The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3105-2009 ระบบโทรศัพท์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2020-05-14 10:19:52

3105-2009 ระบบโทรศัพท์

3105-2009 ระบบโทรศัพท์



การวเิ คราะห์หลกั สูตร

รายวชิ า ระบบโทรศัพท์ รหัสวชิ า 3105-2009 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพวชิ าชีพช้ันสูง
พุทธศักราช 2546

จุดประสงค์รายวชิ า
1) เพื่อใหม้ ีความเขา้ ใจ หลกั การทางานของเคร่ืองโทรศพั ท์ ระบบชุมสาย และระบบ

โทรศพั ท์
2) เพ่อื ใหส้ ามารถปฏิบตั ิงาน ตรวจซ่อมเครื่องโทรศพั ท์ ระบบชุมสาย และระบบ

โทรศพั ท์
3) เพอื่ ใหม้ ีกิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความประณีต รอบคอบ ปลอดภยั มีจริยธรรมใน

งานอาชีพ

มาตรฐานรายวชิ า
1) วเิ คราะห์หลกั การทางานของเคร่ืองโทรศพั ท์ ชุมสายโทรศพั ทแ์ บบตา่ ง ๆ
2) ตรวจซ่อมโทรศพั ทแ์ บบ Pulse , DTMF
3) วดั และทดสอบระบบชุมสายโทรศพั ทแ์ บบ Manual Operator
4) วดั และทดสอบระบบชุมสายโทรศพั ทแ์ บบอตั โนมตั ิเช่น PABX, Cross Bar , SPC
5) วดั และทดสอบระบบโทรศพั ทเ์ ซลลูลาร์, ระบบ ISDN

คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบตั ิการวดั และทดสอบเก่ียวกบั วงจรและการทางานของเคร่ืองโทรศพั ท์

แบบต่าง ๆ เช่นPulse, DTMF ระบบชุมสายโทรศพั ทเ์ ช่น Manual Operator, อตั โนมตั ิ(PABX,
Cross Bar, SPC) ระบบโทรศพั ทเ์ ซลลูลาร์ ระบบ ISDN



ตารางวเิ คราะห์เนือ้ หาทสี่ อดคล้องกบั จุดประสงค์รายวชิ าและมาตรฐานรายวชิ า

จุดประสงค์ มาตรฐาน

หน่วย ช่ือหน่วยการเรียนการสอน รายวชิ า รายวชิ า
ท่ี
ขอ้ ขอ้ ขอ้ ขอ้ ขอ้ ขอ้ ขอ้ ขอ้

12 3 1 2345

1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ระบบโทรศพั ท์  

2 หลกั การทางานของเครื่องรับโทรศพั ท์     

3 รหสั สญั ญาณที่ใชใ้ นระบบโทรศพั ท์     

4 ระบบชุมสายโทรศพั ท์ Manual   

5 ระบบชุมสายโทรศพั ท์ อตั โนมตั ิ   

6 ระบบชุมสายโทรศพั ทอ์ ตั โนมตั ิ SPC     

7 เทคนิคพ้นื ฐานการส่งสญั ญาณ  
โทรศพั ท์ 

8 งานขา่ ยสายโทรศพั ทต์ อนนอก  

9 หลกั การทางานระบบ     
โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีเซลลูล่าร์

10 โครงขา่ ยบริการสื่อสารร่วมระบบ   
ดิจิตอล (ISDN)



ตารางวเิ คราะห์เนือ้ หาทสี่ อดคล้องกบั คาอธิบายรายวชิ า

หน่วย ชื่อหน่วยการเรียนการสอน สัปดาห์ กจิ กรรม
ท่ี ทส่ี อน
การเรียนการสอน
1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั ระบบโทรศพั ท์ 1
- ศึกษาทฤษฎี
2 หลกั การทางานของเคร่ืองรับโทรศพั ท์ 2-3 - คน้ ควา้ เพม่ิ เติม
- จดั ทารายงาน
3 รหสั สัญญาณที่ใชใ้ นระบบโทรศพั ท์ 4-5 - สรุป
- ศึกษาทฤษฎี
4 ระบบชุมสายโทรศพั ท์ Manual 6 - คน้ ควา้ เพม่ิ เติม
5 ระบบชุมสายโทรศพั ท์ อตั โนมตั ิ - จดั ทารายงาน
7-8 - ปฏิบตั ิใบงาน
- สรุป
- ศึกษาทฤษฎี
- คน้ ควา้ เพิม่ เติม
- จดั ทารายงาน
- ปฏิบตั ิใบงาน
- สรุป
- ศึกษาทฤษฎี
- คน้ ควา้ เพิม่ เติม
- จดั ทารายงาน
- สรุป
- ศึกษาทฤษฎี
- คน้ ควา้ เพม่ิ เติม
- จดั ทารายงาน
- สรุป



หน่วย ช่ือหน่วยการเรียนการสอน สัปดาห์ กจิ กรรม
ท่ี ทส่ี อน
9-10 การเรียนการสอน
6 ระบบชุมสายโทรศพั ทอ์ ตั โนมตั ิ SPC
11-12 - ศึกษาทฤษฎี
7 เทคนิคพ้นื ฐานการส่งสัญญาณโทรศพั ท์ - คน้ ควา้ เพม่ิ เติม
13-14 - จดั ทารายงาน
8 งานข่ายสายโทรศพั ทต์ อนนอก - ปฏิบตั ิใบงาน
9 หลกั การทางานระบบโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีเซลลูล่าร์ 15-16 - สรุป
10 โครงขา่ ยบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (ISDN) - ศึกษาทฤษฎี
17-18 - คน้ ควา้ เพม่ิ เติม
- จดั ทารายงาน
- ปฏิบตั ิใบงาน
- สรุป
- ศึกษาทฤษฎี
- คน้ ควา้ เพ่มิ เติม
- จดั ทารายงาน
- สรุป
- ศึกษาทฤษฎี
- คน้ ควา้ เพิ่มเติม
- จดั ทารายงาน
- สรุป
- ศึกษาทฤษฎี
- คน้ ควา้ เพ่มิ เติม
- จดั ทารายงาน
- สรุป

หน่วยการสอนและจานวนช่ัวโมงสอน ค

สัปดาห์ท่ี หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการสอน จานวนช่ังโมง
1 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ระบบโทรศพั ท์ 3
2-3 2 หลกั การทางานของเคร่ืองรับโทรศพั ท์ 6
4-5 3 รหสั สญั ญาณท่ีใชใ้ นระบบโทรศพั ท์ 6
6 4 ระบบชุมสายโทรศพั ท์ Manual 3
7-8 5 ระบบชุมสายโทรศพั ท์ อตั โนมตั ิ 6
9-10 6 ระบบชุมสายโทรศพั ทอ์ ตั โนมตั ิ SPC 6
7 เทคนิคพ้นื ฐานการส่งสญั ญาณโทรศพั ท์ 6
11-12 8 งานข่ายสายโทรศพั ทต์ อนนอก 6
13-14 9 หลกั การทางานระบบโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีเซลลูล่าร์ 6
15-16 10 โครงข่ายบริการส่ือสารร่วมระบบดิจิตอล (ISDN) 6
17-18 54
รวม

หน่วยที่ 1
ความรู้เบือ้ งต้นเกย่ี วกบั โทรศัพท์

นายปิ ยะ รัตตสนธิกลุ

หวั ข้อการเรียนรู้

1. ประวตั ิความเป็นมาของโทรศพั ท์
2. ววิ ฒั นาการโทรศพั ทใ์ นประเทศไทย
3. หลกั การเบ้ืองตน้ ของระบบโทรศพั ท์
4. หลกั การเบ้ืองตน้ ของชุมสายโทรศพั ท์
5. ระบบเลขหมายโทรศพั ท์

จุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์ทว่ั ไป
1. ดา้ นความรู้

เพอื่ ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั พ้นื ฐานระบบโทรศพั ท์
2. ดา้ นคุณธรรม/จรรยาบรรณ/เศรษฐกิจพอเพยี ง

มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พงึ ประสงค/์ เศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นความมีวนิ ยั ในการ
ทางาน ความซื่อสัตยส์ ุจริตในการทางานและความประหยดั ในการใชท้ รัพยากรของตนเองและ
ส่วนรวม

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. ดา้ นความรู้ และทกั ษะ
1.1 บอกประวตั ิความเป็นมาของโทรศพั ทไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
1.2 บอกววิ ฒั นาการโทรศพั ทใ์ นประเทศไทยไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
1.3 อธิบายหลกั การเบ้ืองตน้ ของโทรศพั ทไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
1.4 อธิบายหลกั การเบ้ืองตน้ ของชุมสายโทรศพั ทแ์ บบต่างๆไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
1.5 อธิบายระบบเลขหมายโทรศพั ทไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

2

2. ดา้ นคุณธรรม/จรรยาบรรณ/เศรษฐกิจพอเพยี ง
2.1 เตรียมความพร้อมดา้ นวสั ดุ อุปกรณ์สอดคลอ้ งกบั งานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและใชว้ สั ดุ

อุปกรณ์อยา่ งคุม้ คา่ ประหยดั ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณลกั ษณะ 3D
2.2 ปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งสาเร็จภายในเวลาท่ีกาหนดอยา่ งมีเหตุและผลตามหลกั

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและคุณลกั ษณะ 3D
2.3 เขา้ เรียนตรงเวลา มีอุปกรณ์การเรียนครบถว้ นและส่งงานในเวลาที่กาหนด
2.4 ไม่คดั ลอกผลงานคนอ่ืน
2.5 ใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าในการเรียนอยา่ งประหยดั
2.6 ความสนใจใฝ่ รู้ เช่นการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง การซกั ถามปัญหาขอ้ สงสัย การ

แสวงหาความรู้ใหมๆ่ การมีความกระตือรือร้นในการทางาน
2.7 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เช่น คิดวเิ คราะห์ปัญหาหรือคาถามอยา่ งรวดเร็วและ

รอบคอบ การพฒั นาตนเองอยเู่ สมอๆ กลา้ แสดงออก กลา้ คิด กลา้ พดู กลา้ ทาในสิ่งที่เป็น
ประโยชน์

วธิ ีการสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน

1.แจง้ จุดประสงคใ์ หผ้ เู้ รียนเขา้ ใจก่อนเรียนและจดั กลุ่มผเู้ รียน
2.ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียนใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน
3.ครูสอนบรรยายหนา้ ช้นั เรียนประกอบส่ือ Power point และส่ือของจริง
4. ใหน้ กั ศึกษาแตล่ ะกลุ่มร่วมอภิปรายเน้ือหาภายในช้นั เรียนและตอบคาถามเพื่อทบทวน
ความเขา้ ใจของเน้ือหา
5. ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่ม 3-5 คน ช่วยกนั ปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ีกาหนดให้
6.ใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบหลงั เรียน
7.ครูมอบหมายงานใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั เพิม่ เติม เพ่ือเป็นการทบทวนความเขา้ ใจของ
เน้ือหาและศึกษาเน้ือหาที่จะเรียนในคร้ังตอ่ ไป

สาระสาคญั

กิจการโทรศพั ทไ์ ดเ้ ริ่มตน้ มาต้งั แต่ พ.ศ. 2419 โดย อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ ซ่ึงเป็ น
การนา เอาลาโพงสองตวั มาต่อขนานกนั แลว้ สนทนากนั ไดใ้ นระยะใกลๆ้ ต่อจากน้นั ก็ไดม้ ีนกั คิด
ประดิษฐ์ได้ พฒั นาระบบโทรศพั ท์ให้สามารถใช้งานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และสะดวกสบาย

3

จนถึงปัจจุบนั ซ่ึงกิจการโทรศพั ทไ์ ดแ้ พร่หลาย นิยมใชก้ นั ทุกแห่งทวั่ โลกกลายเป็ นระบบส่ือสาร
หลกั ของโลกไปโดยปริยาย

กิจการโทรศพั ทใ์ นเมืองไทยไดเ้ ร่ิมตน้ ในสมยั รัชกาลท่ี 5 ในปี พ.ศ. 2424 ทางรัฐบาลได้
ส่ังซ้ือเขา้ มาใชร้ ะหวา่ งกรมอู่ทหารเรือกบั ปากน้าสมุทรปราการ เพ่ือรายงานเรือเขา้ ออกในแม่น้า
เจา้ พระยาให้ทางรัฐบาลทราบ และหลงั จากน้นั ก็ไดส้ ั่งซ้ือเขา้ มาเพ่ิมเร่ือย ๆ จนกิจการใหญ่ข้ึน
เรื่อยๆ จึงมีการต้งั องคก์ ารโทรศพั ทข์ ้ึนมาดูแลโดยเฉพาะ และไดม้ ีการพฒั นาชุมสายหรือนาระบบ
ที่ทนั สมยั เขา้ มาใช้ ทาใหป้ ระเทศไทยมีระบบสื่อสารท่ีทนั สมยั ใชง้ านอยใู่ นปัจจุบนั

ชุมสายโทรศพั ทอ์ ตั โนมตั ิระบบ Step by Step อุปกรณ์สวิตช์ที่ใชเ้ ป็ นแบบกลไกลไฟฟ้ า
(Electro Mechanical) ถึงแมว้ า่ จะมีขนาดใหญ่โตแต่ก็ให้ความสะดวก ในการใชง้ านเป็ นอยา่ งมาก
ต่อมาไดม้ ีการพฒั นาระบบของชุมสายโทรศพั ทม์ าเป็นระบบ Crossbar ซ่ึงมีการควบคุมการทางาน
ของระบบเป็ นแบบ Common Control ถึงแมว้ า่ อุปกรณ์สวิทช์ที่ใชจ้ ะเป็ นแบบกลไฟฟ้ า แต่ก็ให้
ขีดความสามารถและความรวดเร็วในการตอ่ อุปกรณ์สวทิ ช์ไดส้ ูงกวา่ ระบบ Step by Step

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรมทมี่ อบหมาย

1.กจิ กรรมก่อนเรียน

1.1 ศึกษาแผนการเรียนรายวชิ าระบบโทรศพั ท์ ท่ีครูแจกให้

1.2 ต้งั ใจฟัง ซกั ถามขอ้ สงสัย ช่วยกนั ตอบคาถามและจดบนั ทึกสรุป ยอ่ สาระสาคญั
1.3 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนอยา่ งต้งั ใจ
2.กจิ กรรมในขณะเรียน
2.1 ต้งั ใจ ดู ฟัง จดบนั ทึกสรุปความคิดรวบยอด จากการบรรยายของครู
2.2 ยกตวั อยา่ ง และตอบคาถามเป็นรายบุคคล
2.3 ซกั ถามขอ้ สงสยั
2.4 ระดมสมอง ปรึกษาหารือช่วยกนั ตอบคาถามของครู
3.กจิ กรรมหลงั เรียน
3.1 ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
3.2 แบง่ กลุ่มและทากิจกรรม 5 ส.
3.3 อ่านเอกสารประกอบการสอน เตรียมตวั เรียนและทดสอบหลงั เรียน

4

ส่ือการเรียนการสอน

สื่อสิ่งพมิ พ์
1. แผนการสอนรายวชิ าระบบโทรศพั ท์
2. เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 1
3. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
4. แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
5. ใบตารางการทากิจกรรม 5 ส.
6. แบบประเมิลผลการเรียน

ส่ือเวปไซด์
เวปไซต์ ของ อ.ปิ ยะ รัตตสนธิกุล WWW.PIYA.ENMTC.COM

สื่อโสตศึกษา
1. Power point ประกอบการสอน รายวชิ า ระบบโทรศพั ท์ เรื่องความรู้เบ้ืองตน้

เก่ียวกบั ระบบโทรศพั ท์
2. กระดานไวทบ์ อร์ดพร้อมปากกาไวทบ์ อร์ด
3. คอมพิวเตอร์โน๊ตบุค้ พร้อม Projecter

5

1.บทนา

ในสมยั โบราณ การติดต่อส่ือสารทางไกลระหวา่ งมนุษยด์ ว้ ยกนั น้นั จะใชว้ ธิ ีการง่าย ๆ
อาศยั ธรรมชาติหรือเลียนแบบธรรมชาติเป็ นหลกั เช่น การใชค้ วนั เสียง แสง หรือใชน้ กพิราบนา
สาร เป็ นตน้ การส่ือสารที่ใชส้ ื่อดงั กล่าวน้นั จะไม่ค่อยไดผ้ ลเท่าใดนกั เน่ืองจากไม่สามารถให้
รายละเอียดข่าวสารไดม้ าก หรือแมจ้ ะให้รายละเอียดไดม้ าก แต่ก็ไม่ค่อยจะปลอดภยั เท่าใด เช่น
นกพริ าบนาสาร ซ่ึงให้รายละเอียดไดม้ ากแต่เป็ นการเสี่ยงเพราะนกพิราบอาจไปไม่ถึงปลายทางได้
อยา่ งไรก็ตามการสื่อสารดงั กล่าวน้ี เป็นการสื่อสารท่ีราคาถูกมาก ความรวดเร็วก็พอใชไ้ ด้

