The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2022-04-24 07:14:48

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

ใบงานที่ 3.1.1

เร่อื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร

คำชี้แจง : ใหน กั เรยี นอธิบายวิธกี ารทำโคมไฟครสิ ตลั โดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร

กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร
1. ความรเู ดิม
- แสงสามารถหักเหได และเดินทางผา นตัวกลางได
- เมอ่ื แสงเดนิ ทางผา นปริซึมจะปรากฎแสงสีขาว

2. ความอยากรูท างวิทยาศาสตร
- ครสิ ตลั มลี กั ษณะเปนปริซมึ แสงสามารถเดนิ ทางผา นและเปลี่ยนสีไดห รอื ไม

3. ต้งั สมมติฐาน
- นำครสิ ตัลที่แสงสามารถเดนิ ทางผานไดมาทำเปนของตกแตง หอ งใหเกดิ ความ
สวยงาม

4. ออกแบบการทดลอง
- ออกแบบโคมไฟครสิ ตัลใหเ ปน ทรงกลมและโคมไฟแขวนตดิ เพดาน
- จากนัน้ นำโคมไฟคริสตลั ไปวางตรงแสงแดด แสงไฟ และสังเกตถึง
การเปล่ยี นแปลง
5. สรปุ วเิ คราะห
- แสงจากโคมไฟกระจายออกจากครสิ ตัลทำใหเกิดแสงทม่ี คี วามสวยงาม

6. นำขอ สรปุ ไปพิสจู น
- นำโคมไฟพรอมวัสดุครอบโคมไฟมาติดดว ยคริสตัลตามรูปแบบและข้นั ตอน
ท่ีกำหนด
- ทดสอบและปรบั ปรงุ ช้นิ งาน

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค

คำชีแ้ จง : ใหผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี  ลงในชอ งทต่ี รงกับ

ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคด า น ระดบั คะแนน

รายชือ่ นักเรยี น 1. ัรกชา ิต ศาสน ก ัษต ิร ย 321
2 ความ ่ืซอ ัสตยสุจ ิรต
3. มีวิ ันย
4. ใ ฝเ ีรยน ูร
5. อ ูยอยางพอเพียง
6. มุงม่ันในการทำงาน
7. ัรกความเปนไทย
8. มี ิจตสาธารณะ

เดก็ หญิงกานตธิดา คงยง
เด็กหญิงดารินทพิ ย ทรงเลิศ
เด็กหญิงนันทิกานต ถาวร
เดก็ หญิงบัณฑติ า รตั นพนั ธ
เด็กหญิงวราภร เอี่ยมอกั ษร
เด็กหญงิ สุธดิ า สวุ รรณคช
เดก็ หญิงสุลัดดา ชูบวั ทอง
เด็กหญงิ อนิตยา วรี ะสขุ
เด็กหญงิ อนิศา รัตนพันธ
เดก็ ชายชยั อัมรินทร ตาดทอง
เด็กชายเจนวทิ ย วเิ ชยี ร
เด็กชายธนกร ทองออ น
เด็กชายธรี ภทั ร ทองสม
เด็กชายนารากร ทองทิพย
เดก็ ชายภวู เดช ฤทธิพลัด
เดก็ ชายมนสั ชัย คงยงค
เดก็ ชายรฐั พล จันสขุ
เดก็ ชายรฐั ภูมิ หนชู ุม
เดก็ ชายศักดน์ิ รนิ ทร โมรา
เด็กชายสรุ ิยศักดิ์ ปานเฉวง
เดก็ ชายอภวิ ัฒน สกุณา

เกณฑก ารใหคะแนน ลงชอ่ื ..............................................ผปู ระเมิน
................../.................../....................
- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติชดั เจนและบอยคร้งั ให 2 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตบิ างคร้งั ให 1 คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

1. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ปญ หา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................ครูผูสอน
(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)

วันที่.......เดอื น..........................พ.ศ. ............

4. ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู
ขอ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................................
()

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แผนการจัดการเรียนรู

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 2 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว22103
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565
หนว ยการเรียนรทู ่ี 3 กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เวลาเรยี น 3 ช่วั โมง

สาระที่ 4 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
1. มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั

1.1 ตัวช้วี ัด
ว 4.1 ม.2/2 ระบปุ ญหาหรือความตองการในชมุ ชน หรอื ทอ งถ่นิ สรปุ กรอบของปญหา รวบรวม

วิเคราะห ขอมลู และแนวคิดทีเ่ กี่ยวขอ งกับปญ หา
ม.2/3 ออกแบบวธิ กี ารแกป ญหา โดยวิเคราะหเปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กขอมลู ท่จี ำเปน

ภายใตเ ง่อื นไขและทรพั ยากรทมี่ อี ยู นำเสนอแนวทางการแกปญ หาใหผ ูอน่ื เขา ใจ
วางแผนขน้ั ตอนการทำงานและดำเนนิ การแกป ญ หาอยา งเปน ข้ันตอน
ม.2/4 ทดสอบ ประเมนิ ผล และอธบิ ายปญ หาหรือขอบกพรอ งที่เกิดข้ึน ภายใตก รอบเงื่อนไข
พรอ มท้ังหาแนวทางปรับปรุงแกไข และนำเสนอผลการแกป ญ หา

2. สาระสำคัญ
เมื่อเรามองไปรอบ ๆ ตัวของเราก็จะพบเห็นส่ิงปลูกสราง สิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะชวยใหมนุษย

ดำเนินชวี ิตไดส ะดวกสบาย สิ่งเหลานี้เกิดจากการที่มนุษยคิดคน และทำการทดลองทฤษฎีตาง ๆ จนไดขอสรุป
แนวคิดที่แนชัด มนุษยจึงเริ่มคิดคนและประดิษฐสิ่งตาง ๆ โดยจะผานการวางแผน รวบรวมองคความรูการ
ออกแบบ ทดสอบ ประเมินผล และนำเสนอ ซึ่งกระบวนการทั้งหมดเหลานี้เรียกวากระบวนการออกแบบเชิง
วศิ วกรรม

3. จดุ ประสงคการเรยี นรู
1. อธบิ ายขนั้ ตอนของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมไดอยา งถกู ตอ ง (K)
2. ออกแบบผลติ ภัณฑโ ดยใชหลกั การออกแบบเชงิ วศิ วกรรมได (P)
3. เหน็ ประโยชนข องกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม (A)

4. สาระการเรยี นรู สาระการเรยี นรทู อ งถิ่น
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรูแกนกลาง
- ปญหาหรือความตองการในชมุ ชนหรอื ทองถ่ิน
มหี ลายอยา ง ขน้ึ กบั บริบทหรือสถานกาณท่ี
ประสบ เชน ดานพลังงาน สง่ิ แวดลอม
การเกษตร การอาหาร
- การระบุปญ หาจำเปน ตองมีการวเิ คราะห
สถานการณของปญ หาเพอ่ื สรุปกรอบของ
ปญ หาแลวดำเนนิ การสบื คน รวบรวมขอมูล
ความรูจากศาสตรตา ง ๆ ท่ีเกี่ยวของเพอื่
นำไปสูการออกแบบแนวทางการแกป ญหา
- การวิเคราะห เปรียบเทยี บ และตัดสินใจเลอื ก
ขอมลู ท่ีจำเปน โดยคำนึงถึงเง่อื นไขและ
ทรัพยากร เชน งบประมาณ เวลา ขอ มลู และ
สารสนเทศ วัสดุ เคร่อื งมือและอุปกรณ ชว ยให
ไดแนวทางการแกป ญ หาทีเ่ หมาะสม
- การออกแบบแนวทางการแกป ญ หาทำได
หลากหลายวิธี เชน การรางภาพ การเขียน
แผนภาพ การเขียนผังงาน
- การกำหนดขน้ั ตอนระยะเวลาในการทำงาน
กอ นดำเนนิ การแกป ญหาจะชวยใหการทำงาน
สำเรจ็ ได ตามเปาหมาย และลดขอ ผิดพลาด
ของการทำงานที่อาจเกดิ ขน้ึ
- การทดสอบและประเมนิ ผลเปนการตรวจสอบ
ชิ้นงาน หรอื วิธกี ารวาสามารถแกป ญ หาไดต าม
วัตถุประสงคภายใตกรอบของปญ หา เพอ่ื หา
ขอ บกพรอง และดำเนินการปรับปรงุ ให
สามารถ แกไขปญหาได
- การนำเสนอผลงานเปน การถา ยทอดแนวคิด
เพื่อใหผูอ่ืนเขาใจเกยี่ วกับกระบวนการทำงาน
และชิน้ งานหรือวิธกี ารท่ีได ซ่ึงสามารถทำได
หลายวิธี เชน การเขียนรายงาน การทำแผน
นำเสนอผลงาน การจัดนทิ รรศการ

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี นและคุณลักษณะอนั พึงประสงค

สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มวี นิ ยั รับผดิ ชอบ
- ทกั ษะการส่ือสาร 2. ใฝเ รียนรู
- ทกั ษะการแลกเปลยี่ นขอ มลู 3. มงุ มนั่ ในการทำงาน

2. ความสามารถในการคดิ
- ทักษะการคิดวเิ คราะห

3. ความสามารถในการแกปญหา
- ทักษะการสังเกต

4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ
- ทักษะการทำงานรว มกนั

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
- ทักษะการสบื คน ขอ มูล

6. ช้ินงาน/ภาระงาน
6.1 แบบทดสอบหลงั เรียน

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู
 วิธกี ารสอนโดยเนน รูปแบบการสอนแบบใชปญหาเปนฐาน (problem - based learning)

ชว่ั โมงท่ี 1

ขนั้ นำ

1. ครูทบทวนความรเู ดมิ เกี่ยวกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร
2. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับการผลิตรถยนต ใหนักเรียนดพู รอ มถามคำถามกระตุนความสนใจของ
นักเรียนวา“ในการผลิตรถยนตนักเรียนสังเกตเห็นขั้นตอนการผลิตอะไรบาง และสังเกตเห็น
การทำงานเชิงวิศวกรรมศาสตรบ างหรือไมและปรากฏอยูในขัน้ ตอนใด” นักเรียนรวมกันแสดง
ความคิดเหน็ ภายในหอ งเรียน
3. ครูอธิบายกับนักเรียนเพ่ือเชื่อมโยงเขาสูบ ทเรยี นวา“กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อ
ใหไดผลงานโดยทั่วไปมีอยู 2 แบบ คือ การออกแบบเชิงวิศวกรรมโดยใชวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตร และการออกแบบเชิงวิศวกรรมโดยใชประสบการณ ซึ่ง 2 แบบนี้แตกตางกัน
ทค่ี วามนา เชอ่ื ถอื ความปลอดภยั และการทำซ้ำ เปน ตน”
4. ครถู ามคำถามกระตุนความคดิ ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นโดยใชค ำถามสำคญั ประจำหัวขอวา
“กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมคี วามสำคัญในการสรา งเทคโนโลยอี ยางไร”
(แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยูกับดุลยพินิจของ
ครผู ูสอน เชน กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเปนกระบวนการสำคัญที่ทำงานอยางเปน

