The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2022-04-24 07:14:48

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

ดา นส่ิงแวดลอม ดา นวัฒนธรรม

- มีความรูในการเลอื กใชเทคโนโลยี เพ่ือ - รวู ฒั นธรรมในการทำงานรว มกับผอู ่ืน

ใชประโยชนไดอยางเหมาะสมกับ - รูวัฒนธรรม ในการแบงปน การใช

สภาพแวดลอม เทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสรางชิน้ งาน

- มคี วามรูในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - รูมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผูอืน่

- มีทักษะในการเลือกใชเ ทคโนโลยี เพื่อใช - ถายทอดวัฒนธรรมในการแบงปนการ

ป ร ะ โ ย ช น  ไ ด  อ ย  า ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ ใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสราง

สภาพแวดลอม ชนิ้ งาน

ดา นวัตถุ ดา นสงั คม

- มีทักษะในการเลือกคอมพิวเตอรและ - ปฏิบตั ติ ามระเบยี บการใช
วัสดุอุปกรณประกอบในการสรางงาน คอมพวิ เตอรร ว มกบั ผอู น่ื
และนำเสนออยางเหมาะสม

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการวาง - มีเจตคติที่ดีในการชวยเหลือเกื้อกูล

แผนการทำงานและการใชวัสดุอุปกรณ แบงปน เอ้อื เฟอ เผ่ือแผ ในการทำงาน

เพือ่ ใหเ กิดความคมุ คา - เห็นคุณคาของการทำงานอยางเปน

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการอก ระบบและมีการวางแผนในการทำงาน

แบบและการสรางชิ้นงานโดยใช -ตระหนักและเห็นคุณคาของการเปน

คอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ แบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตาม

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบียบการใชคอมพิวเตอรรวมกับ

- มีเจตคติท่ดี ีในการใชคอมพวิ เตอรเพื่อ ผอู นื่

การนำเสนอความรู

ดานสิ่งแวดลอม ดานวัฒนธรรม

- มีทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - มีมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผอู ่ืน

-ตระหนกั และ เหน็ คณุ คา ของการเลือกใช - เกิดความภาคภมู ใิ จผลงานท่ที ำ

เทคโนโลยี เพื่อใชประโยชนไดอยาง - ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช การ

เหมาะสมกับสภาพแวดลอม รักษาทรัพยากรสวนรวมอยางประหยัด

-ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช และคุมคา

เทคโนโลยีอยางคุมคาและประหยัด -มีเจตคติ ที่ดี ตอวัฒน ธรรมการใช

พลงั งาน เทคโนโลยีรว มกบั ผอู ่ืน

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค

คำชีแ้ จง : ใหผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี  ลงในชอ งทต่ี รงกับ

ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคด า น ระดบั คะแนน

รายชือ่ นักเรยี น 1. ัรกชา ิต ศาสน ก ัษต ิร ย 321
2 ความ ่ืซอ ัสตยสุจ ิรต
3. มีวิ ันย
4. ใ ฝเ ีรยน ูร
5. อ ูยอยางพอเพียง
6. มุงม่ันในการทำงาน
7. ัรกความเปนไทย
8. มี ิจตสาธารณะ

เดก็ หญิงกานตธิดา คงยง
เด็กหญิงดารินทพิ ย ทรงเลิศ
เด็กหญิงนันทิกานต ถาวร
เดก็ หญิงบัณฑติ า รตั นพนั ธ
เด็กหญิงวราภร เอี่ยมอกั ษร
เด็กหญงิ สุธดิ า สวุ รรณคช
เดก็ หญิงสุลัดดา ชูบวั ทอง
เด็กหญงิ อนิตยา วรี ะสขุ
เด็กหญงิ อนิศา รัตนพันธ
เดก็ ชายชยั อัมรินทร ตาดทอง
เด็กชายเจนวทิ ย วเิ ชยี ร
เด็กชายธนกร ทองออ น
เด็กชายธรี ภทั ร ทองสม
เด็กชายนารากร ทองทิพย
เดก็ ชายภวู เดช ฤทธิพลัด
เดก็ ชายมนสั ชัย คงยงค
เดก็ ชายรฐั พล จันสขุ
เดก็ ชายรฐั ภูมิ หนชู ุม
เดก็ ชายศักดน์ิ รนิ ทร โมรา
เด็กชายสรุ ิยศักดิ์ ปานเฉวง
เดก็ ชายอภวิ ัฒน สกุณา

เกณฑก ารใหคะแนน ลงชอ่ื ..............................................ผปู ระเมิน
................../.................../....................
- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติชดั เจนและบอยคร้งั ให 2 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตบิ างคร้งั ให 1 คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

1. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ปญ หา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................ครูผูสอน
(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)

วันที่.......เดอื น..........................พ.ศ. ............

4. ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู
ขอ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................................
()

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรยี นรู

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 4 ไฟฟา และอปุ กรณท่ีทำใหเ กิดแสง

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว22103
ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565
หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2 วัสดุ อปุ กรณ ทางเทคโนโลยี เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
1. มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

1.1 ตัวช้วี ดั
ว 4.2 ม.2/5 ใชค วามรู และทักษะเกย่ี วกบั วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา และ

อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ พ่ือแกป ญหาหรือพัฒนางานไดอยา งถกู ตองเหมาะสม และ
ปลอดภยั
2. สาระสำคัญ
ไฟฟาเปนสิ่งที่จำเปนในปจจุบัน เพราะอุปกรณไฟฟาทุกชนิดจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงาน
รูปแบบอ่ืน ๆ ตามท่ถี ูกออกแบบมาเพื่อประโยชนในการใชงานในดา นตาง ๆ เชน พลงั งานแสงสวา ง พลังงาน
ความรอ น พลังงานกล พลงั งานเสยี ง เปน ตน

3. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
1. อธบิ ายกระบวนการเกดิ แสงไดถ ูกตอ ง (K)
2. เลือกใชวงจรไฟฟา แบบอนุกรมและแบบขนานไดเ หมาะสมกบั งาน (K)
3. รางแบบวงจรไฟฟา แบบอนกุ รมและแบบขนานไดถ ูกตอง (P)
4. ตระหนกั ถึงความปลอดภยั ขณะทำงานท่เี กย่ี วขอ งกบั วงจรไฟฟา (A)

4. สาระการเรียนรู

สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรูท องถนิ่
พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา
- วัสดแุ ตละประเภทมสี มบัตแิ ตกตา งกัน เชน ไม
โลหะ พลาสติก จึงตอ งมกี ารวเิ คราะหสมบัติ
เพือ่ เลือกใชใหเหมาะสมกับลกั ษณะของงาน

- การสรางชน้ิ งานอาจใชความรูเร่อื งกลไก ไฟฟา
อิเลก็ ทรอนกิ สเชน LED มอเตอรบ ัซเซอรเ ฟอง
รอก ลอ เพลา

- อปุ กรณและเครือ่ งมอื ในการสรา งช้นิ งาน หรอื
พฒั นาวธิ ีการมหี ลายประเภท ตองเลอื กใชให
ถกู ตอง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทงั้ รจู กั
เก็บรักษา

5. สมรรถนะสำคัญของผเู รียนและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค

สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค

1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. ซอ่ื สตั ย สจุ ริต
- ทกั ษะการสื่อสาร 2. มวี ินัย รับผิดชอบ
- ทกั ษะการแลกเปล่ียนขอมลู 3. ใฝเรียนรู
4. มงุ มั่นในการทำงาน
2. ความสามารถในการคดิ 5. จติ สาธารณะ
- ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห

3. ความสามารถในการแกปญหา
- ทักษะการสังเกต

4. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต
- ทกั ษะการทำงานรวมกัน

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
- ทักษะการสืบคน ขอ มูล

6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
6.1 ใบงานที่ 2.4.1
6.2 แบบทดสอบหลงั เรียน

7. กระบวนการจดั การเรียนรู

ข้ันนำ

ขัน้ ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engagement)
1. ครทู ดลองเปด-ปด สวิตซข องหลอดไฟหนาช้ันเรยี น จากนน้ั ครถู ามคำถามประจำหัวขอ กบั
นักเรยี นวา “แสงเกิดจากอะไร และวงจรไฟฟา ทำใหเกดิ แสงไดอ ยา งไร”
(แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขึน้ อยกู ับดุลยพินิจของ
ครูผูสอน เชน แสงจากหลอดไฟฟาเกิดจากเม่ือมีกระแวไฟฟาจากวงจรไฟฟา ไหลผานหลอด
ไฟฟาดานในจนเปลง แสงออกมา เปนตน )
2. ครอู ธิบายกับนักเรยี นเพื่อเชอ่ื มโยงเขาสูบทเรียนวา“ไฟฟา เปน ส่งิ ทขี่ าดไมไดเลยในสังคม
ปจจบุ ัน เพราะอุปกรณทุกชิ้น จำเปน ตองมีไฟฟาเปนแหลงพลังงานไมว าจะเปน เตารีด ตูเย็น
พดั ลม เคร่อื งซักผา เครือ่ งดดู ฝนุ วิทยุ เปน ตน แตเ ครอ่ื งใชไ ฟฟาแตละชนดิ สามารถเปลย่ี น
พลงั งานไฟฟาเปนพลงั งานอื่น ๆ ไดอ ยางหลากหลาย ดังนี้”

