The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2022-04-24 07:14:48

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี นและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ 
- ทกั ษะการส่ือสาร 2. อยอู ยางพอเพียง
- ทกั ษะการแลกเปลย่ี นขอ มูล 3. รักความเปนไทย

2. ความสามารถในการคิด
- ทักษะการคิดวเิ คราะห

3. ความสามารถในการแกปญหา
- ทกั ษะการสังเกต

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
- ทักษะการทำงานรวมกนั

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
- ทกั ษะการสืบคน ขอมลู

6. ช้ินงาน/ภาระงาน
6.1 แบบทดสอบหลังเรยี น

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู
 วธิ กี ารสอนโดยเนน รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู 5Es (5Es Instructional Model)

ช่ัวโมงท่ี 1

ข้นั นำ

ข้ันท่ี 1 กระตุนความสนใจ (Engagement)
1. ครแู ละนักเรยี นรว มกันทบทวนความรเู ดมิ เกย่ี วกบั การคิดเชงิ ออกแบบ
2. ครูเนนย้ำกบั นักเรียนวา“การแกปญ หาและการสรา งสรรคน วัตกรรมที่ดไี มไ ดเ ริ่มจาก
การคดิ หรือการคนควาแตเร่มิ จากการสมั ผัสประสบการณดวยการลงพื้นทเ่ี พ่อื ใหทราบถงึ
ความตองการอยางแทจ รงิ ”
3. ครถู ามคำถามเพื่อกระตนุ ความสนใจของนักเรยี นวา “พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (รชั การท่ี 9) มโี ครงการใดบางท่ีมแี นวคดิ ตาง ๆ
เพอ่ื แกปญหาใหแ กป ระชาชน” โดยครคู อยบันทกึ คำตอบของนกั เรยี นลงบนกระดาน
หนา ชน้ั เรียน
(แนวตอบ : นกั เรยี นตอบตามประสบการณข องตนเอง โดยคำตอบขน้ึ อยูกับดลุ ยพนิ ิจของ
ครูผสู อน เชน โครงการแกมลงิ โครงการฝนหลวง โครงการชั่งหัวมัน เปนตน)

ข้ันสอน

ข้ันท่ี 2 สำรวจคน หา (Exploration)
1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน เพื่อรวมกันสังเกตผังแสดงแนวคิดการแกปญหาจาก หนังสือ
เรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.2 หนวยการเรียนรูที่ 4
เรื่อง การคิดเชิงออกแบบ พรอมวิเคราะหความหมายของข้ันตอนในกระบวนการแกปญหา
2. นักเรียนแตละกลุมสงั เกตการแกปญหาภาวะแหงแลงที่มีสาเหตุมาจากความคลาดเคลื่อนของ
ฤดกู าลตามธรรมชาติ จากโครงการพระราชดำริฝนหลวง พรอ มวิเคราะหต ามขน้ั ตอนใน
กระบวนการแกป ญหาท้งั 5 ขั้นตอน ไดแก
ขน้ั ตอนที่ 1 การเขา ใจปญหา (Empathize)
ขั้นตอนท่ี 2 การกำหนดปญ หา (Define)
ขนั้ ตอนท่ี 3 การหาแนวทางแกปญหา (Ideate)
ขนั้ ตอนที่ 4 การสรา งตนแบบ (Prototype)
ขัน้ ตอนท่ี 5 การทดสอบ (Test)
3. เปดโอกาสใหนักเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับโครงการตาง ๆ ของพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จากอินเทอรเน็ตที่
เครื่องคอมพิวเตอรของตนเอง จากน้ันคัดเลือกขึน้ มา 1 โครงการพรอมวิเคราะหต ามขัน้ ตอน
ในกระบวนการแกปญ หาทง้ั 5 ขั้นตอน

ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู (Explanation)
4. ใหนกั เรยี นแตล ะกลมุ สงตวั แทนออกมานำเสนอขอมูลหนาชนั้ เรยี น