ระบบจะทำใหสรางเทคโนโลยีมีประสิทธิภาพผาน 6 ขั้นตอนหลักและสามารถจำแนก
รายละเอยี ดไดเ ปน 13 ข้นั ตอน เปนตน)

ขั้นสอน

ขน้ั ท่ี 1 กำหนดปญหา
1. นักเรียนแบง กลุมออกเปน 4 กลุม ตามสถานการณท่ีครูกำหนด จากนั้นครูชี้แจงรายละเอียด
เกี่ยวกับ สถานการณปญหาวา “จากการที่ครูไดทำการสำรวจปญหาภายในชุมชน ทำใหพบ
ปญ หาทั้งหมด 4 ปญ หา ดงั นี้
1) ไฟฟาไมเพียงพอตอจำนวนครัวเรือน จึงตองการเครื่องปนไฟที่สามารถผลิต
ไฟฟาไดเอง
2) ส่ิงแวดลอ มในบรเิ วณชุมชนปรากฏขยะมูลฝอยเปนจำนวนมาก จึงตอ งการ
เครื่องกำจัดขยะทีส่ ามารถยอ ยสลายขยะไดง า ย
3) ชาวบานตองการหมักปุยจำนวนมาก แตไมมีแรงงานในการทำงานที่เพียงพอ
จึงตอ งการเครอ่ื งหมกั ปยุ อตั โนมัติ
4) ชาวบานตอ งการแปรรปู เน้อื สตั วดวยวิธีการรมควัน จงึ ตองการเครือ่ งอบรมควัน
ท่ีสามารถใชไดใ นครวั เรือน”

ขัน้ ที่ 2 ทำความเขา ใจปญหา
2. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมวา“การออกแบบ
เชิงวิศวกรรมเปนคำที่ใชอธิบายกระบวนการสรางเทคโนโลยี นวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ
ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงานที่มีความนาเชื่อถือ ความปลอดภัย และเกิดการทำซ้ำ
โดยกระบวนการเหลานี้เปนกระบวนการที่อาศัยหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
เขา มาพัฒนา แตก็มีกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมท่ไี มไดใชหลกั การทางวิทยาศาสตรแ ละ
คณติ ศาสตรเ ขามาเกี่ยวขอ ง คอื กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมโดยใชป ระสบการณ
กระบวนการน้เี กิดจากการคิดคนและประดษิ ฐจากภมู ปิ ญญาชาวบา น เชน เคยี วเกยี่ วขา ว
เรือไม พาย เปนตน”
3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเรียนรูร ูปแบบ STEM วา“ปจจุบันเทคโนโลยี และ นวัตกรรม
ไดพัฒนาไปอยางรวดเร็ว จึงทำใหมีผูคิดคนการเรียนรูรูปแบบ STEM คือ การผนวกแนวคิด
การออกแบบเชิงวิศวกรรมเขากับการเรียนรูวิทยาศาสตร วศิ วกรรมศาสตร คณิตศาสตร และ
เทคโนโลยี เพือ่ ใหเกิดการออกแบบวิธีการหรือกระบวนการ เพื่อตอบสนองความตองการท่ี
จะสรางสรรคผลงานหรือแกปญ หาทีเ่ กีย่ วขอ งกับชีวติ ประจำวนั ”
4. นักเรยี นศกึ ษาขัน้ ตอนหลกั 6 ข้นั ตอนของกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมจากหนังสือ
เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.2 หนว ยการเรยี นรูที่ 3
กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เพอ่ื ทำความเขาใจถึงรายละเอยี ดตาง ๆ อยางละเอียด
โดยเปด โอกาสใหนกั เรียนสบื คนขอมลู เพิ่มเตมิ จากทางอินเทอรเ น็ตที่เคร่อื งคอมพวิ เตอรของ
ตนเอง

ข้นั ท่ี 3 ดำเนินการศึกษาคน ควา
5. เปด โอกาสใหนกั เรยี นแตล ะกลุมอภิปรายรวมกันจากศึกษาคนควาหาความรู เร่ือง กระบวนการ
ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 6 ขน้ั ตอน เพ่ือนำมาแกปญหาสถานการณต ามท่ีกลมุ ตนเองไดรับ
มอบหมาย
6. นกั เรยี นแตละกลมุ ศึกษาและสังเกตตัวอยา ง เรอ่ื ง กระบวนการพฒั นาเตาอบพลงั งาน
แสงอาทติ ยดวยกระบวนการเชงิ วศิ วกรรมศาสตรท้งั 6 ขั้นตอน จากหนังสือเรียน ดงั น้ี
ขัน้ ตอนที่ 1 ระบปุ ญหา
ขน้ั ตอนที่ 2 รวบรวมขอ มูลและแนวคดิ ท่ีเกย่ี วของกบั ปญหา
ขัน้ ตอนท่ี 3 ออกแบบวธิ ีการปญ หา
ขน้ั ตอนที่ 4 วางแผนและดำเนินการแกปญหา
ขน้ั ตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ วิธีการแกปญหาหรอื ชน้ิ งาน
ข้ันตอนที่ 6 นำเสนอวธิ ีการแกป ญ หา ผลการแกปญ หาหรือชิ้นงาน
7. นกั เรยี นแตล ะกลุมนำกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมท่ีเปน ข้นั ตอนหลกั ทั้ง 6 ขัน้ ตอน
มาปรบั ใชในการแกปญหาสถานการณต ามท่กี ลุมของตนเองไดรบั มอบหมาย

ชั่วโมงที่ 2

ขน้ั ท่ี 3 ดำเนนิ การศกึ ษาคน ควา
8. นักเรียนสังเกตผังแสดงกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจากหนังสือเรียนที่จะทำใหเห็น
ถึงขั้นตอนหลักของกระบวนการทั้ง 6 ขั้นตอน ถูกจำแนกรายละเอียดออกเปน 13 ขั้นตอน
ซึ่งเปนการทำงานที่มีความละเอียดมากขึ้น โดยใชความรูทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
บนฐานความคิดเดียวกับกระบวนการออกแบบการแกปญหา ซึ่งกระบวนการออกแบบ
เชิงวิศวกรรมทง้ั 13 ขัน้ ตอน มดี ังน้ี
1) ระบุความตองการ (Recognition of need and definition of problem)
เปนการระบสุ ่งิ ท่ีตอ งการผลิตหรอื สรางสรรคผ ลงาน
2) ระบุคณุ ลักษณะที่ตองการ (Specification) เปนการระบุส่ิงตองการแกปญหา
เบ้อื งตนหรอื รปู แบบลกั ษณะของผลติ ภัณฑ
3) การรวบรวมขอมูล (Gathering of information) เปนการหาขอมูลเกี่ยวกับ
รายละเอียดของรปู แบบ ลกั ษณะของผลติ ภัณฑ หรือระบบของทำงานของ
ผลติ ภณั ฑ
4) ศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study) เปนการนำขอมูลที่ไดมาวิเคราะห
เพื่อนำไปใชแกปญหา และเพื่อใหตอบโจทยการแกปญหาไดตรงตาม
ความตองการมากที่สุด
5) สังเคราะหหาหลักการสรางสรรค (Creative Design Synthesis) เปนการหา
หลกั การหรอื แนวทางแกป ญหาและการสรางสรรคชน้ิ งาน
6) ออกแบบสรา งข้ันตอน (Preliminary Design) เปนข้นั ตอนที่วิศวกรนำหลักการ
มาออกแบบรูปราง โดยมีเง่ือนไขจากการสังเคราะหท ีเ่ สร็จแลว

7) จำลองสภาพสถานการณ (Simulation) เปนการนำตนแบบมาจำลอง
การใชงานหรือวิศวกรอาจจะนำเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอรมาจำลอง
เปนสถานการณเ บ้อื งตน

8) ออกแบบละเอียด (Detailed Design) เปนการออกแบบรายละเอียดของ
ทกุ ระบบ เพอ่ื ใหเ กดิ กระบวนการทำงานของนวัตกรรม โดยตองใหท กุ สว น
ทำงานสัมพันธกนั

9) สรางและทดสอบเครื่องตนแบบ (Prototype build and test) เปนขั้นตอน
ท่ีรวบรวมขอ มลู ทง้ั หมดแลวทำการสรางเคร่อื งตน แบบขึน้ มาจรงิ

10) ประเมินผล (Evaluation) ขน้ั ตอนน้จี ะเปนการตรวจสอบผลการทำงาน
ของเคร่ืองตน แบบ และจดปญหาหรือขอบกพรอ งของการทำงาน

11) ประชมุ สรุปผล (Design Conclusion) เปน การตัดสินใจวาผลิตภัณฑ
จะสามารถนำไปใชไดหรือไม เพราะถาไมผา นตอ งกลบั ไปแกไ ขใหมต ้งั แต
ขนั้ การออกแบบ

12) ออกแบบการผลิต (Design for production) เปนขัน้ ตอนทผี่ ูออกแบบ
ตอ งส่ือสาร กับผผู ลติ เพ่อื ใหผ ผู ลิตสามารถผลติ ออกมาไดตรงตามการออกแบบ

13) จำหนายผลติ ภัณฑ (Product Release) ข้นั ตอนน้ีเปนหนา ทข่ี องฝา ยขาย
ที่จะตองนำสนิ คาไปจำหนา ย

ขนั้ ท่ี 4 สังเคราะหความรู
9. นักเรียนแตละคนแลกเปลย่ี นความรูโดยนำเสนอรวมกันภายในกลมุ เกี่ยวกบั การ ออกแบบเชงิ
วศิ วกรรม 13 ขน้ั ตอน พรอมตรวจสอบขอมลู ท่ีไดศึกษาและสืบคน มาตอบสถานการณป ญหา
ของกลมุ ตนเองไดค รบถวน และใหส มาชิกในกลมุ ลงมตวิ าพึงพอใจกับคำตอบหรือไม ถามติของ
กลุมยังไมเปนท่ีพอใจใหทบทวนและหาความรเู พม่ิ เตมิ

