอาดบรเิ วณทน่ี งั่ รบั ประทานอาหาร
l ไม่เคลอ่ื นย้ายโต๊ะอาหาร จากท่จี ดั ไว้
l ไม่ท�ำลายทรัพย์สนิ และบัตรรบั ประทานอาหารให้ชำ� รุดเสียหาย
(3) เง่อื นไขในการใช้บตั รรบั ประทานอาหาร
l บัตรนี้เป็นกรรมสิทธิ์ของงานโภชนาการอาหารโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ใช้เฉพาะในศูนย์

อาหารของโรงเรยี นเท่านั้น
l ส่งบัตรให้ร้านค้าเพือ่ รบั อาหารพร้อมชำ� ระเงนิ
l เม่อื รบั ประทานอาหารเสรจ็ แล้ว ให้นำ� ภาชนะไปคนื ให้ครบถ้วนจะได้รบั บตั รคนื
l บตั รรบั ประทานอาหารตดิ ต่อขอรบั บตั รพร้อมเงนิ มดั จำ� 30 บาท ได้จากกลุ่มบรหิ ารทว่ั ไป
l บตั รแตก บตั รตัดมุม ไม่สามารถนำ� มาใช้ได้ ถือว่าเปน็ บตั รชำ� รุด
l ถ้าจบการศกึ ษา ม.3, ม.6 สามารถคนื บัตรพร้อมรับเงินคืนได้ในกรณีทมี่ ชี ื่อมัดจำ� กบั กลุ่ม

บรหิ ารทว่ั ไปเท่านนั้

113

งานอนามัยโรงเรยี น

เมื่อนักเรียนเกิดเจ็บป่วยในระหว่างเรยี นต้องปฏิบัติ ดงั น้ี
1. กรณเี จบ็ ป่วยเลก็ น้อย
l นักเรียนติดต่อขอรับยาทห่ี ้องพยาบาลและลงช่อื ในเอกสารรบั บรกิ าร
l นักเรียนขออนุญาตนอนพักผ่อน (ครูประจ�ำห้องพยาบาลจะพิจารณาอนุญาตตามความ

เหมาะสม พร้อมท้ังแจ้งครผู ู้สอนประจำ� วชิ าทราบ)
2. กรณีเจบ็ ป่วยมาก
l ให้แจ้งครูประจ�ำห้องพยาบาลทราบ เพื่อรับการปฐมพยาบาลหรือน�ำส่งผู้ปกครอง หาก

เป็นกรณีฉุกเฉินจะน�ำส่งโรงพยาบาลก่อน โดยผู้ปกครองต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย
ทงั้ หมด ยกเวน้ กรณปี ระสบอบุ ตั เิ หตจุ ะเบกิ คา่ รกั ษาจากประกนั อบุ ตั เิ หตตุ ามความคมุ้ ครอง
3. กรณปี ระสบอบุ ตั เิ หตทุ งั้ ในและนอกโรงเรยี นทางโรงเรยี นไดจ้ ดั ทำ� ประกนั อบุ ตั เิ หตหุ มใู่ หก้ บั นกั เรยี นทกุ คน
l นกั เรยี นทที่ ำ� ประกนั อบุ ตั เิ หตหุ ม่ไู ว้กบั โรงเรยี นสามารถเข้ารบั การรกั ษาในโรงพยาบาลหรอื
คลินิกที่ตกลงกับบริษัทประกันโดยไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาล และอยู่ในวงเงิน
ทก่ี ำ� หนด (สามารถโทรศัพท์สอบถามได้ทง่ี านอนามัยโรงเรยี น 02-415-1681 ต่อ 123)
l หากนกั เรียนประสบอบุ ัติเหตไุ ปรบั การรกั ษาจากโรงพยาบาลหรอื คลินกิ นอกความตกลง
กับบริษทั ประกัน จะต้องจ่ายเงินสดสำ� รองก่อนและนำ� ใบเสรจ็ รบั เงนิ และใบรบั รองแพทย์
ฉบับจรงิ มาให้ครปู ระจำ� ห้องพยาบาลทำ� เร่อื งเบกิ เงินกบั บริษัทประกัน
l ถ้านกั เรยี นประสบอบุ ตั เิ หตตุ อ้ งไปรบั การรกั ษาภายใน 24 ชวั่ โมง จงึ จะสามารถเบกิ ประกนั
อุบัตเิ หตไุ ด้
l หากนักเรียนประสบอุบัติเหตุภายในโรงเรียน โรงเรียนจะน�ำส่งโรงพยาบาลและแจ้ง
ให้ผู้ปกครองทราบเพอื่ ร่วมตัดสนิ ใจ
4. งานอนามยั โรงเรยี นจดั ตรวจสขุ ภาพประจำ� ปเี บอ้ื งตน้ (ตรวจรา่ งกายทวั่ ไป, ตรวจเลอื ด, เอก็ ซเรย์
ปอด, สารเสพติดในปัสสาวะ) ให้กับนักเรียนทกุ คน ประมาณเดอื นกรกฎาคม - สิงหาคมทุกปี
ถ้าผ้ปู กครองท่านใดไม่อนญุ าตให้นกั เรยี นคนใดตรวจสขุ ภาพ กรณุ าแจ้งทงี่ านอนามยั โรงเรยี น
5. ด้วยมาตรการป้องกนั โรคระบาดต่างๆ โควิด - 19 และไข้หวดั ใหญ่ทางโรงเรียนได้จดั การดูแล
ด้านความสะอาดโดยจดั ระบบดงั นี้
l มรี ะบบคดั กรองตรวจอณุ หภูมิก่อนเข้าโรงเรยี น
l มที ฉ่ี ดี พน่ ฆา่ เชอื้ ทางเขา้ โรงเรยี น และ1เ1จ4ลแอลกอฮอลล์ า้ งมอื หนา้ อาคารเรยี นและหนา้ หอ้ งเรยี น