ชัว่ โมงท่ี 2

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaboration)
5. ใหน กั เรียนแบงกลมุ กลมุ ละ 3 คน เพ่ือทำกจิ กรรมท่สี อดคลองกับเนอ้ื หาโดยใหผเู รยี น
ฝก ปฏบิ ัตเิ พอ่ื พัฒนาความรแู ละทักษะ (Design Activity)
6. จากน้นั ใหน ักเรยี นแตล ะกลมุ สง ตวั แทนออกมานำเสนอหนาชนั้ เรียน

Note
วตั ถุประสงคข องกิจกรรมเพอื่ ใหนกั เรยี น
- มีทักษะการทำงานรวมกันโดยใชกระบวนการกลุมในการทำงานหรือการทำ

กิจกรรมเพ่อื ใหเกดิ การส่อื สารและแลกเปล่ียนขอมลู รวมกันภายในกลมุ
- มที กั ษะการสบื คนขอ มลู โดยใหน ักเรียนแตละคนสืบคนขอ มลู จากอนิ เทอรเนต็

เพอ่ื สืบเสาะหาความรตู ามหัวขอท่ไี ดร ับมอบหมาย
- มีทักษะการสังเกต โดยใหนักเรียนสังเกตผังแสดงแนวคิดการแกปญหาและการ

แกปญหาภาวะแหงแลงจากโครงการพระราชดำริฝนหลวงจากหนังสือเรียนเพื่อนำไปปรับใช
ในการเรียนไดอ ยา งเหมาะสม

- มที ักษะการคดิ วเิ คราะห โดยใหน ักเรยี นพจิ ารณาเนอ้ื หาจากการสบื คน หรอื ศึกษา
ขอมลู จากแหลง ขอ มูลตา ง ๆ เชน หนังสือเรยี น อินเทอรเน็ต เปนตน

ขั้นสรปุ

ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครูประเมนิ ผลจากการนำเสนอของนกั เรยี น
2. นกั เรยี นและครรู ว มกนั สรุปความรูเกีย่ วกับกระบวนการคดิ เชิงออกแบบวา“การคดิ เชงิ
ออกแบบ เปนกระบวนการออกแบบและพฒั นาผลิตภัณฑ บรกิ าร และกระบวนการ
ท่ีตอ งคนหาประสบการณของผใู ช (User experience) เพ่ือพฒั นาตนแบบ ประกอบดว
5 ข้นั ตอน ไดแก
1) การทำความเขาใจอยา งลึกซงึ้ (Empathize)
2) การระบุปญ หาและกรอบของปญหา (Define)
3) การหาแนวทางแกป ญ หา (Ideate)
4) การสรางตน แบบ (Prototype)
5) การทดสอบ (Test)
โดยโครงการพระราชดำรทิ ุกโครงการไดใ ชกระบวนการคิดเชิงออกแบบในการพัฒนา
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรจะทรง
ศึกษาขอ มูลตา ง ๆ อยางเปนขัน้ เปน ตอน ทัง้ การศึกษาขอมูลจากเอกสารและการศึกษาขอมลู
จากการลงพนื้ ทจ่ี รงิ กอนจะลงมือปฏิบตั อิ ยางจริงจัง”
3. นักเรยี นทำแบบฝก ทบทวนความรู ความเขา ใจ และพัฒนาทักษะการคดิ ของผเู รียน (Unit
Activity) จากนนั้ ใหน ักเรยี นตอบคำถามลงในสมุดประจำตวั
4. นกั เรยี นตรวจสอบระดบั ความสามารถของตนเอง (Self-Check) โดยพิจารณาขอ ความวา
ถูกหรอื ผดิ หากนกั เรยี นพิจารณาขอความไมถูกตองใหน ักเรียนกลับไปทบทวนเนอ้ื หาตาม
หัวขอที่กำหนดให
5. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น หนว ยการเรยี นรูที่ 4 เรื่อง การคดิ เชิงออกแบบ เพ่ือวัด
ความรทู นี่ ักเรยี นไดร ับหลงั จากผา นการเรียนรู