ขน้ั ท่ี 5 สรุปและประเมินคาของคำตอบ
10. นักเรียนแตละกลมุ รว มกนั สรปุ องคความรทู ไี่ ดจากการศึกษา กระบวนการออกแบบเชิง

วศิ วกรรม 13 ขนั้ ตอน จากนั้นนำสถานการณปญ หาของกลมุ ตนเองมาสรา งเปน กระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม

ชัว่ โมงที่ 3

ข้ันท่ี 6 นำเสนอและประเมินผลงาน
11. นกั เรยี นแตละกลุมนำเสนอผลงานเกยี่ วกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจากสถานการณ
ทไ่ี ดร บั ในรูปแบบของ PowerPoint จากน้นั ครผู สู อนประเมนิ ผลงานการนำเสนอของแตล ะ
กลุม
12. จากนั้นใหนกั เรยี นแบงกลุม กลมุ ละ 3 คน เพือ่ รวมกนั ทำกิจกรรมที่สอดคลอ งกับเน้ือหา
โดยใหผเู รยี นฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาความรแู ละทักษะ (Design Activity)

Note
วัตถุประสงคข องกิจกรรมเพื่อใหน ักเรยี น
- มีทักษะการทำงานรวมกันโดยใชกระบวนการกลุมในการทำงานหรือการทำ

กจิ กรรมเพอ่ื ใหเ กดิ การสอื่ สารและแลกเปลย่ี นขอมลู รวมกนั ภายในกลุม
- มีทกั ษะการสบื คน ขอ มลู โดยใหนักเรียนแตล ะคนสบื คนขอ มูลจากอนิ เทอรเ นต็

เพอื่ สืบเสาะหาความรตู ามหัวขอท่ไี ดรับมอบหมาย
- มที ักษะการคิดวเิ คราะห โดยใหนกั เรยี นพิจารณาเน้อื หาจากการสืบคน หรือศกึ ษา

ขอ มลู จากแหลงขอ มลู ตาง ๆ เชน หนังสือเรยี น อนิ เทอรเ นต็ เปนตน
- มที ักษะการสังเกต โดยใหนักเรียนสังเกตตัวอยา ง เรื่อง กระบวนการพัฒนาเตาอบ

พลังงานแสงอาทิตยดวยกระบวนการเชิงวิศวกรรมศาสตร เพื่อนำไปปรับใชในการเรียนได
อยางเหมาะสม

ขน้ั สรุป

1. นักเรยี นและครรู ว มกนั สรุปความรูเกี่ยวกับ กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมวา
“กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เปนรูปแบบการทำงานของการผลติ สิ่งประดษิ ฐ
เทคโนโลยี หรือนวัตกรรม ในรูปแบบของการแกปญหาโดยใชแนวคิดเชิงการคำนวณ
การแตกยอยปญหา การมองหารูปแบบ การกำหนดหลักการ และการออกแบบขั้นตอน
การทำงาน โดยจะมีการตรวจสอบผลตามข้นั ตาง ๆ เพื่อเปน การปรบั ปรุงแกไ ขปญ หาและ
ขอบกพรองของผลิตภัณฑ”

2. นักเรียนแตละคนทำแบบฝก หัดทบทวนความรู ความเขาใจ และพัฒนาทักษะการคิดของผูอ่ืน
(Unit Activity)

3. นักเรียนตรวจสอบระดับความสามารถของตนเอง (Self-check) โดยพิจารณาขอความวา
ถูกหรือผิด หากนักเรียนพิจารณาขอความไมถูกตอง ใหนักเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหา
ตามหัวขอ ท่กี ำหนดให

4. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรียนรูที่ 3 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เพื่อวดั ความรทู ี่นักเรยี นไดร บั หลงั จากผานการเรยี นรู

8. การวดั และประเมินผล วธิ ีวัด เคร่อื งมือ เกณฑการประเมนิ
รายการวัด - สังเกตพฤติกรรมการ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2
ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ
8.1 ประเมินระหวางการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2
1) พฤติกรรมการทำงาน ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2
2) การนำเสนอผลงาน การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ

3) พฤติกรรมการทำงานกลมุ - ตรวจชิน้ งาน - แบบประเมนิ ชิ้นงาน ระดับคุณภาพ 2
ผา นเกณฑ
4) การสรา งช้นิ งาน - สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ
การออกแบบเชิงวิศวกรรม ใฝเรยี นรู และมงุ ม่นั คณุ ลักษณะ ระดับคุณภาพ 2
ในการทำงาน อันพงึ ประสงค ผา นเกณฑ
5) คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
8.2 การประเมนิ หลงั เรยี น กอนเรยี น
- แบบทดสอบหลงั เรียน
หนวยการเรยี นรูท ่ี 3
เร่ือง กระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรม

9. สอ่ื /แหลงการเรียนรู

9.1 ส่ือการเรยี นรู
1) หนงั สือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.2 หนวยการเรียนรทู ี่ 3

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
2) สื่อการเรียนรูออนไลน ของ สสวท. ผา นเว็บไซต https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/
3) วิดทิ ัศนเกี่ยวกับการผลิตรถยนต
4) สอ่ื PowerPoint
5) เคร่ืองคอมพวิ เตอร
9.2 แหลงการเรยี นรู

1) หองคอมพิวเตอร
2) อินเทอรเน็ต

10. การใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจัดการเรยี นรู
10.1 การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั การเรียนรขู องผสู อน

3 หวง หลักพอประมาณ

ประเด็น

1.ภาระงาน/หนา ที่ วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน มุง เนนให

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการ พึงประส

เรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู และบริบท ตวั ช้วี ดั ส

ของโรงเรียน การศึกษ

บริบทขอ

2. การวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชสื่อ / แหลง เพื่อจัดก

เรียนรู / ทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชน มาตรฐา
สูงสุดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดมีลักษณะพึง ตามที่ห
ประสงค ตามที่หลักสูตรกำหนด เหมาะสม
กับวัย ระดบั ชั้น และเวลาเรยี นของผเู รยี น ระดับช้นั

หลกั มเี หตุผล หลักสรางภูมคิ ุมกันท่ีดีในตวั

หผูเรียนมีความรูทักษะคุณลักษณะอัน มีการวางแผนและบริหารจัดการ เพื่อจัดการ

สงคบรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู เรียนรู ใหตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรยี นรู ของหลกั สตู รแกนกลาง
ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
องโรงเรยี น มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
และบริบทของโรงเรยี น

กิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุตาม วางแผนการเตรียมการสอนไมใหบกพรอง

านและตัวชี้วัดมีลักษณะพึงประสงค โดยจัดทำแผนจัดการเรยี นรู ส่ือ แบบวัดและ

หลักสูตรกำหนด เหมาะสมกับวัย ประเมินผล ที่เหมาะสมกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด

น และเวลาเรยี นของผเู รียน สาระการเรียนรู และบริบทของโรงเรียน

เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และเวลาเรียนของ

ผูเรยี น

3 หวง หลกั พอประมาณ

ประเด็น

3.เทคนิค/วิธสี อน เลือกกิจกรรมการเรยี นรูใหเ หมาะกับบริบท ออกแบบ
การนำเท
ของ ผเู รยี น ครู ชมุ ชน ธรรมชาติวชิ า และ ทรพั ยาก

ทรัพยากรทม่ี ีอยู

4. การเลือกใช เลือกและใชเครื่องมอื วธิ กี าร และเกณฑการ เพอ่ื ใหผ ูเ

เครื่องมือ วิธีการ และ วัดผลประเมนิ ผลใหเหมาะสมกับกิจกรรม เรยี นรขู อ

เ ก ณ ฑ  ก า ร ว ั ด ผ ล การเรียนรแู ละศกั ยภาพของผูเรียน พ้ืนฐาน

ประเมนิ ผล

ความร:ู รอบรหู ลักสูตรสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 มาต
เทคนิควิธสี อน

คุณธรรม: ใฝเ รยี นรู ความรับผดิ ชอบ ความเสียสละ ความขยนั ความยุติธรรม

หลักมีเหตุผล หลักสรางภมู ิคุมกนั ทดี่ ีในตัว

บการจดั การเรยี นรู เพื่อใหเ หน็ คณุ คา จัดเตรียมสื่อ / แหลงเรียนรู / ทรพั ยากรที่มี

ทคโนโลยี สอ่ื / แหลงเรยี นรู / วัสดุ อุปกรณในการจัดการเรียนการสอนให

กรทมี่ ีอยมู าใชใ หเกิดประโยชนส ูงสดุ เพียงพอกับผูเรียน เตรียมสื่อ CAI (โปรแกรม

ชวยสอน) ในกรณีที่ครูไมสามารถมาสอนได

ลว งหนา

เรยี นบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคการจัดการ เตรียมวิธีปองกันปญหา ที่อาจเกิดจากการ

องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน จดั การเรียนรู การใชเ ครื่องมือไมตรงตามแผน
พุทธศักราช 2551 ที่วางไว วัดและประเมินผลบรรลุตาม

วัตถปุ ระสงคท ี่กำหนด

ตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั เน้ือหาความรเู ร่อื ง พื้นฐานทางคอมพวิ เตอร การวดั ผล ประเมนิ ผล และ

รักและเมตตาตอ ศษิ ย

10.2 คณุ ลกั ษณะ “อยอู ยา งพอเพียง” ท่เี กิดกบั ผเู รยี น

หลกั พอประมาณ หลัก

1.เลอื กใชฮ ารดแวรอุปกรณเ ครือขา ยและ 1.ตัดสินใจเลือกใชฮารดแ

ตามความจำเปนใชงานไมฟุมเฟอยเสียคาใชจายเกิน ตรงตามความตองการใชง

ความจำเปน 2. ยอมรับความคิดเห็นแล

2. แบงหนาที่การทำงานไดตรงกับความสามารถของ กลุม

สมาชิกแตละคนในกลุมภายใตเ วลาที่กำหนด 3.ใชทักษะกระบวนกา

3.ปฏบิ ตั งิ านโดยใชร ะยะเวลาท่เี หมาะสม ทงั้ น้ีตอ งเกิด เทคโนโลยี การทำงานนอ

จากการวางแผนการทำงานที่ดีและทำงานอยางเปน บรรลุตามเปาหมาย

ระบบรูจักใชเ ทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั ภาระงาน

ความร:ู มีความรู ความเขา ใจกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
คุณธรรม: มีความซ่อื สตั ยในการปฏบิ ตั งิ าน ขยนั รบั ผดิ ชอบ มุงมั่นในการทำงา
เรยี นท้ังดา นความรูและทรัพยากรท่เี ก่ยี วของกับบรบิ ทของการสรา งและนำเสนองาน