l จดั ให้มีการฉดี วคั ซีนป้องกนั ไข้หวัดใหญ่ ประมาณเดอื นมถิ นุ ายน - กรกฎาคม โดยทาง
งานอนามัยจะทำ� หนังสือขออนุญาตจากผู้ปกครอง

หมายเหต ุ l ผู้ปกครองต้องแจ้งหมายเลขโทรศพั ท์ทที่ �ำงานหรือหมายเลขท่ีตดิ ต่อได้สะดวกให้นกั เรยี น
และโรงเรยี นทราบ

l กรณีนักเรียนมีประวัติโรคประจ�ำตัว หรือแพ้ยา สารพิษต่าง ๆ กรุณาแจ้งงานอนามัย

งโรงเรยี นทราบด้วยเพ่ือจะได้ดแู ลเปน็ กรณีพิเศษ เวลานกั เรียนเจบ็ ป่วย
านอาคารสถานท่ี

แนวปฏบิ ตั ิการใช้อาคารและสถานท่ี
เวลาเปิดอาคาร 07.30 น. และปิดอาคารเรยี น 17.00 น.
1. ไม่นำ� อาหาร - เครอื่ งด่มื ทกุ ชนดิ ขึน้ มารบั ประทานบนอาคารเรยี น
2. ถอดรองเท้าก่อนขึน้ อาคารเรยี นและเกบ็ ไว้ในบริเวณทก่ี �ำหนด
3. ไม่วง่ิ เล่นหรอื นำ� อุปกรณ์กฬี าขนึ้ ไปเล่นบนอาคารเรียน
4. ปิดไฟ - ปิดหน้าต่างทุกครัง้ หลังจากเลกิ ใช้งาน
5. หลงั การใช้ห้องเรยี น จดั เก็บโต๊ะ เก้าอ้ใี ห้เรยี บร้อย
6. ช่วยรกั ษาความสะอาดห้องและอาคารเรียน
7. การใช้อาคารสถานท่นี อกเวลาทก่ี �ำหนดต้องได้รับอนุญาตจากทางโรงเรยี น
8. บคุ คลภายนอกท่ีประสงค์จะใช้สถานทตี่ ้องติดต่อขออนญุ าตจากทางโรงเรยี นก่อน
9. ไม่ขีดเขียนขอ้ความใด ๆ ลงบนผนงั ห้องและอาคารเรียน
10. ไม่ทำ� ลายทรัพย์สมบตั อิ ันเปน็ ส่วนประกอบของอาคารเรยี น
11. ไม่นำ� บุคคลภายนอกเข้ามาบรเิ วณโรงเรยี นก่อนได้รบั อนุญาต
12. ถ้าพบเหน็ ส่งิ ท่อี าจท�ำให้เกดิ ความเสียหายหรือเป็นอนั ตราย ควรแจ้งให้ครทู ราบโดยเรว็
13. พบสง่ิ ทชี่ �ำรดุ เสียหาย ควรแจ้งกลุ่มบริหารทว่ั ไปทราบโดยเรว็
14. ปิดน้�ำทุกครงั้ หลงั ใช้งาน
15. ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครัง้ ทไ่ี ม่มีการใช้ห้องเรยี น
16. อนุญาตให้รถเดนิ ทางเดียว โดยเข้าประตวู ัดสิงห์ และออกทางประตูอาคาร 7 ถนนเอกชัย