เคร่ืองใชไฟฟา พลงั งานทีใ่ ห
เตารดี หมอ หุงขา ว กระทะไฟฟา กาตมนำ้ พลงั งานความรอน
เคร่อื งตม กาแฟ
พลังงานกล หรอื พลงั งานท่ี
เครอ่ื งปรับอากาศ ตเู ยน็ เคร่อื งดูดฝุน พัดลม เคร่อื ง เก่ยี วของกบั การเคลื่อนทข่ี องวัตถุ
ซกั ผา เคร่อื งปน น้ำผลไม พลงั งานเสียง

วิทยุ เครื่องขยายเสียง เครอื่ งบนั ทกึ เสยี ง

ขน้ั สอน

ขัน้ ที่ 2 สำรวจคนหา (Exploration)
1. นกั เรยี นกลมุ กลมุ ละ 5-6 คน หรอื ตามความเหมาะสม จากน้นั ใหนักเรยี นศกึ ษาขอมูลเก่ียวกับ
วงจรไฟฟาและการตอตัวตานทานทั้งแบบอนุกรมและแบบขนาน จากหนังสือเรียน รายวิชา
พืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.2 หนวยการเรียนรทู ี่ 2 วัสดุ อุปกรณ
ทางเทคโนโลยี หรือสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ตท่ีเครื่องคอมพิวเตอรของตนเอง
เพื่อหาคำตอบวา การท่หี ลอดไฟฟา สวางขึ้นจะตองมีการตอวงจรไฟฟา ซึง่ สวนประกอบท่ีสำคัญ
ของวงจรไฟฟา มอี ะไรบาง
2. เปดโอกาสใหนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอวาสวนประกอบที่สำคัญของวงจรไฟฟามี
อะไรบา ง และอภิปรายเก่ยี วกับกระบวนการตา ง ๆ ทท่ี ำใหหลอดไฟฟา มีแสงสวาง
3. ครูอภิปรายรวมกับนักเรียนวา“วงจรวงจรไฟฟาเปนเสนทางที่กระแสไฟฟาไหลผาน ซึ่งมี
สว นประกอบท่ีสำคญั 3 สวน คือ
1) แหลงกำเนดิ ไฟฟา (Power Source ) คือ แหลงจายแรงดันไฟฟาไปทั้งวงจร เชน
ถา นไฟฉาย แบตเตอร่ี
2) ตัวนำไฟฟา (Conductor) คือ วัสดุที่ยอมใหกระแสไฟฟาไหลผาน เชน สายไฟ
ทองแดง เงนิ เหลก็

3) เครื่องใชไฟฟาหรือโหลด (Electric Appliances or Load) คือ เครื่องใชไฟฟาท่ี
เปลี่ยนแรงดันไฟฟา ท่ีไดร บั ใหเ ปน พลงั งานรปู แบบอ่นื ”
4. ครดู ำเนนิ การสาธิตใหน กั เรียนดเู ก่ยี วกบั การตอวงจรไฟฟาของหลอดไฟฟา พรอมทัง้ ให
ขอแนะนำถึงสิ่งที่ควรระวังในขณะทำงานที่เกี่ยวของกับวงจรไฟฟาวา“ขณะทำงานที่เกี่ยวของ
กบั ไฟฟาผใู ชค วรตรวจสอบอปุ กรณไ ฟฟา เครอื่ งมอื ฉนวนหมุ สายไฟฟา ซึ่งตองไมชำรดุ
เพราะหากชำรุดจะสง ผลใหไฟฟาร่วั ไหล กอ นปฏิบัติงานควรเขียนผังวงจร และตรวจสอบ
รวมกันกอนลงมือปฏิบัติเพื่อความไมประมาท รวมถึงขณะทำงานมือ และเทาตองแหง หรือ
สวมรองเทาเพ่อื ความปลอดภัย”
5. จากนนั้ ครตู อ วงจรไฟฟา ทั้ง 2 แบบใหนักเรยี นดูเปน ตวั อยา ง คือ
1) การตอวงจรไฟฟา แบบเปด
2) การตอ วงจรไฟฟาแบบปด
6. ครูอธิบายกับนักเรียนวา“การตอวงจรไฟฟาแบบเปดจะทำใหผลลัพธคือหลอดไฟฟาไมติด
แตการตอวงจรไฟฟาแบบปด จะสงผลลพั ธคือหลอดไฟฟา สวาง”
7. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนปฏิบตั ิการตอวงจรไฟฟาตามความเขาใจ โดยครูแจกอุปกรณการตอ
วงจรไฟฟาและคอยใหคำแนะนำอยา งใกลช ดิ
8. จากนัน้ ครสมุ ตัวแทนกลุม ออกมานำเสนอวิธีการตอวงจรไฟฟาพอสงั เขป

ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู (Explanation)
9. ครูอธิบายความรูเรื่องวงจรไฟฟาและตัวตานทานเพื่อทบทวนความรูวา“สวนประกอบของ
วงจรไฟฟาสามารถตอตัวตานทาน ซึ่งติดตั้งอยูในวงจรการทำงานทุกอุปกรณไฟฟา โดยตัว
ตา นทานเปนตัวทที่ ําหนา ท่จี าํ กดั กระแสไฟฟาทีไ่ หลในวงจรตามที่อปุ กรณไฟฟาไดกาํ หนดเอาไว
ดังนั้น การตอตัวตานทานจึงมีความสำคัญมากตอการใชงานเครื่องใชไฟฟา วิธีการตอตัว
ตา นทานได 2 แบบ คอื แบบอนุกรมและแบบขนาน”
10. นักเรยี นศึกษาเกรด็ เสริมความรทู เี่ กย่ี วกับเน้อื หา (Design Focus) เรื่อง แหลง กำเนดิ ไฟฟา
11. นกั เรยี นแบง กลมุ (กลุมเดมิ ) จากช่วั โมงทผ่ี า นมา เพื่อรวมกนั ทำใบงาน 2.4.1 เร่อื ง ชา งไฟฟา
โดยใหนกั เรียนนำความรู เร่อื ง วธิ กี ารตอตัวตานทานทั้ง 2 แบบมาประยุกตใชในการทำใบงาน
แตกอนลงมือทดลองใหแตละกลุมนำแบบรางการตอผังวงจรมาใหครูตรวจสอบกอนลงมือ
ปฏิบตั ิ และในระหวางการปฏิบัตใิ หครูเดินตรวจสอบพรอ มใหคำแนะนำ และตัง้ คำถามเพื่อให
นกั เรยี นไดทดสอบและสงั เกตการทดลอง
12. นักเรียนแตละกลุมสงใบงาน จากนั้นครูสุมนักเรียน 1 กลุม ออกมาอภิปรายนำผลการทำใบ
งานโดยครคู อยชีแ้ นะคำตอบใหตามความเหมาะสม ดงั น้ี

ผลการทดลองการตอ วงจรแบบอนุกรม

รปู แบบการตอ วงจร ผลการทดลอง

แบบที่ 1 หลอดไฟฟาสวา ง

แบบที่ 2 หลอดไฟฟา สวา งนอ ยลง

แบบท่ี 3 หลอดไฟฟาดี ไมสวาง

ผลการทดลองการตอวงจรแบบขนาน

รูปแบบการตอ วงจร ผลการทดลอง

แบบที่ 1 หลอดไฟฟาสวาง

แบบท่ี 2 หลอดไฟฟา สวา งเทา กนั

แบบที่ 3 หลอดไฟฟา อกี ดวงยังคงสวางอยู

13. นักเรียนและครูรวมกันสรุปความรูจากการทำกิจกรรมวา“การตอวงจรไฟฟาสำหรับหลอด
ไฟฟาในหองหรืออาคาร จึงควรตอวงจรแบบขนาน เพราะการตอดังกลาวเมื่อมีหลอดไฟฟา
ที่เพิ่มมาในระบบมากขึ้น หลอดไฟยังคงใหความสวางเทาเดิม และหากมีหลอดไฟฟาเสีย
อกี หลอดกย็ ังคงใชได”

Note
วัตถุประสงคข องกจิ กรรมเพื่อใหน กั เรยี น
- มีทักษะการทำงานรวมกันโดยใชกระบวนการกลุมในการทำงานหรือการทำ

กจิ กรรมเพ่อื ใหเกดิ การส่ือสารและแลกเปลยี่ นขอมูลรว มกนั ภายในกลมุ
- มที กั ษะการสืบคน ขอ มลู โดยใหน กั เรียนแตละคนสบื คนขอ มลู จากอินเทอรเนต็

เพื่อสบื เสาะหาความรตู ามหวั ขอท่ีไดร ับมอบหมาย
- มีทักษะการสังเกต โดยใหนักเรียนสังเกตการตอวงจรไฟฟาแบบปดและการตอ

วงจรไฟฟาแบบเปด จากหนังสือเรยี นเพ่ือนำไปปรบั ใชในการเรยี นไดอ ยา งเหมาะสม
- มที ักษะการคิดวิเคราะห โดยใหน ักเรยี นพิจารณาเนือ้ หาจากการสบื คน หรือศึกษา