ในปัจจุบนั ซ่ึงเป็ นยคุ โลกาภิวฒั น์ เป็นยคุ แห่งความเจริญทางดา้ นเทคโนโลยีมนุษยไ์ ดน้ าเอา
เทคโนโลยที ่ีมีอยู่ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั ระบบส่ือสาร ทาให้การติดต่อส่ือสารในปัจจุบนั มีประสิทธิภาพ
สูงมาก ท้งั ความสะดวกสบาย รวดเร็วและถูกตอ้ ง ชดั เจน แน่นอน

ระบบส่ือสารท่ีมีใชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั น้ีมีหลายชนิด เช่น วิทยุสื่อสาร (Radio Communication)
โทรเลข (Telegraphy)โทรพิมพ(์ Telex)โทรศพั ท(์ Telephone)โทรสาร(Facsimile) หรือวิทยุติดตาม
ตวั (Pager) เป็ นตน้ แต่ระบบสื่อสารท่ีไดร้ ับความนิยมจากทวั่ โลกก็คือโทรศพั ท์ เพราะวา่ โทรศพั ท์
สามารถสนทนาโตต้ อบกนั ไดท้ นั ที รวดเร็วทนั ต่อเหตุการณ์ ซ่ึงระบบอื่น ๆ ทาไม่ได้ โทรศพั ทจ์ ึง
ไดร้ ับความนิยมเป็ นอยา่ งมาก และในโลกของการติดต่อส่ือสารปัจจุบนั โทรศพั ทก์ ็เป็ นเครื่องบ่งช้ี
ถึงความเจริญรุ่งเรืองของประเทศตา่ ง ๆ ดว้ ยมีคากล่าวหรือขอ้ กาหนดเก่ียวกบั การพฒั นาประเทศอยู่
วา่ ประเทศใดท่ีมีจานวนเลขหมายโทรศพั ทใ์ นประเทศ 40 เลขหมายต่อประชากร 100 คน ซ่ึงถือวา่
ประเทศน้นั มีความเจริญแลว้ หรือเป็ นประเทศท่ีพฒั นาแลว้ และประเทศใดที่มีเลขหมายโทรศพั ท์
10 เลขหมายต่อประชากร 100 คน ถือวา่ ประเทศน้นั กาลงั ไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งกา้ วกระโดด จะเห็น
วา่ ประเทศต่าง ๆ ทว่ั โลกใหค้ วามสาคญั กบั กิจกรรมโทรศพั ทเ์ ป็นอยา่ งมาก

สาหรับประเทศไทย คาวา่ โทรศพั ท์ ไดเ้ ริ่มรู้จกั กนั มาต้งั แต่รัชกาลท่ี 5 คาวา่ โทรศพั ทต์ รง
กบั ภาษากรีกวา่ “Telephone” โดยท่ี Tele แปลวา่ ทางไกล และ Phone แปลวา่ การสนทนา เมื่อแปล
รวมกนั แลว้ กห็ มายถึง “การสนทนากนั ในระยะทางไกล ๆ” หรือการส่งเสียงจากจุดหน่ึงไปยงั อีกจุด
หน่ึงไดต้ ามตอ้ งการโดยสามารถ พดู โตต้ อบ หรือพดู สวนกนั ไดใ้ นทนั ที

2. ประวตั ิความเป็ นมาของโทรศัพท์

โทรศพั ทไ์ ดถ้ ูกคิดคน้ และประดิษฐ์ข้ึนมาในปี พ.ศ. 2419 ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยนกั
ประดิษฐ์ ช่ือ ALEXANDER GRAHAM BELL

6

รูปท่ี 1.1 แสดง ALEXANDER GRAHAM BELL

รูปท่ี 1.2 แสดงหลกั การโทรศพั ทข์ อง เบลล์
ที่มา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

หลกั การของโทรศพั ทท์ ี่ Alexander Graham Bell ประดิษฐ์ก็คือ ตวั ส่ง(Transmitter) และ
ตวั รับ(Receiver) ซ่ึงมีโครงสร้างเหมือนลาโพงในปัจจุบนั กล่าวคือ มีแผน่ ไดอะแฟรม (Diaphragm)
ติดอยกู่ บั ขดลวด ซ่ึงวางอยใู่ กล้ ๆ แม่เหล็กถาวร เมื่อมีเสียงมากระทบแผน่ ไดอะแฟรม ก็จะส่ันทา
ใหข้ ดลวดส่นั หรือเคล่ือนท่ีตดั สนามแม่เหล็ก เกิดกระแสข้ึนมาในขดลวด กระแสไฟฟ้ าน้ีจะวงิ่ ตาม
สายไฟฟ้ าถึงตวั รับ ซ่ึงตวั รับ(Receiver) กจ็ ะมีโครงสร้างเหมือนกบั ตวั ส่ง (Transmitter) เม่ือกระแส
ไฟฟ้ ามาถึงก็จะเขา้ ไปยงั ในขดลวด เน่ืองจากกระแสไฟฟ้ าที่มาน้ีเป็ นระบบ AC ซ่ึงจะมีการเปล่ียน
แปลงข้วั บวกและลบอยตู่ ลอดเวลา ก็จะทาใหเ้ กิดเป็ นสนามแม่เหล็กข้ึนรอบ ๆ ขดลวดของตวั รับ
(Receiver) สนามแม่เหล็กน้ีจะไปผลกั หรือดูดกบั สนามแม่เหล็กถาวรของตวั รับ แต่เน่ืองจากตวั
แม่เหล็กถาวรที่ตวั รับน้นั ไม่สามารถเคล่ือนท่ีได้ ขดลวดและแผน่ ไดอะแฟรมจึงเป็ นฝ่ ายที่ถูกผลกั
และดูดใหเ้ คลื่อนท่ี การที่ไดอะแฟรมเคลื่อนที่จึงเป็นการตีอากาศตามจงั หวะของกระแสไฟฟ้ าที่ส่ง
มานนั่ คือ เกิดเป็นคลื่นเสียงข้ึนมาในอากาศ ทาใหไ้ ดย้ นิ

แต่อยา่ งไรก็ตาม กระแสไฟฟ้ าที่เกิดข้ึนจาก Transmitter น้ีมีขนาดเล็กมาก ถา้ หากใชส้ าย
ส่งยาวมากจะไม่สามารถไดย้ นิ ผสู้ ่งได้ วิธีการของ Alexander Graham Bell จึงไม่ประสบผลสาเร็จ
เทา่ ใดนกั แต่ก็เป็นเคร่ืองตน้ แบบใหม้ ีการพฒั นาต่อมา

7
ในปี พ.ศ.2420 THOMAS ALWA EDISON ไดป้ ระดิษฐ์ตวั ส่งข้ึนมาใหม่ให้สามารถส่งได้
ไกลข้ึนกวา่ เดิม ซ่ึงตวั ส่งที่ Edison ประดิษฐข์ ้ึนมา มีชื่อวา่ คาร์บอน ทรานสมิทเตอร์ (Carbon
Transmitter)

รูปท่ี 1.3 แสดงปากพดู แบบคาร์บอน
ท่ีมา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

คาร์บอน ทรานสมิทเตอร์ (Carbon Transmitter) ให้กระแสไฟฟ้ าออกมาแรงมาก เนื่องจาก
เมื่อมีเสียงมากระทบแผน่ ไดอะแฟรม แผน่ ไดอะแฟรมจะไปกดผงคาร์บอน(Carbon) ทาให้ค่าความ
ตา้ นทานของผงคาร์บอนเปล่ียนแปลงไปตามแรงกด ดงั น้นั แรงเคล่ือนตกคร่อมผงคาร์บอนจะมีการ
เปลี่ยนแปลงดว้ ย เนื่องจากแรงเคลื่อนที่จ่ายให้คาร์บอนมีค่ามากพอสมควร การเปล่ียนแปลงแรง
เคลื่อนจึงมีมากตามไปดว้ ย และการเปลี่ยนแปลงน้ี เป็ นการเปล่ียนแปลงบนยอดของ DC ท่ีจ่ายให้
คาร์บอน ซ่ึงเราอาจกล่าวไดว้ า่ การเปลี่ยนแปลงดงั กล่าวน้ีก็คือไฟ AC ท่ีข่ีอยบู่ นยอดของไฟ DC
นนั่ เอง

รูปท่ี 1.4 แสดงไฟเอซีที่อยบู่ นยอดของไฟดีซี
ที่มา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533)

8

ดงั น้นั เม่ือไฟ DC ไปถึงไหนไฟ AC ก็ไปถึงเช่นกนั แต่ไฟ DC มีค่าประมาณ 6 -12 Volt
(ค่าแรงเคล่ือนเล้ียงสายโทรศพั ทข์ ณะยกหู) ซ่ึงมากพอที่จะวิ่งไปไดร้ ะยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร
นน่ั คือไฟ AC ที่เป็นสัญญาณเสียงกไ็ ปไดเ้ ช่นกนั หลงั จากน้ีก็ไดม้ ีการพฒั นาโทรศพั ทข์ ้ึนมาใชง้ าน
มากมายหลายระบบตามเทคโนโลยีท่ีกา้ วหนา้ ข้ึนไปเร่ือย ๆ ซ่ึงก็มีการพฒั นาท้งั ระบบชุมสาย
(Exchange) และตวั เครื่องโทรศพั ท์ (Telephone Set) ดว้ ย ใหส้ ามารถใชง้ านไดส้ ะดวกสบาย และมี
ประสิทธิภาพมากข้ึน

การติดต่อทางโทรศพั ท์ในระยะเร่ิมตน้ น้นั ไม่ค่อยมากนกั จานวนของเครื่องโทรศพั ท์มี
จานวนนอ้ ย และเม่ือมีการพฒั นาระบบโทรศพั ทใ์ หเ้ จริญข้ึน และการใชโ้ ทรศพั ทก์ ็มีจานวนมากข้ึน
จานวนสายก็ยอ่ มมากข้ึนดว้ ย ซ่ึงเป็ นการใชส้ ายท่ีเปลือง ดงั น้นั เพื่อเป็ นการประหยดั สาย จึงได้
พฒั นาการเรียกโทรศพั ทโ์ ดยผา่ นชุมสายข้ึน โดยโทรศพั ทแ์ ต่ละเครื่องจะต่อไปยงั ชุมสายโทรศพั ท์
ซ่ึงท่ีชุมสายโทรศพั ทก์ ็จะมีอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทาหนา้ ท่ีเช่ือมต่อการสนทนาของเคร่ืองโทรศพั ท์ โดย
เม่ือผใู้ ชโ้ ทรศพั ท์ทาการยกหูข้ึนใชง้ าน ชุมสายโทรศพั ทก์ ็จะทราบไดท้ นั ทีวา่ โทรศพั ทเ์ คร่ืองน้นั มี
ความตอ้ งการใชโ้ ทรศพั ทเ์ กิดข้ึนแลว้ ทางชุมสายโทรศพั ทก์ ็จะเตรียมพร้อมท่ีจะทางาน ตามความ
ตอ้ งการของผใู้ ชโ้ ทรศพั ทไ์ ดท้ นั ที

ในปี พ.ศ.2433 Almon B. Strowger ชาวสหรัฐอเมริกาได้มีการพฒั นาโทรศพั ทร์ ะบบที่ใช้
พนกั งานเชื่อมต่อมาเป็ นระบบอตั โนมตั ิ เราเรียกระบบน้ีวา่ STEP BY STEP โดยใชส้ วิตช์เป็ นแบบ
กลไฟฟ้ า และเป็ นพ้ืนฐานในการพฒั นาชุมสาย ชนิดต่าง ๆ จนตราบเท่าทุกวนั น้ี เช่นเครื่องชุมสาย
แบบ XY SWITCH เกิดข้ึน ปี พ.ศ.2434 โดยบริษทั STROMBERG CALSON ปี พ.ศ. 2436
เคร่ืองชุมสายแบบ CROSS BAR โดย LAPARTE ชาวสหรัฐอเมริกา

ต่อมาในปี พ.ศ. 2513 เทคโนโลยที างดา้ นคอมพิวเตอร์ไดเ้ จริญข้ึนมาอยา่ งรวดเร็ว จึงไดม้ ี
การพฒั นาระบบโทรศพั ทท์ ่ีมีการควบคุมการทางานของระบบดว้ ย Software เรียกวา่ ระบบ Stored
Program Control (SPC) ในระยะเริ่มแรกของการใชช้ ุมสายโทรศพั ทร์ ะบบน้ี สัญญาณที่ผา่ นภาค
Switching ยงั คงเป็ นสัญญาณ Analog จนกระทงั่ ไดม้ ีการนาเทคนิคของ Time Division Multiplex
(TDM) และ Pulse Code Modulation (PCM) เขา้ มาใชใ้ นชุมสายโทรศพั ท์ ภาค Switching ของ
ระบบน้ีเป็ น Time Switch ซ่ึงสัญญาณที่ผา่ นจะเป็ นสัญญาณแบบ Digital ชุมสายโทรศพั ทร์ ะบบ
SPC ระบบน้ีจึงเรียกวา่ เป็ น Digital Strored Program Control แต่ก็เรียกกนั อยา่ งส้ันๆ วา่ “ ชุมสาย
SPC”

9

3. ววิ ฒั นาการโทรศัพท์ในประเทศไทย

กิจการโทรศพั ทใ์ นประเทศไทยในระยะเร่ิมแรก เท่าท่ีปรากฏในหนงั สือ" ตานานไปรษณีย์
โทรเลขสยาม " พ.ศ.2429 ถึง พ.ศ.2468 ไดบ้ นั ทึกเรื่องราวเกี่ยวกบั โทรศพั ทใ์ นประเทศไทยไวว้ า่
ประเทศไทยไดน้ าเอาเครื่องโทรศพั ทม์ าใชเ้ ป็ นคร้ังแรก เม่ือ พ.ศ.2424 ตรงกบั รัชกาลท่ี 5 แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ โดยกรมกลาโหม (กระทรวงกลาโหม ในปัจจุบนั ) ไดส้ ่ังเขา้ มาใชง้ านในกิจการเพ่ือ
ความมน่ั คงแห่งชาติ โดยติดต้งั ท่ีกรมอู่ทหารเรือกรุงเทพฯ 1 เคร่ือง และป้ อมยามปากน้าเจา้ พระยา
จงั หวดั สมุทรปราการอีก 1 เคร่ือง รวม 2 เครื่อง เพื่อจะไดแ้ จง้ ข่าวเรือ เขา้ ออกในแม่น้าเจา้ พระยาให้
ทางกรุงเทพฯทราบ

รูปท่ี 1.5 แสดงโทรศพั ทเ์ คร่ืองแรกท่ีถูกนามาใชใ้ นประเทศไทย
ท่ีมา : ศนู ยฝ์ ึกโทรคมนาคม องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย. (2531).

