The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2019-10-17 07:21:39

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน



เอกสารประกอบการสอน

การพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วอยา่ งย่ังยืน
Sustainable Tourism Development

ศราวุธ ผวิ แดง

บธ.ม. บรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑิต (การจดั การการทอ่ งเท่ยี ว)

คณะวิทยาการจดั การ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี

2558



คานา

เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนเล่มนี้ ได้เรียบเรียงข้ึนเพื่อ
วัตถุประสงค์ในการเป็นเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

(Sustainable Tourism Development) รหัสวิชา TM 12203 โดยมีเน้ือหาที่เก่ียวข้องกับความ

เป็นมาของการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน องค์ประกอบของการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน การท่องเท่ียวชุมชน
การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถ่ินในการจัดการการท่องเท่ียวแบบยั่งยืน การวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียวอย่าง
ย่ังยืน องค์ประกอบของแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน การพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการ
ท่องเที่ยวของชุมชน การเขียนแผนพัฒนาการท่องเท่ียว ผลกระทบจากการท่องเที่ยว ซ่ึงจะเป็นประโยชน์แก่ผู้
ศึกษาและผสู้ นใจท่วั ไป

ผู้เรียบเรียงขอกราบขอบพระคุณทุกๆท่าน ท่ีมีส่วนสนับสนุนในการเรียบเรียงเอกสารประกอบการ
สอนฉบับน้ีจนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้เรียบเรียงข้อรับผิดชอบทั้งหมดและหาก
ท่านใดมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมท่ีจะนามาปรับปรุงเอกสารฉบับนี้ให้ดีย่ิงข้ึนต่อไปผู้เรียบเรียงยินดีน้อมรับและ
ขอขอบคณุ ในความอนเุ คราะห์นน้ั มา ณ โอกาสนี้ด้วย

ศราวุธ ผวิ แดง
24 กนั ยายน 2558

ข หนา้

สารบญั ก

คานา............................................................................................................................. .... ฉ
สารบัญ............................................................................................................................. ญ
สารบัญภาพ..................................................................................................................... ฎ
สารบัญตาราง.................................................................................................................. 1
แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า................................................................................ 3
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 1.................................................................................. 3
บทที่ 1 ความเป็นมาของการท่องเท่ียวแบบยั่งยืน......................................................... 9
13
ประวัตคิ วามเปน็ มาของการท่องเทีย่ วแบบยง่ั ยืน............................................... 14
วาระ 21 (Agenda 21) กบั การทอ่ งเท่ียวอย่างย่งั ยืน...................................... 22
แนวคิดและความหมายของการทอ่ งเทีย่ วอย่างย่ังยนื ........................................
การใหค้ าจากดั ความของการท่องเทย่ี วอย่างย่งั ยนื ............................................ 26
ความหมายของการท่องเท่ียวยงั่ ยนื ................................................................... 29
ความจาเปน็ ที่จะต้องมกี ารทอ่ งเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื ............................................... 30
หลกั การจดั การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน................................................................. 31
บทสรุป............................................................................................................ . 32
แบบฝึกหดั ทา้ ยบท............................................................................................ 34
เอกสารอ้างองิ ................................................................................................... 34
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2.............................................................................. 36
บทท่ี 2 องค์ประกอบของการพัฒนาการท่องเที่ยวอยา่ งยงั่ ยืน.................................. 38
ความหมายของการพฒั นา................................................................................. 39
ลกั ษณะของการพัฒนา....................................................................................... 40
การพฒั นาอย่างย่ังยนื ......................................................................................... 44
องค์ประกอบของการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื ............................................................. 46
แนวทางการขบั เคล่ือนการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืนเพื่อการท่องเทย่ี วของไทย............ 50
องค์ประกอบของการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแบบยง่ั ยนื ........................................ 51
แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแบบย่งั ยืน.......................................... 52
ข้อควรคานงึ ของการพฒั นาการท่องเที่ยวแบบย่งั ยนื ......................................... 53
บทสรปุ ..............................................................................................................
แบบฝึกหัดท้ายบท.............................................................................................
เอกสารอา้ งองิ ....................................................................................................

สารบญั (ตอ่ ) ค

แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3................................................................................. หนา้
บทท่ี 3 การทอ่ งเท่ียวชมุ ชน........................................................................................... 54
55
หลกั การและความหมายของการท่องเท่ียวโดยชมุ ชน....................................... 55
ความหมายของการท่องเท่ยี วโดยชุมชน............................................................ 56
การท่องเท่ยี วชุมชนมขี ้อดหี รือข้อเสยี อยา่ งไร................................................... 58
หลกั ในการวางแผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วชมุ ชน................................................. 68
องค์ประกอบและข้ันตอนการพฒั นาการท่องเท่ียวชมุ ชน................................. 71
บทสรปุ .............................................................................................................. 76
แบบฝึกหัดทา้ ยบท............................................................................................. 77
เอกสารอ้างองิ .................................................................................................... 78
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 4................................................................................. 79
บทที่ 4 การมสี ว่ นร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการจัดการการทอ่ งเที่ยวอยา่ งย่งั ยนื ....... 81
ความหมายของการมีส่วนร่วม........................................................................... 81
ความหมายของการมสี ่วนร่วมของชมุ ชน.......................................................... 83
ลกั ษณะและข้นั ตอนการมีส่วนรว่ ม................................................................... 85
ประโยชน์ของการมสี ่วนร่วมของประชาชน..................................................... 90
แนวคิดเก่ียวกบั การมีส่วนรว่ มของชุมชนในการจัดการการท่องเท่ยี ว............... 91
ผู้มสี ว่ นเกย่ี วข้องหลกั ในการจัดการการทอ่ งเท่ยี วชุมชน................................... 93
วิธกี ารในการทจ่ี ะนาผทู้ ม่ี ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งเข้ามามสี ว่ นร่วม.................................. 96
บทสรปุ .............................................................................................................. 99
แบบฝกึ หัดทา้ ยบท............................................................................................. 100
เอกสารอา้ งองิ ................................................................................................... 101
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 5...............................................................................
บทท่ี 5 การวางแผนพฒั นาการท่องเที่ยวอย่างยงั่ ยนื .................................................. 102
กระบวนการการพฒั นาแหล่งท่องเท่ียวสู่ความยั่งยนื ........................................ 104
พฒั นาอย่างไรสู่การทอ่ งเทีย่ วชมุ ชนอยา่ งย่ังยนื ............................................... 104
ขน้ั ตอนในการพฒั นาสู่การท่องเทย่ี วชุมชน.....................................................
ต้นทุนและผลประโยชน์จากการทอ่ งเท่ยี ว........................................................ 107
การวางแผนกลยุทธ์การท่องเท่ยี วอยา่ งยั่งยืนในเชิงบรู ณาการ........................... 110
เน้ือแท้ของแผนการท่องเท่ยี วเชงิ ยุทธศาสตร์.................................................... 114
หลกั การของการวางแผนเชิงกลยุทธ์................................................................. 117
118

ง หน้า
119
สารบัญ (ต่อ) 121
123
การวางแผนท่องเทย่ี วเชิงกลยุทธ์-กระบวนการปฏบิ ตั ิ...................................... 124
การจัดทานโยบายด้านการท่องเทยี่ ว.................................................................. 125
บทสรปุ .............................................................................................................. 126
แบบฝกึ หัดทา้ ยบท............................................................................................. 128
เอกสารอ้างองิ .................................................................................................... 128
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6................................................................................. 143
บทท่ี 6 องค์ประกอบของแผนกลยุทธ์ในการพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแบบย่งั ยนื ............. 144
โครงสร้างพน้ื ฐานเพ่ือการทอ่ งเทย่ี ว................................................................. 146
มลภาวะ สิง่ อานวยความสะดวกและการบริการ................................................ 147
ทพ่ี ักอาศยั ........................................................................................................ 151
การวิเคราะห์ด้านอุปสงค์ตามสภาพทเี่ ป็นจริง.................................................. 151
การพฒั นาทีพ่ ักของนกั ท่องเที่ยว ร้านอาหาร การจบั จ่ายซื้อของ..................... 153
บรกิ ารทอ่ งเท่ียวและบริษัททัวร์....................................................................... 153
การนันทนาการและการบันเทิง........................................................................ 157
ระบบการดูแลสขุ ภาพ เหตุฉุกเฉนิ ระบบความปลอดภยั ................................. 158
แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว................................................................................................. 159
บทสรปุ ..............................................................................................................
แบบฝึกหัดท้ายบท............................................................................................. 160
เอกสารอ้างองิ .................................................................................................... 162
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 7............................................................................... 163
บทท่ี 7 การพัฒนาการมสี ว่ นร่วมทางการทอ่ งเทีย่ วของชุมชน................................. 164
การพัฒนาการมีส่วนรว่ มทางการทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชน...................................... 167
การประเมนิ ศกั ยภาพความพรอ้ มทางการท่องเที่ยวแบบย่ังยนื ของชมุ ชนท้องถน่ิ 169
การเตรยี มความพร้อมทางการทอ่ งเทยี่ วของชุมชนท้องถิ่น................................ 174
การพัฒนาชุมชนท้องถ่นิ เพ่ือให้สามารถรองรบั นักท่องเท่ียวคุณภาพ.........
แนวทางการพฒั นาองคืกรปกครองสว่ นท้องถ่นิ เพอ่ื สร้างศกั ยภาพการพฒั นา..... 176
การท่องเที่ยวสคู่ วามย่งั ยนื 177
แนวคดิ การมีส่วนรว่ มในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยง่ั ยนื สชู่ ุมชนทอ้ งถ่นิ ..... 178
บทสรุป..............................................................................................................
แบบฝึกหดั ทา้ ยบท.............................................................................................
เอกสารอ้างองิ ...................................................................................................

แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 8............................................................................... จ
บทท่ี 8 การเขียนแผนพฒั นาการท่องเท่ยี ว.................................................................
179
การพฒั นาแผนการทอ่ งเทย่ี ว............................................................................ 181
รูปแบบและโครงสรา้ งส่วนประกอบของแผนด้านดา้ ยภาพ.............................. 181
กลยุทธก์ ารพฒั นาด้านกายภาพ.................................................................... .... 183
การวางแผนและการพัฒนารสี อรท์ .................................................................. 185
สง่ิ ทตี่ ้องพจิ ารณาในการวางแผน..................................................................... 187
การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว.................................................................... 188
การนาแผนการพฒั นาการท่องเท่ยี วไปปฏิบัติ.................................................. 196
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 9............................................................................... 201
บทที่ 9 ผลกระทบจากการท่องเทีย่ ว......................................................................... 179
ผลกระทบจากการท่องเทยี่ ว............................................................................ 181
การประเมินผลกระทบจากการท่องเท่ียว........................................................ 181
ผลกระทบของการทอ่ งเทย่ี วตอ่ ชมุ ชนท้องถ่นิ ................................................ 183
บทสรุป.............................................................................. ...............................
แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท............................................................................................ 200
เอกสารอา้ งอิง................................................................................................... 203
บรรณานกุ รม................................................................................................................. 204
ประวตั ิผู้เขียน................................................................................................................ 222
226



สารบญั ภาพ

ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 1.1 ววิ ฒั นาการแนวคดิ เกย่ี วกับการพัฒนาการท่องเทย่ี วอยา่ งยั่งยืน 4
ภาพท่ี 1.2 กรอบแนวคิดของมุมมองการทอ่ งเท่ียวเชงิ อนรุ กั ษ์ 7
ภาพท่ี 1.3 รปู แบบกิจกรรมการท่องเทยี่ วเชิงอนุรักษ์ 8
ภาพที่ 1.4 ความยง่ั ยนื และกลุ่มทุนตา่ งๆ 12
ภาพท่ี 1.5 นิยามทอ่ งเที่ยวอย่างยั่งยนื ของจดุ หมายปลายทางการ 14
ภาพที่ 1.6 การท่องเท่ยี วอย่างย่งั ยนื 16
ภาพที่ 1.7 การทอ่ งเที่ยวอย่างย่ังยืน บ้านบุไทรโฮมสเตย์ 17

ภาพท่ี 1.8 การใหค้ วามรู้ในดา้ นการทอ่ งเทย่ี วอย่างยง่ั ยืนกับเยาวชน 20
ภาพท่ี 1.9 ชาวไตห้ วันนับพนั แหร่ มุ จับโปเกมอน 21
ภาพท่ี 1.10 การทอ่ งเท่ียวแบบย่ังยนื เก่ยี วพนั กับกลุม่ ผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียหลายกลุ่ม 22
ภาพที่ 1.11 หลกั การสาหรับการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน 23
ภาพที่ 2.1 องคป์ ระกอบหลัก 5 ด้านของการพฒั นาชมุ ชน 32

ภาพที่ 2.2 การพฒั นาการท่องเท่ียวอย่างยง่ั ยืนโดยร่วมประกอบอาหาร 33

ประจากล่มุ ชาติพนั ธุ์ไทดา
ภาพท่ี 2.3 ลักษณะของการพฒั นา 34

ภาพท่ี 2.4 การพฒั นาศักยภาพการท่องเท่ียวชมุ ชนเชงิ สร้างสรรค์ 35
ภาพท่ี 2.5 องคป์ ระกอบหลกั ของการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยนื 37

ภาพท่ี 2.6 แผนผงั การพฒั นาอยา่ งยั่งยืนใน 37

ภาพที่ 2.7 การพฒั นาอย่างยัง่ ยืน 42

ภาพที่ 2.8 ความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเท่ยี วอยา่ งย่งั ยนื และการท่องเที่ยวประเภทอืน่ ๆ 44
ภาพท่ี 2.9 การพฒั นาการท่องเทย่ี วอย่างยนื ยืนโดยคานึงถึงสภาพแวดลอ้ มโดยรวมของพ้นื ที่ 45
ภาพท่ี 2.10 ประเดน็ โตเ้ ถยี งในการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วอย่างยัง่ ยนื 46
ภาพที่ 3.1 การทอ่ งเที่ยวชมุ ชนกลุ่มชาติพนั ธุไ์ ทดา 54
ภาพท่ี 3.2 ผลกระทบการจัดการทอ่ งเท่ียวชุมชน 55
ภาพท่ี 3.3 การท่องเทย่ี วชมุ ชน กลุ่มชาติพันธุ์ไทดา 61
ภาพที่ 3.4 หลักในการวางแผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวชมุ ชน 63
ภาพที่ 3.5 การค้นหาอัตลกั ษณ์ของชมุ ชนเพ่ือพฒั นาสกู่ ารทอ่ งเทยี่ วเชิงสรา้ งสรรค์ 64
ภาพที่ 3.6 กระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยวชมุ ชน 69
ภาพที่ 3.7 หลกั การท่องเทย่ี วชุมชน 70



สารบญั ภาพ (ตอ่ )

ภาพที่ หน้า
ภาพท่ี 4.1 การมสี ่วนร่วมของชมุ ชนในการวางแผนการท่องเที่ยวชมุ ชนเชิงสร้างสรรค์ 79
ภาพที่ 4.2 แสดงระดับการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน 80
ภาพท่ี 4.3 ผูม้ สี ว่ นเก่ียวข้องหลกั ของการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน 86
ภาพที่ 4.4 การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนในการถ่ายทอดภูมิปัญญา 86
ภาพที่ 4.5 การมสี ่วนร่วมของชมุ ชนในการจดั การการท่องเทย่ี วเชิงสรา้ งสรรค์ 88
ภาพที่ 4.6 การประชุมผมู้ ีสว่ นเกี่ยวข้องในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 90

การทอ่ งเที่ยวจงั หวัดอุดรธานี 91
ภาพที่ 4.7 ผูท้ ่เี ขา้ มามีสว่ นร่วมในการดาเนินงาน 98
ภาพที่ 5.1 กระบวนการการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วสู่ความย่งั ยนื 99
ภาพที่ 5.2 แนวคิดการวางแผนการจดั การจุดหมายปลายทาง 101
ภาพท่ี 5.3 การตอ้ นรบั นักท่องเท่ียวจากประเทศเกาหลีใต้ โดยการแลกเปลีย่ นวฒั นธรรม 102
ภาพท่ี 5.4 การเขา้ ถึงแหลง่ ท่องเทีย่ วเชิงวฒั นธรรม 102
ภาพท่ี 5.5 การจดั การที่พักแบบโฮมสเตย์ 104
ภาพที่ 5.6 ประเพณีแหต่ ้นดอกไม้ 106
ภาพที่ 5.7 รายละเอียดการขอความคิดเหน็ จากชมุ ชน 107
ภาพท่ี 5.8 ตน้ ทนุ และผลประโยชนจ์ ากการพฒั นาการท่องเทีย่ วในด้านตา่ งๆ 111
ภาพที่ 5.9 ปจั จัยทีน่ าไปสคู่ วามล้มเหลวของการวางแผนแบบดั้งเดิม 116
ภาพท่ี 5.10 กระบวนการวางแผนท่องเทย่ี ว 123
ภาพท่ี 6.1 โครงสรา้ งพื้นฐานเพื่อการทอ่ งเท่ียว 125
ภาพที่ 6.2 โครงสรา้ งพ้นื ฐานเพื่อการทอ่ งเทย่ี ว 126
ภาพท่ี 6.3 ความรู้เบอื้ งต้นเก่ยี วกับการขนส่งเพ่อื การท่องเทีย่ ว 127
ภาพท่ี 6.4 ตัวอยา่ งสายการบนิ ภายในประเทศ 133
ภาพที่ 6.5 การบาบัดและกาจดั น้าเสยี 134
ภาพท่ี 6.6 อีกดา้ นของงานฟูลมนู ปารต์ ี้ 137
ภาพที่ 6.7 โครงสรา้ งพ้นื ฐานเพ่ือการท่องเทยี่ ว 161
ภาพท่ี 7.1 แนวทางการดาเนนิ งานด้านการพัฒนาการทอ่ งเทยี่ ว
164
ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ 166
ภาพท่ี 7.2 บทบาทขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นต่อการพฒั นาการท่องเทยี่ วอย่างยั่งยืน
ภาพที่ 7.3 แนวทางการพฒั นาองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ เพอื่ สร้างศกั ยภาพ 167

การพฒั นาการท่องเทยี่ วสคู่ วามย่งั ยนื
ภาพท่ี 7.4 แนวคดิ Demand Based to Supply-Based



สารบญั ภาพ (ตอ่ )

ภาพที่ หน้า
ภาพท่ี 7.5 การปรับมุมมอง/วสิ ัยทัศน์การพัฒนาการท่องเท่ยี ว 167

ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่
ภาพที่ 8.1 ทิวทศั นแ์ มน่ า้ โขงเม่ือคร้งั ยงั ไมไ่ ด้รบั การพัฒนาจดุ ชมววิ ผาตากเสื้อ 179
ภาพท่ี 8.2 การเปรียบเทยี บกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ท่ปี ระกอบด้วย 3-5 ข้ันตอน 195
ภาพท่ี 8.3 กระบวนการบริหารยุทธศาสตรท์ ปี่ ระกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอน 196
ภาพที่ 8.4 4 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งกระบวนการบริหารยทุ ธศาสตร์ 197

ทป่ี ระกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอนกบั การวางแผนยทุ ธศาสตร์ทปี่ ระกอบด้วย 5 ข้นั ตอน
ภาพท่ี 9.1 ปญั หาขยะจากการท่องเทีย่ ว 205
ภาพที่ 9.2 การดแู ลความปลอดภัยให้กับนักท่องเท่ียว 209



สารบัญตาราง

ตาราง หน้า
ตารางที่ 1.1 คาจากัดความการทอ่ งเทยี่ วอย่างยงั่ ยนื 18
ตารางท่ี 1.2 เปรยี บเทียบการทอ่ งเทย่ี วแบบยง่ั ยืน กับการท่องเที่ยวรูปแบบอนื่ 21
ตารางที่ 2.1 องคป์ ระกอบของการพฒั นาอย่างยงั่ ยนื 38
ตารางที่ 3.1 ทัศนคติโดยรวมในแง่บวกเก่ียวกับการท่องเท่ยี วชุมชน 56
ตารางที่ 3.2 ทัศนคติโดยรวมในแง่ลบเก่ยี วกับการท่องเทย่ี วชมุ ชน 57
ตารางที่ 3.3 คาถามท่ีสามารถนามาใชใ้ นการตคี วามแบบสวอ็ ทได้ 59
ตารางที่ 3.4 ตวั อย่างคาถามทีเ่ กย่ี วกบั การตคี วามระหวา่ งผลเสียและผลประโยชน์ 60
65
ทอ่ี าจเกิดขนึ้ ในชุมชน 65
ตารางท่ี 3.5 การค้นหาส่ิงที่ทาให้ชุมชนและสถานท่นี ้นั พิเศษขึ้นมากกว่าทอี่ ืน่ 67
ตารางท่ี 3.6 คาถามเพื่อเขา้ ใจคณุ ค่าของชุมชนและส่อื สารคุณคา่ ของชุมชนตอ่ ภายนอก 156
ตารางท่ี 3.7 ลาดบั ขนั้ ตอนการพฒั นาการท่องเท่ียวชุมชน 207
ตารางท่ี 7.1 ศักยภาพความพร้อมของชมุ ชน 210
ตารางที่ 9.1 การประเมินผลกระทบการท่องเท่ียว 211
ตารางท่ี 9.2 การประเมนิ ผลกระทบสงั คมและเศรษฐกจิ (Social and Economic) 212
ตารางท่ี 9.3 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม (Environmental Impacts Matrix) 213
ตารางที่ 9.4 การแยกแยะสว่ นเกย่ี วข้องต่างๆ (stakeholder identification) 214
ตารางที่ 9.5 การวเิ คราะหผ์ มู้ ีส่วนเกย่ี วข้อง (stakeholder Analysis) 216
ตารางที่ 9.6 การวเิ คราะห์ผมู้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง (stakeholder Analysis) 217
ตารางที่ 9.7 ผลกระทบของการท่องเทย่ี วต่อชมุ ชนท้องถ่ินดา้ นเศรษฐกจิ 218
ตารางท่ี 9.8 ผลกระทบของการท่องเทย่ี วต่อชมุ ชนทอ้ งถ่ินดา้ นสังคม 219
ตารางที่ 9.9 ผลกระทบของการท่องเทย่ี วต่อชุมชนท้องถน่ิ ด้านวฒั นธรรม
ตารางท่ี 9.10 ผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อชมุ ชนทอ้ งถ่ินด้านสง่ิ แวดล้อม



