The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2019-10-17 07:21:39

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

83
5. การหลีกเล่ียงการเผชิญหน้าท่ีเลวร้ายที่สุด เพราะการเปิดโอกาสให้ฝา่ ยต่าง ๆ เข้ามาแสดงความ
ต้องการและข้อห่วงกังวลตั้งแต่เร่ิมต้นโครงการ จะช่วยลดโอกาสของการโต้แย้งและการแบ่งฝ่าย ที่จะเป็น
ปัจจยั ใหเ้ กดิ การเผชิญหน้าอยา่ งรุนแรงได้
6. การคงไวซ้ ึง่ ความน่าเชือ่ ถือและความชอบธรรม เน่ืองจากกระบวนการตัดสินใจท่ีโปร่งใสและเปิด
โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วม จะสรา้ งความนา่ เชื่อถือต่อสาธารณชนและเกิดความชอบธรรมโดยเฉพาะ
เมอื่ ต้องมีการตัดสนิ ใจในเร่อื งทม่ี ีการโตแ้ ย้งกนั
7. การคาดการณ์ความห่วงกังวลและทัศนคติของสาธารณชน เพราะเม่อื เจ้าหน้าท่ีท่ีเกีย่ วข้องได้มา
ทางานร่วมกับสาธารณชนในกระบวนการมีส่วนร่วม พวกเขาจะได้รับรู้ถึงความห่วงกังวล และมุมมองของ
สาธารณชนต่อการทางานขององค์กร ซึ่งจะทาให้เจ้าหน้าที่สามารถคาดการณ์ปฏิกิริยาตอบสนองของ
สาธารณชนตอ่ กระบวนการและการตดั สินใจขององค์กรได้
8. การพัฒนาภาคประชาสังคม ประโยชน์อย่างหน่ึงของการมีส่วนร่วมของประชาชนคือ ทาให้
ประชาชนมีความรู้ทัง้ ในสว่ นของเนือ้ หาโครงการและกระบวนการตัดสินใจของรฐั รวมท้งั เป็นการฝึกอบรมผู้นา
และทาให้ประชาชนได้เรียนรู้ทักษะการทางานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต
(http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title.)
แนวคิดเกี่ยวกบั การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนในการจัดการการท่องเทีย่ ว
การจดั การการท่องเท่ียวโดยการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนมผี ใู้ หแ้ นวคดิ ทน่ี า่ สนใจดงั น้ี
Schiffman and Kaunuk (1991, 209-216) เขียนไว้ว่าทฤษฏีการมีส่วนร่วม ( Involvement
theory)เป็นทฤษฏีการเรียนรู้ของคนที่แสดงกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลจากการแก้ปัญหาขนาดเล็กไปถึง
การแก้ปัญหาขนาดใหญ่ ซ่ึงยึดตามทฤษฎีสมองสองซีก (Split-brain theory) กล่าวคือ สมองแต่ละด้านจะมี
ความชานาญในการประมวลผลข้อมูลแตกต่างกัน โดยสมองด้านขวาจะประมวลข้อมูลท่ีเป็นรูปภาพ หรือ
ประมวลผลองค์รวม (Affective information processing) ในขณะท่ีสมองด้านซ้ายจะประมวลข้อมูลที่เป็น
ตัวอักษร คาพูด ประมวลผลรายละเอียด (Cognitive information processing) การประเมิน/วัดการมีส่วน
รว่ มใชเ้ วลา ความถข่ี องการมสี ว่ นรว่ ม และประสบการณ์
เลศิ พร ภาระสกลุ (2551 : 123-126) ไดอ้ ธบิ ายถงึ การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนเป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคัญ
1 ใน 4 องค์ประกอบหลักของการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ในสภาวะปัจจุบันการมีส่วนร่วมของชุมชนมีความสาคัญ
เพิ่มขึ้นเร่ือยๆ เพราะถ้าหากเราสามารถจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยเน้นให้ประชาชนในพื้นท่ีเปน็ ศูนย์กลาง
การจดั การหรอื เป็นตัวนา ย่อมมีโอกาสประสบความสาเรจ็ สงู
ภราเดช พยัฆวิเชียร. (2539 : 3อ้างถึงในเลิศพร ภาระสกุล, 2551) ได้กล่าวไว้ว่า เราต้องสร้างความ
เข้มแข็งให้ชุมชนด้วยความอดทนและตั้งใจจริง รวมทั้งต้องสร้างความเข้าใจให้แก่นักธุรกิจด้วยว่าสังคม
ธรรมชาติ วัฒนธรรมเป็นทุนด้วย หากไม่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมธุรกิจจะ
พบกับปัญหาส่งิ แวดลอ้ ม สงั คม วฒั นธรรม ซง่ึ จะสง่ ผลใหก้ ารประกอบธรุ กจิ ไม่ยัง่ ยืน
นอกจากน้ี สถาบันการวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2542 : 3-50อ้างถึงในเลิศ
พร ภาระสกุล, 2551) ได้อธิบายความเก่ียวข้องของชุมชนกับการท่องเท่ียวมีขอบเขต ลักษณะ และรูปแบบ
กว้างขวางหลากหลายท้งั ทางตรงและทางอ้อม หาขอ้ จากดั ชัดเจนได้ยาก และไม่สามารถนามากลา่ วไวไ้ ดค้ รบ

84
ดังนั้น ในการศึกษาจึงได้กาหนดความเกี่ยวข้องของชุมชนกับการท่องเที่ยวไว้ 2 ลักษณะ คือ