ขอมูลจากแหลงขอ มูลตา ง ๆ เชน หนังสอื เรียน อนิ เทอรเนต็ เปน ตน

ข้นั สรุป

ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมินผลการนำเสนอของนกั เรยี นและตรวจสอบความถูกตอ งจากการทำใบงานที่ 2.4.1
เรื่อง ชา งไฟฟา
2. ครตู ้ังคำถามเพ่ือใหน กั เรียนคาดเดาวา “หากเพ่มิ ถา นไฟฉายในวงจรไฟฟา แบบอนกุ รม จะเกิด
อะไรขึ้นในวงจรไฟฟา ”
(แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคดิ เห็นของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยกู บั ดุลยพินจิ ของ
ครผู ูส อน โดยคำตอบท่ถี ูกตอง คือ หลอดไฟฟา จะสวางมากขน้ึ )
3. นกั เรยี นและครูรว มกันสรปุ ความรูเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธข องวิทยาศาสตรแ ละวศิ วกรรมศาสตร
วา“วงจรที่ประกอบดวยแหลง กำเนดิ ไฟฟา ตัวนำไฟฟา และเครื่องใชไฟฟาหรือโหลด เมื่อเปด

สวติ ชกระแสไฟฟาจะออกจากแหลงกำเนดิ ไฟฟา เชน ถานไฟฉาย จากขว้ั บวกผา นตวั นำไฟฟา
เชน สายไฟ ไปยังอุปกรณไฟฟาในวงจร จากนั้นกระแสไฟฟาจะไหลออกไปยังขั้วลบของ
แหลงกำเนิดไฟฟา เปนการเคลื่อนที่ครบวงจรของกระแสไฟฟา เรียกวงจรไฟฟานี้ว
“วงจรไฟฟาปด” และการตองวงจรไฟฟามี 2 แบบ คอื แบบอนุกรมและแบบขนาน โดยการ
ตอแบบอนุกรมจะเปนการตออุปกรณไฟฟาตอกนั หากมอี ุปกรณตัวใดตัวหนึ่งเสีย อุปกรณอื่น
ๆ ในวงจรจะใชงานไมได ในขณะท่กี ารตอแบบขนานเปนการตอ ครอ มกบั แหลง กำเนดิ ไฟฟา ทำ
ใหเปนการแยกวงจร หากมอี ุปกรณต วั ใดตัวหนึง่ เสยี อปุ กรณอ ื่น ๆ ในวงจรจะยงั คงใชง านได”
4. นักเรียนทำกิจกรรมทีส่ อดคลองกับเน้อื หาโดยใหผูเรยี นฝกปฏิบตั เิ พื่อพัฒนาความรูแ ละทักษะ
(Design Activity) และทำแบบฝกหัดทบทวนความรู ความเขา ใจ และพฒั นาทักษะการคิดของ
ผเู รียน (Unit Activity) โดยใหน กั เรยี นตอบคำถามใหถกู ตอ งลงในสมุดประจำตวั
5. นักเรียนตรวจสอบระดับความสามารถของตนเอง (Self-Check) โดนพิจารณาขอความวาถูก
หรือผิด หากนักเรียนพิจารณาขอความไมถ ูกตอง ใหน ักเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวขอ
ท่กี ำหนดให
6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง วัสดุ อุปกรณทางเทคโนโลยี
เพอ่ื วัดความรทู น่ี ักเรยี นไดร บั หลังผา นการเรียนรู

8. การวดั และประเมินผล วธิ วี ัด เครอ่ื งมอื เกณฑก ารประเมนิ
รายการวดั - ใบงานท่ี 2.4.1 - ตรวจใบงานท่ี 2.4.1 รอยละ 60 ผาน
เกณฑ
8.1 การประเมนิ ระหวา งการจัด - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
กิจกรรม การทำงาน การทำงานรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2
1) ไฟฟา และอุปกรณ รายบคุ คล - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผานเกณฑ
ทที่ ำใหเ กิดแสง การทำงานกลมุ
2) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2
รายบุคคล การทำงานกลมุ การนำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
- แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
3) พฤติกรรมการทำงานกลมุ - ประเมนิ การ คุณลักษณะ ผา นเกณฑ
นำเสนอ อันพงึ ประสงค
4) การนำเสนอผลงาน ผลงาน ระดับคุณภาพ 2
-สงั เกตความซ่ือสัตย ผา นเกณฑ
5) คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค สจุ ริต ความมีวนิ ัย
ใฝเรยี นรู มงุ มนั่ ใน
การทำงาน และจิต
สาธารณะ

รายการวดั วิธวี ดั เครือ่ งมอื เกณฑก ารประเมิน
8.2 การประเมนิ หลงั เรียน
- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ
- แบบทดสอบหลงั เรยี น
หนว ยการเรียนรูท่ี 2 หลังเรยี น
เรอ่ื ง วัสดุ อุปกรณ
ทางเทคโนโลยี

9. ส่อื /แหลงการเรียนรู
9.1 ส่อื การเรียนรู
1) หนังสอื เรียนวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2
วัสดุ อปุ กรณทางเทคโนโลยี
2) สอ่ื การเรยี นรูออนไลน ของ สสวท. ผา นเว็บไซต https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/
3) ส่อื PowerPoint
4) ใบงานท่ี 2.4.1 เรื่อง ชา งไฟฟา
5) เครือ่ งคอมพิวเตอร
6) อุปกรณตอ วงจรไฟฟา
7) หลอดไฟฟา
9.2 แหลง การเรียนรู
1) หอ งคอมพวิ เตอร
2) อนิ เทอรเน็ต

10. การใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจัดการเรยี นรู
10.1 การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั การเรียนรขู องผสู อน

3 หวง หลักพอประมาณ

ประเด็น

1.ภาระงาน/หนา ที่ วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน มุง เนนให

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการ พึงประส

เรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู และบริบท ตวั ช้วี ดั ส

ของโรงเรียน การศึกษ

บริบทขอ

2. การวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชสื่อ / แหลง เพื่อจัดก

เรียนรู / ทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชน มาตรฐา
สูงสุดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดมีลักษณะพึง ตามที่ห
ประสงค ตามที่หลักสูตรกำหนด เหมาะสม
กับวัย ระดบั ชั้น และเวลาเรยี นของผเู รยี น ระดับช้นั

หลกั มเี หตุผล หลักสรางภูมคิ ุมกันท่ีดีในตวั

หผูเรียนมีความรูทักษะคุณลักษณะอัน มีการวางแผนและบริหารจัดการ เพื่อจัดการ

สงคบรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู เรียนรู ใหตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรยี นรู ของหลกั สตู รแกนกลาง
ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
องโรงเรยี น มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
และบริบทของโรงเรยี น

กิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุตาม วางแผนการเตรียมการสอนไมใหบกพรอง

านและตัวชี้วัดมีลักษณะพึงประสงค โดยจัดทำแผนจัดการเรยี นรู ส่ือ แบบวัดและ

หลักสูตรกำหนด เหมาะสมกับวัย ประเมินผล ที่เหมาะสมกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด

น และเวลาเรยี นของผเู รียน สาระการเรียนรู และบริบทของโรงเรียน

เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และเวลาเรียนของ

ผูเรยี น

3 หวง หลกั พอประมาณ

ประเด็น

3.เทคนิค/วิธสี อน เลือกกิจกรรมการเรยี นรูใหเ หมาะกับบริบท ออกแบบ
การนำเท
ของ ผเู รยี น ครู ชมุ ชน ธรรมชาติวชิ า และ ทรพั ยาก

ทรัพยากรทม่ี ีอยู

4. การเลือกใช เลือกและใชเครื่องมอื วธิ กี าร และเกณฑการ เพอ่ื ใหผ ูเ

เครื่องมือ วิธีการ และ วัดผลประเมนิ ผลใหเหมาะสมกับกิจกรรม เรยี นรขู อ

เ ก ณ ฑ  ก า ร ว ั ด ผ ล การเรียนรแู ละศกั ยภาพของผูเรียน พ้ืนฐาน

ประเมนิ ผล

ความร:ู รอบรหู ลักสูตรสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 มาต
เทคนิควิธสี อน

คุณธรรม: ใฝเ รยี นรู ความรับผดิ ชอบ ความเสียสละ ความขยนั ความยุติธรรม

หลักมีเหตุผล หลักสรางภมู ิคุมกนั ทดี่ ีในตัว

บการจดั การเรยี นรู เพื่อใหเ หน็ คณุ คา จัดเตรียมสื่อ / แหลงเรียนรู / ทรพั ยากรที่มี

ทคโนโลยี สอ่ื / แหลงเรยี นรู / วัสดุ อุปกรณในการจัดการเรียนการสอนให

กรทมี่ ีอยมู าใชใ หเกิดประโยชนส ูงสดุ เพียงพอกับผูเรียน เตรียมสื่อ CAI (โปรแกรม

ชวยสอน) ในกรณีที่ครูไมสามารถมาสอนได

ลว งหนา

เรยี นบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคการจัดการ เตรียมวิธีปองกันปญหา ที่อาจเกิดจากการ

องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน จดั การเรียนรู การใชเ ครื่องมือไมตรงตามแผน
พุทธศักราช 2551 ที่วางไว วัดและประเมินผลบรรลุตาม

วัตถปุ ระสงคท ี่กำหนด

ตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั เน้ือหาความรเู ร่อื ง พื้นฐานทางคอมพวิ เตอร การวดั ผล ประเมนิ ผล และ

