The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2019-10-17 07:21:39

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

102

ภาพท่ี 5.4 การเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรม บ้านอาฮี ตาบลอาฮี อาเภอทา่ ล่ี จงั หวดั เลย
ในสว่ นที่ 3 คอื Accommodation
นักท่องเท่ยี วต้องมีสาหรับกนิ นอน ในชมุ ชนหากตอ้ งการให้นักท่องเที่ยวใช้เวลาในชมุ ชนเปน็ เวลานาน
กวา่ แค่จุดแวะพกั ในการท่องเทยี่ วคาว่า “accommodation” ไม่ได้หมายถงึ เพียงที่พักแน่นอนอย่างเดียวแต่
รวมถึงบริการดา้ นอาหารและรา้ นคา้ ด้วย
สถานที่นอน
สาหรับในเมืองใหญ่ๆ นักท่องเท่ียวอาจจะคาดหวังว่าจะมีที่พักท่ีสะดวกและทันสมัย เช่น โรงแรม
ใหญ่ๆ แต่สาหรับในชุมชนน้ันสถานที่ดังกล่าวอาจเป็นในรูปแบบบ้านหลังเล็กหรือบ้านของชุมชนเองที่
จัดเตรียมไว้เป็นสัดส่วน หรือบังกะโลท่ีเข้ากับชุมชนได้ แต่ส่ิงท่ีสาคัญคือ ความสะอาด และการจัดการท่ี ดีท่ี
นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่จะคาดหวัง ชุมชนไม่จาเป็นต้องสร้างท่ีพักหรูหราเพ่ือบริการนักท่องเท่ียวเหมือนเมือง
ใหญ่ เนื่องจากไม่ได้มีนักท่องเที่ยวเหมือนเมืองท่องเท่ียว เพียงแต่มีสถานท่ีพักที่เหมาะสม และหากแสดงถึง
เอกลักษณข์ องชมุ ชนน้ันๆ ด้วยยงิ่ ดี

ภาพท่ี 5.5 การจดั การท่พี ักแบบโฮมสเตย์ของชาวบา้ นอาฮี ตาบลอาฮี อาเภอทา่ ลี่ จังหวดั เลย

103

สถานทกี่ นิ
ร้านอาหารนน้ั มีขนาดต่างๆ กันต้ังแต่หรูหราจนมาถึงร้านอาหารในบ้านของชมุ ชนเอง ในชุมชนท่ีใหญ่
นักท่องเที่ยวอาจจะคาดหวังร้านอาหารท่ีใหญ่หรือมีร้านให้เลือกมากกว่าในชุมชนท่ีเล็ก อย่างไรก็ตาม
นักท่องเท่ียวที่มาเที่ยวในชุมชนเพ่ือความสบายใจ เพื่อศึกษาเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ ที่ไม่เหมือนบ้านของพวกเขา
ดังนั้นอาหารในแบบของชุมชนเองจึงเป็นส่วนหนึ่งที่นักท่องเที่ยวต้องการจะทดลองเพื่อประสบการณ์ใหม่ๆ
และได้สมั ผสั วิถชี ีวิตชองชุมชนอย่างแท้จริง จงึ ควรมีการเตรียมการในสว่ นนี้ไว้
ห้องสขุ า
ความสะอาดและหาได้ง่ายของห้องสุขาก็เป็นส่ิงสาคัญสาหรับการมาเท่ียวของนักท่องเที่ยว และเป็น
สว่ นหนึ่งทส่ี รา้ งความประทบั ใจหรอื ไม่สร้างความประทบั ใจให้แก่นักทอ่ งเทย่ี วด้วยเชน่ กนั
ร้านค้า
นักท่องเที่ยวที่มาเท่ียวท่ัวไปจะชอบจับจ่ายซ้ือของโดยเฉพาะของที่ระลึกที่เป็นของพ้ืนเมือง เช่น
ศิลปะ หตั ถกรรมพนื้ บา้ น หรอื อาจเปน็ โปสการด์ หนงั สือทเ่ี กี่ยวกับแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว หรือแมแ้ ต่แผนที่ ดงั น้นั การ
มีร้านค้าสาหรับขายของท่ีนักท่องเท่ียวอาจต้องการจึงเปน็ อีกทางหนึ่งท่สี ร้างรายได้ให้แก่ชุมชนและสรา้ งความ
ประทับใจแก่นักท่องเท่ียวได้ ในบางครั้งรา้ นค้าอาจถือเป็นอีกแหล่งทีท่ ่องเท่ียวในชมุ ชนได้เช่นกัน และอาจเป็น
แหลง่ รายไดท้ ส่ี าคญั อยา่ งคาดไมถ่ งึ เลยทีเดยี ว
การบรกิ ารขนสง่ คมนาคมโดยเฉพาะในชมุ ชน
แม้นักทอ่ งเท่ยี วจะเดนิ ทางมาถงึ ชุมชนแลว้ ก็ตาม นักทอ่ งเท่ียวอาจยงั ต้องการการบรกิ ารดา้ นคมนาคม
ภายในชุมชนดว้ ย เช่น จากท่ีพกั ไปยงั ท่องเทีย่ วตา่ งๆ ดังน้ันการบริการดา้ นนี้จงึ ควรมีการเตรียมการไว้และต้อง
เน้นถึงความปรอดภัย ความสม่าเสมอและราคาท่ีเหมาะสม

สว่ นที่ 4 คอื Attractions
นักท่องเท่ียวต้องมีเหตุผลที่จะมาเที่ยวในชุมชน ดังน้ันสิ่งสาคัญท่ีต้องมีในชุมชนคือ ส่ิงที่น่าสนใจท่ีน่า
เย่ียมชม หรือน่ามีส่วนร่วม เช่น กิจกรรมต่างๆ ส่ิงเหล่านี้ถือว่าเป็นสิ่งดึงดูดสาหรับการท่องเที่ยว สิ่งดึงดูดน้ัน
อาจเป็นทรพั ยากรธรรมชาติ เชน่ ภูเขา น้าตก ทะเล หรืออาจเปน็ เทศกาลงานรืน่ เริงต่างๆ บางครัง้ สงิ่ ดงึ ดูดนั้น
อาจถูกสร้างข้ึนมา แต่โดยทั่วไปความสาเร็จจะเกิดข้ึนได้มากหากชุมชนเน้นสิ่งดึงดูดทางการท่องเที่ยว ที่มี
รากฐานจากชุมชน เช่น ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หรือวัฒนธรรม เป็นต้น ตัวอย่างส่ิงที่น่าดึงดูดทางการ
ทอ่ งเท่ียว เช่น
วิวทวิ ทัศนท์ ส่ี วยงาม เชน่ ภูเขา นา้ ตก ทะเล แนวปะการัง
กจิ กรรมนันทนาการ เช่น เรอื ใบ เดนิ ปา่ ปนื เขา ตกปลา ตง้ั แคมป์ ดนู ก ดาน้า
แหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ เชน่ พิพิธภณั ฑ์ ตกึ เกา่ วดั แหล่งโบราณคดี
แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางวฒั นธรรม เชน่ พิพธิ ภณั ฑ์ทางวฒั นธรรม แหล่งทอผา้ ศนู ย์วฒั นธรรม
งานประเพณหี รือเทศกาลตา่ งๆ เช่น งานประจาปีของชมุ ชน การแสดงพเิ ศษ การแข่งขนั ประจาปี
แหลง่ ท่องเที่ยวทโ่ี ดดเด่นในชุมชน เช่น สวน สถาปัตยกรรม อ่าว หรอื ทิวทศั น์ทไ่ี มเ่ หมอื นทอี่ ่ืน







107
ตน้ ทุนและผลประโยชนจ์ ากการทอ่ งเท่ียว

การวางแผนเพื่อพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนนอกจากหลักการ ข้ันตอน แนวทาง ท่ีจะทาให้การ
พัฒนาการท่องเท่ียวประสบความสาเร็จแล้วส่ิงที่เป็นองค์ประกอบท่ีต้องคานึงถึงและมีความสาคัญเป็นอย่าง
มาก คือเรื่องของต้นทุนและผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวซ่ึงถือได้ว่าเป็นอีกความสาคัญอีกอย่างหน่ึงที่มี
ความสัมพนั ธแ์ ละผลกระทบท่ไี ม่อาจมองข้ามได้

ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549 : 1-4) ได้
กลา่ วถงึ การท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่ทส่ี ุดในโลก ดงั นั้น การท่องเทีย่ วจึงมศี ักยภาพในการท่ีจะ
เข้าไปมีบทบาทเก่ียวพันในหลายประเด็นที่เป็นเรื่องสาคัญในหลายๆ พ้ืนท่ีของโลกและได้รับการมองว่า
สามารถส่งผลท้ังทางบวกและทางลบได้ ดังนั้น หากเราได้มีการพิจารณาต้นทุนและผลประโยชน์จากการ
ท่องเท่ียวเสียตั้งแต่ต้น จะทาให้เราสามารถนาจุดแข็งและโอกาสมาขยายผลให้เกิดประโยชน์อย่างท่ีสุด
ขณะเดยี วกนั เรากส็ ามารถลดจุดออ่ น หรอื อุปสรรคความเสีย่ งให้น้อยลงอยา่ งทีส่ ดุ

สถานการณ์การวางแผนการท่องเท่ียวแต่ละสถานการณ์จะมีคุณลักษณะแตกต่างกันไปตาม
สถานการณ์แวดล้อมนั้นๆ ต้นทุนและผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวจะแตกต่างกันไปตามจุดมุ่งหมาย และ
สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ข้ึนอยู่กับลักษณะของการท่องเที่ยวและกิจกรรมต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
ทัง้ ในระดบั ท้องถ่ินและในระดับภูมภิ าค

การพัฒนาการท่องเท่ียวมีทั้งต้นทุนและผลประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ
ส่ิงแวดลอ้ ม ดงั แสดงในรูปภาพท่ี 5.8

ด้านเศรษฐกิจ

ดา้ นสังคม
ตน้ ทนุ ผลประโยชน์

ด้านวฒั นธรรม

ด้านสิง่ แวดล้อม
ภาพ 5.8 ต้นทนุ และผลประโยชนจ์ ากการพัฒนาการท่องเทีย่ วในดา้ นตา่ งๆ
ที่มา : ศนู ย์เพ่ือการวางแผนการทอ่ งเท่ยี วและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549)
ผลประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจ
1. การทอ่ งเท่ยี วสรา้ งการจ้างงานในท้องถิ่นทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม
2. การท่องเท่ียวกระตุ้นให้เกิดอุตสาหกรรมภายในประเทศท่ีมีศักยภาพในทางเศรษฐกิจ อาทิ การ
โรงแรมและการจัดการด้านท่ีพักประเภทต่างๆ ภัตตาคารและการบริการด้านอาหาร ระบบการขนส่ง
หัตถกรรม และการบรกิ ารดา้ นมัคคุเทศก์ เปน็ ต้น

108

3. การทอ่ งเที่ยวเป็นแหลง่ ทีม่ าของเงนิ ตราตา่ งประเทศ ตลอดจนการนามาซง่ึ การลงทุนและเงินสะพัด
เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทอ้ งถนิ่ ทรพั ยากรตา่ งๆ และงบประมาณในการลงทนุ ในระบบเศรษฐกจิ น้นั ๆ

4. การทอ่ งเทย่ี วสร้างความหลากหลายให้กบั ระบบเศรษฐกิจของท้องถน่ิ โดยเฉพาะในพื้นทชี่ นบท ซึง่
เปน็ พ้นื ทก่ี ารจ้างงานภาคเกษตรไม่แน่นอและเพยี งพอ

5. การทอ่ งเท่ียวช่วยเพิ่มรายไดจ้ ากการเก็บภาษีท่ีได้รับจากนักท่องเท่ียว ในกรณีที่มีการบวกภาษีจาก
การขายสนิ ค้าและบริการเขา้ ไปในระบบภาษขี องจังหวัดหรอื การบรหิ ารสว่ นกลาง

6. สร้างโอกาสการจ้างงานในธุรกิจชุมชนซ่ึงสืบเนื่องมาจากการจับจ่ายใช้สอยและการใช้บริการด้าน
ต่างๆ ของนกั ท่องเทีย่ วท่ีหลั่งไหลเขา้ มาในชมุ ชน

7. เพิ่มโอกาสในการทาธุรกิจท่ีเกี่ยวกับสินค้าและการบริการซึ่งยังไม่มีมาก่อนให้กับชุมชน ตลอดจน
เป็นการสร้างสินค้าทางการท่องเท่ียวใหม่ๆ

8. การปรับปรุงระบบถนนและโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐาน เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาแหล่ง
ท่องเท่ียว
ตน้ ทุนระบบเศรษฐกจิ

1. ลักษณะงานส่วนใหญ่ที่เกิดข้ึนจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวอาจเป็นงานท่ีได้รับค่าจ้างท่ีค่อนข้างต่า
และอาจไมต่ อ้ งการความเชยี่ วชาญเฉพาะทางท่สี ูงนัก

2. ภาวะเงนิ เฟ้อ อาจเกิดขึ้นในกรณีทผี่ ู้ประกอบการท้องถิน่ ต้องการเพิ่มผลกาไรหรือพยายามจะทาให้
ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินการ สามารถครอบคลมุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจา้ งคนงานเพิ่มเตมิ

3. มลู ค่าของอสังหาริมทรัพย์อาจมีราคาสูงข้ึน หากชุมชนนั้นๆ กลายเปน็ แหล่งท่องเที่ยวท่ีได้รับความ
นิยมสูง ซ่ึงสามารถส่งผลให้ภาษีอสังหาริมทรัพย์มีราคาสูงข้ึน และจะส่งผลกระทบเป็นความไม่พอใจของคน
ทอ้ งถ่ิน

4. หากการท่องเท่ียวในพ้ืนที่นั้นๆ มีลักษณะเป็นการท่องเท่ียวตามฤดูกาล รายได้ของชุมชนจากการ
ทอ่ งเท่ียวจะมลี กั ษณะไม่คงที่

5. ปริมาณความต้องการในการใช้บริการด้านสุขภาพอนามัย และการรักษาความสงบเรียบร้อยของ
เจ้าหน้าที่ตารวจ อาจมีปริมาณสูงขึ้นในช่วงฤดูท่องเที่ยว ซ่ึงเป็นการจัดบริการ โดยการใช้ต้นทุนจากภาระการ
ชาระภาษีของคนท้องถ่ิน

6. อาจเกิดการขาดแคลนทพ่ี ักอาศัยของเจ้าหน้าที่และบุคลากร
ผลประโยชนด์ า้ นสังคม

1. เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในท้องถิ่นจากการพัฒนาระบบเศรษฐกิจอย่างหลากหลาย
จากทใ่ี ชห้ ลกั การในการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื

2. การท่องเที่ยวก่อให้เกิดสิ่งอานวยความสะดวกด้านนันทนาการและวัฒนธรรม ซ่ึงให้ประโยชน์ทั้ง
กบั คนในทอ้ งถิน่ นกั ท่องเที่ยวในประเทศและนกั ท่องเท่ยี วจากต่างประเทศ

3. พื้นที่สาธารณะต่างๆ อาจได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้ดีขึ้นโดยผ่านกิจกรรมด้านการท่องเที่ยว
4. การท่องเที่ยวช่วยสรา้ งความภูมิใจใหเ้ กิดข้ึนในท้องถ่ินและสร้างโอกาสในการกระชับความสมั พันธ์
และการติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งคนจากตา่ งวฒั นธรรม

109

ตน้ ทนุ ทางสงั คม
1. การขยายตัวของการท่องเที่ยวท่ีเร็วเกินไป จะทาให้เกิดการขาดแคลนสิ่งอานวยความสะดวกและ

บรกิ ารต่างๆ ทัง้ ในดา้ นของปรมิ าณและคณุ ภาพ
2. ปญั หาการทง้ิ ขยะไม่เปน็ ที่ การทาลายสาธารณะสมบัติ และอาชญากรรมในท้องถ่นิ อันเป็นผลจาก

การขยายตวั ด้านการท่องเทีย่ ว ต้องกลายเป็นความรับผดิ ชอบของชุมชนน้ัน
3. การท่องเท่ียวก่อให้เกิดการแออัดและปัญหาการจราจร ความแออัดอาจสร้างความรู้ สึกไม่

สะดวกสบายซ่งึ เป็นสิง่ ที่ไม่พงึ ปรารถนาสาหรับคนท้องถนิ่ และส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนในชมุ ชน
4. นักท่องเท่ียวต่างชาติ ซ่ึงมีความพร้อมด้านวัตถุและเสรีภาพในการแสดงออก อาจทาให้เยาวชนใน

ชุมชนนั้นๆ เกิดค่านิยมท่คี ลอ้ ยตา ซ่ึงอาจสง่ ผลกระทบอยา่ งรนุ แรงตอ่ วิถีชีวติ ดงั้ เดิมของชุมชน
5. อาชญากรรมที่เพิ่มมากข้ึนอาจมีผลมาจากการท่องเท่ียว โครงสร้างของชุมชนอาจเกิดการ

เปลี่ยนแปลงทงั้ ในประเด็นความผูกพนั ของคนในชมุ ชน โครงสรา้ งประชากรและสถาบนั ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง -
ความเป็นเอกลกั ษณข์ องสงิ่ แวดลอ้ มทางสังคมและวฒั นธรรมอาจเกิดการเปลีย่ นแปลง

6. กิจกรรและการแสดงต่างๆ ท่ีจัดข้ึน อาจถูกบิดเบือนไปจากเอกลักษณ์เดิมและอาจจะไม่ได้สะท้อน
ถึงวิถชี ีวติ ด้ังเดิมที่แทจ้ ริงของคนในทอ้ งถิ่น

7. แบบแผนการดาเนินชีวิตของชุมชนอาจถูกทาลายและก่อให้เกิดความตึงเครียดในชุมชนเกินกว่า
ระดบั ที่ยอมรับได้
ผลประโยชนด์ า้ นวัฒนธรรม

1. การท่องเที่ยวสามารถช่วยหนุนสร้างสานึกความตระหนักในเรื่องวัฒนธรรมท้องถ่ิน แต่ใน
ขณะเดยี วกนั กอ็ าจก่อใหเ้ กดิ การบิดเบือนได้

2. การทอ่ งเท่ียวสามารถสร้างรายได้ เพ่ือนาไปใช้ในการทานบุ ารุงแหล่งโบราณคดี สถานท่สี าคัญทาง
ประวตั ศิ าสตรแ์ ละการคงอยขู่ องวฒั นธรรม การละเลน่ ประเพณี กิจกรรมพน้ื บ้านต่างๆ ของชมุ ชน

3. การท่องเที่ยวช่วยส่งเสริมให้เกิดการแลกเปล่ียนทางวัฒนธรรมและประสบการณ์ ซ่ึงจะเป็น
ประโยชน์ทั้งนักท่องเท่ียวและคนท้องถ่ิน และสามารถเอื้อประโยชนต์ ่อการฟื้นฟูขนบธรรมเนียมประเพณีและ
ศลิ ปหตั ถกรรมด้งั เดมิ
ตน้ ทุนด้านวฒั นธรรม

1. เยาวชนในท้องถน่ิ อาจมีพฤตกิ รรมเลียนแบบนกั ทอ่ งเที่ยวในดา้ นคาพดู และการแต่งตัว
2. การท่องเท่ยี วและกิจกรรมที่เกี่ยวขอ้ งอาจทาให้เกดิ ความเสยี หายต่อโบราณสถานของชมุ ชน
3. การท่องเที่ยวอาจนามาซ่ึงความเสียหายระยะยาวต่อขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมความเสอ่ื มถอย
ของค่านยิ มท้องถิ่น
ผลประโยชน์ด้านสิ่งแวดลอ้ ม
1. การท่องเท่ียวทางธรรมชาติช่วยส่งเสริมให้เกิดการใช้ประโยชน์จากพ้ืนท่ีต่างๆ ที่อาจมีผลตอบแทน
น้อยในด้านเกษตรกรรม แต่ชว่ ยสง่ ผลให้อาณาบริเวณส่วนใหญ่ยงั คงปกคลุมด้วยพืชพรรณธรรมชาติ
2. สวนสาธารณะ เขตอนุรักษ์ธรรมชาติอาจถูกจัดสรรให้มีมากข้ึนและระบบนิเวศจะได้รับการดูแล
สง่ เสรมิ เพอื่ สนับสนุนการทอ่ งเทีย่ วเชิงธรรมชาติ (Nature based tourism)
3. การท่องเที่ยวมีส่วนช่วยในการกระตุ้นการจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว เช่น มีระบบการ
จดั การขยะ
4. กระตนุ้ จติ สานึกในดา้ นการรักษาส่ิงแวดล้อม

110

ต้นทนุ ด้านสงิ่ แวดล้อม
1. การทอ่ งเที่ยวอาจส่งผลกระทบดา้ นลบตอ่ ความสมบรู ณ์ของสภาพทางกายภาพของพื้นท่ี
2. การพฒั นาอย่างรวดเร็ว การพฒั นาทีม่ ากเกินไปและความแออัดอาจก่อให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงทาง

ภายภาพของส่งิ แวดล้อมและระบบนเิ วศของพน้ื ทีน่ น้ั ๆ อยา่ งถาวร
3. อาจสรา้ งปญั หาในเรอ่ื งขยะ ความเส่ือมโทรมของพน้ื ท่ี ระบบกาจดั นา้ เสียและการบรหิ ารจดั การส่ิง

ปฏกิ ลู ท่ไี มเ่ พยี งพอกับความต้องการ
4. บริเวณที่มคี วามเปราะบาง ตลอดจนถ่ินท่ีอยขู่ องสตั วแ์ ละพืชอาจถูกทาลาย
5. การเส่ือมโทรมของสวนสาธารณะ และเขตอนุรักษ์ต่างๆ อาจเกิดขึ้นจากการใช้งานมากเกินไปและ

ส่งผลให้เกดิ การขาดประสทิ ธิภาพในระบบการบริหารจดั การ
6. มีแนวโนม้ ของการเพ่ิมขน้ึ อยา่ งมากมายของปรมิ าณขยะ
7. อาจก่อให้เกดิ ปัญหามลพษิ ทางนา้ และอากาศ
8. การชารุดเสยี หายของระบบสาธารณปู โภคอาจเกิดข้นึ ได้เรว็ กว่าทีค่ วรจะเป็น