ในระยะแรกการใชโ้ ทรศพั ท์เป็ นลกั ษณะการติดต่อกนั 2 จุด หรือเพียง 2 คน ต่อมามีความ
ตอ้ งการท่ีจะใชโ้ ทรศพั ทม์ ากข้ึน จึงทาใหม้ ีการพฒั นาระบบโทรศพั ทข์ ้ึนมา ทาใหผ้ ใู้ ช้งานโทรศพั ท์
สามารถท่ีจะมีจานวนมากข้ึนและจะเลือกติดตอ่ สนทนากบั คนใดคนหน่ึงได้

พ.ศ. 2429 กิจการโทรศพั ทไ์ ดเ้ จริญรุ่งเรืองข้ึน จานวนเลขหมายและบุคลากรก็เพ่ิมมากข้ึน
ยงุ่ ยากแก่การบริหารงานของกรมกลาโหม ดงั น้นั กรมกลาโหมจึงไดโ้ อนกิจการของโทรศพั ทใ์ ห้ไป
อยใู่ นการดูแลและดาเนินการของกรมไปรษณียโ์ ทรเลข และไดข้ ยายกิจการออกไป โดยเปิ ดโอกาส
ใหป้ ระชาชนไดเ้ ช่าใชเ้ ครื่องโทรศพั ทภ์ ายในเขตกรุงเทพฯ และเขตธนบุรี ซ่ึงนบั วา่ เป็ นคร้ังแรกใน
ประวตั ิศาสตร์ของประเทศไทยที่ประชาชนไดม้ ีโอกาสใชเ้ ครื่องโทรศพั ทเ์ ป็ นเคร่ืองมือสื่อสารใน
การติดต่อสื่อสาร เครื่องโทรศพั ทท์ ี่ใชใ้ นระยะเริ่มแรกน้นั เป็ นเครื่องระบบแม็กนีโต (Magneto)
หรือระบบโลคอลแบตเตอร่ี (Local Battery) โดยมีผูเ้ ช่าท้งั สิ้น 61 ราย มีระยะทางของสายยาว
ประมาณ 86 กิโลเมตร

10

พ.ศ. 2450 มีความเจริญกา้ วหนา้ ในดา้ นกิจการโทรศพั ทม์ ีมากข้ึน ไดม้ ีการคิดประดิษฐ์
โทรศพั ทร์ ะบบแบตเตอร่ีร่วม (Common Battery Telephone System) ข้ึน แต่ก็ยงั คงเป็ นระบบ
ที่ใชพ้ นกั งานต่อ (Manual Telephone System) โทรศพั ทร์ ะบบแบตเตอร่ีร่วมน้ีมีลกั ษณะการใช้
งานที่สะดวกกวา่ ระบบ Magneto มาก ดงั น้นั ทางกรมไปรษณียโ์ ทรเลขจึงไดม้ ีการสั่งซ้ือตูส้ ลบั สาย
โทรศพั ทร์ ะบบแบตเตอรี่ร่วมมาใชง้ านแทนโทรศพั ทร์ ะบบ Magneto เครื่องโทรศพั ทท์ ่ีใชย้ งั คง
ไม่มีหน้าปัทมเ์ หมือนเดิม เมื่อผเู้ รียกตอ้ งการเรียกไปยงั เลขหมายใด ๆ ก็ให้ยกปากพูด หูฟัง
(Handset) ของเคร่ืองโทรศพั ทข์ ้ึน จะทาใหเ้ กิดสัญญาณข้ึนท่ีตูส้ ลบั สาย พนกั งานโทรศพั ทก์ ลาง
กจ็ ะตอ่ เลขหมายที่ตอ้ ง การใหส้ ามารถสนทนากนั ได้

พ.ศ. 2479 กรมไปรษณียโ์ ทรเลขไดส้ ั่งซ้ือชุมสายโทรศพั ท์ ระบบ Step by Step ซ่ึงเป็ น
ระบบอตั โนมตั ิ สามารถหมุนเลขหมายถึงกนั ไดโ้ ดยตรง โดยไม่ผา่ นOperator เหมือนระบบ Local
Battery และ Central Battery โดยไดซ้ ้ือจากบริษทั General Electric แห่งประเทศองั กฤษ สาหรับ
ติดต้งั ท่ีทาการโทรศพั ทก์ ลางวดั เลียบ และบางรัก โดยชุมสายที่วดั เลียบจานวน 2,300 เลขหมาย และ
ท่ีชุมสายบางรักจานวน 1,200 เลขหมาย โดยไดท้ าการเปิ ดใหใ้ ชบ้ ริการแก่ประชาชนเมื่อ พ.ศ.2480
ถึง พ.ศ.2497 เนื่องจากกิจการโทรศพั ทไ์ ดเ้ จริญกา้ วหนา้ มากข้ึนตามลาดบั ประชาชนทวั่ ไปนิยมใช้
แพร่หลาย กิจการใหญโ่ ตมากข้ึนทาใหก้ ารบริหารงานลาบากมากข้ึน เพราะกรมไปรษณียโ์ ทรเลข
ตอ้ งดูแลเร่ืองอื่น ๆ อีกมาก ดงั น้นั เมื่อวนั ท่ี 24 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2497 จึงไดม้ ีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา้ ฯใหต้ ราพระราชบญั ญตั ิต้งั องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทยข้ึนมา โดยให้แยกกองช่าง
โทรศพั ทก์ รมไปรษณียโ์ ทรเลขมาต้งั เป็ นองคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทยข้ึน มีฐานะเป็ นหน่วย
งานรัฐวสิ าหกิจ สังกดั กระทรวงคมนาคมมาจนถึงปัจจุบนั องคก์ ารโทรศพั ทห์ ลงั จากท่ีไดร้ ับการ
จดั ต้งั ข้ึนแลว้ กไ็ ดร้ ับโอนงานกิจการโทรศพั ทม์ าดูแลต่อไป

พ.ศ. 2517 องคก์ ารโทรศพั ท์ ฯ ไดส้ ั่งซ้ือชุมสายโทรศพั ทร์ ะบบครอสบาร์ (Cross Bar)
มาใชง้ าน ระบบครอสบาร์เป็นระบบอตั โนมตั ิเหมือนระบบสเตบ็ บายสเตบ็ แตท่ นั สมยั กวา่ ทางาน
ไดเ้ ร็วกวา่ มีวงจรพดู ไดม้ ากกวา่ และขนาดเล็กกวา่

พ.ศ. 2526 องคก์ ารโทรศพั ท์ ฯ ไดน้ าระบบชุมสาย SPC (Storage Program Control) มา
ใชง้ าน ระบบ SPC เป็ นระบบที่ควบคุมการทางานดว้ ยคอมพิวเตอร์ (Computer) ทางานไดร้ วดเร็ว
มาก ขนาดเล็ก กินไฟนอ้ ย และยงั ให้บริการเสริมดา้ น อื่น ๆ ไดอ้ ีกดว้ ย ต่อมาไดม้ ีส่ังซ้ือชุมสาย
ระบบ SPC ที่เป็ นระบบ Digital มาใชง้ าน ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวา่ ระบบ Analog ท่ีไดส้ ่ังเขา้ มา
ในระยะแรก และเปล่ียนระบบครอสบาร์(Cross bar) ท้งั หมด ที่เหลืออยใู่ นประเทศมาเป็ นระบบ
SPC และไดใ้ ชง้ านมาจนถึงปัจจุบนั

11

พ.ศ. 2529 เปิ ดใหบ้ ริการโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ โดยนาบริการโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ระบบ NMT
(Nordic Mobile Telephone) 470 MHz มาเปิ ดใหบ้ ริการโดยใชร้ ่วมกบั โครงข่าย SPC จากน้นั ได้
ปรับปรุงระบบคน้ หาเลขหมาย 13 และ 183 จากการเปิ ดสมุดโทรศพั ทเ์ ป็นการใชค้ อมพวิ เตอร์

พ.ศ. 2530 ไดเ้ ปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ ช่าหรือผใู้ ชง้ าน ซ้ือเครื่องโทรศพั ทใ์ ชเ้ องโดยตอ้ งผา่ นการ
รับรองคุณภาพจาก ทศท.และยงั ใหผ้ เู้ ช่าเดินสายโทรศพั ทภ์ ายในอาคารไดเ้ องดว้ ย

พ.ศ. 2531 ใหบ้ ริการโทรศพั ทส์ าธารณะถึง 1 ลา้ นเลขหมาย เปิ ดให้บริการพิเศษ SPC
ประกอบดว้ ย บริการเปล่ียนเรียกเลขหมาย บริการเรียกซ้าอตั โนมตั ิ บริการเลขหมายด่วน บริการ
รับสายเรียกซอ้ น บริการเลขหมายยอ่ และบริการประชุมทางโทรศพั ท์ นอกจากน้นั ยงั เปิ ดวงจร
เคเบิลใตน้ ้า เพ่อื ใหบ้ ริการโทรศพั ทท์ างไกลระหวา่ งไทย - มาเลเซีย เส้นทาง ชุมพร - กวนตนั โดย
ความร่วมมือระหวา่ ง ทศท. กบั โทรคมนาคมมาเลเซีย

พ.ศ. 2532 เชื่อมโยงเครือข่ายดว้ ยเคเบิลใยแกว้ และไมโครเวฟ โดยดาเนินการเชื่อมโยง
เครือข่ายโทรคมนาคมกบั ประเทศมาเลเซีย ดว้ ยระบบเคเบิลใยแกว้ นาแสง และระบบคล่ืนวิทยุ
ไมโครเวฟ ขยายบริการโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ ระยะที่ 1 ใหค้ รอบคลุมพ้ืนที่เศรษฐกิจในอนาคต เปิ ด
รับชาระค่าบริการโทรศพั ท์ผา่ นเครื่อง ATM เปิ ดบริการโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีสาธารณะบนรถไฟ
ดาเนินการปรับเปลี่ยนเครื่องโทรศพั ทส์ าธารณะที่ติดต่อไดเ้ ฉพาะในทอ้ งถิ่นให้สามารถใช้ติดต่อ
ทางไกลในประเทศอตั โนมตั ิได้

พ.ศ. 2533 ให้บริการหลากหลายรูปแบบ เช่น เปิ ดบริการโทรศพั ท์ทางไกลฟรี 088
(TOLL FREE CALL 088 ) เปิ ดให้บริการส่ือสารขอ้ มูลระบบดาตา้ เน็ต (DATANET) เปิ ดให้
บริการโทรศพั ทต์ ิดตามตวั (PAGING) โฟนลิงค์ และเพจโฟน นาเคร่ืองโทรศพั ทส์ าธารณะชนิด
ใชเ้ หรียญ ไดห้ ลายขนาด สาหรับให้บริการโทรศพั ท์ภายในทอ้ งถ่ิน โทรศพั ทท์ างไกลต่างจงั หวดั
รวมท้งั โทรศพั ทท์ างไกลไปประเทศมาเลเซีย และนอกจากน้นั ยงั เปิ ดให้บริการโทรศพั ทเ์ คล่ือนที่
ระบบความถี่ 900 MHz

4.หลกั การเบือ้ งต้นของโทรศัพท์

เสียง เป็นคล่ืนชนิดหน่ึงซ่ึงอาศยั ตวั กลางในการเคลื่อนท่ี ท่ีเกิดจากการสน่ั สะเทือนของวตั ถุ
เม่ือวตั ถุสน่ั สะเทือน กจ็ ะทาใหเ้ กิดการอดั ตวั และขยายตวั ของคล่ืนเสียง และถูกส่งผา่ นตวั กลาง เช่น
อากาศ ไปยงั หู

ความดนั อากาศในบริเวณท่ีเสียงเคล่ือนที่ผา่ นเรียกวา่ ความดนั เสียง ณ เวลาหน่ึงโมเลกุล
ของอากาศ ในบางบริเวณจะอยูใ่ กลช้ ิดกนั มาก ทาให้มีความหนาแน่นและความดนั สูงกวา่ ปกติ
บริเวณน้ีเรียกว่า ส่วนอดั แต่ในบางบริเวณโมเลกุลของอากาศอยู่ห่างกนั มากจึงมีความหนาแน่น

12

และความดนั ต่ากวา่ ปกติ บริเวณน้ีเรียกว่า ส่วนขยาย การเปลี่ยนแปลงของความดนั เสียงกบั
ระยะทางมีลกั ษณะเป็นรูปคลื่นไซน์(Sine wave)

รูปท1่ี .6 แสดงช่วงอดั และช่วงขยายของคลื่นเสียง

โดยปกติแลว้ มนุษยเ์ ราจะไดย้ ินเสียงที่มีช่วงความถ่ี(Frequency) จากดั นนั่ คืออยู่ในช่วง
ความถี่ระหวา่ ง 20 -20,000 เฮิรตซ์ (Hertz) หรือที่เรียกกนั วา่ ช่วงการไดย้ ิน (Audible range) ส่วน
เสียงท่ีมีค่าความถ่ีต่าหรือสูงกวา่ น้นั หูของเราไม่สามารถไดย้ นิ เสียงที่อยนู่ อกเหนือจากการไดย้ ิน
ของมนุษย์ หากคล่ืนเสียงน้นั มีความถี่ต่ากวา่ 20 เฮิรตซ์ เรียกวา่ คล่ืนใตเ้ สียง (Infrasound) หรือคล่ืน
อินฟราโซนิค (Infrasonic wave) ซ่ึงเป็นคลื่นกลประเภทคล่ืนตามยาว ซ่ึงมีความถ่ีต่ากวา่ คลื่นเสียงที่
คนปกติไดย้ ิน หรือมีความถ่ีต่ากวา่ 20 เฮิร์ตซ์ ซ่ึงเกิดจากการส่ันของตวั ก่อกาเนิดเสียงขนาดใหญ่
เช่น การสน่ั ของตึก แผน่ ดินไหว เป็นตน้

ส่วนคล่ืนเสียงที่มีความถี่สูงกวา่ 20,000 เฮิรตซ์ เรียกวา่ คลื่นเหนือเสียง (Ultrasound) หรือ
คล่ืนอลั ทราโซนิค (Ultrasonic wave) ซ่ึงเป็ นคลื่นกลประเภทคล่ืนตามยาวเช่นกนั ซ่ึงมีความถ่ีที่
มากกวา่ คล่ืนเสียงที่คนปกติไดย้ ิน ซ่ึงเกิดจากการสั่นของตวั ก่อกาเนิดเสียงขนาดเล็ก สาหรับสัตว์
ชนิดต่าง ๆ ก็จะไดย้ ินเสียงในช่วงความถ่ีหน่ึงเช่นกนั แต่ช่วงความถ่ีท่ีสัตวแ์ ต่ละชนิดไดย้ ินจะมีค่า
แตกต่างกนั ไป อาจมีความถ่ีต่าหรือสูงกวา่ ช่วงการไดย้ นิ ของมนุษย์

ในกิจการโทรศพั ทเ์ ราใชค้ ลื่นความถ่ีระหวา่ ง 300 – 3,400 ไซเกิลต่อวนิ าที สาหรับเสียงพูด
หูคนเราจะไดย้ ินไม่เท่ากนั จากการทดลองความไวที่หูมนุษยจ์ ะรับฟังไดอ้ ยู่ท่ีประมาณ 2,000 –
4,000 ไซเกิลตอ่ วนิ าที ส่วนหน่วยวดั คา่ ความถี่น้นั เรียกวา่ เฮิรตซ์ (Hertz) ใชอ้ กั ษรยอ่ วา่ Hz

13

ข้นั ตอนการตดิ ต่อสื่อสารเบือ้ งต้น
โทรศพั ทท์ ี่ใชพ้ ูดในปัจจุบนั มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบกดป่ ุมและแบบหมุน หนา้ ที่ของท้งั

2 ระบบคลา้ ย ๆ กนั จะต่างกนั ที่แบบกดป่ ุมจะส่งสัญญาณออกไปเป็ นความถี่ ส่วนแบบหมุนจะส่ง
สญั ญาณเป็นจานวนพลั ส์ หนา้ ที่หลกั ๆ ของท้งั 2 ระบบ ไดด้ งั น้ี

1. เคร่ืองโทรศพั ทจ์ ะรับรู้วา่ ผตู้ อ้ งการใชโ้ ทรศพั ท์ เม่ือมีการยกหูโทรศพั ทข์ ้ึน
2. เคร่ืองโทรศพั ทจ์ ะส่งสัญญาณท่ีเรียกวา่ สัญญาณหมุน (Dial Tone) บอกวา่ พร้อมที่
จะให้ทาการกดหรือหมุนหมายเลขท่ีจะติดต่อได้ ซ่ึงก็คือ เสียงท่ีไดย้ ินเมื่อเวลาเป็ นสัญญาณท่ีมี
ความถี่ 350 เฮริตซ์ กบั 440 เฮิรตซ์ มอดูเลตรวมกนั
3. เคร่ืองโทรศพั ทจ์ ะทาหนา้ ท่ีส่งรหสั หมายเลขท่ีผเู้ รียกตอ้ งการจะติดต่อ ไปยงั ชุมสายท่ี
ควบคุม
4. เครื่องโทรศพั ทจ์ ะบอกสัญญาณบอกผเู้ รียกว่า หมายเลขที่ตอ้ งการติดต่อดว้ ยวา่ วา่ ง
หรือไม่ ถา้ วา่ งก็ส่งสัญญาณกลบั (Ring Back) ซ่ึงมีความถ่ี 440 เฮิรตซ์ กบั 480 เฮิรตซ์ มอดูเลตกนั
มา โดยจะดงั 2 วนิ าที แลว้ เงียบ 4 วินาที สลบั กนั ไป แต่ถา้ หมายเลขท่ีจะเรียกไม่วา่ งก็ส่งสัญญาณ
ความถ่ี 480 เฮิรตซ์ กบั 620 เฮิรตซ์ มอดูเลตกนั
5. สามารถเปลี่ยนภาพพลงั งานเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า และสัญญาณไฟฟ้ ากลบั มาเป็ น
สัญญาณเสียง
6. เครื่องโทรศพั ทจ์ ะปรับระดบั แรงดนั อยา่ งอตั โนมตั ิในกรณีท่ีเกิดการเปล่ียนแปลงของ
แรงดนั ข้ึน
7. เครื่องโทรศพั ทจ์ ะส่งสัญญาณไปยงั ชุมสายเพื่อแจง้ ใหท้ ราบวา่ สิ้นสุดการใชง้ านแลว้
และใหช้ ุมสายเลิกติดต่ออีกฝ่ ายหน่ึงได