115

งานโสตทัศนศึกษา

แนวปฏิบัตกิ ารใช้บรกิ ารงานโสตทนั ศึกษา
1. ถ่ายภาพงานหรอื กจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรียน
2. บรกิ ารใช้ระบบแสง เสยี ง และการฉายภาพโปรเจคเตอร์ทห่ี ้องโสตทศั นศกึ ษา / หอประชมุ
3. ผลติ ส่อื วีดทิ ศั น์งานกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรยี น
4. ดแู ลให้บริการระบบทวี ดี าวเทยี มทางไกลเพอื่ การศึกษา
5. ดแู ลให้บริการระบบทีววี งจรปิดภายในโรงเรียน
6. ดูแลระบบกล้องวงจรปิดเพ่อื รักษาความปลอดภยั
7. จัดหาโสตทศั นปู กรณ์ท่ีจ�ำเปน็ เพื่อให้การบรกิ ารด้านการเรยี นการสอน

งานประชาสัมพนั ธ์

แนวปฏบิ ตั กิ ารใช้บริการงานประชาสัมพันธ์
1. กรณีตดิ ต่อกับโรงเรยี นให้ใช้หมายเลข 0-24151681, 0-24150683 ต่อหมายเลขภายใน

ที่ต้องการ หรอื กด 0 เพ่อื ตดิ ต่องานประชาสมั พนั ธ์
2. โทรสารโรงเรียน หมายเลข 0-24153291 ต่อ 200
3. กรณีท่ีผู้ปกครองมาตดิ ต่อขอพบนักเรยี น หรือครู ให้แจ้งชื่อ - สกลุ ชั้น ห้อง ของนักเรียน

ท่ีงานประชาสมั พันธ์แล้วรอการตดิ ต่อ
4. กรณีฝากส่ิงของให้นักเรยี น หรอื ครู ให้แจ้งชอื่ - สกุล ห้อง ให้ชัดเจนทีห่ ้องประชาสมั พนั ธ์
5. รับฟังข่าวสาร ข้อมูลส�ำคัญจากประกาศเสียงตามสาย เว็บไซด์ของโรงเรียน ป้าย

ประชาสมั พนั ธ์ หรือส่ือส่ิงพิมพ์

116

งานติดตอ่ หน่วยงานภายในโรงเรียน
ในกรณนี กั เรยี นหรอื ผู้ปกครองนกั เรยี นมคี วามประสงค์จะตดิ ต่อกบั โรงเรยี นในเรอื่ งต่าง ๆ สามารถ
ตดิ ต่อได้ ดงั รายละเอยี ดข้างล่างนี้ โทรศัพท์โรงเรียน 0-24151681, 0-24150683, 0-24153291 โทรสาร
ต่อ 200 www.mws.ac.th

หนว่ ยงาน สถานท่ ี ชั้น เบอร์โทรศพั ท์
สนง.ปชส. 1 100,0
1. โอเปอร์เรเตอร์ อาคาร 1 1 101
2. ผู้อ�ำนวยการ อาคาร 3 1 102
3. รองฯ บรหิ ารงบประมาณ อาคาร 1 1 103
4. รองฯ บริหารวชิ าการ อาคาร 2 1 104
5. รองฯ บริหารงานบคุ คล อาคาร 2 1 105
6. รองฯ บริหารทัว่ ไป อาคาร 2 1 106
7. งานสารบรรณ อาคาร 3 1 107
8. งานการเงนิ อาคาร 3 1 108
9. งานพัสดุ อาคาร 1 1 109
10. สนง.กลุ่มบรหิ ารวิชาการ อาคาร 1 1 110
11. งานทะเบยี น อาคาร 1 1 111
12. งานโสตฯ อาคาร 1 2 112
13. งานห้องสมุด อาคาร 1 2 113
14. พัฒนาบคุ ลากร อาคาร 1 3 114
15. คอมพิวเตอร์ อาคาร 1 4 115
16. ธุรกจิ อาคาร 1 1 116
17. ภาษาต่างประเทศ อาคาร 2 2 117
18. ภาษาฝร่ังเศส อาคาร 3 1 118
19. แผงงานโรงเรยี น อาคาร 1 1 119 - 120
20. สนง.กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