8. การวดั และประเมนิ ผล

รายการวดั วธิ ีวดั เครื่องมือ เกณฑก ารประเมนิ
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2
8.1 การประเมินระหวา งการ - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล- ผา นเกณฑ

จดั กิจกรรม การทำงานรายบุคคล - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
การทำงานกลุม ผานเกณฑ
1) พฤติกรรมการทำงาน

รายบุคคล
2) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤตกิ รรม
กลุม การทำงานกลุม

3) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
4) คณุ ลักษณะ - แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ 2
อนั พึงประสงค - สังเกตการอยูอยาง คุณลักษณะ ผานเกณฑ
พอเพยี ง รักชาติ อันพึงประสงค
8.2 การประเมนิ หลังเรยี น ศาสน กษัตรย ประเมนิ ตามสภาพจริง
- แบบทดสอบหลงั เรยี น และรักความเปนไทย - แบบทดสอบหลังเรยี น
หนว ยการเรียนรูท่ี 4
เรอื่ ง การคดิ เชิง - ตรวจแบบทดสอบ
ออกแบบ หลังเรยี น

9. สือ่ /แหลงการเรยี นรู
9.1 สื่อการเรียนรู
1) หนังสือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.2 หนว ยการเรยี นรูที่ 4
เรื่อง การคดิ เชิงออกแบบ
2) ส่ือการเรยี นรูอ อนไลน ของ สสวท. ผานเวบ็ ไซต https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/
3) สอ่ื PowerPoint
4) เคร่อื งคอมพิวเตอร
9.2 แหลงการเรยี นรู
1) คอมพิวเตอร
2) อนิ เทอรเ นต็

10. การใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจัดการเรยี นรู
10.1 การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั การเรียนรขู องผสู อน

3 หวง หลักพอประมาณ

ประเด็น

1.ภาระงาน/หนา ที่ วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน มุง เนนให

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการ พึงประส

เรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู และบริบท ตวั ช้วี ดั ส

ของโรงเรียน การศึกษ

บริบทขอ

2. การวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชสื่อ / แหลง เพื่อจัดก

เรียนรู / ทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชน มาตรฐา
สูงสุดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดมีลักษณะพึง ตามที่ห
ประสงค ตามที่หลักสูตรกำหนด เหมาะสม
กับวัย ระดบั ชั้น และเวลาเรยี นของผเู รยี น ระดับช้นั

หลกั มเี หตุผล หลักสรางภูมคิ ุมกันท่ีดีในตวั

หผูเรียนมีความรูทักษะคุณลักษณะอัน มีการวางแผนและบริหารจัดการ เพื่อจัดการ

สงคบรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู เรียนรู ใหตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรยี นรู ของหลกั สตู รแกนกลาง
ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
องโรงเรยี น มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
และบริบทของโรงเรยี น

กิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุตาม วางแผนการเตรียมการสอนไมใหบกพรอง

านและตัวชี้วัดมีลักษณะพึงประสงค โดยจัดทำแผนจัดการเรยี นรู ส่ือ แบบวัดและ

หลักสูตรกำหนด เหมาะสมกับวัย ประเมินผล ที่เหมาะสมกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด

น และเวลาเรยี นของผเู รียน สาระการเรียนรู และบริบทของโรงเรียน

เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และเวลาเรียนของ

ผูเรยี น

3 หวง หลกั พอประมาณ

ประเด็น

3.เทคนิค/วิธสี อน เลือกกิจกรรมการเรยี นรูใหเ หมาะกับบริบท ออกแบบ
การนำเท
ของ ผเู รยี น ครู ชมุ ชน ธรรมชาติวชิ า และ ทรพั ยาก