รักและเมตตาตอ ศษิ ย

10.2 คณุ ลกั ษณะ “อยอู ยางพอเพียง” ท่เี กดิ กับผูเ รยี น

หลกั พอประมาณ หลัก

1.เลอื กใชฮ ารดแวรอุปกรณเครือขา ยและ 1.ตัดสินใจเลือกใชฮารดแ

ตามความจำเปนใชงานไมฟุมเฟอยเสียคาใชจายเกิน ตรงตามความตองการใชง

ความจำเปน 2. ยอมรบั ความคดิ เหน็ แล

2. แบงหนาที่การทำงานไดตรงกับความสามารถของ กลุม

สมาชิกแตละคนในกลุมภายใตเวลาท่ีกำหนด 3.ใชทักษะกระบวนกา

3.ปฏบิ ตั งิ านโดยใชร ะยะเวลาทเ่ี หมาะสม ท้งั นีต้ องเกิด เทคโนโลยี การทำงานนอ

จากการวางแผนการทำงานที่ดีและทำงานอยางเปน บรรลตุ ามเปาหมาย

ระบบรูจักใชเ ทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั ภาระงาน

ความร:ู มีความรู ความเขา ใจไฟฟา และอปุ กรณท่ีทำใหเกิดแสง
คุณธรรม: มีความซ่อื สตั ยในการปฏบิ ตั งิ าน ขยนั รบั ผดิ ชอบ มงุ ม่ันในการทำงา
เรยี นท้ังดา นความรูและทรัพยากรท่เี ก่ียวของกับบรบิ ทของการสรางและนำเสนองาน

นำไปสู สมดลุ และพรอ

กมีเหตุผล หลกั สรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว

แวรอุปกรณเครือขายตาง ๆได 1. มีการวางแผนในการเรียน การทำงานกลุมอยาง

งาน รอบคอบและเปนระบบ

ละความสามารถของสมาชิกใน 2.เตรียมพรอมแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นในชวงที่สราง

งานและนำเสนอผลงาน

ารทำงานกลุม ทักษะการใช 3. เตรียมพรอมสำหรับผลคะแนนที่จะไดรับจากการ

อกเวลาเรียนเพื่อใหภาระงาน ตรวจชิ้นงานและนำเสนองานของครูผสู อน

าน มคี วามประหยดั ในการเลือกวัสดุและอปุ กรณเทคโนโลยี มีน้ำใจชวยเหลอื เพื่อนในช้ัน
นโดยใชโ ปรแกรมคอมพวิ เตอร และสงงานตรงเวลา

อมรับการเปลี่ยนแปลง

ดา นวตั ถุ ดานสังคม

- มีความรูในการวางแผนการทำงาน - การทำงานรว มกบั เพ่อื น

ก า ร จ ั ด แ บ  ง ห น  า ท ี ่ ต า ม ค ว า ม รู ในกลมุ

ความสามารถของแตละคน - แลกเปลย่ี นเรยี นรูรว มกัน

- มีความรูในเรื่องการสืบคนการ สรุป กับเพ่ือน และครู

องคความรู และการจัดการความรูโดย - ประยุกตใชเ ทคโนโลยีในการทำงาน

ใชคอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ อยางสรางสรรค

เศรษฐกิจพอเพยี ง - ร ู  ร ะ เ บ ี ย บ ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ ใ น ก า ร ใ ช

- มีความรู ความเขาใจในเรื่องของการ คอมพิวเตอรรว มกบั ผูอ่นื

ใชคอมพวิ เตอรและอปุ กรณประกอบอื่น

เพื่อการสรา งงาน

- มีทักษะในการวางแผนการทำงานและ - มที ักษะในการทำงาน

การใชวัสดุอุปกรณ เพื่อใหเกิดความ รวมกัน แบง ปน

คมุ คา เอือ้ เฟอ เผอื่ แผ

- มีทักษะในการออกแบบและการสราง - ทกั ษะการทำงานอยาง

ชิ้นงานโดยใชคอมพิวเตอรตามหลัก เปนระบบมกี ารวางแผน

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการทำงาน

ดา นส่ิงแวดลอม ดา นวัฒนธรรม

- มีความรูในการเลอื กใชเทคโนโลยี เพ่ือ - รวู ฒั นธรรมในการทำงานรว มกับผอู ่ืน

ใชประโยชนไดอยางเหมาะสมกับ - รูวัฒนธรรม ในการแบงปน การใช

สภาพแวดลอม เทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสรางชิน้ งาน

- มคี วามรูในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - รูมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผูอืน่

- มีทักษะในการเลือกใชเ ทคโนโลยี เพื่อใช - ถายทอดวัฒนธรรมในการแบงปนการ

ป ร ะ โ ย ช น  ไ ด  อ ย  า ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ ใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสราง

สภาพแวดลอม ชนิ้ งาน

ดา นวัตถุ ดานสงั คม

- มีทักษะในการเลือกคอมพิวเตอรและ - ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บการใช
วัสดุอุปกรณประกอบในการสรางงาน คอมพวิ เตอรรวมกบั ผูอน่ื
และนำเสนออยางเหมาะสม

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการวาง - มีเจตคติที่ดีในการชวยเหลือเกื้อกูล

แผนการทำงานและการใชวัสดุอุปกรณ แบงปน เอ้ือเฟอ เผ่ือแผ ในการทำงาน

เพือ่ ใหเ กิดความคมุ คา - เห็นคุณคาของการทำงานอยางเปน

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการอก ระบบและมกี ารวางแผนในการทำงาน

แบบและการสรางชิ้นงานโดยใช -ตระหนักและเห็นคุณคาของการเปน

คอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ แบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตาม

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบียบการใชคอมพิวเตอรรวมกับ

- มีเจตคติท่ดี ีในการใชคอมพวิ เตอรเพื่อ ผอู นื่

การนำเสนอความรู

ดานสิ่งแวดลอม ดานวัฒนธรรม

- มีทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - มีมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผอู ่ืน

-ตระหนกั และ เห็นคุณคา ของการเลือกใช - เกิดความภาคภมู ใิ จผลงานท่ที ำ

เทคโนโลยี เพื่อใชประโยชนไดอยาง - ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช การ

เหมาะสมกับสภาพแวดลอม รักษาทรัพยากรสวนรวมอยางประหยัด

-ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช และคุมคา

เทคโนโลยีอยางคุมคาและประหยัด -มีเจตคติ ที่ดี ตอวัฒน ธรรมการใช

พลงั งาน เทคโนโลยีรว มกบั ผอู ่ืน

ใบกจิ กรรมท่ี 2.4.1

เรอ่ื ง ชางไฟฟา

คำชแ้ี จง : ใหนักเรยี นออกแบบวงจรไฟฟาสำหรบั หลอดไฟฟาในหอง 2 หอง โดยมเี งอ่ื นไข ดงั นี้

เง่อื นไข : หลอดไฟฟาทง้ั สองหลอดตอ งมีความสวางเทา กัน และหากหลอดไฟฟา หองใดหอ งหนง่ึ เสีย
หลอดไฟฟาของอกี หอ งจะยังคงใชไดอยู

อปุ กรณท่ใี ช :
1. หลอดไฟฟาสำหรับทดสอบจำนวน 4 หลอด เปนหลอดที่ใชงานได 3 หลอด และหลอดเสีย 1
หลอด
2. รางถานไฟฉายคู 1 ราง
3. ถา นไฟฉาย 2 กอ น
4. สายไฟสีแดง 2 เสน สายไฟสดี ำ 2 เสน

รางแบบการตอวงจรแบบอนุกรม

แบบที่ 1 ตอหลอดไฟฟาจำนวน แบบที่ 2 ตอหลอดไฟฟาที่ใชงาน แบบที่ 3 ตอหลอดไฟฟาหลอดที่

1 หลอด ไดจำนวน 2 หลอด เสียจำนวน 1 หลอด และหลอด

ไฟฟาทใ่ี ชงานไดจำนวน 1 หลอด

รูปแบบการตอ วงจร ผลการทดลองการตอวงจรแบบอนกุ รม
แบบที่ 1 ผลการทดลอง
แบบท่ี 2
แบบท่ี 3

รา งแบบการตอ วงจรแบบขนาน

แบบที่ 1 ตอหลอดไฟฟาจำนวน แบบที่ 2 ตอหลอดไฟฟาที่ใชงาน แบบที่ 3 ตอหลอดไฟฟาหลอดท่ี

1 หลอด ไดจ ำนวน 2 หลอด เสียจำนวน 1 หลอด และหลอด

ไฟฟาทใี่ ชง านไดจ ำนวน 1 หลอด

รปู แบบการตอ วงจร ผลการทดลองการตอ วงจรแบบขนาน
แบบท่ี 1 ผลการทดลอง
แบบที่ 2
แบบท่ี 3

มตขิ องกลุมสำหรบั การเลอื กการตอ วงจรไฟฟาภายในหองหรอื อาคารตามเงอื่ นไขท่ีกำหนดให
 การตอวงจรแบบอนุกรม เพราะ ...............................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
 การตอวงจรแบบขนาน เพราะ ..................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ใบกจิ กรรมที่ 2.4.1 เฉลย

เรอ่ื ง ชางไฟฟา

คำชี้แจง : ใหน ักเรยี นออกแบบวงจรไฟฟา สำหรับหลอดไฟฟา ในหอ ง 2 หอ ง โดยมเี งอื่ นไข ดงั นี้

เง่ือนไข : หลอดไฟฟาท้งั สองหลอดตอ งมีความสวางเทา กนั และหากหลอดไฟฟาหองใดหองหนง่ึ เสีย
หลอดไฟฟาของอกี หอ งจะยังคงใชไ ดอยู