นำไปสู สมดลุ และพรอ

กมีเหตุผล หลกั สรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว

แวรอุปกรณเครือขายตาง ๆได 1. มีการวางแผนในการเรียน การทำงานกลุมอยาง

งาน รอบคอบและเปนระบบ

ละความสามารถของสมาชิกใน 2.เตรียมพรอมแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นในชวงที่สราง

งานและนำเสนอผลงาน

ารทำงานกลุม ทักษะการใช 3. เตรียมพรอมสำหรับผลคะแนนที่จะไดรับจากการ

อกเวลาเรียนเพื่อใหภาระงาน ตรวจชิ้นงานและนำเสนองานของครผู สู อน

าน มคี วามประหยดั ในการเลือกวัสดุและอปุ กรณเทคโนโลยี มีน้ำใจชวยเหลอื เพ่ือนในชน้ั
นโดยใชโ ปรแกรมคอมพวิ เตอร และสงงานตรงเวลา

อมรับการเปลี่ยนแปลง

ดา นวตั ถุ ดานสังคม

- มีความรูในการวางแผนการทำงาน - การทำงานรว มกบั เพ่อื น

ก า ร จ ั ด แ บ  ง ห น  า ท ี ่ ต า ม ค ว า ม รู ในกลมุ

ความสามารถของแตละคน - แลกเปลย่ี นเรยี นรูรว มกัน

- มีความรูในเรื่องการสืบคนการ สรุป กับเพ่ือน และครู

องคความรู และการจัดการความรูโดย - ประยุกตใชเ ทคโนโลยีในการทำงาน

ใชคอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ อยางสรางสรรค

เศรษฐกิจพอเพยี ง - ร ู  ร ะ เ บ ี ย บ ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ ใ น ก า ร ใ ช

- มีความรู ความเขาใจในเรื่องของการ คอมพิวเตอรรว มกบั ผูอ่นื

ใชคอมพวิ เตอรและอปุ กรณประกอบอื่น

เพื่อการสรา งงาน

- มีทักษะในการวางแผนการทำงานและ - มที ักษะในการทำงาน

การใชวัสดุอุปกรณ เพื่อใหเกิดความ รวมกัน แบง ปน

คมุ คา เอือ้ เฟอ เผอื่ แผ

- มีทักษะในการออกแบบและการสราง - ทกั ษะการทำงานอยาง

ชิ้นงานโดยใชคอมพิวเตอรตามหลัก เปนระบบมกี ารวางแผน

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการทำงาน

ดานสิง่ แวดลอม ดา นวัฒนธรรม

- มีความรูในการเลอื กใชเทคโนโลยี เพ่ือ - รวู ฒั นธรรมในการทำงานรว มกบั ผอู ่ืน

ใชประโยชนไดอยางเหมาะสมกับ - รูวัฒนธรรม ในการแบงปน การใช

สภาพแวดลอม เทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสรางชิน้ งาน

- มีความรูในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - รูมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผูอืน่

- มีทักษะในการเลือกใชเ ทคโนโลยี เพื่อใช - ถายทอดวัฒนธรรมในการแบงปนการ

ป ร ะ โ ย ช น ไ ด  อ ย  า ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ ใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสราง

สภาพแวดลอ ม ชนิ้ งาน

ดา นวัตถุ ดา นสงั คม

- มีทักษะในการเลือกคอมพิวเตอรและ - ปฏบิ ัตติ ามระเบียบการใช
วัสดุอุปกรณประกอบในการสรางงาน คอมพวิ เตอรรว มกบั ผูอื่น
และนำเสนออยางเหมาะสม

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการวาง - มีเจตคติที่ดีในการชวยเหลือเกื้อกูล

แผนการทำงานและการใชวัสดุอุปกรณ แบง ปน เออ้ื เฟอ เผือ่ แผ ในการทำงาน

เพือ่ ใหเ กิดความคมุ คา - เห็นคุณคาของการทำงานอยางเปน

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการอก ระบบและมีการวางแผนในการทำงาน

แบบและการสรางชิ้นงานโดยใช - ตระหนักและเห็นคุณคาของการเปน

คอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ แบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตาม

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบียบการใชคอมพิวเตอรรวมกับ

- มีเจตคติท่ดี ีในการใชคอมพิวเตอรเพ่ือ ผอู นื่

การนำเสนอความรู

ดา นสง่ิ แวดลอ ม ดานวัฒนธรรม

- มีทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - มีมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผอู ่นื

- ตระหนกั และ เห็นคุณคา ของการเลือกใช - เกดิ ความภาคภมู ใิ จผลงานท่ที ำ

เทคโนโลยี เพื่อใชประโยชนไดอยาง - ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช การ

เหมาะสมกบั สภาพแวดลอม รักษาทรัพยากรสวนรวมอยางประหยัด

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช และคุมคา

เทคโนโลยีอยางคุมคาและประหยัด - มีเจตคติที่ดีตอวัฒนธรรมการใช

พลงั งาน เทคโนโลยีรว มกบั ผูอื่น

แบบทดสอบหลังเรยี น

หนว ยการเรยี นรูท ่ี 3

คำช้ีแจง : ใหน ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. ปญ ญาประดษิ ฐ (AI) เกดิ จากการนำองคความรู 7. ข้ันตอนการ Research ของกระบวนการออกแบบเชงิ

ทางดา นใดนำมาสราง วิศวกรรมคือขั้นตอนใด

ก. Technology ข. STEM ก. รวบรวมขอมูล ข. ศกึ ษาความเปนไปได

ค. Engineering ง. Science ค. จำลองสถานการณ ง. ออกแบบละเอยี ด

2. การยอนกลบั ไปปรบั ปรุงของกระบวนการ 8. ขอใดเก่ยี วของกับกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม จะทำการปฏบิ ัติเมอื่ ใด ก. กระบวนการ ข. กระบวนการทดลอง

ก. พบขอผิดพลาด ข. ข้นั ตอนการออกแบบ ค. กระบวนการประเมินผล ง. กระบวนการคดิ เชิงคำนวณ

ค. วเิ คราะหการออกแบบ ง. ประเมนิ การทำงาน 9. ขอ ใดเปน การใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

3. ขอ ใดคอื ความหมายของสะเตม็ ศกึ ษา ก. พที าโกรัสคดิ สตู รการคำนวณรปู สามเหล่ียมมมุ ฉาก

ก. เนนการนำความรไู ปใชแกป ญหาในชีวิตจริง ข. มารก ซกั เคอรเบริ กคดิ คนแอปพลิเคชนั เฟซบุก

หรือผลติ ส่งิ ใหม ๆ ค. นิวตันทำการแยกแสงสีขาวออกจากดวงอาทิตยโ ดยใชปรซิ ึม

ข. เนน การสรา งสรรคสิง่ ใหม ๆ ใหมีความ ง. ชาวจีนประดิษฐจื่อหนานเจินเปนชาตแิ รก

หลากหลายมากข้ึน 10. ขอใดกลา วถึงความสมั พันธของกระบวนการทาง

ค. เนนกระบวนการทำงานทเ่ี ปนข้ันตอน วิทยาศาสตรและวศิ วกรรมศาสตรไ ดถ กู ตอง

ง. เนนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ก. วิทยาศาสตรสรางเทคโนโลยใี หก บั

4. ขอใดเปน ขน้ั ตอนของการออกแบบละเอียดของ วิศวกรรมศาสตร

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ข. วิศวกรรมศาสตรส รางองคความรู

ก. วางแผนการแกป ญ หา ข.สรางสถานการณจำลอง ใหก บั วทิ ยาศาสตร

ค. ระบบเทคโนโลยี ง.ระบบสารสนเทศ ค. วทิ ยาศาสตรส รา งองคค วามรูใหกับ

5. อัลกอริทมึ มีรูปแบบการทำงานอยางไร วศิ วกรรมศาสตร

ก. การยอ ยปญหา ข. การแกปญหา ง. วิศวกรรมศาสตรสรางเทคโนโลยี

ค. การออกแบบขัน้ ตอน ง. การวางระบบวงจร ใหกบั วิทยาศาสตร

6. ขั้นตอนใดของการออกแบบเชงิ วิศวกรรมเปนขั้นตอน

ท่รี ะบุปญ หาทีจ่ ะทำการสรางช้นิ งานหรอื ผลงาน

ก. รวบรวมขอมูล ข. ระบคุ ณุ ลกั ษณะ

ค. ศกึ ษาความเปนไปได ง. ระบคุ วามตอ งการ

เฉลย
1. ข 2. ก 3. ก 4. ค 5. ข 6. ง 7. ข 8. ง 9. ค 10. ค

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค

คำชีแ้ จง : ใหผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี  ลงในชอ งทต่ี รงกับ

ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคด า น ระดบั คะแนน

รายชือ่ นักเรยี น 1. ัรกชา ิต ศาสน ก ัษต ิร ย 321
2 ความ ่ืซอ ัสตยสุจ ิรต
3. มีวิ ันย
4. ใ ฝเ ีรยน ูร
5. อ ูยอยางพอเพียง
6. มุงม่ันในการทำงาน
7. ัรกความเปนไทย
8. มี ิจตสาธารณะ

เดก็ หญิงกานตธิดา คงยง
เด็กหญิงดารินทพิ ย ทรงเลิศ
เด็กหญิงนันทิกานต ถาวร
เดก็ หญิงบัณฑติ า รตั นพนั ธ
เด็กหญิงวราภร เอี่ยมอกั ษร
เด็กหญงิ สุธดิ า สวุ รรณคช
เดก็ หญิงสุลัดดา ชูบวั ทอง
เด็กหญงิ อนิตยา วรี ะสขุ
เด็กหญงิ อนิศา รัตนพันธ
เดก็ ชายชยั อัมรินทร ตาดทอง
เด็กชายเจนวทิ ย วเิ ชยี ร
เด็กชายธนกร ทองออ น
เด็กชายธรี ภทั ร ทองสม
เด็กชายนารากร ทองทิพย
เดก็ ชายภวู เดช ฤทธิพลัด
เดก็ ชายมนสั ชัย คงยงค
เดก็ ชายรฐั พล จันสขุ
เดก็ ชายรฐั ภูมิ หนชู ุม
เดก็ ชายศักดน์ิ รนิ ทร โมรา
เด็กชายสรุ ิยศักดิ์ ปานเฉวง
เดก็ ชายอภวิ ัฒน สกุณา

เกณฑก ารใหคะแนน ลงชอ่ื ..............................................ผปู ระเมิน
................../.................../....................
- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติชดั เจนและบอยคร้งั ให 2 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตบิ างคร้งั ให 1 คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

1. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ปญ หา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ...............................................ครูผสู อน
(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)

วันท.่ี ......เดอื น..........................พ.ศ. ............

4. ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู
ขอ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................................
()

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

5. ความเหน็ ของหัวหนา กลุมบริหารวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นางสาวรจุ ริ า บัวลอย)

หัวหนา กลมุ บรหิ ารวิชาการ

6. ความเหน็ ของผอู ำนวยการสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นางจิราพร อินทรทัศน)

ผอู ำนวยการโรงเรยี นวังหนิ วิทยาคม

แผนการจดั การเรยี นรู

แผนการจัดการเรยี นรูที่ 1 กระบวนการคิดเชงิ ออกแบบ

กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว22103
ช้ัน มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565
หนว ยการเรียนรทู ่ี 4 การคิดเชิงออกแบบ เวลาเรียน 2 ช่ัวโมง

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
1. มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั

1.1 ตวั ช้วี ดั
ว 4.1 ม.2/2 ระบุปญหาหรือความตองการในชุมชนหรอื ทอ งถิน่ สรปุ กรอบของปญหา รวบรวม

วิเคราะห ขอ มูลและแนวคดิ ท่ีเก่ยี วขอ งกับปญหา
ม.2/3 ออกแบบวธิ กี ารแกป ญ หา โดยวิเคราะหเ ปรยี บเทยี บ และตดั สินใจเลอื กขอ มลู ท่ี

จำเปน ภายใต เง่อื นไขและทรพั ยากรที่มีอยู นำเสนอแนวทางการแกปญ หาใหผอู ่ืน
เขา ใจ วางแผนข้นั ตอนการทำงานและดำเนนิ การแกปญหาอยางเปนขั้นตอน
ม.2/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธบิ ายปญ หาหรือขอบกพรองที่เกิดขึ้น ภายใต
กรอบเงือ่ นไข พรอมทัง้ หาแนวทางปรบั ปรุงแกไ ข และนำเสนอผลการแกป ญ หา

2. สาระสำคญั
การคิดเชิงออกแบบเปนแนวคิดที่ใชในการแกปญหา โดยยึดเอาคนหรือประสบการณผูใชเปน

ศนู ยก ลาง และรวมกนั คน คิดวธิ ีการแกปญหารว มกนั ของทีมงานอยา งสรางสรรค ทำใหตน แบบท่ผี ลติ ขนึ้ มาเปน
เทคโนโลยที ีม่ ีความท่ีมีขอผิดพลาดนอย และเทคโนโลยนี ้นั มีมลู คา ทส่ี งู ขึน้ ซง่ึ จะเปนการแกปญหาดวยการเนน
ทำความเขา ใจวาคนตอ งการอะไร แทนทวี่ ธิ กี ารแบบเดิมท่ีมักเริ่มตนจาก“ปญหา”

3. จุดประสงคก ารเรยี นรู
1. อธิบายขั้นตอนของกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบได (K)
2. แกปญหาตา ง ๆ โดยใชกระบวนการคิดเชงิ ออกแบบไดอยา งถกู ตอง (P)
3. เหน็ ประโยชนของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (A)

4. สาระการเรียนรู

สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรียนรูท อ งถน่ิ

- ปญ หาหรือความตองการในชุมชนหรอื ทอ งถ่นิ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
มหี ลายอยาง ขึน้ กบั บรบิ ทหรือสถานการณท ่ี
ประสบ เชน ดา นพลงั งาน ส่ิงแวดลอ ม
การเกษตร การอาหาร
- การระบปุ ญ หาจำเปนตองมีการวเิ คราะห
สถานการณของปญหาเพอื่ สรปุ กรอบของ
ปญหาแลว ดำเนนิ การสบื คน รวบรวมขอ มลู
ความรจู ากศาสตรตาง ๆ ท่เี กี่ยวขอ งเพอื่
นำไปสกู ารออกแบบแนวทางการแกปญหา
- การวิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสนิ ใจเลือก
ขอ มลู ทจี่ ำเปน โดยคำนึงถงึ เงอ่ื นไขและ
ทรพั ยากร เชน งบประมาณ เวลา ขอมูล และ
สารสนเทศ วัสดุ เคร่อื งมือและอปุ กรณช ว ยให
ไดแ นวทางการแกป ญหาที่เหมาะสม
- การออกแบบแนวทางการแกป ญหาทำได
หลากหลายวิธี เชน การรา งภาพ การเขยี น
แผนภาพ การเขยี นผงั งาน
- การกำหนดขน้ั ตอนระยะเวลาในการทำงาน
กอ นดำเนินการแกปญหาจะชว ยใหก ารทำงาน
สำเรจ็ ได ตามเปาหมาย และลดขอผดิ พลาด
ของการทำงานที่อาจเกดิ ข้ึน
- การทดสอบและประเมินผลเปนการตรวจสอบ
ช้นิ งาน หรอื วิธกี ารวาสามารถแกป ญหาไดต าม
วัตถปุ ระสงคภ ายใตกรอบของปญ หา เพอ่ื หา
ขอ บกพรอง และดำเนินการปรบั ปรงุ ให
สามารถ แกไขปญหาได
- การนำเสนอผลงานเปน การถา ยทอดแนวคิด
เพอื่ ใหผอู นื่ เขา ใจเกย่ี วกับกระบวนการทำงาน
และชนิ้ งานหรือวิธกี ารท่ีได ซ่ึงสามารถทำได
หลายวิธี เชน การเขียนรายงาน การทำแผน
นำเสนอผลงาน การจดั นิทรรศการ

5. สมรรถนะสำคัญของผเู รยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค

สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค

1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ัย รบั ผดิ ชอบ
- ทักษะการสื่อสาร 2. ใฝเรียนรู
- ทกั ษะการแลกเปล่ียนขอ มลู 3. มงุ ม่ันในการทำงาน

2. ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห

3. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต
- ทักษะการทำงานรวมกัน

4. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
- ทักษะการสบื คน ขอมลู

6. ช้ินงาน/ภาระงาน
6.1 แบบทดสอบกอนเรยี น

7. กระบวนการจดั การเรียนรู

 วธิ กี ารสอนโดยเนน รูปแบบการสอนแบบใชปญหาเปน ฐาน (problem - based learning)

ช่วั โมงที่ 1

ขัน้ นำ

1. นักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรยี นหนว ยการเรียนรูท่ี 4 เรอ่ื ง การคดิ เชงิ ออกแบบ
เพื่อวดั ความรูเ ดมิ กอ นเขาสูกิจกรรม

2. ครูใหกระดาษแกน ักเรียนคนละ 1 แผน โดยเปนกระดาษท่มี ีรปู สเี่ หลีย่ ม 10 รูป จากนั้น ใ ห
นักเรียนทกุ คนวาดรปู ทรงอะไรก็ไดลงบนรูปสีเ่ หลย่ี มทัง้ 10 รปู โดยมีเงื่อนไขวารูปทรงท้ังหมด
ใน 10 รปู จะตองไมซ ้ำกัน

3. นักเรยี นแบง กลมุ ออกเปน 4-5 กลุม ใหนกั เรยี นรวมกนั เปรียบเทียบรปู วาดภายในกลุม
จากนนั้ ครสู อบถามนักเรียนวา“รปู ทรงของกลมุ ใดเหมอื นกัน และรูปทรงของกลุมใดไม
เหมือนกัน”

4. ครูสรปุ การทำกิจกรรมวา“ในการแกปญหาอยางใดอยางหนึ่งของนักเรียน ไมจำเปนตองได
ทางเลือกหรือคำตอบที่เหมือน ๆ กัน อาจจะมีแนวคิดที่เหมือนกันไดและแตกตางได ดังน้ัน
การแกปญหาสามารถมีไดหลากหลายวธิ ีการ แตการแกปญหาโดยไมออกแบบใหดีจะสงผลให
เกิดขอผดิ พลาดตาง ๆ ตามมา รวมถึงการสรางนวัตกรรมก็จะตองมีขั้นตอนการสรางตนแบบ
เพื่อลดความผิดพลาด”

5. ครูอธิบายกับนักเรียนเกี่ยวกับการคิดเชิงออกแบบเพื่อเชื่อมโยงเขาสูบทเรียนวา“การคิดเชิง
ออกแบบ เปนเครื่องมือสำคัญในการสรางนวัตกรรม เพราะการสรา งช้ินงานหรือเทคโนโลยีท่มี ี
ขนั้ ตอนการพัฒนาอยางชัดเจนจะทำใหช ้ินงานหรอื เทคโนโลยที ี่พฒั นาขึ้นมีมลู คา เพิม่ ข้ึน”

6. ครูถามคำถามกระตุนความคิดของนักเรียน โดยใชคำถามประจำหวั ขอ วา“การคิดเชิงออกแบบ
ชว ยพฒั นานวัตกรรมไดอ ยา งไร”
(แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยูกับดุลยพินิจของ
ครูผูสอน เชน การคิดเชิงออกแบบจะชวยสรางนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ เพื่อลดความ
ผดิ พลาดใหแกน วัตกรรม หรอื เพมิ่ มลู คา ใหแ กน วัตกรรม เปน ตน )

ขั้นสอน

ขัน้ ท่ี 1 กำหนดปญ หา
1. ครูอธิบายสถานการณปญหาชุมชนกับผูเรียนวา“ชุมชนมีแมลงวันจำนวนมากจะกอใหเกิด
ปญหา คือ โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารมาสูคน เชน บิด ไทฟอยด อาหารเปนพิษ
อหิวาตกโรค และโรคหนอนพยาธิบางชนิด ประกอบกับแมลงวันยังแพรข ยายจำนวนไดอยาง
รวดเรว็ ทำใหป ญหาที่เกิดขึ้นกลายเปนปญหาใหญของชุมชน”
2. จากนั้นครูใหนกั เรียนคิดคนวิธีการแกปญหาชุมชน รวมถึงการสรางนวัตกรรม โดยใชการคิด
เชงิ ออกแบบเพอ่ื แกไ ขปญหา