การวางแผนกลยทุ ธ์การทอ่ งเท่ยี วอยา่ งยงั่ ยืนในเชิงบูรณาการ
การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนถือได้ว่าเป็นส่ิงที่ยากและท้าทายเป็นอย่างมาก ซึ่งส่ิงที่จะทาให้

แผนประสบความสาเร็จนอกจากการวางแผนทด่ี ีแลว้ การสรา้ งกลยุทธเ์ พอ่ื ใหส้ ามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ ย่ิงเป็น
ส่ิงที่ยากมากกว่า สิ่งที่จะทาให้ท้ังการวางแผนและการสร้างกลยุทธ์ประสบความสาเร็จได้น้ันจะต้องเกิดจาก
ความร่วมมอื ร่วมแรงรว่ มใจจากทุกองค์ประกอบหลายๆอยา่ งเพื่อให้เกดิ การบรู ณาการท่เี ปน็ รปู ธรรมทช่ี ัดเจน

ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549 : 11-20) เน้ือ
แทข้ องการพัฒนาการท่องเทย่ี วอย่างย่ังยืนจาเป็นต้องมีกระบวนการวางแผนและการบริหารจดั การ ทน่ี ามาซึ่ง
ชุดของการดาเนินการท่ีตระหนักในแบบแผนเชิงกลยุทธ์และความยั่งยืนในการวางแผนและการพัฒนา การ
วางแผนด้านการท่องเที่ยวยังคงเป็นสิ่งท่ีต้องโต้เถียงกันและยังมีความไม่ชัดเจนอยู่ต่อไป เน่ืองจากเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐและผู้ท่ีประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมท่องเท่ียวส่วนใหญ่ยังคงติดอยู่กับคาจากัดความและขอบเขตใน
งานของตนเองเท่านน้ั

แม้บางประเทศในภูมภิ าคเอเชยี และแปซิฟิก ทเ่ี พิ่งอยใู่ นระยะเร่ิมต้นของการพฒั นาด้านการท่องเที่ยว
จะยังไม่มคี วามซบั ซ้อนของอตุ สาหกรรมมากนัก แตก่ ถ็ อื เป็นส่งิ จาเป็นสาหรับผู้มีหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบดูแลหรือผู้ทา
หน้าท่ีด้านการวางแผนการท่องเท่ียวท่ีเน้นความสาคัญของประโยชน์สาธารณะ จะต้องตระหนักในมิติท่ีสาคัญ
2 ประการ ไดแ้ ก่ การวางแผนเชงิ กลยทุ ธแ์ ละการวางแผนในเชงิ บรู ณาการ

ความจาเปน็ ในการวางแผนการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ
ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปญั หาความยากจนแหง่ เอเชีย (2549 : 11-

20) ได้กล่าวไว้ว่าแม้ว่าเราสามารถพบเห็นแหล่งท่องเท่ียวหลายแห่งท่ีได้รับการพัฒนาโดยปราศจากจิตสานึก
ปราศจากแผนเชิงกลยุทธ์ และปราศจากการวางแผนในเชิงบูรณาการ แหล่งท่องเท่ียวเหล่าน้ีต้องประสบกับ
ผลกระทบด้านลบต่างๆ ทีม่ อิ าจคาดเดาไดแ้ ละนาไปส่คู วามเส่ือมโทรมในเวลาต่อมาจึงต้องมกี ารบูณาการดังนี้

(ก) ความจาเป็นในการวางแผน
หลายครั้งท่ีผู้มีอานาจในการตัดสินใจในด้านการพัฒนาการท่องเท่ียวมีความคิดเห็นว่าเรามี
แผนและกระบวนการวางแผนพัฒนาต่างๆ มากจนเกนิ ไปแลว้ ในขณะที่บางกลุ่มกลับเห็นวา่ เรามีความจาเป็น
ที่ต้องมีกฎระเบียบและการวางแผนมากข้ึนเพื่อให้มั่นใจได้ว่าเราจะสามารถไปสู่เป้าหมายข องการท่องเท่ียว
อย่างย่ังยืน และบางกลุ่มยืนยันว่าพวกเราควรต้องการมีการวางแผนที่น้อยลงรวมถึงกฎระเบียบท่ีน้อยลงด้วย

111

ในความเป็นจริงแล้ว ไม่มีคาตอบใดท่ีถูกต้องสาหรับการวางแผนแต่ละระดับ ในแต่ละสถานการณ์ ความ
เหมาะสมจะขึ้นอยู่กับแต่ละสังคมที่จะเป็นผู้กาหนดว่าอะไรคือความพอดีในการวางแผนการท่องเที่ยวอย่าง
ยง่ั ยนื เชน่ เดยี วกนั การวางแผนการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนจาเป็นต้องอาศัยการมสี ่วนร่วมของท้องถ่นิ อยา่ งเต็มท่ี
ในการวางแผนและพัฒนาการท่องเท่ียว ขนาดและคุณภาพของการมีส่วนร่วมดังกล่าวย่อมผันแปรไปตาม
ปจั จยั ทางวฒั นธรรมและการเมืองของแตล่ ะพืน้ ที่ การพัฒนาระบบของการวางแผนท่สี ลบั ซับซ้อนยงุ่ ยาม จะไม่
มีประโยชนป์ ระการใดเลย หากปราศจากการสนับสนุนจากการเมอื งและชมุ ชนนัน้ ๆ ดังน้ัน สาหรบั สถานการณ์
เช่นน้ี จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ก่อนอ่ืนเราต้องสร้างโครงสร้างท่ีเหมาะสมสาหรับกระบวนการวางแผนเ พื่อ
หลีกเล่ียงความล้มเหลว อยา่ งเช่นในอดีตท่ผี า่ นมา

(ข) ความล้มเหลวของการวางแผนแบบดงั้ เดมิ
หลายคนได้ต้ังข้อสงสัยในประสิทธิผลของการวางแผน บางคนเห็นว่าเป็นการเสียเวลา
เน่ืองจากแผนส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกนามาปฏิบัติแต่ถูกเก็บไว้บนหิ้ง ในหลายกรณีการวางแผนในอดีตมักจะเน้นใน
เร่ืองของการพัฒนาข้ันตอนและระเบียนข้อบังคับต่างๆ แทนท่ีจะพัฒนาเครื่องมือหรือกลไกที่จะนาไปสู่
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นภายใต้กระบวนการวางแผน ความล้มเหลวที่เกิดข้ึนจากการ
วางแผนแบบด้ังเดิมและแบบหลักเหตุและผล สามารถจาแนกตามสาเหตุและปัจจัยต่างๆ ดังแสดงในรูปภาพ
5.9

การขาดความยดื หย่นุ การขาดวธิ กี ารคดิ เชงิ การวางแผนแบบจาก การขาดความเช่ือมโยง
กลยทุ ธ์และวสิ ัยทศั น์ บนลงสลู่ า่ งทไ่ี ร้ ระหวา่ งการจดั ทาแผน
ประสทิ ธผิ ล และการนาไปปฏิบัติ

ภาพท่ี 5.9 ปจั จัยทน่ี าไปสู่ความล้มเหลวของการวางแผนแบบดง้ั เดมิ
ท่ีมา : ศนู ยเ์ พ่ือการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปญั หาความยากจนแห่งเอเชีย (2549)

การขาดความยดื หยนุ่
วิธีการวางแผนแบบด้ังเดิมใช้หลักเหตุผลเชิงตรรกวิทยา ทาให้เป็นแผนท่ีมีความเข้มงวดมากเกินไป
ขาดความยืดหยุ่นและความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยนเพ่ือความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา วิธีการดาเนินงานที่ระบุรายละเอียดเปน็ ขั้นเปน็ ตอนและยึดถืออย่าเข้มงวดนีท้ าให้
เป็นการยากท่ีหน่วยงานหรือแหล่งท่องเที่ยวจะสร้างความสมดุลที่พอเหมาะให้เกิดข้ึนระหว่างแหลง่ ทรัพยากร
และปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อพ้ืนที่ท่องเที่ยวนั้น การใช้กลยุทธการวางแผนท่ีมีความหลากหลาย เน้นพลวัตร
การปฏิบตั ิท่ไี มย่ ึดหลกั ตายตัว จะช่วยทาให้กระบวนการวางแผนการท่องเทยี่ วมีความเปน็ พลวตั ร ยืดหยุน่ และ
ปรบั ตวั ไดด้ เี พื่อตอบรบั ต่อความเปลย่ี นแปลงได้ดีข้นึ
การขาดวิธีการคดิ เชิงกลยทุ ธแ์ ละวสิ ยั ทัศน์
มกี ารวิพากษว์ ิจารณ์จากนักวจิ ยั บางทา่ นเกยี่ วกบั วธิ ีการวางแผนแบบดั้งเดมิ ซงึ่ ยดึ หลกั เหตุผลว่า แผน
เหล่านี้ขาดวิสัยทัศน์ของผู้นาในข้ันตอนของการกาหนดกลยุทธ์ การรวม “วิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์” ของบรรดา
ผู้นาและผู้มีอานาจในการตัดสินใจ (มิใช่ของผู้เชี่ยวชาญด้านการวางแผน) เข้าไปในแผนด้วย จะทาให้แผน

112

ดังกล่าวไม่เพียงแต่สามารถนาไปใช้เป็นแผนปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้เป็น
แนวทางและแนวคิดสาหรับองค์กร ในการจะบรรลุซง่ึ เป้าหมายรวมและประโยชน์ขององค์กรอกี ดว้ ย

การวางแผนแบบจากบนลงส่ลู ่างที่ไรป้ ระสทิ ธผิ ล
การวางแผนโดยใช้เจ้าหน้าที่ด้านการวางแผนหรือผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกพื้นท่ีทาให้ไม่สามารถ
สะทอ้ นถงึ ความคิดเหน็ ความต้องการ และทศั นคติท่หี ลากหลายของผูม้ สี ว่ นได้เสียประโยชนข์ องการท่องเท่ียว
โอกาสท่จี ะประสบความสาเร็จจากการดาเนินการตามแผนแบบบนลงส่ลู ่างนัน้ ค่อนข้างน้อย เน่อื งจากขาดการ
สนับสนนุ และความรว่ มมอื จากชุมชนทอ้ งถน่ิ โดยเฉพาะในระบบทางการเมอื ง ซง่ึ คนท้องถน่ิ สว่ นใหญ่ประสงค์ท่ี
จะมีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจในทิศทางของชุมชนของตน
การขาดความเชอื่ มโยงระหวา่ งการจัดทาแผนและการนาไปปฏิบัติ
อปุ สรรคสาคญั อีกประการหนงึ่ ของการวางแผน ไดแ้ ก่ การไมส่ ามารถเชื่อมโยงการจัดทาแผนไปสู่การ
นาแผนไปปฏิบัติเพ่ือให้เป็นหลักประกันความมั่นใจในความรับผิดชอบที่สามารถตรวจสอบได้ ตลอดจนเพ่ือ
การช้ีวัดความสาเร็จของแผนที่นาไปดาเนินการอย่างจริงจัง ความชัดเจนในการระบุความสัมพันธ์ระหว่างการ
วางแผนกับข้ันตอนในการนาแผนไปปฏิบัติจาเป็นต้องมี เพื่อให้เกิดความแน่ใจว่าจะทาให้เกิดประสิทธิผลใน
การสรา้ งประสบการณ์ดา้ นการท่องเทย่ี วและความยงั่ ยืนของทรัพยากรด้านการท่องเท่ียวในพ้นื ทน่ี ้ันๆ

(ค) การวางแผนการทอ่ งเทย่ี วเชงิ กลยทุ ธ์-แนวทางการวางแผนเชงิ ปฏบิ ัติการ
การวางแผนเชิงกลยุทธเ์ ป็นสง่ิ จาเป็นต่อการท่องเที่ยวอย่างย่ังยนื โดยนาเอาการวางแผนและ
กิจกรรมการพัฒนาท่ีแตกต่างกันมาสัมพันธ์เชื่อมโยงกันกับการวางแผนการท่องเที่ยวเชิงกลยุทธ์ในภาพรวม
เพือ่ ท่จี ะทาให้เกดิ เปน็ กรอบแนวคิดเชิงบรู ณาการทจ่ี ะใช้กาหนดทศิ ทางของการท่องเทย่ี วต่อไป
การวางแผนเชิงกลยุทธ์จะต้องมีความสอดคล้องกันอย่างสูงระหว่างระบบกับส่ิงแวดล้อมน้ันๆ ดังน้ัน
ลกั ษณะสาคญั ของแผนเชงิ กลยทุ ธ์ ได้แก่
เปน็ แผนระยะยาว
มีวสิ ัยทัศน์
มีเป้าหมายชัดเจน
ระบุวกี ารดาเนนิ การหลักๆ เพื่อบรรลเุ ปา้ หมาย
ระบุการจัดสรรแหล่งทรัพยากรท่สี าคัญ
มพี ลวัตร ไม่ติดยดึ ไม่ตายตัว ต้องมคี วามยืดหยุ่นและปรบั เปลย่ี นได้
ใหค้ วามมน่ั ใจวา่ มีการเช่ือมโยงขัน้ ตอนการจัดทาแผน และการนาแผนเชงิ กลยทุ ธ์ไปสู่การ
ปฏิบตั ิเขา้ ด้วยกนั อย่างใกล้ชิด โดยผา่ นการติดตามกากับงาน การตรวจสอบ การตรวจสอบคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม
การประเมินผลและการปรบั เปลีย่ นให้เขา้ กับสถานการณ์
มิใช่เป็นกระบวนการดาเนินงานแบบเส้นตรงแนวเดียวโดดๆ (อาทิ มีการตรวจสอบ
สภาพแวดล้อมอย่างสม่าเสมอตลอดทั้งกระบวนการท่ีก่อให้เกิดการตอบสนองในเชิง รุกและปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิผล ระบบการติดตามกากับงานควรเริ่มปฏิบัติได้ทันทีท่ีมีการกาหนด
ดชั นชี ี้วัดเปา้ หมายและมกี ารกาหนดระดบั การบรรลุเปา้ หมายทจี่ ะใชเ้ ป็นข้อมูลพนื้ ฐานของการดาเนนิ กิจกรรม)
แนวทางเชิงกลยุทธเ์ พ่ือให้ได้มาซึ่งแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชน จะต้องประกอบไปด้วยส่ิง
ต่อไปน้ี
มีการประสานงานท่ีใกล้ชิดระหว่างคนท้องถ่ินและฝ่ายนิติบัญญัติในส่วนภูมิภาค และ
โครงสรา้ งทางการเมอื ง

113

เนน้ การมสี ่วนรว่ มและการสนบั สนนุ ของชมุ ชน
เน้นบทบาทใหม่ของนักวางแผนในการเป็นผู้ให้ความรู้ และความเชี่ยวชาญทางเทคนิค มิใช่
เป็นเพียงผู้ออกแบบแผนงานเท่าน้ัน ทว่าแผนงานควรจะเป็นผลงานของผู้มีส่วนได้เสียในผลประโยชน์ท่ีจะ
เกิดข้นึ เปน็ หลัก
มีโครงสร้างขององค์กรท่ีเอื้อต่อการสร้างนวัตกรรมและการเชื่อมโยงแผนงานต่างๆ ได้อย่าง
กว้างขวาง
ชุมชนมีการเรียนรู้ มีการศึกษาและมีจติ สานึกความตระหนักตอ่ ประเด็นต่างๆ ทเี่ กย่ี วข้อง
มีประยุกต์หลักการของการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน เพื่อที่จะนาไปสู่ความยั่งยืนใน
ระยะยาวของระบบนิเวศ เศรษฐกิจชุมชน และค่านิยมของสังคมวัฒนธรรมของชุมชนเจ้าบ้านน้ันๆ ในขณะท่ี
การกระจายของผลประโยชนอ์ ย่างเทา่ เทยี มระหวา่ งผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ในพ้ืนท่ี
เนอ้ื แทข้ องแผนการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ยุทธศาสตร์
ในการวางแผนการท่องเที่ยวเชิงยุทธศาสตร์จะตอ้ งคานึงถึงสงิ่ ต่อไปนี้
ศูนย์เพ่ือการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549 : 11-20)การ
วางแผนการท่องเท่ียวเชิงกลยุทธ์จะต้องประกอบไปด้วยแนวคิดแนวทางของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ซึ่ง
แสวงหาความสอดคล้องกันเปน็ อยา่ งย่ิง ระหวา่ งระบบและสิ่งแวดล้อม โดยผ่านการกาหนดทศิ ทาง (วสิ ัยทศั น์)
ระยะยาว เป้าหมาย และกลยุทธ์สาหรับการจัดสรรทรัพยากรและการติดตามกากับดูแลผลกระทบที่เกิดข้ึน
ตลอดจนรายละเอียดของแผนปฏิบัติการ ส่ิงเหล่าน้ีจะเกิดข้ึนได้ก็ต่อเม่ือมีการวางแผนท่ีมีพลวัตร มีความ
ยดื หยนุ่ และสามารถปรบั เปลย่ี นได้ดังน้ี
การจัดทาแผนและการนาแผนไปสู่การปฏิบัติจาเป็นต้องมีความเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด โดยผ่าน
กระบวนการตรวจสอบสภาพของสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเน่ือง การติดตามกากับงาน การวัดผล ตลอดจนการ
ปรับเปลี่ยนแผนกลยทุ ธ์ให้เหมาะสม
แผนจะต้องจัดทาข้ึนโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มคนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการท่องเท่ียว ซึ่งมีความ
ต้องการทัศนคติและค่านิยมท่ีแตกต่างกันของเขาเหล่าน้ัน อันสะท้อนให้เห็นในปรัชญา วิสัยทัศน์ และเนื้อหา
สาระของแผน
ตอ้ งมีความตระหนักชัดเจนในความสมั พันธ์ต่อกนั และกัน ระหว่างองคป์ ระกอบต่างๆ แผน ซงึ่ จะต้อง
พิจารณาตง้ั แต่ข้ันตอนการกาหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ ไปจนถึงขั้นตอนการนาไปปฏบิ ัติ
แนวทางการวางแผนครอบคลุมแบบแผนการวางแผนหลากหลายลักษณะ ตั้งแต่วธิ ีการวางแผนแบบเนน้ การใช้
เหตผุ ลและเคร่งครัด ไปจนถงึ แผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผนในภาพกว้าง ถงึ แมว้ ่าจะมหี ลากหลายรปู หว่า แผน
ทดี่ ีโดยทัว่ ไปต้องประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบและข้ันตอนวิธกี ารปฏบิ ัติ ดังน้ี
1. มีวสิ ยั ทศั น์ และ/หรือพนั ธกิจที่ชัดเจน
2. มีการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ หรอื วเิ คราะห์ประเดน็ ปญั หา
3. มเี ปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์
4. มีการประเมนิ ทางเลอื กต่างๆ ในเชงิ กลยุทธ์เพ่อื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
5. มกี ลยุทธ์ตา่ งๆ
6. มีการนาเอากลยุทธ์ไปปฏิบตั ิ (โดยมวี ัตถปุ ระสงคท์ ี่สามารถชี้วัดได้และมรี ายละเอียดของแผนปฏิบัติ
การ)
7. มีการตดิ ตามกากบั งานและการประเมนิ ผลของการนากลยุทธไ์ ปปฏิบัติและแผนปฏบิ ตั ิการ

114

8. มีการปรับแผนเชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับข้อมูลท่ีได้รับป้อนกลับมาจากการ
ประเมนิ ผลและการตรวจสอบสง่ิ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง
หลักการของการวางแผนเชิงกลยุทธ์

การวางแผนเชิงกลยทุ ธม์ ีแนวทางและหลักการทส่ี าคญั ดงั นี้
ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549 : 11-20) ได้
อธิบายถึงการวางแผนการท่องเที่ยวเชิงกลยุทธ์จาเป็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบในเรื่องของเป้าหมายและ
หลักการของการทอ่ งเที่ยวอยา่ งยั่งยืน เปา้ หมายและหลกั เกณฑ์บางอย่างที่ควรจะไดร้ ับการพจิ ารณาในการวาง
แผนการท่องเท่ียว มีดงั นี้
เศรษฐกิจ
การพัฒนาต้องพิจารณาถึงต้นทุนและผลประโยชน์ท่ีจะเกิดขึ้นจากทางเลือกต่างๆ และการตัดสินใจ
ตา่ งๆ บนพ้ืนฐานของมติ ทิ างเศรษฐศาสตร์และสังคมในภาพรวมอยา่ งละเอียด
1. ตอ้ งมีการกระจายผลประโยชนอ์ ยา่ งกว้างขวางในบรรดาผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย
2. ต้องมีการสร้างประสบการณ์ที่มีคุณภาพแก่นักท่องเที่ยวท่ีสอดคลอ้ งกับเป้าหมาย และค่านิยมของ
พ้ืนท่ที อ่ งเทยี่ วนนั้ ๆ
3. ต้องสร้างความม่ันใจว่าต้นทุนด้านการเงินของการจัดให้มีโครงสร้างพ้ืนฐาน และต้นทุนด้าน
การตลาด ไม่ควรใช้ไปมากกว่าผลประโยชน์ที่จะได้รับ เช่น สมาชิกในท้องถิ่นนั้นๆ อาจต้องจ่ายภาษีท่ีแพงข้ึน
เพือ่ นาเงินภาษีไปใช้ในการพัฒนาหรือบารุงรักษาระบบสาธารณปู การ เพอื่ รองรับการพัฒนาการท่องเที่ยว แต่
ในเร่ืองของรายได้ของสมาชิกในชุมชน การให้บริการต่างๆ ทางสังคมหรือโอกาสในการเข้าถึงระบบ
สาธารณูปโภคของรายได้ของสมาชิกในชุมชน การให้บริการต่างๆ ทางสังคมหรือโอกาสในการเข้าถึงระบบ
สาธารณูปโภค ตลอดจนการศึกษา และโอกาสในการเข้ารับการฝึกอบรมอาจไม่ได้รับการพัฒนา ปรับปรุงให้ดี
ขึ้นจากเดิม
สังคม
1. ต้องมีการจ้างงานท่ีมีความต่อเน่ืองสม่าเสมอ โดยหลีกเล่ียงการจ้างงานต่ากว่าระดับและการ
ว่างงาน อันเน่อื งมาจากการจ้างงานเฉพาะในช่วงฤดกู ารทอ่ งเท่ียวเท่าน้นั
2 ต้องมีการสร้างโอกาสการจ้างงานที่ดีขึ้น มิใช่การได้รับค่าจ้างที่ค่อนข้างต่า ซ่ึงมักจะพบเห็นเป็น
แบบฉบับประจาในอุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว
3. ต้องมีการสร้างงานที่มีคุณภาพซึ่งช่วยส่งเสริมการใช้ความรู้ของท้องถิ่น ทักษะความชานาญ และ
ประเพณีดง้ั เดิมท่สี ืบทอดมาแตอ่ ดีต อันจะทาให้เกดิ ความรสู้ ึกสุขสมใจและความพงึ พอใจใหก้ บั คนทอ้ งถ่นิ
4. มีการพัฒนามาตรฐานความเป็นอยู่ และมีความเสมอภาคในการกระจายผลประโยชน์ของคนรุ่น
ปจั จุบนั ไปจนถงึ คนต่างร่นุ และคนรนุ่ อนาคต
ระบบนิเวศ
1. ต้องมีการธารงรักษากระบวนการเชิงนิเวศต่างๆ ที่จาเป็น ธารงความหลากหลายทางชีวภาพ และ
ทรัพยากรท่ีไม่สามารถฟ้ืนตัวนากลับมาใช้ได้อีก สาหรับคนรุ่นอนาคต (โดยผ่านกลยุทธ์การพิทักษ์รักษาและ
การอนรุ ักษ์)
1. ต้องมีการวางแผนในขนาดสัดส่วนและจังหวัดก้าวที่เอ้ืออานวยต่อความติดตามกากับดูแล
ตรวจสอบ ควบคุม และลดผลกระทบในระยะยาวใหน้ อ้ ยลงอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลและอยา่ งต่อเนื่อง