กลไกการเชื่อมต่อวงจร
การเชื่อมต่อของระบบชุมสายโทรศพั ทเ์ บ้ืองตน้ จะเชื่อมต่อกบั ชุมสายโทรศพั ทด์ ว้ ย

สายสญั ญาณ 2 สาย คือ T (Tip) และ R (Ring) เม่ือผใู้ ชย้ กหูโทรศพั ทข์ ้ึนแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง
ขององคก์ ารโทรศพั ทซ์ ่ึงจะมีค่าแรงดนั อยทู่ ่ี ประมาณ 48 โวลท์ ก็จะถูกต่อเขา้ กบั วงจรของเคร่ือง
โทรศพั ทโ์ ดยที่ชุดฮุกสวิตซ์ (Hook Switch) ในส่วนท่ีเช่ือมต่อกนั ระหวา่ งหูฟัง กบั สายโทรศพั ทก์ ็
จะตอ้ งมีหมอ้ แปลงอตั โนมตั ิ ทาหนา้ ท่ีปรับอิมพีแดนซ์ของหูฟังและโทรศพั ทใ์ ห้สมดุลยก์ นั เพ่ือให้
การรับส่งสญั ญาณมีประสิทธิภาพท่ีสุดรวมไปถึงการทาใหผ้ พู้ ดู ไดย้ นิ เสียงท่ีตวั เองพูดออกไป (Side
Tone) ในระดบั ที่เหมาะสมดว้ ย

14

ในระบบชุมสายโทรศพั ท์ สายที่มาจากองคก์ ารโทรศพั ทห์ รือสายนอก เรียกอีกช่ือหน่ึงวา่
Co-Line จะมีแรงดนั ต่างกนั ระหวา่ งสาย กรณีวางหูโทรศพั ท์ (เปิ ดวงจร) ประมาณ 48 V และกรณี
ยกหูโทรศพั ท์ (ปิ ดวงจร) มีค่าประมาณ 10-12 V สาย Co-Line เมื่อ Short Circuit จะมีกระแสไหล
ผา่ นไมเ่ กินประมาณ 45 mA กรณีทว่ั ไปค่ากระแสจะอยรู่ ะหวา่ ง 18-45 mA

5.หลกั การเบือ้ งต้นของชุมสายโทรศัพท์

ชุมสายโทรศพั ท์ (Exchange) คืออุปกรณ์ที่ทาหนา้ ท่ีเช่ือมต่อเลขหมายต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั
ซ่ึงมีท้งั เช่ือมต่อโดยอตั โนมตั ิ และเชื่อมต่อโดยมีพนกั งานสลบั สาย (Operator) คอยเชื่อมต่อชุมสาย
โทรศพั ทม์ ีหลายประเภท หลายขนาด ความสามารถก็แตกต่างกนั ไป ระบบการทางานก็อาจไม่
เหมือนกนั เม่ือโครงข่ายของระบบโทรศพั ทม์ ีขนาดใหญ่ข้ึน (เพิ่มตามจานวนผใู้ ช้) ตอ้ งเพ่ิมจุดต่อ
สวิตช์ภายในชุมสายใหม้ ากข้ึน เพื่อรองรับจานวนผใู้ ชท้ ่ีเพิ่มข้ึน และตอ้ งการออกแบบให้สามารถ
ติดตอ่ ผใู้ ชไ้ ดไ้ ม่วา่ จะอยบู่ ริเวณใด ถา้ อยนู่ อกพ้ืนที่บริการตอ้ งทาการต่อชุมสายอื่นจดั การแทนได้

รูปท่ี 1.7 แสดงชุมสายโทรศพั ทต์ อ่ กบั ผเู้ ช่า
ท่ีมา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

ชุมสายโทรศัพท์แบ่งออกเป็ น 4 ประเภทใหญ่ ๆ คอื
5.1 ตู้สาขา (Brunch exchange)
ตสู้ าขาโทรศพั ทค์ ือ ชุมสายโทรศพั ทข์ นาดเล็ก เหมาะสาหรับใชใ้ นบา้ น สานกั งาน

แฟลต หรือโรงแรม เป็ นตน้ เพื่อช่วยให้การติดต่อภายในหน่วยงานน้นั ๆ สะดวกย่ิงข้ึน และยงั
สามารถโทรติดต่อกบั เลขหมายภายนอก ซ่ึงเป็ นเลขหมายของชุมสายโทรศพั ท์ทอ้ งถิ่นท่ีองคก์ าร
โทรศพั ทใ์ หบ้ ริการ ตูส้ าขาน้ีสามารถซ้ือมาติดต้งั ใช้งานไดเ้ ลย เพราะไม่ไดเ้ ก่ียวขอ้ งกบั องค์การ
โทรศพั ทแ์ ต่อยา่ งใด และยงั สามารถนาเอาเลขหมายขององคก์ ารโทรศพั ทม์ าเช่ือมต่อเขา้ กบั ตูส้ าขา
น้ีไดด้ ว้ ย

15

รูปที่ 1.8 แสดงลกั ษณะการต่อตสู้ าขาใชง้ าน
ที่มา : ธวชั ชยั เลื่อนฉวี. (2533).

ตสู้ าขามีโครงสร้างภายในท่ีตอ้ งทาความเขา้ ใจดงั น้ี
- เลขหมายภายใน (Intension) คือ เลขหมายที่สามารถติดต่อกนั ไดภ้ ายใน ตูส้ าขา เช่นมีเลข

หมายภายใน 10 เลขหมาย เป็นตน้
- เลขหมายภายนอก (Extension) คือ ช่องทางท่ีตูส้ าขาสามารถเชื่อมต่อกบั เลขหมาย

ภายนอกขององคก์ ารโทรศพั ทไ์ ด้ เช่น ในรูปท่ี 1.8 ตูส้ าขาสามารถติดต่อกบั เลขหมายภายนอกได้
2 เลขหมาย วงจรพูด (Speech Circuit) คือ ช่องทางหรือวงจรท่ีจะเช่ือมคู่สนทนาเขา้ ดว้ ยกนั และ
สามารถสนทนากนั ได้ เช่น ตูส้ าขามี 2 วงจรพูด หมายความวา่ เลขหมายภายในสามารถสนทนา
พร้อม ๆ กนั ไดเ้ พียง 2 คู่เท่าน้นั ในเวลาเดียวกนั ส่วนคู่ท่ีเหลือหากตอ้ งการติดต่อกนั ตอ้ งรอจนกวา่
วงจรจะวา่ ง จึงจะติดต่อกนั ได้ ตูส้ าขาแบ่งไดเ้ ป็น 3 ชนิด ดงั น้ี

5.1.1 ตู้สาขา PMBX (Private Manual Brunch Exchange)
ตสู้ าขาแบบน้ีไมส่ ามารถทางานหรือเชื่อมตอ่ เลขหมายต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั ไดด้ ว้ ยตนเอง

ตอ้ งมีพนกั งานต่อสาย ควบคุมการเชื่อมต่อจึงสามารถให้เลขหมายต่าง ๆ ภายในเช่ือมต่อกนั ได้ อีก
ท้งั การเรียกเขา้ หรือเรียกออกกต็ อ้ งผา่ นพนกั งานต่อสายดว้ ย

5.1.2 ตู้สาขา PABX (Private Automatic Brunch Exchange)
ตูส้ าขาแบบน้ีสามารถทางาน หรือเช่ือมต่อเลขหมายภายในไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ ดว้ ยการ

หมุนเลขหมายปลายทางที่ตอ้ งการ แต่การเชื่อมต่อกบั เลขหมายภายนอกตสู้ าขาน้นั จะทางานดงั น้ี
- กรณีเรียกจากเลขหมายภายในออกไปภายนอก สามารถหมุนรหสั ผา่ นและหมุน

เลขหมายภายนอกไดท้ นั ที หรืออาจผา่ นพนกั งานตอ่ สายก็ได้ แลว้ แตค่ วามตอ้ งการ
- กรณีเรียกจากภายนอกเขา้ มาหาเลขหมายภายใน ไม่สามารถทาไดโ้ ดยตรงตอ้ ง

ผา่ นพนกั งานต่อสาย รับและโอนเขา้ ภายในใหจ้ ึงจะติดตอ่ กนั ได้

16

5.1.3 ตู้สาขา DID (Direct Inward Dialling)
ตูส้ าขาแบบน้ีจะใชง้ านสะดวกมากกว่า PABX เพราะตูส้ าขาสามารถทางานไดเ้ อง

โดยอตั โนมตั ิทุกอยา่ ง ไมว่ า่ การเรียกภายในดว้ ยกนั หรือเรียกจากภายในออกไปภายนอก หรือเรียก
จากภายนอกเขา้ มาภายใน ทุกอยา่ งทาไดโ้ ดยไม่ตอ้ งผา่ นพนกั งานต่อสาย โครงสร้างของวงจรและ
การทางานคลา้ ยกบั PABX แต่จะมีวงจรหมุนเขา้ ภายในอตั โนมตั ิเพิ่มข้ึน

5.2 ชุมสายท้องถน่ิ (Local Exchange)
ชุมสายทอ้ งถ่ิน เป็ นชุมสายโทรศพั ท์ท่ีองคก์ ารโทรศพั ทใ์ หบ้ ริการอยูใ่ นปัจจุบนั

เป็นชุมสายที่เช่ือมต่อเขา้ กบั ผเู้ ช่าโดยตรง ติดต้งั อยตู่ ามชุมชนต่าง ๆ เช่น ในตวั จงั หวดั อาเภอ ตาบล
หรือหมบู่ า้ น เป็นตน้ ชุมสายทอ้ งถิ่นน้ี ยงั แบ่งออกไดห้ ลายชนิด ดงั น้ี

5.2.1 ชุมสายถาวร (Building Type) เป็ นชุมสายท่ีติดต้งั อยูใ่ นตวั ตึกท่ีถาวร ไม่
สามารถเคล่ือนยา้ ยได้ เป็นชุมสายขนาดใหญ่มีเลขหมายจานวนมาก

รูปท่ี 1.9 แสดงชุมสายถาวร
ท่ีมา : ภาพถ่ายโดย นายปิ ยะ รัตตสนธิกลุ

5.2.2 ชุมสายเคลื่อนท่ี (Mobile Type) เป็ นชุมสายที่มีขนาดเล็ก มาจากชุมสาย
ถาวร ชุมสายแบบน้ีติดต้งั อยใู่ นตูค้ อนเทนเนอร์สามารถเคล่ือนยา้ ยไปติดต้งั ใชง้ านไดต้ ามจุดต่าง ๆ
ตามท่ีตอ้ งการ เช่น บริเวณชุมชนที่ยงั ไม่มีชุมสายถาวร ก็สามารถนาชุมสายเคล่ือนท่ีไปใชง้ านก่อน
เมื่อปริมาณผูเ้ ช่ามากข้ึน คุม้ ค่าต่อการลงทุนสร้างชุมสายถาวร จึงสร้างชุมสายถาวรข้ึนมา และ
ยกเลิกชุมสายเคล่ือนท่ีออกไป

17

รูปท่ี 1.10 แสดงชุมสายเคล่ือนที่
ที่มา : ภาพถ่ายโดย นายปิ ยะ รัตตสนธิกลุ
5.2.3 ชุมสายรีโมท (Remote Switching Unit หรือ Rural) ชุมสายรีโมท เป็ น
ชุมสายขนาดเลก็ ติดต้งั ในท่ีห่างไกล เช่น ชนบทหรือชุมชนท่ีห่างไกลจากชุมสายถาวร การทางาน
ของชุมสายรีโมทน้ีจะข้ึนอยกู่ บั ชุมสายแม่ คือชุมสายถาวร
ข้นั ตอนการทางานของชุมสายท้องถ่ิน
โดยหลกั การแลว้ เคร่ืองชุมสายทอ้ งถิ่น จะทางานเม่ือไดร้ ับขอ้ มูลเก่ียวกบั เลขหมายของ
ผเู้ ช่าฝ่ ายรับจากผเู้ ช่าฝ่ ายเรียก เม่ือผเู้ ช่าฝ่ ายเรียกยกหูเรียกเขา้ ไปยงั ชุมสายทอ้ งถ่ิน วงจรของอุปกรณ์
รับขอ้ มูล (Receiver) จะถูกต่อเขา้ กบั ผเู้ ช่าฝ่ ายเรียก และส่งสัญญาณไดอลั โทน (Dial Tone) มาให้
เมื่ออุปกรณ์รับขอ้ มูลไดร้ ับขอ้ มูลเก่ียวกบั เลขหมายของผเู้ ช่าฝ่ ายรับแลว้ ก็จะดาเนินการและทาการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล (Processing And Analysing) ที่ไดร้ ับ หลงั จากน้นั ก็จะทาการต่อไปยงั ผเู้ ช่าฝ่ ายรับ
ซ่ึงอาจจะอยู่ภายในชุมสายเดียวกนั หรืออยู่ในชุมสายทอ้ งถิ่นอื่น เพ่ือให้เขา้ ใจการทางานของ
ชุมสายทอ้ งถ่ิน จึงแบ่งช่องการทางานออกเป็นข้นั ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ช่วงผูเ้ ช่าฝ่ ายเรียก ยกหูเรียกและส่งเลขหมายของผูเ้ ช่าฝ่ ายรับ เขา้ มายงั ชุมสาย
(Incoming Signals)

รูปที่ 1.11 แสดงการเรียกจากผเู้ ช่าฝ่ ายเรียก

18

เมื่อผเู้ ช่าฝ่ ายเรียก ตอ้ งการเรียกติดต่อไปยงั เลขหมายอ่ืน ผเู้ ช่าฝ่ ายเรียกตอ้ งยกหูโทรศพั ท์
ข้ึน ทาใหฮ้ ุกสวติ ช์ต่อสายโทรศพั ท์ a และ b เขา้ กบั วงจรไฟกระแสตรงจากชุมสายผา่ นเครื่องรับ
โทรศพั ทก์ ลบั ไปครบวงจรมีผลทาใหร้ ีเลยท์ างาน เคร่ืองชุมสายทอ้ งถ่ินจะรู้วา่ มีสัญญาณการเรียก
เขา้ จากผเู้ ช่าโทรศพั ท์ จากน้นั เคร่ืองชุมสายจะตอ่ วงจรผเู้ ช่าฝ่ ายเรียกเขา้ กบั อุปกรณ์รับสญั ญาณ หรือ
ตวั เก็บขอ้ มูล (Register)

เพ่ือเตรียมรับเลขหมายของผเู้ ช่าฝ่ ายรับสญั ญาณ ไดอลั โทนจะถูกส่งไปใหผ้ เู้ ช่าฝ่ ายเรียก เพ่ือ
ทาใหผ้ เู้ ช่ารู้วา่ เครื่องชุมสายพร้อมที่จะรับเลขหมายของผเู้ ช่าฝ่ ายเรียกแลว้ ผเู้ ช่าจะตอ้ งทาการหมุน
เลขหมายบนหนา้ ปัทม์ จะเปิ ดวงจรเป็นจานวนคร้ังเทา่ กบั เลขหมายท่ีหมุน ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดเป็นลูก
คล่ืน (Pulse) ส่งจากเครื่องโทรศพั ทไ์ ปใหเ้ คร่ืองชุมสายดงั แสดง ในรูป 1.15 เลขหมายของผเู้ ช่าฝ่ าย
รับ จะถูกเก็บไวใ้ นเคร่ืองชุมสาย เพ่ือเตรียมปฏิบตั ิการต่อไป

รูปท่ี 1.12 แสดงการส่งสญั ญาณเรียกเขา้ มายงั เคร่ืองชุมสาย
ที่มา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

2. ช่วงการดาเนินการกบั ขอ้ มูลที่ไดร้ ับ (Processing of The Reccived Information)
เม่ือชุมสายทอ้ งถิ่นไดร้ ับขอ้ มลู เลขหมาย ของผเู้ ช่าฝ่ ายรับเรียบร้อย จะดาเนิน

การและวเิ คราะห์ (Processing And Analysis) ขอ้ มูลท่ีไดร้ ับ ดงั น้ี
- มีการต่อทิศทางไปทางไหน (Traffic Direction) และมีเส้นทางเลือก

(Alternative Routs) หรือไม่
- การคิดเงินค่าบริการ (Charging)
- การส่งสญั ญาณ (Signalling) ไปยงั ผเู้ ช่าฝ่ ายรับหรือวา่ ไปชุมสายอ่ืน
- กระแสท่ีตอ้ งป้ อนใหผ้ เู้ ช่าฝ่ ายรับ
- การติดตอ่ (Connection) จะถูกยกเลิกในลกั ษณะใด
- จะมีการเลือกเส้นทางของสญั ญาณสายออก (Outgoing External Line) และ

19
ทางเดินของสญั ญาณสายเขา้ (Internal line) ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ผลการวเิ คราะห์วงจร ดงั แสดงในรูปน้ี
1.13

รูปท่ี 1.13 แสดงการดาเนินการเก่ียวกบั ขอ้ มลู ที่รับเขา้ มา
ที่มา : ธวชั ชยั เลื่อนฉวี. (2533).