แผนบรหิ ารการสอนประจารายวชิ า

รายวิชา การพัฒนาการท่องเทยี่ วอยา่ งยั่งยืน (รหสั TM 12203)
Sustainable Tourism Development

จานวนหน่วยกิจ 3 (2-2-5)
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาความเป็นมา แนวคิด หลักการ และองค์ประกอบของการจัดการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน
การจัดการท่องเที่ยวชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถ่ินในการจัดการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนใน
รูปแบบต่างๆการวางแผนและการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน การจัดการส่ิงแวดล้อมอย่างย่ังยืน
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และข้อกาหนดท่ีเก่ียวข้องกับการ
ท่องเทยี่ วอยา่ งยั่งยนื การปฏิบัติในรปู ของแผนงานหรือโครงการพฒั นาการท่องเที่ยวอยา่ งยั่งยนื

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้นักศึกษารู้และเข้าใจความเป็นมา แนวคิด หลักการและองค์ประกอบของการ

จัดการท่องเทีย่ วอยา่ งยง่ั ยืนได้
2. เพ่ือให้นักศึกษารู้และเข้าใจหลักการจัดการท่องเท่ียวชุมชนและการมีส่วนร่วมของ

ชุมชนในการจัดการการท่องเท่ียวอย่างยงั่ ยนื ในรูปแบบต่างๆได้
3. เพ่ือให้นักศึกษารู้และเข้าใจการวางแผนและการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การ

จดั การสิง่ แวดล้อมอย่างยั่งยืนและการมีส่วนร่วมของชมุ ชนได้
4. เพ่ือให้นักศึกษาบูรณาการองค์ประกอบของแผนในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน

นาไปสคู่ วามพอเพยี งได้
5. เพ่ือให้นักศึกษาเขียนแผนหรือแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนพร้อมทั้ง

ศึกษาผลกระทบจากการท่องเที่ยวได้

ฒฐ

เนอื้ หา จานวน 3 ช่ัวโมง
บทท่ี 1 ความเปน็ มาของการทอ่ งเท่ียวแบบยั่งยนื
ประวัติความเป็นมาของการท่องเท่ยี วแบบย่งั ยืน
วาระ 21 (Agenda 21) กับการท่องเทย่ี วอย่างยัง่ ยืน
แนวคิดและความหมายของความยัง่ ยืน
การให้คาจากดั ความของการทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยง่ั ยนื
ความหมายของการท่องเท่ยี วอยา่ งย่ังยนื
ความจาเปน็ ทจี่ ะต้องมกี ารท่องเทยี่ วอยา่ งยั่งยืน
หลกั การจดั การท่องเทย่ี วแบบยง่ั ยนื
บทที่ 2 องค์ประกอบของการพฒั นาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน จานวน 6 ชว่ั โมง
ความหมายของการพฒั นา
ลกั ษณะของการพฒั นา
การพัฒนาอย่างย่งั ยนื
องคป์ ระกอบของการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืน
แนวทางการขับเคล่ือนการพัฒนาอยา่ งยั่งยืนเพ่ือการท่องเทย่ี วของไทย
แนวคดิ เกย่ี วกบั การพฒั นาการท่องเทยี่ วแบบย่ังยืน
ขอ้ ควรคานึงของการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแบบยั่งยืน
บทที่ 3 การจัดการทอ่ งเทยี่ วชมุ ชน จานวน 6 ชัว่ โมง
หลักการและความหมายของการทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชน
ความหมายของการท่องเท่ยี วโดยชุมชน
การท่องเทย่ี วชุมชนมีข้อดหี รือข้อเสียอยา่ งไร
หลกั ในการวางแผนพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วชมุ ชน
องคป์ ระกอบและข้นั ตอนการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวชมุ ชน
บทท่ี 4 การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนท้องถ่นิ จานวน 6 ชั่วโมง
ในการจัดการการท่องเทีย่ วอย่างย่ังยนื
ความหมายของการมสี ่วนรว่ ม
ความหมายของการมีสว่ นรว่ มของชุมชน
ลักษณะและข้ันตอนการมสี ว่ นรว่ ม
ประโยชน์ของการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
แนวคิดเก่ยี วกับการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนในการจดั การการท่องเทย่ี ว
ผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้องหลกั ในการจัดการการท่องเทย่ี วชุมชน
วธิ ีการในการที่จะนาผทู้ ่มี ีสว่ นเกยี่ วข้องเข้ามามีสว่ นร่วม
บทที่ 5 การวางแผนพฒั นาการทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่งั ยืน จานวน 6 ชั่วโมง
กระบวนการการพฒั นาแหล่งท่องเท่ียวสู่ความยั่งยืน
พัฒนาอย่างไรสูก่ ารท่องเทีย่ วชุมชนอยา่ งยัง่ ยนื
ข้นั ตอนในการพัฒนาสู่การท่องเทย่ี วชุมชน
ต้นทุนและผลประโยชนจ์ ากการท่องเท่ยี ว



การวางแผนกลยทุ ธก์ ารท่องเที่ยวอยา่ งยั่งยืนในเชิงบูรณาการ
เนอ้ื แท้ของแผนการท่องเที่ยวเชิงยทุ ธศาสตร์
หลกั การของการวางแผนเชิงกลยทุ ธ์
การวางแผนท่องเทยี่ วเชงิ กลยุทธ์-กระบวนการปฏิบตั ิ
การจัดทานโยบายด้านการท่องเทยี่ ว
บทท่ี 6 องค์ประกอบของแผนกลยุทธใ์ นการพฒั นาการท่องเทีย่ วแบบย่ังยืน จานวน 6 ช่ัวโมง
โครงสร้างพืน้ ฐานเพื่อการทอ่ งเทีย่ ว
มลภาวะ สงิ่ อานวยความสะดวกและการบริการ
ทีพ่ ักอาศยั
การวิเคราะห์ด้านอปุ สงคต์ ามสภาพทเ่ี ปน็ จรงิ
การพัฒนาท่พี ักของนกั ท่องเท่ียว ร้านอาหาร การจบั จา่ ยซื้อของ
บรกิ ารทอ่ งเทีย่ วและบริษัททัวร์
การนนั ทนาการและการบันเทิง
ระบบการดูแลสุขภาพ เหตฉุ ุกเฉนิ ระบบความปลอดภัย
แหล่งทอ่ งเทยี่ ว
บทที่ 7 การพฒั นาการมีส่วนรว่ มทางการท่องเที่ยวของชมุ ชน จานวน 6 ชั่วโมง
การพฒั นาการมสี ว่ นร่วมทางการทอ่ งเที่ยวของชมุ ชน
การประเมนิ ศกั ยภาพความพรอ้ มทางการท่องเทีย่ วแบบยงั้ ยนื ของชมุ ชนท้องถน่ิ
การเตรยี มความพร้อมทางการทอ่ งเทย่ี วของชุมชนท้องถนิ่
การพัฒนาชุมชนท้องถิน่ เพื่อให้สามารถรองรับนักท่องเทยี่ วคณุ ภาพ
แนวทางการพฒั นาองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ เพอื่ สร้างศักยภาพการพัฒนาการท่องเท่ยี ว
สู่ความยัง่ ยืน
แนวคดิ การมสี ่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเทีย่ วแบบยั่งยืนของชุมชนท้องถนิ่
บทที่ 8 การเขยี นแผนพฒั นาการท่องเที่ยว จานวน 6 ชัว่ โมง
การพฒั นาแผนการทอ่ งเท่ยี ว
รปู แบบและโครงสร้างสว่ นประกอบของแผนด้านดา้ ยภาพ
กลยทุ ธ์การพฒั นาด้านกายภาพ
การวางแผนและการพฒั นารีสอร์ท
สง่ิ ทีต่ ้องพิจารณาในการวางแผน
การบริหารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
การนาแผนการพฒั นาการทอ่ งเท่ียวไปปฏิบตั ิ
บทท่ี 9 ผลกระทบการท่องเที่ยว จานวน 6 ชว่ั โมง
ผลกระทบจากการท่องเท่ยี ว
การประเมนิ ผลกระทบจากการทอ่ งเท่ียว
ผลกระทบของการท่องเที่ยวตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ



วิธสี อน
1. ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยนื
2. อาจารย์ผสู้ อนใหห้ วั ขอ้ ผู้เรียนอภิปรายผลและสรุป
3. ใชป้ ญั หาเป็นฐาน ถาม-ตอบผู้เรียน
4. บรรยายและยกตวั อย่างประกอบ

กจิ กรรม 1. แบ่งกลมุ่ ให้นักศึกษาสรุปเนือ้ หาสาคัญและนาเสนอ
2. การแสดงบทบาทสมมติ
3. ค้นควา้ เพิ่มเติมจากอนิ เตอรเ์ น็ต
4. ตอบคาถามระหวา่ งบรรยาย
5. ทาแบบฝกึ หัดท้ายบท

ส่อื การเรยี นการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาการท่องเทีย่ วอย่างย่งั ยนื
2. PowerPoint ประกอบการบรรยาย
3. ภาพประกอบตา่ งๆจากอินเตอรเ์ น็ต

การวดั และประเมินผล 60%
คะแนนระหวา่ งภาค
10%
การมสี ว่ นรว่ มในช้ันเรียน 10%
การเขา้ ชน้ั เรยี น 10%
ศกึ ษาคน้ ควา้ ในงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย 30%
การทารายงานและอภิปรายกลมุ่
การสอบกลางภาค 40%
คะแนนปลายภาค รวม 100%

การประเมินผล คะแนน เกรด A 75 – 79 คะแนน เกรด B+
80 – 100 คะแนน เกรด B 65 – 69 คะแนน เกรด C+
70 – 74 คะแนน เกรด C 55 – 59 คะแนน เกรด D+
60 – 64 คะแนน เกรด D 0 – 49 คะแนน เกรด E
50 – 54



แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1
ความเปน็ มาของการทอ่ งเทยี่ วแบบยง่ั ยนื

เนื้อหาประจาบท
1. ประวัติความเปน็ มาของการท่องเทยี่ วแบบยัง่ ยนื
2. วาระ 21 (Agenda 21) กับการท่องเทย่ี วอย่างยงั่ ยนื
3. แนวคดิ และความหมายของความยั่งยนื
4. การให้คาจากัดความของการทอ่ งเที่ยวอย่างยง่ั ยืน
5. ความหมายของการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน
6. ความจาเป็นทีจ่ ะต้องมีการทอ่ งเท่ียวแบบย่ังยนื
7. หลักการสาหรับการท่องเท่ียวอยา่ งย่ังยนื
8. สรปุ
9. แบบฝึกหัดทา้ ยบท

วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม
1. สามารถอธิบายประวัติความเปน็ มาของการท่องเท่ยี วแบบย่งั ยืนได้
2. สามารถอธิบายวาระ 21 (Agenda 21) กบั การท่องเท่ียวอย่างยัง่ ยืนได้
3. อธบิ ายแนวคดิ และความหมายของความย่ังยนื ได้
4. อธบิ ายคาจากดั ความของการทอ่ งเท่ยี วอยา่ งย่ังยนื ได้
5. สรุปความหมายของการท่องเท่ยี วอย่างยั่งยนื ได้
6. แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับความจาเปน็ ท่ีจะตอ้ งมกี ารท่องเท่ียวแบบยั่งยืนได้
7. สรุปหลักการสาหรับการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนได้

วิธีสอน
1. ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอนวชิ าการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยงั่ ยืน
2. ใหผ้ ู้เรียนอภปิ รายผลและสรปุ
3. บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ

กิจกรรม
1. แบง่ กลมุ่ ให้นักศึกษาสรุปเน้ือหาสาคัญและนาเสนอ
2. ค้นคว้าเพมิ่ เติมจากอินเตอรเ์ นต็
3. ตอบคาถามระหว่างบรรยาย
4. ทาแบบฝกึ หัดท้ายบท

2
สอื่ การเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการพฒั นาการท่องเทยี่ วอย่างยง่ั ยืน
2. PowerPoint ประกอบการบรรยาย
3. ภาพประกอบตา่ งๆจากอินเตอรเ์ นต็
การวัดและประเมนิ ผล
1. ประเมนิ ผลจากการนาเสนอรายงาน
2. ประเมินผลจากการทาแบบฝกึ หัดท้ายบท
3. ประเมินจากการเข้าชนั้ เรียน

3

บทที่ 1
ความเป็นมาของการทอ่ งเทีย่ วแบบย่งั ยืน

การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน เป็นจุดเริ่มต้นพื้นฐานของการท่องเท่ียวและเป็นแนวทางในการพัฒนา
อุตสาหกรรมท่องเท่ียวของโลกให้มีความเข้มแข็งโดยต้ังอยู่บนพ้ืนฐานการอนุรักษ์ ซ่ึงประเทศไทยการ
ท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมที่ทารายได้อันดับ 1 ให้กับประเทศไทย ซ่ึงจะต้องให้ความสาคัญในการบริหาร
จัดการรูปแบบการท่องเที่ยวต่างๆ ที่จะไม่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรของประเทศ เพื่อทานุบารุงรักษา
ทรัพยากรต่างๆไว้ให้ลูกหลานในอนาคต ซ่ึงการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจะต้องให้ความสาคัญกับ เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อมและเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและ
รองรับการเปล่ียนแปลงของโลกเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 การท่องเท่ียวจะต้องเป็นการท่องเท่ียวแบบมีส่วนร่วม
และเนน้ การอนุรักษ์เพ่ือสร้างความเข้มแขง็ ให้กับชุมชนในมิติต่างๆและเป็นรากฐานของการท่องเทีย่ วอย่าง
ยั่งยนื ในอนาคตเป็นการตอ่ สู้กบั ระบบทนุ นยิ มที่กาลังแพรร่ ะบาดไปยงั แหล่งทอ่ งเทย่ี วต่างๆในประเทศไทย
บทนจี้ ะกล่าวถงึ ประวัติความเปน็ มาของการท่องเทีย่ วแบบย่ังยืน วาระ 21 (Agenda 21) กบั การท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืน แนวคิดและความหมายของความย่ังยืน การให้คาจากัดความของการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน
ความหมายของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ความจาเป็นท่ีจะต้องมีการท่องเท่ียวแบบยั่งยืน หลักการสาหรับ
การทอ่ งเท่ียวอยา่ งยง่ั ยืน
ประวัติความเปน็ มาของการทอ่ งเท่ียวแบบย่ังยนื

การท่องเท่ียวในยุคที่ผ่านมาให้ความสาคัญกับการท่องเที่ยวที่ให้ความสนุกเพลิดเพลินเพียงอย่าง
เดียว มีการนาทรัพยากรทุกๆอย่างนามาพัฒนาเพื่อรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยไม่
คานึงถงึ ผลกระทบจากการท่องเท่ียวทเ่ี กิดจากจานวนนกั ท่องเทีย่ วและการขยายตวั ของเศรษฐกิจท่ตี ้องการ
พฒั นาสง่ิ อานวยความสะดวกต่างๆในการรองรับการท่องเท่ียว ซงึ่ ส่ิงท่ตี ามมา คอื จานวนนักท่องเทย่ี วท่ีมาก
เกินไป การสร้างที่พักท่ีบุกรุกเขตป่าสงวน การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของคนในชุมชน เป็นต้น ซึ่งสิ่ง
เหล่าน้ีก่อให้เกิดแนวคิดของการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนข้ึนมา โดยการท่องเที่ยวแบบย่ังยืน มีวิวัฒนาการมา
จากแนวคิดการท่องเท่ียวท่ีมาเป็นกลุ่มใหญ่ส่งผลต่อการบริหารจัดการในทุกๆด้าน จึงเกิดแนวคิดเร่ืองการ
บริหารจัดการนักท่องเที่ยวขึ้นมา สอดคล้องกับแนวคิดเรื่องการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และส่งผลไปสู่แนวคดิ
การทอ่ งเท่ยี วแบบยัง่ ยืนในปจั จุบนั

เลศิ พร ภาระสกลุ (2551 : 1-4) ได้กล่าวสรปุ ไว้ในหนงั สือ “การพฒั นาการท่องเท่ียวอยา่ งยั่งยืน”
ว่าเมื่อ30 ปีก่อนที่แนวคิดเก่ียวกับการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนจะเกิดข้ึนในทศวรรษที่ 1990 น้ัน นักวิชาการ
ด้านการท่องเท่ียวได้เร่ิมช้ีใหเ้ ห็นถึงผลกระทบต่างๆ ของการท่องเท่ียวแบบมหาชนในราวทศวรรษที่ 1960
ซึ่งเกิดจากการท่ีคนมีเวลาว่างมากขึ้น รูปแบบกิจกรรมการพักผ่อนหย่อนใจมีมากขึ้น ในปี ค.ศ. 1973
Young ตีพิมพ์หนังสือช่ือ Tourism : Blessing or Blight? โดยชี้ให้เห็นผลกระทบทางด้านลบของการ
ท่องเที่ยว ทาให้องค์กรภาครัฐต่างๆ เริ่มเข้ามาจัดการการท่องเที่ยว โดยใช้วิธีการบริหารจัดการ
นักท่องเท่ียว ซ่ึงเป็นวิธีการบรรเทาปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากนักท่องเท่ียวที่มีจานวนมากเกินไป เป็นการ
แกป้ ญั หาในวงแคบและไมไดแ้ กไ้ ขเปลี่ยนแปลงการท่องเที่ยวท้งั ระบบต่อมาในทศวรรษที่ 1980 มกี ารใช้คา
ว่า green tourism เก่ียวกับการลดต้นทุนทางด้านสิ่งแวดล้อม และการใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมเพื่อ
การทอ่ งเทย่ี วใหม้ ากท่สี ุดในปี ค.ศ. 1991 การทอ่ งเที่ยวอังกฤษ (English Tourism Board) ตีพิมพร์ ายงาน
ชื่อ Tourism and the Environment : Maintaining the Balance เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการ
ท่องเท่ียวให้เป็นมิตรส่ิงแวดล้อม ตั้งแต่ทศวรรษท่ี 1990 คาว่า การท่องเที่ยวแบบย่ังยืน (Sustainable

4

tourism) เริ่มมีการใช้การมากข้ึน ซึ่งหมายถึง การท่องเที่ยวที่ตระหนักถึงความสาคัญของชุมชนท้องถ่ิน
การดูแลเอาใจใส่ในสวัสดิการของผู้ปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว และความต้องการท่ีจะ
แสวงหาการพัฒนาทางเศรษฐกิจจากการท่องเท่ียวเพื่อประโยชน์ของชุมชนเจ้าบ้านที่รองรับนักท่องเที่ยว
John Swarbrooke (1998) ได้แสดงแนวคิดของวิวัฒนาการของแนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
ดังภาพที่ 1.1 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงข้ันตอนการพัฒนาแนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน
ตามลาดับเวลา

ววิ ัฒนาการแนวคดิ เก่ยี วกับการพัฒนาการท่องเท่ียวอยา่ งยั่งยืน

1960 1980
เร่ิมมกี ารรับรู้เกย่ี วกับ เกดิ แนวคดิ เกีย่ วกับการ
ผลกระทบของการขยายตวั ของ ทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื การอนุรักษ์
การท่องเทย่ี วแบบมหาชน ส่ิงแวดล้อม (Green tourism)

1970 1990
เกดิ แนวคดิ เกี่ยวกับการ เกิดแนวคิดเกย่ี วกับ
บรหิ ารจดั การผู้มาเยือน การท่องเท่ยี วอย่างย่งั ยนื
(Visitor management) (Sustainable tourism)

ภาพที่ 1.1 วิวัฒนาการแนวคิดเกีย่ วกับการพัฒนาการท่องเทีย่ วอยา่ งย่ังยืน
ทม่ี า : John Swarbrooke (1998 : 8)

เลิศพร ภาระสกุล (2551) ไดอ้ ธิบายถงึ แนวคิดของความยงั่ ยืน โดยความย่ังยนื เปน็ แนวคดิ ที่มีการ
อ้างถึงบ่อยมากเมื่อพูดถึงการพัฒนาการท่องเท่ียว แต่ในขณะเดียวกันคนส่วนมากไม่ว่าจะเป็นนักวิชาการ
และผูป้ ฏิบัติท่อี ยูใ่ นธรุ กิจด้านการท่องเท่ียวก็เข้าใจความหมายของคาวา่ ความยัง่ ยืนน้อยมากและอาจจะพูด
ได้ว่ายังมีความเห็นท่ีแตกต่างกันในการให้คาจากัดความของคาคานี้อยู่มาก เพราะกรอบแนวคิดเชิง
วิเคราะหถ์ ึงความหมายของคาว่าความย่ังยืนก็เป็นกรอบกว้างๆ ทรี่ วมเอาประเด็นทางด้านเศรษฐกจิ สังคม
วฒั นธรรม และส่งิ แวดล้อมเข้าไวด้ ้วยกนั ในขณะทีม่ ีการใช้ประเดน็ ทางด้านจรยิ ธรรมและความยตุ ิธรรมเป็น
พื้นฐานสาหรับการอภิปรายความหมายของคาว่าความยั่งยืน หากเราลองเข้าไปค้นหาความยั่งยืนจากฐาน
ทางด้านส่ิงแวดล้อมเราสามารถจะสืบค้นหลักฐานของการเร่ิมต้นท่ีคนเร่ิมจะให้ความสาคัญกับโลกกับการ
ปกป้องสังคมในตอนปลายศตวรรษที่ 19 เม่ือเร่ิมการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของโลกซ่ึงได้แก่
อุทยานแห่งชาติเยลโล่ว์สโตนในสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1872 การจัดต้ังราชสมาคมเพ่ือคุ้มครองนกขึ้นใน
ประเทศอังกฤษใน ค.ศ. 1889 และ National Trust ในประเทศอังกฤษใน ค.ศ. 1894 ในตอนปลาย
ศตวรรษท่ี 19 และศตวรรษท่ี 20 วชิ าเศรษฐศาสตร์ก็ให้ความสนใจกบั ประเด็นต่างๆ ท่เี ก่ยี วกบั ความยั่งยืน
เน่ืองจากเป็นศาสตร์ที่ให้ความสาคัญกับการใช้ทรัพยากรต่างๆ ท่ีมีอยู่อย่างจากัดในลักษณะท่ีเหมาะสม
และประเด็นทางด้านความยั่งยืนหลายอย่างก็มีการศึกษากันอย่างกว้างขวาง ทศวรรษท่ี 1960 เป็น
ช่วงเวลาที่มวลมนุษยชาติใหค้ วามสนใจกับโลกที่เรากาลังอาศัยอยู่มากข้ึน ซ่ึงอาจจะเป็นการตอบสนองต่อ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วในยุคหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 และอาจจะเป็นเพราะเกิดความ