115

3. ต้องมกี ารวเิ คราะห์ตน้ ทุนด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อมท้งั หมดอยา่ งละเอยี ด โดยการวิเคราะหต์ ้นทุน-
ผลประโยชนอ์ ยา่ งรอบคอบ

4. การศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและผลกระทบสะสมเป็นการวิเคราะห์สาคัญขั้นแรก ก่อนท่ีจะ
ทาการพฒั นาใดๆ ระบบการบรหิ ารจดั การส่ิงแวดล้อมตอ้ งดาเนนิ การโดยธรุ กิจและองคก์ รตา่ งๆ ท่เี กีย่ วข้อง

วัฒนธรรม
1. กิจกรรมด้านการท่องเที่ยวและพฤติกรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องจะต้องเน้นความเคารพในวัฒนธรรม
กจิ กรรมสถานทีแ่ ละค่านิยมของชุมชน
2. การออกแบบใดๆ จะต้องให้สอดคล้องและกลมกลืนกับมรดกของชาติและเอกลักษณ์ท้องถ่ิน
รวมทัง้ ควรสง่ เสริมความเป็นเอกลกั ษณข์ องชุมชนและสถานทน่ี ั้นๆ
3.ประเภทของนักท่องเทยี่ วและกิจกรรมต่างๆ ควรสอดคลอ้ งกับความคาดหวังของคนท้องถ่ิน และให้
การปกปกั รักษาความอ่อนไหวและวฒั นธรรมท้องถ่ินจากผลกระทบที่อาจเกดิ ข้ึน
การเมอื ง
1.ต้องมีความสอดคล้องกันเป็นอย่างดี ระหว่างเป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม
ผลประโยชนใ์ นพ้ืนทีแ่ ละของชมุ ชน กบั เป้าหมายดา้ นการท่องเที่ยว
2. ต้องมีการบูรณาการของแผนและการวางแผนกับแผนอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องในพื้นที่และท้องถ่ินและ
กระบวนการต่างๆ ที่เก่ยี วข้อง
3. สร้างความสมดุลให้เกิดขึ้นระหวา่ งการวางแผนจากบนลงสู่ลา่ ง ดว้ ยปัจจัยนาเขา้ และการมีส่วนร่วม
ของสมาชิกในชมุ ชนในการวางแผนและพัฒนา

การวางแผนท่องเท่ียวเชงิ กลยทุ ธ์-กระบวนการปฏิบัติ
การวางแผนท่องเที่ยวเชงิ กลยทุ ธ์-กระบวนการปฏิบตั ิมีรายละเอียดและขนั้ ตอนดังนี้
ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549 : 11-20)

ข้ันตอนหลักของกระบวนการวางแผนด้านการท่องเท่ียวเชิงกลยุทธ์สาหรับพื้นที่พัฒนาการท่องเท่ียว ท่ีเน้น
ชุมชนเป็นฐานจะปรากฏในแผนภูมิต่อไปนี้ โปรดสังเกตว่าในขณะท่ีแต่ละข้ันตอนเกิดขึ้นอย่างเป็นลาดับ แต่
กระบวนการท่ีเกิดข้ึนกลับมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และมีวงจรท่ีตอบสนองและเชื่อมโยงกับขั้นตอนต่างๆ
ซ่ึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีต้องสังเกตว่านี้เป็นกระบวนการท่ีแนะนาให้แต่ละประเทศหรือแต่ละพ้ืนที่ พึงพิจารณา
ปรับเปลยี่ นให้เหมาะสมกับความต้องการ บรรทัดฐาน และคา่ นยิ มของพ้ืนทีน่ ้นั ๆ

116

การกาหนดเป้าหมายโดยรวมของนโยบาย

ผ้มู สี ่วน การพฒั นาวิสยั ทศั น์ของผูม้ สี ว่ นไดเ้ สีย ผู้มสี ่วนได้
ได้ส่วน การกาหนดเปา้ หมายและวตั ถุประสงค์ของ สว่ นเสีย
เสีย
การวางแผน การปรบั ปรุงแก้ไขแผน
การปรับปรุงแก้ไขแผน การวเิ คราะห์
การกาหนดทาแผนการท่องเทยี่ ว

การนาแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ

การตดิ ตามประเมินผลและตรวจสอบ

ภาพที่ 5.10 กระบวนการวางแผนทอ่ งเทีย่ ว
ทมี่ า : ศูนย์เพ่อื การวางแผนการทอ่ งเท่ียวและการแก้ไขปญั หาความยากจนแห่งเอเชยี (2549)
วิถที างเพ่อื การบรรลคุ วามสาเร็จของกลยุทธน์ โยบายการท่องเที่ยวเชงิ บูรณาการ
การวางแผนดา้ นการท่องเทยี่ วสามารถทาไดใ้ นหลายระดับ
1. แหล่งท่องเที่ยวแต่ละแหง่ อาทิ ชายหาด แหล่งประวตั ศิ าสตร์ สวนสาธารณะหรอื สวนสนุก
2. กลุ่มพื้นที่ท่องเที่ยว (ในบางกรณีสถานที่ตั้งและพ้ืนที่ท่องเท่ียวอาจจะเป็นท่ีเดียวกัน แต่โดยท่ัวไป
แล้วหมายถงึ พ้ืนที่เชิงภูมศิ าสตร์ทคี่ รอบคลมุ บริเวณกวา้ ง และเป็นท่ตี ้งั ของแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วตา่ งๆ)
3. ภูมิภาคที่อยู่ในประเทศ (ซึ่งอาจเป็นพื้นท่ีทางภูมิศาสตร์หรือขอบเขตทางการเมือง หรืออาจขึ้นอยู่
กบั สง่ิ ดึงดดู ทางการท่องเท่ยี วในบรเิ วณน้นั )
4. ประเทศ (โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ประเทศทเ่ี ป็นเกาะเล็กๆ)
5. กลุ่มของประเทศ อาทิ กลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคแม่น้าโขง ซึ่งมีภาพลักษณ์ของการเป็นจุดหมาย
ปลายทางท่ีมีการรวมกลุ่มของประเทศต่างๆ ท่ีมีลักษณะเป็นพ้ืนที่ท่องเท่ียวที่มีจุดดึงดูดการท่องเที่ยวร่วมกัน
(theme related destination)

117

เราอาจมีข้อพิจารณาว่า น่าจะมีการบูรณาการระดับการท่องเท่ียวที่หลากหลายเหล่าน้ีให้รวมกันเป็น
หนึ่งเดียว เพ่ือว่าจะทาให้เกิดความสมดุล ความกลมกลืน ความร่วมมือ ความมั่นใจในการลงทุน ความมี
ประสทิ ธภิ าพ เอกลกั ษณ์ ความละเอยี ดอ่อน และประการที่สาคัญท่ีสุดคือความยัง่ ยนื ความมุ่งหวงั ท่ีจะให้เกิด
บูรณาการน้ีจะประสบผลสาเร็จได้ต้องมีกระบวนการเตรียมการในการกาหนดนโยบายท่องเที่ยวอย่างเป็น
ระบบ
การจดั ทานโยบายดา้ นการท่องเท่ียว

นโยบายจะช่วยสร้างทิศทางให้กับรัฐบาลและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรม และโครงการต่างๆ
ตลอดจนช่วยเป็นกรอบในการอ้างอิงให้กับการดาเนินงานของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ถ้าจะให้เกิดการ
ท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน ก็ควรจะต้องมีการพัฒนานโยบายการท่องเที่ยวท่ีมีเป้าหมายของการท่องเท่ียวอย่าง
ชัดเจน หรือถ้าจะให้ดีย่ิงขึ้นทุกระดับและทุกด้านมุมของการกาหนดนโยบาย ควรมีการนาประเด็นเรื่องการ
ท่องเท่ยี วบูรณาการเขา้ ไปสู่กระบวนการตดั สนิ ใจดว้ ย

นโยบายด้านการทอ่ งเท่ียวควรมีลักษณะดังนี้
1. สามารถเปน็ แนวทางในการดาเนินงานใหก้ บั กลุ่มผ้มู ีสว่ นได้เสียผลประโยชนท์ ุกกลมุ่
2. ระบวุ ัตถุประสงค์ในภาพรวมดา้ นการท่องเท่ียวท่ตี อ้ งการทาให้สาเร็จ
3. ระบุแผนปฏิบัตกิ าร
4. ระบคุ วามรบั ผิดชอบในแต่ละสว่ นและอานาจหน้าท่ีในการนานโยบายไปปฏิบตั ิ

วัตถุประสงค์ของการท่องเท่ียวควรจะเป็นผลิตผลมาจากการเข้ามามีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ประโยชน์ นอกจากน้ีการจัดทานโยบายควรตระหนักถึงความสลับซับซ้อนของการพัฒนาและการบริหาร
จัดการ ในความเป็นจริงแล้วมีความเป็นไปได้น้อยมากที่จะมีกระบวนการพัฒนานโยบายท่ีคลาสสิก เน่ืองจาก
การจัดลาดับความสาคัญทางการเมือง การใช้อานาจ ลักษณะความต้องการในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ
แรงกดดันจากอุตสาหกรรม ปจั จยั เหลา่ นจี้ ะมีอิทธิพลอย่างมากต่อการพฒั นานโยบายแต่ละข้นั ตอน อยา่ งน้อย
ท่ีสุด ควรมีการกล่าวถึงบทบาทท่ีการท่องเท่ียวจะมีส่วนในการบริหารพัฒนาประเทศ หรือภูมิภาคน้ันๆ อย่าง
ชัดเจน เน่ืองจากจะทาให้การพัฒนาในสาขาอื่นๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน สาม ารถสะท้อนให้เห็น
วัตถุประสงค์และการลาดับความสาคัญด้านการท่องเท่ียวท่ีอยู่ในการพัฒนาสาขานั้นๆ ความรับผิดชอบของ
ราชการในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและด้านการท่องเที่ยวเป็นตัวอย่างของการท่ี
นโยบายและการตดั สนิ ใจในการดาเนินงานต่างๆ มาบรรจบกัน

วัตถุประสงค์ในแต่ละประการควรได้รับการทดสอบความสามารถในการนาไปประยุกต์ใช้ได้ และมี
ส่วนสนับสนุนต่อวัตถุประสงค์รวม ซ่ึงสัมพันธ์กับการพัฒนาอย่างย่ังยืนโดยควรพิจารณาเป็นพิเศษใน

ประเด็นต่างๆ ดังน้ี
1. การอนุรกั ษ์พลังงานและนา้
2. การจา้ งงาน
3. การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ
4. แผนการพฒั นาด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐาน
5. การอนรุ ักษท์ รพั ยากรและสิ่งแวดล้อม
6. การฟน้ื ฟูเมืองและชนบท
7. การอนุรักษม์ รดกทางวฒั นธรรมและธรรมชาตทิ สี่ บื ทอดกันมา
8. การค้มุ ครองผู้บรโิ ภค
9. สวสั ดกิ ารของชมุ ชน

118
10. การสรา้ งสรรค์ธุรกิจต่างๆ

การดาเนินการเพ่ือจัดทานโยบายด้านการท่องเท่ียวให้เป็นที่พึงพอใจจะต้องประกอบไปด้วย
วัตถปุ ระสงคท์ ่เี น้นในเรือ่ งตา่ งๆ ดงั นี้

ด้านเศรษฐกิจ
การทาให้การท่องเที่ยวและกิจกรรมด้านนันทนาการสามารถเอื้ออานวยให้เกิดผลประโยชน์อย่าง
สูงสุดดา้ นความม่ังคัง่ ทางเศรษฐกิจ ดา้ นการจา้ งงานอย่างเต็มท่ี การพฒั นาเศรษฐกิจภูมิภาค และการปรับปรุง
ระบบดุลบญั ชีระหว่างประเทศเปน็ สง่ิ ที่มคี วามจาเป็นอยา่ งย่งิ
ด้านสงั คม-วฒั นธรรม
นโยบายต้องส่งเสริมทาให้สมาชิกในสังคมมีการเจริญงอกงาม มีความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน ตลอดจนให้
การศกึ ษา และความภูมใิ จในภมู ิประเทศท้องถิ่น รวมทงั้ ประวัตศิ าสตร์ และความหลากหลายทางด้านชาติพันธ์ุ
นโยบายสังคมควรจะหลีกเล่ียงกิจกรรมท่ีจะทาให้เกิดความเส่ือมโทรมและความเสียหายต่อค่านิยมทางสังคม
และวัฒนธรรม ตลอดจนทรพั ยากรของพืน้ ท่ี ขนบธรรมเนียมและวิถีชีวิตของคนในทอ้ งถ่ิน
การพฒั นาเชิงการตลาด
นโยบายจะต้องสง่ เสริมให้เกิดความสะดวกในการเดินทางมาเยือนของนักท่องเที่ยวตา่ งชาติ ในขณะท่ี
ต้องพยายามสร้างความสมดุลให้เกิดข้ึนระหว่างเป้าหมายด้านเศรษฐกิจกับความจาเป็นในการติดตามกากับ
ดแู ลทง้ั บุคคล และสนิ คา้ ทีจ่ ะเขา้ มาในประเทศภายใตก้ ฎหมายด้านสาธารณสขุ
การปกป้องและการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร
นโยบายจะต้องมีเนื้อหาของการปกป้องและอนุรกั ษ์พ้ืนฐานดา้ นประวัติศาสตร์และวฒั นธรรม ซึ่งเป็น
สวนหน่ึงของวิถีชีวิตชุมชนและการพัฒนา ตลอดจนการรักษาสิ่งเหล่าน้ีให้ดารงสืบไปในอนุชนรุ่นหลังให้ไดช้ ืน่
ชมมรดกอันล้าค่าของชุมชนนั้นๆ ต่อไป นโยบายเหล่าน้ีจะต้องทาให้เกิดความสอดคล้องระหว่างกิจกรรม
นักท่องเที่ยว การนันทนาการ และการอนุรักษ์พลังงาน การรักษาสิ่งแวดล้อม และการใช้ทรัพยากรทาง
ธรรมชาตอิ ยา่ งรอบคอบ
การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์
การมีแรงงานที่มีคุณภาพและความชานาญในระดับวิชาชีพท่ี เพียงพอต่อความต้องการของ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวน้ันเป็นส่ิงสาคัญเพ่ือให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการในอนาคตของอุตสาหกรรม
ท่องเท่ียว นโยบายด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จาเป็นต้องให้ความสาคัญในเรื่องของการฝึกอบรม การให้
การศึกษา ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีมีความจาเป็นในการฝึกอบรม เพ่ือให้ตอบสนองความต้องการของ
ภาคอตุ สาหกรรม
การดาเนินงานของรฐั บาล
นโยบายต้องช่วยให้เกิดกิจกรรมการประสานความร่วมมือด้านการท่องเท่ียว ซึ่งเปิดทางให้ภาครัฐ
แสดงบทบาทเปน็ ผูน้ าในการสนบั สนนุ ความต้องการของนักท่องเท่ยี ว สมาชิกในชุมชน และธรุ กจิ การทอ่ งเท่ียว
โดยผ่านการบรหิ ารและการออกกฎหมายทเ่ี หมาะสม
ประเทศส่วนใหญ่จะพัฒนาวิธีกาหนดนโยบายท่ีเป็นแบบฉบับของตนเอง นโยบายสาหรับการ
ท่องเทยี่ วจาเป็นตอ้ งมคี วามสอดคล้องกบั จดุ ยนื และเป้าหมายโดยรวม ท่ที าให้พร้อมทีจ่ ะบูรณาการกับนโยบาย
ดา้ นอ่ืนๆ ของประเทศ ท้ังในเชิงแนวราบของสาขานโยบายและในเชงิ การบริหารนโยบายตามแนวด่งิ
กระบวนการเชิงนโยบายจะต้องก้าวไปสู่กลยุทธ์ แผน แผนงาน กฎหมายและข้อบังคับต่างๆ เป็นสิ่ง
สาคัญทกี่ ระบวนการนโยบายในแต่ละขั้นตอนของนโยบายแต่ละระดับ (ท้ังระดับชาติ ระดบั ภูมิภาค และระดับ

119
ท้องถิ่น) จะต้องมีบูรณาการในเชิงแนวราบของสาขานโยบายและเชิงการบริการนโยบายตามแนวด่ิงอย่าง
ระมัดระวงั
บทสรปุ

การวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนเป็นแนวทางสาคัญในการพัฒนาพ้ืนท่ีเพ่ือรองรับการ
ท่องเที่ยวซ่ึงจะต้องให้ความสาคัญกับหลักการพ้ืนฐานในการวางแผนประกอบไปด้วย การพัฒนาอย่างไรสู่การ
ท่องเท่ียวชุมชนอย่างย่ังยืน ขั้นตอนในการพัฒนาสู่การท่องเท่ียวชุมชน ต้นทุนและผลประโยชน์จากการ
ท่องเที่ยว การวางแผนกลยุทธ์การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนในเชิงบูรณาการ เนื้อแท้ของแผนการท่องเที่ยวเชิง
ยุทธศาสตร์ เนื้อแท้ของแผนการท่องเท่ียวเชิงยุทธศาสตร์ หลักการของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผน
ท่องเท่ียวเชิงกลยุทธ์-กระบวนการปฏิบัติ การจัดทานโยบายด้านการท่องเที่ยว ซึ่งรายละเอียดท้ังหมดจะ
นาไปสู่แนวทางการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและสร้างการมีส่วนร่วม พร้อมท้ังสร้างความ
เข้มแข็งใหก้ บั ชมุ ชนต่อไป

แบบฝึกหัด
1. ใหน้ กั ศึกษาอธบิ ายกระบวนการการพฒั นาแหล่งท่องเทย่ี วสูค่ วามย่ังยืนมาให้ถูกต้อง
2. จงอธิบายขนั้ ตอนในการพัฒนาสู่การทอ่ งเท่ียวชมุ ชนอย่างยัง่ ยนื
3. บอกต้นทนุ และผลประโยชนจ์ ากการท่องเท่ียวมีอะไรบ้าง
4. จงสรปุ การวางแผนกลยุทธ์การทอ่ งเที่ยวอย่างยง่ั ยนื ในเชงิ บูรณาการ
5. จงอธิบายเนื้อแท้ของแผนการทอ่ งเทีย่ วเชิงยทุ ธศาสตร์มีลกั ษณะอย่างไร
6. สรปุ หลกั การของการวางแผนเชงิ กลยุทธ์มหี ลกั การอย่างไร
7. จงวางแผนทอ่ งเทยี่ วเชงิ กลยุทธ์-กระบวนการปฏิบัติ
8. วิธีการการจดั ทานโยบายด้านการท่องเทย่ี วมีข้นั ตอนการปฏิบตั ิอยา่ งไร

120

เอกสารอา้ งองิ

เทิดชาย ช่วยบารุง. (2552).บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่าง
ย่งั ยืน บนฐานเศรษฐกิจพอเพียง.วิทยาลัยการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกล้า.

พิมพ์ระวี โรจนร์ ่งุ สตั ย์ (2553). การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน. พิมพค์ ร้ังท่ี 1: กรงุ เทพ สานกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร.์
ศูนย์เพ่ือการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549). แนวทางการวาง

แผนการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน : คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศูนย์รงั สติ .
Ahmad Fitri Amir, Ammar Abd Ghapar, Salamiah A. Jamal, and Khairun Najiah Ahmad (2015).
Sustainable tourism development: A study on community resilience for rural tourism
in Malaysia.
Risteski., M, Kocevski., J, Arnaudov., (2012). Spatial planning sustainable tourism as basis for
developing competitive tourist destinations. Procedia – Social and Behavioral
Sciences 44 (2012) 375-386.