3. ช่วงดาเนินการต่อวงจร (Setting Up The Connection)
เมื่อไดร้ ายละเอียดเกี่ยวกบั การต่อวงจรเรียบร้อย การต่อวงจรก็จะถูกดาเนินการ

โดย ภาคสวติ ชช์ ่ิง (Switching Unit) ถา้ เป็นการต่อวงจรซ่ึงตอ้ งผา่ นหลายๆ ชุมสายผเู้ ช่าฝ่ ายเรียก
จะยงั ไมถ่ ูกต่อวงจร จนกวา่ การเรียกจะต่อไปถึงผเู้ ช่าฝ่ ายรับ ท้งั น้ีเพอื่ ป้ องกนั ไม่ใหผ้ เู้ ช่าทางฝ่ าย
เรียก ไดย้ นิ เสียงรบกวนจากการส่งสญั ญาณระหวา่ งชุมสายผา่ น

รูปที่ 1.14 แสดงช่วงดาเนินการต่อวงจร
ท่ีมา : ธวชั ชยั เลื่อนฉวี. (2533). เทคโนโลยโี ทรศพั ท.์

20

4. ช่วงการส่งสัญญาณไปยงั ชุมสายอ่ืน (Outgoing Signals)
ในกรณีที่ผเู้ ช่าฝ่ ายรับเป็ นผเู้ ช่าอยภู่ ายในชุมสายทอ้ งถ่ินเดียวกนั และในขณะ

น้นั วา่ ง สัญญาณกระดิ่งจะถูกส่งไปทาใหก้ ระดิ่งดงั ข้ึน และสัญญาณริงแบค็ โทนจะถูกส่งไปบอก
ผเู้ ช่าฝ่ ายเรียก ให้รู้วา่ ต่อถึงผเู้ ช่าฝ่ ายรับไดแ้ ลว้ แตถ่ า้ หากผเู้ ช่าฝ่ ายรับ เป็ นผเู้ ช่าซ่ึงอยชู่ ุมสายอ่ืน
ขอ้ มลู จะตอ้ งถูกส่งไปใหอ้ ุปกรณ์รับของชุมสายน้นั

รูปท่ี 1.15 แสดงช่วงการส่งสัญญาณไปรับชุมสายอื่น
ที่มา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

5. ช่วงผเู้ ช่าฝ่ ายเรียกและผเู้ ช่าฝ่ ายรับสนทนากนั (Conversation)
เมื่อเครื่องชุมสายสามารถต่อวงจรระหวา่ งผเู้ ช่าฝ่ ายเรียก กบั ผเู้ ช่าฝ่ ายรับ

เรียบร้อย ส่วนท่ีเป็ นภาคควบคุมจะเลิกทางาน ผเู้ ช่าฝ่ ายรับไดย้ นิ เสียงกระด่ิงและยกหูรับ ท้งั สอง
ฝ่ ายสามารถสนทนากนั ได้ ขณะเดียวกนั การคิดคา่ บริการก็จะเร่ิมตน้

6. ช่วงผ้เู ช่าวางหู (Clearing)
การตอ่ จะถูกตดั เม่ือผเู้ ช่าฝ่ ายหน่ึงฝ่ ายใดหรือท้งั สองฝ่ ายวางหูโทรศพั ท์ การท่ี

ผเู้ ช่าวางหูโทรศพั ทล์ งจะมีผลทาใหช้ ุดสวิตซ์เปิ ดวงจรเคร่ืองชุมสายทอ้ งถิ่นจะทาการตดั วงจรการ
ต่ออุปกรณ์ตา่ งๆ ออกและการคิดค่าบริการจะหยุดทางาน อุปกรณ์ตา่ งๆกลบั ไปสู่สภาพวา่ ง พร้อม
ท่ีจะใชใ้ นการตอ่ วงจรของการเรียกอื่นต่อไป

5.3. ชุมสายต่อผ่าน (Transit Exchange)
ชุมสายต่อผา่ น เป็นชุมสายที่ไมไ่ ดต้ อ่ เขา้ กบั ผเู้ ช่าโดยตรงแตท่ าหนา้ ท่ีเชื่อมชุมสาย

กบั ชุมสายเขา้ ดว้ ยกนั ชุมสายต่อผา่ นแบง่ ได้ 2 ชนิด คือ
5.3.1 ชุมสายตอ่ ผา่ นทอ้ งถ่ิน (Tandam Exchange)

21
ชุมสายต่อผา่ นทอ้ งถิ่น เป็นชุมสายที่เช่ือมชุมสายทอ้ งถิ่นเขา้ ดว้ ยกนั เป็น
ชุมสายทอ้ งถิ่นท่ีอยใู่ นเขตรหสั ทางไกลเดียวกนั ดว้ ย

รูปท่ี 1.16 แสดงชุมสายต่อผา่ นทอ้ งถ่ิน
ท่ีมา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

5.3.2 ชุมสายตอ่ ผา่ นทางไกล (Transit Exchange)
ชุมสายตอ่ ผา่ นทางไกล เป็ นชุมสายต่อผา่ นท่ีเช่ือมชุมสายต่อผา่ นทอ้ งถิ่นเขา้

ดว้ ยกนั อีกช้นั หน่ึง คือจะตอ้ งหมุนรหสั ทางไกล จึงจะสามารถติดต่อหรือผา่ นชุมสายน้ีได้ ลกั ษณะ
ของชุมสายตอ่ ผา่ นทางไกลดงั รูปท่ี 1.17

รูปท่ี 1.17 แสดงการตอ่ ชุมสายตอ่ ผา่ นทางไกล
ที่มา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

22

5.4 ชุมสายวทิ ยโุ ทรศัพท์ (Radio Telephone Exchange)
ชุมสายวทิ ยโุ ทรศพั ท์ เป็ นชุมสายโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี หรือเรียกวา่ โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี

แบบรวงผ้ึง (Cellular Mobile Telephone) ชุมสายน้ีจะให้บริการกบั วิทยุโทรศพั ทท์ ว่ั ๆไป ทาหนา้ ท่ี
เช่ือมตอ่ ผเู้ ช่าวทิ ยโุ ทรศพั ทเ์ ขา้ ดว้ ยกนั และเช่ือมตอ่ โทรศพั ทธ์ รรมดาทว่ั ไปดว้ ย

นอกจากชุมสายท้งั 4 ประเภทน้ี เรายงั สามารถแบ่งชุมสายออกตามลกั ษณะการใช้
งานไดด้ งั ต่อไปน้ี

1) ชุมสายระบบ Manual Operator หรือชุมสายโทรศพั ท์ ระบบใช้ พนกั งานต่
อสาย เม่ือจานวนผใู้ ช้ เพิ่มข้ึน จาเป็ นท่ีตอ้ งมีระบบการติดต่ อส่ือสารให้เพียงพอต่อผู้ ใช้
โทรศพั ท์ เข้ ากบั ผใู้ ช้ อีกคนหน่ึงท่ีต้ องการจะติดต่ อด้ วย การใช้ พนกั งานต่
อสายโทรศพั ท์ เป็ นชุมสายโทรศพั ทร์ ะบบแรกที่ถูกผลิตข้ึน ในชุมสายระบบน้ีผใู้ ช้ โทรศพั ท์
จะ ไม่สามารถติดต่อได้ เอง ต้ องให้ พนกั งานโทรศพั ท์เป็ นผู้ ต่ อสายโดยการ
เสียบสายต่อระหว่ างผู้ ใช้ คนน้นั กบั ผู้ ที่ต้ องการติดต่อด้ วย

2) ระบบชุมสายอตั โนมตั ิ ชุมสายแบบน้ีสามารถทางานหรือมีเช่ือมต่อหมายเลข
ต่าง ๆ ไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ โดยการหมุนเลขหมายท่ีตอ้ งการติดต่อ ชุมสายก็จะคน้ หาและเช่ือมต่อได้
ทนั ที โดยไม่ตอ้ งมีพนกั งานสลบั สายต่อให้ ซ่ึงแบง่ ออกไดด้ งั น้ี

2.1 ชุมสายโทรศพั ท์ ระบบ STEP-BY-STEP เป็ นชุมสายอตั โนมตั ิระบบแรกท่ี
ผลิตข้ึนมาใช้ เมื่อผู้ เช่ าหมุนเลขหมาย เครื่องชุมสายจะรับเลขหมายแต่ ละตัวมา
ดาเนินการต่อเข้ ากบั ผู้ ท่ีถูกเรียก ในระบบน้ีการติดต่ อจะใช้ กลไกเป็ นตวั ทางาน และใช้

สัญญาณไฟฟ้ าเป็ นตวั ควบคุมอีกคร้ังเรียกระบบน้ีวา่ ELECTROMECHANICAL ชุมสาย
ชนิดน้ีใชง้ านไดด้ ีและปัจจุบนั ชุมสาย ชนิดน้ียงั มีใชอ้ ยู่ ในบางประเทศ

2.2 ชุมสายระบบ CROSS BAR เม่ือชุมสายโทรศพั ท์ระบบ Step by Sep มีการ
ใชเ้ ป็ นเวลานานจะเกิดการสึกหรอ เน่ืองจากมีระบบกลไกมากไม่สะดวก จึงได้ มีการพฒั นา
มาเป็ นระบบ Crossbar ซ่ึงมีข้ อดีหลายอยา่ งเม่ือเทียบกบั ระบบเดิม เช่น มีส่ วนท่ีเป็ นกลไกน้

อยลง ทางานได้ รวดเร็วและถูกต้ อง แม่ นยา ราคาต้ นทุนต่า แต่ ยงั ทางานใน
ลกั ษณะระบบกลไก มีโครงสร้างในการทางานท่ีแตกต่ างออกไปจากเดิม คือ มีส่ วนควบคุม
การทางานของอุปกรณ์ ต่างๆ เช่ น ส่วนต่อวงจรพูด (SWITCHING UNIT) ส่วนควบคุมเป็ น
ศูนย์ กลางในการทางานรับเลขหมายและนามาวิเคราะห์ แลว้ ส่งสัญญาณไปควบคุม ส่ วน
ต่อวงจรพดู ให้ ดาเนินการต่ อผู้ เช่ าท้งั สองฝ่ ายเข้ าด้ วยกนั

2.3 ชุมสายระบบ STORED PROGRAM CONTROL (SPC) ในปัจจุบนั มีความ
ก้ าวหน้ าในการพฒั นาเทคโนโลยีทางด้ านสารก่ึงตวั นาได้ประสบผลสาเร็จมาก ซ่ึงจะ

23

สามารถย่ อ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ มากให้ เล็กลงได้ โดยมีการทางานและ
ประสิทธิภาพท่ีเหมือนเดิม หรื อดีกว่ า เดิม ซ่ึงเรี ยกอุปกรณ์ ชนิดน้ีว่ า วงจรรวม
(INTEGRATED CIRCUIT) หรือ เรียกยอ่ ๆ วา่ IC ผู้ ผลิตชุมสายโทรศพั ท์ ได้ นาอุปกรณ์

เหล่าน้ีมาออกแบบวงจรควบคุมการทางานของชุมสายโทรศพั ทร์ วมท้งั เทคโนโลยี ท่ีเรียกว่ า
ระบบDIGITAL ทาให้ ระบบชุมสายโทรศพั ท์ มีความทนั สมยั และมีประสิทธิภาพสูงข้ึน
นอกเหนือจากการพูดโทรศพั ท์ธรรมดาแล้ วยงั สามารถส่ งสัญญาณภาพให้ เห็นไดอ้ ีก การ
นาระบบควบคุมซ่ึงเป็ นเคร่ือง COMPUTER มาเป็ นหวั ใจในการทางานทาให้ สามารถทางาน
ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วแน่ นอน ลาดบั ข้นั ตอนในการทางาน (PROGRAM) จะถูกนามาเก็บบนั ทึกในหน่

วยความจา (MEMORY) ดงั น้นั ชุมสายระบบน้ีจึงเรียกว่ า STORED PROGRAM CONTROL
(SPC)

6. ระบบเลขหมายโทรศัพท์

ระบบเลขหมายโทรศพั ทป์ ระกอบดว้ ยหมายเลขรหสั และหมายเลขบริการหลายแบบท่ีนิยม
ใชท้ ว่ั ไปเรียกวา่ “Direct Distance Dialing (DDD)” ระบบน้ีผใู้ ชส้ ามารถติดต่อไปยงั ผใู้ ชค้ นอื่นได้
โดยการหมุนหมายเลขน้นั โดยตรง ซ่ึงสะดวกรวดเร็วและมีตน้ ทุนการให้บริการต่า ส่วนระบบอ่ืน
ท่ีตอ้ งมีพนกั งานใหค้ วามช่วยเหลือจะคิดอตั ราการใหบ้ ริการสูงกวา่

6.1 หมายเลขพ้ืนท่ีบริการ
ระบบเลขหมายโทรศพั ทไ์ ดร้ ับการออกแบบมาพร้อมกบั หมายเลขพ้ืนที่บริการ (Area

code) เพ่ือความสะดวกในการใชบ้ ริการโทรศพั ทท์ างไกล สังเกตวา่ หมายเลขพ้ืนท่ีบริการปกติเป็ น
เลข 3 ตวั และส่วนใหญ่มีหมายเลขตวั กลางเป็ น 0 หรือ 1 ท้งั น้ีเน่ืองจากระบบโทรศพั ทใ์ นยุค
แรกน้นั มีความจาเป็นตอ้ งใชเ้ ลข 0 หรือ 1 สาหรับการบอกประเภทบริการแบบโทรศพั ทท์ างไกล
(เทคนิคน้ีเป็นตวั อยา่ งท่ีมีการใชง้ านในประเทศสหรัฐอเมริกา)

ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2538 ตวั เลขตวั กลางของหมายเลขพ้ืนท่ีบริการไดข้ ยายขอบเขตการใช้
งานใหส้ ามารถครอบคลุมตวั เลขท่ีเหลือไดท้ ้งั หมด (เลข 2 ถึงเลข 9) ท้งั น้ีเน่ืองจากจานวนของ
ผตู้ ิดต้งั โทรศพั ทไ์ ดข้ ยายตวั เพ่ิมข้ึนอยา่ งรวดเร็ว รวมท้งั การนาเทคโนโลยีโทรศพั ทเ์ คล่ือนที่เขา้ มา
ใช้ ทาให้บางคนตอ้ งการใช้หมายเลขโทรศพั ท์มากถึง 3 หมายเลข (สาหรับผใู้ ช้โทรศพั ทท์ ่ีบา้ น
โทรศพั ทท์ ่ีทางาน และโทรศพั ทเ์ คล่ือนที่)

6.2 เลขรหสั ชุมสายโทรศพั ทท์ อ้ งถ่ิน
โทรศพั ทท์ ่ีอยใู่ นเขตพ้ืนท่ีใหบ้ ริการเดียวกนั ยงั มีความจาเป็นตอ้ งแยกเป็ นกลุ่มให้บริการ

ขนาดเล็กที่ควบคุมโดยชุมสายโทรศพั ทท์ อ้ งถิ่น แต่ละชุมสายตอ้ งมีเลขรหสั ของชุมสายโทรศพั ท์

24

ทอ้ งถิ่น (Exchange code) เป็ นของตนเอง โดยปกติ (สาหรับหมายเลขโทรศพั ท์ 7 ตวั ) จะเป็ น
เลข 3 ตวั แรก เลข 4 ตวั หลงั เป็ นหมายเลขเคร่ือง ในกรณีที่มีความตอ้ งการใชโ้ ทรศพั ท์มากข้ึน
จะตอ้ งเพ่ิมชุมสายใหม่โดยเลขรหสั ไม่ซ้าซอ้ นกบั หมายเลขท่ีมีใชง้ านอยแู่ ลว้

6.3 เลขรหสั ประเทศ
การโทรศพั ท์ทางไกลระหวา่ งประเทศ มีวิธีการแตกต่างไปจากการโทรศพั ทท์ างไกล

ภายในประเทศเล็กนอ้ ย คือจะตอ้ งเพ่ิมหมายเลขรหสั ประเทศ (country code) ก่อนหมายเลขพ้ืนที่
บริการ เช่น สมมุติว่าคุณเอ ขณะน้ีอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ตอ้ งการโทรศพั ท์มาหาคุณบี ท่ี
ประเทศไทย คุณเอจะตอ้ งหมุนเลขดงั น้ี