อปุ กรณท ใ่ี ช :
1. หลอดไฟฟาสำหรับทดสอบจำนวน 4 หลอด เปนหลอดที่ใชงานได 3 หลอด และหลอดเสีย 1
หลอด
2. รางถา นไฟฉายคู 1 ราง
3. ถานไฟฉาย 2 กอน
4. สายไฟสแี ดง 2 เสน สายไฟสดี ำ 2 เสน

รา งแบบการตอ วงจรแบบอนุกรม

แบบที่ 1 ตอหลอดไฟฟาจำนวน แบบที่ 2 ตอหลอดไฟฟาที่ใชงาน แบบที่ 3 ตอหลอดไฟฟาหลอดที่

1 หลอด ไดจำนวน 2 หลอด เสียจำนวน 1 หลอด และหลอด

ไฟฟา ท่ใี ชง านไดจ ำนวน 1 หลอด

รปู แบบการตอ วงจร ผลการทดลองการตอ วงจรแบบอนุกรม
แบบที่ 1 ผลการทดลอง
แบบท่ี 2
แบบท่ี 3 หลอดไฟฟาสวาง
หลอดไฟฟาสวางนอยลง
หลอดไฟฟาดี ไมสวา ง

รา งแบบการตอ วงจรแบบขนาน

แบบที่ 1 ตอหลอดไฟฟาจำนวน แบบที่ 2 ตอหลอดไฟฟาที่ใชงาน แบบที่ 3 ตอหลอดไฟฟาหลอดที่

1 หลอด ไดจำนวน 2 หลอด เสียจำนวน 1 หลอด และหลอด

ไฟฟา ที่ใชงานไดจ ำนวน 1 หลอด

รปู แบบการตอวงจร ผลการทดลองการตอวงจรแบบขนาน
แบบท่ี 1 ผลการทดลอง
แบบท่ี 2
แบบท่ี 3 หลอดไฟฟาสวา ง
หลอดไฟฟาสวางเทา กัน
หลอดไฟฟา อีกดวงยงั คงสวางอยู

มตขิ องกลมุ สำหรบั การเลอื กการตอวงจรไฟฟา ภายในหองหรอื อาคารตามเงื่อนไขทก่ี ำหนดให

 การตอวงจรแบบอนุกรม เพราะ ...............................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

 การตอวงจรแบบขนาน เพราะการตอดงั กลา วเม่ือมหี ลอดไฟฟา ทเ่ี พิ่มมาในระบบมากขน้ึ หลอดไฟฟา
ยังคงใหความสวางเทา เดิม และหากมหี ลอดไฟฟา เสยี อกี หลอดยังคงใชไ ด

แบบทดสอบหลงั เรียน

หนว ยการเรียนรูท ี่ 2

คำชี้แจง : ใหนักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. วัสดใุ นขอใดท่มี คี ณุ สมบตั ิการนำไฟฟา และ 7. ตัวกลางใดท่เี สยี งเคล่อื นที่ไดเ รว็ ท่ีสดุ

มีน้ำหนักเบา ก. น้ำ ข. ไม

ก. ไม ข. ยาง ค. อากาศ ง. สญุ ญากาศ

ค. ทองแดง ง. เซรามกิ 8. ถาอากาศมอี ุณหภูมสิ งู ข้นึ มผี ลตอ การเคลอ่ื นท่ี

2. วัสดุในขอใดทสี่ รา งขน้ึ ใหมจ ากวัสดตุ ้ังแต ของเสียงอยางไร

2 ชนิด และมีคุณสมบัตทิ ีแ่ ตกตา งไปจากเดิม ก. เสยี งหยดุ เคลื่อนที่

ก. ไม ข. ผา ข. เสยี งเคลอื่ นท่ีไดเรว็ ข้ึน

ค. ยาง ง. พลาสตกิ ค. เสยี งเคลอ่ื นท่ไี ดชาลง

3. เคร่อื งสขุ ภัณฑน ยิ มสรางจากวัสดใุ ด ง. เสียงยังคงเคลอื่ นที่ดว ยความเร็วเทา เดมิ

ก. เซรามิก ข. พลาสตกิ 9. ตัวตานทานเปนวงจรการทำงานของอปุ กรณใ ด

ค. เหลก็ กลา ง. อลูมิเนียม ก. ถา ยไฟฉาย

4. เคร่อื งกลท่ชี วยยกของท่ีมีน้ำหนักมาก ๆ ข. แบตเตอร่ี

เพ่ือขึ้นทสี่ งู หรือลงท่ีต่ำ มักใชในงาน ค. สายไฟฟา

กอสรางคือเครอื่ งมอื อะไร ง. หลอดไฟฟา

ก. รอก ข. คาน 10. จากภาพกลา วถึงวงจรไฟฟาแบบใด

ค. พน้ื เอยี ง ง. ลมิ่

5. เคร่อื งมอื ใดใชหลักการของคานชว ยให

สะดวกในการทำงาน

ก. ตะเกยี บ ข. ลูกบดิ ประตู

ค. พวงมาลัยรถ ง. กวา นยกถงั น้ำ ก. วงจรไฟฟาแบบปด ไมม ีกระแสไฟฟา ไหลผา น
6. ขอใดจดั เปนเคร่ืองมอื วดั ที่ชว ยใหไ ดช นิ้ งาน ข. วงจรไฟฟาแบบปด มีกระแสไฟฟาไหลผาน
ค. วงจรไฟฟาแบบเปด ไมม ีกระแสไฟฟา ไหลผา น
ทม่ี ขี นาดตรงกับท่ตี อ งการ ง. วงจรไฟฟาแบบเปด มกี ระแสไฟฟาไหลผาน
ก. ไขควง
ข. สวานมอื

ค. คตั เตอร

ง. ไมบ รรทัด

เฉลย
1. ค 2. ง แ3บ. บกประเ4ม. นิกคุณล5ัก.ษกณะอ6นั .พงึงประ7ส.งคค 8. ข 9. ง 10. ค

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค

คำชีแ้ จง : ใหผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี  ลงในชอ งทต่ี รงกับ

ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคด า น ระดบั คะแนน

รายชือ่ นักเรยี น 1. ัรกชา ิต ศาสน ก ัษต ิร ย 321
2 ความ ่ืซอ ัสตยสุจ ิรต
3. มีวิ ันย
4. ใ ฝเ ีรยน ูร
5. อ ูยอยางพอเพียง
6. มุงม่ันในการทำงาน
7. ัรกความเปนไทย
8. มี ิจตสาธารณะ

เดก็ หญิงกานตธิดา คงยง
เด็กหญิงดารินทพิ ย ทรงเลิศ
เด็กหญิงนันทิกานต ถาวร
เดก็ หญิงบัณฑติ า รตั นพนั ธ
เด็กหญิงวราภร เอี่ยมอกั ษร
เด็กหญงิ สุธดิ า สวุ รรณคช
เดก็ หญิงสุลัดดา ชูบวั ทอง
เด็กหญงิ อนิตยา วรี ะสขุ
เด็กหญงิ อนิศา รัตนพันธ
เดก็ ชายชยั อัมรินทร ตาดทอง
เด็กชายเจนวทิ ย วเิ ชยี ร
เด็กชายธนกร ทองออ น
เด็กชายธรี ภทั ร ทองสม
เด็กชายนารากร ทองทิพย
เดก็ ชายภวู เดช ฤทธิพลัด
เดก็ ชายมนสั ชัย คงยงค
เดก็ ชายรฐั พล จันสขุ
เดก็ ชายรฐั ภูมิ หนชู ุม
เดก็ ชายศักดน์ิ รนิ ทร โมรา
เด็กชายสรุ ิยศักดิ์ ปานเฉวง
เดก็ ชายอภวิ ัฒน สกุณา

เกณฑก ารใหคะแนน ลงชอ่ื ..............................................ผปู ระเมิน
................../.................../....................
- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติชดั เจนและบอยคร้งั ให 2 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตบิ างคร้งั ให 1 คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

1. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ปญ หา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................ครูผสู อน
(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)

วันที่.......เดอื น..........................พ.ศ. ............

4. ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู
ขอ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................................
()

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

5. ความเหน็ ของหัวหนา กลุมบริหารวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นางสาวรจุ ริ า บัวลอย)

หัวหนา กลมุ บรหิ ารวิชาการ

6. ความเหน็ ของผอู ำนวยการสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นางจิราพร อินทรทัศน)

ผอู ำนวยการโรงเรยี นวังหนิ วิทยาคม

แผนการจัดการเรยี นรู

แผนการจัดการเรยี นรูที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร

กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว22103
ชั้น มัธยมศึกษาปท ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565
หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เวลาเรยี น 2 ช่ัวโมง

สาระที่ 4 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
1. มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

1.1 ตวั ช้ีวดั
ว 4.1 ม.2/2 ระบุปญหาหรือความตองการในชมุ ชนหรือทองถิ่น สรปุ กรอบของปญ หา รวบรวม

วิเคราะหข อมลู และแนวคิดท่เี กี่ยวขอ งกบั ปญหา

2. สาระสำคญั
ในปจจุบันวิวัฒนาการของมนุษยพัฒนาไปอยางรวดเร็ว มนุษยจึงไดนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร

เขา มาชวยแกปญหา แตมนุษยกไ็ มหยุดที่จะเรียนรูส ่ิงใหม ๆ และยังคงมกี ารพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม
อยางตอเนื่อง โดยมนุษยจึงคิดคนหลักการของกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตรมา เพื่อตอบสนองความ
ตองการของมนษุ ยท ีจ่ ะคิดคน และประดษิ ฐสิง่ ตา ง ๆ มาทำใหม นษุ ยไ ดใ ชชีวิตอยางสะดวกสบายมากขน้ึ

3. จดุ ประสงคก ารเรียนรู
1. อธิบายกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละวิศวกรรมศาสตรไ ดถูกตอง (K)
2. บอกความสัมพันธของกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละวศิ วกรรมศาสตรไ ดถ กู ตอง (K)
3. เขียนขนั้ ตอนการแกป ญ หาโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตรได (P)
4. เลง็ เหน็ ถึงความสำคัญของการแกป ญหาโดยใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร (A)

4. สาระการเรยี นรู

สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรยี นรทู อ งถิน่

- ปญหาหรอื ความตอ งการในชุมชนหรือทองถ่นิ พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา
มหี ลายอยา ง ขนึ้ กบั บรบิ ทหรือสถานการณท ่ี
ประสบ เชน ดา นพลังงาน สงิ่ แวดลอ ม การเกษตร
การอาหาร
- การระบปุ ญ หาจำเปน ตอ งมกี ารวเิ คราะห
สถานการณข องปญ หาเพือ่ สรุปกรอบของปญหา
แลวดำเนินการสืบคน รวบรวมขอ มลู ความรูจาก
ศาสตรต า ง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เพื่อนำไปสูการ
ออกแบบแนวทางการแกปญ หา

5. สมรรถนะสำคัญของผเู รียนและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค

สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี ินัย รับผิดชอบ
- ทกั ษะการส่ือสาร 2. ใฝเรยี นรู
- ทกั ษะการแลกเปลีย่ นขอมลู 3. มงุ มนั่ ในการทำงาน

2. ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห

3. ความสามารถในการแกป ญหา
- ทกั ษะการสังเกต

4. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต
- ทักษะการทำงานรวมกนั

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
- ทักษะการสืบคน ขอ มูล

6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
6.1 แบบทดสอบกอนเรียน
6.2 ใบงานท่ี 3.1.1

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู

ชัว่ โมงท่ี 1

ขน้ั นำ

ข้นั ที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engagement)ฃ
1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ นเรยี นหนว ยการเรยี นรูที่ 3 กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
2. นักเรียนศึกษาความหมายของกระบวนการทางวิทยาศาสตรและกระบวนการทาง

วิศวกรรมศาสตรจากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.2 หนวยการ
เรียนรูที่ 3 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม หรือสืบคนความหมายเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ตที่เครื่อง
คอมพวิ เตอรของตนเอง

3. ครูถามคำถามกระตุนความคิดใหน ักเรียนแสดงความคิดเห็นโดยใชคำถามสำคัญประจำหวั ขอ
วา“นกั เรียนคดิ วากระบวนการทางวิทยาศาสตรมีความสัมพันธก ับกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตรอยางไร”

(แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน
เชน กระบวนการทางวิทยาศาสตรมคี วามสมั พนั ธกับกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตรตรงที่กระบวนการทาง
วศิ วกรรมศาสตรจ ะตอ งนำองคค วามรแู ละทฤษฎีตาง ๆ จากกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรม าสรางสรรคเ ปน ชิน้ งานหรือผลงานข้ึน)

ข้นั สอน

ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคนหา (Exploration)
1. นักเรยี นสังเกตผังแสดงกระบวนการคิดและการทำงานทางวิทยาศาสตรแ ละวิศวกรรมศาสตร

เพอ่ื เปรยี บเทียบลกั ษณะการทำงานของแตล ะกระบวนการ
2. ครูนำปากกาเคมแี สดงใหนักเรยี นไดส ังเกตดแู ละถามคำถามวา“นักเรยี นคิดวา การสรา งปากกาเคมี

ตองการผา นกระบวนการทางวิทยาศาสตรห รือกระบวนการทางวศิ วกรรมศาสตรห รือไมอยา งไร”
(แนวตอบ : ผานทั้ง 2 กระบวนการ โดยสวนดานในของปากกาเคมีตองมีการเรียนรูเกี่ยวกับสารเคมีสี
สามารถเขียนกับวัตถุชิ้นใดถึงจะสามารถลบออกได สวนบรรจุภณั ฑจะเปนกระบวนการทางวศิ วกรรมศาสตร
เพราะตองออกแบบผลิตภัณฑไ มใหส ารเคมดี านในเกิดการระเหยหรอื ทำใหส ารเคมีมอี ายุการใชง านนานที่สดุ )

3. นกั เรียนรว มกันยกตัวอยา งผลิตภัณฑแ ละรว มกนั อภิปรายวาในผลติ ภัณฑน นั้ สงิ่ ใดเปน กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรและสิ่งใดเปน กระบวนการทางวศิ วกรรมศาสตร

4. นกั เรยี นศกึ ษาคนควาเกย่ี วกับ ผลติ ภัณฑท ่นี กั เรยี นไดย กตวั อยา งวาแตละชิ้นผานกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตรอ ยางไร และศึกษาความเชือ่ มโยงเกี่ยวกบั ความสัมพนั ธข องกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรและวศิ วกรรมศาสตร จากแหลงการเรียนรู เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต และสรปุ เปนผังมโนทัศน
(Mind Mapping) ลงในกระดาษ A4

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู (Explanation)
5. ครูสุมนักเรยี น 5-6 คน หรอื ตามความเหมาะสม ออกมานำเสนอผงั มโนทศั น (Mind Mapping)

จากที่นักเรียนไดทำการศึกษาคนความาแลว จากนั้นครูสรุปความรูตามที่นักเรียนออกมานำเสนอวา
“กระบวนการทางวิทยาศาสตรเ ปนการนำความรทู ่มี ีอยูนำมาหาขอพสิ ูจน โดยการตงั้ สมมตฐิ าน ออกแบบการ

ทดลอง จากน้นั วิเคราะหเ ปน นโยบาย เพื่อตรวจสอบขอสมมติฐานและสงิ่ ท่ีเราตองการพิสูจน เมอื่ เราไดข อ สรปุ
จากกระบวนการทางวิทยาศาสตรแลว เราจึงนำไปประยุกตใชและพัฒนาใหเกิดเทคโนโลยีหรือนวัตกรรม
ตาง ๆ โดยผานกระบวนการทางวศิ วกรรมศาสตร”

ชั่วโมงที่ 2

ข้ันที่ 3 อธิบายความรู (Explanation)
6. ครูอธิบายเกี่ยวกับความหมายของกระบวนการทางวิทยาศาสตรวา“กระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร เปนกระบวนการที่ผูคนสวนใหญยอมรับกัน เพราะเปนกระบวนการที่จะสามารถหาคำตอบ
แกปญหาและพิสูจนเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาตไิ ด อีกทั้งยังคำนวณปรากฏการณทาง

ธรรมชาติไดล วงหนา และยงั สามารถสรางสรรคเทคโนโลยี เพอ่ื อำนวยความสะดวกใหกับมนุษยไดอกี ดวย”
7. ครูยกตัวอยา งแนวคดิ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของเซอร ไอแซก นวิ ตัน เกีย่ วกับการแยก

แสงสีที่ขาววา“นิวตันสามารถแยกแสงสีขาวออกมาเปนแถบแสง 7 สี จากดวงอาทิตยไดสำเร็จ โดยทำการ
ทดลองกับปริซมึ ทำใหมนษุ ยส ามารถอธิบายปรากฏการณร ุง กนิ น้ำได และยังนำความรไู ปสรางส่งิ อำนวยความ
สะดวกใหกับมนุษย เชน แวนสายตา กระจกเงา โคมไฟคริสตัล เปนตน โดยผานกระบวนการทาง
วศิ วกรรมศาสตร”

8. จากนัน้ ใหนักเรียนสแกนคิวอารโคด เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตรกับการทดลองการหัก
เหของแสง จากหนงั สอื เรยี น เพอ่ื ขยายความเขาใจมากยง่ิ ข้ึน

9. ครูเขียนผังมโนทัศน (Mind Mapping) บนกระดาน เกี่ยวกับการใชกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรก บั การทดลองของนวิ ตัน เพอื่ ใหนกั เรียนไดเขาใจมากขนึ้ ถงึ การประยกุ ตใชกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร โดยมหี วั ขอดังน้ี

1) ความรูเดิม (Existing Knowledge)
2) ความอยากรทู างวิทยาศาสตร (Scientific Curiosity)
3) ต้งั สมมตฐิ าน (Hypothesis)
4) ออกแบบการทดลอง (Experiment)
5) สรุปวิเคราะห (Analysis)
6) นำขอ สรุปไปพสิ จู น (Proof)

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaboration)
10. นักเรียนแบงกลมุ กลมุ ละ 3-4 คน ตามความเหมาะสมเพ่อื ทำใบงานที่ 3.1.1 เร่อื ง กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร โดยใหนักเรียนอธิบายวิธีการทำโคมไฟครสิ ตัล โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เมื่อเสร็จ
แลวใหนกั เรียนแตล ะกลุมสงตวั แทนออกมานำเสนอหนา ช้นั เรียน

Note
วตั ถุประสงคข องกิจกรรมเพือ่ ใหนกั เรยี น
- มีทักษะการทำงานรวมกันโดยใชกระบวนการกลุมในการทำงานหรือการทำ