ทรัพยากรทม่ี ีอยู

4. การเลือกใช เลือกและใชเครื่องมอื วธิ กี าร และเกณฑการ เพอ่ื ใหผ ูเ

เครื่องมือ วิธีการ และ วัดผลประเมนิ ผลใหเหมาะสมกับกิจกรรม เรยี นรขู อ

เ ก ณ ฑ  ก า ร ว ั ด ผ ล การเรียนรแู ละศกั ยภาพของผูเรียน พ้ืนฐาน

ประเมนิ ผล

ความร:ู รอบรหู ลักสูตรสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 มาต
เทคนิควิธสี อน

คุณธรรม: ใฝเ รยี นรู ความรับผดิ ชอบ ความเสียสละ ความขยนั ความยุติธรรม

หลักมีเหตุผล หลักสรางภมู ิคุมกนั ทดี่ ีในตัว

บการจดั การเรยี นรู เพื่อใหเ หน็ คณุ คา จัดเตรียมสื่อ / แหลงเรียนรู / ทรพั ยากรที่มี

ทคโนโลยี สอ่ื / แหลงเรยี นรู / วัสดุ อุปกรณในการจัดการเรียนการสอนให

กรทมี่ ีอยมู าใชใ หเกิดประโยชนส ูงสดุ เพียงพอกับผูเรียน เตรียมสื่อ CAI (โปรแกรม

ชวยสอน) ในกรณีที่ครูไมสามารถมาสอนได

ลว งหนา

เรยี นบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคการจัดการ เตรียมวิธีปองกันปญหา ที่อาจเกิดจากการ

องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน จดั การเรียนรู การใชเ ครื่องมือไมตรงตามแผน
พุทธศักราช 2551 ที่วางไว วัดและประเมินผลบรรลุตาม

วัตถปุ ระสงคท ี่กำหนด

ตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั เน้ือหาความรเู ร่อื ง พื้นฐานทางคอมพวิ เตอร การวดั ผล ประเมนิ ผล และ

รักและเมตตาตอ ศษิ ย

10.2 คุณลกั ษณะ “อยูอยางพอเพียง” ที่เกดิ กับผูเ รยี น

หลักพอประมาณ หลกั

1.เลอื กใชฮ ารดแวรอปุ กรณเ ครือขา ยและ 1.ตัดสินใจเลือกใชฮารดแ

ตามความจำเปนใชงานไมฟุมเฟอยเสียคาใชจายเกิน ตรงตามความตอ งการใชง

ความจำเปน 2. ยอมรับความคิดเหน็ แล

2. แบงหนาที่การทำงานไดตรงกับความสามารถของ กลมุ

สมาชิกแตละคนในกลมุ ภายใตเวลาท่กี ำหนด 3.ใชทักษะกระบวนกา

3.ปฏิบตั งิ านโดยใชระยะเวลาท่เี หมาะสม ทง้ั นต้ี องเกิด เทคโนโลยี การทำงานนอ

จากการวางแผนการทำงานที่ดีและทำงานอยางเปน บรรลุตามเปา หมาย

ระบบรูจ กั ใชเ ทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั ภาระงาน

ความร:ู มีความรู ความเขา ใจถอดความคิดเชงิ ออกแบบของพระบาทสมเด็จพ
คณุ ธรรม: มคี วามซ่ือสตั ยในการปฏบิ ตั งิ าน ขยนั รับผดิ ชอบ มุงมนั่ ในการทำงา
เรียนทัง้ ดา นความรูและทรัพยากรท่เี ก่ยี วของกบั บรบิ ทของการสรางและนำเสนองาน

นำไปสู สมดลุ และพรอ

กมเี หตผุ ล หลกั สรางภูมคิ ุมกนั ทด่ี ใี นตวั

แวรอุปกรณเครือขายตา ง ๆได 1. มีการวางแผนในการเรียน การทำงานกลุมอยาง

งาน รอบคอบและเปนระบบ

ละความสามารถของสมาชิกใน 2.เตรียมพรอมแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นในชวงที่สราง