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 7
การพฒั นาการมสี ว่ นร่วมทางการท่องเที่ยวของชมุ ชน

เนื้อหาประจาบท
1. การพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเทย่ี วของชมุ ชน
2. การประเมนิ ศกั ยภาพความพรอ้ มทางการท่องเที่ยวแบบยงั้ ยนื ของชมุ ชนทอ้ งถ่ิน
3. การเตรยี มความพรอ้ มทางการท่องเทยี่ วของชมุ ชนท้องถ่ิน
4. การพฒั นาชุมชนท้องถน่ิ เพ่ือใหส้ ามารถรองรบั นักท่องเท่ียวคุณภาพ
5. แนวทางการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เพ่ือสร้างศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเท่ยี ว

ส่คู วามยั่งยืน
6. แนวคิดการมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาการท่องเที่ยวแบบย่งั ยนื ของชมุ ชนท้องถ่นิ
7. สรุป
8. แบบฝึกหัดทา้ ยบท

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายการพัฒนาการมีสว่ นร่วมทางการท่องเทยี่ วของชุมชนได้
2. ประเมนิ ศักยภาพความพร้อมทางการท่องเทย่ี วแบบย้งั ยืนของชมุ ชนท้องถน่ิ ได้
3. อธบิ ายการเตรยี มความพร้อมทางการท่องเทย่ี วของชมุ ชนท้องถ่ินได้
4. อธิบายและสรุปการพฒั นาชมุ ชนท้องถิ่นเพื่อใหส้ ามารถรองรับนกั ท่องเทย่ี วคุณภาพได้
5. อธิบายแนวทางการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อสร้างศกั ยภาพการพฒั นาการ

ทอ่ งเท่ียวสู่ความยง่ั ยนื ได้
6. สรปุ แนวคิดการมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนของชมุ ชนทอ้ งถ่นิ ได้

วธิ ีสอน
1. ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอนวิชาการพฒั นาการท่องเทยี่ วอย่างยง่ั ยืน
2. อาจารย์ผสู้ อนใหห้ ัวข้อผเู้ รียนอภปิ รายผลและสรุป
3. ใช้ปญั หาเปน็ ฐาน ถาม-ตอบผู้เรียน
4. บรรยายและยกตวั อยา่ งประกอบ

กิจกรรม
1. แบง่ กลุม่ ให้นกั ศกึ ษาสรปุ เน้อื หาสาคัญและนาเสนอ
2. การแสดงบทบาทสมมติ
3. คน้ ควา้ เพิม่ เติมจากอินเตอร์เน็ต
4. ตอบคาถามระหวา่ งบรรยาย
5. ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

153
สือ่ การเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยนื
2. PowerPoint ประกอบการบรรยาย
3. ภาพประกอบต่างๆจากอนิ เตอร์เน็ต
การวดั และประเมนิ ผล
1. ประเมินผลจากการนาเสนอรายงาน
2. ประเมนิ ผลจากการทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
3. สังเกตพฤติกรรมผเู้ รยี นในการถาม-ตอบ
4. สังเกตจากพฤติกรรมความสนใจและการรว่ มกิจกรรมในชั้นเรยี น

154

บทที่ 7
การพฒั นาการมสี ว่ นร่วมทางการท่องเทีย่ วของชมุ ชน

การพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวของชุมชนมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ชุมชนจะต้องเข้าใจ
หลักการและองค์ประกอบตา่ งๆ ทีม่ ีความสอดคล้องกนั ซึ่งการพัฒนาการมสี ่วนร่วมทางการท่องเทย่ี วชุมชน มี
ความละเอียดอ่อน จึงต้องมีการศึกษารายละเอียดต่างๆให้เข้าใจและมีความชัดเจนจึงจะสามารถวางแผนใน
การพัฒนาการมสี ว่ นร่วมทางการท่องเที่ยวของชุมชนใหบ้ รรลุเปา้ หมายได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล
โดยการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวของชุมชน เป็นสิ่งสาคัญส่ิงแรกท่ีจะต้องทาให้ชุมชนเห็นถึง
ความสาคัญในเร่ืองของการมีส่วนร่วม เช่น การแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ค้นหาเอกลักษณ์ของชุมชนร่วมกัน
ปฏิบัติร่วมกัน แบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน เป็นต้นซึ่งกิจกรรมเหล่าน้ีจะช่วยให้ชุมชนได้เข้าใจทิศทางร่วมกัน
จากนั้นชุมชนจะมองเห็นภาพอนาคตที่จะเกิดข้ึนจึงนาส่ิงน้ันมาร่วมกันพัฒนาโดยทุกคนในชุมชน บทนี้จะ
กล่าวถึงองค์ประกอบด้านการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวของชุมชน การประเมินศักยภาพความ
พร้อมทางการท่องเที่ยวแบบยั้งยืนของชุมชนท้องถ่ิน การเตรียมความพร้อมทางการท่องเที่ยวของชุมชน
ท้องถิ่น การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นเพื่อให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวคุณภาพ แนวทางการพัฒนาองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ือสร้างศักยภาพการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความย่ังยืน แนวคิดการมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาการท่องเที่ยวแบบยงั่ ยืนของชมุ ชนทอ้ งถิน่
การพัฒนาการมสี ว่ นร่วมทางการท่องเทีย่ วของชุมชน

การพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวของชุมชนเป็นแนวทางเพื่อสร้างความยั่งยืนให้กับแหล่ง
ท่องเท่ียว โดยคนในชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันลงมือปฏิบัติ ร่วมกันตรวจสอบและร่วมกันแก้ไขปัญหาผ่านการ
ทางานเปน็ ทมี

บุญเลิศ จติ ต้ังวัฒนา (2542) ไดก้ ลา่ วถึงการพัฒนาการมีสว่ นร่วมทางการท่องเท่ียวของชุมชนท้องถ่ิน
ในแหล่งท่องเท่ียวมีความสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยืน เพราะเปิดโอกาสให้ชุมชนท้องถ่ินมี
ส่วนร่วมทางการท่องเที่ยวย่อมได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่ในการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างสะดวกรวดเร็ว
และไม่ขัดแย้งกัน อีกท้ังยังง่ายต่อการช่วยดูแลรักษาทรัพยากรท่องเที่ยวและส่ิงแวดล้อมให้คงอยู่อย่างย้ังยืน
และเกิดประโยชน์ต่อชมุ ชนท้องถ่นิ ในแหลง่ ท่องเท่ยี ว อันหมายรวมถึงการกระจายรายได้ การยกระดบั คุณภาพ
ชวี ิตและไดร้ ับผลตอบแทนท่ีจะนากลับมาบารงุ รักษาและจัดการแหล่งท่องเทย่ี ว แล้วในทส่ี ุดชมุ ชนทอ้ งถ่ินจะมี
สว่ นในการควบคมุ การพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วอย่างมีคุณภาพและย่ังยนื สาเหตุท่ตี ้องเปดิ โอกาสใหช้ มุ ชนท้องถิ่นมี
สว่ นร่วมในการท่องเทีย่ ว ก็เพราะชุมชนทอ้ งถ่นิ เปน็ ผูไ้ ดร้ บั ผลกระทบโดยตรงจากการท่องเทย่ี วหรอื ในบางกรณี
การท่องเท่ียวอาจทาให้การใช้ทรัพยากรของชุมชนท้องถิ่นลดน้อยลง จึงต้องให้ชุมชนท้องถ่ินซ่ึงเป็นผู้รู้ปัญหา
และความต้องการของชุมชนท้องถิ่นของตนได้ดีกว่าผู้อ่ืน เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวของเขา
เอง ซึ่งการมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวแบบย่ังยืนของชุมชนท้องถ่ินหมายถึงการสนับสนุนส่งเสริมให้ชุมชน
ท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวทุกข้ันตอนและให้ชุมชนท้องถ่ินได้รับผลประโยชน์จาการ
ท่องเที่ยว เพ่ือก่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน ความภาคภูมิใจ พร้อมท้ังการสร้างจิตสานึกในการดูแล
ปกป้องรกั ษาทรัพยากรทอ่ งเทยี่ วและสภาพแวดลอ้ มใหค้ งอยู่อย่างยงั้ ยืน

155

การประเมินศักยภาพความพร้อมทางการท่องเท่ยี วแบบยั้งยนื ของชุมชนท้องถนิ่
การท่องเท่ียวย่อมก่อผลกระทบท้ังด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนท้องถิ่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ฉะนั้น

การพัฒนาการท่องเท่ียวจะต้องคานึงถึงชุมชนท้องถิ่นในพ้ืนที่แหล่งท่องเที่ยวและบริเวณใกล้เคียง โดยต้องให้
ชุมชนท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเท่ียวเพราะเป็นผู้ทราบถึงปัญหา ความต้องการ และได้รับ
ผลกระทบจากการท่องเที่ยว อีกท้ังเป็นการกระจายอานาจสู้ท้องถ่ินในการจัดการท่องเที่ยวของตนเอง
นอกจากน้ีชุมชนท้องถิ่นยังมีความรักและความผูกพันกับทรัพยากรท่องเท่ียวและส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีของตน
การให้เกียรติชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเท่ียว ย่อมทาให้ชุมชนท้องถ่ินเกิดความรู้สึก
ในการเป็นเจ้าของหวงแหน เห็นคุณค่าทรัพยากรท่องเที่ยวและส่ิงแวดล้อม ยังผลให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากร
ท่องเท่ียวและส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีของตนการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นเหมาะ กับ
การพัฒนาการท่องเท่ียวท่ีเน้นให้เกิดการช่วยเหลือตนเอง การริเร่ิมงานจากระดับชุมชนท้องถิ่นซ่ึงจะเป็นฐาน
นาไปสู่การแก้ปัญหาในระยะยาวและการพัฒนาท่ียังยืน ถ้าหากท้องถิ่นใดยังไม่พร้อมที่จะเปิดเป็นแหล่ง
ท่องเทย่ี วหรือยงั ไมต่ ้องการต้อนรับนักทอ่ งเที่ยว ถา้ รัฐบาลจะฝนื ความต้องการก็จะไดร้ ับการต่อต้านจากชุมชน
ทอ้ งถิ่น เปรยี บเทียบวา่ เขาไม่ไดเ้ ปน็ ผู้เชิญแขกแต่แขกเข้าไปเท่ียวบ้านเขาเอง ยอ่ มทาให้เขาไม่พอใจ จงึ ควรให้
เขาสมัครใจหรืออยากเชิญแขกเข้าไปเย่ียมบ้านเขาเอง เมื่อเขาพร้อมที่จะจัดระบบในวิถีทางการจัดการ
ท่องเที่ยวของเขา อันจะทาให้เขาได้เรียนรู้ว่าต้องทาอย่างไร โดยการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐบาล และ
พวกเขามีส่วนรว่ มในการวางแผนจดั การท่องเท่ยี วของเขาเองกจ็ ะเปน็ ผลให้การพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย้ังยืน
ประสบความสาเรจ็ เราจะทาการศึกษาถึงการประเมินศักยภาพความพร้อมด้านอุปทานทางการท่องเท่ียวของ
ชมุ ชนท้องถ่นิ การเตรียมความพรอ้ มทางการทอ่ งเทีย่ วของชมุ ชนทอ้ งถ่นิ และองค์การบริหารสว่ นตาบลกบั การ
พัฒนาการท่องเทีย่ วแบบยง่ั ยืนของชุมชนทอ้ งถิ่น
การประเมนิ ศกั ยภาพความพร้อมดา้ นอุปทานทางการทอ่ งเที่ยวของชุมชนท้องถิน่

การจัดการท่องเที่ยวนอกจากการตรวจสอบทรัพยากรท่องเท่ียวของชุมชนท้องถิ่นแล้วส่ิงท่ีสาคัญท่ี
ตอ้ งพจิ ารณาถึงความพร้อมและความต้องการของชุมชน คอื การประเมนิ ศักยภาพ

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548 : 161-163) ได้อธิบายถึงการที่จะสร้างชุมชนท้องถ่ินใดให้เป็นแหล่ง
ท่องเทยี่ ว ก็จะตอ้ งรวู้ ่าท้องถนิ่ น้ันมีอุปทานทางการท่องเที่ยวอะไรที่จะเป็นจุดขายทางการท่องเท่ียว เจา้ หน้าที่
ทีจ่ ะพฒั นาการท่องเทยี่ วจะตอ้ งรว่ มกบั องคก์ รชมุ ชนท้องถิ่นพจิ ารณาคน้ หาของดีหรอื สนิ ค้าทางการท่องเที่ยวที่
มอี ยู่ หรอื สามารถพฒั นาศักยภาพให้เพยี งพอในการดึงดดู ความสนใจของนักท่องเทย่ี วให้เขา้ มาเยย่ี มชม ในการ
ประเมนิ ศกั ยภาพความพรอ้ มดา้ นอุปทานการทอ่ งเทีย่ วของชุมชนทอ้ งถนิ่ สามารถประเมนิ ได้ 4 ดา้ นคอื

การประเมินศักยภาพความพร้อมด้านทรัพยากรท่องเที่ยว เป็นการประเมินศักยภาพความพร้อม
ด้านทรัพยากรท่องเที่ยวของชุมชนท้องงถ่ินน้ันว่ามีทรัพยากรท่องเท่ียวอะไรบ้างท่ีจะเป็น สินค้าหลักในการ
ดงึ ดดู ให้นักท่องเท่ยี วเข้ามาเยย่ี มชม ซ่งึ ทรัพยากรท่องเท่ยี วอาจแบ่งตามการทอ่ งเท่ยี วแห่งประเทศไทย (ททท.)
ได้ 3 ประเภทคือ ทรัพยากรท่องเท่ียวประเภทธรรมชาติ ทรัพยากรท่องเท่ียวประเภทประวัติศาสตร์
โบราณสถาน โบราณวัตถุ และทรัพยากรท่องเที่ยวประเภทศิลปวัฒนธรรม ประเพณี กิจกรรม นอกจารนี้ยัง
ต้องวิเคราะห์ที่ตั้งของทรัพยากรท่องเที่ยว คุณภาพของทรัพยากรท่องเที่ยว และกาหนดวัตถุประสงค์ในการ
พฒั นาทรพั ยากรท่องเที่ยวแตล่ ะแห่ง

การประเมินศักยภาพความพร้อมด้านการเข้าถึงทรัพยากรท่องเที่ยว เป็นการประเมินศักยภาพ
ความพร้อมด้านการเข้าถึงทรัพยากรท่องเที่ยวของชุมชนท้องถิ่นน้ันว่ามีเส้นทาง ทางบก ทางเรือ และทาง
อากาศทสี่ ามรถเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียวได้อย่างสะดวกสบายหรือไม่ สามารถเดินทางเขา้ ไปท่องเทยี่ วไดต้ ลอดท้ัง

156

ปีหรือไม่ และมีการขนส่งสาธารณะบริการนักท่องเท่ียวให้แท่องเที่ยวได้อย่างสม่าเสมอและเพียงพอหรือไม่
นอกจากนน้ั มีท่จี อดรถสาหรับยานพาหนะทเี่ ข้าไปใชบ้ รกิ ารอยา่ งเพยี งพอหรือไม่

การประเมินศักยภาพความพร้อมด้านสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเท่ียว เป็นการประเมิน
ศักยภาพความพร้อมด้านสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเท่ียวของชุมชนท้องถ่ินนั้นว่า มีขีดความสามารถ
ในการรองรบั นักท่องเท่ียวไดม้ ากน้อยเพียงใด ถา้ หากมจี านวนนักท่องเท่ียวเพิ่มมากขน้ึ จะสามารถพัฒนาสร้าง
เพ่ิมมากข้นึ ใหเ้ พยี งพอกับนักท่องเท่ยี วไดห้ รือไม่ โดยการท่องเท่ียวแบบยง้ั ยืนจะพยายามหลีกเลย่ี งปัญหาการมี
จานวนนักท่องเที่ยวมากในช่วงฤดูกาลท่องเท่ียว และปัญหาการมีจานวนนักท่องเท่ียวน้อยในช่วงฤดูท่องเทย่ี ว
แต่จะพยายามกาหนดให้มีนักท่องเที่ยวอยู่ในระดับท่ีต้องการตลอดปี เพื่อไม่ให้เกิดผลการทาลายทรัพยากร
ท่องเทีย่ วและสง่ิ แวดลอ้ มขึน้

การประเมินความพร้อมด้านบรกิ ารท่องเท่ียว เป็นการประเมินศักยภาพความพร้อมด้านการบรกิ าร
ท่องเที่ยวของชุมชนท้องถ่ินน้ันว่า มีบริการท่องเที่ยวอะไรบ้างมีจานวนมากน้อยเพียงใด มีขีดความสามารถ
รองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วได้มากน้อยเพยี งใด ถ้าหากมจี านวนนกั ท่องเทีย่ วเพิ่มข้ึนจะสามารถพัฒนาบริการท่องเท่ียว
ใหเ้ พิ่มขึ้นเพยี งพอกับนักท่องเทย่ี วได้หรือไมน่ อกจากนี้ยังต้องประเมินศักยภาพความพร้อมด้านคุณภาพบริการ
ท่องเทยี่ ววา่ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับใดสามารถพัฒนาคุณภาพบริการท่องเท่ยี วสรู่ ะดับมาตรฐานสากลไดห้ รอื ไม่

ตัวอยา่ งการประเมนิ ศักยภาพ
การประเมนิ ศักยภาพความพร้อมของชมุ ชนในการจดั การท่องเท่ียวเชงิ สร้างสรรค์กลุ่มชาติพนั ธุ์ไท

ดา/ลาวโซ่ง (Black Tai) จงั หวัดเลย
ตารางที่ 7.1 ศักยภาพความพร้อมของชุมชน

ศักยภาพความพร้อมของชมุ ชน มี ไมม่ ี หมายเหตุ

1. ดา้ นทพี่ ัก 
2. ด้านการคมนาคม 
3.ด้านสิง่ ดึงดดู ใจ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณที เี่ ป็นเอกลักษณ์ของ 
4. ดา้ นกิจกรรม 
5. ดา้ นสงิ่ อานวยความสะดวก 
6.ดา้ นความปลอดภยั 
7. ดา้ นสุขอนามยั
8. ดา้ นการตลาด 
ที่มา : ศราวุธ ผวิ แดงและคณะ, 2558 

ศราวุธ ผิวแดงและคณะ (2558) จากการประเมินศักยภาพวิถีกลุ่มชาติพันธุ์ลุ่มน้าโขงในการจัดการ
ท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทดา จังหวัดเลย ใช้แบบบันทึกข้อมูลภาคสนามและใช้การ
Check-List ศักยภาพในด้านตา่ งๆท้ัง 8 ด้าน ประกอบดว้ ย ด้านทีพ่ กั ด้านการคมนาคม ดา้ นสิง่ ดึงดูดใจ ดา้ น
กิจกรรม ด้านสิ่งอานวยความสะดวก ด้านความปลอดภัย ด้านสุขอนามัย และด้านการตลาด และรวบรวม
ข้อมูลศักยภาพเบื้องต้นของพื้นที่จากเอกสารงานวิจัย เว็ปไซด์ต่างๆท่ีมีข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของพ้ืนที่ของ
กลุ่มชาติ สรุปได้ว่า 1) ด้านท่ีพัก มีการสร้างท่ีพักไว้รองรับนักท่องเท่ียวใกล้กับศูนย์วัฒนธรรมไทดา สามารถ
รองรับนักท่องเที่ยวได้ประมาณ 80 คน 2) ด้านการคมนาคม สามารถเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวได้สะดวก

157
เดินทางจากตัวเมืองไปทางอาเภอเชียงคาน ประมาณ 33 กม. ถึงบ้านแสนสาราญ เจอแยกแล้วเลี้ยวขวา ตรง
ไปอีกประมาณ 5 กม. เลี้ยวซ้ายตรงบ้านหินตั้ง(มีป้ายบอกว่าเทศบาลตาบลเขาแก้ว ) ตรงมาอีกประมาณ 3
กม. พอถึงสามแยกบ้านนาป่าหนาดเลี้ยวซ้าย ประมาณ 1 กม. ถึงศูนย์วัฒนธรรมไทดา อยู่ซ้ายมือ3)ด้านส่ิง
ดึงดูดใจ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน เช่น อาหาร การแต่งกาย เป็นต้น 4) ด้าน
กิจกรรม เย่ียมชมบ้านพิพิธภัณฑ์ไทดาร่วมกิจกรรมการทาตุ้มนก-ตุ้มหนู นั่งรถอี่แต๋นเยี่ยมชมศูนย์วัฒนธรรม
หอเจ้าบ้าน วิถีชีวิตของชุมชน กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง แต่ยังขาดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วม
เพ่ือให้ได้มาซึ่งประสบการณ์จากส่ิงที่มีอยู่และเป็นอยู่จริงในชุมชน5) ด้านสิ่งอานวยความสะดวก มีไฟฟ้า
ประปา สัญญานโทรศัพท์ ร้านค้า เป็นต้น 6)ด้านความปลอดภัย มีการจัดการด้านความปลอดภัยโดยแบ่งเวร
ยามรักษาความปลอดภัยให้กับนักท่องเท่ียว7) ด้านสุขอนามัย ควรได้รับการพัฒนาให้รู้ในด้านต่างๆ เช่น การ
ประกอบอาหาร เป็นต้น 8) ด้านการตลาด มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นเอกลักษณ์ให้นักท่องเท่ียวได้
เลือกซ้ือ แต่ยังขาดเร่ืองของกาหนดการนาเท่ียวภายในชมุ ชนทั้งแบบ 1 วัน และแบบ 2 วัน 1 คืน และยังขาด
การประชาสมั พนั ธ์ในรูปแบบตา่ งๆ
การเตรยี มความพร้อมทางการทอ่ งเทีย่ วของชมุ ชนทอ้ งถิน่

การท่องเที่ยวแบบมีส่วนร่วมของชุมชนกลังจากการประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวแล้วสิ่งท่ีสาคัญ
คือการเตรยี มความพรอ้ มทางการทอ่ งเท่ยี วของชมุ ชนทอ้ งถ่นิ เพื่อรองรับการทอ่ งเทย่ี ว

บุญเลิศ จิตต้ังวัฒนา (2548 : 163-169) ได้อธิบายถึงขั้นตอนการเตรียมความพร้อมภายหลังการ
คดั เลือกสนิ ค้าทางการท่องเท่ียวแล้ว กต็ อ้ งคานงึ ถึงความพร้อมของชุมชนทอ้ งถ่ินท่จี ะปรากฏตัวสู่ภายนอกหรือ
ยัง ถ้าหากเปิดรับนักท่องเที่ยวจะมีผลอะไรเกิดขึ้นกับพวกเขาบ้าง โดยพวกเขาจะต้องพบกลุ่มคนแปลกหน้า
ใหม่อย่างไรบ้าง และสิ่งที่พวกเขาจะได้รับคืออะไร เน่ืองจากชุมชนท้องถ่ินมักยากจน การจะให้เข้ามามีส่วน
ร่วมทางการท่องเท่ียวแบบยั้งยืนก็ต้องให้เขาได้ประโยชน์จากการท่องเท่ียว เพื่อให้เขามีรายได้เพียงพอในการ
ยังชีพเสียก่อน มิฉะน้ันจะเกิดการทาลายทรัพยากรท่องเที่ยวขึ้น เม่ือชุมชนท้องถิ่นมีความต้องการให้เกิดการ
ทอ่ งเทีย่ วแลว้ กต็ ้องการเตรยี มความพร้อมทางการทอ่ งเที่ยวทส่ี าคัญ 3 ด้านคือ

การเตรยี มความพร้อมด้านท่ัวๆ ไป เปน็ การเตรียมความพร้อมดา้ นทั่วไปเก่ียวกบั การท่องเที่ยวของ
ชมุ ชนทอ้ งถิ่นน้ัน อนั ได้แก่