ขนั้ ที่ 2 ทำความเขาใจปญหา
3. นักเรียนแบง กลมุ กลุม ละ 8-10 คน จากนน้ั ใหนกั เรยี นแตล ะกลุม ทำความเขา ใจกับปญหา
ชมุ ชน โดยใหน ักเรยี นระบหุ วั ขอท่ีควรดำเนนิ การศึกษา ไดแก ความรเู ก่ียวกบั แมลงวนั
วงจรชวี ิตของแมลงวัน การปองกันและกำจดั แมลงวนั เปนตน เพื่อแกไ ขปญหาจากสถานการณ
ดังกลาว
4. นกั เรียนทำความเขาใจกับแนวคดิ หลักของการคดิ เชิงออกแบบ จากหนงั สอื เรยี นรายวชิ า
พ้ืนฐานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.2 หนวยการเรียนรูที่ 4
การคดิ เชิงออกแบบ เพ่ือวเิ คราะหก ารออกแบบผลติ ภัณฑท ี่ตอบสนองความพึงพอใจของ
ผใู ชง าน จากภาพการคดิ เชิงออกแบบของขวดซอสมะเขือเทศทม่ี แี นวคิดหลกั 3 ข้นั ตอน คอื
1) การเขาใจปญหาอยางถูกตอง (Understand)
2) การคดิ แบบไมมีกรอบ (Brainstorm)
3) เรยี นรผู านการลงมอื ทำ (Prototype)

ขัน้ ท่ี 3 ดำเนินการศึกษาคน ควา
5. นกั เรยี นแตล ะกลุมรว มกันศกึ ษากระบวนการของการคิดเชิงออกแบบ 5 ขั้นตอน ท่ี David
Kelly ไดน ำมาใชใ นธรุ กจิ และรบั การยอมรบั อยา งกวางขวาง ไดแ ก
ขน้ั ตอนที่ 1 การทำความเขาใจผใู ชอยางลึกซึ้ง (Empathize)
ขนั้ ตอนที่ 2 การระบุปญ หาและกรอบของปญหา (Define)
ข้นั ตอนท่ี 3 การหาแนวทางแกปญหา (Ideate)
ข้นั ตอนที่ 4 การสรา งตน แบบ (Prototype)

ขน้ั ตอนที่ 5 การทดสอบ (Test)
6. นักเรยี นศึกษาเกร็ดเสรมิ ความรูท เ่ี กย่ี วของกบั เนื้อหา (Design Focus) เรือ่ ง การนำการคดิ เชงิ

ออกแบบไปพฒั นาผลติ ภัณฑ บรกิ าร และกระบวนการ
7. เปดโอกาสใหน ักเรยี น ศกึ ษาความรเู พ่ิมเติมจากอนิ เทอรเน็ตที่เครื่องคอมพวิ เตอรของตนเอง

ชวั่ โมงท่ี 2

ข้นั ท่ี 4 สงั เคราะหความรู
8. นักเรียนนำความรูจากกระบวนการคิดเชงิ ออกแบบมาแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันภายในกลมุ
และนำความรูมาแกปญ หาสถานการณชุมชน โดยเริ่มกิจกรรมตามกระบวนการของการคดิ เชิง
ออกแบบ 5 ขั้นตอน โดยครูคอยกระตุนใหสมาชิกในกลุมทุกคนแสดงความคิดเห็นหรือ
แนวทางการแกไ ขปญหา

ข้นั ท่ี 5 สรปุ และประเมินคา ของคำตอบ
9. นักเรยี นแตละกลุมสรุปประเดน็ ทไี่ ดจ ากการอภิปรายความรูรว มกนั ตามกระบวนการคดิ
เชิงออกแบบ

ข้ันที่ 6 นำเสนอและประเมินผลงาน
10. นกั เรยี นแตล ะกลมุ สง ตวั แทนออกมานำเสนอผลงานของกลมุ เกยี่ วกับกระบวนการคดิ

เชิงออกแบบจากสถานการณปญหาชมุ ชนรวมถึงนวตั กรรมท่ีนกั เรยี นตองการสรางขึ้น
เพอ่ื แกไขปญหา

Note
วัตถุประสงคของกิจกรรมเพ่ือใหนกั เรียน
- มีทักษะการทำงานรวมกันโดยใชกระบวนการกลุมในการทำงานหรือการทำ

กจิ กรรมเพ่ือใหเกิดการส่ือสารและแลกเปลีย่ นขอมลู รว มกนั ภายในกลุม
- มที ักษะการสืบคน ขอมลู โดยใหนักเรียนแตละคนสืบคน ขอ มูลจากอนิ เทอรเ นต็

เพอื่ สืบเสาะหาความรตู ามหัวขอ ทไ่ี ดรบั มอบหมาย
- มีทักษะการคิดวิเคราะห โดยใหนักเรยี นพจิ ารณาเน้ือหาจากการสบื คนหรอื ศึกษา

ขอมูลจากแหลงขอ มูลตา ง ๆ เชน หนังสอื เรียน อนิ เทอรเ น็ต เปนตน

ขน้ั สรปุ
1. นักเรียนและครูรว มกันสรุปความรเู ก่ียวกบั การคิดเชิงออกแบบวา“เปนกระบวนการออกแบบ
และพฒั นาผลิตภัณฑ บริการ และกระบวนการ ที่ตองคน หาประสบการณของผใู ช (User
experience) เพื่อพัฒนาตน แบบออกมาทดลองตลาด (integrative Prototyping) จากน้ัน
เมอ่ื ทดลองใชและไดรบั ผลตอบกลับจากผูทีม่ ีใชง านจริง หรือผทู ่ีเกีย่ วของกับผลติ ภณั ฑ
(Stakeholder feedback) จงึ นำมาปรบั ปรงุ และผลติ เพ่ือจำหนา ยตอ ไป การคิดเชงิ ออกแบบ
จึงเปนกระบวนการออกแบบทเ่ี รยี นรจู ากผูใชง านเปน ศนู ยกลางอยาง ดงั นั้นจึงกลาวไดว า
การคิดเชงิ ออกแบบผลิตภัณฑจงึ เปนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ เพื่อตอบสนองความพงึ พอใจของ
ผูใชอยางแทจ รงิ ”
2. ครูวาดผังมโนทัศนล งบนกระดานหนา ชั้นเรยี น พรอ มอธิบายเพอ่ื สรปุ หลกั ของการคิดเชิง
ออกแบบวา “หลกั ของการคิดเชิงออกแบบ ตองประกอบดว ย 3 ข้นั ตอน คอื
1) การเขาใจปญหาอยางถูกตอ ง (Understand) เปนการทำความเขาใจปญหา
อยางลึกซึ้งกบั คนท่เี กิดปญ หานน้ั จรงิ ๆ ตัวอยางเชน หากเปน หมอหรอื
พยาบาลท่ตี องการสรา งสรรคบรกิ ารท่ดี ี ควรเรมิ่ ท่ีการทำความเขาใจ
ความตอ งการของคนไข หรือหากเปน ครทู ่ตี อ งการพฒั นาการเรียนการสอน
ของตัวเอง ควรเร่ิมท่ีการทำความเขาใจนักเรียน
2) การคิดแบบไมมกี รอบ (Brainstorm) มุง เนนการแยกการสรา งสรรคแ นวคดิ
ออกมาใหมากกอน แลวนำแนวคิดเหลา นัน้ มาประเมินวา แนวคิดใดมีความ
เปน ไปไดบาง
3) เรียนรผู านการลงมือทำ (Prototype) สรางตน แบบ หรือแบบจำลองอยา งงา ย
ท่ีสามารถนำไปส่ือสารแนวคิด เพ่ือนำไปพสิ ูจนวา ตอบสนองความตองการของ
กลุมเปาหมายหรอื ไม”

8. การวัดและประเมินผล วธิ วี ัด เครือ่ งมือ เกณฑก ารประเมิน

รายการวดั - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กอ นเรียน
8.1 การประเมนิ กอนการเรยี น
- แบบทดสอบกอนเรียน - สังเกตพฤติกรรมการ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
หนวยการเรียนรูที่ 4 ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ
เร่อื ง การคดิ เชิงออกแบบ
- ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
8.2 ประเมนิ ระหวางการจัด ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
กจิ กรรมการเรยี นรู - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
1) พฤติกรรมการทำงาน การทำงานกลุม การทำงานกลมุ ผา นเกณฑ
รายบคุ คล
2) การนำเสนอผลงาน

3) พฤติกรรมการทำงานกลุม

รายการวัด วิธวี ัด เคร่อื งมือ เกณฑก ารประเมนิ
4) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค - แบบประเมิน
- สงั เกตความมีวินยั คุณลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ 2
ใฝเ รยี นรู และมุง มนั่ อันพงึ ประสงค ผา นเกณฑ
ในการทำงาน

9. สอื่ /แหลง การเรียนรู
9.1 สอ่ื การเรียนรู
1) หนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 4
เรอ่ื ง การคดิ เชิงออกแบบ
2) สือ่ การเรยี นรอู อนไลน ของ สสวท. ผานเว็บไซต https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/
3) สอ่ื PowerPoint
4) เครอ่ื งคอมพวิ เตอร
9.2 แหลง การเรยี นรู
1) หองคอมพิวเตอร
2) อนิ เทอรเ นต็

10. การใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจัดการเรยี นรู
10.1 การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั การเรียนรขู องผูสอน

3 หวง หลักพอประมาณ

ประเด็น

1.ภาระงาน/หนา ที่ วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน มุง เนนให

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการ พึงประส

เรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู และบริบท ตัวช้วี ดั ส

ของโรงเรียน การศึกษ

บริบทขอ

2. การวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชสื่อ / แหลง เพื่อจัดก

เรียนรู / ทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชน มาตรฐา
สูงสุดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดมีลักษณะพึง ตามที่ห
ประสงค ตามที่หลักสูตรกำหนด เหมาะสม
กับวัย ระดบั ชั้น และเวลาเรยี นของผเู รยี น ระดับช้นั