117

หนว่ ยงาน สถานท่ี ช้นั เบอร์โทรศัพท์
21. สนง.กลุ่มบริหารท่ัวไป อาคาร 2 1 121
22. ภาษาไทย (ห้อง 226, 227) อาคาร 2 2 122
23. งานอนามัยโรงเรียน เรอื นพยาบาลเทียนฉำ่� - 123
24. งานแนะแนว อาคาร 3 1 124
25. ร้านสวสั ดกิ ารโรงเรยี น อาคาร 3 1 125
26. สนง.EP อาคาร 3 4 126
27. คณิตศาสตร์ อาคาร 3 2 127
28. เกษตร อาคาร 3 1 128
29. ศิลปะ อาคาร 5 1 129
30. สขุ ศกึ ษา อาคาร 3 2 130
31. อุตสาหกรรม อาคาร 4 1 131
32. วทิ ยาศษสตร์ (ห้อง 736, 737) อาคาร 7 3 132
33. วงโยธวาทิต อาคาร 5 2 134
34. สงั คมศึกษา อาคาร 6 2 135
35. โสตฯ หอประชมุ 2 136
36. กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น หอประชุม 1 137
37. งานประกันคุณภาพ อาคาร 3 1 138
38. พลศึกษา โรงยมิ 139
39. ห้องสารวัตรนกั เรียน อาคาร 5 1 140
40. คหกรรม อาคารคหกรรม 141
41. ส�ำนกั งานประชาสัมพันธ์ อาคารประชาสมั พนั ธ์ 142
42. พนกั งานรกั ษาความปลอดภัย ประตู 1 ซอนวดั สงิ ห์ 143
43. พนกั งานรักษาความปลอดภยั (อาคาร 7) ประตู 3 ถนนเอกชัย 144
44. ICT อาคาร 1 3 145
45. ส�ำนักงาน GEP อาคาร 7 1 146
46. งานเลขานกุ าร อาคาร 1 1 147
47. โทรสารโรงเรียน 200

118

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ความส�ำคญั ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเปน็ องคค์ ณะบคุ คลทท่ี ำ� งานรว่ มกบั สถานศกึ ษา เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษา
มคี วามเขม้ แขง็ สามารถบรหิ ารจดั การศกึ ษาดว้ ยตนเองไดต้ ามกรอบทก่ี ฎหมายกำ� หนด ดงั นน้ั ความหลากหลาย
ของบุคคลที่เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ จึงเอ้ือต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ต้องอาศัยความรู้
ความสามารถและประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน จึงมีความสำ� คัญต่อการจัดการศึกษา ดังนี้
ผ้แู ทนผปู้ กครอง เปน็ ผู้สะท้อนปญั หาและความต้องการด้านคณุ ภาพการศึกษาและคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ของนักเรียนท้ังในส่วนท่ีคาดหวังและสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้น ร่วมมือกับครู บุคลากร
ทางการศกึ ษา ผู้ปกครอง และชุมชนในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
ผู้แทนครู เป็นผู้ท่ีมีความช�ำนาญในสายวิชาชีพครู มีความส�ำคัญต่อการน�ำเสนอข้อมูลด้าน
กระบวนการจดั การเรยี นการสอน รู้สภาพปญั หาและความต้องการสนบั สนนุ ช่วยเหลอื รวมทง้ั การรายงาน
ผลการจัดการศกึ ษา
ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน เปน็ ผสู้ ะทอ้ นสภาพปญั หาและความตอ้ งการในการพฒั นาผเู้ รยี น ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ
ของชมุ ชนและให้ความร่วมมอื กับสถานศึกษาทั้งด้านภมู ิปัญญาท้องถ่นิ แหล่งเรียนรู้
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นผู้สะท้อนสภาพปัญหาและความต้องการท่ีครอบคลุม
ทั้งเขตพื้นที่บริการของสถานศึกษา มีความส�ำคัญต่อสถานศึกษาเป็นอย่างย่ิงในเร่ืองการให้การสนับสนุน
ด้านงบประมาณทรพี ยากรทางการจดั การศึกษาและเช่อื มโยงแผนพฒั นาท้องถ่นิ
ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา เป็นผู้สะท้อนความรัก ความศรัทธา ความภูมิใจต่อสถาบัน
การศกึ ษาทต่ี นได้รบั การศกึ ษามาและช่วยจรรโลงคณุ ค่าของสถาบนั ไปส่ศู ษิ ย์รุ่นหลงั ให้ประสบความสำ� เรจ็
ในการศกึ ษา เช่นกัน