5
ตระหนักในความเปราะบางของโลกใบน้ี ต่อมาในตอนต้นของทศวรรษที่ 1970 องค์การสหประชาชาติได้
จดั การประชมุ ว่าดว้ ยส่ิงแวดลอ้ มของมนุษย์ขน้ึ เปน็ ครงั้ แรกท่ีกรุงสตอ๊ กโฮล์ม เมอื งหลวงของประเทศสวีเดน
ในปี ค.ศ. 1972 จากการประชุมครั้งนี้ได้ทาให้เกิดแผนปฏิบัติการเพื่อสิ่งแวดล้อมขึ้น แผนปฏิบัติการน้ีมี
เน้อื หาหลกั ๆ 3 ประการ ได้แก่

1. โครงการประเมนิ เก่ียวกับส่ิงแวดล้อมของโลกหรือ earth watch
2. กิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กี่ยวกบั การจัดการสงิ่ แวดล้อม
3. มาตรการตา่ งๆ เพื่อสนบั สนนุ การปฏิบัติการตา่ งๆ ในระดบั นานาชาติ และระดบั ประเทศเพ่ือ
การประเมินและการจัดการ
การประชมุ ท่ีกรงุ สต๊อกโฮล์มทาให้เกดิ การตง้ั คณะกรรมการเกี่ยวกับยทุ ศาสตร์การอนุรักษโ์ ลกหรือ
Word Conservation Strategy (WCS) ข้ึนในปี ค.ศ. 1980 ซ่ึงเป็นท่ีรับรู้กันว่าคณะกรรมการชุดน้ีทา
หน้าที่เป็นเสมือนแขนขาของแผนปฏิบัติการเก่ียวกับสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ เนื่องจากจุดสนใจของ
คณะกรรมการชดุ น้คี อื ความพยายามท่ีจะอธบิ ายว่าการพฒั นาการอนรุ ักษจ์ ะดาเนนิ ไปดว้ ยกนั ได้อย่างไร
เป้าหมายต่อไปบนเส้นทางท่ีจะนาไปสู่ความย่ังยืน คือ การเขียนรายงานที่ปัจจุบันรู้จักกันในนาม
ของรายงานบรันท์แลนด์ (Brundtland Report) องค์การสหประชาชาติ (UN) ได้ต้ังคณะกรรมการข้ึนมา
ชุดหนึ่งมีชื่อเรียกว่า คณะกรรมการโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (World Commission on
Environment and Development) เมื่อปี ค.ศ. 1983 คณะกรรมการชุดน้ีได้มีการประชุมกันโดยมี
นายกรฐั มนตรีของประเทศนอรเ์ วยช์ ่ือ Gro Harlem Brundtland เปน็ ประธานคณะกรรมการ จากผลของ
การประชุมทาให้เกิดรายงานขึ้นมาฉบับหน่ึงเรียกกันว่า Brundtland Report หรือรายงานบรันท์แลนด์
รายงานฉบับน้ีได้นาเสนอประเด็นต่างๆ หลายประเด็นด้วยกัน ซึ่งประเด็นทั้งหมดที่ UNCED นาเสนอใน
รายงานบรันท์แลนด์ได้ถูกหยิบยกมาอภิปรายกันในการประชุมสุดยอดของโลกหรือ Earth Summit ซึ่ง
UNCED จัดขึ้นที่กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิลในปี 1992 ในการประชุมครั้งน้ี คือ จุดเร่ิมต้นของ
แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาอย่างย่ังยืนหรือ Sustainable Development รายงานบรันท์แลนด์มี
จดุ มุ่งหมายอย่างหนงึ่ ได้แก่
“ช่วยให้ความกระจ่างในส่วนของการรับรู้ที่ทุกคนมีร่วมกันเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ทางด้าน
ส่ิงแวดล้อมและความพยายามต่างๆ ที่จะจัดการกับปัญหาการปกป้องสิ่งแวดล้อมและการเสริมสร้าง
สิ่งแวดล้อม ซ่ึงเป็นวาระการดาเนินการในระยะยาว สาหรับอีกหลายทศวรรษที่กาลังจะมาถึง และเป็น
เป้าหมายทีส่ ังคมโลกมุ่งหวงั ท่จี ะบรรลรุ ว่ มกนั ”
รายงานของบรันท์แลนด์ถูกวิจารณ์ว่าการคาดการณ์ต่างๆ ท่ีคณะกรรมการคาดว่าจะเกิดข้ึนและ
ความวิตกกังวลต่างๆ ไม่ได้เกิดข้ึนอย่างเป็นรูปธรรม แต่ถึงแม้จะถูกวิพากษ์วิจารณ์ประโยชน์ของรายงาน
ฉบับน้ีก็มีคุณค่าเพราะเป็นจุดต้ังต้นให้มีการอภิปรายกันถึงประเด็นความแตกต่างในด้านความร่ารวยและ
ความยากจนของประเทศที่อยู่ในซีกโลกตอนเหนือกับซีกโลกตอนใต้ และได้ทาให้เกิดความกังวลห่วงใยใน
ระดับนานาชาติ จุดหมายตาหรือเป้าหมายหลักเพ่ือความย่ังยืนอยู่ในรูปของยุทธศาสตร์ในด้านการปฏิบัติ
อยา่ งกวา้ งๆ เรียกว่า วาระ 21 หรอื Agenda 21 เจตนารมณข์ องผู้เขา้ รว่ มประชุมทกี่ รุงรโิ อเดอจาเนโร เมอ่ื
ปี ค.ศ. 1992 ได้มีความพยายามท่ีจะถูกนาไปบังคับใช้เพื่อการแก้ปัญหาท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาโดยประเทศ
ต่างๆ

6
บญุ ศิลป์ จติ ตะประพันธ์และคณะ (2556) ได้อธบิ ายถงึ แนวโน้มของการท่องเท่ียวในปัจจบุ ัน จาก

กระแสความคิดในการที่จะปรับกระบวนการและวิสัยทัศน์ของการท่องเท่ียวและกระแสเรียกร้อง ให้มีการ
อนุรักษ์ทรัพยากรท่องเท่ียวได้ทวีความรุนแรงและต่อเนื่องมีการโจมตีการท่องเท่ียวมากขึ้นว่าเป็น
อตุ สาหกรรมทกี่ ่อผลเสียต่อสภาพแวดล้อมท้ังของแหล่งท่องเท่ียววัฒนธรรม และชุมชนเป็นเหตุให้มีการจัด
ประชมุ นานาขาตดิ า้ นสง่ิ แวดลอ้ มและพฒั นาแบบยงั่ ยนื ณ เมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา หรือทเ่ี รียกว่า
กันว่า GLOB ̉90 Conference การประชุมในครั้งนี้ได้ให้ความสาคัญกับแนวคิดการพัฒนาที่ย่ังยืนที่จะ
เชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน (Sustainable tourism development) จากผลการ
ประชุมในครั้งน้ีได้ให้คาจากัดความของการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนว่า “เป็นการพัฒนาที่สามารถ
ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวท่ีเป็นเจ้าของท้องถิ่นในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ปกป้องและ
สงวนรักษาโอกาสต่างๆของอนุชนรุ่นหลังจึงมีความหมายรวมถึงการจัดการทรัพยากรเพื่อตอบสนองความ
จาเป็นทางเศรษฐกิจ สังคม และสุนทรียภาพพร้อมกับรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและระบบนิเวศได้
ด้วยจากคาจากัดความดังกล่าวสามารถนามาแปลเป็นหลักการเบ้ืองต้นและแนวทางปฏิบัติของการพัฒนา
ของการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วทีย่ ั่งยืนไดด้ ังนี้

1. มุ่งพัฒนาการท่องเที่ยวภายในประเทศอย่างจริงจังก่อนแล้วจึงพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่าง
ประเทศอยา่ งค่อยเปน็ ค่อยไปภายหลังเพื่อให้เหมาะสมกบั ระบบสาธารณูปโภคทร่ี องรับเปน็ สาคัญ

2. มุง่ ให้ประชาชนในท้องถ่ินมีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ในโครงการท่องเทีย่ วต่างๆทจ่ี ะมผี ลกระทบต่อ
วิถีชวี ติ ของคนส่วนใหญ่ในพ้นื ท่ี

3. มุ่งพิจารณาอย่างรอบคอบถึงขอบเขตท่ีเหมาะสมของการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยคานึงถึงขีด
ความสามารถในการรองรับของทุกๆด้านท้ังนี้ควรพยายามผลักดันให้การพัฒนาการท่องเท่ียวเข้าไปเป็น
สว่ นหน่ึงของการพัฒนาเศรษฐกิจของพนื้ ที่นน้ั ๆ

4. มุ่งให้ข้อมูลทางการท่องเท่ียวอย่างเพียบพร้อมแก่นักท่องเท่ียวเพ่ือให้นักท่องเท่ียวเข้าใจและ
เคารพในส่ิงแวดลอ้ มพรอ้ มทั้งชว่ ยยกระดับความพึงพอใจของนกั ท่องเทย่ี วด้วย

5. มุ่งใช้วัสดุและผลผลิตในท้องถ่ินเพื่อช่วยลดดุลการค้าต่างประเทศได้ทางหน่ึงและเป็นการเพิ่ม
รายได้กบั คนในท้องถ่นิ

6. มุ่งจ้างงานในท้องถ่ิน โดยส่งเสริมรูปแบบของงานที่น่าสนใจและมีผลตอบแทนสูงให้แก่ชุมชน
ท้องถ่นิ นั้น

7. มุ่งพัฒนาบุคลากรในท้องถิ่นให้มีความรู้ความสามารถเพ่ิมขึ้นอันจะช่วยยกระดับการบริการ
ทอ่ งเทย่ี วให้สงู ขน้ึ

8. มุ่งรักษาคุณค่าของส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรมในท้องถิ่นให้อยู่รอดในระยะยาวเพ่ือเป็นแหล่ง
รองรับการท่องเท่ียวตลอดไป

9. มุ่งทางานร่วมกันอย่างเสมอภาคระหว่างภาคธุรกิจการท่องเท่ียว องค์กรท้องถ่ินองค์กรด้าน
ส่งิ แวดล้อมและรฐั บาลบนหลกั การพนื้ ฐานทก่ี ล่าวมาขา้ งต้น

ตามทรรศนะขององคป์ ระชุมรวม GLOB ̉90 (1990) การท่องเที่ยวที่ยง่ั ยืนมีเปา้ หมายโดยรวมดังน้ี
1. เพือ่ สรา้ งจิตสานกึ และความเขา้ ใจว่าการทอ่ งเท่ียวมีความสาคัญต่อสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ
2. เพ่ือสร้างดลุ ยภาพในการพฒั นา
3. เพ่อื ยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของชมุ ชนทอ้ งถิ่น
4. เพ่อื ใหป้ ระสบการณ์ท่มี ีคณุ ภาพแก่นักท่องเท่ยี ว
5. เพ่อื รักษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มอนั เป็นสง่ิ ซ่ึงทัง้ 4 วัตถปุ ระสงคข์ า้ งต้นพ่ึงพากนั อย่างย่ิง

7
สบื ชาติ อันทะไชย (2558) ได้อธิบายถึงหลักของการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วจะต้องคานงึ ถึงมุมมอง
ของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป็นหลักการพ้ืนฐานของการสร้างความยั่งยืน ในการสร้างอัตลักษณ์ของ
แหล่งท่องเที่ยวจะมีองค์ประกอบ 4 ชนิด คือ ตลาดเป้าหมาย ช่ือย่ีห้อ ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว และ
เครือข่ายการท่องเที่ยว ซ่ึงถือว่าเป็นสิ่งสาคัญท่ีสุดของการสร้างยี่ห้อ ความภักดีต่อย่ีห้อเป็นความเช่ือมโยง
ระหว่าง กลุ่มเป้าหมาย ผลิตภัณฑ์ และช่ือยี่ห้อ กล่าวคือ การตระหนักถึงยี่ห้อและความสัมพันธ์กับย่ีห้อ
ก่อให้เกิดความภักดีต่อย่ีห้อ เครือข่ายการท่องเที่ยวที่มุ่งยี่ห้อเป็นการสร้างค่านิยมขององค์การโดยใช้ยี่ห้อ
องค์การท่ีมุ่งย่ีห้อเป็นการบูรณการค่าย่ีห้อและอัตลักษณ์ย่ีห้อเข้ากับกลยุทธ์องค์การ สิ่งเหล่านี้คือข้ันตอน
ขององค์การในการสร้างสรรค์ พัฒนาและปกป้องอัตลักษณ์ย่ีห้อตามความสัมพันธ์กับลูกค้าเป้าหมาย เพ่ือ
สร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน ดังนั้นการมุ่งย่ีห้อจะเป็นการบูรณการระหว่างการมุ่งตลาดและการมุ่ง
ทรัพยากรองค์การซ่ึงมีรูปแบบของยี่ห้อแหล่งท่องเที่ยว 6 ส่วน ได้แก่วิสัยทัศน์ของย่ีห้อ ชื่อยี่ห้อ ศักยภาพ
แหล่งท่องเท่ยี วตลาดเป้าหมาย ผลิตภณั ฑ์แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วและประเภทกิจกรรมการท่องเท่ียว โดยส่งิ เหลา่ น้ี
จะอยู่ภายในใต้กรอบแนวทาง วิวัฒนาการมุมมองการท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆสู่การท่องเท่ียวเชงิ อนุรักษ์ซง่ึ
เปน็ พ้นื ฐานของการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วให้มคี วามย่ังยืน (ภาพท่ี 1.2)

ตลาดเป้าหมาย รูปแบบกิจกรรม
การท่องเทยี่ ว
ศกั ยภาพแหล่ง การตระหนักถึง
ทอ่ งเท่ยี ว ความภกั ดี ผลติ ภณั ฑ์การ
การตดิ ตอ่ ส่ือสาร ท่องเทยี่ ว
ชื่อยีห่ ้อ
การท่องเทยี่ วเชิง
อนรุ กั ษ์

บุคลกิ ภาพ คุณภาพ

ความสัมพันธ์

วสิ ัยทัศนแ์ หลง่
ทอ่ งเทย่ี ว

ภาพที่ 1.2 กรอบแนวคดิ ของมุมมองการทอ่ งเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ทม่ี า : สืบชาติ อนั ทะไชย และคณะ (2558)

8

ภาพท่ี 1.3 รปู แบบกจิ กรรมการทอ่ งเทีย่ วเชงิ อนุรักษ์ ผาชะนะได อุทยานแห่งชาตผิ าแตม้
จงั หวดั อุบลราชธานี ทม่ี า : วชิ ดุ า สายสมทุ ร (2558)

วาระ 21 (Agenda 21) กับการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน
ในการประชุม Earth Summit กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิลในปี 1992 เกิดวาระขึ้นมา

เรียกว่า วาระ 21 ที่ให้ความสาคัญกับแนวทางการดาเนินกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจรวมไปถึง
การท่องเท่ียวโดยจะต้องเน้นแนวทางที่ก่อให้เกิดความอย่างยืนท้ังในด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม
ส่งิ แวดลอ้ มและเทคโนโลยี

เลิศพร ภาระสกุล (2551 : 4-5) ได้อธิบายถึงวาระ 21 หมายถึง โปรแกรมการดาเนินงานต่างๆ
แบบเบ็ดเสรจ็ เพือ่ การนาไปสกู่ ารพัฒนาอย่างยั่งยนื ในศตวรรษท่ี 21 วาระ 21 ได้ถกู พฒั นาขึน้ มาในระหว่าง
ค.ศ.1991-1992 และได้รับการยอมรับจากตัวแทนรัฐบาล 182 ประเทศที่เข้าร่วมประชุมสุดยอด ซ่ึงจัดขึ้น
โดยองค์การสหประชาชาติวา่ ด้วยเร่ืองส่ิงแวดล้อมและการพัฒนา หรอื Earth Summit กรุงรโิ อเดอจาเนโร
ประเทศบราซลิ ในปี 1992

วาระ 21 ได้มีการกาหนดกรอบแนวทางการปฏิบัติสาหรับการดาเนินกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ
ทกุ ชนิดซงึ่ รวมถงึ การเดินทางและการท่องเท่ียวด้วย เพ่อื ให้รัฐบาลและองค์กรภาครัฐทั้งหลายและเอกชนท่ี
เก่ียวข้องท้งั หมดนาไปใชเ้ ป็นแนวทางการดาเนินงานเพ่ือให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยนื บางครัง้ วาระ 21 ถกู
เรียกว่า เป็นพิมพ์เขียน (blueprint) เพ่ือนาไปสู่อนาคตที่ยั่งยืน วาระ 21 ประกอบด้วย 40 บท และ
โปรแกรมการพฒั นาต่างๆ รวมท้ังสิน้ 115 โปรแกรม Middleton (1998 หน้า 238) กลา่ ววา่ ประเมินจาก
ความกา้ วหน้าของการนาเอาวาระ 21 ไปปฏบิ ัติในระหวา่ งปี ค.ศ. 1992-1997 พบวา่ ผลที่ไดร้ ับน่าผิดหวัง
มาก ในส่วนของการเดินทางและการท่องเท่ียวได้มีองค์กร 3 องค์กร รับหน้าท่ีวิเคราะห์และตีความวาระ
21 เมื่อปี ค.ศ. 1996 เพ่ือกาหนดกรอบแนวทางการดาเนินงานให้กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการเดินทาง
และการทอ่ งเท่ียวนาไปปฏิบตั ิเพ่ือนาไปสู่การท่องเที่ยวแบบย่งั ยืน กลมุ่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไดแ้ ก่ ภาครฐั บาล
ผู้ประกอบธุรกิจการจัดการการท่องเท่ียวต่างๆ ไปจนกระท่ังถึงนักท่องเที่ยว องค์กรท้ัง 3 ได้แก่ World
Travel and Tourism Council (WTTC) World Tourism Organization (WTO) และ Earth Council

การผลิตและการบริโภคไม่ว่าจะในรูปแบบใดก็ตามจะประกอบไปด้วยนัยทางด้านความยั่งยืนอยู่
ด้วยเสมอ ดังน้ัน เม่ือพูดถึงการพัฒนาอย่างย่ังยืนจะต้องกล่าวรวมไปถึงกิจกรรมต่างๆ ทุกรูปแบบ รวมไป
ถึงกิจกรรมทางการท่องเท่ยี วด้วย สาเหตุทก่ี จิ กรรมทางการท่องเท่ียวเข้ามาอยูใ่ นความสนใจของการพัฒนา
อย่างย่ังยืนก็เน่ืองมาจากข้อเท็จจริงที่ว่า 1) ผลิตผลเพ่ือการท่องเที่ยวและการบริโภคการท่องเที่ยวมักจะ

9
เกิดขึ้นในบริเวณที่สภาพแวดล้อมทั้งท่ีเป็นธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นมีความเปราะบาง เช่น ชายฝ่ัง
ทะเล แหล่งมรดกทางวัฒนธรรม เช่น วัด วังต่างๆ และ 2) สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมมักจะถูกใช้เป็น
องค์ประกอบหลักของผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวโดยไม่มีการกาหนดราคาเหมือนกับ ทรัพยากรธรรมชาติ
อยา่ งอ่ืน เชน่ นา้ มัน แรธ่ าตุทขี่ ุดขน้ึ มาจากใตด้ นิ

แนวความคิดการพัฒนาท่ีย่ังยืน (http://www.lrct.go.th/tools/?p=425) ได้อธิบายถึง
แผนปฏิบัติที่ 21 หรือ Agenda 21 เป็นข้อมติระหว่างประเทศได้รับการรับรองจากรัฐท่ีเข้าร่วมประชุมใน
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา หรือที่รู้จักกันว่า “เอิร์ธซัมมิต (Earth
Summit)” ซึ่งจัดข้ึนท่ีนครรีโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล เม่ือเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535)
โดยมีผู้แทนจากประเทศตา่ ง ๆ จานวน 179 ประเทศ เข้าร่วมประชุม“วาระ 21” เป็นคาย่อท่ีใช้แทนคาวา่
“วาระสาหรับศตวรรษท่ี 21 (Agenda for the 21st Century)” อันเป็นแผนแม่บทปฏิบัติการระหว่าง
ประเทศ สาหรับการดาเนินงานที่จะทาให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนท้ังในด้านสังคม เศรษฐกิจ และ
สิ่งแวดล้อมแผนปฏิบัติการ 21 เกิดจากแนวคิดที่ว่า การเพิ่มของประชากร การบริโภคและเทคโนโลยี
ผลักดันใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดล้อม ดงั นั้นมนุษยจ์ ึงต้องรว่ มมือกันลดการบรโิ ภคท่ีฟุ่มเฟือยและ
ไร้ประสิทธิภาพ รวมทั้งสนับสนนุ ใหม้ ีการพัฒนาอย่างยั่งยืนขึ้นในทุกส่วนของโลก นอกจากนั้นวาระ 21 ได้
เสนอแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และแนวทางอนุรักษ์ความ
หลากหลายชนิดและสายพันธ์ุของสิ่งมีชีวิต การอนุรักษ์ป่า การต่อสู้กับความยากจนรวมถึงปัญหาการ
บรโิ ภคทฟี่ ่มุ เฟือย การวางแผนการจดั การ ดา้ นการศึกษา สขุ ภาพอนามัย การแก้ปัญหาของเมืองใหญ่ และ
ปัญหาของเกษตรกร โดยย้าว่าเป็นหน้าท่ีของทุกคน ทุกกลุ่ม และทุกอาชีพ เพ่ือทาให้เกิดการพัฒนาอย่าง
ยง่ั ยืนอนั เปน็ หนทางเอาชนะความยากจนและการทาลายสง่ิ แวดล้อม

ยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญของแผนปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติการ 21 คือ การขจัดความยากจนโดยให้
ประชาชนที่ยากไร้มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตได้อย่างย่ังยืนมากข้ึนแผนปฏิบัติการ
21 เป็นแผนการปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาแบบยั่งยืน ( Agenda 21: Programme of Action for
Sustainable Development) เป็นแผนแม่บทของโลกสาหรับการพัฒนาท่ียั่งยืน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม เนื่องจากจานวนประชากร ปริมาณการบริโภคเทคโนโลยีท่ีฟุ่มเฟือยและไร้
ประสิทธิภาพ ทาให้มีความสมดุลระหว่างการบริโภคและสมรรถนะของโลก ต่อสู้กับความเส่ือมโทรมของ
ดิน อากาศ และน้า อนุรักษ์ป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ ต่อสู้กับความยากจน จัดการกับ
การศึกษา สาธารณสุข และสนับสนุนบทบาทของกลุ่มต่างๆในสงั คม ให้ประชาชนผ้ยู ากไร้เข้าถึงทรพั ยากร
ธรรมชาติ ประเทศที่ร่ารวยช่วยเหลือประเทศท่ียากจนทางการเงิน ทางเทคโนโลยี ทางข่าวสารข้อมูลและ
ทางสมรรถนะในการวางแผนและการดาเนนิ งาน และทกุ ประเทศต้องมีความรบั ผิดชอบรว่ มกนั ในระดับโลก
แผนปฏบิ ัตกิ าร 21 จงึ เปน็ เอกสารที่มคี วามสาคญั มากทส่ี ุดฉบับหน่ึงของสหประชาชาติ และได้รบั การกล่าว
อ้างอิงถึงอย่เู สมอ ๆ ในการประชุมระดบั ระหว่างประเทศในปจั จบุ ัน

แผนปฏิบัติการ 21 จะคานึงถึงองค์ประกอบสาคัญสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน 4 ส่วนด้วยกัน คือ มิติ
ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ (Social and Economic Dimensions), การอนุรักษ์และการจัดการ
ทรัพยากร (Conservation and Management of Resources), การส่งเสริมบทบาทของกลุ่มต่างๆที่
สาคัญ (Strengthening the Role of Major Groups) และวิธีการในการดาเนินงาน ( Means of
Implementation) โดยมแี นวทางท่ีสาคัญดังตอ่ ไปน้ี

10

1. การพัฒนาเศรษฐกิจจะต้องผสมผสานและควบคู่ไปกับการพัฒนาและความห่วงใยใน
สง่ิ แวดลอ้ ม สง่ิ แวดลอ้ มไม่อาจจะเปน็ สิ่งสุดทา้ ยทน่ี ึกถึงอีกต่อไป การเพิม่ รายได้และจัดหางานให้ประชาชน
น้ัน ควรกระทาไปพรอ้ มๆ กับการปรับปรงุ คุณภาพชีวติ ของประชาชนและส่งิ แวดล้อม

2. การใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย การสูญพันธุ์ของพืชและสัตว์ การปล่อยของเสียและมลพิษต่างๆ
เป็นสาเหตุที่ทาให้ส่ิงแวดล้อมเสื่อมโทรมไม่ยั่งยืน ซึ่งไม่อาจปล่อยให้เป็นเช่นนี้อีกต่อไปได้ เพราะเป็นการ
ทาลายสขุ ภาพและความเป็นอยู่ทดี่ ีของมนษุ ย์และสง่ิ มชี ีวิตในโลก

3. จะต้องมีการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม เนื่องจากมีผลกระทบอย่างเฉยี บพลนั ต่อสุขภาพและความ
เป็นอยูท่ ีด่ ีของมนษุ ย์ และเกดิ ผลกระทบต่อประชากรร่นุ ลูก รุน่ หลานในอนาคต

4. มนุษย์ทุกคนไม่ว่าจะร่ารวยหรอื ยากจนก็มีสิทธิเท่าเทียมกันในอันท่ีจะดารงชวี ิตความเป็นอยู่ใน
ส่ิงแวดล้อมท่ีดี ได้ด่ืมน้าที่สะอาด หายใจในอากาศท่ีบริสทุ ธิ์ และสามารถท่ีจะควบคุมการใช้ทรพั ยากรของ
ตนเองได้
แนวคดิ และความหมายของความยง่ั ยืน

แนวคิดของความยั่งยืน เป็นแนวทาง ข้อกาหนดหรือทิศทางในการชี้นาการพัฒนา เพื่อคงไว้ซ่ึง
ทรพั ยากรทีม่ อี ยอู่ ย่างจากดั และการใชท้ รัพยากรให้มีความคุม้ ค่ามากที่สดุ ส่งผลกระทบนอ้ ยทส่ี ดุ สอดคล้อง
กับ เลิศพร ภาระสกุล (2551) ที่ได้กล่าวถึงแนวคิดของความยั่งยืน คือ แนวทางและหลักเกณฑ์หรือคุณ
คา่ ทีจ่ ะชี้นาการพฒั นา หรอื เป็นมาตรฐานหรอื ข้อทดสอบในการกาหนดความยง่ั ยืน ความเปน็ ไปไดด้ ังกล่าว
จะเกิดขึ้นหากทรัพยากรการท่องเท่ียวท้ังแหล่งธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างข้ึน ตลอดจนทรัพยากรการ
ท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมได้รับการบารุงรักษาอย่างต่อเนื่อง แนวความคิดในเรื่องของการจัดตั้งกรรมการ
หรือองคก์ รเพือ่ ดูแลและปกปอ้ งทรัพยากรทางการท่องเที่ยวให้ดารงความสมบรู ณอ์ ยู่ตลอดเวลาเป็นแนวคิด
ท่ีสามารถนามาปฏิบัติได้ โดยแนวทางเหล่านี้เป็นการตอกย้าถึงความมุ่งมั่นในความพยายามที่จะคงไว้ซึ่ง
ความสมบูรณ์ของทรัพยากร ป้องกันการเอารัดเอาเปรียบนักท่องเท่ียวและคนท้องถ่ิน พร้อมทั้งทาให้เกิด
ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ การดาเนินการเพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จเป็นความยั่งยืน (ทั้งในด้านเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม วัฒนธรรมและสง่ิ แวดลอ้ ม) นั้น จาเป็นต้องยอมรบั การเปลยี่ นแปลงและจัดการให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงท่ีเกี่ยวข้อง นั่นหมายความว่า กลไกต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นต้องพร้อมท่ีจะทาให้เกิดการประสาน
ผลประโยชน์อนั สอดคล้องกบั สถานการณ์ต่างๆ

เลศิ พร ภาระสกลุ (2551 : 5-9) ไดอ้ ธบิ ายถึงรายงานบรันท์แลนด์ (1987) ให้คาจากัดความคาว่า
“ความย่ังยืน” (Sustainability) ว่าหมายถึง “การตอบสนองต่อความต้องการต่างๆ ของคนในรุ่นปัจจุบัน
โดยไม่เป็นการตัดโอกาสของคนรุ่นต่อไปในอนาคต (รุ่นลูกรุ่นหลาน) ท่ีจะได้มีโอกาสในการตอบสนองต่อ
ความต้องการของตัวเองบ้าง” นอกจากนี้รายงานบรนั ท์แลนด์ยังได้ระบุถึงหลักการข้ันพื้นฐานบางประการ
ของความยัง่ ยนื หลกั การเหลา่ นีไ้ ด้แก่

1. การใชแ้ นวทางหรือวธิ กี ารแบบองคร์ วมในการวางแผนและจดั ทายุทธศาสตร์ต่างๆ
2. ปกป้องคุ้มครองสง่ิ แวดล้อม(ความหลากหลายทางด้านชีวภาพ)และแหลง่ มรดกทีม่ นษุ ย์สร้างขน้ึ
3. ดารงไว้ซึง่ กระบวนการตา่ งๆ ทางดา้ นนเิ วศที่มีความจาเปน็
4. อานวยความสะดวกและจัดให้เกดิ การมีสว่ นรว่ มจากประชาชน
5. พยายามทาให้ผลติ ผลตา่ งๆ มีความย่ังยนื ไปสูอ่ นาคตระยะยาว
6. พยายามทาให้เกดิ ความยุติธรรมและโอกาสแกป่ ระเทศต่างๆ

11
Marcott (1996, อ้างถึงใน เลิศพร ภาระสกุล, 2551) ได้รวบรวมความหมายของคาว่า ความ
ย่ังยืนได้ 57 ความหมาย ซึ่งมีต้ังแต่คาจากัดความแรกๆ ที่เสนอโดย Coomer (1979, อ้างถึงใน เลิศพร
ภาระสกุล, 2551) ที่กล่าวว่าสังคมที่ย่ังยืนไม่ได้หมายถึงสังคมท่ีไม่ได้มีการเติบโต แต่หมายถึงสังคมท่ีมีชวี ิต
อยู่ภายใต้ขอบเขตของการดารงอยู่ต่อไปภายในกรอบสิ่งแวดล้อมของตัวเอง ไปจนกระท่ังถึงคาจากัดความ
ของ World Conservation Strategy (WCS) ทีม่ ุ่งเน้นความสนใจไปท่ีการดารงไว้ซึ่งกระบวนการทางด้าน
นิเวศที่จาเป็นไปจนถึงข้อเสนอแนะของ Choucri (1997, อ้างถึงใน เลิศพร ภาระสกุล, 2551) ที่กล่าวว่า
ความย่ังยืน คือ กระบวนการจัดการอุปสงค์ทางสังคมโดยไม่ทาให้เกิดความเสียหายแก่คุณสมบัติต่างๆ ใน
การสนับสนุนการดารงชีพหรือเกิดความเสียหายแก่กลไกที่ทาให้เกิดความเป็นปึกแผ่นของสังคมและเกิด
ความราบรื่นทางสงั คม
ความคลุมเครือของคาจากัดความ และการอวดอา้ งขององค์กรระหว่างประเทศต่างๆ ที่อา้ งว่าเน้น
การพัฒนาทยี่ ั่งยนื ล้วนแตท่ าให้หลักการของการพัฒนาอย่างยั่งยนื คลอนแคลนและไม่ได้ทาให้เกดิ การนาไป
ปฏิบัติให้เกิดความย่ังยืนทั่วโลก เพ่ือให้บังเกิดผลวัตถุประสงค์ของการพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้องมีคุณลักษณะ
บางอย่าง เช่น วัตถุประสงค์จะต้องมีความชัดเจนไม่คลุมเครือไม่ขัดแย้งกันเอง สามารถวัดได้และทาให้
สาเรจ็ ได้ แตใ่ นความเปน็ จริงกลับเป็นการพฒั นาที่ลม้ เหลวในทุกด้าน หากจะพิจารณาเพียงวัตถุประสงค์ใน
แง่ของการทาใหส้ าเรจ็ ไดเ้ พียงอย่างเดยี วก็ยังเรียกวา่ ยังไมม่ ีความสาเรจ็ เกิดข้ึนได้
ดังนั้น ควรจะหาคาพูดใหม่มาใช้แทนคาว่า “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” โดยควรใช้คาว่า “การใช้
อย่างฉลาด” หรือ “การวางแผนที่สมเหตุสมผล” (Sound planning) อย่างที่เคยมีการใช้คาพูดเหล่านี้ใน
อดีต แต่แม้กระทั่งคาพูดใหม่ท้ัง 2 นี้ก็ยังมีความคลุมเครือ และยังต้องการเครื่องมือที่จะใช้การวัดอย่าง
ฉลาดหรือกลไกท่ีจะนาไปสู่การวางแผนท่ีสมเหตุสมผล นักเศรษฐศาสตร์หลายๆ คนอาจจะแย้งว่า
ทรัพยากรต่างๆ ควรจะมีการกาหนดต้นทุนอย่างเหมาะสม และควรจะรวมต้นทุนของทรัพยากรเข้าไว้ใน
กระบวนการทางการตลาดเพื่อท่ีจะได้สามารถทาการตัดสินใจได้อย่างสมเหตสุ มผลบนพ้ืนฐานของข้อมูลที่
สมบูรณ์ แต่ประเด็นการพัฒนาอย่างย่ังยืนก็เป็นประเด็นที่กว้างมาก คือ กว้างกว่าเรื่องเศรษฐศาสตร์
ส่ิงแวดล้อม เรื่องขอวัฒนธรรมและแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมของโลกก็ควรจะเป็นส่วนหน่ึงของระบบและ
ประเดน็ ท้งั 2 น้ี ก็ควรรวมอย่ใู นกระบวนการการตัดสนิ ใจดว้ ย
ความรับผิดชอบของการดาเนินการไปสู่ความยั่งยืนเป็นเรื่องท่ีมีความสาคัญ เพราะมันไม่ใช่เป็น
เพียงความรับผิดชอบขององค์กรระหว่างประเทศทุกองค์กรหรือเป็นความรับผิดชอบเฉพาะของรัฐบาล
ต่างๆ ท่ีสนับสนุนการพัฒนาอย่างย่ังยืนเท่าน้ัน แต่กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกหลายกลุ่มก็มีความสาคัญ
เช่นกัน เป็นต้นว่า ภาคอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวก็ต้องมีบทบาทในการดาเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ
ต่อสังคมและมีวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ในระยะยาวไม่ใช่เพื่อแสวงหากาไรในระยะสั้น ในส่วนของผู้บริโภคหรือ
นักท่องเที่ยวก็เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีบทบาทในการทาให้เกิดความยั่งยืน ผู้บริโภคก็ไม่ต่างจาก
ภาคอุตสาหกรรมคือความต้องการท่ีจะตอบสนองความต้องการจาเป็นในระยะส้ันซ่ึงขัดกับเป้าหมายระยะ
ยาวของการวางแผนอยา่ งสมเหตสุ มผลและหลักการของความยั่งยืน
หลักการหรือแนวคิดเก่ียวกับความยั่งยืนอาจจะแบ่งได้ออกเป็นแนวคิดของ 2 สานักใหญ่ๆ
กล่าวคอื สานกั หนึ่งเปน็ กลุม่ สนับสนุนความย่ังยนื อยา่ งเตม็ ที่ในขณะที่อีกสานักหน่ึงเป็นฝ่ายสนับสนุนความ
ยั่งยืนเพียงบางส่วน ซ่ึงฝ่ายหลังน้ีเน้นความย่ังยืนอย่างไม่รุนแรงเหมือนฝ่ายแรก ก่อนที่เราจะพิจารณา
แนวคิดของ 2 สานกั น้เี ราจะต้องจาแนกทรัพยากรออกเป็นประเภทซ่ึงสามารถเสื่อมสลายหรือถูกทางายลง
ไปได้ ทรัพยากรต่างๆ สามารถจาแนกออกเปน็ กลมุ่ ทนุ 4 ชนดิ ดังต่อไปน้ี

12

1. กลุ่มทุนที่เก่ียวข้องกับมนุษย์ ได้แก่ ประชากร สวัสดิภาพ สุขภาพ แรงงาน พื้นฐานทาง
การศกึ ษาและทางด้านทักษะ

2. กลุ่มทุนทางกายภาพ ได้แก่ เงินทุนที่ใช้เพื่อการผลิต เคร่ืองจักรกล อุปกรณ์ต่างๆ อาคาร
สิง่ ก่อสร้าง

3. กลุ่มทนทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ทรัพยากรทางธรรมชาติ และทรัพยากรที่มนุษย์สร้างข้ึน
รวมถงึ ความหลากหลายทางชีวภาพ

4. กลุ่มทุนทางวัฒนธรรม ได้แก่ ความเป็นอยู่ท่ีดี ความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน (ความเป็น
ปกึ แผ่น) ของสังคม การใชอ้ านาจความยตุ ธิ รรม ความเสมอภาค มรดกทางวฒั นธรรมต่างๆ

ความย่งั ยืนและกลุ่มทุนตา่ งๆ

กล่มุ ทุน กลุ่มทุน กลุ่มทุนทางดา้ น กลมุ่ ทนุ ทางสงั คม-
ทางดา้ นมนษุ ย์ ทางกายภาพ สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม

การลงทุน กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ
(การทดแทนและการกระตุ้น) (การผลติ และการบริโภค)

สวัสดภิ าพของมนุษยโ์ ดยรวม

ภาพท่ี 1.4 ความย่ังยนื และกลุ่มทุนต่างๆ ที่มา : เลศิ พร ภาระสกลุ (2551)
ตามความเปน็ จริงแล้วจะมกี ารเหล่ือมทบั กันระหวา่ งกลุ่มทนุ ทง้ั 4 ประเภทนี้ แต่แผนภมู นิ ตี้ อ้ งการ
ให้เหน็ ความแตกต่างระหว่าง 2 สานกั ความคดิ และแนวคดิ เก่ยี วกบั ความยัง่ ยืน
ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาใดก็ตามจะมีกลุ่มของแต่ละรูปแบบ กลุ่มทุนเหล่านี้สามารถจะถูกนามาใช้
เพ่ือการผลิต ซ่ึงถ้าไม่ถูกบริโภคก็จะถูกนาไปลงทุนกลับไปอยู่ในกลุ่มทุน ในทัศนะของสานักท่ียึดหลักการ
ของความยั่งยืนอย่างเต็มที่จะยึดหลักการที่ว่ากลุ่มทุนท้ัง 4 ประเภทจะต้องมีการรักษาระดับของทุนเอาไว้
ให้ครบถ้วนไม่ว่าจะเป็นกาลังแรงงาน ตึกรามบ้านเรือน สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและสังคมเพื่อคนรุ่นต่อไป
แต่ในทัศนะของสานักที่สนับสนุนความย่ังยนื เพียงบางส่วนจะยึดหลักการที่วา่ ทุนรวม (ผลรวมของทุนท้งั 4
กลุม่ ) จะตอ้ งถกู รักษาเอาไว้แต่ต้องยอมรบั วา่ ต้นทนุ บางกลุม่ ใน 4 กลุ่มอาจจะพร่องไปเพราะต้องเอาไปเพ่ิม
เปน็ ตน้ ทุนให้กบั กลุ่มอ่นื ถ้าจะพิจารณาให้ดีจะเป็นวา่ ทนุ บางกลุ่มจะต้องตอบสนองต่อการลงทุน เช่น ทุนใน
กลุ่มมนุษย์ เช่น การศึกษา และบริการด้านสุขภาพเป็นวิธีการเพื่อการปรับปรุงคุณภาพของประชากรและ
แรงงาน ดังน้ัน ทุนประเภทน้ีจึงไม่สามารถทาให้มีเพ่ิมขึ้นได้โดยการลงทุน และในระยะยาวการลงทุน
ทางด้านมนุษย์ก็จะถึงจุดคุ้มทนสาหรับทุนในกลุ่มทางกายภาพเป็นทุนเพ่ือใช้ในจุดประสงค์ทางการผลิต
และกลุ่มทุนประเภทนี้สามารถที่จะถูกลงทุนและกาลังถูกลงทุนอยู่ตลอดเวลาทั้งเพ่ือการทดแทนและการ
ลงทุนใหม่ๆ เพื่อเพ่ิมศักยภาพในการผลิต สาหรับทุนทางด้านสิ่งแวดล้อมบางประเภทก็สามารถตอบสนอง
ต่อการลงทุน ตัวอย่างเช่น การสร้างอุทยานแห่งชาติ การทาความสะอาด แม่น้าต่างๆ การลงทุนเพื่อ

13
ป้องกันมลภาวะทางอากาศและเสียงเป็นตัวอย่างของการลงทุนทางด้านส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ
สาหรับในส่วนของสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นก็ตอบสนองการลงทุน เช่น การสร้างบ้านพักอาศัยใหม่ๆ
การสร้างศูนย์การค้า การสร้างโรงแรมท่ีพักและอื่นๆ อย่างไรก็ดีจะมีสภาวะของการได้อย่างเสียอย่าง
(trade-off) ระหว่างทุนทางสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึน เช่น การสร้างสนาม
กอล์ฟ ทาให้เกิดการแย่งน้าจากแหล่งน้าธรรมชาติ เช่น ทะเลสาบหรือการบุกรุกป่า เป็นต้น การเช่ือมโยง
ระหว่างทุนทางส่ิงแวดล้อมกับทุนสังคมวัฒนธรรมก็สามารถจะเกิดขึ้นได้ เช่น การสร้างวัดเพ่ือเป็นท่ีปฏิบตั ิ
กจิ ทางศาสนาและให้ประชาชนไปทาบุญก็ถือว่าเป็นการลงทุนทางดา้ นสิ่งแวดล้อมประเภทท่ีมนษุ ย์สร้างขึ้น
กลุ่มทุนสุดท้ายท่ีจะกล่าวถึงคือกลุ่มทุนทางสังคมและวัฒนธรรมก็สามารถที่จะได้รับการลงทุนในด้านของ
วัฒนธรรมและประเพณีต่างๆ โดยการจัดให้มีการฝึกอบรมทางดา้ นวัฒนธรรม เช่น การฝึกให้คนในท้องถ่ิน
รู้จักการแกะสลักหิน แกะสลักไม้ รู้จักการเสริมสร้างภูมิปัญญาท้องถิ่น การยกระดับวัฒนธรรมท้องถ่ินให้
เปน็ ทรี่ จู้ ักของนักท่องเทย่ี ว และเพ่ือให้คนในท้องถนิ่ เห็นในคณุ ค่าจะทาให้ทุนทางสังคมและวฒั นธรรมยังคง
อย่ตู อ่ ไป ทัง้ หมดน้ีคอื แนวคดิ ของกลุ่มหรอื สานกั ท่ียดึ หลกั ความยัง่ ยนื อย่างไม่รนุ แรงหรือสดุ โตง่