กจิ กรรมเพอื่ ใหเกดิ การสอ่ื สารและแลกเปลย่ี นขอมูลรว มกันภายในกลมุ
- มีทักษะการสบื คนขอมูล โดยใหน ักเรียนแตละคนสบื คนขอมลู จากอินเทอรเ นต็

เพ่อื สบื เสาะหาความรูตามหัวขอ ทีไ่ ดร บั มอบหมาย
- มที ักษะการสงั เกต โดยใหนักเรียนสังเกตผงั แสดงกระบวนการคดิ และกระบวนการ

ทำงานทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร จากหนังสือเรยี น เพ่ือนำไปปรับใชในการเรียน
ไดอยา งเหมาะสม

- มีทักษะการคิดวิเคราะห โดยใหนักเรยี นพิจารณาเนอ้ื หาจากการสบื คน หรือศึกษา
ขอมูลจากแหลง ขอ มลู ตาง ๆ เชน หนังสอื เรยี น อนิ เทอรเนต็ เปนตน

ขนั้ สรุป

ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมนิ การนำเสนอของนักเรยี นและตรวจสอบความถูกตอ งจากใบงานที่ 3.1.1
เร่อื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร
2. ครูถามคำถามเพื่อตรวจสอบความรูของนักเรียนวา“นักเรียนไดความรูจากการเรียนรูเกี่ยวกับ
ความสมั พนั ธทางวิทยาศาสตรแ ละวิศวกรรมศาสตรอยางไรบาง” นกั เรยี นรวมกันแสดงความคดิ เหน็
3. นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรูเกี่ยวกบั ความสัมพันธของวิทยาศาสตรแ ละวิศวกรรมศาสตรวา
“การเรียนรูกระบวนการทางวิทยาศาสตรเปนประโยชนตอมนุษยเปนอยางมาก เพราะจะชวยทำใหเกิด
วิทยาการ และสรา งกระบวนการใหม ๆ โดยเฉพาะกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร ซึ่งเปน ศาสตรหนึ่งทีจ่ ะ
สรางนวตั กรรม เทคโนโลยี หรือสิ่งอำนวยความสะดวกใหก บั มนุษยอกี ไดมากมาย”

8. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วธิ วี ดั เครอื่ งมอื เกณฑการประเมิน

8.1 การประเมินกอนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอนเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ
- แบบทดสอบกอนเรียน กอนเรยี น
หนว ยการเรยี นรทู ่ี 3
เรือ่ ง กระบวนการ
ออกแบบเชิงวศิ วกรรม

8.2 การประเมินระหวา งการ - ใบงานท่ี 3.1.1 - ตรวจใบงานท่ี 3.1.1 รอยละ 60 ผา น
จดั กจิ กรรม เกณฑ
1) กระบวนการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
ทางวทิ ยาศาสตร การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2
2) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผานเกณฑ
รายบุคคล การทำงานกลุม การทำงานกลุม ระดบั คณุ ภาพ 2
3) พฤติกรรมการทำงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน ผา นเกณฑ
กลมุ ผลงาน การนำเสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ 2
4) การนำเสนอผลงาน - สงั เกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ ผา นเกณฑ
ใฝเ รยี นรู และมงุ มนั่ คณุ ลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ 2
5) คณุ ลกั ษณะ ในการทำงาน อันพึงประสงค ผา นเกณฑ
อันพงึ ประสงค

9. สอ่ื /แหลง การเรียนรู
9.1 ส่อื การเรียนรู
1) หนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.2 หนว ยการเรียนรูท ่ี 3
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2) ส่อื การเรียนรูออนไลน ของ สสวท. ผานเว็บไซต https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/
3) สอ่ื PowerPoint
4) ใบงานท่ี 3.1.1 เรอื่ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร
5) เครื่องคอมพิวเตอร
6) ปากกาเคมี
9.2 แหลง การเรียนรู
1) หอ งคอมพิวเตอร
2) อินเทอรเน็ต
3) หองสมดุ

10. การใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจัดการเรยี นรู
10.1 การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั การเรียนรขู องผสู อน

3 หวง หลักพอประมาณ

ประเด็น

1.ภาระงาน/หนา ที่ วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน มุง เนนให

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการ พึงประส

เรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู และบริบท ตวั ช้วี ดั ส

ของโรงเรียน การศึกษ

บริบทขอ

2. การวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชสื่อ / แหลง เพื่อจัดก

เรียนรู / ทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชน มาตรฐา
สูงสุดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดมีลักษณะพึง ตามที่ห
ประสงค ตามที่หลักสูตรกำหนด เหมาะสม
กับวัย ระดบั ชั้น และเวลาเรยี นของผเู รยี น ระดับช้นั

หลกั มเี หตุผล หลักสรางภูมคิ ุมกันท่ีดีในตวั

หผูเรียนมีความรูทักษะคุณลักษณะอัน มีการวางแผนและบริหารจัดการ เพื่อจัดการ

สงคบรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู เรียนรู ใหตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรยี นรู ของหลกั สตู รแกนกลาง
ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
องโรงเรยี น มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
และบริบทของโรงเรยี น

กิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุตาม วางแผนการเตรียมการสอนไมใหบกพรอง

านและตัวชี้วัดมีลักษณะพึงประสงค โดยจัดทำแผนจัดการเรยี นรู ส่ือ แบบวัดและ

หลักสูตรกำหนด เหมาะสมกับวัย ประเมินผล ที่เหมาะสมกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด

น และเวลาเรยี นของผเู รียน สาระการเรียนรู และบริบทของโรงเรียน

เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และเวลาเรียนของ

ผูเรยี น

3 หวง หลกั พอประมาณ

ประเด็น

3.เทคนิค/วิธสี อน เลือกกิจกรรมการเรยี นรูใหเ หมาะกับบริบท ออกแบบ
การนำเท
ของ ผเู รยี น ครู ชมุ ชน ธรรมชาติวชิ า และ ทรพั ยาก

ทรัพยากรทม่ี ีอยู

4. การเลือกใช เลือกและใชเครื่องมอื วธิ กี าร และเกณฑการ เพอ่ื ใหผ ูเ

เครื่องมือ วิธีการ และ วัดผลประเมนิ ผลใหเหมาะสมกับกิจกรรม เรยี นรขู อ

เ ก ณ ฑ  ก า ร ว ั ด ผ ล การเรียนรแู ละศกั ยภาพของผูเรียน พ้ืนฐาน

ประเมนิ ผล

ความร:ู รอบรหู ลักสูตรสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 มาต
เทคนิควิธสี อน

คุณธรรม: ใฝเ รยี นรู ความรับผดิ ชอบ ความเสียสละ ความขยนั ความยุติธรรม

หลักมีเหตุผล หลักสรางภมู ิคุมกนั ทดี่ ีในตัว

บการจดั การเรยี นรู เพื่อใหเ หน็ คณุ คา จัดเตรียมสื่อ / แหลงเรียนรู / ทรพั ยากรที่มี

ทคโนโลยี สอ่ื / แหลงเรยี นรู / วัสดุ อุปกรณในการจัดการเรียนการสอนให

กรทมี่ ีอยมู าใชใ หเกิดประโยชนส ูงสดุ เพียงพอกับผูเรียน เตรียมสื่อ CAI (โปรแกรม

ชวยสอน) ในกรณีที่ครูไมสามารถมาสอนได

ลว งหนา

เรยี นบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคการจัดการ เตรียมวิธีปองกันปญหา ที่อาจเกิดจากการ

องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน จดั การเรียนรู การใชเ คร่อื งมือไมต รงตามแผน
พุทธศักราช 2551 ที่วางไว วัดและประเมินผลบรรลุตาม

วัตถปุ ระสงคท ี่กำหนด

ตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั เน้ือหาความรเู ร่อื ง พื้นฐานทางคอมพวิ เตอร การวดั ผล ประเมนิ ผล และ

รักและเมตตาตอ ศษิ ย

10.2 คณุ ลกั ษณะ “อยอู ยา งพอเพียง” ที่เกดิ กับผเู รยี น

หลกั พอประมาณ หลัก

1.เลือกใชฮ ารดแวรอ ปุ กรณเครอื ขา ยและ 1.ตัดสินใจเลือกใชฮารดแ

ตามความจำเปนใชงานไมฟุมเฟอยเสียคาใชจายเกิน ตรงตามความตองการใชง

ความจำเปน 2. ยอมรบั ความคิดเห็นแล

2. แบงหนาที่การทำงานไดตรงกับความสามารถของ กลุม

สมาชกิ แตละคนในกลุมภายใตเวลาที่กำหนด 3.ใชทักษะกระบวนกา

3.ปฏิบตั งิ านโดยใชระยะเวลาท่เี หมาะสม ทง้ั นี้ตอ งเกิด เทคโนโลยี การทำงานนอ

จากการวางแผนการทำงานที่ดีและทำงานอยางเปน บรรลุตามเปาหมาย

ระบบรจู ักใชเ ทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับภาระงาน

ความร:ู มีความรู ความเขาใจกระบวนการทางวิทยาศาสตร
คุณธรรม: มีความซอื่ สตั ยในการปฏบิ ตั ิงาน ขยนั รับผดิ ชอบ มงุ ม่ันในการทำงา
เรียนทัง้ ดา นความรูและทรัพยากรทเ่ี กี่ยวของกบั บรบิ ทของการสรางและนำเสนองาน