เร่ิมตน้ ด้วยเลขรหสั ทางไกลต่าง ประเทศ (011) ตามดว้ ยรหัสประเทศไทย (66)
รหสั พ้ืนที่ใหบ้ ริการ (กรุงเทพ = 2) และปิ ดทา้ ยดว้ ยหมายเลขโทรศพั ทข์ องคุณบี (สมมุติวา่ เป็ น
1234567 ในที่น้ีเลข 123 จะเป็ นเลขรหสั ชุมสายโทรศพั ทท์ อ้ งถ่ิน) ดงั น้นั หมายเลขท้งั หมดท่ีตอ้ ง
หมุนคือ 011-66-2-1234567 ถา้ คุณบีตอ้ งการโทรไปหาคุณเอจะหมุน 0-01-317-12345667 โดย
ที่ 0 เป็ นรหสั ทางไกลต่างประเทศ, 01 คือรหสั ประเทศสหรัฐอเมริกา. 317 คือรหสั เมืองชิคาโก
และ 1234567 คือหมายเลขโทรศพั ทข์ องคุณเอ (ท่ีชิคาโก)

6.4 บริการเลขหมาย 800
ในประเทศสหรัฐอเมริกามีบริการพิเศษอย่างหน่ึง (wide area telephone service)

ซ่ึงกาหนดให้มีหมายเลขพ้ืนที่บริการเป็ นรหสั 800 ผูใ้ ช้ท่ีตอ้ งการใช้บริการน้ีมกั จะเป็ นบริษทั ที่
ตอ้ งการอานวยความสะดวกให้แก่ลูกคา้ ท่ีต้งั ของบริษทั อาจจะอยู่ในเขตพ้ืนที่บริการใด ๆ ก็ได้
แต่เมื่อขอใช้บริการพิเศษน้ีแล้ว โทรศพั ท์เคร่ืองน้นั ๆ จะถูกจดั ให้อยู่ในกลุ่มพ้ืนท่ีบริการรหัส
800 ซ่ึงมีอาณาเขตครอบคลุมทว่ั ประเทศ และมีความหมายพิเศษกวา่ รหสั อ่ืน คือ ผทู้ ี่จะโทรเขา้
(ลูกคา้ ) ไม่ตอ้ งชาระค่าบริการ แต่เจา้ ของหมายเลขน้นั จะเป็ นผเู้ สียค่าใชจ้ ่ายเอง ปัจจุบนั จึงได้
เพิม่ เลขหมาย 888 เขา้ ไปอีกเพ่ือสนองความตอ้ งการของลูกคา้ ท่ีเพ่มิ มากข้ึน

6.5 บริการเลขหมาย 900
บริการพิเศษอีกอย่างหน่ึงในประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงกาหนดให้มีหมายเลขพ้ืนที่

บริการเป็ นรหัส 900 มีลกั ษณะการทางานเช่นเดียวกบั เลขหมาย 800 แต่มีความแตกต่างกนั สอง
ประการคือ ประการแรก ผูใ้ ช้ที่ตอ้ งการใช้บริการน้ีส่วนใหญ่จะเป็ นบริษทั ท่ีตอ้ งการขายสินคา้
ประเภทข่าวสารทางโทรศพั ทใ์ ห้แก่ลูกคา้ และประการท่ีสอง ผทู้ ี่โทรเขา้ (ลูกคา้ ) จะเป็ นผชู้ าระ
ค่าบริการเอง ซ่ึงทางบริษทั เจา้ ของหมายเลขน้นั และบริษทั เจา้ ของระบบโทรศพั ทจ์ ะมีการแบ่งปัน
ผลประโยชน์กนั บริการเลขหมาย 900 ยงั มีคุณสมบตั ิพิเศษอีกอยา่ งหน่ึงคือสามารถรองรับผโู้ ทร
เขา้ ได้มากถึง 7,000 สายต่อหน่ึงเลขหมาย บริการชนิดน้ียงั ไดถ้ ูกนาไปใช้ในการสอบถาม

25

ความคิดเห็น (poll) ของประชาชนทว่ั ไปในกรณีต่าง ๆ เช่น การเลือกต้งั ผแู้ ทนราษฎร การทา
ประชาพจิ ารณ์ การใหบ้ ริการสอบถามราคาหุน้ และอื่น ๆ

บทสรุปท้ายหน่วยท่ี 1

กิจการโทรศพั ทเ์ ร่ิมต้งั แต่ พ.ศ. 2419 โดย อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ เป็ นการนาเอา
ลาโพงสองตวั มาต่อขนานกนั แลว้ สนทนากนั ไดใ้ นระยะใกลๆ้ ต่อมามีนกั คิดประดิษฐ์ไดพ้ ฒั นา
ระบบโทรศพั ท์ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสะดวกจนถึงปัจจุบนั กิจการ
โทรศพั ทไ์ ดแ้ พร่หลายนิยมใชก้ นั ทว่ั โลกกลายเป็นระบบสื่อสารหลกั ของโลกไปโดยปริยาย

กิจการโทรศพั ทใ์ นเมืองไทยไดเ้ ริ่มตน้ ในสมยั รัชกาลท่ี 5 ในปี พ.ศ. 2424 รัฐบาลไดส้ ั่งซ้ือ
เขา้ มาใชร้ ะหวา่ งกรมอูท่ หารเรือกบั ปากน้าสมุทรปราการ เพ่ือรายงานการเขา้ ออกของเรือในแม่น้า
เจา้ พระยาให้ทางรัฐบาลทราบ และหลงั จากน้นั ก็ไดส้ ั่งซ้ือเพิ่มจนกิจการกา้ วหน้าข้ึนจึงมีการต้งั
องค์การโทรศพั ท์มาดูแลโดยเฉพาะ และไดม้ ีการพฒั นาชุมสายหรือนาระบบท่ีทนั สมยั เขา้ มาใช้
ทาใหป้ ระเทศไทยมีระบบสื่อสารที่ทนั สมยั อยใู่ นปัจจุบนั

กจิ กรรมหลงั การเรียนรู้

เม่ือผเู้ รียนศึกษาเน้ือหาในหน่วยการเรียนรู้แลว้ ให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิดงั น้ี
1. ทากิจกรรมเสนอแนะทา้ ยหน่วยการเรียน
2. ทาแบบฝึกหดั หลงั เรียน
3. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน โดยผเู้ รียนคนใดผา่ นการประเมินมีคะแนนต้งั แต่ 10 คะแนน
ข้ึนไปใหผ้ า่ นไปเรียนในหน่วยตอ่ ไปได้
4. ผเู้ รียนท่ีไดค้ ะแนนนอ้ ยกวา่ 10 คะแนนใหก้ ลบั ไปศึกษารายละเอียดของเน้ือหาอีกคร้ัง
แลว้ ปฏิบตั ิตามขอ้ 1

กจิ กรรมเสนอแนะท้ายหน่วยที่ 1

1.ใหผ้ เู้ รียนศึกษาเน้ือหาเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตหรือจากหอ้ งสมุด โดยศึกษาตามหวั ขอ้ ท่ี
ไดเ้ รียนในเอกสารประกอบการเรียนการสอนก่อน จากน้นั ใหเ้ พมิ่ เติมในหวั ขอ้ ท่ียงั ไม่เขา้ ใจ

2.ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่ม ตามหวั ขอ้ การเรียนรู้ แลว้ จดั บอร์ดตามหวั ขอ้ ที่ไดเ้ รียนในเอกสาร
ประกอบการเรียนการสอน รวมท้งั เตรียมเน้ือหาอภิปรายใหเ้ พ่ือนกลุ่มอื่นไดฟ้ ังในสปั ดาห์ต่อไป
ก่อนที่จะเรียนในหน่วยต่อไป

26

แบบฝึ กหดั ท้ายหน่วยท่ี 1

คาส่ัง ใหต้ อบคาถามต่อไปน้ี
1.จงอธิบายหลกั การทางานของ ALEXANDER GRAHAM BELL
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2.จงอธิบายหลกั การทางานของปากพดู แบบคาร์บอน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3.จงบอกววิ ฒั นาการความเป็ นมาของโทรศพั ทใ์ นต่างประเทศและในประเทศ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
4.ทาไมเราตอ้ งมีวงจร Side Tone ในการสนทนาระหวา่ งคูส่ ายโทรศพั ท์
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
5.เหตุใดเราถึงตอ้ งมีชุมสายโทรศพั ท์

27

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
7.ชุมสายโทรศพั ทแ์ บง่ ออกเป็นก่ีประเภท อะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
8.จงอธิบายการกาหนดเลขหมายโทรศพั ท์
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
9.จงอธิบายข้นั ตอนการทางานของชุมสายทอ้ งถิ่น
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
10.จงบอกข้นั ตอนการติดต่อสื่อสารของระบบโทรศพั ท์

28

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 1

คาส่ัง จงเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งที่สุดเพียงคาตอบเดียว

1. การสื่อสารทางโทรศพั ทใ์ นยคุ แรก ๆ คือการส่ือสารตามขอ้ ใด

ก. ส่ือสารดว้ ยเสียง ข. สื่อสารดว้ ยภาพ

ค. สื่อสารดว้ ยตวั อกั ษร ง. สื่อสารดว้ ยสญั ลกั ษณ์

2. คา่ ความตา้ นทานของผงคาร์บอนในปากพดู แบบคาร์บอนจะเปลี่ยนแปลงไปตามอะไร

ก. แรงกดของแผน่ ไดอะเฟรม ข. สนามแมเ่ หล็กชว่ั คราว

ค. กาลงั งานไฟฟ้ า ง. สนามแม่เหล็กถาวร

3. แรงดนั ไฟฟ้ ากรณีวางหูโทรศพั ท์ (เปิ ดวงจร) มีคา่ ประมาณกี่โวลต์

ก. 48 โวลต์ ข. 10 โวลต์

ค. 120 โวลต์ ง. 90 โวลต์

4. แรงดนั ไฟฟ้ ากรณียกหูโทรศพั ท์ (ปิ ดวงจร) มีคา่ ประมาณกี่โวลต์

ก. 48 โวลต์ ข. 10 โวลต์

ค. 120 โวลต์ ง. 90 โวลต์

5. ใครเป็นผปู้ ระดิษฐโ์ ทรศพั ทค์ ร้ังแรก

ก. Edison ข. Bell

ค. Edwin ง. Beller

6. โครงสร้างของ Transmitter – Receiver ในยคุ แรกมีลกั ษณะอยา่ งไร

ก. เป็น Magneto ท้งั คู่ ข. เป็น Carbon ท้งั คู่

ค. Magneto Receiver เป็น Carbon ง. Carbon Receiver เป็น Magneto

7. Transmitter คืออะไร

29

ก. ตวั แปลงเสียงเป็นแสง ข. ตวั แปลงแสงเป็นเสียง
ค. ตวั แปลงเสียงเป็นไฟฟ้ า ง. ตวั แปลงไฟฟ้ าเป็นเสียง
8. Receiver คืออะไร
ก. ตวั แปลงเสียงเป็นแสง ข. ตวั แปลงแสงเป็นเสียง
ค. ตวั แปลงเสียงเป็นไฟฟ้ า ง. ตวั แปลงไฟฟ้ าเป็นเสียง

9. ชุมสายแบบใดที่ติดต้งั อยใู่ นตคู้ อนเทนเนอร์สามารถเคลื่อนยา้ ยไปติดต้งั ใชง้ านไดต้ าม

จุดต่าง ๆตามที่ตอ้ งการ

ก. ชุมสายถาวร ข. ชุมสายรีโมท

ค. ชุมสายเคลื่อนที่ ง. ชุมสายออนไลน์

10. ยคุ แรกของกิจการโทรศพั ทใ์ นประเทศไทยหน่วยงานใดเป็นผดู้ ูแล

ก. กรมกลาโหม ข. กรมไปรษณีย์

ค. องคก์ ารโทรศพั ท์ ง. รัฐบาล

11. โทรศพั ทร์ ะบบใดที่นามาใชใ้ นเมืองไทยเป็นคร้ังแรก

ก. Common Battery ข. Magneto

ค. Step by Step ง. Cross – bar

12. ในปัจจุบนั กิจการโทรศพั ทอ์ ยใู่ นการดูแลของหน่วยงานใด

ก. กรมกลาโหม ข. กรมไปรษณีย์

ค. บริษทั ทีโอที ง. บริษทั กสท.โทรคมนาคม

13. ในปัจจุบนั ทว่ั โลกนิยมใชช้ ุมสายโทรศพั ท์ ระบบใด

ก. Cross bar ข. SPC

ค. Step by Step ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถูก

14. การนาเอาโทรศพั ทม์ าใชใ้ นเมืองไทย คร้ังแรกมีจุดประสงคใ์ ด

ก. ทางทหาร ข. ธุรกิจ

ค. สงั คม ง. ป้ องกนั ประเทศ

15. โทรศพั ทท์ ่ีนามาใชค้ ร้ังแรกในประเทศไทยติดต้งั ท่ีใด

ก. กรุงเทพฯ ข. กรุงเทพฯ – สมุทรปราการ

30

ค. กรุงเทพฯ – อยธุ ยา ง. กรุงเทพฯ - นนทบุรี

แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 1

คาส่ัง จงเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งที่สุดเพียงคาตอบเดียว

1. ใครเป็นผปู้ ระดิษฐ์โทรศพั ทค์ ร้ังแรก

ก. Edison ข. Bell

ค. Edwin ง. Beller

2. โครงสร้างของ Transmitter – Receiver ในยคุ แรกมีลกั ษณะอยา่ งไร

ก. เป็น Magneto ท้งั คู่ ข. เป็น Carbon ท้งั คู่

ค. Magneto Receiver เป็น Carbon ง. Carbon Receiver เป็น Magneto

3. แรงดนั ไฟฟ้ ากรณีวางหูโทรศพั ท์ (เปิ ดวงจร) มีค่าประมาณกี่โวลต์

ก. 48 โวลต์ ข. 10 โวลต์

ค. 120 โวลต์ ง. 90 โวลต์

4. แรงดนั ไฟฟ้ ากรณียกหูโทรศพั ท์ (ปิ ดวงจร) มีคา่ ประมาณก่ีโวลต์

ก. 48 โวลต์ ข. 10 โวลต์

ค. 120 โวลต์ ง. 90 โวลต์

5. การส่ือสารทางโทรศพั ทใ์ นยคุ แรก ๆ คือการส่ือสารตามขอ้ ใด

ก. สื่อสารดว้ ยเสียง ข. ส่ือสารดว้ ยภาพ

ค. ส่ือสารดว้ ยตวั อกั ษร ง. สื่อสารดว้ ยสัญลกั ษณ์

6. ค่าความตา้ นทานของผงคาร์บอนในปากพดู แบบคาร์บอนจะเปล่ียนแปลงไปตามอะไร

ก. แรงกดของแผน่ ไดอะเฟรม ข. สนามแมเ่ หลก็ ชวั่ คราว

ค. กาลงั งานไฟฟ้ า ง. สนามแม่เหลก็ ถาวร

7. Transmitter คืออะไร 31
ก. ตวั แปลงเสียงเป็นแสง
ค. ตวั แปลงเสียงเป็นไฟฟ้ า ข. ตวั แปลงแสงเป็นเสียง
ง. ตวั แปลงไฟฟ้ าเป็นเสียง
8. Receiver คืออะไร
ก. ตวั แปลงเสียงเป็นแสง ข. ตวั แปลงแสงเป็นเสียง
ค. ตวั แปลงเสียงเป็นไฟฟ้ า ง. ตวั แปลงไฟฟ้ าเป็นเสียง

9. ชุมสายแบบใดที่ติดต้งั อยใู่ นตูค้ อนเทนเนอร์สามารถเคลื่อนยา้ ยไปติดต้งั ใชง้ านไดต้ าม

จุดต่าง ๆตามท่ีตอ้ งการ

ก. ชุมสายถาวร ข. ชุมสายรีโมท

ค. ชุมสายเคลื่อนท่ี ง. ชุมสายออนไลน์

10. ในปัจจุบนั กิจการโทรศพั ทอ์ ยใู่ นการดูแลของหน่วยงานใด

ก. กรมกลาโหม ข. กรมไปรษณีย์

ค. บริษทั ทีโอที ง. บริษทั กสท.โทรคมนาคม

11. โทรศพั ทร์ ะบบใดที่นามาใชใ้ นเมืองไทยเป็นคร้ังแรก

ก. Common Battery ข. Magneto

ค. Step by Step ง. Cross – bar

12. ยคุ แรกของกิจการโทรศพั ทใ์ นประเทศไทยหน่วยงานใดเป็นผดู้ ูแล

ก. กรมกลาโหม ข. กรมไปรษณีย์

ค. องคก์ ารโทรศพั ท์ ง. รัฐบาล

13. ในปัจจุบนั ทวั่ โลกนิยมใชช้ ุมสายโทรศพั ท์ ระบบใด

ก. Cross bar ข. SPC

ค. Step by Step ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถูก

14. โทรศพั ทท์ ่ีนามาใชค้ ร้ังแรกในประเทศไทยติดต้งั ท่ีใด

ก. กรุงเทพฯ ข. กรุงเทพฯ – สมุทรปราการ

ค. กรุงเทพฯ – อยธุ ยา ง. กรุงเทพฯ - นนทบุรี

15. การนาเอาโทรศพั ทม์ าใชใ้ นเมืองไทย คร้ังแรกมีจุดประสงคใ์ ด

ก. ทางทหาร ข. ธุรกิจ

32

ค. สงั คม ง. ป้ องกนั ประเทศ

เฉลย แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน

ก่อนเรียน หลงั เรียน

ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ
1ก 1ข
2ก 2ข
3ก 3ก
4ข 4ข
5ข 5ก
6ข 6ก
7ค 7ค
8ง 8ง
9ค 9ค
10 ก 10 ง
11 ข 11 ค
12 ค 12 ก
13 ข 13 ข
14 ก 14 ข
15 ข 15 ก

33

แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะท้ายหน่วย (รายกล่มุ )
ประเมินกลุ่ม…………………………เรื่อง………………………………………………..………
รูปแบบผลงาน…………………………………….วนั ท่ี……เดือน………………………พ.ศ……

คาชี้แจง ใหผ้ ปู้ ระเมินใส่เคร่ืองหมาย x ลงในช่องวา่ งตามความเป็ นจริง

4 หมายถงึ ดีมาก 3 หมายถงึ ดี 2 หมายถึง ปรับปรุง 1 หมายถึง ควรปรับปรุง

รายการ 4321 ข้อเสนอแนะ

เนือ้ หา

1. ความถูกตอ้ งของเน้ือหา

2. ข้นั ตอนการนาเสนอ

3. การสรุปเน้ือหา

รูปแบบการนาเสนอ

1. น่าสนใจ

2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

การทางานกลุ่ม

1. การเตรียมตวั

2. การทางานเป็ นระบบ

3. การมีส่วนร่วมของสมาชิก

4. ความภูมิใจในผลงานของสมาชิก

34

เกณฑ์การประเมนิ สรุปการประเมนิ ผลงานกล่มุ

ร้อยละ 80 ข้ึนไป ระดบั ดีมาก ……………………………………………………………

ร้อยละ 70 – 79 ระดบั ดี รวมไดค้ ะแนน……………………………………………

ร้อยละ 60 – 69 ระดบั พอใช้ คิดเป็นร้อยละ…………………………………………….