ถ้าหากยึดหลักการของสานักที่ยึดแนวทางสู่ความยั่งยืนอย่างสุดโต่งก็จะต้องมีคาถามเกิดขึ้นกับ
การผลติ ทุกรปู แบบเพราะถึงแม้ว่าเราอาจจะลงทุนในกลุ่มทุนประเภทหนง่ึ และเพือ่ ใหร้ ะดับทนุ ของประเภท
นี้เพิ่มสูงขึ้น แต่มันก็เป็นไปไม่ได้ที่จะเพิ่มระดับทุนของกลุ่มทุนอื่น โดยไม่ไปดึงทุนของกลุ่มทุนอื่นมาใช้
ยกตัวอย่างเช่น เราไม่สามารถจะสร้างทุนทางกายภาพ (ทุนทางด้านการผลิต) โดยไม่ไปหยิบเอาทุนทาง
สิ่งแวดล้อมมาใช้ เพราะการก่อสร้างใดๆ เราต้องใช้ทุนทางสิ่งแวดล้อมเสมอ ไม่ว่าท่ีใดท่ีมีการใช้ท่ีดินหรือ
วตั ถดุ บิ จากแหล่งอื่นมาทดแทนแล้ว กระบวนทางดา้ นกายภาพทีส่ ร้างขน้ึ จากทนุ ทางส่ิงแวดล้อมน้ันก็จะไม่
ถือวา่ เป็นการปฏิบัตทิ ย่ี ง่ั ยืน

จากแนวคิดและความหมายของความยั่งยืน ผู้เขียนสามารถสรุปได้ว่าการนาทุนทางด้านสังคม
ทุนทางด้านวัฒนธรรม ทุนทางด้านสิ่งแวดล้อม นามาขับเคลื่อนให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีผลกระทบต่อ
ประเทศชาติและทรัพยากรในดา้ นต่างๆน้อยทสี่ ดุ สง่ ผลต่อคนรนุ่ หลังน้อยทส่ี ดุ โดยสามารถใช้การวจิ ัยและ
นวัตกรรมเขา้ มาขับเคลือ่ นสังคม เศรษฐกิจ สู่ความมน่ั คง ม่งั คั่ง อยา่ งยั่งยนื ตอ่ ไป
การให้คาจากัดความของการท่องเทย่ี วอยา่ งย่ังยืน

การท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนเป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นมาใหม่จากกระแสของการท่องเท่ียวปัจจุบันที่
ต้องการเห็นทรัพยากรท่องเท่ยี วท่ีไม่ถูกทาลายและยังคงไวใ้ หเ้ หมือนเดิมมากท่ีสดุ ทส่ี าคญั คอื เร่ืองของการ
สร้างทศั นคตแิ ละการปลุกจติ สานึกให้กับเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยวได้เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการ
อนรุ ักษท์ รัพยากรท่องเท่ยี วในทกุ ๆด้านเพื่อสร้างความเขม้ แขง็ และสรา้ งความย่งั ยนื ให้กบั การท่องเทย่ี ว

ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549 : 4-11)ได้
อธิบายถึงทิศทางขององค์การสหประชาชาติในเร่ืองของการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนเป็นสิ่งสาคัญที่จะเริ่ม
เน้ือหาการวางแผนการท่องเท่ียว ด้วยการให้คาจากัดความและหลักการบางประการของการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืน ซึ่งจะเป็นแนวคดิ พ้ืนฐาน

14

คาจากดั ความของการท่องเท่ียวอยา่ งย่ังยืน
“....อุตสาหกรรมท่องเที่ยวจะต้องก่อให้เกิดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและส่ิงแวดล้อมที่ยั่งยืน
เพือ่ ใหไ้ ดม้ าซงึ่ ผลประโยชน์ในระยะยาว แต่ผลประโยชนด์ งั กล่าวจะไม่บังเกิดขึน้ หากปราศจากแนวทางการ
วางแผนและพฒั นาการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ท่ีมคี วามแตกต่างไปจากเดมิ ”
(PATA, Endemic Tourism : A profitable industry in a sustainable environment, King Cross,
NSW, Australia, 1992.)
เป็นท่ีประจักษ์ชัดว่า การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนมีนัยยะ อันหมายถึง แนวทางการพัฒนาที่มุ่งให้เกดิ
ความสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์ด้านสังคม เศรษฐกิจ และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม หรืออาจ
กล่าวได้ว่า การท่องเที่ยวย่ังยืนมีความแตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างไร้ขีดจากัด
การใชว้ ลี “การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยั่งยืน” อาจทาให้เกิดความบิดเบือน เน่อื งจากวลดี ังกลา่ วเนน้ ไปที่
การเพมิ่ ขนึ้ ของปริมาณการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ อย่างต่อเน่ืองมากกวา่ ความยัง่ ยืนของการท่องเท่ียวในระยะ
ยาว ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและความย่ังยืนของวัฒนธรรม การพัฒนาการท่องเท่ียวมีนัยในทางการ
ตัดสินใจเลือกทา-หรือไม่ทา โดยเฉพาะอย่างยิงการวางแผนเพื่อการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนจาเป็นต้องระบุ
ขอ้ จากดั และอปุ สรรคต่างๆ อนั เนื่องมาจากการพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วใหช้ ดั เจน
Kian Foh Lee (2001) ได้อธิบายถึงนิยามจุดหมายปลายทางการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน ในทาง
ปฏิบัติขอบเขตจะถูกกาหนดโดยรูปแบบการรับรู้มีแนวโน้มว่าขอบเขตจะเป็นระหว่างสองความหมาย โดย
นิยามจากัดจะเน้นกิจกรรมท่ีมคี วามย่ังยืน ส่วน นิยามองค์รวมนอกจากกิจกรรมการท่องเท่ียวยัง่ ยนื แล้วยัง
เน้นไปที่แหล่งทอ่ งเทยี่ วให้มคี วามยั่งยืนดว้ ย ดังภาพท่ี 1.5

กิจกรรมการ กจิ กรรมการ
ท่องเที่ยว ทอ่ งเที่ยว
อยา่ งยงั่ ยนื อยา่ งยัง่ ยืน

การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วให้
ยัง่ ยืน

จุดหมายปลายทางการทอ่ งเทยี่ ว จุดหมายปลายทางการทอ่ งเที่ยว
นยิ ามจากัด นยิ ามองคร์ วม

ภาพที่ 1.5 นยิ ามท่องเทีย่ วอย่างย่ังยืนของจุดหมายปลายทาง ที่มา : Kian Foh Lee (2001)

15
ความหมายของการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยั่งยนื

ความหมายของการท่องเท่ยี วอยา่ งย่งั ยนื ได้มผี ใู้ หค้ วามหมายไวห้ ลากหลายดังน้ี
สุเนตร สุวรรณละออง (2555) ได้อธิบายถึงการท่องเท่ียวอย่างย่ังยนื หมายถึง การท่องเที่ยวท่ใี ห้
ความสาคัญในเร่ืองการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมและคานึงถงึ ศักยภาพในการรองรบั ของระบบนเิ วศและชุมชน
(Carrying Capacity)รวมท้ังการม่งุ เนน้ ความย่ังยนื ในประเด็นต่าง ๆ ท่ีน่าสนใจอย่างน้อย 4 ประเดน็ คือ
1. ความยัง่ ยืนทางวฒั นธรรม (Cultural Sustainable) อนั หมายถงึ ความพยายามท่ีจะทาให้ชุมชน
เกิดความภาคูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง เกิดความรัก หวงแหนและต้องการดูแล รักษา สืบทอด
วฒั นธรรมชมุ ชนของตนใหเ้ จรญิ งอกงามตอ่ ไป
2.ความยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Sustainable) ในส่วนนี้หมายถึงการให้ความสาคัญ
ต่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจน่ันคือรายได้ส่วนใหญ่ที่ได้มาจากการท่องเท่ียวควรตกอยู่กับชมุ ชน คนในชุมชน
ต้องได้รับประโยชน์เพียงพอในการจัดการกบั ตน้ ทุนและปัญหาตา่ ง ๆ ท่ีอาจเกิดตามมาจากการท่องเทย่ี ว
3. ความยั่งยืนทางด้านการศึกษา (Educational Sustainable) หมายถึงการมุ่งเน้นให้เกิดการ
เรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักท่องเท่ียวและชุมชน น่ันคือ นักท่องเท่ียวมีโอกาสในการเรียนรู้วัฒนธรรมใหม่ ๆ
ได้เรียนรู้วิธีการปรับตัวให้เข้ากับชุมชนและสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างจากสิ่งตนเองเคยคุ้นชิ้นซ่ึงจะทาให้
นักท่องเที่ยวเกิดการยอมรับ เห็นอกเห็นใจ ชุมชนมากย่ิงข้ึน ส่วนชุมชนเองน้ันก็มีโอกาสเรียนได้รู้เรื่องต่าง
ๆ จากการจดั การการท่องเท่ียวอย่างยง่ั ยืน เป็นตน้ ว่า การวางแผน การทางานร่วมกัน การประเมินผล การ
มีส่วนรว่ ม สงิ่ ต่าง ๆ เหล่านีจ้ ะทาให้ชุมชนเกิดความเขม้ แข็งและม่ันใจในตัวเองมากข้ึน และประเดน็ สุดทา้ ย
4. ความย่ังยืนทางด้านสังคม (Sociological Sustainable) เน่ืองจากมีการรวมกลุ่มเรียนรู้และ
ทางานร่วมกันในการจัดการเพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนทาใหค้ วามสัมพันธ์ระหว่าง
กันและกันของผู้คนในชุมชนมีความเหนียวแน่น แข็งแรง ลดปัญหาความขัดแย้ง ก่อให้เกิดการช่วยเหลือ
เกอื้ กูลกันและกัน ส่งผลให้ชุมชนสามารถรับมอื หรือตอ่ ส้กู บั ปญั หาตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ มาในชุมชนได้มีพลงั
สมศักดิ์ มาลีและคณะ (2555) การท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน หมายถึง การท่องเท่ียวในสมัยโลกไร้
พรมแดน นอกจากคานึงถึงความคุ้มคา่ ในเชิงเศรษฐกิจและสังคมแลว้ ยงั คานึงถงึ การรักษาส่ิงแวดล้อม โดย
ใช้หลักการของแผนแม่บทของโลก (Agenda 21) เป็นกรอบการจัดการ จึงเป็นการพัฒนาการท่องเที่ยวที่
ยั่งยืน (Sustainable Tourism Development)
ชูสิทธิ์ ชูชาติ (2553) ได้กล่าวถึงการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน หมายถึง การท่องเที่ยวท่ีมีการจัดการ
ทรัพยากรท้ังหมดเพ่ือตอบสนองความต้องการด้านเศรษฐกิจ สังคม และสุนทรียภาพของมนุษย์ใน
ขณะเดยี วกันก็ต้องรักษาวัฒนธรรมความมั่นคงของระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพและค้าจุนชีวิต
ใหม้ ั่นคง
เทิดชาย ช่วยบารุง (2552) การท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนเป็นแนวทางการพัฒนาท่ีมุ่งให้เกิดความ
สมดุลระหว่างวัตถุประสงค์ด้านสังคม เศรษฐกิจและการจัดการสิ่งแวดล้อมท่ีเหมาะสมหรืออาจกล่าวได้ว่า
การท่องเท่ยี วอยา่ งยั่งยืนมีความแตกตา่ งอย่างสิ้นเชิงกับการพฒั นาการท่องเทยี่ วอย่างไร้ขีดจากัดที่เน้นการ
เพม่ิ ข้นึ ของปรมิ าณการเตบิ โตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องมากกว่าความยั่งยนื ของการทอ่ งเท่ียวในระยะยาว
กล่าวโดยสรุปคือ การท่องเที่ยวทุกประเภทในแต่ละพ้ืนที่ทั้งการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ วัฒนธรรม เกษตร
ชุมชนหรืออ่ืนๆจะต้องได้รับการพัฒนาจึงจะนาไปสู่การท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนโดยใช้ หลักเกณฑ์อย่างเป็น
ทางการของการทอ่ งเที่ยวอยา่ งยง่ั ยืนดังภาพที่ 1.6

16

การทอ่ งเทย่ี วอน่ื ๆ การท่องเทย่ี วเชิง การท่องเที่ยวเชงิ
นิเวศ วัฒนธรรม

การท่องเท่ียว
อย่างยงั่ ยนื

การทอ่ งเที่ยว การทอ่ งเทย่ี วเชงิ
ชมุ ชน เกษตร

ภาพที่ 1.6 การท่องเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยืน ทมี่ า : เทิดชาย ช่วยบารุง (2552)
ประมาณ เทพสงเคราะห์และจรินทร์ เทพสงเคราะห์ (2551) ได้กล่าวถงึ การทอ่ งเท่ียวอยา่ งยั่งยืน
หมายถึง การท่องเท่ียวที่สามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเท่ียวและผู้เป็นเจ้าของท้องถ่ินใน
ปัจจุบันโดยมีการปกป้องและสงวนรักษาโอกาสต่างๆของอนุชนรุ่นหลังด้วย การท่องเที่ยวแบบยั่งยืนเป็น
การจัดการทรัพยากรเพื่อตอบสนองความจาเป็นทางเศรษฐกิจ สังคม และความงามทางสุนทรียภาพ ใน
ขณะเดยี วกนั ก็สามารถรักษาเอกลกั ษณท์ างวัฒนธรรมและระบบนิเวศเอาไว้ได้ด้วย
เลศิ พร ภาระสกลุ (2551: 9) ได้อธบิ ายในสว่ นของการท่องเที่ยว คาจากัดความของคาว่า “ความ
ยั่งยืน” ยังไม่ได้รับความสาเร็จมากนัก หากใช้คาจากัดความตามรายงานของบรันท์แลนด์เป็นหลักองค์การ
การท่องเที่ยวโลก (WTO) ให้ความหมายของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนหรือ sustainable tourism เอาไว้
ดงั น้ี
“การพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืนจะตอบสนองต่อความต้องการของนักท่องเท่ียวและชุมชน
ของเจ้าบ้านที่นักท่องเท่ียวเข้าไปเยือน ในขณะเดียวกันก็มีการปกป้องและเสริมสร้างโอกาสให้คนรุ่นต่อไป
การท่องเท่ียวแบบน้ีจะนาไปสู่การจัดการทรัพยากรในลักษณะที่ตอบสนองต่อความต้องการทา งเศรษฐกิจ
สังคม และสุนทรียภาพ ในขณะเดียวกันก็ทาให้เกิดการดารงรักษาวัฒนธรรม กระบวนการทาด้านนิเวศที่
จาเป็น ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบต่างๆ ที่สนับสนุนค้าจุนชีวิต” (WTO)
การทอ่ งเทย่ี วอย่างยงั่ ยนื หมายถึง การพฒั นาทรัพยากร ทอ่ งเทยี่ วเพื่อตอบสนองความจาเป็นทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสุนทรียภาพ โดยใช้ทรัพยากรอันทรงคุณค่า อย่างชาญฉลาด สามารถ
รกั ษาเอกลักษณ์ของธรรมชาติและ วฒั นธรรมไว้ได้นานท่ี สดุ เกดิ ผลกระทบน้อยท่ีสุด และใช้ ประโยชน์ได้
ยาวนานทสี่ ุด (http://sustainabletourismdpu.blogspot.com/2011/02/blog-post_7353.html.)
การท่องเท่ียวแบบยั่งยืน หมายถึง การท่องเท่ียว รวมถึงการจัดบริการอื่นๆ ท้ังในปัจจุบันและ
อนาคต โดยต้องดาเนินการภายใต้ขีดความสามารถของธรรมชาติ ชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรม วิถีชีวิตที่มีต่อขบวนการท่องเท่ียว ต้องตระหนักดีต่อการมีส่วนร่วมของประชากร ชุมชน
ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิตท่ีมีต่อขบวนการท่องเที่ยว ต้องยอมรับให้ประชาชนทุกส่วน
ได้รับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการท่องเที่ยวอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน ต้องช้ีนาภายใต้ความ
ปรารถนาของประชาชนท้องถิ่นและชุมชนในพื้นท่ีท่องเท่ียวนั้นๆ (http://wean-wean-greentourism
blogspotcom. blogspot.com/.)

17
Butler (2536, อ้างถึงใน e – TAT Tourism Journal การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย, 2552) ได้
ให้ความหมายของคาว่า “การทอ่ งเทย่ี วอย่างยง่ั ยนื ” วา่ เปน็ รูปแบบของการทอ่ งเทย่ี วที่สามารถดารงคุณค่า
หรือความเป็นประโยชน์ของแหล่งท่องเที่ยวได้ยาวนานไม่มีที่ส้ินสุด และไม่สร้างความเส่ือมโทรมหรือ
เปลีย่ นแปลงส่ิงแวดล้อมของแหล่งและบริเวณโดยรอบ
Chris Cooper และคณะ (2005, หน้า 264 อ้างถึงในเลิศพร ภาระสกุล, 2551 ) ได้กล่าวว่า “คา
จากัดความของคาว่า การท่องเท่ียวแบบย่ังยืนท่ีมีอยู่เป็นจานวนมากมีความเกี่ยวกันท้ังสิ้น” โดยประเด็น
หลักที่มีการอภิปรายถกเถียงกันมากท่ีสุดจะเป็นประเด็นของความเจริญทางด้านเศรษ ฐกิจในระยะยาว
ความยั่งยืนทางด้านส่ิงแวดล้อม ความย่ังยืนทางด้านสังคม วัฒนธรรม และการเมืองของกลุ่มผู้ท่ีเก่ียวข้อง
หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคน และการท่ีจะบรรลุถึงเป้าหมายดังกล่าวในระยะยาวจาเป็นที่จะต้องได้รับ
ความร่วมมอื จากทุกกลุ่มทุกฝา่ ยทม่ี สี ่วนเก่ยี วข้องในกระบวนการผลติ และบริโภคการท่องเท่ยี ว
บุญเลิศ จิตต้ังวัฒนา (2542 ) ได้กล่าวถึงการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน (Sustainable Tourism)
หมายถึง การท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มเล็กท่ีมีการจัดการอย่างดีเย่ียมเพราะสามารถดารงไว้ซ่ึง
ทรัพยากรท่องเที่ยวให้มีความดึงดูดใจอย่างไม่เสื่อมคลายและธุรกิจท่องเท่ียวมีการปรับปรุงคุณภาพให้
ได้ผลกาไรอย่างเป็นธรรม โดยมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมเยือนสม่าเสมออย่างเพียงพอแต่มีผลกระทบทาง
ลบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มนอ้ ยท่ีสุดอย่างยืนยาว
จากความหมายของการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนสามารถสรุปได้ว่า การท่องเที่ยวท่ีสามารถอนุรักษ์
ทรัพยากรในด้านต่างๆให้อยู่ได้นานท่ีสุดและเส่ือมโทรมช้าที่สุด เช่น น้าตก ป่าไม้ วัฒนธรรม วิถีชีวิต
ประเพณีต่างๆ เป็นต้น ซึ่งนักท่องเท่ียว ผู้เป็นเจ้าของท้องถ่ิน และผู้มีส่วนเก่ียวข้องต่างๆจะต้องสร้าง
จิตสานึกร่วมกันในเรื่องของการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อมและเทคโนโลยีในปัจจุบันและคานึงถึงผลท่ีจะเกิดข้ึนกับทรัพยากรท่องเท่ียว
ในอนาคต

ภาพที่ 1.7 การท่องเท่ยี วอยา่ งย่ังยนื บ้านบุไทรโฮมสเตย์ อาเภอวงั น้าเขียว จังหวดั นครราชสีมา

18

ตารางท่ี 1.1 คาจากดั ความการท่องเท่ยี วอยา่ งย่งั ยนื คานยิ าม
ค.ศ. พ.ศ. บุคคล/หน่วยงาน
2002 องค์กรการ การท่องเทย่ี วทต่ี รงกับความต้องการของนกั ทอ่ งเทย่ี วและชมุ ชนในยคุ ปจั จุบัน

ท่องเท่ยี วโลก ขณะเดียวกนั กต็ อ้ งปกปอ้ งไว้เพ่อื อนาคตด้วย (UNEP, 2002)
(World Tourism
Organization)

2006 David Weaver การท่องเที่ยวเปน็ เครอ่ื งมอื ในการตอบสนองความต้องการของนกั ทอ่ งเท่ียวใน
ปจั จุบนั และไมส่ ง่ ผลกระทบถงึ ทรพั ยากรในอนาคตทีใ่ ช้ในการตอบสนองความ
ต้องการของตนเองหรอื ผอู้ ืน่
2548 รองศาสตราจารย์ การท่องเทย่ี วกลุ่มใหญ่และกลุม่ เลก็ ทีม่ กี ารจดั การอยา่ งดีเย่ียมเพอ่ื สามารถดารง
บญุ เลศิ จิตตั้ง ไวซ้ ึง่ ทรพั ยากรการทอ่ งเทีย่ วให้มคี วามดึงดดู ใจอยา่ งไม่เสื่อมคลาย ธรุ กิจ
วัฒนา ทอ่ งเท่ียวมกี ารปรบั ปรุงคณุ ภาพใหม้ ผี ลกาไรอย่างเปน็ ธรรม ชุมชน ทอ้ งถิน่ มี
(นกั วชิ าการด้าน ส่วนร่วมได้รบั ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างเหมาะสม โดยมีนักท่องเท่ียวเขา้ มา
การท่องเทย่ี ว เยีย่ มเยอื นสมา่ เสมออย่างเพยี งพอ แต่มีผลกระทบทางส่ิงแวดล้อมนอ้ ยที่สุด
อย่างยั่งยืน) หรือไมม่ เี ลยอยา่ งยนื ยาว
1992 Eber การท่องเท่ียวแบบยง่ั ยืน คอื การท่องเท่ียวทร่ี วบรวมโครงสรา้ งสาธารณูปโภค