119

ผ้แู ทนพระภิกษุสงฆแ์ ละหรือผแู้ ทนองค์กรศาสนาอ่ืนในพื้นท่ี เปน็ ผู้น�ำเสนอและเตมิ เต็มข้อมลู
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามหลักธรรมของศาสนา ซึ่งเปน็ ส่วนส�ำคัญในการจดั การเรยี นรู้ เพือ่ ให้นกั เรียน
เป็นคนดีของสังคม
ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ที่จะช่วยส่งเสริมให้
สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาได้คอบคลุมในทุก ๆ ด้าน อย่างมคี ณุ ภาพและมปี ระสิทธิภาพ ท�ำให้สถานศกึ ษา
มีความเข้มแขง็ และมกี ารพัฒนาทยี่ ่งั ยืน
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ในฐานะกรรมการและเลขานกุ ารเปน็ บุคคลส�ำคัญท่จี ะสะท้อนภาพของการ
บริหารจดั การช่วยเหลอื ให้ค�ำปรึกษา สร้างแรงจงู ใจ กระต้นุ การท�ำงาน ทบทวนรายงานการประชุม สะท้อน
ความคิดเห็นเปิดโอกาสให้ผู้แทนแต่ละกลุ่มได้แสดงบทบาทอย่างเต็มท่ี จัดเตรียมการประชุม บันทึก
การประชุม รายงานผลการประชุม สนับสนุนด้าอุปกรณ์ห้องประชุมรวมท้ังพิจารณานำ� มติข้อคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะจากทปี่ ระชมุ ไปสู่การปฏบิ ตั ิ
ดังนั้น คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซึ่งเป็นองค์คณะบุคคลในการบริหารสถานศึกษา
แบบมสี ่วนร่วม จึงต้องอาศยั ผู้ทมี่ ีความรู้ ความเชี่ยวชาญในสาขาท่ีหลากหลายและเข้าใจการศึกษา มีความ
มุ่งมั่น มีเวลาที่จะอุทิศแรงกายแรงใจในการพัฒนาสถานศึกษาของชุมชนให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
ตามท่ีชมุ ชน สังคมและประเทศชาติต้องการ ซง่ึ จะส่งผลให้ชมุ ชน สงั คมเข้มแขง็ และประเทศชาติก้าวหน้า

บทบาทอำ� นาจหนา้ ที่ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

อ�ำนาจหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2545
มาตรา 40 และตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ.2546 มาตรา 38 และ
พรราชบญั ญตั ริ ะเบยี บข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 มาตรา 26 และพระราชบัญญตั ิ
ระเบียบข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2551

120

1. ก�ำกับและสง่ เสรมิ สนบั สนนุ กจิ กรรมของสถานศึกษา

1.1 พิจารณาให้ความเห็นและมีส่วนร่วมในการก�ำหนดเป้าหมาย แผนงานและมาตรฐาน
การปฏิบตั งิ านของสถานศกึ ษา

1.2 ตดิ ตามการดำ� เนนิ งานตามเป้าหมายแผนงานและมาตราฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศกึ ษา
1.3 พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ และมสี ว่ นรว่ มในการปรบั เปา้ หมายแผนงานและมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน

ของสถานศึกษา
1.4 ใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานประจำ� ปแี ละรายงานผลการดำ� เนนิ การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
1.5 ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาสาระหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเก่ียวกับสภาพปัญหาในชุมชน

และสังคม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น
1.6 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มภายในสถานศกึ ษา แหลง่ เรยี นรภู้ มู ปิ ญั ญา

ท้องถนิ่ ให้เออ้ื ต่อการจัดการเรยี นการสอน
1.7 ส่งเสริม สนับสนนุ การจดั กระบวนการเรียนรู้ของสถานศกึ ษา การพัฒนากระบวนการเรียน

การสอนและการวิจยั
1.8 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและการรับประเมิน

จากภายนอก
1.9 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษาจดั ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั การพฒั าขดี ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

เพ่ือการศกึ ษา
1.10 ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาร่วมมอื กับบคุ คลและองค์กรต่าง ๆ ส่งเสริมความเข้มแขง็

ทางชมุ ชนโดยใช้กระบวนการการของการศกึ ษา
1.11 พิจารณาและให้การส่งเสริม สนับสนุน เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา

ให้มคี วามคล่องตวั
1.12 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดหารายได้ การจดั หาผลประโยชน์จากทรพั ย์สนิ ของสถานศกึ ษา

และการระดมทรพั ยากรของสถานศึกษา

121

1.13 พิจารณาและสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการพัฒนามีขวัญก�ำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่
และมโี อกาสก้าวหน้าในวิชาชพี

1.14 ร่วมกับสถานศึกษาพิจารณาแนวทางในการให้ได้มาซ่ึงครูที่มีจ�ำนวนเพียงพอต่อการเรียน
การสอนในสถานศกึ ษา ในกรณีทีส่ ถานศกึ ษาแห่งนนั้ ขาดอตั รากำ� ลงั ครู