(1) การประชาสัมพันธ์เผยแพร่การจัดการท่องเที่ยวของชุมชนท้องถ่ินโดยต้องทาความเข้าใจกับ
องคก์ ารบริการส่วนตาบลและประชาชนในท้องถิ่นนั้นเกีย่ วการดาเนินงานด้านการท่องเท่ียวท่จี ะรว่ มกันจัดข้ึน
และให้เจา้ หน้าที่ของรัฐบาลและเอกชนทีร่ บั ผดิ ชอบเขา้ ร่วมประชมุ กับองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลและประชาชน
ในท้องถ่นิ นัน้ เพื่อแลกเปล่ียนทัศนะแนวทางการพัฒนาสนิ ค้าทางการท่องเทย่ี ว การจัดการท่องเท่ยี วของชุมชน
ท้องถ่ิน ผลกระทบด้านบวกและด้านลบท่ีจะเกิดข้ึนจากการท่องงเท่ียวต่อชุมชนท้องถ่ิน โดยคานึงถึงความ
คิดเหน็ และมตขิ องประชาชนเปน็ สาคญั

(2) การจัดทาแผนงาน/โครงการพัฒนาการท่องเท่ียวร่วมกับองค์การบริหารส่วนตาบล เช่นการจัดทา
แผนงาน/โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การจัดทาแผนงาน/โครงการพัฒนาภูมิทัศนข์ องชุมชนท้องถ่ินเปน็
ตน้

(3) การจัดทาเส้นทางและแผนที่ท่องเท่ียวของชุมชนท้องถิ่น เป็นการจัดทารายละเอียดของสถานที่
ทอ่ งเที่ยวทชี่ ุมชนท้องถนิ่ จดั ข้นึ

(4) การจัดอบรมผู้นาทางแก่คนในชุมชนท้องถ่ิน เป็นการจัดอบรมให้ชุมชนท้องถิ่นมีความรู้เกี่ยวกับ
การนาเทย่ี วในแหลง่ ท่องเท่ยี ว เพื่อเตรยี มความพรอ้ มดา้ นการฝกึ อาชีพใหแ้ กป่ ระชาชนในชุมชนท้องถ่ิน

158

(5) การกาหนดมาตรการในเร่ืองการรกั ษาความปลอดภยั แกน่ กั ท่องเที่ยว
การเตรียมความพร้อมด้านการจัดหานักท่องเที่ยว เป็นการเตรียมความพร้อมด้านจัดหา
นักท่องเที่ยวให้ไปท่องเท่ียวยังแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนท้องถิ่น ถ้าไม่มีนักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวหรือใชบ้ รกิ าร
แล้ว การทอ่ งเทย่ี วย่อมเกดิ ขน้ึ ไม่ได้ ซ่ึงการจัดหานกั ทอ่ งเท่ยี วสามารถดาเนนิ การได้หลายวิธี เชน่
(1) การจัดทาใบปลิวและแผ่นพับระบุรายละเอียดของการท่องเท่ียว โปรแกรมการท่องเที่ยว พร้อม
ค่าใชจ้ ่ายในการแจกจา่ ยเผยแพรแ่ ละประชาสัมพนั ธไ์ ปยงั นกั ทอ่ งเทีย่ วกลุม่ เปา้ หมาย
(2) การขอความร่วมมือส่วนราชการอ่ืนๆ เช่นอาเภอ จังหวัด การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย
หนว่ ยงานราชการ และเอกชนอนื่ ๆ เปน็ ตน้ ใหเ้ ผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธเ์ ชญิ ชวนนักท่องเทย่ี วเข้ามาทอ่ งเทยี่ ว
(3) การเชญิ สอื่ มวลชนเข้ามาร่วมกิจกรรมทอ่ งเที่ยวเพือ่ ประชาสัมพันธผ์ า่ นสอื่ สาธารณะต่างๆ
(4) การส่งข้อมลู แผ่นปลวิ แผน่ พับไปประชาสัมพนั ธ์ยังธุรกจิ นาเท่ียวตา่ งๆ และหนังสอื พมิ พส์ ื่อมวลชน
ที่เกย่ี วกบั การท่องเท่ียว
(5) การจัดให้มีพนักงานขายบริการท่องเที่ยวของชุมชนท้องถ่ิน เช่นไปแจกจ่ายแผ่นพับแก่
นกั ท่องเทย่ี วท่มี าเทีย่ วบรเิ วณใกล้เคียง เป็นต้น
การเตรียมความพร้อมด้านการให้บริการท่องเท่ียว เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการให้บริการ
ท่องเที่ยวด้านต่างๆ แก่นักท่องเที่ยวท่ีจะเข้ามาท่องเท่ียว โดยพยายามให้คนในชุมชนท้องถิ่นเป็นผู้ให้บริการ
ท่องเท่ียว เพ่ือให้ชุมชนท้องถิ่นมีรายได้จากการให้บริการท่องเท่ียว อันเป็นการกระจายรายได้สู้ท้องถ่ิน และ
สรา้ งความกินดอี ยู่ดีใหแ้ กค่ นในชุมชนทอ้ งถิ่นดว้ ย ซงึ่ จะต้องมีการพฒั นาบคุ ลากรในการใหบ้ รกิ าร เปน็ ตน้ ว่า
(1) ต้องพัฒนาบุคลิกภาพผู้ให้บริการท่องเทย่ี วแก่นักท่องเท่ียวด้วยน้าใจอารีเพ่ือสร้างความประทับใจ
แกน่ กั ท่องเท่ียว
(2) ตอ้ งอานวยความสะดวกแกน่ ักทอ่ งเทย่ี วเพ่ือให้ได้รบั ความสะดวกสบายและปลอดภยั
(3) ต้องตรงต่อเวลาตามข้ันตอนที่กาหนดหากต้องมีการยืดหยุ่น ก็ควรเป็นไปตามความต้องการของ
นกั ท่องเทยี่ ว
(4) ต้องใหค้ วามเป็นธรรมแก่นกั ท่องเทยี่ ว ไมเ่ อารัดเอาเปรียบนักท่องเที่ยวโดยกาหนดคาราค่าบริการ
ต้องเปน็ ธรรมและเปดิ เผย
(5) ต้องจาหน่ายสินคา้ และบริการทางการท่องเทยี่ วที่ไดม้ าตรฐานเหมาะสมกบั ราคา
(6) ตอ้ งใหบ้ รกิ ารแกน่ กั ท่องเทีย่ วเป็นไปตามรายการท่โี ฆษณาขายไว้
(7) ต้องพฒั นาเสน้ ทางคมนาคมเขา้ ถึงแหลง่ ท่องเทีย่ วใหส้ ะดวกสบายและปลอดภยั
(8) ตอ้ งให้นกั ทอ่ งเท่ียวรู้สึกว่ามคี วามปลอดภัยทั้งชีวติ และทรพั ยส์ นิ
การเตรยี มความพร้อมดา้ นการต้อนรบั นกั ทอ่ งเทีย่ ว
เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการตอ้ นรับนกั ท่องเที่ยวอย่างอบอุ่นของชุมชนท้องถิ่น แม้ในบางคร้ัง
ชุมชนท้องถ่ินจะมีทรัพยากรท่องเท่ียวและบริการท่องเท่ียวน้อยไปบ้าง แต่ถ้าชุมชนท้องถิ่นมีการต้อนรับ
นักท่องเท่ียวด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส เต็มไปด้วยไมตรีมิตรภาพ ก็อาจลบล้างความไม่ประทับใจในด้าน
ทรัพยากรท่องเท่ียวและบริการท่องเท่ียวลงได้ จึงต้องมีการเตรียมความพร้อมใหค้ นในชุมชนท้องถิ่นมีทัศนคติ
ในการต้อนรับนักท่องเท่ียว ซึ่งรวมถึงบุคลากรท่ีทาหน้าที่ในการให้บริการแก่นักท่องเที่ยวด้วย เนื่องจากธุรกิจ
ท่องเที่ยวเป็นธุรกิจที่ต้องเก่ียวข้องกับมนุษยสัมพันธ์ในการขายบริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่
นักท่องเท่ียวเป็นหลัก ถ้าหากไม่มีการคานึงถึงบุคลากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับการให้บริการท่องเท่ียวแล้ว
ยากท่ีธุรกิจท่องเท่ียวจะประสบความสาเร็จได้ หรือหากพิจารณาในแง่ของการลงทนแล้วการมีบุคลากรท่ีไม่

159

เหมาะสมย่อมก่อใหเ้ กิดภาวะความเสี่ยงสงู ต่อความล้มเหลวของการลงทุน อีกท้งั สร้างปัญหาและความหายยะ
มาสู้ธุรกิจท่องเที่ยว จึงต้องมีการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมท้ังด้านความรู้
ความสามารถและมที ัศนคตทิ ี่ดดี า้ นการท่องเที่ยวให้เกดิ ขึน้ ในชมุ ชนท้องถ่ิน ซึง่ สามารถดาเนนิ การได้ดังตอ่ ไปนี้

(1) การพฒั นาบุคลากรของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ใหม้ คี วามรู้ความสามารถ เมื่อมกี ารท่องเทยี่ วเกดิ ขน้ึ ในชุมชน
ท้องถ่ิน จาเป็นต้องมีการให้บริการทางการท่องเท่ียวแต่ล่ะด้านอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้นักท่องเท่ียวเกิด
ความประทับใจ จึงต้องใช้บุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านในการปฏิบัติงาน ดังนั้นการพัฒนา
บุคลากรของชุมชนท้องถิ่นให้ความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ ทางการท่องเที่ยวจึงเป็นส่ิงจาเป็น เช่นการ
พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านการให้บริการท่องเท่ียว ด้านบริการงานบุคคล ด้านการใช้
เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ ดา้ นการควบคมุ ดา้ นการวิเคราะหร์ ะบบงาน ดา้ นบริหารงบประมาณ เปน็ ต้น

(2) การพัฒนาบุคลากรของชุมชนท้องถิ่นให้มีทัศนคติที่ดีต่อการท่องเท่ียว บุคลากรที่จะทางานใน
อุตสาหกรรมทอ่ งเทยี่ วจาเปน็ ต้องมที ัศนคติทด่ี ีต่ออาชีพด้านการท่องเท่ียวจะต้องนยิ มชมชอบนกั ท่องเทย่ี วและ
สนับสนุนการท่องเท่ียวอย่างเต็มที่ และไม่ต่อต้านหรือขัดขวางการท่องเที่ยวท่ีจะเกิดขึ้นในชุมชนท้องถ่ิน จึง
ต้องงพัฒนาบุคลากรของชุมชนท้องถ่ินให้มีทัศนคติท่ีดีต่อการท่องเท่ียว เช่นมีความภาคภูมิใจในศักด์ิศรีของ
การดาเนินงานด้านบริการท่องเท่ียวมีความเห็นอกเห็นใจนักท่องเท่ียว มีความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน มีการ
ตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี มีความสามารถปรับตัวเข้ากับนักท่องเท่ียวและผู้ร่วมงาน มีความซ่ือสัตย์
ตรงต่อเวลา รักษาคาพูด เป็นต้น
การพัฒนาชุมชนท้องถิน่ เพื่อใหส้ ามารถรองรบั นกั ท่องเท่ยี วคุณภาพ

เป็นการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากชุมชนท้องถ่ินร่วมกับหน่วยงานอื่นในการปรึกษาหารือและตัดสินใจ
เกยี่ วกบั การตอ้ นรบั และใหบ้ รกิ ารนักทอ่ งเทยี่ วคุณภาพ เพ่อื ให้นักท่องเท่ยี วเกดิ ความพงึ พอใจ

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนท้องถ่ินเพ่ือรอบรับนักท่องเท่ียวคุณภาพ มีวัตถุประสงค์หลักอยู่
5 ประการคือ

(1) เพื่อให้ทรัพยากรท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถ่ิน และมีทรัพยากรท่องเที่ยวทาง
วัฒนธรรมที่เกี่ยวเน่ืองกับระบบนิเวศในชุมชน ซ่ึงได้รับการจัดการอย่างมีความรับผิดชอบในการอนุรักษ์ฟ้ืนฟู
และรักษาระบบนิเวศแบบยังยืน โดยคานึงถึงขีดความสามารถรองรับของพ้ืนที่ท่ีมีการกาหนดเขตพื้นที่การใช้
ประโยชน์เพ่อื ทอ่ งเที่ยวแบบย้ังยืนอยา่ งเหมาะสม

(2) เพื่อให้การท่องเที่ยวเป็นเคร่ืองมือในการสร้างจิตสานึกทางการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน อันเป็นการ
สนบั สนุนอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติและสังคมโดยรวม

(3) เพ่ือให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเท่ียวแบบยั้งยืนกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่าย
อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ซ่ึงจะก่อให้เกิดผลประโยชน์อย่างเหมาะสมต่อชุมชนท้องถิ่น อีกท้ังช่วย
เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ และเพิ่มความกินดีอยู่ดีใหแ้ ก่ชุมชนทอ้ งถิ่น

(4) เพ่ือให้มีสิ่งอานวยความสะดวกและบริการทางการท่องเที่ยวสอดคล้องกลมกลืนกับส่ิงแวดล้อม
โดยมกี ารจัดการส่ิงแวดลอ้ มท่ีได้มาตรฐาน รกั ษาเอกลกั ษณ์ทางธรรมชาติ และสังคมของชมุ ชนท้องถิน่ อกี ท้ังมี
บรรยากาศทางงการท่องเท่ียวท่ใี ห้ความมั่นใจและความปลอดภยั แก่นักท่องเทีย่ วคุณภาพ

(5) เพ่ือให้มีนักท่องเท่ียวคุณภาพท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศเดนทางเข้ามาท่องเท่ียวยังชุมชน
ทอ้ งถนิ่ มากขน้ึ

160
แนวทางการพัฒนาชุมชนท้องถ่ินเพ่ือรองรับนักท่องเที่ยวคุณภาพ มีแนวทางสาคัญอยู่ 3 แนวทาง
คอื
(1) แนวทางการพัฒนาชุมชนท้องถ่ินในการสร้างและปรับปรุงทรัพยากรท่องเที่ยวข้ึนเพ่ือรองรับ
นักท่องเท่ียวคุณภาพ ซงึ่ มีแนวทางสาคัญอยู่ 2 แนวทางยอ่ ยคอื

(1.1) แนวทางการพัฒนาสถานที่ท่ีเป็นธรรมชาติสวยงามให้เป็นทรัพยากรท่องเท่ียวประเภท
ธรรมชาติในชุมชนท้องถ่ิน โดยปรุงแต่งเพ่ิมเติมจากสถานท่ีท่ีเป็นธรรมชาติในบางส่วนให้มีผลดึงดูด
นักท่องเที่ยว เช่นการพัฒนาให้เป็นทรัพยากรท่องเท่ียวประเภทภูมิอากาศ ประเภททิวทัศน์สวยงาม ประเภท
สัตวป์ า่ เป็นตน้

(1.2) แนวทางการพัฒนาสถานที่ที่เป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุให้เป็นทรัพยากร
ท่องเที่ยวประเภทโบราณสถานและโบราณวัตถุในชุมชนท้องถ่ิน เพ่ือให้มีผลดึงดูดนักท่องเที่ยวคุณภาพ เช่น
การพัฒนาให้เป็นทรัพยากรท่องเท่ียวประเภทโบราณสถานสัญลักษณ์แห่งชาติ ประเภทอนุสาวรีย์แห่งชาติ
ประเภทสถาปัตยกรรมแห่งชาติ ประเภทย่านประวัติศาสตร์ ประเภทอุทยานประวัติศาสตร์ ประเภทชุมชน
ประวัตศิ าสตร์ ประเภทพพิ ธิ ภณั ฑช์ มุ ชน เปน็ ตน้

(2) แนวทางการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นให้เกิดส่ิงอานวยความสะดวกทางการท่องเท่ียวเพ่ือรองรับ
นักทอ่ งเทีย่ วคณุ ภาพ ซง่ึ มีแนวทางที่สาคญั อยู่ 2 แนวทางย่อยคือ

(2.1) แนวทางการพัฒนาให้เกิดสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเทียวประเภทโครงสร้าง
พื้นฐาน เพื่ออานวยความสะดวกต่อการดารงชีวิตของชุมชน และเป็นประโยชนต่อนักท่องเที่ยวคุณภาพด้วย
เช่นการส่ือสาร นา้ กนิ นา้ ใช้ ไฟฟ้า สุขาภิบาล การขนสง่ การสาธารณสขุ การศกึ ษาและฝึกอบรม

(2.2) แนวทางการพัฒนาให้เกิดสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวประเภทความ
ปลอดภัย เพื่อความอานวยความสะดวกต่อความปลอดภัยทางร่างกาย ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนใน
ชุมชนท้องถิน่ และนกั ท่องเที่ยวคุณภาพด้วย เชน่ ความปลอดภยั จากโจรกรรม ความปลอดภัยจากการใชบ้ ริการ
ท่องเที่ยว ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ความปลอดภัยจากการหลงทาง ความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ เป็น
ตน้

(3) แนวทางในการพัฒนาให้เกิดบริการท่องเที่ยวเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวคุณภาพ ซึ่งมีแนวทางอยู่ 5
แนวทางคอื

(3.1) แนวทางในการพัฒนาให้เกิดบรกิ ารขนส่งนกั ท่องเท่ียวคุณภาพ เพ่ือให้สามารถเดินทาง
เข้าถึงแหล่งของชุมชนท้องถ่ินได้ เช่นการพัฒนาให้เกิดธุรกิจขนส่งด้วยรถยนต์ ด้วยรถไฟ ด้วยเรือ และ
เครอ่ื งบนิ เปน็ ต้น

(3.2) แนวทางการพัฒนาให้เกิดบริการที่พักแรมแก่นักท่องเท่ียวคุณภาพเพ่ือให้สามารถพัก
คา้ งคนื ชว่ั คราวระหวา่ งเดินทางท่องเทีย่ วในชุมชนท้องถิ่นไดอ้ ยา่ งสะดวกสบายและปลอดภัย เชน่ การพฒั นาให้
เกิดธุรกิจโรงแรม เรอื นแรม บา้ นพักในบา้ น บา้ นพกั ในฟาร์ม บังกะโล เป็นต้น

(3.3) แนวทางการพัฒนาให้เกิดบริการอาหารและบันเทิงแก่นักท่องเที่ยวคุณภาพ เพื่อให้มี
อาหารรับประทานขณะเดินทางในชุมชนท้องถ่ินได้อย่างสะดวกสบายและปลอดภัย เช่นการพัฒนาให้เกิด
ร้านอาหารพื้นเมือง ร้านอาหารสากล ร้านอาหารมังสวิรัติ เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องพัฒนาให้มีแหล่งบนั เทงิ ท่ี
สร้างความเบิกบานร่ืนเริงใจขณะทางท่องเท่ียวท้องถิ่น เช่น ศูนย์วัฒนธรรม ศูนย์สังคีต สนามมวย สถานนวด
แผนโบราณ กาแสดงศลิ ปวัฒนธรรมประเพณีของชมุ ชนทอ้ งถ่นิ เป็นต้น

(3.4) แนวทางการพฒั นาให้เกิดบรกิ ารนาเท่ียวและมัคคุเทศกแ์ ก่นกั ทอ่ งเท่ียวคุณภาพ เพ่ือให้
สามารถเดินทางท่องเท่ียวในชุมชนท้องถ่ินได้อย่างสะดวกได้รับความรู้ท่ีถูกต้อง เช่นการพัฒนาให้เกิดธุรกิจนา

161
เท่ียวภายในชุมชนท้องถ่ิน ธุรกิจนาเท่ียวภายในประเทศ ธุรกิจนาเท่ียวต่างประเทศ มัคคุเทศก์ชุมชน
อาสาสมัครเพื่อการท่องเที่ยวชมุ ชนท้องถนิ่ เป็นต้น

(3.5) แนวทางการพัฒนาใหเ้ กิดบริการจาหนา่ ยสนิ ค้าทีร่ ะลึกแกน่ ักท่องเที่ยวคุณภาพ เพื่อให้
สามารถซ้ือสินค้าที่ระลึกของชุมชนท้องถ่ินกลับไปฝากญาติมิตรในภูมิลาเนาของเขา เช่นการพัฒนาให้เกิด
ชุมชนธุรกิจจาหน่ายสินค้าท่ีระลึกประเภททอผ้า ประเภทเครื่องประดับ ประเภ ทเครื่องเขิน ประเภท
เครื่องป้นั ดนิ เผา ประเภทหตั ถกรรมอื่นๆ เป็นต้น
แนวทางการพัฒนาองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เพื่อสรา้ งศักยภาพการพฒั นาการท่องเที่ยวส่คู วามยั่งยนื

เทิดชาย ช่วยบารุง (2552) ไดก้ ล่าวถงึ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นเป็นหน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น
มีอานาจหน้าที่ในการบริหารจัดการบริการสาธารณะตามกฎหมายเพ่ือประโยชน์สุขของชุมชนท้องถิ่นนั้นๆ
รวมถึงมีบทบาทสาคัญในการเสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความย่ังยืน การปกครองส่วน
ท้องถ่ินจะชว่ ยสนองตอบความต้องการและแก้ปัญหาของท้องถ่ินเปน็ โรงเรียนประชาธปิ ไตยในระดับรากแก้วที่
ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจทางการเมืองใหป้ ระชาชน ซึ่งเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสว่ นรว่ มทางการเมือง
ในระดับชุมชนของตนและการเข้ามาบริหารกิจการสาธารณะต่างๆภายในชุมชนด้วยตนเองอีกท้ังยังช่วย
ปกป้องเสรีภาพของบุคคลโดยการตรวจสอบและถ่วงดุลอานาจซง่ึ กันและกนั ระหว่างรัฐบาลส่วนกลางและส่วน
ท้องถ่ินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทหน้าที่ในด้านการจัดการการท่องเท่ียวแตกต่างกันไปตามสภาพ
พน้ื ท่ีและศักยภาพของแต่ละองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ดังภาพท่ี 7.1

ศกึ ษา วิเคราะหจ์ ัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการส่งเสริมการท่องเทย่ี วและตดิ ตามประเมนิ ผล
พัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วในพน้ื ท่ี

พัฒนากจิ กรรมการท่องเทยี่ ว

พัฒนาการบรกิ ารทางการทอ่ งเทีย่ ว
พฒั นาการประกอบธุรกจิ นาเท่ยี วและมคั คุเทศก์

วางแผนหาแหล่งเงินทุนในการจกั ทางบประมาณในการพัฒนา

ภาพที่ 7.1 แนวทางการดาเนินงานดา้ นการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
ทีม่ า : เทิดชาย ชว่ ยบารงุ (2552)