พ้ืนฐาน ท่ีสามารถรองรบั เพียงไดพ้ อไดท้ ้ังสาหรับมนุษยชาติ ณ ปัจจบุ ันและ
อนาคต ภายในศักยภาพของธรรมชาติ และผลิตผลของธรรมชาติในอนาคต โดย
ตระหนกั ถึงคน และชุมชน ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวิถีชวี ิต กอ่ ใหเ้ กิด
ประสบการณ์ การทอ่ งเทีย่ ว และกลุม่ คนเหลา่ นไ้ี ดร้ บั การกระจายผลประโยชน์
ทางเศรษฐกจิ อย่างเทา่ เทียมกันสชู่ ุมชนท้องถ่นิ
1993 Payne การเสริมสร้างโอกาสทางเศรษฐกจิ สู่คนในพื้นทีโ่ ดยทไ่ี มก่ ่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่

โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ไม่รบกวนรปู แบบทางสงั คม เคารพระบบนเิ วศวทิ ยา
ชุมชน
n.d. Woodley ตอ้ งอยู่ในขอบเขตของระบบนเิ วศวทิ ยา

1995 Countryside สรา้ งความยั่งยืนสเู่ ศรษฐกจิ ท้องถิ่นโดยไม่ทาลายส่งิ แวดลอ้ ม
Commission

1996 Bramwell and การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวศักยภาพทพี่ ักแรม ประชากรท้องถิ่นและสงิ่ แวดลอ้ ม
others เคารพสง่ิ แวดลอ้ ม และไมใ่ หเ้ กิดความสูญเสยี ต่อส่งิ แวดลอ้ ม การทอ่ งเที่ยวแบบ
ยั่งยนื คอื การทอ่ งเทีย่ วอยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ
n.d. กรมอุทยาน การพฒั นาท่สี ามารถตอบสนองความตอ้ งการของนักทอ่ งเทย่ี วและผเู้ ปน็ เจา้ ของ

แหง่ ชาติ สตั วป์ า่ ท้องถน่ิ ในปัจจุบันโดยมกี ารปกป้องและสงวน รกั ษาโอกาสต่างๆ ของอนุชนร่นุ
และพนั ธพุ์ ืช หลังด้วย การทอ่ งเทยี่ วน้ีมีความหมายรวมถึงการจดั การทรพั ยากรเพอ่ื
(แนวคิดเดียวกับ ตอบสนองความจาเป็นทางเศรษฐกจิ สังคมและความงามทางสนุ ทรียภาพ
การทอ่ งเท่ยี วเชงิ ในขณะทีส่ ามารถรกั ษาเอกลักษณท์ างวัฒนธรรมและระบบนเิ วศดว้ ย
อนรุ กั ษ์)
2555 สเุ นตร สวุ รรณ การท่องเทีย่ วท่ีใหค้ วามสาคญั ในเรื่องการดแู ลรักษาส่งิ แวดล้อมและคานงึ ถึง
ละออง ศักยภาพในการรองรบั ของระบบนเิ วศและชมุ ชน(Carrying Capacity)
2553 ชสู ทิ ธิ์ ชูชาติ ชูสทิ ธิ์ ชชู าติ การท่องเทยี่ วอยา่ งยั่งยนื หมายถึง การท่องเท่ยี วท่ีมกี ารจดั การ
ทรัพยากรท้ังหมดเพอ่ื ตอบสนองความต้องการดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และ
สุนทรยี ภาพของมนษุ ย์ในขณะเดียวกนั ก็ตอ้ งรกั ษาวฒั นธรรมความมนั่ คงของ
ระบบนเิ วศ ความหลากหลายทางชวี ภาพและค้าจุนชวี ติ ใหม้ นั่ คง
ท่มี า : ปรบั ปรงุ จากดลฤทยั โกวรรธนะกลุ , 2556 : 23-24

19
ความจาเปน็ ท่ีจะต้องมีการท่องเท่ียวแบบยงั่ ยนื

ในสถานการณ์การท่องเที่ยวในปัจจุบันที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้มีความ
พร้อมในทุกๆด้านเพ่ือรองรับนักท่องเท่ียวที่จะไปเยือน เช่น ด้านท่ีพัก ด้านการคมนาคม ด้านส่ิงอานวย
ความสะดวกต่างๆ เป็นต้น ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีเป็นเรื่องละเอียดอ่อนมากของมุมมองการท่องเท่ียวที่มีวิธีคิดที่
แตกต่างกัน เช่น การสร้างที่พักบนภูทับเบิกเพื่อรองรับการท่องเที่ยวท่ีกาลังได้รับความนิยม มุมมองด้าน
การสร้างกระเช้าขึ้นภูกระดึงหรือแม้แต่ความต้องการของคนในชุมชนท่ีต้องการนักท่องเท่ียวเข้าไป
ท่องเท่ยี วโดยไม่จากัดจานวนซึ่งผลท่ีตามมา คือ การรองรบั ของพนื้ ทีแ่ ละสาธารณูปโภคไมเ่ พยี งพอ เปน็ ต้น
ซึ่งในหัวข้อต่อไปน้ีจะกล่าวถึง ความจาเป็นท่ีจะต้องมีการท่องเท่ียวแบบย่ังยืนจะสามารถช่วยเปิดมุมมอง
ใหมๆ่ ใหก้ บั การท่องเทีย่ วของประเทศไทยในปัจจุบันไดเ้ ป็นอยา่ งดี

เลิศพร ภาระสกุล ( 2551: 16-17) ได้อธิบายถึงความจาเป็นที่จะต้องมีการท่องเที่ยวแบบย่ังยืน
โดยคนส่วนมากยังไม่นึกถึงความจาเป็นหรือประโยชน์ของการท่องเท่ียวแบบย่งั ยืน โดยรับรู้แต่เพียงวา่ การ
ท่องเท่ียวแบบย่ังยนื ก็ฟังดูดีและก็นา่ จะเป็นการท่องเที่ยวที่ดี จากการประชุม The Globe ’90 ท่ีนครแวน
คูเวอร์ ประเทศแคนาดา ที่ประชุมได้แจกแจงประโยชน์และความจาเป็นที่จะต้องมีการท่องเท่ียวท่ีย่ังยืน
เอาไว้ดังนี้

1. การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการ
ท่องเทย่ี วทีจ่ ะมตี อ่ ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ทางวฒั นธรรม และตอ่ มวลมนษุ ย์

2. การท่องเท่ียวท่ีย่ังยืนจะช่วยทาให้มั่นใจได้ว่าจะมีการกระจายผลประโยชน์ และการช่วยกัน
แบกรับต้นทนุ อยา่ งเปน็ ธรรม

3. การท่องเที่ยวก่อให้เกิดการจ้างแรงงานท้ังในภาคการท่องเท่ียวโดยตรงและในภาคส่วนอ่ืนที่
สนบั สนุนการทอ่ งเท่ียวและในภาคบรหิ ารจัดการทรพั ยากรต่างๆ ทางการทอ่ งเท่ยี ว

4. การท่องเที่ยวก่อให้เกิดรายได้แก่อุตสาหกรรมภายในประเทศ เช่น ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม
และท่ีพักประเภทต่างๆ ผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหารและบริการด้านอาหารต่างๆ ธุรกิจทางด้านการขนส่ง
ธรุ กจิ การผลติ และจาหนา่ ยสินค้าหตั ถกรรมและการนาเทีย่ ว

5. การท่องเท่ียวนาเงินตราต่างประเทศเข้าสู่ประเทศและอัดฉีดเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ
ทอ้ งถนิ่

6. การท่องเที่ยวทาให้เกิดช่องทางการหารายได้ให้แก่ท้องถิ่นโดยเฉพาะอย่างย่ิงในชนบทที่มี
ปญั หาจากอาชีพการเกษ๖รตกต่าหรือไมเ่ พียงพอ

7. การท่องเที่ยวแบบย่ังยืน ต้องการการตัดสินใจร่วมกันจากทุกภาคส่วนของสังคม รวมถึง
ประชาชนในชุมชนท้องถ่ิน เพ่ือท่ีการท่องเท่ียวและผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรร่วมต่างๆ สามารถอยู่
ร่วมกันได้ การท่องเที่ยวแบบยั่งยืนต้องการการวางแผนและการจัดโซนต่างๆ เพื่อให้การพัฒนาการ
ทอ่ งเทยี่ วเหมาะสมกับความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ

8. การท่องเที่ยวกระตุ้นให้เกิดการปรับปรุงต่างๆ ในระบบการคมนาคมขนส่งในท้องถ่ิน
ระบบสอื่ สารต่างๆ และโครงสร้างพ้นื ฐานทจ่ี าเปน็ ต่อสังคม

9. การท่องเที่ยวทาให้เกิดสิ่งอานวยความสะดวกในด้านการพักผ่อนหย่อนใจท่ีคนในท้องถิ่น
สามารถใช้ประโยชนเ์ พื่อการพักผ่อนหยอ่ นใจ เช่นเดยี วกบั นกั ท่องเท่ียวอื่นๆ ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ
ก็สามารถใช้ประโยชน์ได้ นอกจากน้ีการท่องเท่ียวยังมีสว่ นช่วยเหลือในด้านทาใหเ้ กิดรายได้เพื่อนามาใชใ้ น
การอนรุ ักษแ์ หล่งโบราณคดี และสถานทีส่ าคญั ทางประวัตศิ าสตร์ และชุมชนทอ้ งถิน่ ด้วย

20
10. ในส่วนของการท่องเท่ยี วทางธรรมชาตยิ ังทาให้เกดิ การใช้ที่ดนิ ที่ไม่เหมาะกับการทาการเกษตร

ให้มปี ระโยชนค์ ุ้มคา่ โดยชว่ ยรักษาพืน้ ที่ให้คงความเป็นธรรมชาติไว้เพ่ือการท่องเทย่ี ว
11. ในส่วนของการท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมจะช่วยทาให้คนในท้องถิ่นมีความภาคภูมิใจใน

วัฒนธรรมของตนเอง และทาให้เกิดความเข้าใจอันดีและการสือ่ สารระหวา่ งคนในท้องถ่ินกับผู้มาเยือนจาก
ต่างวัฒนธรรม

12. การท่องเที่ยวทางด้านสิ่งแวดล้อมจะช่วยให้คนเราเห็นความสาคัญของทรัพยากรท้ังทาง
ธรรมชาติ และทางวฒั นธรรมท่ีมีผลต่อเศรษฐกจิ ของชุมชนและต่อความเป็นอยทู่ ดี่ ีของสังคม และจะช่วยให้
เกิดความพยายามทจ่ี ะดารงรักษาทรัพยากรทางธรรมชาติและทางวฒั นธรรม

13. การทอ่ งเท่ียวแบบย่ังยนื ช่วยให้เกิดการติดตามดแู ลเฝา้ ระวัง ชว่ ยให้เกิดการประเมินและมีการ
จดั การผลกระทบต่างๆ ทเ่ี กดิ จากการท่องเทย่ี ว นอกจากน้ียงั ทาใหส้ งิ่ แวดล้อมยงั คงสภาพท่ีสมดลุ และชว่ ย
แกไ้ ขจัดการผลกระทบดา้ นลบตา่ งๆ ดว้ ย

ภาพที่ 1.8 การให้ความรู้ในด้านการท่องเทยี่ วอย่างยงั่ ยืนกบั เยาวชน ณ ไรป่ ลกู รัก จังหวดั ราชบรุ ี
ท่ีมา : วชิ ดุ า สายสมทุ ร (2558)

วิชุดา สายสมุทร (2558) ได้กล่าวไว้ว่า ความจาเป็นที่ต้องมีการท่องเท่ียวอย่างย่ังยนื เพื่อเป็นการ
รักษาทรพั ยากรทางดา้ นการท่องเทย่ี ว ซ่ึงทรัพยากรทางดา้ นการท่องเที่ยวเหล่าน้ีถอื เปน็ สมบตั ิอันล้าค่าของ
ทุกคนในประเทศไทย เพราะทรัพยากรเหล่านี้คือส่ิงดึงดูดให้นักท่องเท่ียวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ภายในประเทศ และผลท่ีตามมาคือ เศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิตของชุมชนเกิดการจ้างงาน สร้างอาชีพ
ให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน เป็นต้น จะเห็นได้จากภาพที่ 1.8 วิทยากรกาลังสร้างจิตสานึกและให้
ความรู้ด้านการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนใหก้ ับเยาวชนและผู้ท่ีสนใจทั่วไป ให้มีความรักและหวงแหนทรัพยากร
ทางด้านการท่องเที่ยวและการท่องเที่ยวอย่างไรให้มีความยั่งยืน ซึ่ง ไร่ปลูกรักเน้น การทาเกษตรอินทรีย์
( Organic farm) เพ่ืออาหารคุณภาพสาหรับคนรักสุขภาพ ประสบความสาเร็จเป็นอย่างสูง มีผลิตภัณฑ์
เกษตรอินทรีย์ส่งขายทั้งในประเทศและส่งออกต่างประเทศ ที่ผ่านการตรวจสอบรับรองมาตรฐานเกษตร
อินทรีย์ระบบสากล (IFOAM Accredited) ได้ทาการเปิดฟาร์มให้นักท่องเท่ียวได้เข้าไปเที่ยวชมการทา
เกษตรอินทรีย์ของท่ีน่ีได้ด้วย สอดคล้องกับ นรเพชร ฟองอ่อน (2558) ได้กล่าวไว้ว่า ความจาเป็นที่ต้องมี
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพราะเป็นการสร้างจิตสานึกให้กับคนในชุมชนได้รักและหวงแหน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มใหค้ งอยถู่ ึงรุ่นลุก รนุ่ หลานต่อไป

21

จากการอธิบายถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน สามารถนามาเปรียบเทียบ
เก่ียวกับการท่องเท่ยี วรูปแบบตา่ งๆในปัจจุบันได้โดยเปรยี บเทียบการท่องเที่ยวแบบยงั่ ยืน กบั การทอ่ งเที่ยว
รปู แบบอืน่ ไดด้ งั น้ี
ตารางที่ 1.2 เปรียบเทียบการท่องเทย่ี วแบบยง่ั ยืน กบั การท่องเที่ยวรูปแบบอน่ื

ประเภทของการท่องเท่ียวท่ีสอดคลอ้ งกบั แนวคิด ประเภทของการท่องเที่ยวทไี่ ม่สอดคล้องกับ
ของการท่องเท่ียวแบบย่ังยนื แนวคิดของการท่องเที่ยวแบบย่ังยนื
1. การท่องเทีย่ วเชงิ นเิ วศ 1. การทอ่ งเท่ียวตามแนวชายฝ่ังทะเลสาหรับ
2. การท่องเทยี่ วชมุ ชน ตลาดมหาชน
3. การท่องเท่ียวเชงิ สุขภาพ 2. การทอ่ งเทีย่ วทีเ่ น้นกจิ กรรมทีส่ ่งผลกระทบ
4. การทอ่ งเทยี่ วเชงิ อาหาร ด้านลบตอ่ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เชน่ การ
5. การทอ่ งเทีย่ วทางวัฒนธรรมท่ีนกั ท่องเท่ียวมี เล่นสกี ขับรถออฟโร๊ด ข่จี กั รยานบนภเู ขา
การเรียนรู้เกย่ี วกบั ประวัติศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม 3. การท่องเที่ยวทางเพศ ซ่งึ นาไปส่กู ารแพร่
ของแหลง่ ท่องเทีย่ ว โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์
6. แหล่งท่องเที่ยวในเขตเมืองทีม่ กี ารฟนื้ ฟูนา 4. การตกปลา ลา่ สตั ว์ โดยไม่มกี ารควบคมุ
อาคารเก่าๆ กลบั มาใชป้ ระโยชนเ์ พือ่ การท่องเท่ยี ว 5. การทอ่ งเทย่ี วในแหล่งท่องเท่ยี วทม่ี ี
ใหม่ สภาพแวดลอ้ มท่เี ปราะบาง เช่น ป่าดบิ และแถบ
7. การทอ่ งเท่ยี วเชิงเกษตรในชนบทในบรเิ วณ ข้ัวโลกใต้
เลก็ ๆ ท่ีนารายได้มาส่เู กษตรกร 6. การท่องเทย่ี วเพ่ือจับโปเกม่อนไปยงั แหล่ง
8. การท่องเท่ียวเชิงอนรุ กั ษ์ที่นกั ท่องเทยี่ วไดร้ ว่ ม ท่องเทยี่ วทส่ี าคญั ในประเทศต่างๆท่วั โลก
ลงมือในกจิ กรรมการอนรุ ักษ์ระหว่างการท่องเที่ยว 7. การทอ่ งเทีย่ วเชิงอวกาศ

ท่ีมา : ปรับปรุงจาก John Swarbrooke (1999 : 19)

ภาพที่ 1.9 ชาวไตห้ วนั นบั พนั แห่รุมจบั โปเกมอน โกลาหลท้ังสแี่ ยก
ทีม่ า : (http://thaisarn.net/single.php?news=57bc90617d9357a7dfc3b8d0)

22

กลมุ่ ผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ตา่ งๆ ทจ่ี ะทาใหก้ ารท่องเที่ยวยั่งยืนหรือไมย่ ั่งยนื

ชมุ ชนท้องถน่ิ องคก์ รภาครัฐ ภาคอตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี ว
- ผู้ถูกจ้างงานโดยตรงในธุรกิจ - รฐั บาลกลางผกู้ าหนด - ธุรกิจนาเทีย่ ว
ทอ่ งเท่ยี ว นโยบายตา่ งๆ ของประเทศ - ฝา่ ยบรหิ ารแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วตา่ งๆ
- ผูท้ ไี่ มไ่ ด้ถกู จา้ งงานโดยตรงใน - องค์การบริหารส่วนจงั หวดั - ผู้ประกอบธรุ กิจที่พกั
ธุรกจิ ทอ่ งเท่ยี ว - องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล - ผู้ประกอบธรุ กิจดา้ นการขนสง่
- คนในทอ้ งถิ่นท่ที าอาชีพอ่ืนๆ - สานักงานเขต เชน่ สายการบนิ รถโค้ช ฯลฯ

นักทอ่ งเทยี่ ว การทอ่ งเที่ยวแบบ กลมุ่ พลังต่างๆ
- ตลาดมหาชน ยง่ั ยนื - กลมุ่ สทิ ธมิ นุษยชน
- จัดการเดินทางเอง - กลุม่ พันธมิตรประชาชน
- กล่มุ องคก์ รนกั ศึกษา

กลุ่มองค์กรสมัครใจ ผู้เชยี่ วชาญ สื่อต่างๆ
- กลมุ่ องค์กรท่ีไมใ่ ชภ่ าครฐั - ท่ปี รึกษาทางพาณชิ ย์ - สื่อท่องเท่ยี วโดยตรง
- องค์การการกุศล - นกั วชิ าการตา่ งๆ - สือ่ ทางอ้อม
- มูลนิธคิ ้มุ ครองสตั ว์ป่าและ
พรรณพืช
- ทรสั ต์

ภาพที่ 1.10 การท่องเทีย่ วแบบยัง่ ยืนเก่ยี วพันกบั กลุม่ ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี หลายกลมุ่
ทมี่ า : John Swarbrooke (1998 : 17)

23

หลักการสาหรับการท่องเทย่ี วอยา่ งยั่งยนื
ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชยี (2549) ได้อธิบาย

ไว้ว่าปัจจุบันในหลายๆ พื้นที่ได้มีการใช้กลยุทธ์ต่างๆ ในการจัดการท่องเที่ยวอย่างระมัดระวังและมีความ
รอบคอบมากขึ้น ซ่ึงกลยุทธ์เหล่าน้ีจริงๆ แล้วก็อยู่ภายใต้หลักเกณฑ์อย่างเป็นทางการของการท่องเที่ยว
อย่างย่ังยืน นักวางแผนและผู้เก่ียวข้องอาจใช้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้เพื่อเป็นแนวทางพื้นฐานในการรวมเอา
วิสยั ทศั น์ทกี่ ว้างของการพฒั นาอยา่ งย่งั ยืนเขา้ ไปบูรณาการกบั นโยบายและการปฏิบตั ิการของท้องถนิ่

หลกั การสาหรบั การท่องเทยี่ วอยา่ งย่งั ยืน

1. การมีสว่ นรว่ มของชุมชน 10. การประสานความร่วมมือระหวา่ งแหลง่
ทอ่ งเท่ยี วและผปู้ ระกอบการ

2. ความรว่ มมอื ของกลมุ่ ต่างๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง 11. การประเมนิ ผลกระทบจากการท่องเท่ียว

3. การสร้างโอกาสการจา้ งงานทมี่ คี ุณภาพ 12. การสร้างหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ผลกระทบ

4. การกระจายผลประโยชนจ์ ากการท่องเทีย่ ว 13. การเนน้ ผลประโยชน์ชุมชน คุณคา่ สิง่ แวดลอ้ ม
ทางธรรมชาติและวฒั นธรรม
5. การใช้ทรพั ยากรอยา่ งมคี ุณค่า เกิดประโยชน์
สงู สุด 14. การพัฒนาคน การศกึ ษา และหลกั สตู รตา่ งๆ

6. การวางแผนระยะยาว 15. การเสริมสรา้ งลักษณะเด่น อตั ตาลักษณข์ อง
ชุมชนและพน้ื ท่ี

7. ความสมดลุ ระหว่างวตั ถุประสงค์ด้านเศรษฐกิจ 16. การคานึงถงึ ขีดความสามารถในการรองรับ
สงั คม วฒั นธรรม และส่งิ แวดลอ้ ม ของทรัพยากร

8. ความสอดคล้องกนั ระหว่างแผนการท่องเที่ยว 17. การดารงรักษาทรัพยากรมรดกทางธรรมชาติ
และแผนพฒั นาดา้ นตา่ งๆ และวัฒนธรรม