นำไปสู สมดุลและพรอ

กมเี หตผุ ล หลกั สรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว

แวรอุปกรณเครือขายตาง ๆได 1. มีการวางแผนในการเรียน การทำงานกลุมอยาง

งาน รอบคอบและเปนระบบ

ละความสามารถของสมาชิกใน 2.เตรียมพรอมแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นในชวงที่สราง

งานและนำเสนอผลงาน

ารทำงานกลุม ทักษะการใช 3. เตรียมพรอมสำหรับผลคะแนนที่จะไดรับจากการ

อกเวลาเรียนเพื่อใหภาระงาน ตรวจชิ้นงานและนำเสนองานของครผู สู อน

าน มีความประหยดั ในการเลือกวัสดุและอปุ กรณเทคโนโลยี มีน้ำใจชวยเหลอื เพ่ือนในชน้ั
นโดยใชโปรแกรมคอมพวิ เตอร และสงงานตรงเวลา

อมรับการเปล่ยี นแปลง

ดา นวตั ถุ ดานสังคม

- มีความรูในการวางแผนการทำงาน - การทำงานรว มกบั เพ่อื น

ก า ร จ ั ด แ บ  ง ห น  า ท ี ่ ต า ม ค ว า ม รู ในกลมุ

ความสามารถของแตละคน - แลกเปลย่ี นเรยี นรูรว มกัน

- มีความรูในเรื่องการสืบคนการ สรุป กับเพ่ือน และครู

องคความรู และการจัดการความรูโดย - ประยุกตใชเ ทคโนโลยีในการทำงาน

ใชคอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ อยางสรางสรรค

เศรษฐกิจพอเพยี ง - ร ู  ร ะ เ บ ี ย บ ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ ใ น ก า ร ใ ช

- มีความรู ความเขาใจในเรอ่ื งของการ คอมพิวเตอรรว มกบั ผูอ่นื

ใชคอมพวิ เตอรและอุปกรณป ระกอบอื่น

เพื่อการสรา งงาน

- มีทักษะในการวางแผนการทำงานและ - มที ักษะในการทำงาน

การใชวัสดุอุปกรณ เพื่อใหเกิดความ รวมกัน แบง ปน

คมุ คา เอือ้ เฟอ เผอื่ แผ

- มีทักษะในการออกแบบและการสราง - ทกั ษะการทำงานอยาง

ชิ้นงานโดยใชคอมพิวเตอรตามหลัก เปนระบบมกี ารวางแผน

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการทำงาน

ดา นส่ิงแวดลอม ดา นวัฒนธรรม

- มีความรูในการเลือกใชเทคโนโลยี เพ่ือ - รวู ฒั นธรรมในการทำงานรว มกับผอู ่ืน

ใชประโยชนไดอย างเห มาะส ม กั บ - รูวัฒนธรรม ในการแบงปน การใช

สภาพแวดลอม เทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสรางชิน้ งาน

- มีความรูในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - รูมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยดั พลงั งาน ผูอืน่

- มีทักษะในการเลือกใชเ ทคโนโลยี เพื่อใช - ถายทอดวัฒนธรรมในการแบงปนการ

ป ร ะ โ ย ช น  ไ ด  อ ย  า ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ ใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสราง

สภาพแวดลอ ม ชนิ้ งาน

ดา นวัตถุ ดา นสงั คม

- มีทักษะในการเลือกคอมพิวเตอรและ - ปฏิบตั ติ ามระเบยี บการใช
วัสดุอุปกรณประกอบในการสรางงาน คอมพวิ เตอรร ว มกบั ผอู น่ื
และนำเสนออยางเหมาะสม

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการวาง - มีเจตคติที่ดีในการชวยเหลือเกื้อกูล

แผนการทำงานและการใชวัสดุอุปกรณ แบงปน เอ้อื เฟอ เผ่ือแผ ในการทำงาน

เพือ่ ใหเ กิดความคมุ คา - เห็นคุณคาของการทำงานอยางเปน

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการอก ระบบและมีการวางแผนในการทำงาน

แบบและการสรางชิ้นงานโดยใช -ตระหนักและเห็นคุณคาของการเปน

คอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ แบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตาม

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบียบการใชคอมพิวเตอรรวมกับ

- มีเจตคติท่ดี ีในการใชคอมพวิ เตอรเพื่อ ผอู นื่

การนำเสนอความรู

ดานสิ่งแวดลอ ม ดานวัฒนธรรม

- มีทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - มีมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผอู ่ืน

-ตระหนกั และ เห็นคุณคา ของการเลือกใช - เกิดความภาคภมู ใิ จผลงานท่ที ำ

เทคโนโลยี เพื่อใชประโยชนไดอยาง - ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช การ

เหมาะสมกับสภาพแวดลอ ม รักษาทรัพยากรสวนรวมอยางประหยัด

-ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช และคุมคา

เทคโนโลยีอยางคุมคาและประหยัด -มีเจตคติ ที่ดี ตอวัฒน ธรรมการใช

พลงั งาน เทคโนโลยีรว มกบั ผอู ่ืน

แบบทดสอบกอนเรียน

หนวยการเรยี นรทู ี่ 3

คำชแ้ี จง : ใหน กั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. ขอ ใดเปน ความสมั พนั ธของกระบวนการทาง 5. ข้ันตอนสดุ ทา ยของกระบวนการการออกแบบเชิง

วทิ ยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร วิศวกรรมคอื ขอ ใด

ก. วิศวกรรมศาสตรสรา งเทคโนโลยใี หก บั ก. นำนวัตกรรมออกไปจำหนา ยแกผูบริโภค

วิทยาศาสตร ข. สรปุ การทดสอบเครื่องตนแบบ

ข. วิทยาศาสตรสรางเทคโนโลยีใหกับ ค. นำผลิตภัณฑไปใชง านจรงิ

วศิ วกรรมศาสตร ง. ทำการผลิตนวัตกรรมจากการออกแบบ

ค. วศิ วกรรมศาสตรส รา งองคความรูใหกับ 6. รปู แบบใดเปน รปู แบบการแกปญหาของระบบ

วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี

ง. วทิ ยาศาสตรสรางองคค วามรูใหกบั ก. การยอ ยปญ หา

วศิ วกรรมศาสตร ข. การออกแบบขน้ั ตอน

2. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเกย่ี วขอ งกับขัน้ ตอนใด ค. อลั กอริทมึ

ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ง. ระบบวงจร

ก. ออกแบบขนั้ ตอน 7. ระบบเทคโนโลยเี ปน ขัน้ ตอนใดในกระบวนการ

ข. ประเมนิ ผล ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ค. รวบรวมองคค วามรู ก. การออกแบบละเอยี ด

ง. ออกแบบการผลติ ข. การสรา งเคร่อื งตน แบบ

3. ขอ ใดเปนการออกแบบทางวิศวกรรม ค. การออกแบบการผลิต

ก. กระบวนการแกป ญ หา ง. การจำลองสถานการณ

ข. กระบวนการคิดเชิงคำนวณ 8. การเรียนรใู นรูปแบบ STEM เปนการรวมศาสตรใ ด

ค. กระบวนการประดษิ ฐ เขามาเก่ียวขอ งบาง

ง. กระบวนการวางแผน ก. วิทยาศาสตร สังคมศาสตร คณิตศาสตร

4. การจำลองสถานการณข องกระบวนการ ภาษาศาสตร

ออกแบบเชิงวศิ วกรรม หมายถงึ ขอใด ข. วิศวกรรมศาสตร นเิ ทศศาสตร วิทยาศาสตร

ก. นำตนแบบมาจำลองการใชงาน คณติ ศาสตร

ข. สรา งเครอ่ื งตนแบบจากการออกแบบ ค. วิศวกรรมศาสตร วทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร

ค. สรา งสถานการณเพื่อทดสอบ เทคโนโลยี

ง. การจำลองรปู แบบการทำงาน ง. เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร มนษุ ยศ าสตร

คณิตศาสตร

9. เม่อื ตรวจพบขอผดิ พลาดในกระบวนการออกแบบ 10. ขอ ใดคือความหมายของสะเตม็ ศึกษา
เชงิ วศิ วกรรม ควรทำส่งิ ใด ก. เนนการนำความรไู ปใชแ กปญหาในชีวติ จริง
ก. แกไ ขตามสถานการณ หรอื ผลิตส่ิงใหม ๆ
ข. ประเมินขอผดิ พลาด ข. เนนการสรา งสรรคสิ่งใหม ๆ ใหมคี วาม
ค. วเิ คราะหการออกแบบ หลากหลายมากข้ึน
ง. ยอนกลบั ไปปรบั ปรงุ ค. เนนกระบวนการทำงานที่เปน ขน้ั ตอน
ง. เนนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

เฉลย 1. ง 2. ค 3. ข 4. ก 5. ก 6. ค 7. ก 8. ค 9. ง 10. ก

ใบกจิ กรรมท่ี 3.1.1

เร่อื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร

คำช้ีแจง : ใหนกั เรยี นอธิบายวิธกี ารทำโคมไฟคริสตลั โดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร

กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

1. ความรเู ดิม

2. ความอยากรทู างวทิ ยาศาสตร

3. ตั้งสมมตฐิ าน

4. ออกแบบการทดลอง

5. สรุปวเิ คราะห

6. นำขอ สรุปไปพิสูจน


Click to View FlipBook Version