(1) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทาแผนปฏบิ ัติการดา้ นการสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ยี วและตดิ ตามประเมินผล โดย
ใหม้ แี ผนงานโครงการทส่ี อดคลอ้ งกับแผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

(2) พัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วในพนื้ ท่ตี ามศกั ยภาพและบริบทของพนื้ ทโี่ ดยประสานงานกบั หนว่ ยงานที่
เก่ยี วข้องและให้ประชาชนในพื้นที่เข้ามามีสว่ นร่วม

162
(3) พฒั นากิจกรรมการท่องเที่ยวเพอ่ื ตอบสนองพฤตกิ รรมนักทอ่ งเทยี่ วและยืดระยะเวลาการอย่ใู น
พื้นทีข่ องนักท่องเท่ยี วซึ่งเปน็ การเพิ่มการใชจ้ า่ ยนั่นหมายถึง การเพ่ิมขึน้ ของรายไดจ้ ากการท่องเที่ยว โดยจดั
กจิ กรรมที่เหมาะสมกับแหลง่ ท่องเท่ยี วและนักท่องเท่ยี วกลุ่มเปา้ หมายซึ่งองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินสามารถ
ประสานงานกับหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องและใหป้ ระชาชนในพื้นท่ีเข้ามามสี ่วนร่วม
(4) พัฒนาการบริการทางการทอ่ งเที่ยวโดยประสานงานกบั หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องเพื่อสร้างเครอื ขา่ ย
การบรกิ ารการท่องเท่ียวและใหป้ ระชาชนในพน้ื ท่เี ข้ามามสี ่วนร่วม
(5) พัฒนาการประกอบธรุ กิจนาเทยี่ วและมัคคเุ ทศก์โดยการสร้างเครือข่ายกบั องค์กรปกครองสว่ น
ท้องถิน่ ทีเ่ ก่ียวข้องใหป้ ระชาชนพ้ืนทเี่ ข้ามามสี ่วนร่วม
(6) วางแผนหาแหลง่ เงนิ ทนุ ในการจดั ทางบประมาณในการพัฒนาโดยกาหนดไว้ในแผนพฒั นาของ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ว่าจะใช้งบประมาณจากหน่วยใดจะขอรับการสนบั สนนุ จากรัฐบาลหรอื ไม่
บุญเลิศ จติ ต้งั วฒั นา (2542) ได้อธบิ ายถึงการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั้งยนื ในแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ
ให้มีศักยภาพรองรับนักท่องเที่ยวได้อย่างประสิทธิภาพ บทบาทของชุมชนท้องถิ่นในแหล่งท่องเที่ยวจะมี
ความสาคัญสูงมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ซึ่งตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้ให้
อานาจแก่ประชาชนในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมของท้องถ่ินมากขึ้น
และถือว่า อบต. เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในชุมชนท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) เป็นองค์การบริหาร
ส่วนท้องถ่ินท่ีจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารสว่ นตาบล พ.ศ. 2537 นับเป็นหนว่ ย
ราชการบริหารสว่ นท้องถิ่นท่เี ล็กทีส่ ุดและใกล้ชิดประชาชนมากท่สี ุด อันเป็นการกระจายอานาจการปกครองสู้
ท้องถ่ินอย่างแท้จริง ในส่วนของการท่องเท่ียวถือเป็นกิจกรรมและภารกิจหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ อบต. โดยตรง
ภายใต้การพฒั นาการท่องเทยี่ วแบบยงั้ ยนื ได้มหี ลักเกณฑ์กาหนดไว้ชดั เจนวา่ ประชาชนในท้องถ่ินจะตอ้ งมีส่วน
ร่วมและได้รับผลประโยชน์ในอัตราส่วนที่ยุติธรรมโดยบุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548) ได้อธิบายถึงบทบาทของ
อบต.ในการพัฒนาการท่องเทย่ี วในท้องถน่ิ ของตนเองไว้ดงั นี้
บทบาทของ อบต. ในการพฒั นาการท่องเท่ยี วในท้องถ่ินของตนเอง โดย อบต. มบี ทบาทดังตอ่ ไปน้คี อื
บทบาทด้านการตลาดท่องเท่ียว โดย อบต. ควรมีบทบาทด้านการตลาดท่องเที่ยวท่ีสาคัญอยู่ 2
ประการคอื
(1) บทบาทในการจัดทาระบบข้อมูลเก่ียวกับแหล่งท่องเทย่ี ว เป็นการจดั ทาระบบข้อมลู เก่ียวกับแหล่ง
ท่องเทยี่ วในพืน้ ท่ี อบต. ดังตอ่ ไปนคี้ ือ

(1.1) รายชื่อแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วและประเภทของแหล่งท่องเท่ยี ว
(1.2) ทีต่ งั้ และขนาดของแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว
(1.3) จดุ เดน่ ของแหลง่ ทอ่ งเที่ยวในการดึงดูดนักท่องเทยี่ ว
(1.4) การเข้าถงึ แหล่งท่องเที่ยว
(1.5) ส่งิ อานวยความสะดวกในแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว
(1.6) สาธารณูปการ
(1.7) จานวนนักทอ่ งเทยี่ ว
(2) บทบทในการส่งเสริมตลาดท่องเที่ยว เป็นการชักจูงใจนักท่องเท่ียวเข้ามาท่องเที่ยวพ้ืนที่ของตน
ซ่งึ อาจทาไดห้ ลายวิธีดงั ต่อไปนคี้ ือ
(2.1) เผยแพรข่ ้อมลู การท่องเที่ยวโดยการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
(2.2) จดั ตั้งศนู ยบ์ รกิ ารนักทอ่ งเท่ียวท่ีใหท้ ั้งขอ้ มลู และอานวยความสะดวก

163

(2.3) จดั รายการนาเท่ียวนานกั เทย่ี วมาเท่ียวในทอ้ งถ่นิ ของตน
(2.4) รว่ มกจิ กรรมท่องเทย่ี วที่จงั หวัดขนึ้ เพ่ือสง่ เสรมิ การท่องเท่ียวในท้องถ่ิน
บทบาทด้วยการแสวงหาและสร้างแหล่งท่องเท่ียวใหม่ โดย อบต. ควรมีบทบาทด้านการแสวงหา

และสรา้ งแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วใหมใ่ หเ้ กดิ ข้ึนอยู่ 5 ประการคอื

(1) การสารวจและคน้ หาแหล่งท่องเทีย่ วใหม่ๆ
(2) การพฒั นาพ้นื ทรี่ กร้างว่างเปล่าให้เกดิ เปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วใหม่
(3) การพัฒนาพ้นื ทสี่ าธารณะให้เกิดเป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี วใหม่
(4) การพฒั นาวถิ ชี ีวิตของประชาชนให้เกิดเป็นกิจกรรมทอ่ งใหม่
(5) การฟื้นฟแู ละส่งเสรมิ งานประเพณขี องทอ้ งถิน่ ใหเ้ กิดเปน็ กิจกรรมท่องเทย่ี วใหม่
บทบาทด้านการให้บริการท่องเท่ียว โดย อบต. ควรมีบทบาทด้านการให้บริการท่องเที่ยวแก่
นกั ท่องเท่ยี วที่เดนิ ทางเข้ามาท่องเท่ยี วในทอ้ งถิ่นของตนอยู่ 5 ประการคอื
(1) การให้บริการดา้ นการขนส่งแก่ทอ่ งเทยี่ ว
(2) การใหบ้ รกิ ารดา้ นที่พักแรมแก่นักท่องเท่ียว
(3) การใหบ้ รกิ ารดา้ นอาหารเครอื่ งด่มื แกน่ ักท่องเท่ียว
(4) การใหก้ ารบรกิ ารด้านนาเท่ียวและมัคคุเทศกแ์ ก่นกั ท่องเที่ยว
(5) การให้บรกิ ารด้านการจาหนา่ ยสินค้าท่รี ะลึกแกน่ กั ท่องเท่ียว
บทบาทด้านการวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดย อบต. ควรมีบทบาทด้านการวางแผนพัฒนา
ท่องเท่ียวทีด่ ูแลรับผิดชอบอยู่ 4 ประการคือ

(1) การจัดทาแผนพฒั นาและฟ้ืนฟูแหล่งทอ่ งเท่ยี ว
(2) การสง่ เสรมิ ให้ประชาชนทอ้ งถิน่ มีสว่ นรว่ มด้านการวางแผนพฒั นาแหลง่ ท่องเที่ยว
(3) การพฒั นาส่งิ อานวยความสะดวกสบายและความปลอดภัยในแหล่งทอ่ งเทีย่ ว
(4) การประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชนในการว่างแผนพัฒนา
แหล่งท่องเทยี่ ว
บทบาทด้านการวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดย อบต. ควรมีบทบาทด้านการบริหารจัดการ

แหล่งทอ่ งเทีย่ วทด่ี ูแลรับผดิ ชอบอยู่ 5 ประการคอื
(1) การกาหนดวธิ ีการบริหารจัดการแหลง่ ทอ่ งเที่ยว
ทอ่ งเทีย่ ว (2) การบริหารงานบุคคลเพอื่ การบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเที่ยว
(3) การส่งเสริมให้ประชาชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมและได้รับประโยชน์จาการบริหารจัดการ

(4) การจดั หาและใชจ้ า่ ยงบประมาณเพือ่ บริหารจัดการแหลง่ ท่องเทยี่ ว
(5) การสนบั สนุนประชาชนรวมตัวกันเป็นองค์กรอนรุ กั ษ์ทรัพยากรท่องเทยี่ วและสิง่ แวดล้อม
เทิดชาย ช่วยบารุง (2552 :77-88) ได้อธิบายถึงบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการ
พัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับประเด็นหลักๆ 5 ด้าน คือ การตลาดท่องเที่ยว การ
แสวงหาและสร้างแหล่งท่องเท่ียวใหม่ การให้บริการแหล่งท่องเท่ียว การวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว การ
บริหารจัดการแหล่งท่องเท่ียว โดยแต่ละประเด็นจะมีรายละเอียดองค์ประกอบที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สามารถนาไปปฏิบัติได้ ตามภาพท่ี 7.2 ดังนี้

164

การตลาดท่องเทีย่ ว การจัดทาระบบขอ้ มลู เกีย่ วกบั แหล่งทอ่ งเที่ยว
การแสวงหาแหล่งทอ่ งเทย่ี วใหม่ การส่งเสริมตลาดการท่องเท่ยี ว
การใหบ้ ริการแหล่งทอ่ งเท่ียว
การสารวจและคน้ หาแหล่งทอ่ งเท่ียวใหม่
การวางแผนพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยว การพฒั นาพื้นทร่ี กรา้ งว่างเปลา่
การบริหารจดั การแหลง่ ทอ่ งเที่ยว การพฒั นาวถิ ีชีวติ ประชาชน
การพฒั นาพน้ื ท่ีสาธารณะ
การฟืน้ ฟแู ละส่งเสรมิ งานประเพณี

คมนาคม
ท่ีพกั
อาหารและเครื่องดม่ื
การนาเท่ยี วและมัคคเุ ทศก์

การจาหน่ายสินค้าทรี่ ะลึก
ยกระดับมาตรฐานการ
บริการ

จัดทาแผนตา่ งๆ
สง่ เสรมิ ให้ประชาชนในท้องถ่นิ มีส่วนรว่ ม

พัฒนาสิง่ อานวยความสะดวกและความปลอดภัย
ประสานงานกบั หนว่ ยงานอ่ืนๆ

กาหนดวิธีการ
บริหารงานบคุ คล

สง่ เสริมให้ประชาชนท้องถิ่นมีสว่ นร่วม
จดั หาและใช้จ่ายงบประมาณ

ภาพที่ 7.2 บทบาทขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ต่อการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน
ทีม่ า : เทิดชาย ช่วยบารุง (2552)









169
ลักษณะการมีส่วนร่วมทางการท่องเที่ยวแบบย่ังยืนของชุมชนท้องถิ่น เป็นการพัฒนาขีด

ความสามารถของชุมชนท้องถ่ินในการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน เพื่อให้ชุมชนท้องถ่ินสามารถบริหาร
จัดการและควบคุมการใช้ทรัพยากรท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการดารงชีพทาง
เศรษฐกิจและสังคมตามความจาเป็นอย่างสมศักดิ์ศรีในฐานะสมาชิกสังคม ซึ่งการมีส่วนร่วมทางการท่องเทยี่ ว
แบบยง่ั ยืนของชุมชนท้องถิ่นมี 2 ลักษณะ

ลักษณะท่ี 1 การมีส่วนร่วมทางการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของชุมชนท้องถิ่นอย่างแท้จริง เป็นการให้
ชุมชนท้องถ่ินสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนทุกข้ันตอน ต้ังแต่ร่วมศึกษา
ค้นคว้าปัญหาทางการท่องเที่ยว การร่วมคิดและหาวิธีการแก้ปัญหาทางการท่องเที่ยว การร่วมวางนโยบาย
วางแผนตัดสินใจ คิดหาวิธีการใช้ทรัพยากรท่องเที่ยวที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนท้องถ่ิน รวมปฏิบัติตาม
นโยบายหรือแผนงานการท่องเท่ียวให้บรรลุตามท่ีกาหนดไว้ และร่วมควบคุมติดตามการประเมินผลแผนการ
ทอ่ งเท่ยี วให้เป็นไปตามขนั้ ตอนทีว่ างไว้

ลักษณะท่ี 2 การมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนของชุมชนท้องถิ่นอย่างไม่แท้จริง เป็นการให้
ชุมชนท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเท่ียวและยังยืนเพียงบางส่วนเท่าน้ัน โดยเฉพาะเข้ามามี
สว่ นรว่ มในการปฏิบตั ิตามโครงการทอ่ งเทย่ี วทไ่ี ดม้ ีการกาหนดไว้แลว้

รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของชุมชนท้องถิ่น เป็นแนวคิดของการกระจาย
อานาจจากส่วนกลางมาสู่ท้องถิ่น หรือเป็นความพายามที่จะให้มีการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืนจาก
ส่วนล่างขึ้นมาส่วนบน ท้ังน้ีเพราะชุมชนท้องถ่ินคือผู้รู้ปัญหาและความต้องการของตนเองดีกว่าผู้อื่น หลักการ
พืน้ ฐานเก่ียวกบั การมสี ว่ นรว่ มของชุมชนท้องถ่ินอยทู่ ่ีความรู้และความต้องการของชุมชนท้องถิน่ โดยกระตุ้นให้
ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อได้มีการ
เรยี นรรู้ ่วมกันและตัดสนิ ใจรว่ มกันจงึ มีรูปแบบของการมีสว่ นร่วมในการวางแผนพัฒนาการท่องเทยี่ วแบบยั่งยืน
ของชุมชนทอ้ งถิน่ อยู่หลายรปู แตท่ ่นี ิยมมอี ยู่ 3 รูปแบบคอื

รูปแบบที่ 1 การชักชวนให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการพัฒนาการท่องเท่ียว
แบบย่ังยืน รูปแบบน้ีรัฐบาลจะเป็นผู้วางนโยบายและวางแผนโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวด้วยตนเอง
ประชาชนในชมุ ชนท้องถิ่นไม่มีส่วนร่วมในการวางแผนและจดั ทาโครงการทอ่ งเท่ยี วเลย แต่ถกู ชักจงู จากรฐั บาล
ใหเ้ ข้ามามวี่ นรว่ มในขน้ั ตอนการดาเนนิ โครงการพฒั นาการท่องเท่ยี วแบบยง่ั ยืน

รูปแบบท่ี 2 การให้องค์กรชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการเจรจาต่อรองสาหรับการพัฒนาการ
ท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ซ่ึงรูปแบบนี้รัฐบาลและตัวแทนองค์การชุมชนท้องถ่ินจะเข้ามามีส่วนร่วมในการ
พัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน แม้ว่าในความเป็นจริงการรเิ ริ่มโครงการท่องเท่ียวจะมาจากรัฐบาลกลางก็ตาม
แต่องค์กรชุมชนท้องถิ่นสามารถเข้าร่วมตัดสินใจและเจรจาต่อรองผลประโยชน์กับรัฐบาลได้ เพ่ือรักษา
ผลประโยชน์ของชุมชนท้องถ่ินให้มากทส่ี ุด ซึง่ ผลสดุ ทา้ ยของการเจรจาต่อรองน้ันรัฐบาลมักเปน็ ผู้ยอมโอนอ่อน
ผ่อนตามเสียงขององค์กรชุมชนท้องถิ่น เพ่ือมิให้เกิดการขัดแย้งกับชุมชนท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของชุมชน
ท้องถ่ินในรูปแบบน้ีองค์ชุมชนท้องถิ่นจะต้องมีศักยภาพสูงและมีความตื่นตัวในการรักษาผลประโยชน์ของ
ชมุ ชนท้องถนิ่ ตนเองใหม้ ากที่สุด

รูปแบบท่ี 3 การให้ชุมชนท้องถิน่ จดั การพัฒนาหารท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของตนเอง ซ่งึ รปู แบบน้ีชุมชน
ท้องถ่ินจะเป็นผู้จัดการควบคุมและวางแผนพัฒนาการใช้ทรัพยากรท่องเท่ียวด้วยตนเองอย่างสิ้นเชิง นับเป็น
รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนที่พ่ึงตนเองอย่างแท้จริง โดยไม่อาศัยความคิดริเร่ิมและชักจูงจาก
บุคคลภายนอกหรือรัฐบาลเลย ประชาชนหรือองค์กรชุมชนท้องถิ่นสามารถวิเคราะห์และตัดสินใจเก่ียวกับ
ปัญหาและแนวทางกรพัฒนาการท่องเที่ยวแบบย่ังยืน ตลอดจนการติดตามประเมินผลสาเร็จของโครงการ

170

ท่องเทีย่ วด้วยตนเอง รูปแบบนี้เปน็ การเปดิ โอกาสอย่างเต็มท่ีแกช่ ุมชนท้องถ่นิ ใหเ้ ขา้ มามีบทบาทและมีส่วนร่วม
อยา่ งสมบรู ณ์ แต่ชุมชนทอ้ งถน่ิ ตอ้ งมีความพร้อมและประสทิ ธภิ าพสูง

วิธีการมีส่วนร่วมทางการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของชุมชนท้องถ่ิน เป็นวิธีการที่สร้างโอกาสให้แก่
ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยืน เพื่อให้ชุมชนท้องถ่ินได้รับ
ประโยชน์จากการท่องเท่ยี ว ในขณะเดียวกันก็ชว่ ยอนรุ ักษ์ทรัพยากรท่องเทย่ี วและสิ่งแวดล้อม วธิ ีการใหช้ มุ ชน
ทอ้ งถ่ินมสี ว่ นร่วมทางการท่องเท่ียวแบบย่ังยนื สามารถกระทาได้หลายวธิ ีดังตอ่ ไปนี้คือ

วิธท่ี 1 การร่วมประชุมในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน เป็นวิธีการร่วมถกปัญหาของการ
พัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับชุมชนท้องถิ่น เพ่ือสอบถามความคิดเห็นของประชาชนใน
ชุมชนทอ้ งถิน่ เก่ียวกับเรอื่ งการทอ่ งเท่ียวแบบย่งั ยนื

วิธีที่ 2 การให้คาปรึกษาในการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแบบยั่งยืน เป็นวิธีการให้ชมุ ชนท้องถิ่นข้าร่วมเป็น
กรรมการในคณะกรรมการบริหารโครงการท่องเท่ยี ว เพอ่ื ใหค้ วามม่นั ใจว่ามเี สยี งของชุมชนทอ่ งถ่นิ เข้ามามีส่วน
ร่วมรับรูแ้ ละร่วมในการตัดสินใจพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแบบยงั่ ยนื

วิธีการที่ 3 การสารวจความคิดเห็นในการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน เป็นวิธีการสารวจความ
คิดเห็นของชุมชนท้องถ่ิน โดยให้ประชาชนในชุมชนท้องถิ่นได้มีโอกาสร่วมแสดงความคิดเห็นด้าน การ
พัฒนาการท่องเทย่ี วแบบย่งั ยืน

วธิ กี ารที่ 4 การประสานงานรว่ มกันในการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบย่งั ยืน เป็นวธิ กี ารให้ชมุ ชนท้องถ่ิน
เข้าร่วมต้ังแต่การคัดเลือกตัวแทนกลุ่มไปร่วมงานบริหารหรือการจัดการหรือร่วมในคณะกรรมการท่ีปรึกษาใน
ฝ่ายประชาชนเพอื่ การพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยัง่ ยนื

วิธีการที่ 5 การไต่สวนสาธารณะในการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบย่ังยืน เป็นวิธีการไต่สวนข้อมูลจาก
ชุมชนท้องถ่ิน เพื่อเปิดโอกาสให้ชุมชนท้องถิ่นได้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นก่อนที่รัฐบาลจะตัดสินใจในการ
พัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแบบยั่งยนื

วิธีการท่ี 6 การออกเสียงประชามติโดยตรงในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนเป็นวิธีการตอบ
คาถามของรัฐบาลโดยให้ประชาชนทุกคนในชุมชนท้องถิ่นออกความคิดเห็นโดยตรงต่อรัฐบาล และให้ทุกคน
เปน็ ผูต้ ัดสินใจแทนรัฐบาลในการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแบบยง่ั ยนื

แนวคิดการมสี ่วนร่วมในการพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วแบบย่ังยืนของชุมชนท้องถ่ิน
เป็นโอกาสแก่สมาชิกของชุมชนท้องถ่ินอย่างเท่าเทียมในการเข้าร่วมรับผลประโยชน์จากการ
พัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน โดยถือเป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีกระตุ้นให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามาร่วมในฐานะ
เจ้าหน้าที่หรือนักวางแผน มีการเรียนรู้ร่วมกันและเข้าประชุมตัดสินใจในการพัฒนาการท่องเท่ียว ใน
ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่รัฐก็ต้องฝึกฟังความคิดเห็น ปัญหา และความต้องการของชุมชนท้องถ่ินด้วย เพื่อให้
ชุมชนท้องถ่ินมีบทบาทในการวางแผนกากับดแู ล ควบคุมการท่องเทีย่ วให้มากขน้ึ อนั จะทาให้ชุมชนท้องถ่ินเก้า
ความรู้สึกเป็นเจ้าของ เกิดความรัก ความหวงแหน และสร้างจิตสานึกในการดูแลปกป้องรักษาทรัพยากรการ
ทอ่ งเท่ียวแบบยั่งยืนทุกขัน้ ตอนดงั ต่อไปนี้
ขั้นตอนท่ี 1 ให้ชุมชนท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการศึกษาค้นคว้าปัญหาทางการท่องเท่ียวและสาเหตุแห่ง
ปญั หาทีเ่ กดิ ข้ึนในชมุ ชนท้องถิ่น รวมตลอดถงึ ความตอ้ งการของชุมชนทอ้ งถน่ิ ดว้ ย
ขั้นตอนท่ี 2 ให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนต้ังแต่ร่วมกาหนด
นโยบาย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวิธีการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน เพื่อให้ได้แผนงานหรือโครงการ