9. ความรว่ มมอื ระหว่างผ้กู าหนดนโยบายกับผู้ 18. การทาการตลาดการท่องเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื
ปฏิบัติ

ภาพท่ี 1.11 หลักการสาหรับการท่องเท่ียวอย่างยง่ั ยืน
ท่ีมา : ศนู ย์เพ่ือการวางแผนการทอ่ งเท่ยี วและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549)

24
1. สมาชิกของชุมชนจะต้องควบคุมการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยการเข้าไปมีส่วนร่วมในการ

กาหนดวิสัยทัศน์ด้านการท่องเที่ยวของชุมชน กาหนดแหล่งทรัพยากรท่ีจะต้องได้รับการทานุบารุงและ
ส่งเสริม รวมทั้งการร่วมกาหนดเป้าหมายและกลยุทธ์ในการพัฒนาและการบริหารจัดการ นอกจากน้ี
สมาชิกของชุมชนจะต้องเข้าร่วมในการดาเนินการตามแนวทางและกลยุทธ์ที่ได้กาหนดขึ้น รวมทั้งการเข้า
มามสี ว่ นร่วมในการปฏิบตั ิงานด้านบรกิ ารการสาธารณูปโภคและการอานวยความสะดวกต่างๆ

2. นวัตกรรมด้านการท่องเที่ยวควรพัฒนาข้ึนจากความร่วมมือของกลุ่มต่างๆ ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องใน
พื้นท่ี

3. การพัฒนาด้านการท่องเท่ียวจะต้องรวมถึงโอกาสในการจ้างงานท่ีมีคุณภาพ การจัดหางานที่ดี
และเหมาะสมให้กับคนในพื้นท่ีควรจะเป็นสว่ นหนง่ึ ของภาพรวมของการพัฒนาการท่องเท่ียวในแต่ละพ้ืนท่ี
และหนงึ่ ในกระบวน

4. การกระจายผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวควรเป็นไปอย่างกว้างขวางในแต่ละพื้นที่ที่มีการ
พฒั นาการท่องเท่ยี ว ความสมั พนั ธ์ และการเชือ่ มโยงระหว่างกลมุ่ ตา่ งๆ ตลอดจนการมีสว่ นร่วมของสมาชิก
ชุมชนในการวางแผน ในการพัฒนา และการดาเนินงานบริหารทรัพยากรการท่องเท่ียว ตลอดจนการ
บรกิ ารดา้ นต่างๆ

5. การท่องเที่ยวยั่งยืนจะต้องให้ความเสมอภาคระหว่างคนรุ่นต่างๆ การกระจายต้นทุนและ
ผลประโยชน์จากการพัฒนาการท่องเท่ียวจะต้องเกิดขึ้นท้ังในคนรุ่นปัจจุบันและอนาคต เพ่ือให้เกิดความ
เป็นธรรมกับคนรุ่นต่อๆ ไป เราทุกคนไม่ว่าจะเป็นนักท่องเท่ียว ธุรกิจท่องเที่ยว และชุมชนควรจะรักษา
ทรัพยากรไวใ้ หอ้ ย่ใู นสภาพทด่ี ีไมน่ อ้ ยกวา่ ส่งิ ที่เรามอี ยู่ในปจั จุบนั ดงั นั้น การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวอยา่ งยั่งยืน
จะตอ้ งหลีกเลยี่ งการใชท้ รพั ยากรทไี่ ม่สามารถนากลับมาสูส่ ภาพเดิมได้

6. การวางแผนระยะยาวเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับผู้ประกอบการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อเป็น
หลักประกันวา่ พน้ื ทีน่ ัน้ ๆ จะไมเ่ สยี หายจากการดาเนินกจิ กรรมใดๆ เพียงเพื่อประโยชน์ระยะสน้ั และละทิ้ง
ไปเม่อื นักท่องเท่ียวและนักธุรกิจหมดความสนใจและย้ายไปที่อ่ืน การวางแผนระยะยาวจะช่วยส่งเสริมให้มี
การใช้กลยุทธ์ต่างๆ ในเชิงรุก เพ่ือให้เกิดความยั่งยืนของพ้ืนที่ และช่วยสร้างความสัมพันธ์เช่ือมโยงต่างๆ
ของทอ้ งถิ่น

7. ความกลมกลืนเป็นส่ิงจาเป็นท่ีจะต้องสร้างให้เกิดข้ึนระหว่างนักท่องเที่ยว สถานท่ี และชุมชน
องค์ประกอบสาคัญได้แก่ การสนับสนุนอย่างกว้างขวางจากผู้มีส่วนได้เสียประโยชน์ในพ้ืนที่ และความ
สมดุลระหว่างวัตถุประสงค์ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและมนุษย์ ตลอดจนการตระหนักถึง
ความสาคัญของการร่วมมือระหว่างรัฐบาลชุมชนท้องถ่ิน และอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ตลอดจนองค์กร
ไม่แสวงกาไรที่ทางานเกีย่ วข้องกับการพฒั นาชุมชนและอนรุ กั ษ์สิง่ แวดล้อม

8. กลยุทธ์และแผนด้านการท่องเท่ียวจะต้องได้รับการเช่ือมโยงเข้ากับวัฒนธรรม และแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ ฉบับต่างๆ

9. ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างผู้กาหนดนโยบายและผู้ปฏิบัติในระดับต่างๆ ตลอดจน
หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องมีความจาเป็นมาก โดยเฉพาะนโยบายด้านการท่องเที่ยว
และนโยบายสง่ิ แวดลอ้ ม ซ่ึงผูใ้ ห้บริการด้านตา่ งๆ ไม่ว่าจะเป็นดา้ นการขนสง่ ทจ่ี อดรถ ความสามารถในการ
รองรับด้านน้าดื่มน้าใช้ ความสามารถในการกาจัดน้าเสีย จะต้องได้รับการพิจารณารวมกับแผนการ
ท่องเทยี่ วและการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง

25
10. การประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งแหลง่ ท่องเท่ียว ผ้ปู ระกอบการ และธุรกิจการทอ่ งเท่ยี ว เป็น
ส่ิงจาเป็นเน่ืองจากแต่ละธุรกิจหรือการดาเนินงานด้านหนึ่งด้านใด ย่อมมีผลกระทบต่อการประกอบการ
หรือคุณภาพการทางานของธรุ กจิ ดา้ นอ่นื ๆ อยา่ งหลีกเลย่ี งไมไ่ ด้
11. มีความจาเป็นที่จะต้องทาการประเมินผลกระทบท่ีจะเกิดจากการพัฒนาด้านการท่องเท่ียว
ความสามารถในการรองรับของพื้นที่จะต้องได้รับการพิจารณา โดยครอบคลุมทั้งข้อจากัดและการพัฒนา
ด้านกายภาพ ด้านธรรมชาติ ด้านสังคมและวัฒนธรรม จะต้องมีความสอดคล้องกับข้อจากัดของท้องถิ่น
และส่ิงแวดล้อม แผนและการดาเนินงานใดๆ ควรได้รับการประเมินผลอย่างสม่าเสมอ และมีการปรับปรุง
แก้ไขตามความเหมาะสม
12. จะต้องมีการพัฒนาแนวทางหรือหลักเกณฑ์สาหรับการดาเนินการด้านการท่องเที่ยว รวมถึง
การประเมินผลกระทบ นอกจากนี้จะต้องมีการสร้างประมวลจรรยาบรรณในการปฏิบัติสาหรับการ
ท่องเที่ยวในทุกระดับ ทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น รวมทั้งการพัฒนาดัชนีช้ีวัดและ
ขีดจากัดสาหรับใช้ช้ีวัดผลกระทบ และความสาเร็จของโครงการท่องเที่ยว กลยุทธ์สาหรับการปกป้องและ
ติดตามตรวจสอบเป็นสงิ่ จาเป็น หากชุมชนต้องการปกปกั ษ์รักษาทรัพยากรซึ่งเป็นพ้ืนฐานสาคัญของสินคา้
ทางการทอ่ งเทยี่ วของพวกเขา
13. การวางแผนการท่องเท่ียว จะต้องเปล่ียนแปลงจากแนวทางดั้งเดิมที่เน้นการเติบโตของ
อตุ สาหกรรมมาเป็นการให้ความสาคญั ของโอกาสในการจ้างงาน และการพัฒนารายได้ รวมท้งั คุณภาพชีวิต
ของคนท้องถ่ินด้วย และในขณะเดียวกันก็ต้องแน่ใจว่า การตัดสินใจในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนานั้น
สะท้อนให้เห็นถึงการตระหนักในคณุ ค่าของส่ิงแวดล้อม ท้ังทางธรรมชาติและวัฒนธรรม การบรหิ ารจัดการ
และการใช้ทรัพยากรสาธารณะต่างๆ เช่น น้า อากาศ และท่ีดินของส่วนรวมควรมีความรับผิดชอบที่
สามารถตรวจสอบไดใ้ นฐานะของผู้ใช้ ทงั้ นีเ้ พื่อใหเ้ ป็นที่แนว่ ่าทรัพยากรเหลา่ นไี้ ม่ถูกนาไปใช้ในทางท่ีผิด
14. การพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนจาเป็นต้องอาศัยการพัฒนาการศึกษาและหลักสูตรอบรม
ต่างๆ เพ่ือส่งเสริมความรู้ความเข้าใจให้กับสาธารณะชน ตลอดจนส่งเสริมความสามารถทางธุรกิจ การ
ประกอบอาชีพ และความเชีย่ วชาญในสาขาอาชพี ต่างๆ
15. การพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนรวมถึงการส่งเสริมกิจกรรมและการดาเนินการที่จะช่วย
สง่ เสริมลักษณะเดน่ ของสภาพภูมทิ ัศน์และพื้นที่ในบรเิ วณน้นั ความเปน็ เอกลักษณ์ของชมุ ชน และโอกาสใน
การใช้ประโยชน์ของพื้นท่ีกิจกรรมต่างๆ ควรมุ่งให้เกิดประสบการณ์ที่มีคุณภาพ อันนาไปสู่ความพึงพอใจ
ของนักทอ่ งเทย่ี ว ขณะทย่ี ังยดึ มัน่ ในหลกั การอ่ืนๆ ของการท่องเท่ยี วอย่างยง่ั ยนื
16. ขนาดและประเภทของส่ิงอานวยความสะดวกสาหรับนักท่องเที่ยวจะต้องสะท้อนให้เห็น
ข้อจากัดและขีดความสามารถในการรองรับทรัพยากรในพ้ืนที่ โดยเน้นการส่งเสริมให้จัดสิ่งอานวยความ
สะดวกขนาดเล็ก และบริการทมี่ ีผลกระทบน้อย
17. กระบวนการบริหารจัดการเก่ียวกับการท่องเที่ยวจะต้องช่วยดารงรักษาไว้ซ่ึง
ทรพั ยากรธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรมทีส่ บื ทอดกนั มา ท้ังน้โี ดยใช้หลกั เกณฑ์และมาตรฐานของสากล
18. การทาตลาดการท่องเที่ยวที่ย่ังยืน ควรให้ความสาคัญในเร่ืองคุณภาพของประสบการณ์ที่
นักท่องเที่ยวจะได้รับในขณะที่ยังเน้นหลักการข้ออ่ืนๆ ท่ีได้กล่าวไว้ข้างต้น การส่งเสริมการตลาดดังกล่าว
ควรกระทาอย่างมีสานึกรับผิดชอบและสะท้อนจริยธรรมของการบริหารจัดการของแหล่งพื้นท่ีการ
ทอ่ งเทย่ี ว

26

หลักเกณฑ์เหล่านี้เป็นต้องการความมุ่งมั่นและอาจกล่าวได้ว่า การดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จ
เป็นสิ่งท่ียากมาก ที่จะทาให้การพัฒนาการท่องเที่ยวยึดมั่นอยู่กับหลักเกณฑ์เหล่าน้ี อย่างไรก็ตาม ในการ
วางแผนด้านการท่องเท่ียวทุกครั้งควรที่จะนาหลักการเหล่าน้ีมาพิจารณาใช้เป็นเป้าหมายในการวางแผน
ดาเนนิ การ
หลักการจดั การทอ่ งเท่ียวแบบย่งั ยืน

การจัดการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนมีหลักการท่ีสาคัญเป็นพ้ืนฐานที่หน่วยงาน องค์กรหรือผู้ท่ีมีส่วน
เกี่ยวข้องจะต้องนาไปพิจารณาในการจัดการท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ลดผลกระทบในด้านต่างๆที่
จะส่งผลตามมาในอนาคต เช่น การวางยุทธศาสตร์และนโยบายต่างๆ การสร้างสิ่งอานวยความสะดวกเพือ่
รองรบั การทอ่ งเทีย่ ว เป็นตน้

เลิศพร ภาระสกุล ( 2551: 14-15) ได้ศึกษาถึงความหมายของการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนมาแล้ว
และจะเห็นได้ว่าการให้คาจากัดความเป็นเรื่องยาก และการท่ีจะอธิบายลักษณะของการท่องเที่ยวแบบ
ย่ังยืนว่ามีรูปร่างหน้าตาอย่างไรก็เป็นเรื่องที่ทาได้ยากอีกเหมือนกัน แต่ส่ิงท่ีพอจะทาได้ก็คือเราสามารถ
กาหนดหลักการต่างๆ ท่ีจะช่วยสนบั สนุนส่งเสริมวิธกี ารต่างๆ ที่จะทาให้การจัดการการท่องเท่ียวเป็นไปใน
ลกั ษณะที่ย่งั ยนื Bramwell และคณะ (1996, อ้างถงึ ใน เลิศพร ภาระสกลุ , 2551) ไดเ้ สนอหลกั การจัดการ
การท่องเท่ียวให้มีความย่ังยืน ถึงแม้ว่าหลักการเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ แต่จะต้องตระหนักว่าหลักการ
เหล่าน้ีเป็นเร่ืองของกระบวนการมากกว่าท่ีจะเป็นผลลัพธ์ หลักการเหล่าน้ีบอกแต่เพียงว่าหลักการเหล่านี้
เป็นเรื่องของกระบวนการมากกว่าที่จะเป็นผลลัพธ์ หลักการเหล่านี้บอกแต่เพียงว่าเราจะบรรลุถึงการ
ท่องเที่ยวท่ียั่งยืนได้อย่างไร และการท่องเท่ียวแบบย่ังยืนควรจะมีนัยอย่างไร โดยไม่ต้องจาแนกความ
แตกตา่ งระหว่างการทอ่ งเท่ียวแบบยง่ั ยืนกับการเทยี่ วท่ไี มย่ ั่งยนื

หลักการต่างๆ ท่ีเป็นพื้นฐานของการจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของ Bramwell (1996,อ้าง
ถึงใน เลศิ พร ภาระสกุล, 2551)

1. การจัดให้มีนโยบายการวางแผนและการจัดการเปน็ สงิ่ ท่ีสมควรและจาเปน็ ในการแก้ปัญหาการ
ใชท้ รพั ยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคลอย่างไม่เหมาะสมในเร่ืองการท่องเท่ยี ว

2. หลักการนี้ไม่ใช่การต่อต้านการเจริญเติบโตแต่เป็นการเน้นย้าว่าการเติบโตต้องมีขีดจากัดและ
การทอ่ งเทยี่ วต้องใหอ้ ยใู่ นขอบเขตทเ่ี รากาหนดขดี จากดั ไว้

3. การนึกถึงระยะยาวเป็นสง่ิ ทีจ่ าเป็น ไม่คิดอะไรในระยะสน้ั ๆ
4. การจัดการการท่องเท่ียวท่ีย่ังยืนไม่ได้หมายความเพียงเรื่องของสิ่งแวดล้อมอย่างเดียว แต่
จะต้องรวมไปถึงด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม การเมือง และการจดั การดว้ ย
5. หลักการจะเน้นท่ีความสาคัญของการตอบสนองต่อความต้องการจาเป็นของมนุษย์และ
ตอบสนองต่อความม่งุ หวงั ตา่ งๆ โดยเกีย่ วพนั กับความเสมอภาค ความเท่าเทียมและความเปน็ ธรรม
6. จะตอ้ งปรกึ ษากบั กลมุ่ ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียทุกคนทุกกลุ่มและให้อานาจในการตดั สินใจในด้านการ
ท่องเท่ียวและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะต้องได้รับการแจ้งให้ทราบเก่ียวกับประเด็นต่างๆ ของการพัฒนาอย่าง
ยง่ั ยืน
7. ถึงแมว้ ่าการพัฒนาอยา่ งย่ังยืนควรจะถือวา่ เป็นเปา้ มายของนโยบายและการดาเนินการต่างๆ ก็
ตาม การที่จะนาความคิดเกี่ยวกับการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนไปปฏิบัติเราจะต้องระลึกไว้เสมอว่าสิ่งที่จะ
บรรลผุ ลน้นั มขี ีดจากัดเสมอทงั้ ในระยะสัน้ และระยะปานกลาง
8. การที่จะเปล่ียนความตงั้ ใจท่ีดใี หไ้ ปสกู่ ารปฏิบัตอิ ย่างไดผ้ ล ผปู้ ฏิบตั ิตอ้ งมีความรู้และความเข้าใจ
เกี่ยวกับการทาหน้าท่ีของเศรษฐศาสตร์การตลาด ต้องเข้าใจเร่ืองของวัฒนธรรมและกระบวนการจัดการ

27
ของธุรกิจภาคเอกชน และของภาครัฐ ต้องเข้าใจถึงบทบาทของกลุ่มองค์กร การสมัครใจต่างๆ รวมไปถึง
ต้องรถู้ ึงทัศนคตแิ ละค่านยิ มของกลุ่มคนทัว่ ไปด้วย

9. ต้องระลึกไว้เสมอว่าการขัดกันระหว่างผลประโยชน์เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรต่างๆ น้ันมีอยู่
เสมอ ซ่งึ หมายความวา่ เร่ืองได้อยา่ งเสียอยา่ งและการประนีประนอมกนั เป็นสงิ่ จาเปน็ ที่ไม่อาจหลกี เลยี่ งได้

10. การชง่ั น้าหนักระหว่างตน้ ทนุ และกาไรหรือผลประโยชน์ในการตัดสินใจเกีย่ วกับกิจกรรมต่างๆ
จะต้องพิจารณาให้รวมไปถึงประเด็นที่ว่ากลุ่มต่างๆ หรือบุคคลต่างๆ จะได้อะไรหรือจะต้องสูญเสียอะไร
ดว้ ย
บทสรุป

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เป็นอุตสาหกรรมท่ีสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศเป็นลาดับท่ี 1 ซึ่งจะต้อง
ให้ความสาคัญในการบริหารจัดการด้านการท่องเท่ียวในรูปแบบต่างๆ ท่ีจะไม่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากร
ของประเทศ เพื่อทานุบารุงรักษาทรัพยากรต่างๆไว้ให้ลูกหลานในอนาคต ซ่ึงการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
จะต้องให้ความสาคัญกับ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและเทคโนโลยีต่างๆ การท่องเที่ยวจะต้องเป็นการ
ท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ ส่งผลให้เกิดการท่องเท่ียวที่ยั่งยืน แนวทางด้านการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนจะต้องให้
ความสาคัญกับประวัติความเป็นมาของการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน วาระ 21 (Agenda 21) กับการท่องเท่ียว
อย่างย่ังยืน แนวคิดและความหมายของความย่ังยืน การให้คาจากัดความของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ความหมายของการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน ความจาเป็นท่ีจะต้องมีการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน หลักการสาหรับ
การท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน ซ่ึงแนวคิดเบ้ืองต้นเหล่านี้จะเป็นแนวทางพ้ืนฐานในการพัฒนาการท่องเท่ียวของ
ประเทศไทยเพ่ือรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและรองรับการเปล่ยี นแปลงของสงั คมโลกเขา้
สศู่ ตวรรษท่ี 21 ตอ่ ไป

แบบฝกึ หัดท้ายบท
1. จงอธบิ ายประวตั คิ วามเป็นมาของการท่องเทีย่ วแบบยั่งยืนและววิ ฒั นาการแนวคดิ เก่ียวกับการ
ท่องเท่ยี วแบบยั่งยืน
2. จงอธิบายความหมายของการท่องเทยี่ วแบบย่ังยนื
3. จงอธิบายหลกั การจัดการท่องเท่ยี วแบบยงั่ ยนื
4. จงอภิปรายในประเด็นเปรียบเทยี บการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนกบั การท่องเทย่ี วรปู แบบอ่ืนๆ
5. จงอภปิ รายในประเด็นประเทศไทยจะไดป้ ระโยชน์อะไรจากการท่องเทีย่ วแบบยงั่ ยืนในการเขา้ สู่
ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นและรองรบั การเปลยี่ นแปลงของสงั คมโลกเขา้ สู่ศตวรรษท่ี 21
6. นกั ศกึ ษามคี วามคดิ เหน็ อย่างไรเกย่ี วกับการท่องเท่ยี วเพื่อจับโปเกม่อนไปยังแหลง่ ท่องเท่ยี วที่
สาคัญในประเทศต่างๆทว่ั โลก
7. นักศกึ ษาจะประยุกต์ใชห้ ลักการท่องเทย่ี วอยา่ งอย่างยนื ในการพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วไดอ้ ยา่ งไร
8. นักศกึ ษาจะมีวิธกี ารแนะนาบุคคลใกล้ชดิ อย่างไรเพื่อสร้างจติ สานกึ ในการท่องเทย่ี วแบบยัง่ ยืน
9. ใหน้ ักศกึ ษายกตวั อยา่ งรปู แบบการท่องเท่ียวอยา่ งยง่ั ยืนมาใหถ้ ูกต้อง
10. แหลง่ ท่องเท่ยี วในประเทศไทยท่ีใดคือแหล่งทอ่ งเท่ียวอยา่ งยัง่ ยนื จงใหเ้ หตผุ ลประกอบ

28

เอกสารอา้ งองิ

การท่องเท่ียวแบบย่ังยืน.จากhttp://wean-wean-greentourism blogspotcom. blogspot.com/.
สบื คน้ เม่ือ 10 ม.ค. 2559.