งานและนำเสนอผลงาน

ารทำงานกลุม ทักษะการใช 3. เตรียมพรอมสำหรับผลคะแนนที่จะไดรับจากการ

อกเวลาเรียนเพื่อใหภาระงาน ตรวจช้นิ งานและนำเสนองานของครผู สู อน

พระบรมชนกาธิเบศรมหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
าน มคี วามประหยัดในการเลือกวสั ดแุ ละอปุ กรณเ ทคโนโลยี มีนำ้ ใจชวยเหลือเพื่อนในช้ัน
นโดยใชโ ปรแกรมคอมพวิ เตอร และสง งานตรงเวลา

อมรับการเปล่ียนแปลง

ดา นวตั ถุ ดานสังคม

- มีความรูในการวางแผนการทำงาน - การทำงานรว มกบั เพ่อื น

ก า ร จ ั ด แ บ  ง ห น  า ท ี ่ ต า ม ค ว า ม รู ในกลมุ

ความสามารถของแตละคน - แลกเปลย่ี นเรยี นรูรว มกัน

- มีความรูในเรื่องการสืบคนการ สรุป กับเพ่ือน และครู

องคความรู และการจัดการความรูโดย - ประยุกตใชเ ทคโนโลยีในการทำงาน

ใชคอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ อยางสรางสรรค

เศรษฐกิจพอเพยี ง - ร ู  ร ะ เ บ ี ย บ ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ ใ น ก า ร ใ ช

- มีความรู ความเขาใจในเรอ่ื งของการ คอมพิวเตอรรว มกบั ผูอ่นื

ใชคอมพวิ เตอรและอุปกรณป ระกอบอื่น

เพื่อการสรา งงาน

- มีทักษะในการวางแผนการทำงานและ - มที ักษะในการทำงาน

การใชวัสดุอุปกรณ เพื่อใหเกิดความ รวมกัน แบง ปน

คมุ คา เอือ้ เฟอ เผอื่ แผ

- มีทักษะในการออกแบบและการสราง - ทกั ษะการทำงานอยาง

ชิ้นงานโดยใชคอมพิวเตอรตามหลัก เปนระบบมกี ารวางแผน

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการทำงาน

ดา นส่ิงแวดลอม ดา นวัฒนธรรม

- มีความรูในการเลือกใชเทคโนโลยี เพ่ือ - รวู ฒั นธรรมในการทำงานรว มกับผอู ่ืน

ใชประโยชนไดอย างเห มาะส ม กั บ - รูวัฒนธรรม ในการแบงปน การใช

สภาพแวดลอม เทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสรางชิน้ งาน

- มีความรูในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - รูมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยดั พลงั งาน ผูอืน่

- มีทักษะในการเลือกใชเ ทคโนโลยี เพื่อใช - ถายทอดวัฒนธรรมในการแบงปนการ

ป ร ะ โ ย ช น  ไ ด  อ ย  า ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ ใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสราง

สภาพแวดลอ ม ชนิ้ งาน

ดา นวัตถุ ดา นสงั คม

- มีทักษะในการเลือกคอมพิวเตอรและ - ปฏบิ ัตติ ามระเบียบการใช
วัสดุอุปกรณประกอบในการสรางงาน คอมพวิ เตอรรว มกบั ผูอื่น
และนำเสนออยางเหมาะสม

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการวาง - มีเจตคติที่ดีในการชวยเหลือเกื้อกูล

แผนการทำงานและการใชวัสดุอุปกรณ แบง ปน เออ้ื เฟอ เผือ่ แผ ในการทำงาน

เพือ่ ใหเ กิดความคมุ คา - เห็นคุณคาของการทำงานอยางเปน

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการอก ระบบและมีการวางแผนในการทำงาน

แบบและการสรางชิ้นงานโดยใช - ตระหนักและเห็นคุณคาของการเปน

คอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ แบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตาม

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบียบการใชคอมพิวเตอรรวมกับ

- มีเจตคติท่ดี ีในการใชคอมพิวเตอรเพ่ือ ผอู นื่

การนำเสนอความรู

ดานสง่ิ แวดลอม ดานวฒั นธรรม

- มีทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - มีมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผอู ่ืน

- ตระหนักและ เห็นคุณคาของการเลือกใช - เกดิ ความภาคภมู ใิ จผลงานทท่ี ำ

เทคโนโลยี เพื่อใชประโยชนไดอยาง - ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช การ

เหมาะสมกับสภาพแวดลอ ม รักษาทรัพยากรสวนรวมอยางประหยัด

-ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช และคมุ คา

เทคโนโลยีอยางคุมคาและประหยัด -มีเจตคติ ที่ดี ตอวัฒน ธรรมการใช

พลังงาน เทคโนโลยีรว มกับผอู ื่น

แบบทดสอบหลังเรียน
หนว ยการเรียนรูที่ 4

คำชแี้ จง : ใหน กั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว

1. ขอ ใด ไมใช วิธกี ารสรา งตนแบบ 5. ข้ันตอนในของกระบวนการคดิ เชิงออกแบบทีใ่ ชว ิธกี าร

ก. การสรางแบบจำลอง 3 มติ ิ ระดมสมอง

ข. การวาดภาพเพ่ือแสดงรายละเอียด ก. การทำความเขา ใจอยา งลึกซึ้ง

ค. การแสดงละครจำลองสถานการณ ข. การระบุปญหาและกรอบของปญหา

ง. การอธบิ ายที่มาของการสรางตน แบบ ค. การหาแนวทางการแกป ญหา

2. ประเทศไทยควรนำแนวคดิ ในการออกแบบ ง. การสรา งตนแบบการแกปญหา

และพฒั นาผลติ ภัณฑมาใชใ นดา นใด 6. ขอ ใดเปนตน แบบทจ่ี บั ตอ งไดจ รงิ และทำใหผูใ ชงาน

ก. เปลี่ยนแปลงเศรษฐกจิ แบบเดมิ สูเศรษฐกจิ ไดเหน็ ภาพของผลิตภัณฑท ชี่ ัดเจนข้นึ

ทีข่ ับเคลอ่ื นดว ยนวตั กรรม ก. แบบจำลอง 3 มิติ

ข. จัดเก็บทรัพยากรธรรมชาติไดอยา งถูกวิธี ข. ภาพวาด

ค. มงุ เนน การแกปญหาที่เกิดขึน้ ดว ยเทคโนโลยี ค. การแสดงละครจำลองสถานการณ

ง. แกไ ขปญหาจราจรติดขดั ง. การสรา งผลติ ภัณฑท ่ใี ชง านไดจริง

3. การประเมนิ ถงึ ความทนทานในการใชงาน 7. การทดสอบตนแบบควรใชเกณฑใ นขอใด

เปน การประเมนิ ตน แบบในข้ันตอนใด ก. การทำงานและราคาตน ทนุ

ก. การทำงาน ข. การทำงาน ราคาตนทนุ และความสวยงาม

ข. การใชงาน ค. การทำงาน ราคาตนทนุ ความสวยงาม และ

ค. การบำรุงรกั ษา การใชง าน

ง. การประเมินความยาก-งายในการใชงาน ง. การทำงาน ราคาตนทนุ ความสวยงาม

4. ขอ ใดเปน การสมั ภาษณเพ่ือเกบ็ ขอมูลท่ดี ี การใชง าน และการบำรงุ รกั ษา

ก. มีทีมสมั ภาษณจ ำนวนมากกวา 5 คน 8. การนำความคดิ เชิงออกแบบมาเพ่ือพฒั นาใหลกู คามี