ต่ากวา่ ร้อยละ 60 ระดบั ปรับปรุง อยใู่ นเกณฑ์……………………………………………….

ผ้ปู ระเมิน ( ) ครู ( ) ผเู้ รียน ( ) เพือ่ น

เอกสารอ้างองิ

1. ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. เทคโนโลยโี ทรศพั ท.์ กรุงเทพฯ : โรงพิมพศ์ ุภาลยั . (2533).
2. ศูนยฝ์ ึกโทรคมนาคม องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย. (2531). หนงั สือคูม่ ือช่าง.

กรุงเทพฯ:องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย.
3. สุวมิ ล สิทธิชีวภาค. (ม.ป.ป.). พ้นื ฐานแห่งการส่ือสาร. กรุงเทพฯ : สมาคมโทรคมนาคม

แห่งประเทศไทย.
4. ศูนยฝ์ ึกโทรคมนาคม องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย. (2530). ความรู้เกี่ยวกบั เคร่ืองชุมสาย

โทรศพั ท.์ กรุงเทพฯ : องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย .

หน่วยท่ี 2
หลกั การทางานของเคร่ืองรับโทรศัพท์

นายปิ ยะ รัตตสนธิกลุ

หัวข้อการเรียนรู้

1. ส่วนประกอบเบ้ืองตน้ ของเครื่องรับโทรศพั ท์
2. วงจรการทางานของเคร่ืองรับโทรศพั ท์
3. ปฏิบตั ิวดั และทดสอบวงจรเครื่องรับโทรศพั ท์

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทว่ั ไป

1. ดา้ นความรู้
เพ่ือใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั หลกั การทางานของเคร่ืองรับโทรศพั ท์

2. ดา้ นคุณธรรม/จรรยาบรรณ/เศรษฐกิจพอเพยี ง
มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมที่พึงประสงค/์ เศรษฐกิจพอเพยี ง ดา้ นความมีวนิ ยั ในการ

ทางาน ความซื่อสตั ยส์ ุจริตในการทางานและความประหยดั ในการใชท้ รัพยากรของตนเองและ
ส่วนรวม

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. ดา้ นความรู้ และทกั ษะ

1.1. บอกส่วนประกอบเบ้ืองตน้ ของเครื่องรับโทรศพั ทไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
1.2. อธิบายหลกั การทางานของเคร่ืองรับโทรศพั ท์ชนิดกาเนิดสัญญาณพลั ส์ไดอ้ ยา่ ง
ถูกตอ้ ง
1.3. อธิบายวงจรการทางานของเคร่ืองรับโทรศพั ทช์ นิดกาเนิดสัญญาณความถี่สองเสียง
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
1.4 อธิบายบลอ็ กไดอะแกรมวงจรโทรศพั ทอ์ ิเล็กทรอนิกส์ทว่ั ไปไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
1.5 อธิบายหลกั การทางานของวงจรพ้ืนฐานในเครื่องโทรศพั ทไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
1.6 วดั และทดสอบลกั ษณะการเกิดแรงดนั และกระแสของเครื่องรับโทรศพั ทเ์ มื่ออยใู่ น
สภาวะตา่ งๆไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

36

1.7 วดั และทดสอบเคร่ืองรับโทรศพั ทพ์ ้นื ฐานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
2. ดา้ นคุณธรรม/จรรยาบรรณ/เศรษฐกิจพอเพียง
2.1 เตรียมความพร้อมดา้ นวสั ดุ อุปกรณ์สอดคลอ้ งกบั งานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและใชว้ สั ดุ
อุปกรณ์อยา่ งคุม้ คา่ ประหยดั ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณลกั ษณะ 3D
2.2 ปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งสาเร็จภายในเวลาท่ีกาหนดอยา่ งมีเหตุและลลตามหลกั
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณลกั ษณะ 3D
2.3 เขา้ เรียนตรงเวลา มีอุปกรณ์การเรียนครบถว้ นและส่งงานในเวลาท่ีกาหนด
2.4 ไม่คดั ลอกลลงานคนอ่ืน
2.5 ใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือและใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าในการเรียนอยา่ งประหยดั
2.6 ความสนใจใฝ่ รู้ เช่นการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง การซกั ถามปัญหาขอ้ สงสัย การ
แสวงหาความรู้ใหมๆ่ การมีความกระตือรือร้นในการทางาน
2.7 ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เช่น คิดวเิ คราะห์ปัญหาหรือคาถามอยา่ งรวดเร็วและ
รอบคอบ การพฒั นาตนเองอยเู่ สมอๆ กลา้ แสดงออก กลา้ คิด กลา้ พดู กลา้ ทาในส่ิงที่เป็น
ประโยชน์

วธิ กี ารสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน

1.แจง้ จุดประสงคใ์ หล้ เู้ รียนเขา้ ใจก่อนเรียนและจดั กลุ่มลเู้ รียน
2.ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียนใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน
3.ครูสอนบรรยายหนา้ ช้นั เรียนประกอบส่ือ Power point และสื่อของจริง
4. ใหน้ กั ศึกษาแตล่ ะกลุ่มร่วมอภิปรายเน้ือหาภายในช้นั เรียนและตอบคาถามเพ่ือทบทวน
ความเขา้ ใจของเน้ือหา
5. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่ม 3-5 คน ช่วยกนั ปฏิบตั ิงานตามใบงานที่กาหนดให้
6.ใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบหลงั เรียน
7.ครูมอบหมายงานใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั เพม่ิ เติม เพ่ือเป็นการทบทวนความเขา้ ใจของ
เน้ือหาและศึกษาเน้ือหาท่ีจะเรียนในคร้ังต่อไป

สาระสาคญั

เครื่องโทรศพั ทท์ ่ีมีใชง้ านร่วมกบั ระบบชุมสายโทรศพั ทส์ ่วนใหญ่จะแบ่งได้ 2 แบบคือ
เครื่องโทรศพั ทช์ นิดกาเนิดสัญญาณพลั ส์ และเครื่องโทรศพั ทช์ นิดกาเนิดสัญญาณความถ่ีสองเสียง
โดยในแบบแรกจะกาเนิดสัญญาณไฟฟ้ าเป็ นแบบพลั ส์ท่ีมีรูปพลั ส์ตามจานวนของเลขหมายที่ได้

37

หมุนไป ส่วนแบบท่ี 2 เครื่องโทรศพั ท์จะลลิตความถ่ีเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มความถี่สูงและกลุ่ม
ความถ่ีต่า ซ่ึงการกดป่ ุม 1 ป่ ุมจะลลิตความถี่ 2 ค่า เช่นกดป่ ุม 3 จะลลิตความถ่ี 697 เฮิร์ตกบั 1477
เฮิร์ต จึงถูกเรียกวา่ “DTMF”

กระบวนการเปล่ียนสัญญาณเสียงให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้ าเกิดข้ึนท่ีอุปกรณ์ตวั ส่งสัญญาณ
เสียงคนพูดซ่ึงเป็ นสัญญาณเสียงชนิดหน่ึงจะกระตุน้ ให้แล่นไดอะเฟรม (Diaphragm) เกิดการ
สัน่ สะเทือนซ่ึงจะไปเพิ่มแรงอดั ให้แก่ลงคาร์บอนท่ีอยภู่ ายในอุปกรณ์ตวั เดียวกนั การอดั ตวั ของลง
คาร์บอนน้ีจะทาปฏิกิริยาช่วยใหพ้ ลงั งานไฟฟ้ าสามารถลา่ นไปไดใ้ นปริมาณที่แตกต่างกนั ตามระดบั
ความแน่นของการอดั ตวั ท่ีเกิดข้ึนอยา่ งต่อเนื่องในขณะที่ลพู้ ดู กาลงั พดู สัญญาณไฟฟ้ าน้ีจะถูกนาไป
ขยายใหม้ ีพลงั งานสูงข้ึนเพ่ือส่งออกไปทางสายโทรศพั ทไ์ ปยงั เคร่ืองลรู้ ับ

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรมทม่ี อบหมาย

1.กจิ กรรมก่อนเรียน

1.1 ศึกษาแลนการเรียนรายวชิ าระบบโทรศพั ท์ ท่ีครูแจกให้

1.2 ต้งั ใจฟัง ซกั ถามขอ้ สงสัย ช่วยกนั ตอบคาถามและจดบนั ทึกสรุป ยอ่ สาระสาคญั
1.3 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนอยา่ งต้งั ใจ
2.กจิ กรรมในขณะเรียน
2.1 ต้งั ใจ ดู ฟัง จดบนั ทึกสรุปความคิดรวบยอด จากการบรรยายของครู
2.2 ยกตวั อยา่ ง และตอบคาถามเป็นรายบุคคล
2.3 ซกั ถามขอ้ สงสัย
2.4 ระดมสมอง ปรึกษาหารือช่วยกนั ตอบคาถามของครู
3.กจิ กรรมหลงั เรียน
3.1 ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
3.2 ทาแบบฝึกหดั หลงั เรียน
3.3 แบ่งกลุ่มและทากิจกรรม 5 ส.
3.4 อา่ นเอกสารประกอบการสอน เตรียมตวั เรียนและทดสอบหลงั เรียน

ส่ือการเรียนการสอน

ส่ือส่ิงพมิ พ์
1. แลนการสอนรายวชิ าระบบโทรศพั ท์
2. เอกสารประกอบการเรียนการสอนหน่วยท่ี 2

38

3. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
4. แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
5. ใบตารางการทากิจกรรม 5 ส.
6. แบบประเมิลลลการเรียน
ส่ือเวปไซด์
เวปไซต์ ของ อ.ปิ ยะ รัตตสนธิกลุ WWW.PIYA.ENMTC.COM
สื่อโสตศึกษา
1. Power point ประกอบการสอน รายวชิ า ระบบโทรศพั ท์ เร่ืองหลกั การทางานของ
เครื่องรับโทรศพั ท์
2. กระดานไวทบ์ อร์ดพร้อมปากกาไวทบ์ อร์ด
3. คอมพวิ เตอร์โน๊ตบุค้ พร้อม Projecter
ส่ือของจริง

1.ชุดทดลองระบบโทรศพั ท์
2. เคร่ืองรับสัญญาณโทรศพั ท์

39

1.บทนา

วตั ถุประสงค์หลกั ของเคร่ืองโทรศพั ท์ (Telephone) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีในการรับ
สัญญาณซ่ึงเป็ นเสียงพูดแลว้ เปล่ียนให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้ า เพื่อส่งออกไปทางสายโทรศพั ท์หรือ
สัญญาณอื่นที่เหมาะสมกบั ส่ือที่เลือกใช้แลว้ ถ่ายทอดไปยงั ลรู้ ับ เครื่องโทรศพั ท์ของลูร้ ับก็จะทา
หนา้ ที่ตรงกนั ขา้ มคือแปลงสญั ญาณที่ส่งมาตามสายโทรศพั ทก์ ลบั ไปเป็นเสียงพูดตามปกติโทรศพั ท์
ประกอบดว้ ยอุปกรณ์ตวั หน่ึง เรียกวา่ ตวั เปลี่ยนสัญญาณ (Converter) ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเปลี่ยนเสียงให้
กลายเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า โทรศพั ทแ์ ต่ละเครื่องจะมีตวั เปลี่ยนสัญญาณสองตวั ตวั หน่ึงทาหนา้ ที่
เป็นตวั ส่งสัญญาณ (Transmitter) ส่วนอีกตวั หน่ึงทาหนา้ ท่ีเป็นตวั รับสญั ญาณ (Receiver)

โทรศพั ทเ์ ป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าซ่ึงตอ้ งอาศยั พลงั งานไฟฟ้ าในการทางาน โดยปกติบริ ษทั ที่
ให้บริการโทรศพั ท์ เช่นองค์การโทรศพั ท์แห่งประเทศไทย เป็ นลจู้ ดั หาและป้ อนพลงั งานไฟฟ้ า
ให้กบั ระบบโทรศพั ทท์ ้งั ระบบด้วยตนเอง ดงั น้ันโทรศพั ทจ์ ึงสามารถทางานได้ตามปกติ แมว้ ่า
ไฟฟ้ าที่ใชต้ ามบา้ นเรือนทว่ั ไปดบั อย่างไรก็ตามพลงั งานไฟฟ้ าจะลนวกเป็ นส่วนหน่ึงของระบบ
โทรศพั ทไ์ มส่ ามารถนามาใชป้ ระโยชน์อยา่ งอ่ืนๆ ได้

กระบวนการเปล่ียนสัญญาณเสียงให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้ าเกิดข้ึนที่อุปกรณ์ตวั ส่งสัญญาณ
เสียงพูดซ่ึงเป็ นสัญญาณเสียงชนิดหน่ึงจะกระตุน้ ให้แลน่ ไดอะเฟรม (Diaphragm) เกิดการส่ัน
สะเทือนจะไปเพ่ิมแรงอัดให้แก่ลงคาร์บอนที่อยู่ภายในอุปกรณ์ตวั เดียวกนั การอดั ตัวของลง
คาร์บอนน้ีทาปฏิกิริยาช่วยให้พลงั งานไฟฟ้ าสามารถลา่ นไปไดใ้ นปริมาณท่ีแตกต่างกนั ตามระดบั
ความแน่นของการอัดตวั ท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องในขณะท่ีลูพ้ ูดกาลังพูด ดังแสดงในรูป 2.1
สญั ญาณไฟฟ้ าน้ีจะถูกนาไปขยายใหม้ ีพลงั งานสูงข้ึน เพ่ือส่งออกทางสายโทรศพั ทไ์ ปยงั เคร่ืองลรู้ ับ

เคร่ืองโทรศพั ทท์ างลรู้ ับจะแปลงพลงั งานไฟฟ้ าท่ีไดร้ ับกลบั ไปเป็ นเสียงพูดลา่ นทางตวั รับ
สัญญาณ ซ่ึงประกอบด้วยแท่งแม่เหล็กถาวรหุ้มด้วยแม่เหล็กไฟฟ้ า สัญญาณที่รับเข้ามาทาให้
แม่เหล็กไฟฟ้ าทางานซ่ึงมีขนาดความแรงมากนอ้ ยตามพลงั งานไฟฟ้ าที่รับเขา้ มาทางสาย โทรศพั ท์
พลงั งานแม่เหล็กไฟฟ้ าและพลงั งานจากแม่เหล็กถาวรจะทาปฏิกิริยาลลกั ดนั ซ่ึงกนั และกนั ส่งลลให้
แลน่ ไดอะเฟรมเกิดการสั่นสะเทือนตามแรงกระตุน้ กลายเป็ นสัญญาณเสียงท่ีมีความคลา้ ยคลึงกบั
เสียงพดู ของคน

40

รูปท่ี 2.1 แสดง แลน่ ไดอะเฟรมภายในเครื่องโทรศพั ท์
ที่มา : ศูนยฝ์ ึกโทรคมนาคม องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย.