เทิดชาย ชว่ ยบารุง. (2552).บทบาทขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นกบั การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอยา่ ง
ย่งั ยืน บนฐานเศรษฐกิจพอเพียง.วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกลา้ .

นรเพชร ฟองอ่อน (2558) สัมภาษณ์ประเด็นความจาเป็นท่ีต้องมีการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน.วันท่ี 24
สิงหาคม 2558 ณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี.

บุญเลิศ จิตต้ังวัฒนา. (2542 ).การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. เชียงใหม่ : คณะ
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.

บุญศิลป์ จิตตะประพันธ์และคณะ. (2556 ). การท่องเท่ียวทางทะเลและชายฝ่ังในจังหวัดชุมพร:
สถานะ ความต้องการ ปัญหา และแนวโน้มในการพัฒนาการท่องเท่ีย วอย่างย่ังยืน.
มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้.

ประมาณ เทพสงเคราะห์และจรินทร์ เทพสงเคราะห์. (2551) การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนของ
ชมุ ชนลมุ่ นา้ ทะเลสาบสงขลาฝ่ังตะวันตก. มหาวทิ ยาลัยทักษิณ.

ประทปี มีคตธิ รรม. (2557).แนวความคดิ การพฒั นาท่ียง่ั ยืน. สืบค้น เม่ือวันท่ี 4 มกราคม 2558. จาก
http://www.lrct.go .th/tools/?p=425.

พิทยะ ศรีวัฒนสาร. (2554).การทอ่ งเที่ยวแบบยง่ั ยืน.สืบค้นเมือ่ 10 ม.ค. 2559 จาก
(http://sustainabletourismdpu.blogspot. com/ 2011/02/blog-post_7353.html..

เลิศพร ภาระสกุล. (2551). การจัดการการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน: เอกสารคาสอน ภาควิชาการท่องเที่ยว
และการโรงแรม คณะศลิ ปศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย์.

วิชุดา สายสมทุ ร. (2558).ผาชะนะไดอุทยานแห่งชาตผิ าแต้ม จังหวัอบุ ลราชธานี. คณะวทิ ยาการจัดการ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี. (ภาพถา่ ย)
. (2558). ไร่ปลูกรัก จังหวัดราชบุรี. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
(ภาพถ่าย)

ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549). แนวทางการวาง
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน: คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศูนยร์ ังสิต.

สุเนตร สุวรรณละออง. (2555). การท่องเท่ียวทางเลือกกับความย่ังยืนของสังคมไทย. ภาควิชาสังคม
วิทยา คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

สืบชาติ อนั ทะไชย. (2558).มมุ มองการท่องเท่ียวเชิงอนุรกั ษ์ : การท่องเท่ยี วเชิงกีฬา.ขอ้ เสนอโครงวจิ ัยมงุ่
เป้า คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี.

e – TAT Tourism Journal การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย. (2552). การท่องเท่ยี วอย่างย่งั ยืน: กระบวน
ทัศน์การส่งเสริมและพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วยุคใหม่.

John Swarbrooke. (1998). Sustainable Tourism manage. Principal Lecturer in Tourism
School of Leisure and Food Management Sheffield Hallam University Sheffield,UK.

Kian Foh Lee. (2001). Sustainable tourism destinations: the importance of cleaner
Production. Journal of Cleaner Production 9 (2001) 313-323.

29

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 2
แนวคดิ และองค์ประกอบของการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน

เน้ือหาประจาบท
1. ความหมายของการพัฒนา
2. ลักษณะของการพฒั นา
3. การพฒั นาอย่างยง่ั ยนื
4. องคป์ ระกอบของการพฒั นาอย่างย่ังยืน
5. แนวทางการขับเคล่อื นการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืนเพอื่ การท่องเทย่ี วของไทย
6. แนวคิดเก่ียวกับการพฒั นาการท่องเทย่ี วแบบย่ังยนื
7. การพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแบบยง่ั ยนื
8. ข้อควรคานงึ ของการพฒั นาการท่องเท่ยี วแบบย่ังยืน
9. สรปุ
10. แบบฝกึ หดั ท้ายบท

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. อธิบายความหมายของการพัฒนาได้
2. สรปุ ลกั ษณะของการพฒั นาได้
3. สรุปการพฒั นาอย่างยั่งยืนได้
4. บอกองคป์ ระกอบของการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื ได้
5. บรรยายแนวคิดเก่ียวกับการพฒั นาการท่องเทีย่ วแบบยง่ั ยนื ได้
6. บอกลักษณะการพฒั นาการท่องเทย่ี วแบบย่ังยืนได้
7. สรุปขอ้ ควรคานึงของการพัฒนาการท่องเทีย่ วแบบยั่งยนื

วิธีสอน
1. ศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอนวชิ าการพฒั นาการท่องเทยี่ วอย่างย่งั ยืน
2. อาจารยผ์ สู้ อนให้หวั ข้อผู้เรียนอภปิ รายผลและสรุป
3. ใชป้ ญั หาเป็นฐาน ถาม-ตอบผู้เรยี น
4. บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ

กิจกรรม
1. แบง่ กลมุ่ ใหน้ กั ศึกษาสรปุ เนอ้ื หาสาคญั และนาเสนอ
2. การแสดงบทบาทสมมติ
3. ค้นควา้ เพ่มิ เติมจากอินเตอร์เนต็
4. ตอบคาถามระหว่างบรรยาย
5. ทาแบบฝึกหดั ท้ายบท

30

สอ่ื การเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยนื
2. PowerPoint ประกอบการบรรยาย
3. ภาพประกอบต่างๆจากอนิ เตอร์เน็ต

การวดั และประเมนิ ผล
1. ประเมินผลจากการนาเสนอรายงาน
2. ประเมนิ ผลจากการทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
3. สังเกตพฤติกรรมผเู้ รยี นในการถาม-ตอบ
4. สังเกตจากพฤติกรรมความสนใจและการรว่ มกิจกรรมในชั้นเรยี น

31

บทท่ี 2
แนวคดิ และองค์ประกอบของการพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแบบยง่ั ยืน

แนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนและองค์ประกอบของการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบย่ังยืน
เป็นพ้ืนฐานสาคัญในการท่ีจะพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทย ซึ่งการพัฒนาการท่องเท่ียวของประเทศ
ไทยจะต้องคานึงถึงความย่ังยืนเป็นหลักในการพัฒนา และคานึงถึงองค์ประกอบท่ีมีความเกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาการท่องเท่ียวเพ่ือให้เข้าใจ เข้าถึงและพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวนั้นๆให้มีความยั่งยืน การพฒั นาอย่างยัง่ ยืน
เป็นการพัฒนาอยา่ งพอเหมาะ พอควรเป็นไปอย่างสมดุลทั้งในภาคเศรษฐกิจ สังคมรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมต่างๆ บทนี้จะกล่าวถึง ความหมายของการพัฒนา ลักษณะของการพัฒนา การพัฒนาอย่าง
ยั่งยืน องค์ประกอบของการพัฒนาอย่างย่ังยืน แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
องค์ประกอบของการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยืน การพัฒนาการท่องเทยี่ วแบบยั่งยืน ข้อควรคานึงของการ
พัฒนาการท่องเทย่ี วแบบยงั่ ยืน
ความหมายของการพัฒนา

การพัฒนาเปน็ แนวทางในการขบั เคล่ือนประเทศเข้าส่สู ังคมทอ่ี ยดู่ มี ีสุข ทั้งด้านรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม
สตปิ ญั ญา โดยมผี ใู้ หค้ วามหมายของการพฒั นาไว้ดังน้ี

พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์ (2553) ได้ให้ความหมายของคาว่า การพัฒนาน้ันเก่ียวกับการท่องเท่ียวท่ี
จะต้องทาความเขา้ ใจเบื้องต้นก่อนคือ การท่องเที่ยวจะต้องเกิดกระบวนการพัฒนาขึ้นจึงจะนาสู่การท่องเท่ียว
ทยี่ ่งั ยนื ตอ่ ไปได้สาหรับชุมชน สาหรับมิติของความหมายของคาวา่ การพฒั นานน้ั โดยภาพรวมแลว้ มีการแบ่งโดย
นักวชิ าการท่ีเก่ียวขอ้ งดังนี้

เพียส (D.G. Pearce, 1989 อ้างถึงใน พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์, 2553) ได้แบ่งมิติของการพัฒนาใน
มมุ มอง 4 มิติด้วยกนั คือ

1. ความหมายของการพฒั นาในแงเ่ ศรษฐกจิ
2. ความหมายของการพัฒนาในมุมมองของความทนั สมยั
3. ความหมายของการพฒั นาในดา้ นเพ่ือเกิดความเท่าเทียม
4. ความหมายของการพัฒนาในแง่ของการสรา้ ง
ฮารท์ (Hart, 1999 อา้ งถงึ ใน พมิ พ์ระวี โรจนร์ งุ่ สัตย์, 2553 ) ยงั อธิบายความหมายของการพฒั นาว่า
คือ “การนามาซ่ึงศักยภาพ โอกาส ความก้าวหน้า หรือประสิทธิภาพท่ีเพ่ิมขึ้น” และฮอลล์ (Hall, 1998 อ้าง
ถึงใน พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์, 2553) “การสร้างประสบการณ์ท่ีดีแก่นักท่องเที่ยวและส่งผลถึงประโยชน์ด้าน
เศรษฐกิจ สงั คมและสิ่งแวดล้อม สาหรับรัฐ เอกชนและชมุ ชน”
สนธยา พลศรี (2547) กล่าวไว้ว่า“การพัฒนา” ในความหมายทั่วไปหมายถึง การเปลี่ยนแปลงส่ิงใด
ส่ิงหนึง่ ใหค้ ณุ ภาพดขี ้ึนกว่าเดิม
ชานาญ วัฒนศิริ (2543) กล่าวไว้ในวารสารพัฒนาชุมชนว่า “กระบวนการพัฒนาชุมชน” คือ
“กระบวนการพัฒนาประชาคมหรือความเป็นประชาคม ด้วยการทาไห้เกิดการรวมตัวกัน การทางานร่วมกัน
การเรียนรู้ร่วมกัน และจะมีการจัดการ และการเอื้ออาทรต่อกันและกันของประชาชนในชุมชนขึ้นตามมา ”
กระบวนการทจ่ี ะพฒั นาให้เกดิ ชมุ ชนเข้มแข็งมีขน้ั ตอนโดยสรุป คอื

32

1. สร้างแนวคดิ ใหมใ่ ห้กับผ้นู าชมุ ชนทีจ่ ะเป็นกลุ่มแกนในการดาเนนิ การ
2. กลมุ่ แกนรว่ มกับประชาชนศึกษาศกั ยภาพของชุนชน
3. กลุ่มแกนรว่ มกบั ประชาชน กาหนดแผนการพฒั นาชมุ ชน
4. กล่มุ แกนรว่ มกบั ประชาชน ดาเนนิ กจิ กรมตามแผน
5. กล่มุ แกนร่วมกบั ประชาชน ตดิ ตามและประเมนิ ผล
การพัฒนาชุมชน เป็นการทางานของพนักงานของนักพัฒนาเป็นคนนอกชุมชน หรือ กลุ่มแกนนา
หรือผ้นู าชุมชน ซ่งึ ต้องสรา้ งความตระหนกั ใหก้ บั ประชาชนในปญั หาและความต้องการของชุมชน เพราะปญั หา
ชมุ ชนต้องแก้ด้วยความร่วมมือร่วมใจของประชาชนเอง จึงจะสาเรจ็ และจะทาให้ประชาชน (หรือ เรียกรวมๆ
“ชมุ ชน”) เกิดการเรียนรู้ ความเอ้อื อาทรต่อกัน และความคิดและความม่นั ใจทีจ่ ะพึ่งตนเอง ซึง่ สดุ ท้ายจะสง่ ผล
ให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ แต่ต้องภายใต้เงื่อนไข 2 ประการคือ การมีส่วนร่วมของประชาชนสูง และ
กิจกรรมรว่ มกัน มีอยอู่ ย่างตอ่ เน่ือง
จากการทบทวนแนวคิดในการพัฒนาชุมชน พบว่าในการพัฒนาชนบทที่จะทาให้ชมุ ชนมกี ารพัฒนา
ที่ยังยืนน้ัน จะต้องมีองค์ประกอบหลายด้าน ท้ังด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่ง
การท่องเที่ยวโดยชุมชนเองก็เป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมท่ีจะไป เสริมให้การพัฒนาชุมชนสร้างการเรียนรู้และ
สร้างให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนรว่ มในการพัฒนาชมุ ชนของตนเอง โดยพจนา สวนศรี (2546) ได้แสดงให้เห็นถึง
ตวั ชี้วดั ด้านตา่ ง ๆของการท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนทเ่ี ป็นตวั บง่ ชถี้ ึงการพัฒนาในมติ ิต่างๆ

ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสังคม

 มีรายไดจ้ าการผลิต ชุม  คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา
 มกี ารพฒั นาด้าน ชน  ดารงความยุตธิ รรมในสงั คม
 มีคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี
เศรษฐกจิ ท่ี  มีองคก์ รชมุ ชน
หลากหลาย
 พงึ่ ตนเองได้

ด้านการเมือง ด้านสงิ่ แวดล้อม ดา้ นวฒั นธรรม
 การมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน
 การพัฒนาความต้องการ  สทิ ธิในการจดั การทรัพยากร  การศกึ ษา
ของประชากร  การดูแลเอาใจใสส่ ่งิ แวดลอ้ ม  การรบั รู้ ถ่ายทอด
 ความเป็นประชาธปิ ไตย  การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
วัฒนธรรม
 การอนุรกั ษว์ ฒั นธรรม

ภาพที่ 2.1 องคป์ ระกอบหลัก 5 ดา้ นของการพฒั นาชุมชน ที่มา : พจนา สวนศรี (2546)
สรุปจากการค้นคว้าความหมายของการพัฒนา จึงหมายถึง การเปลยี่ นแปลงส่ิงใดกต็ ามทีม่ ีอยเู่ ดิมให้ดี
ขึ้นไปในทิศทางบวกและลดผลกระทบท่ีตามมาให้น้อยท่ีสุด เช่น การพัฒนาชุมชน การพัฒนาการท่องเท่ียว
การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเ์ ป็นตน้

33

ภาพท่ี 2.2 การพัฒนาการทอ่ งเท่ียวอย่างยั่งยนื โดยร่วมประกอบอาหารประจากลุม่ ชาติพันธ์ไุ ทดา
บ้านนาปา่ หนาด ตาบลเขาแก้ว อาเภอเชยี งคาน จังหวดั เลย

ลักษณะของการพัฒนา
ในการพฒั นาจะต้องคาถงึ ลักษณะของการพฒั นาเพือ่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ทวี่ างแผนดาเดนิ การไว้
สนธยา พลศรี (2547) ไดอ้ ธิบายไวว้ ่าเมือ่ การพัฒนาถูกกาหนดความหมายจากหลายแหลง่ และ

หลายสาขาวิชา ทาใหล้ กั ษณะของการพฒั นามหี ลายประการ แตล่ ะลักษณะทีส่ าคญั มดี ังต่อไปนี้
1. เป็นการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ เช่น ด้านคุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดล้อมของส่ิงใดส่ิงหนึ่งให้ดี

ขึ้นหรือให้มีความเหมาะสม อันเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรอบด้าน ไม่ใช่เปล่ียนแปลงในด้านใดด้านหนึ่งเพียง
อย่างเดียวเท่านั้น หรืออาจจะเรียกได้ว่าต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงท้ังระบบ ซ่ึงเป็นลักษณะตามความหมาย
ทางด้านพฒั นบริหารศาสตร์

2. มีลักษณะเป็นกระบวนการ คอื เป็นการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนตามลาดบั ขนั้ ตอนและอยา่ งต่อเนื่อง
โดยแต่ละขนั้ ตอนมีความเกยี่ วขอ้ งสัมพันธก์ นั เปน็ ลาดับ ไมส่ ามารถขา้ มขนั้ ตอนหนง่ึ ได้

3. มลี ักษณะเป็นพลวัต คือ เป็นการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขึ้นตลอดเวลาไม่หยุดนิ่ง แตก่ ารเปล่ยี นแปลงท่ี
เกิดข้ึนจะเปน็ แบบรวดเรว็ หรือช้าๆ ปรมิ าณมากหรือน้อยก็ได้

4. เป็นแผนและโครงการ คือ เกิดข้ึนจากการเตรียมการไว้ล่วงหน้าว่าจะเปลี่ยนแปลงใคร ด้านใด
ดว้ ยวิธีการใด เม่ือไร ใช้งบประมาณเท่าใด ใครรับผิดชอบ เป็นต้น ไม่ใช่เป็นการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นโดยไม่มี
การเตรียมการไว้ล่วงหนา้

5. เป็นวิธีการ การพัฒนาเป็นมรรควิธีหรือกลวิธีที่นามาใช้ให้เกิดการเปล่ียนแปลงตามเป้าหมายที่
กาหนดไว้ เช่น การพฒั นาสังคม การพัฒนาชนบท การพัฒนาเมอื ง การพัฒนาเศรษฐกิจ การพฒั นาชุมชน ตา่ ง
กเ็ ป็นวิธกี ารพฒั นาแบบหนง่ึ ทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะเป็นของตนเอง

6. เป็นปฏิบัติการ คือ เป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นจริง ไม่เป็นเพียงแนวความคิด หรือเป็นเพียงรายละเอียดของ
แผนและโครงการเทา่ นน้ั เพราะการพัฒนาเป็นวธิ กี ารท่ตี ้องนามาใชป้ ฏบิ ตั จิ รงิ จึงจะเกดิ ผลตามทตี่ ้องการ

7. เป็นส่ิงที่เกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์ เพื่อประโยชน์ของมนุษย์ เพราะมนุษย์เป็นสัตว์โลก
ประเภทเดียวทสี่ ามารถจัดทาแผนโครงการและคิดค้นวิธีการพฒั นาตนเองและส่งิ ตา่ งๆได้ การเปลี่ยนแปลงใดก็
ตามถา้ ไม่เกิดจากการกระทาของมนุษยแ์ ล้ว จะไม่ใช่การพัฒนา แม่ว่าจะมลี ักษณะอนื่ ๆ เหมอื นกับการพฒั นาก็
ตาม

34

8. ผลท่ีเกิดขึ้นมีความเหมาะสมหรือพึงพอใจ ทาให้มนุษย์และสังคมมีความสุข เพราะการพัฒนา
เปน็ ส่งิ ท่เี ก่ียวข้องกบั มนษุ ย์และการอยู่รว่ มกันเปน็ สงั คมของมนุษยน์ นั่ เอง

9. มีเกณฑ์หรือเครื่องชี้วัด คือ สามารถบอกได้ว่าลักษณะที่เกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงนั้น เป็นการ
พัฒนาหรือไม่ ซ่ึงอาจดาเนินการได้หลายวิธี เช่น การเปรียบเทียบกับสภาพเดิมก่อนที่จะเกิดการเปล่ียนแปลง
กาหนดเกณฑ์มาตรฐานในการชีว้ ัดในด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านคุณภาพ ปรมิ าณ ส่ิงแวดล้อม ความคงทนถาวร
การประเมนิ ผลจากผทู้ ี่เก่ยี วข้องวา่ มีความเหมาะสมหรอื พึงพอใจหรอื ไม่ และระดับใด เปน็ ตน้

10. สามารถเปล่ียนแปลงได้ การพัฒนานอกจากจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อมนุษย์ สังคม และ
ส่ิงต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับมนุษย์แล้ว รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการพัฒนาเองก็สามารถเปลี่ยนแปลงได้
เน่ืองจากมนุษย์และสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทั้งการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
และการเปล่ยี นแปลงที่เป็นผลของการพฒั นา จงึ มีความจาเป็นตอ้ งปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงกระบวนการพัฒนาให้
เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขึ้นด้วยการพัฒนาใหม่ๆจงึ เกดิ ข้นึ อย่เู สมอ

ลกั ษณะท้ัง 10 ประการน้ี เป็นลักษณะรวมของการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงที่ขาดลักษณะใดลักษณะ
หน่ึงจะไม่ใช่การพัฒนา เป็นเพียงการเปล่ียนแปลงในรูปแบบหนึ่งท่ีมีความหมายใกล้เคียงกบั การพัฒนาเทา่ น้ัน
การเปลี่ยนแปลงลักษณะน้ีมีอยู่ท่ัวไป และมีผู้นามาใช้แทนการพัฒนาซ่ึงไม่ถูกต้อง เพราะการพัฒนาต้องมี
ลกั ษณะรวมกนั ท้ัง 10 ประการ ดังกล่าวแลว้ ลักษณะของการพฒั นาอาจสรปุ ได้ ดังน้ี

การเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ งๆ เช่น ดา้ น
คุณภาพ ปรมิ าณ ส่งิ แวดลอ้ มของ

กระบวนการ

พลวตั

แผนและโครงการ

ลกั ษณะของการพัฒนา วิธกี าร

ปฏบิ ัตกิ าร

การกระทาของมนุษย์

มคี วามเหมาะสม

มีเกณฑช์ วี้ ัด

เปลีย่ นแปลงได้

ภาพท่ี 2.3 ลักษณะของการพัฒนา ท่มี า : สนธยา พลศรี (2547)

สรุปได้ว่า ลักษณะของการพัฒนา คือหลักการและขั้นตอนเป็นแนวทางในการนาไปปฏิบัติเพื่อให้การ
พัฒนาบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้โดยคานึงถึง เป้าหมายหรือผลท่ีออกมาให้เกิดประโยชน์สูงสุดและชุมชน
ได้รับประโยชน์สูงสุดโดยไม่ส่งผลกระทบต่อบริบทในด้านต่างๆของพ้ืนท่ี เช่น วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต
เปน็ ตน้


Click to View FlipBook Version