หลกั มเี หตุผล หลักสรางภูมคิ ุมกันท่ีดีในตวั

หผูเรียนมีความรูทักษะคุณลักษณะอัน มีการวางแผนและบริหารจัดการ เพื่อจัดการ

สงคบรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู เรียนรู ใหตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรยี นรู ของหลกั สตู รแกนกลาง
ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551และ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
องโรงเรียน มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
และบริบทของโรงเรยี น

กิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุตาม วางแผนการเตรียมการสอนไมใหบกพรอง

านและตัวชี้วัดมีลักษณะพึงประสงค โดยจัดทำแผนจัดการเรยี นรู ส่ือ แบบวัดและ

หลักสูตรกำหนด เหมาะสมกับวัย ประเมินผล ที่เหมาะสมกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด

น และเวลาเรียนของผูเรียน สาระการเรียนรู และบริบทของโรงเรียน

เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และเวลาเรียนของ

ผูเรยี น

3 หวง หลกั พอประมาณ

ประเด็น

3.เทคนิค/วิธสี อน เลือกกิจกรรมการเรยี นรูใหเ หมาะกับบริบท ออกแบบ
การนำเท
ของ ผเู รยี น ครู ชมุ ชน ธรรมชาติวชิ า และ ทรพั ยาก

ทรัพยากรทม่ี ีอยู

4. การเลือกใช เลือกและใชเครื่องมอื วธิ กี าร และเกณฑการ เพอ่ื ใหผ ูเ

เครื่องมือ วิธีการ และ วัดผลประเมนิ ผลใหเหมาะสมกับกิจกรรม เรยี นรขู อ

เ ก ณ ฑ  ก า ร ว ั ด ผ ล การเรียนรแู ละศกั ยภาพของผูเรียน พ้ืนฐาน

ประเมนิ ผล

ความร:ู รอบรหู ลักสูตรสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 มาต
เทคนิควิธสี อน

คุณธรรม: ใฝเ รยี นรู ความรับผดิ ชอบ ความเสียสละ ความขยนั ความยุติธรรม

หลักมีเหตุผล หลักสรางภมู ิคุมกนั ทดี่ ีในตัว

บการจดั การเรยี นรู เพื่อใหเ หน็ คณุ คา จัดเตรียมสื่อ / แหลงเรียนรู / ทรพั ยากรที่มี

ทคโนโลยี สอ่ื / แหลงเรยี นรู / วัสดุ อุปกรณในการจัดการเรียนการสอนให

กรทมี่ ีอยมู าใชใ หเกิดประโยชนส ูงสดุ เพียงพอกับผูเรียน เตรียมสื่อ CAI (โปรแกรม

ชวยสอน) ในกรณีที่ครูไมสามารถมาสอนได

ลว งหนา

เรยี นบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคการจัดการ เตรียมวิธีปองกันปญหา ที่อาจเกิดจากการ

องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน จดั การเรียนรู การใชเ ครื่องมือไมตรงตามแผน
พุทธศักราช 2551 ที่วางไว วัดและประเมินผลบรรลุตาม

วัตถปุ ระสงคท ี่กำหนด

ตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั เน้ือหาความรเู ร่อื ง พื้นฐานทางคอมพวิ เตอร การวดั ผล ประเมนิ ผล และ

รักและเมตตาตอ ศษิ ย

10.2 คุณลกั ษณะ “อยอู ยางพอเพียง” ทเ่ี กิดกบั ผเู รยี น

หลกั พอประมาณ หลัก

1.เลอื กใชฮารดแวรอปุ กรณเ ครอื ขา ยและ 1.ตัดสินใจเลือกใชฮารดแ

ตามความจำเปนใชงานไมฟุมเฟอยเสียคาใชจายเกิน ตรงตามความตอ งการใชง

ความจำเปน 2. ยอมรบั ความคดิ เหน็ แล

2. แบงหนาที่การทำงานไดตรงกับความสามารถของ กลุม

สมาชกิ แตล ะคนในกลมุ ภายใตเวลาที่กำหนด 3.ใชทักษะกระบวนกา

3.ปฏบิ ัตงิ านโดยใชร ะยะเวลาท่เี หมาะสม ทงั้ นี้ตอ งเกิด เทคโนโลยี การทำงานนอ

จากการวางแผนการทำงานที่ดีและทำงานอยางเปน บรรลุตามเปา หมาย

ระบบรูจักใชเ ทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกับภาระงาน

ความร:ู มคี วามรู ความเขา ใจกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ
คณุ ธรรม: มคี วามซอ่ื สตั ยในการปฏิบัตงิ าน ขยนั รับผดิ ชอบ มงุ มน่ั ในการทำงา
เรยี นทง้ั ดา นความรูและทรัพยากรท่เี กีย่ วของกับบรบิ ทของการสรา งและนำเสนองาน

นำไปสู สมดุลและพรอ

กมีเหตุผล หลกั สรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว

แวรอุปกรณเครือขายตาง ๆได 1. มีการวางแผนในการเรียน การทำงานกลุมอยาง

งาน รอบคอบและเปนระบบ

ละความสามารถของสมาชิกใน 2.เตรียมพรอมแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นในชวงที่สราง

งานและนำเสนอผลงาน

ารทำงานกลุม ทักษะการใช 3. เตรียมพรอมสำหรับผลคะแนนที่จะไดรับจากการ

อกเวลาเรียนเพื่อใหภาระงาน ตรวจชิ้นงานและนำเสนองานของครูผสู อน

าน มคี วามประหยดั ในการเลือกวัสดุและอปุ กรณเทคโนโลยี มีน้ำใจชวยเหลอื เพื่อนในช้ัน
นโดยใชโ ปรแกรมคอมพวิ เตอร และสงงานตรงเวลา

อมรับการเปลี่ยนแปลง

ดา นวตั ถุ ดานสังคม

- มีความรูในการวางแผนการทำงาน - การทำงานรว มกบั เพ่อื น

ก า ร จ ั ด แ บ  ง ห น  า ท ี ่ ต า ม ค ว า ม รู ในกลมุ

ความสามารถของแตละคน - แลกเปลย่ี นเรยี นรูรว มกัน

- มีความรูในเรื่องการสืบคนการ สรุป กับเพ่ือน และครู

องคความรู และการจัดการความรูโดย - ประยุกตใชเ ทคโนโลยีในการทำงาน

ใชคอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ อยางสรางสรรค

เศรษฐกิจพอเพยี ง - ร ู  ร ะ เ บ ี ย บ ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ ใ น ก า ร ใ ช

- มีความรู ความเขาใจในเรื่องของการ คอมพิวเตอรรว มกบั ผูอ่นื

ใชคอมพวิ เตอรและอปุ กรณประกอบอื่น

เพื่อการสรา งงาน

- มีทักษะในการวางแผนการทำงานและ - มที ักษะในการทำงาน

การใชวัสดุอุปกรณ เพื่อใหเกิดความ รวมกัน แบง ปน

คมุ คา เอือ้ เฟอ เผอื่ แผ

- มีทักษะในการออกแบบและการสราง - ทกั ษะการทำงานอยาง

ชิ้นงานโดยใชคอมพิวเตอรตามหลัก เปนระบบมกี ารวางแผน

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการทำงาน

ดา นส่ิงแวดลอม ดา นวัฒนธรรม

- มีความรูในการเลอื กใชเทคโนโลยี เพ่ือ - รวู ฒั นธรรมในการทำงานรว มกับผอู ่ืน

ใชประโยชนไดอยางเหมาะสมกับ - รูวัฒนธรรม ในการแบงปน การใช

สภาพแวดลอม เทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสรางชิน้ งาน

- มคี วามรูในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - รูมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผูอืน่

- มีทักษะในการเลือกใชเ ทคโนโลยี เพื่อใช - ถายทอดวัฒนธรรมในการแบงปนการ

ป ร ะ โ ย ช น  ไ ด  อ ย  า ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ ใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสราง

สภาพแวดลอม ชนิ้ งาน

ดา นวัตถุ ดา นสงั คม

- มีทักษะในการเลือกคอมพิวเตอรและ - ปฏิบตั ติ ามระเบยี บการใช
วัสดุอุปกรณประกอบในการสรางงาน คอมพวิ เตอรร ว มกบั ผอู น่ื
และนำเสนออยางเหมาะสม

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการวาง - มีเจตคติที่ดีในการชวยเหลือเกื้อกูล

แผนการทำงานและการใชวัสดุอุปกรณ แบงปน เอ้อื เฟอ เผ่ือแผ ในการทำงาน

เพือ่ ใหเ กิดความคมุ คา - เห็นคุณคาของการทำงานอยางเปน

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการอก ระบบและมีการวางแผนในการทำงาน

แบบและการสรางชิ้นงานโดยใช -ตระหนักและเห็นคุณคาของการเปน

คอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ แบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตาม

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบียบการใชคอมพิวเตอรรวมกับ

- มีเจตคติท่ดี ีในการใชคอมพวิ เตอรเพื่อ ผอู นื่

การนำเสนอความรู

ดานสิ่งแวดลอม ดานวัฒนธรรม

- มีทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - มีมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผอู ่ืน

-ตระหนกั และ เห็นคุณคา ของการเลือกใช - เกิดความภาคภมู ใิ จผลงานท่ที ำ

เทคโนโลยี เพื่อใชประโยชนไดอยาง - ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช การ

เหมาะสมกับสภาพแวดลอม รักษาทรัพยากรสวนรวมอยางประหยัด

-ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช และคุมคา

เทคโนโลยีอยางคุมคาและประหยัด -มีเจตคติ ที่ดี ตอวัฒน ธรรมการใช

พลงั งาน เทคโนโลยีรว มกบั ผอู ่ืน

แบบทดสอบกอ นเรยี น
หนว ยการเรยี นรูท ่ี 4

คำชีแ้ จง : ใหนักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว

1. ขอใด ไมเกยี่ วของ กับการคดิ เชิงออกแบบ 5. ขอ ใดคือการระดมสมองที่ดีในการทำกิจกรรมกลมุ
ก. การเขา ใจปญหาอยางลึกซง้ึ ก. ไมก ำหนดเวลาในการระดมสมอง
ข. การคดิ ออกแบบไมม ีกรอบ ข. ใหทกุ คนภายในกลุม เสนอความคิดเห็นได
ค. การเรียนรดู วยการลงมือทำ ค. ตดั ความคดิ เหน็ ทไี่ มดอี อกทันทีเม่ือมีผเู สนอ
ง. การมงุ เนน แกไขปญ หาดว ยวิทยาศาสตร ความคดิ เหน็ ทห่ี วั หนากลุมคิดวาใชไ มไ ด
และเทคโนโลยี ง. หัวหนา กลมุ เปนผทู ี่เลอื กความคิดเห็นที่ดีท่ีสุด