ข. ต้งั คำถามปลายปดเพือ่ สอบถาม ความพงึ พอใจคอื ขอใด

ผทู ี่ใหสมั ภาษณ ก. การคดิ เชงิ ออกแบบของผลิตภัณฑ

ค. รบี ถามคำถามเพื่อใหไดคำตอบในเวลา ข. การคดิ เชงิ ออกแบบของบรกิ าร

อนั รวดเรว็ ค. การคิดเชงิ ออกแบบของกระบวนการ

ง. ทบทวนขอมูลจากการสัมภาษณและ ง. การคดิ เชงิ ออกแบบของผลลัพธ

สรุปเปน ประเด็นสำคัญ ๆ

9. การใชเ ครอ่ื งบนิ โปรยฝนหลวง อยูในขั้นตอนใด 10. โครงการในขอใดถกู พฒั นาข้นึ มาเพ่อื แกป ญ หานำ้ ทวม
ของกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ ก. โครงการแกม ลงิ
ก. การระบปุ ญ หาและกรอบของปญ หา ข. โครงการชัง่ หัวมัน
ข. การหาแนวทางการแกปญหา ค. โครงการแกลง ดนิ
ค. การสรา งตน แบบการแกปญหา ง. โครงการน้ำดีไลน ้ำเสยี
ง. การทดสอบการแกป ญ หา

เฉลย
1. ง 2. ก 3. ค 4. ง 5. ค 6. ก 7. ง 8. ข 9. ค 10. ก

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค

คำชีแ้ จง : ใหผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี  ลงในชอ งทต่ี รงกับ

ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคด า น ระดบั คะแนน

รายชือ่ นักเรยี น 1. ัรกชา ิต ศาสน ก ัษต ิร ย 321
2 ความ ่ืซอ ัสตยสุจ ิรต
3. มีวิ ันย
4. ใ ฝเ ีรยน ูร
5. อ ูยอยางพอเพียง
6. มุงม่ันในการทำงาน
7. ัรกความเปนไทย
8. มี ิจตสาธารณะ

เดก็ หญิงกานตธิดา คงยง
เด็กหญิงดารินทพิ ย ทรงเลิศ
เด็กหญิงนันทิกานต ถาวร
เดก็ หญิงบัณฑติ า รตั นพนั ธ
เด็กหญิงวราภร เอี่ยมอกั ษร
เด็กหญงิ สุธดิ า สวุ รรณคช
เดก็ หญิงสุลัดดา ชูบวั ทอง
เด็กหญงิ อนิตยา วรี ะสขุ
เด็กหญงิ อนิศา รัตนพันธ
เดก็ ชายชยั อัมรินทร ตาดทอง
เด็กชายเจนวทิ ย วเิ ชยี ร
เด็กชายธนกร ทองออ น
เด็กชายธรี ภทั ร ทองสม
เด็กชายนารากร ทองทิพย
เดก็ ชายภวู เดช ฤทธิพลัด
เดก็ ชายมนสั ชัย คงยงค
เดก็ ชายรฐั พล จันสขุ
เดก็ ชายรฐั ภูมิ หนชู ุม
เดก็ ชายศักดน์ิ รนิ ทร โมรา
เด็กชายสรุ ิยศักดิ์ ปานเฉวง
เดก็ ชายอภวิ ัฒน สกุณา

เกณฑก ารใหคะแนน ลงชอ่ื ..............................................ผปู ระเมิน
................../.................../....................
- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติชดั เจนและบอยคร้งั ให 2 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตบิ างคร้งั ให 1 คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

1. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ปญ หา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ...............................................ครูผสู อน
(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)

วันท.่ี ......เดอื น..........................พ.ศ. ............

4. ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู
ขอ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................................
()

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

5. ความเหน็ ของหัวหนา กลุมบริหารวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นางสาวรจุ ริ า บัวลอย)

หัวหนา กลมุ บรหิ ารวิชาการ

6. ความเหน็ ของผอู ำนวยการสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นางจิราพร อินทรทัศน)

ผอู ำนวยการโรงเรยี นวังหนิ วิทยาคม




Click to View FlipBook Version