171
พัฒนาการท่องเท่ียวท่ีสามารถแก้ไขปัญหาหรือลดปัญหาของชุมชนท้องถ่ินและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ท่ีเป็น
ประโยชนต์ อ่ การท่องเทีย่ ว พร้อมท้งั ตอบสนองความต้องการของชมุ ชนทอ้ งถิ่นไดด้ ้วย

ขั้นตอนที่ 3 ให้ชุมชนท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการตัดสินใจใช่ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีอยู่ในชุมชน
ท้องถ่นิ ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ การทอ่ งเทย่ี วและชมุ ชนท้องถ่นิ มากที่สุด

ข้ันตอนท่ี 4 ใช้ชุมชนท้องถ่ินมีส่วนร่วมลงทุนในธุรกิจท่องเที่ยวตามขีดความสามารถของตนเองหรือ
อาจร่วมลงทนุ ในรปู สหกรณ์ได้

ขั้นตอนท่ี 5 ให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามแผนงานหรือโครงการพัฒนาการท่องเท่ียว
แบบย่ังยืนจนบรรลุตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ พร้อมท้ังมีส่วนร่วมในการปรับปรุงระบบการบริหารงาน
พัฒนาการทอ่ งเท่ียวใหม้ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล

ข้ันตอนที่ 6 ให้ชุมชนท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการควบคุม ติดตาม ประเมินผลแผนงาน หรือโครงการ
พัฒนาการท่องเที่ยวท่ีไดร้ ่วมกันจดั ทาข้นึ

การมีส่วนร่วมทางการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของชุมชนท้องถิ่นในทิศทางที่ถูกต้องนั้น ควรให้ชุมชน
ท้องถ่ินได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน มีความสามารถในการดูแลรักษา
ทรัพยากรท่องเที่ยวและส่ิงแวดล้อมควบคู่กับการเพิ่มทักษะในการจัดการและประสานงานกับบุคคลหรือ
หน่วยงานภายนอก โดยเริ่มท่ีการให้ชุมชนท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลเก่ียวกับการท่องเท่ียวของท้องถ่ิน
การเตรียมการจัดการวางแผน การควบคุมดูแลการใช้ทรัพยากรท่องเท่ียว และการได้ประโยชน์จากการ
ให้บริการ ในขณะเดียวกันก็ให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรท่องเท่ียวและส่ิงแวดล้อม ถ้า
หากชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมหรือมีอานาจเพียงพอในการร่วมควบคุมการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน ก็จะช่วยให้เกิด
การพัฒนาคนได้เป็นอยา่ งดี อีกทั้งสามารถจัดสรรผลประโยชนไ์ ด้อย่างเหมาะสม และเกิดการกระจายรายได้สู่
ชุมชนทองถ่ินมากข้ึน ฉะน้ันการเข้าร่วมทางการท่องเท่ียวแบบยัง่ ยืนของชุมชนท้องถิ่นต้องให้มีส่วนร่วมตลอด
กระบวนการท่องเทย่ี ว เพือ่ ประโยชนต์ อ่ ท้องถ่นิ อันเป็นการกระจายรายได้ การยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต การไดร้ ับ
ผลตอบแทนมาบารุงแหล่งท่องเที่ยว และการควบคุมการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งมีกิจกรรม
ท่องเท่ียวหลายรปู แบบทชี่ ุมชนท้องถ่ินสามารถมีส่วนร่วมได้ เชน่ การให้ข้อมูลท้องถิ่นท่ีถูกต้อง การใหบ้ ริการที่
พัก อาหาร การขายสินค้าท่ีระลึก การให้บริการมัคคุเทศก์ การรับจ้างในธุรกิจท่องเท่ียว การอนุรักษ์ระดับ
ท้องถ่ิน การควบคุมดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนายกระดับความเป็นอยู่ของชมุ ชน การส่งเสริมพฒั นา
อาชัพ เป็นต้น ทิศทางการมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวแบบยังยืนของชุมชนท้องถิ่นจะต้องมุ่งสู่การร่วมมือใน
การใช้ทรัพยากรท่องเที่ยว เพื่อรองรับการท่องเท่ียวแบบย่ังยืนให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วนตามกรอบและ
ลกั ษณะแห่งการทอ่ งเท่ยี วแบบย่งั ยืนในทุกระดับ

172

บทสรปุ
การพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวแบบย่ังยืนของชุมชนท้องถ่ิน ควรคานึงถึงองค์ประกอบ

ด้านการพัฒนาการมีสว่ นรว่ มทางการท่องเท่ียวของชมุ ชน การประเมินศักยภาพความพร้อมทางการท่องเท่ยี ว
แบบย้ังยืนของชุมชนท้องถ่ิน การเตรียมความพร้อมทางการท่องเท่ียวของชุมชนท้องถ่ิน การพัฒนาชุมชน
ท้องถิ่นเพื่อให้สามารถรองรับนักท่องเท่ียวคุณภาพ แนวทางการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือสร้าง
ศักยภาพการพัฒนาการท่องเท่ียวสู่ความยั่งยืน แนวคิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืน
ของชุมชนท้องถิ่น การพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเที่ยวของชุมชนจะต้องเข้าใจหลักการและ
องค์ประกอบต่างๆ ท่ีมีความสอดคล้องกัน ซึ่งการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเที่ยวชุมชน มีความ
ละเอียดอ่อน จึงต้องมีการศึกษารายละเอียดต่างๆให้เข้าใจและมีความชัดเจนจึงจะสามารถวางแผนในการ
พัฒนาการมีส่วนร่วมทางการท่องเท่ียวของชุมชนให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเพ่ิมโอกาสแก่
สมาชิกชุมชนท้องถ่ินอย่างเท่าเทียมกันในการเข้ามามีส่วนร่มการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนทุกข้ันตอนมากข้ึน และ
ร่วมรับผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว เพ่ือก่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน การสร้างจิตสานึกในการดูแล
ปกป้องทรพั ยากรท่องเทีย่ วและสภาพแวดล้อมให้อยู่อยา่ งยั่งยืน ทงั้ นเ้ี นอ่ื งจากการท่องเทยี่ วย่อมก่อผลกระทบ
โดยตรงต่อชุมชนทอ้ งถนิ่ ท้ังดา้ นผลบวกและผลลบอย่างหลกี เล่ียงไม่ได้

แบบฝกึ หดั
1. นกั ศึกษาจะมวี ิธีการอย่างไรในการพฒั นาการมีสว่ นรว่ มทางการท่องเที่ยวของชุมชน
2. จงอธบิ ายขน้ั ตอนการประเมินศกั ยภาพความพร้อมทางการทอ่ งเที่ยวแบบยง้ั ยืนของชุมชนท้องถน่ิ
3. จงอธิบายและสรุปการเตรยี มความพร้อมทางการท่องเทย่ี วของชมุ ชนท้องถนิ่ มีลกั ษณะอย่างไร
4. จงอธิบายและสรปุ การพัฒนาชุมชนทอ้ งถิน่ เพือ่ ให้สามารถรองรบั นกั ท่องเทีย่ วคุณภาพควรมีลกั ษณะอย่างไร
5. ใหน้ ักศึกษาเขียนแนวทางการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อสร้างศักยภาพการพัฒนาการท่องเที่ยว
สู่ความยั่งยืน
6. จงสรุปแนวคิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของชุมชนท้องถ่ินมีลักษณะการมีส่วน
รว่ มอยา่ งไร

173
เอกสารอ้างอิง

เทิดชาย ช่วยบารงุ . (2552).บทบาทขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ กบั การพัฒนาการทอ่ งเท่ียวอย่าง
ยง่ั ยืน บนฐานเศรษฐกจิ พอเพยี ง.วิทยาลัยการปกครองทอ้ งถิ่น สถาบนั พระปกเกลา้ .

บุญเลิศ จิตต้ังวัฒนา. (2542). การวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน. เชียงใหม่ : คณะ มนุษยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่

พมิ พ์ระวี โรจนร์ ุง่ สัตย์ (2553). การท่องเทยี่ วชุมชน. พิมพค์ รง้ั ที่ 1: กรงุ เทพ สานกั พมิ พ์โอเดยี นสโตร.์
ศราวุธ ผวิ แดงและคณะ. (2558). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงสรา้ งสรรคก์ ลุ่มชาติพนั ธ์ุลุ่มนา้ โขง.

สานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 8
การเขียนแผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยว

เนอื้ หาประจาบท
1. การพฒั นาแผนการท่องเท่ียว
2. รูปแบบและโครงสร้างส่วนประกอบของแผนด้านด้ายภาพ
3. กลยุทธก์ ารพัฒนาดา้ นกายภาพ
4. การวางแผนและการพฒั นารสี อร์ท
5. ส่งิ ท่ีตอ้ งพิจารณาในการวางแผน
6. การบริหารจัดการแหล่งท่องเท่ยี ว
7. การนาแผนการพฒั นาการทอ่ งเท่ียวไปปฏบิ ัติ
8. สรุป
9. แบบฝกึ หดั ท้ายบท

วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายและเขยี นแผนพัฒนาการท่องเทยี่ วได้
2. อธบิ ายรปู แบบและโครงสร้างสว่ นประกอบของแผนด้านกายภาพได้
3. สร้างกลยุทธก์ ารพฒั นาด้านกายภาพได้
4. ยกตวั อยา่ งการวางแผนและการพฒั นารีสอรท์ ได้
5. อธิบายสงิ่ ทต่ี อ้ งพิจารณาในการวางแผนได้
6. อธบิ ายลกั ษณะการบริหารจัดการแหล่งท่องเทย่ี วได้
7. อธิบายการนาแผนการพฒั นาการท่องเทีย่ วไปปฏิบัติได้

วธิ ีสอน
1. ศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอนวชิ าการพัฒนาการท่องเทยี่ วอย่างย่ังยนื
2. อาจารย์ผสู้ อนให้หัวข้อผู้เรียนอภิปรายผลและสรุป
3. ใช้ปญั หาเปน็ ฐาน ถาม-ตอบผ้เู รยี น
4. บรรยายและยกตวั อย่างประกอบ

กจิ กรรม
1. แบง่ กลมุ่ ให้นักศกึ ษาสรุปเน้ือหาสาคัญและนาเสนอ
2. การแสดงบทบาทสมมติ
3. คน้ ควา้ เพม่ิ เติมจากอนิ เตอร์เน็ต
4. ตอบคาถามระหวา่ งบรรยาย
5. ทาแบบฝึกหดั ท้ายบท

175
สือ่ การเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยนื
2. PowerPoint ประกอบการบรรยาย
3. ภาพประกอบต่างๆจากอนิ เตอร์เน็ต
การวดั และประเมนิ ผล
1. ประเมินผลจากการนาเสนอรายงาน
2. ประเมนิ ผลจากการทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
3. สังเกตพฤติกรรมผเู้ รยี นในการถาม-ตอบ
4. สังเกตจากพฤติกรรมความสนใจและการรว่ มกิจกรรมในชั้นเรยี น

176

บทท่ี 8
การเขียนแผนพฒั นาการท่องเทีย่ ว

การเขียนแผนพัฒนาการท่องเท่ียว เป็นเข็มทิศในการกาหนดแนวทางการปฏิบัติในการพัฒนาแหล่ง
ท่องเที่ยวให้มีความสอดคล้องซ่ึงกันและกันและลดช่องว่างและข้อผิดพลาดในการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวให้
น้อยที่สุดและยังเป็นคู่มือเพื่อให้คนในชุมชนได้ร่วมกันคิด ร่วมกันออกแบบ และปฏิบัติร่วมกัน เป็นต้น การ
เขียนแผนพัฒนาการท่องเท่ียว เป็นการรวบรวมข้อมูลจากนามธรรมสู่รูปธรรมสามารถนาไปปฏิบัติได้ ซึ่ง
แผนพัฒนาการท่องเที่ยว มาจากกระบวนการมีส่วนร่วมจากการ สอบถามความต้องการของคนในชุมชน
นาไปสู่การพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวให้มีความย่ังยืนในบทนี้จะกล่าวถึง การเขียนแผนพัฒนาการท่องเที่ยว ซึ่ง
เนือ้ หาประกอบไปดว้ ยการพัฒนาแผนการทอ่ งเทย่ี ว รปู แบบและโครงสร้างส่วนประกอบของแผนด้านกายภาพ
กลยุทธ์การพัฒนาด้านกายภาพ การวางแผนและการพัฒนารีสอร์ท สิ่งท่ีต้องพิจารณาในการวางแผน การ
บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว การนาแผนการพัฒนาการท่องเท่ียวไปปฏิบัติ การเขียนแผนพัฒนาแหล่ง
ท่องเท่ียวโดยการวางแผนกลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์ ซ่ึงแนวคิดเหล่าน้ีเป็นแนวทางให้กับผู้ท่ีสนใจในการเขียน
แผนพฒั นาการท่องเทย่ี วนาไปปฏิบตั ิ
การพัฒนาแผนการท่องเทยี่ ว

การพัฒนาแผนการท่องเที่ยวมคี วามสาคัญเปน็ อย่างยิ่งเน่ืองจากในปจั จุบันการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี ว
น้อยมากท่ีจะมีการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวซ่ึงผลกระทบที่ตามมาคือ ปัญหาต่างที่เกิดข้ึน เช่น จานวน
นักท่องเที่ยวมีมากเกินไป การสร้างที่พักบุกรุกเขยป่าสงวน การทาลายวิถีชีวิตและวัฒนธรรมท่ีส่ังสมกันมา
เปน็ ต้น ซงึ่ การพัฒนาแผนการท่องเทยี่ วจะเปน็ แนวทางปฏบิ ัตใิ หผ้ ปู้ ฏิบตั ไิ ดย้ ึดเป็นหลักการ

ศูนย์เพ่ือการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549: 20-27) ได้
อธิบายถึงแผนการท่องเที่ยวนั้นไม่มีรูปแบบลักษณะตายตัวอันใดอันหนึ่งที่สามารถใช้ได้กับทุกๆ สถานการณ์
แต่จะมคี วามแตกตา่ งกันไปตามเนื้อหา รูปแบบ แนวคิดแนวทางและการเน้นถึงจดุ สาคัญท่แี ตกตา่ งกัน ดงั นี้

แนวคิดดา้ นแผนทางเลอื ก
การมีแผนแม่บทถือเป็นเคร่ืองมือท่ีสาคัญในการวางแผนการท่องเท่ียว แผนในลักษณะนี้มักจะเป็น
แผนสมบูรณ์แบบครอบคลุมในทุกประเด็นและให้ภาพกว้าง หรือแผนอาจจะเน้นในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง
หรือหลายประเดน็ ดงั นี้

1. ประเดน็ ทางภายภาพ/ส่ิงแวดลอ้ ม
2. ประเด็นทางเศรษฐกิจ
3. การสง่ เสรมิ และการตลาด
4. การอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มและมรดกทางทรพั ยากร
5. ประเดน็ ทางสงั คม/วัฒนธรรม
6. การลงทนุ
7. การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์
แผนแมบ่ ทอาจเป็นแผนระยะส้ันโดยครอบคลุมช่วงเวลาส้ันๆ เชน่ 5 ปี เพื่อให้ตรงกบั รอบเวลาของกล
ยุทธ์ทางเศรษฐกิจและกลยุทธ์การพัฒนาของประเทศ หรืออาจจะไม่กาหนดระยะเวลาก็ได้แต่กาหนดเป็น
ความสาเร็จของเปา้ หมายทก่ี าหนดไวแ้ ทน
ความแตกตา่ งในแนวคิดแนวทางท่ใี ชใ้ นการวางแผน มอี าทิ

177
1. ทัศนคตทิ ม่ี ตี ่อแนวทางการพัฒนา (เปน็ แผนที่เครง่ ครดั ตายตวั หรือแผนท่ยี ืดหยุน่ )
2. ดีกรีของการให้สง่ิ จูงใจและการให้ความชว่ ยเหลอื ดา้ นเทคนิค
3. การแบ่ง สรรปนั สว่ นผลประโยชน์
4. การบรู ณาการกับกจิ กรรมดา้ นการท่องเทย่ี ว
5. การกาหนดจุดของสถานท่ีทอ่ งเทย่ี วทชี่ ัดเจน
6. การนิเทศงาน
7. การสนบั สนุนด้านกลยุทธแ์ ละดา้ นกฎหมาย

องค์ประกอบทส่ี าคัญของแผนท่องเทยี่ วโดยทวั่ ไป คอื ระดบั ดีกรขี องการบรู ณาการกบั แผนการพัฒนา
เศรษฐกิจระดับชาติหรือระดับภูมิภาค แผนพัฒนาด้านสวัสดิการสังคม ตลอดจนแผนพัฒนาด้านกายภาพของ
ประเทศ

ในการจัดทาแผนการท่องเท่ียวเท่าท่ีพบเม่ือไม่นานมาน้ี ตลอดจนแผนพัฒนาการท่องเท่ียวที่จะมีการ
เตรียมการต่อไปควรมีความครอบคลมุ ถงึ สิ่งต่อไปน้ี

1. ความยง่ั ยืนของระบบนิเวศ
2. การอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
3. การอนรุ ักษม์ รดกทางธรรมชาติและวฒั นธรรม
4. การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืนของทรัพยากร
เน้ือหาสาระของแผน
แตล่ ะประเทศจะมีวิธีการจัดทาแผนท่ีแตกต่างกันไป บางประเทศอาจเลือกท่ีจะทาแผนโดยเนน้ เฉพาะ
เรื่อง อยา่ งไรก็ตาม เนื้อหาสาระของแผนโดยทวั่ ไปควรจะประกอบดว้ ยเนื้อหาดังต่อไปนี้
กรอบแนวคดิ เรอ่ื งสถาบนั หรือโครงสรา้ งองค์กร

1. องค์กรหลัก
2. ความรบั ผิดชอบหลัก
3. กรอบแนวคิดด้านตัวบทกฎหมาย
4. บทบาทและหน้าท่ขี องภาคเอกชนและภาครัฐ
องค์ประกอบหลกั ๆ ของแผน มอี าทิ
1. โครงสรา้ งพ้นื ฐานสาธารณปู โภค
2. สง่ิ อานวยความสะดวกและบรกิ ารตา่ งๆ
3. สง่ิ ทด่ี ึงดดู ความสนใจของนักท่องเที่ยว
ผลของการพฒั นาในดา้ นต่างๆ
1. เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และสงั คมวฒั นธรรม
ช่องทางหลักๆ ในการทาให้เกดิ การปฏบิ ตั คิ รอบคลุมรวมถึง
1. การจดั หาเงนิ ทุนและการลงทนุ
2. การใหส้ ิง่ จงู ใจ
3. การตลาด
4. การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว
5. ระบบข้อมลู สารสนเทศการท่องเทย่ี ว
6. แผนงานทีเ่ สริมสร้างความตระหนักรู้เกีย่ วกบั การท่องเทย่ี ว
7. การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์

178

แผนการท่องเท่ียวของประเทศอาจมีการอ้างอิงถึงความรว่ มมือระดับภูมิภาคในการพฒั นาและการวาง
แผนการท่องเท่ยี วดา้ นตา่ งๆ ตลอดจนอ้างองิ การนาไปสู่ผลประโยชน์ท่มี ีผลตอ่ ภมู ิภาค

ในบางกรณีจะพบว่า แผนการท่องเท่ียวละเลยความสาคัญด้านการพัฒนาทางกายภาพ ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีไม่
ควรจะเกิดขึ้นเนื่องจากในการพัฒนาใดๆ ก็ตาม ประสบการณ์ด้านการท่องเท่ียวเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนที่ ใน
แหล่งท่องเที่ยว และ ณ สถานที่ตั้งของจุดท่องเท่ียวน้ันๆ ดังนั้น มิติทางด้านกายภาพควรได้รับการวางแผนไป
ควบค่กู บั การพฒั นาการท่องเท่ียวด้วย

รูปแบบและโครงสร้างส่วนประกอบของแผนด้านกายภาพ
การจดั ทาแผนการท่องเท่ียวมรี ูปแบบและโครงสร้างส่วนประกอบของแผนด้านกายภาพโดย ศูนย์เพ่ือ
การวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549) ได้อธิบายถึงการวางแผนด้าน
การท่องเท่ียวอาจจะเป็นไปในระดับชาติ ระดับภูมิภาคหรือในระดับพ้ืนที่ การ บูรณาการของแผนในระดับ
ต่างๆ ดังกล่าวจะทาให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในบริบทของการพัฒนาด้านกายภาพน้ัน ควรมีการวางแผนด้าน
การทอ่ งเทย่ี วทใี่ ห้ความสาคญั กบั ลกั ษณะของพน้ื ทแี่ ละโครงสรา้ งดังนี้
ระดบั ภมู ภิ าค
ประเด็นปัญหาในเชิงปฏิบัติการมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับรูปแบบและโครงสร้างของการวางแผน
พัฒนาการท่องเท่ียวระดับภูมิภาคนานาประการ และยังมีการทดลองมากมายเพ่ือตอบประเด็นปัญหา การ
ทดลองยังจะต้องดาเนินต่อไป กว่าหลักการสาคัญๆ ร่วมกันที่พึงพิจารณาก็ยังพอปรากฏให้เห็น ทางเลือก
พ้นื ฐานทสี่ าคัญในการวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียวในระดับภมู ิภาคมดี ังน้ี

1. การใช้การพัฒนาท่ีมีอยู่แล้วในปัจจุบันเป็นตัวดึงดูดและเป็นตัวควบคุมปัจจัยต่างๆ ใน
ระดับภมู ภิ าค