2. ส่วนประกอบเบือ้ งต้นของเครื่องรับโทรศัพท์

รูปที่ 2.2 แสดง เคร่ืองโทรศพั ทแ์ บบแป้ นหมุนและแบบแป้ นกด
ท่ีมา : ภาพถ่ายโดย นายปิ ยะ รัตตสนธิกลุ

เคร่ืองโทรศพั ทแ์ บบแป้ นหมุน เป็ นเครื่องโทรศพั ทใ์ นระบบเก่าท่ีใชส้ ัญญาณแบบ Pulse
Code สาหรับการเรียกโทรศพั ทอ์ ีกเครื่องหน่ึง ส่วนเครื่องโทรศพั ทแ์ บบแป้ นกดเป็ นระบบใหม่ท่ี
ใชส้ ัญญาณ Tone Code ในการติดต่อเรียกวา่ “Dual Tone Multifrequency (DTMF)” ในระบบน้ีจะ
ส่งสัญญาณเสียง 2 ความถ่ีพร้อมกนั เพ่ือใชแ้ ทนความหมายของตวั เลขหน่ึงตวั เช่น เลข 2 จะใช้
ความถี่ขนาด 697 Hz และ 1,336 Hz ความถ่ีท่ีใชท้ ้งั หมดจะอยใู่ นช่วง 697 Hz ถึง 1,477 Hz
ความถี่ท่ีใช้แทนตัวเลขน้ีจะถูกส่ งออกไปตามสายโทรศัพท์คอมพิวเตอร์ท่ีควบคุมอยู่ท่ี
ชุมสายโทรศพั ทจ์ ะสามารถแปลรหสั น้ีไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

โทรศพั ทแ์ บบแป้ นหมุนและแบบแป้ นกดทางานแตกต่างกนั และไม่สามารถทางานร่วมกนั
ไดโ้ ดยตรง ปัจจุบนั บริษทั ลใู้ หบ้ ริการที่ยงั คงมีท้งั อุปกรณ์แบบเก่าและแบบใหม่ใชง้ านร่วมกนั น้นั
จะตอ้ งจดั หาอุปกรณ์เชื่อมต่อซ่ึงจะพ่วงระบบท้งั สองน้ีเขา้ ด้วยกนั ระบบโทรศพั ท์แบบใหม่ยงั มี

41
บริการอ่ืนท่ีน่าสนใจเพิ่มเติม เช่น บริการแสดงหมายเลขลเู้ รียกเขา้ (Caller ID) บริการประชุมสาม
สายสนทนา และบริการโอนสายอตั โนมตั ิ เป็ นตน้ ทาให้โทรศพั ทก์ ลายเป็ นเคร่ืองมือที่จาเป็ น
สาหรับการดาเนินธุรกิจในปัจจุบนั

รูปที่ 2.3 แสดงสญั ลกั ษณ์ของเครื่องโทรศพั ท์
ที่มา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

ส่วนประกอบเบอื้ งต้นมีดังนี้
2.1 ปากพูด
ปากพดู (Transmitter) หรือตวั ส่ง อุปกรณ์ตวั น้ีคือ ไมโครโฟน (Microphone) ทาหนา้ ท่ี

เปล่ียนเสียงพดู ใหเ้ ป็นสัญญาณไฟฟ้ า ปากพดู ท่ีใชอ้ ยใู่ นเคร่ืองโทรศพั ทป์ ัจจุบนั น้ีมี 3 แบบ
1. คาร์บอน (Carbon)
เครื่องโทรศพั ทน์ ้นั จาเป็นที่จะตอ้ งใช้ Transmitter ท่ีมีประสิทธิภาพและความไวสูง เราจึง

ใช้ Transmitter แบบ Carbon Transmitter ซ่ึงประกอบดว้ ยชิ้นส่วนเลก็ ๆ ของ Carbon แลน่ Carbon
Electrode 2 แลน่ และ Diaphragm ดงั รูปท่ี 2.4

รูปท่ี 2.4 แสดง Carbon Transmitter

หลกั การทางานของ Carbon Transmitter คือ เมื่อคล่ืนเสียงกระทบกบั แลน่ Diaphragm
จะทาให้แลน่ Diaphragm ส่ันไปมา พลงั งานเสียงก็จะเปล่ียนเป็ นพลงั งานกล ในตาแหน่งที่แลน่
Diaphragm ถูกกดจะทาให้ Electrode แลน่ หนา้ เคลื่อนท่ีเขา้ เป็ นลลทาใหล้ งถ่าน (Carbon Granule)

42

ถูกอดั ติดกนั มากยิง่ ข้ึน การอดั ตวั ของลงถ่านน้ีจะทาใหค้ วามตา้ นทานระหวา่ งแลน่ Electrode ท้งั
สองมีค่าลดลง ในทางตรงกนั ขา้ ม เม่ือแลน่ Diaphragm เคลื่อนที่ออกก็จะเป็ นลลทาให้ Electrode
แลน่ หนา้ เคล่ือนท่ีออกดว้ ย จึงทาใหค้ วามตา้ นทานของ Transmitter เพิ่มข้ึน ค่าความตา้ นทางของ
Carbon โดยปกติประมาณ 60 โอห์ม เมื่อถูกอดั แน่นที่สุดจะมีค่า 40 โอห์ม แต่เมื่อขยายตวั เตม็ ท่ีจะมี
ค่า 80 โอห์ม เม่ือนาแบตเตอร่ีต่อเขา้ ระหวา่ งแลน่ Electrode ท้งั สองกระแสไฟตรงจะไหลลา่ นลง
ถ่าน เนื่องจาก ความตา้ นทานของ Transmitter มีการเปล่ียนแปลงเมื่อไดร้ ับสัญญาณเสียง ดงั น้นั
กระแสที่ไหลลา่ น Transmitter จะเปล่ียนแปลงไปดว้ ย นน่ั คือพลงั งานเสียงสามารถเปล่ียนเป็ น
พลงั งานไฟฟ้ าได้

2.ไดนามิค (Dynamic)
3. คอนเดนเซอร์ (Condenser)
เครื่องรุ่นใหม่ ๆ จะนิยมใชค้ อนเดนเซอร์เป็นปากพดู เพราะขนาดเล็ก ราคาถูก ความไว
สูงกวา่ แบบอื่น ๆ
2.2 หูฟัง
หูฟัง (Reciever) หรือ ตวั รับ คือ ลาโพง (Speaker) ทาหนา้ ท่ีเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ าเป็ น
สัญญาณเสียง ลกั ษณะโครงสร้างของหูฟังอาจไม่เหมือนลาโพงทวั่ ไปเพราะตอ้ งออกแบบให้มี
ขนาดเล็กและอยใู่ นรูปร่างท่ีถูกจากดั ไวด้ ว้ ยพ้นื ที่ แต่หลกั การทางานคงเหมือนเดิม

รูปที่ 2.5 แสดงหลกั การของ Receiver

หลกั การของ Receiver คือ มีขดลวดพนั กนั อยทู่ ่ีข้วั ท้งั สองของแม่เหล็กถาวรซ่ึงต่อกนั แบบ
อนุกรม แต่ ขดลวดจะพนั กลบั ทิศทางกนั แม่เหลก็ ถาวรน้ีจะมีอานาจแม่เหล็กดึงดูดแลน่ Diaphragm
เขา้ มา เมื่อมีกระแส ไฟสลบั ( Speech Current )ไหลลา่ นขดลวดก็จะมีลลทาใหเ้ กิดเส้นแรงแม่เหล็ก
ข้ึน ทิศทางของเส้นแรงแมเ่ หลก็ จะมี ทิศทางตรงกนั ขา้ มกบั ทิศทางของกระแสไฟฟ้ าท่ีไหลในวงจร
ซ่ึงอาจจะไปเสริมหรือตา้ นเส้นแรงแม่เหล็กของ แม่เหล็กถาวร แลน่ Diaphragm ก็จะเคล่ือนที่เขา้
หรือออกตามขนาดและความถ่ีของ Speech Current ซ่ึงจะมีลลทาให้เกิดคล่ืนเสียงท่ีมีขนาดและ

43

ความถี่เท่ากบั Speech Current ท่ีไหลเขา้ มาในวงจร คลื่นเสียงท่ีเกิดข้ึนน้นั ยอ่ มจะมีการสูญเสียไป
บา้ ง เนื่องจากมีการเปล่ียนรูปพลงั งาน ดงั น้นั Output ของคลื่นเสียง จะนอ้ ยกวา่ Input ของพลงั งาน
ไฟฟ้ าท่ีไดร้ ับที่ Receiver

2.3 ฮุกสวติ ช์

รูปที่ 2.6 แสดงบล็อกไดอะแกรมแสดงหนา้ ท่ีฮุกสวติ ช์
ท่ีมา : ศนู ยฝ์ ึกโทรคมนาคม องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย.

ฮุกสวติ ช์ (Hook Switch) เป็ นสวิตช์ 2 ทาง ทาหนา้ ที่เลือกวา่ จะให้สายโทรศพั ทต์ ่อเขา้
กบั วงจรกระดิ่ง (Ringer) หรือต่อกบั วงจรปากพูด หูฟัง โดยจะแสดงการเปลี่ยนแปลงแรงดนั และ
กระแสของเคร่ืองโทรศพั ทใ์ น 2 สถานะดว้ ยกนั คือ

1. Hook off คือสถานะท่ีมีการยกปากพดู หูฟัง (Handset) ข้ึน เม่ือเราตอ้ งการทาการ
โทร (Call request)

2. Hook on คือสถานะท่ีวาง Handset ลง เป็นการบอกวา่ ยกเลิกการติดต่อ
ในวงจรส่วนเช่ือมตอ่ คูส่ ายภายในจะมี Line Circuit ที่ทาหนา้ ท่ีตรวจสภาวะ On/Off

Hook ของโทรศพั ท์ โดยมี DC ไหลเมื่อเราทาการยกหูโทรศพั ทข์ ้ึน Handset-Operated Switch จะอยู่
ในตาแหน่ง Off hook เพ่ือท่ีจะทาการเรียก ซ่ึงจะมีการเชื่อมต่อครบวงจรโดยลา่ นแหล่งจ่ายไฟและ
อุปกรณ์ Exchange ลลก็คือ ทาให้มีกระแสไหลเกิดข้ึน และหากเราวาง Handset ลง ก็จะไปทาให้
Handset-Operated switch ไปอยูใ่ นตาแหน่ง On Hook ซ่ึงมีลลต่อการเปล่ียนแปลงแรงดนั และ
กระแสในสถานะดงั กล่าวดงั แสดงตามรูปที่ 2.6

ระดบั แรงดนั ท่ีจ่ายใหก้ บั เคร่ืองโทรศพั ทโ์ ดยปกติขององคก์ ารโทรศพั ทจ์ ะมีค่าประมาณ

44

- 48 VDC ซ่ึงเป็นคา่ แรงดนั ท่ีวดั ไดจ้ ากเส้นสญั ญาณ Tip (ข้วั บวก สายเส้นสีเขียว) และ Ring (ข้วั ลบ
สายเส้นสีแดง) ในสภาวะเมื่อเคร่ืองโทรศพั ทว์ างหู โดยคา่ แรงดนั ท่ีจ่ายไปยงั เคร่ืองโทรศพั ทจ์ ะมีอยู่
2 ระดบั คือ

1.ระดบั –24 VDC เป็ นค่าแรงดนั ท่ีวดั ไดจ้ ากเส้นสัญญาณ Tip (ข้วั บวก สายเส้นสี
เขียว) และ Ring (ข้วั ลบ สายเส้นสีแดง) ในสภาวะเมื่อเคร่ืองรับโทรศพั ทว์ างหู (On Hook) เปรียบ
เสมือนเปิ ดวงจร สภาวะน้ีค่าความตา้ นทานของเคร่ืองโทรศพั ทจ์ ะมีค่าสูงมากเป็ นอนนั ต์ จะมีแต่
เฉพาะวงจรกระด่ิงเท่าน้นั ท่ีตอ่ เขา้ ท่ีเครื่องโทรศพั ท์ วงจรท่ีออกแบบมาน้นั จะเป็ นวงจรท่ีจ่ายระดบั
แรงดนั DC ออกมาเป็นแบบจากดั กระแส

2.ระดบั –8 VDC เป็ นค่าแรงดนั ที่วดั ไดจ้ ากเส้นสัญญาณ Tip (ข้วั บวก สายเส้นสี
เขียว) และ Ring (ข้วั ลบ สายเส้นสีแดง) ในสภาวะเมื่อเครื่องโทรศพั ทอ์ ยใู่ นสภาพยกหู (Off Hook)
ค่าความตา้ นทานของเคร่ืองโทรศพั ท์ จะมีค่าต่าลงเพราะว่าจะมีแต่เฉพาะวงจรเสียงพูด (Speech
Circuit) เท่าน้นั ที่ต่ออยู่ แหล่งจ่ายไฟ –24 VDC เมื่อมี Load ต่อก็จะทาใหแ้ รงดนั ท่ีตกคร่อม Load
เดิมลดลงหรือเพยี งประมาณ –8 VDC เท่าน้นั

รูปที่ 2.7 แสดงลกั ษณะของ ฮุกสวติ ช์
ที่มา : ธวชั ชยั เลื่อนฉวี. (2533).

2.4 ปากพูดและหูฟัง (Handset)

รูปท่ี 2.8 แสดง ปากพดู และหูฟัง (Handset)
ท่ีมา : ธวชั ชยั เลื่อนฉวี. (2533).

45

ปากพดู และหูฟัง (Handset) โดยทวั่ ไปเราจะเรียกวา่ “มือถือ” หรือ หูโทรศพั ท์ เช่นมกั จะ
พดู วา่ ถือหูโทรศพั ท์ หรือ ยกหูโทรศพั ท์ เป็นตน้ หูโทรศพั ทจ์ ะทาหนา้ ท่ีเป็ นท่ีอยขู่ องปากพูดและ
หูฟัง จะออกแบบมือถือให้เหมาะสมง่ายต่อการพูดและฟังพร้อมๆกนั รูปร่างทวั่ ๆ ไป แสดงตาม
รูปท่ี 2.8

เนื่องจากภายในมือถือมีปากพูดและหูฟังอยภู่ ายใน เวลาโทรศพั ทต์ อ้ งให้ตาแหน่งปากพูด
อยใู่ กลป้ ากและหูฟังอยใู่ กลห้ ู จึงทาใหก้ ารสนทนาไดย้ นิ ซ่ึงกนั และกนั

2.5 ขดลวดเหนี่ยวนา
ขดลวดเหน่ียวนา (Induction Coil) ในเคร่ืองรับโทรศพั ท์ ทาหนา้ ท่ีปรับค่าอิมพิแดนซ์

(Impedance) ใหเ้ หมาะสมกบั สายและป้ องกนั ไม่ใหเ้ กิดสัญญาณรบกวนระหวา่ งปากพดู และหูฟัง
แต่ในเคร่ืองรุ่นใหม่ เฉพาะเคร่ืองที่มีอุปกรณ์สารก่ึงตวั นาอยดู่ ว้ ย จะไม่มีขดลวดเหน่ียวนาใหเ้ ห็น
แต่มีการออกแบบชดเชยดา้ นอื่นแทน

รูปที่ 2.9 แสดงการตอ่ ของขดลวดเหน่ียวนา
ที่มา : ธวชั ชยั เล่ือนฉวี. (2533).

2.6 หน้าปัทม์
หนา้ ปัทมโ์ ทรศพั ท์ (Dial) ทาหนา้ ท่ีให้ลโู้ ทรศพั ทห์ มุนหรือกดเลขหมายทางท่ีตอ้ งการ

เม่ือหมุนหรือกดแลว้ จะมีวงจรสร้างสัญญาณรหสั ข้ึนมาตามตวั เลขที่เรากดหรือหมุนส่งไปชุมสาย
โทรศพั ท์ ใหถ้ อดรหสั แลว้ คน้ หาลรู้ ับตอ่ ไป หนา้ ปัทมข์ องเคร่ืองโทรศพั ทม์ ี 2 อยา่ งคือ

1. แบบหมุน (Rotary)
2. แบบกดป่ ุม(Push Button)


Click to View FlipBook Version