2. การออกแบบรถยนตต ามแนวคิดเชงิ ออกแบบ 6. ตน แบบทส่ี รางขน้ึ จะตองผานกระบวนการในขอใด
ผอู อกแบบตองทำความเขาใจสงิ่ ใดอยา งลกึ ซ้ึง จงึ จะถือวาผลิตภัณฑห รือบรกิ ารทสี่ รางขึน้ สามารถ
ก. ผูใชง าน ตอบโจทยป ญหาและความตอ งการตามที่ตงั้ ใจไวได
ข. หัวหนางาน ก. ประเมินราคาผลิตภณั ฑห รือบรกิ ารทสี่ งู ข้นึ
ค. พนกั งานขาย เพอ่ื ผลประโยชนท างการคา
ง. เจา ของบริษทั ข. วเิ คราะหความเปนไปไดในการสรา งผลติ ภณั ฑ
และบรกิ าร
3. แนวคิดการคิดเชิงออกแบบมาใชในทางธุรกิจ ค. ออกแบบผลิตภณั ฑและบริการโดยคำนึง
ซง่ึ ไดรบั การยอมรับอยางกวา งขวาง การตลาดเปน สำคัญ
เปนแนวคดิ ของใคร ง. การประเมินประสทิ ธิภาพในความสามารถ
ก. Charles Babbage ของผลิตภณั ฑห รือบรกิ าร
ข. David Kelly
ค. Bill Gates 7. การแกปญหาและสรา งสรรคน วัตกรรมที่ดีเริ่มจาก
ง. Steve Jobs ขนั้ ตอนใด
ก. คน ควาวจิ ัยตา ง ๆ ท่เี คยพฒั นาผา นมา
4. ขน้ั ตอนแรกของแนวคิดการแกป ญหาคอื ขอ ใด ข. สืบคน ขอมลู ตา ง ๆ จากอนิ เทอรเนต็
ก. การกำหนดปญหา ค. สรางแบบสำรวจความตอ งการของประชากร
ข. การหาแนวทางการแกปญหา จำนวน 10 คน
ค. การเขาใจปญหา ง. การสมั ภาษณผทู ี่ตอ งการความชวยเหลือ
ง. การวิเคราะหปญหา

8. การออกแบบวธิ ีการผลติ ที่มีคณุ ภาพโดยใช 9. การกำหนดปญ หาของโครงการพระราชดำรฝิ นหลวง
เทคโนโลยีในการผลิตใหเ ร็วขึ้นและมคี ุณภาพดี คือขอใด
เปนการนำความคิดเชิงออกแบบไปพัฒนาอะไร ก. การเพ่มิ ปรมิ าณนำ้ บาดาล
ก. การคิดเชงิ ออกแบบของผลติ ภัณฑ ข. การขาดแคลนนำ้ เพ่อื การบริโภค และ
ข. การคดิ เชงิ ออกแบบของบริการ การทำการเกษตร
ค. การคดิ เชงิ ออกแบบของกระบวนการ ค. การตดั ตนไมในปา ไม
ง. การคิดเชิงออกแบบของผลลัพธ ง. การลดมลพิษในอากาศ

10. ขอใดคอื การเขาใจปญหาอยางลกึ ซึ้งของโครงการ
พระราชดำริ
ก. การลงพ้ืนท่พี บประชาชน
ข. การสัมภาษณผ วู าราชการจังหวัด
ค. การศกึ ษาขอมูลสถิติของหนว ยงานตาง ๆ
ง. การอา นรายงานปญ หาของจังหวัดตา ง ๆ

เฉลย
1. ง 2. ก 3. ข 4. ค 5. ข 6. ง 7. ง 8. ค 9. ข 10. ก

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค

คำชีแ้ จง : ใหผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี  ลงในชอ งทต่ี รงกับ

ระดบั คะแนน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคด า น ระดบั คะแนน

รายชือ่ นักเรยี น 1. ัรกชา ิต ศาสน ก ัษต ิร ย 321
2 ความ ่ืซอ ัสตยสุจ ิรต
3. มีวิ ันย
4. ใ ฝเ ีรยน ูร
5. อ ูยอยางพอเพียง
6. มุงม่ันในการทำงาน
7. ัรกความเปนไทย
8. มี ิจตสาธารณะ

เดก็ หญิงกานตธิดา คงยง
เด็กหญิงดารินทพิ ย ทรงเลิศ
เด็กหญิงนันทิกานต ถาวร
เดก็ หญิงบัณฑติ า รตั นพนั ธ
เด็กหญิงวราภร เอี่ยมอกั ษร
เด็กหญงิ สุธดิ า สวุ รรณคช
เดก็ หญิงสุลัดดา ชูบวั ทอง
เด็กหญงิ อนิตยา วรี ะสขุ
เด็กหญงิ อนิศา รัตนพันธ
เดก็ ชายชยั อัมรินทร ตาดทอง
เด็กชายเจนวทิ ย วเิ ชยี ร
เด็กชายธนกร ทองออ น
เด็กชายธรี ภทั ร ทองสม
เด็กชายนารากร ทองทิพย
เดก็ ชายภวู เดช ฤทธิพลัด
เดก็ ชายมนสั ชัย คงยงค
เดก็ ชายรฐั พล จันสขุ
เดก็ ชายรฐั ภูมิ หนชู ุม
เดก็ ชายศักดน์ิ รนิ ทร โมรา
เด็กชายสรุ ิยศักดิ์ ปานเฉวง
เดก็ ชายอภวิ ัฒน สกุณา

เกณฑก ารใหคะแนน ลงชอ่ื ..............................................ผปู ระเมิน
................../.................../....................
- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติชดั เจนและบอยคร้งั ให 2 คะแนน

- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตบิ างคร้งั ให 1 คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

1. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ปญ หา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................ครูผสู อน
(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)

วันที่.......เดอื น..........................พ.ศ. ............

4. ความคิดเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู
ขอ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................................
()

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรู

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 2 ถอดความคิดเชิงออกแบบของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร-
มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร

กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว22103
ช้ัน มัธยมศึกษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565
หนวยการเรียนรทู ี่ 4 การคิดเชงิ ออกแบบ เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
1. มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด

1.1 ตวั ช้ีวัด
ว 4.1 ม.2/2 ระบุปญ หาหรอื ความตอ งการในชมุ ชนหรอื ทอ งถิ่น สรปุ กรอบของปญ หา

รวบรวม วิเคราะหข อ มลู และแนวคดิ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั ปญ หา
ม.2/3 ออกแบบวิธีการแกปญหา โดยวิเคราะหเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอ มูล

ที่จำเปนภายใตเงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู นำเสนอแนวทาง การแกปญหาให
ผอู น่ื เขาใจ วางแผนขั้นตอนการทำงานและดำเนินการแกปญหาอยา งเปน ขนั้ ตอน
ม.2/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปญหาหรือขอบกพรองที่เกิดขึ้น ภายใตกรอบ
เงือ่ นไข พรอ มทง้ั หาแนวทางปรบั ปรุงแกไข และนำเสนอผลการแกป ญหา

2. สาระสำคัญ
การคิดเชิงออกแบบเปนแนวคิดที่ใชในการแกปญหา โดยยึดเอาคนหรือประสบการณผูใชเปน

ศูนยกลาง ซึ่งโครงการในพระราชดำรขิ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชทกุ โครงการ ไมได
ริเริ่มจากการคนควา หรือวิจยั ในหองทำงาน แตเร่ิมจากการลงพื้นที่เก็บประสบการณของประชาชนที่ตองการ
ความชว ยเหลอื

3. จดุ ประสงคการเรียนรู
1. อธบิ ายข้นั ตอนของกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบได (K)
2. สบื คนขอมูลเก่ยี วกับโครงการตาง ๆ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรไดอ ยางถูกตอง (P)
3. เห็นประโยชนของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (A)

4. สาระการเรียนรู

สาระการเรียนรูแกนกลาง สาระการเรียนรูทองถนิ่

- ปญหาหรือความตอ งการในชมุ ชนหรือทองถน่ิ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา
มหี ลายอยาง ขนึ้ กับบรบิ ทหรือสถานการณ
ทปี่ ระสบ เชน ดานพลังงาน ส่งิ แวดลอม
การเกษตร การอาหาร

- การระบปุ ญหาจำเปน ตองมกี ารวเิ คราะห
สถานการณของปญ หาเพ่อื สรุปกรอบของปญหา
แลว ดำเนนิ การสืบคน รวบรวมขอมลู ความรู
จากศาสตรต าง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง เพือ่ นำไปสู
การออกแบบแนวทางการแกปญหา

- การวเิ คราะห เปรยี บเทียบ และตัดสินใจเลอื ก
ขอ มลู ทจ่ี ำเปน โดยคำนึงถึงเงือ่ นไขและ
ทรพั ยากร เชน งบประมาณ เวลา ขอมูล และ
สารสนเทศ วัสดเุ ครอ่ื งมือและอุปกรณช ว ยใหได
แนวทางการแกป ญหาทเ่ี หมาะสม

- การออกแบบแนวทางการแกป ญ หาทำได
หลากหลายวิธี เชน การรางภาพ การเขียน
แผนภาพ การเขียนผังงาน

- การกำหนดข้นั ตอนระยะเวลาในการทำงานกอน
ดำเนินการแกปญหาจะชว ยใหการทำงานสำเร็จ
ไดต ามเปาหมาย และลดขอผิดพลาดของการ
ทำงานท่ีอาจเกดิ ขน้ึ

- การทดสอบและประเมนิ ผลเปนการตรวจสอบ
ช้นิ งาน หรือวิธีการวาสามารถแกป ญหาไดต าม
วตั ถปุ ระสงคภ ายใตกรอบของปญ หา เพือ่ หา
ขอบกพรอง และดำเนินการปรบั ปรุงใหส ามารถ
แกไขปญหาได

- การนำเสนอผลงานเปนการถายทอดแนวคิด
เพือ่ ใหผูอื่นเขา ใจเกย่ี วกับกระบวนการทำงาน
และชิ้นงานหรือวิธีการทีไ่ ด ซ่ึงสามารถทำได
หลายวธิ ี เชน การเขยี นรายงาน การทำแผน
นำเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ


Click to View FlipBook Version