2. การสรา้ งสรรค์รเิ รม่ิ โครงการพฒั นาใหม่
3. การสร้างเครือขา่ ยแหล่งทอ่ งเที่ยวตา่ งๆ โดยถือเอาการสรา้ งความสมดุลเป็นกลยุทธ์หลัก
4. การพัฒนากลยุทธ์ในเชิงกว้าง การพิจารณาตัดแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีศักยภาพน้อยออกไป
การเนน้ ใชก้ ลยุทธเ์ ฉพาะพืน้ ที่ การใชแ้ นวกลยุทธ์การพฒั นาเสน้ ทางท่องเที่ยวแบบครบวงจร
5. การพัฒนากลยุทธ์ที่ช่วยส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว โดยให้แต่ละแหล่งเน้นจุดเด่นเป็นการ
เฉพาะของตนหรอื เน้นตลาดเฉพาะสว่ นของตน
รปู แบบและโครงสร้างข้ันพน้ื ฐาน หมายรวมถึง
1. ความหนาแน่นของการพัฒนาการท่องเทยี่ ว เสน้ ทางท่ีมีการเช่อื มโยงของสถานที่ตา่ งๆ เชน่ รสี อรท์
สถานทีท่ ่องเทย่ี ว และแคมปฐ์ านต่างๆ ทีอ่ ยู่ในแหล่งทอ่ งเทีย่ ว
2. ชอ่ งทางหรือด่านทางเขา้ สู่แหลง่ ท่องเทีย่ ว
ลักษณะการพัฒนาโครงสร้างทางกายภาพมีหลากหลายรูปแบบดังที่ปรากฏในบทความงานเขียน
เอกสารต่างๆ ตลอดจนกรณีศึกษาเก่ียวกบั การวางแผนการท่องเท่ียวทวั่ โลก อยา่ งไรกต็ าม ประเดน็ ปัญหาของ
กลุ่มประเทศย่านเอเชียและแปซิฟิกนั้นเป็นประเด็นเก่ียวกับการตีความหมายของแนวคิดรูปแบบโคร งสร้างท่ี
เนน้ พนื้ ท่เี ป็นฐานให้สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ หก้ บั ลักษณะเฉพาะของแต่ภูมิภาคอย่างเหมาะสม
ระดับพืน้ ท่ีแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว
แหล่งท่องเท่ียวเป็นพื้นที่ที่ประกอบไปด้วยทรัพยากรต่างๆ สิ่งอานวยความสะดวกและการบริการ
ต่างๆ ทมี่ ีความสาคัญอนั จะก่อใหเ้ กดิ ความพึงพอใจแก่นักท่องเท่ียว
องค์ประกอบพนื้ ฐานของพ้ืนทท่ี ี่เป็นแหล่งท่องเท่ียวหรือโซน (Zone) การทอ่ งเทยี่ ว ไดแ้ ก่

179
1. เป็นชุมชน (อาจมีหนึ่งชุมชนหรือมากกว่า) ซึ่งให้บริการสิ่งอานวยความสะดวกและการ

บรกิ ารด้านตา่ งๆ
2. เป็นแหล่งท่องเท่ยี วเด่ยี วหรอื กลุ่มแหลง่ ท่องเทย่ี ว
3. มีระบบการคมนาคมทเ่ี ช่ือมโยงระหวา่ งชมุ ชนและแหล่งทอ่ งเท่ียว
4. มีเส้นทางหรือทางเข้าไปยังแหล่งทอ่ งเท่ยี ว

หลักการที่สาคัญในการวางแผนและออกแบบแหล่งท่องเที่ยว คือ การมีลักษณะเด่นเฉพาะตัว และมี
ความสมั พนั ธ์ระหว่างสว่ นตา่ งๆ ในพ้ืนท่ีนน้ั ๆ เช่น ระหวา่ งแหล่งทอ่ งเทีย่ ว สิง่ อานวยความสะดวกและบริการ

แหล่งท่องเที่ยวคือ สถานท่ีท่ีดึงดูดความสนใจของนักท่องเท่ียว การท่ีจะประสบความสาเร็จในการ
จัดการการท่องเท่ยี วในแหล่งท่องเที่ยวน้ัน ควรจะตอ้ งมีการวางแผนท่สี ามารถใชป้ ระโยชน์อย่างสูงสุดจากสิ่งที่
มีอยู่ ดงั นี้

1. ความได้เปรยี บดา้ นทาเลสถานที่ตั้ง
2. ความไดเ้ ปรยี บของผลิตภณั ฑด์ ้านการท่องเทย่ี วเมอ่ื เทียบกบั แหลง่ ท่องเที่ยวคแู่ ข่ง
3. ความได้เปรียบด้านของทรัพยากรไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรด้านวัฒนธรรมหรือ
ทรพั ยากรธรรมชาติ
4. การเชือ่ มโยงของระบบขนส่ง
5. ความเป็นมติ รและการต้อนรับของเจ้าภาพ
ถึงแม้จะไม่มีสูตรสาเร็จท่ีจะรับประกันความสาเร็จของแต่ละแหล่งท่องเท่ียว แต่หลักการในการออกแบบและ
วางแผนซ่งึ เหมาะสมกบั ขนาดของแหล่งทอ่ งเที่ยว คือ
1. แหลง่ ท่องเที่ยวควรบรู ณาการเปน็ หนึ่งเดยี วกันกบั กลยทุ ธ์ในระดับภูมภิ าค
2. แหล่งทอ่ งเทยี่ วควรดึงดูดใหม้ ีหรอื สร้างสรรคภ์ าพลักษณ์ทโี่ ดดเด่น
3. ความสาเร็จในการวางแผนสาหรับแหล่งท่องเที่ยวขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้ ได้แก่ ภาคีความ
ร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน การบูรณาการ และการประกอบไปด้วยสถานท่ีท่องเที่ยว ส่ิงอานวยความ
สะดวก การบริการ และการเชื่อมโยงของระบบการคมนาคมที่สามารถรองรับการท่องเที่ยวขนาดใหญ่มากขน้ึ
ได้

ภาพที่ 8.1 ทิวทัศนแ์ มน่ า้ โขงเมื่อคร้งั ยังไม่ไดร้ บั การพฒั นาจดุ ชมววิ ผาตากเสือ้ อาเภอสงั คม จงั หวัดหนองคาย

180
ระดบั สถานท่ีทอ่ งเทย่ี ว
การวางแผนการท่องเที่ยวในระดับที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวน้ันเป็นสิ่งท่ีท้าทายมาก เนื่องจากว่าใน
ระดับสถานท่ีท่ีท่องเท่ียวนี้หากเกิดมีปัญหาข้ึนแม้เพียงอย่างเดียว ไม่ว่าจะเป็นการดาเนินงานหรือปัญหาด้าน
สุนทรียทัศน์ของสถานท่ีก็ตามแต่ อาจทาลายภาพลักษณ์ของสถานท่ีนั้นๆ ให้เสียหายได้ หากการจัดการการ
ท่องเที่ยว ณ สถานที่ใดเกิดล้มเหลว ย่อมกลายเป็นการสะท้อนให้เห็นหลักฐานของการตัดสินใจที่ไม่ดี และยัง
เช่อื มโยงไปสแู่ หลง่ การทอ่ งเท่ียวทงั้ หมดในภมู ิภาคอกี ด้วย
ในระดบั น้ี “สถานท่ี” แตล่ ะแหง่ น้นั ยังมีความหมายเฉพาะที่สาคัญ ไมเ่ พียงแต่ดา้ นของผลประโยชน์ท่ี
แต่ละแหล่งมีต่อพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวโดยรวม ทว่ารวมถึงการเป็นจุดอ้างอิงในทางภูมิศาสตร์และการเป็น
จุดเดน่ ทห่ี มายตาของแตล่ ะพ้นื ทีอ่ ีกดว้ ย
ในการวางแผนการท่องเท่ียวในระดับของสถานที่ท่องเที่ยวเดี่ยวๆ น้ี จะต้องมีการคาดการณ์และ
ประเมินอย่างละเอียดถึงความต้องการในสิ่งอานวยความสะดวก บริการ และรวมถึงการจัดประสบการณ์
ท่องเที่ยวท่ีสถานท่ีนั้นๆ นาเสนอให้นักท่องเที่ยว ดังนั้น จึงเป็นส่ิงท่ีจาเป็นมากในการเข้าใจถึงลักษณะของ
พ้ืนที่ ศักยภาพ อุปสรรค และผลประโยชน์ ท่ีสถานที่ท่องเที่ยวสามารถส่งไปยังพื้นที่แหล่งท่องเท่ียวโดยรวม
นอกจากนนั้ กระบวนการวางแผน การจดั การ และการตดิ ตามกากบั ดแู ลกค็ วรเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพด้วย
เช่นกัน เพ่ือที่จะหลีกเลี่ยงปัญหาการออกแบบการพัฒนาท่ีไม่เหมาะสมท่ีจะเกิดข้ึนอย่างซ้าซากกัน เรา
จาเป็นต้องมีการประเมินผลหลังการดาเนินการพัฒนา โดยถือเอาการประเมินผลน้ันเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการวางแผน โดยเฉพาะอย่างย่ิง เราควรจะมีการกาหนดความแม่นยาของการตัดสินใจออกแบบการ
พัฒนาเอาไวล้ ว่ งหน้า
กลยทุ ธ์การพัฒนาดา้ นกายภาพ
การพัฒนาด้านกายภาพมีความจาเป็นที่จะต้องนากลยุทธ์มาปะยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับ
ชุมชนโดยยึดหลกั การพัฒนาท่ียง่ั ยืน
ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549) ได้อธิบายถึง
การดาเนินงานเพื่อเตรียมการพัฒนาด้านการท่องเท่ียวในระดับต่างๆ (ระดับชาติ ระดับภูมิภาค ระดับพ้ืนท่ี
แหล่งท่องเที่ยว และระดับสถานที่ท่องเท่ียว) การพัฒนากลยุทธ์การวางแผนด้านกายภาพท่ีเหมาะสมเป็น
ส่ิงจาเป็นมาก องค์ประกอบที่สาคัญของกลยุทธ์การพัฒนาด้านกายภาพคือ การวางแผนใช้ท่ีดิน สิ่งหน่ึงท่ี
จะตอ้ งตระหนักชัดเจน คอื ในหลายประเทศมีกลยุทธ์การใช้ท่ดี ินอยู่ แต่มิได้นาไปปฏิบตั ิอย่างมสี ม่าเสมอ หรือ
ขาดการสนับสนุนจากทอ้ งถิ่น หรือในบางประเทศอาจจะยังไมม่ ีนโยบายดงั กลา่ ว
แนวทางการวางแผนใชท้ ่ีดนิ มี 4 แนวทางดว้ ยกนั
1. การวางแผนแบบพิมพ์เขียว ไม่มีความยืดหยุ่น คือ อยู่บนพื้นฐานของความคาดหวังว่า แผนฉบับ
สมบูรณ์ท้ังแผนจะได้รับการนาไปปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดท้ังหมด ความคาดหวังดังกล่าวไม่ได้อยู่บนพ้ืนฐาน
ของความเป็นจริง เนื่องจากไม่มีแผนใดที่เร่ิมต้นจากการมีข้อมูลท่ีสมบูรณ์แบบ และนาไปปฏิบัติภายใต้
สภาพแวดล้อมในการทางานที่อยู่ภายใต้การควบคุมได้ท้ังหมดทุกประการได้ แนวทางการวางแผนดังกล่าวจึง
ไมม่ คี วามยืดหยนุ่
2. การวางแผนโดยใช้กฎระเบียบเป็นเกณฑ์ ซึ่งจะข้ึนอยู่กับการนามาตรฐานของการพัฒนามาใช้เป็น
ฐานคิดในการวางแผน ผนวกกบั ความเป็นไปได้ที่การพัฒนาจะเป็นไปตามประมวลแห่งกฎเกณฑแ์ ละมาตรฐาน
ท่ีได้มีการกาหนดขึ้นก่อน ท้ังน้ี ในด้านของการนาไปปฏิบัติตามน้ันค่อนข้างจะง่าย แต่สภาพแวดล้อมที่สร้าง

181
ขึ้นมาจะมีลักษณะเชิงเดี่ยวและซ้าๆ ซากๆ กระนั้นก็ตาม การวางแผนโดยใช้กฎระเบียบเป็นเกณฑ์น้ีในบาง
ดา้ นบางมุมเปน็ สิง่ ท่หี ลีกเลย่ี งไมไ่ ด้

3. การวางแผนโดยใชก้ ลไกตลาดเปน็ ตัวขับเคล่อื น ซึ่งจะเหมาะสมอยา่ งที่สดุ หากนาไปใช้กบั โครงการ
แต่ละโครงการมากกวา่ จะนามาใชเ้ ป็นกลยทุ ธส์ าหรับชมุ ชนหรือภมู ภิ าคท้งั หมดในภาพรวม

4. การวางแผนโดยใช้ระบบเป็นตัวขับเคลื่อน ซ่ึงเป็นที่แพร่หลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อบทบาทของ
การวางแผนเปน็ สงิ่ จาเป็นในการนามาใชก้ ับสถานการณ์ท่ีมคี วามซับซ้อน และสามารถทาให้เกดิ ผลกระทบทาง
ลบต่อสิ่งแวดล้อม และจากการที่การพัฒนาจะต้องมีการกากับดูแลอย่างใกล้ชิดให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
ขอ้ บังคบั เก่ียวกับความยั่งยนื ของระบบนิเวศ ซึ่งการวางแผนโดยใชร้ ะบบเป็นตวั กาหนดแผนน้จี ะชว่ ยทาให้เกิด
การทบทวน การติดตามกากับดูแล และการปรับเปล่ียนวิธีการทางานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่มีการ
เปลยี่ นแปลงไป

ระบบการวางแผนการใช้ที่ดินส่วนใหญ่จะใช้วิธีผสมผสานระหว่างการใช้ระบบเป็นตัวขับเคลื่อนกับ
วิธีการใช้กฎระเบียบเปน็ เกณฑ์ โดยในหลายๆ กรณีน้ันการควบคุมการใชท้ ่ีดินมักจะเป็นระบบท่ีพัฒนามาจาก
ประมวลมาตรฐานการปฏิบัติการวางแผนของยโุ รปหรอื อเมรกิ าเหนือ แล้วนามาประยกุ ตใ์ หส้ อดคล้องกับความ
ต้องการจาเป็นของแต่ละประเทศ โดยปกติแล้วการที่จะควบคุมใช้ที่ดินให้เป็นไปตามแผนน้ันจะอาศัยอานาจ
ของกฎหมายท่ีเหมาะสม ซึ่งมีมาตรการต่างๆ ในการควบคุมท้ังเร่ืองการใช้และการพัฒนาท่ีดิน การพัฒน า
ระบบการบริหารทีเ่ กยี่ วข้อง และการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน/สาธารณูปการต่างๆ ท่ีจาเป็น

ในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว ประเด็นท่ีสาคัญท่ีสุดว่าด้วยเร่ืองการวางแผนการใช้ท่ีดินและการ
พฒั นามดี ังน้ี

1. สถานท่ีสาหรบั การพัฒนาหรอื มกี ิจกรรมด้านการท่องเทยี่ ว
2. การเข้าถงึ และการเดนิ ทางภายในเขต/โซนการท่องเท่ียว
3. มาตรฐานการพฒั นา
4. มาตรฐานการออกแบบ
5. ปัญหาการจราจร
6. คณุ ภาพของส่ิงแวดล้อมที่มนุษยส์ ร้างข้ึน
7. สภาพภูมทิ ศั นข์ องบรเิ วณที่มกี ารพฒั นาการท่องเท่ียว
8. การพฒั นาโครงการขนาดใหญ่
9. แหล่งที่ดงึ ดูดการท่องเที่ยวในชนบท
10. ทาเลที่ตั้งสถานท่ีของจุดคมนาคมหลัก เช่น ท่าอากาศยาน สถานีรถไฟหรือสถานีขนส่ง
ผู้โดยสาร
11. ผลกระทบของการพัฒนาการท่องเท่ียวต่อรูปแบบของสถาปัตยกรรมท้องถิ่น และต่อ
พืน้ ทม่ี รดกทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ
ในการน้ีจะบรรลมุ าตรฐานการใชท้ ด่ี นิ เพอ่ื การพัฒนาทด่ี ีการวางแผนควรเป็นดงั น้ี
1. ประสานความต้องการในดา้ นการพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน/สาธารณปู โภคท่เี ก่ียวข้อง
2. มีการนาแนวคิดท่ีเหมาะสมไปปฏิบัติเพ่ือให้บรรลุมาตรฐานในด้านความสวยงาม ด้านสุข
ภาวะ ด้านความสะดวกสบายและด้านความหลากหลายของส่งิ ทีน่ า่ สนใจ ประสบการณ์ และวฒั นธรรม
3. มกี ารสง่ เสรมิ การพฒั นาในพน้ื ท่ีและเวลาที่เหมาะสม
4. มีการใหข้ อ้ มลู ลว่ งหน้ากบั นักลงทุนในเร่ืองข้อกาหนดและมาตรฐานต่างๆ ในการพฒั นา

182
5. มกี ารปอ้ งกันการพฒั นาอย่างลาเอียงไม่เปน็ ธรรม ไม่ว่าจะเป็นการลาเอยี งโดยประเภทของ
การพฒั นาโดยทาเลที่ตั้ง จงั หวะเวลาหรอื คณุ ภาพการพฒั นา
6. มีการสะทอ้ นการเปลย่ี นแปลงมาตรฐานและความนิยมในระดับทย่ี อมรับได้
7. มีการส่งเสริมนวตั กรรม
อาจจะมีผู้กล่าวว่า การวางแผนและการพัฒนาที่ดีที่สุดนั้นเป็นผลมาจากการวางแผนที่เจตนาใช้
กระบวนการวางแผนและกระบวนการตัดสินใจอย่างเป็นระบบ อย่างไรก็ตามเรามีตัวอย่างมากมายท่ีแสดงให้
เห็นว่าการวางแผนและการพัฒนาประสบความสาเร็จน้ัน ไม่ได้มาจากกระบวนการที่เป็นระบบแต่ประการใด
การพัฒนาท่ีประสบความสาเร็จโดยที่ไม่ได้ แนวทางของระบบมักจะมีลักษณะเปราะบาง และ/หรืออาศัยโชค
ช่วย ไม่ว่าในกรณีใดการยึดถือแนวทางเชงิ ระบบนา่ จะใช้โอกาสที่ดีที่สุดในการบรรลุการพัฒนาการท่องเท่ยี วที่
ประสบความสาเรจ็
การวางแผนและการพัฒนารีสอร์ท
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีธุรกิจที่มีความเก่ียวข้องหลากหลายธุรกิจ ซ่ึงแต่ละธุรกิจมีความสาคัญเป็น
กลไกท่ีค่อยสนับสนุนซึ่งกันและกันและต้องมีการวางแผนเพ่ือพัฒนาธรุ กิจน้นั ๆให้ตอบสนองความต้องการของ
นกั ท่องเทยี่ วและตอบสนองการท่องเทย่ี วท่ีเนน้ ด้านการอนุรักษ์เพ่ือสร้างความย่ังยนื ใหก้ บั ธรุ กจิ และรับผิดชอบ
ตอ่ สงั คม
ศูนย์เพ่ือการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549) ได้อธิบายถึง
ความสับสนอยู่กับการใช้คาว่า “รีสอร์ท” เพ่ือให้มีความชัดเจนของความหมายของคานี้เมื่อนามาใช้ในการ
วางแผนจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องแยกแยะระหว่างโรงแรมพักผ่อนแบบเดียวขนาดใหญ่ และการพัฒนาแหล่ง
ทอ่ งเท่ยี ว และบริเวณแหล่งทอ่ งเท่ียวที่มโี รงแรมรีสอรท์ แบบบรู ณาการหลายๆ แหง่
รีสอร์ท โดยเฉพาะอย่างย่ิงในรูปแบบของโรงแรมรีสอร์ทท่ีเป็นเอกเทศ อาจจะคาดหวังได้ว่าควรจะมี
บรกิ ารดงั นี้
1. เปน็ ท่ีนอนพักและใหก้ ารผอ่ นคลาย
2. เป็นฐานทจี่ ะใชใ้ นการออกสารวจพืน้ ทีร่ อบๆ
3. เปน็ ท่ีอยู่อาศัยซงึ่ มีมาตรฐานเป็นท่คี นุ้ เคย แต่อยูใ่ นสภาวะแวดล้อมท่หี รูหราสวยงาม
4. ใหป้ ระสบการณด์ า้ นวฒั นธรรมท่ีมีความแตกตา่ งหลากหลาย
5. ไดร้ บั ความบันเทิงและนนั ทนาการในชดุ บริการท่ีจดั ไว้ให้
พื้นฐานในการออกแบบควรจะเน้นให้มีความสะดวกสบาย ความปลอดภัย สร้างส่ิงแวดล้อมเพื่อให้
แขกไดร้ ่วมในกจิ กรรมทก่ี าหนดไว้ หรอื จะกาหนดเปน็ กิจกรรมของแตล่ ะบุคคลเปน็ เอกเทศก็ได้
กระบวนการวางแผนรีสอร์ทก็คล้ายกันกับกระบวนการวางแผนโดยทั่วไปดังที่ได้พิจารณาไปแล้ว การ
วางแผนและการออกแบบที่ถูกต้องมีส่วนช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์และศักยภาพการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวเป็น
อย่างดี กลยุทธ์ของการท่องเท่ียวแบบในพ้ืนท่ีอาจจะรวมเอารีสอร์ทครบวงจรหลายๆ แห่ง เพื่อให้เป็นระบบ
รวมกันในการใช้สิ่งอานวยความสะดวก บริการ และแหล่งท่องเที่ยว มีอีกทางเลือกหน่ึงคือการแสดงความช่ืน
ชมท่ีรีสอร์ทแห่งใดได้มีส่วนส่งเสริมภาพลักษณ์ของพ้ืนที่นั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความคาดหวังว่ารีสอร์ทครบ
วงจรทั้งหลายน่าจะสะท้อนถึงลักษณะพิเศษของประเทศน้ัน เพื่อประโยชน์ของการวางแผนการท่องเที่ยว
อาจจะเป็นการเหมาะสมสาหรับรัฐบาลในแถบเอเชียแปซิฟิกที่จะต่อต้านการพัฒนารีสอร์ทแบบครบวงจรที่
ห่างไกลจากแนวความคิดและเอกลักษณ์ของประเทศนน้ั


Click to View FlipBook Version