1.15 พจิ ารณาและให้การส่งเสรมิ สนบั สนุน เกย่ี วกับการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา
1.16 พิจารณาและให้การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การบรหิ ารกจิ การนักเรยี น
1.17 ศึกษาวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาเก่ียวกับนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษากำ� นหดในสว่ นทเี่ กย่ี วกบั
การบรหิ ารงานบคุ คลให้เข้าใจ
1.18 พจิ ารณามสี ว่ นรว่ มในการกำ� หนดแผนกลยทุ ธ์ แผนปฏบิ ตั กิ ารและแนวทางในการบรหิ ารงานบคุ คล
ในสถานศกึ ษาเพอื่ เปน็ กรอบและทศิ ทางในการบรหิ ารงานบคุ คลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ธรรม
1.19 ติดตามดูแลให้ด�ำเนินการเป็นไปตามแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการและแนวทางที่ก�ำหนด
ถ้าไม่ปฏบิ ัติตามทีก่ ำ� หนดไว้กใ็ ห้ทักท้วงพร้อมทงั้ ให้ข้อเสนอแนะ
1.20 พิจารณาการประเมินผลการบริหารงานบุคคล เม่ือส้ินปีงบประมาณหรือสิ้นปีการศึกษา
ถ้าแผนปฏิบัติการเดิมท�ำได้ดีมีประสิทธิภาพก็ด�ำเนินการต่อไปปีงบประมาณต่อไปหรือ
อาจกำ� หนดการพฒั นาเพม่ิ ขนึ้ กไ็ ด้ แตถ่ า้ พจิ ารณาเหน็ วา่ ไมป่ ระสบความสำ� เรจ็ เสนอแนะสถานศกึ ษา
ปรับปรุงแก้ไข ก�ำหนดกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการและแนวทางการปฏิบัติใหม่ได้ ท้ังนี้ท้ังน้ัน
ต้องเป็นไปตามนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับหลักเกณฑ์และวิธีการตามท่ี ก.ค.ศ. และ
อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษากำ� หนดไว้เป็นสำ� คญั

122

2. เสนอความต้องการจ�ำนวนและอัตราต�ำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาในสถานศกึ ษาเพอ่ื เสนอ ศกึ ษาธิการจังหวดั พิจารณา

2.1 พจิ ารณาศกึ ษาจำ� นวนและอตั ราตำ� แหนง่ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ให้สอดคล้องกบั ภาระงานของสถานศึกษาหรอื เปน็ ไปตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.ก�ำหนด

2.2 เสนอให้ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาเสนอขอไปยงั ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เพอ่ื พจิ ารณาตามความจำ� เปน็
และภาระงานของสถานศกึ ษา

2.3 หากผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาไม่เสนอขอไป คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานสามารถเสนอ
ขอความตอ้ งการจำ� นวนและตำ� แหนง่ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาตอ่ ศกึ ษาธกิ าร
จังหวดั ได้

3. ใหข้ อ้ คดิ เหน็ เกยี่ วกบั บรหิ ารงานดา้ นบคุ คลของขา้ ราชครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ในสถานศึกษาตอ่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

3.1 ถ้าพบว่าข้าราชการครูและบุคลากรในสานศึกษามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมไม่เอาใจใส่
ต่อการเรียนการสอน

3.2 ถ้าเห็นว่าข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกาาในสถานศึกษาควรจะได้รับการพัฒนา
หรือยกย่องชมเชยให้ขวัญก�ำลังใจ ก็สามารถเสนอให้ผู้บริหารสถานศึกษาด�ำเนินการได้
ตามความเหมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

3.3 การบรหิ ารงานบคุ คลในส่วนอน่ื ๆ หากเห็นว่าจะต้องดำ� เนินการอย่างใดอย่างหนึ่งกส็ ามารถ
เสนอให้ผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาด�ำเนินการได้หรือด�ำเนินการร่วมกับผู้บริหาร
สถานศกึ ษาก็ได้

4. ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ นื่ ตามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ้ นพระราชบญั ญตั ิ กฎหมายก�ำหนดและตามที่ ก.ค.ศ.
เขตพ้นื ที่การศึกษามอบหมาย

123

คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โรงเรียนมธั ยมวดั สงิ ห์

1. นายสมบตั ิ เชาวนปรชี า ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ประธานกรรมการ

2. นายธวชั ชัย ทองสิมา ผู้ทรงคณุ วุฒ ิ กรรมการ

3. นางสาวชวาล ี สกลุ เอีย่ มไพบูลย์ ผู้ทรงคณุ วุฒ ิ กรรมการ

4. นายวลั ลภ จุ้ยใจงาม ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

5. นายณรงค์ศักด์ิ ม่วงศิริ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการ

6. นายช�ำนาญ มีลาภ ผู้ทรงคณุ วุฒ ิ กรรมการ

7. นายกมล กำ� ลงั หาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ

8. นายโกศล หกสวุ รรณ ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ

9. นางสาวคนงึ นติ ย์ สนุ ทวนิค ผู้แทนครู กรรมการ

10. นายสำ� ราญ คงโครัตน์ ผู้แทนศษิ ย์เก่า กรรมการ

11. นายจริ กลุ กวีกจิ ประการ ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ

12. นายอัครวัฒน์ เทพหสั ดิน ณ อยุธยา ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กรรมการ

13. พระวิโรจน์ ถริ สุทโธ ผู้แทนพระภกิ ษสุ งฆ์ กรรมการ

14. พระสราวุฒ ิ วสิ ุทโธ ผู้แทนพระภกิ ษสุ งฆ์ กรรมการ

15. นายเทพพร อาจเวทย์ ผู้อำ� นวยการโรงเรียนมธั ยมวดั สงิ ห์ กรรมการและ
เลขานกุ าร


124

สมาคมผปู้ กครองและครูโรงเรียนมัธยมวดั สิงห์

วัตถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์
2. เพอ่ื ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาโครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษ ตลอดจนการศกึ ษารปู แบบอนื่

ของโรงเรียนมธั ยมวดั สิงห์
3. เพ่ือระดมทรัพยกรและจัดกิจกรรมหารายได้สนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยม

วดั สิงห์และกจิ การของสมาคมฯ
4. เพื่อประสานความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและครโู รงเรยี นมธั ยมวัดสิงห์
5. เพื่อสนบั สนนุ ช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณกุศล

125

คณะกรรมการสมาคมผ้ปู กครองและครโู รงเรียนมธั ยมวัดสิงห์

ที ่ ชื่อ - สกุล ต�ำแหนง่
1. นายประเสริฐ ม่วงศิร ิ นายกสมาคมฯ
2. นายเทพพร อาจเวทย์ อุปนายกสมาคมฯ
3. นายณฐั วฒุ ิ ม่วงศิริ
4. นายสุเมธ ม่วงสกุล กรรมการ
5. นายนกุ ูล วงศ์วิเชียร กรรมการ
6. นายเจรญิ อนะธรรมสมบัต ิ กรรมการ
7. นายโชตพิ งษ์ พรหมโชติ กรรมการ
8. นางลดั ดาวลั ย์ เสียงสงั ข์ กรรมการ
9. นางนราธปิ พรหมโชติ กรรมการ
10. นายรชฎ ลัฐิกา กรรมการ
11. นายโกศล หกสุวรรณ กรรมการ
12. นางสาวกอบกมล โตสจั จวงศ์ กรรมการและเลขานุการ
13. นางนนั ทวนั อภธิ รรมกติ ติ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
14. น.อ.วฒุ ศิ ักด์ิ โพธิ์เยน็ กรรมการและผู้ช่วยปฏิคม
15. นายส�ำเรงิ บญุ ไพศาลดิลก กรรมการและนายทะเบยี น
16. นายพยพั พลจนั ทร์ กรรมการและผู้ช่วยนายทะเบยี น
17. นายอนนั ต์ ปิงยศ กรรมการและบรรณารกั ษ์
18. นายจิรกลุ กวกี ิจประการ กรรมการและผู้ช่วยบรรณารกั ษ์
19 นางสาวคนึงนติ ย์ สุนทวนิค กรรมการและเหรัญญกิ
กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญกิ

126

สมาคมศษิ ยเ์ กา่ มัธยมวัดสิงห์

วตั ถปุ ระสงค์

1. ส่งเสริมความเข้าใจอันดแี ละความสามัคคีระหว่างศษิ ย์เก่ามธั ยมวดั สิงห์
2. ให้การสงเคราห์แก่สมาชกิ ของสมาคมและศิษย์เก่าโรงเรยี นมัธยมวัดสิงห์
3. จดั ให้มกี ารกีฬาและการบนั เทิงแก่มวลสมาชิก
4. สนบั สนนุ ส่งเสรมิ การศกึ ษา ศลิ ปวัฒนธรรม การดนตรี กีฬาและกิจกรรมตลอดจนช่วยเหลือ

นักเรยี นโรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์ปัจจุบัน
5. ดำ� เนนิ การเพอื่ สาธารณประโยชน์หรอื ร่วมมอื กบั องค์การการกศุ ลอนื่ ๆ เพอ่ื สาธารณประโยชน์

127

คณะกรรมการสมาคมศิษย์เกา่ โรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์

ท ี่ ชอื่ - สกลุ ต�ำแหน่ง
1. นายบุญช ู บุญภู่ ทป่ี รึกษาสมาคมฯ
2. นายสวรรค์ จนั ทร์ม่วง ที่ปรึกษาสมาคมฯ
3. นายส�ำราญ คงโครัตน์ ท่ีปรกึ ษาสมาคมฯ
4. นายสเุ ทพ ม่วงศิร ิ นายกสมาคมฯ
5. นางวันกมล ศริ ะยานนท์ อปุ นายกสมาคมฯ คนท่ี 1
6. นายม้วน ทองมี อุปนายกสมาคมฯ คนท่ี 2
7. นางธนาภรณ์ ประพนั ธ์พจน์
8. นางศริ ประภา โตร่ืน เลขานกุ าร
9. นางวนั ทิพย์ เครอื คล้าย ผู้ช่วยเลขานุการ
10. นายประจวบ ม่วงศิริ
11. นางสมศร ี รักษ์ด ี เหรญั ญกิ
12. นางวไิ ลวรรณ ดษิ ยบุตร ผู้ช่วยเหรญั ญิก
13. นางสาวพกิ ลุ มณฑลผลนิ
14. นางสาวอญั ชลี บญุ สารัตน์ ปฏิคม
15. นายสนุ ทร กรชิ แก้วศิริ ผู้ช่วยปฏิคม
16. นายเจริญ โชติษฐยางกรู นายทะเบยี น
17. นายนเิ วศ เมฆสวุ รรณ ผู้ช่วยนายทะเบยี น
18. ร.ต.ต.สมคิด โตร่ืน ประชาสมั พันธ์
19. พ.ต.ท.บญุ ยืน เทีย่ งตรง ฝ่ายกิจกรรมพิเศษ
20. นายศักดิ ์ หมอกยา ประธานฝ่ายหารายได้
21. นายวนิ ยั ม่วงสกุล รองประธานฝ่ายหารายได้
22. นายพรชัย ศรีชาตรียา กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ

128

มูลนธิ ิวดั สงิ ห์

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อสงห์เคราะห์ช่วยเหลือจัดเป็นทุนการศึกษาแก่นักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ปัจจุบันท่ีมี
ความพระประพฤติแต่ขาดแคลนทุนทรพั ย์

2. เพื่อสงเคราะช์ ่วยเหลอื จัดเปน็ ทนุ อาหารกลางวันแก่นกั เรยี นโรงเรียนมธั ยมวดั สงิ ห์ปัจจบุ นั ท่ีมี
ความประพฤตดิ แี ต่ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ซือ้ อาหารกลางวัน

3. ไม่ดำ� เนินการเก่ียวข้องกบั การเมอื งแต่ประการใด
4. เพ่ือร่วมมอื กับองค์กรการกุศลอน่ื ๆ เพอ่ื สาธารณประโยชน์

129

ท ่ี คณะกรรมการมูลนิธมิ ัธยมวดั สิงห์
ชอื่ - สกุล ต�ำแหนง่
1. นายสพุ จน์ หล้าธรรม ประธานกรรมการ
2. นายเทพพร อาจเวทย์ รองประธานกรรมการ คนท่ี 1
3. นายประเสริฐ ม่วงศริ ิ รองประธานกรรมการ คนที่ 2
4. นายปรชี า สสุ ันทัด รองประธานกรรมการ คนท่ี 3
5. นายสมบัติ เชาวนปรีชา กรรมการฝ่ายจดั หาทนุ
6. นายสเุ ทพ ม่วงศิริ กรรมการและผู้ช่วยจดั หาทนุ
7. นายกมล ก�ำลังหาญ กรรมการและผู้ช่วยจัดหาทนุ
8. นายชำ� นาญ มลี าภ กรรมการและผู้ช่วยจัดหาทุน
9. นายเจรญิ โชติษฐยางกูร กรรมการและผู้ช่วยจัดหาทุน
10. นายโชตพิ งษ์ พรหมโชติ กรรมการฝ่ายประชาสัมพนั ธ์
11. นายสุเมธ ม่วงสกลุ กรรมการและผู้ช่วยฝ่ายประชาสัมพันธ์
12. นางจติ รา สุจรติ กลุ กรรมการและผู้ช่วยฝ่ายประชาสมั พันธ์
13. นางสาวคนึงนิตย์ สนุ ทวนคิ กรรมการฝ่ายปฏิคม
14. นายวรี ะ ไพรชั สินธ ุ กรรมการและผู้ช่วยฝ่ายปฏคิ ม
15. นางสาวศิริขวัญ แสงเพ็ชร กรรมการและผู้ช่วยฝ่ายปฏิคม
16. นายโกศล หกสุวรรณ กรรมการและเหรญั ญกิ
17. นางสาวกอบกมล โตสัจจวงศ์ กรรมการและผู้ช่วยเหรญั ญกิ
18. นางสาวจงกล ต้งั ตลุ านนท์ กรรมการและผู้ช่วยเหรญั ญกิ
19. นายม้วน ทองมี กรรมการและเลขานุการ
20. นางกานต์ทิชา มหี ริ ญั กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร
21. นางสมจิตต์ ลมิ โพธิแ์ ดน 130 กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ




Click to View FlipBook Version