ประโยชนท์ ่ีชุมชนไดร้ ับและผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน
1. ประโยชนท์ ช่ี ุมชนจะได้รบั มี 2 ทาง คือ ประโยชนท์ างเศรษฐกิจ และประโยชนท์ างสงั คม
1.1 ประโยชนท์ างเศรษฐกิจ
1. เกดิ การสร้างงาน สมาชิกชุมชนมีงานทาสืบเน่ืองจากการท่องเทยี่ วเกิดขึน้
2. เกิดการพัฒนาอาชีพที่เกย่ี วข้องกบั การบริการการท่องเทีย่ ว
3. เกิดระบบตลาด เมื่อมีการจัดหาเครื่องอุปโภคบริโภค เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ และปัจจัยต่างๆ

ท่จี าเปน็ แกก่ ารบริการการทอ่ งเทีย่ ว
4. เกดิ ระบบการผลติ วตั ถดุ บิ ทอ้ งถน่ิ เพ่ือป้อนระบบตลาด
5. มีรายไดจ้ ากแหล่งรายไดใ้ หม่ท่เี กิดจากการท่องเท่ียวนอกเหนือจากรายได้จากแหล่งรายได้

เดมิ ของชุมชน
6. ครอบครัวในชุมชนจะมีรายได้เพ่ิมขึ้น ท้ังโดยทางตรงและโดยอ้อมจากสถานการณ์การ

ทอ่ งเทย่ี วทเ่ี กดิ ข้ึน
1.2 ประโยชนท์ างสังคม
1. เกดิ การพฒั นาในทางสรา้ งสรรค์ขนึ้ ในสังคม
2. มีการติดต่อทางสงั คมท่มี ีรูปแบบมากข้ึน
3. มีสัญญาทางสังคมเกิดข้ึนเนื่องจากการตกลงในสิทธิหน้าท่ีและความรับผิดชอบต่างๆ ท่ี

เก่ยี วกบั การเข้าไปเกีย่ วข้องกบั ระบบการท่องเทย่ี วของสมาชกิ ชมุ ชน
4. ระบบสาธารณปู โภคของชุมชน เช่น ถนน ไฟฟา้ ประปา อาจไดร้ ับการพฒั นาหรือปรบั ปรุง

เน่ืองจากการมรี ะบบการท่องเท่ียว
5. สมาชิกชุมชนจะถกู กระต้นุ ใหส้ นใจพัฒนาการศกึ ษาของตวั เองและบรวิ าร
6. เกิดการพัฒนาด้านสาธารณสุข เช่น ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความ

ปลอดภยั จากโรคภยั สืบเนอื่ งจากการบริโภคทไ่ี ด้รับการพัฒนาข้ึนเพอ่ื เข้าสรู่ ะบบการท่องเทย่ี ว
7. การบรกิ ารทางสังคมอื่นๆ เช่น ความปลอดภยั และการมรี ะเบียบอสิ ระของสังคมจะได้รับ

การเอาใจใสม่ ากขน้ึ
2. ผลกระทบทีเกิดขึ้นอาจเป็นผลกระทบท้งั ทางบวกและทางลบ
2.1 ผลกระทบทางบวก คือ ผลประโยชน์ทีช่ ุมชนได้รับตามทก่ี ล่าวไว้ข้างตน้
2.2 ผลกระทบทางลบท่ีอาจเกดิ ขึ้น
1. ขนาดของชุมชนอาจเติบโตเกินไป ถ้าปัจจัยดึงดูดจากการท่องเท่ียวมีกาลังมากและไม่ได้

รับการจัดการที่ดี
2. โครงสร้างการบริหารชุมชนอาจเปล่ียนแปลงไป ถ้าอิทธิพลการท่องเที่ยวมีมากและไม่ได้

รับการจดั การท่ีดี
3. วัฒนธรรมเดิมและวิถีชีวิตของชุมชนอาจได้รับผลกระทบและถูกกลืนจากอิทธิพล

วัฒนธรรมและแนวทางชีวิตจากภายนอก

85

ในอดีตที่ผ่านมาชุมชนแทบจะไม่ได้ประโยชน์ที่แท้จริงจากการท่องเท่ียว เน่ืองจากมีผู้มีโอกาสหรือ
กาลังมากกว่าได้แสวงหาประโยชน์จากชุมชนและทรัพยากร โดยละเลยหรือให้ประโยชน์ต่อชุมชนเพียง
เล็กน้อย และสร้างผลกระทบทางลบไว้มาก เนื่องจากประชาชนและชุมชนไม่มีโอกาสได้คัดเลือกการพัฒนา
หรือจากัดการขยายตัวของการท่องเท่ียวที่เข้ามาในชุมชน การพัฒนาการท่องเที่ยวมักเกิดจากความต้องการ
ของนักท่องเที่ยวท่ีเข้ามาใช้ประโยชน์ในพ้ืนที่และการพัฒนาขององค์กร ภาครัฐหรือการลงทุนของ
ผู้ประกอบการเอกชนในพื้นท่ีโดยขาดการคานงึ ถงึ ประโยชน์และผลกระทบท่ีแท้จริง

สุพัตรา กลับดี. (2545 : 34-35อ้างถึงในเลิศพร ภาระสกุล, 2551) ได้ให้ทิศทางการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนในกระบวนการท่องเท่ียวไว้ว่า การลดผลกระทบของการท่องเท่ียวต่อชุมชน การสร้างโอกาสและการ
สร้างประโยชน์ที่แท้จริงให้แก่ชุมชนในการปรับตัวต่อการพัฒนาการท่องเท่ียวเท่านั้น การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ
เป็นรูปแบบท่ีสามารถสร้างโอกาสนี้ได้เหมาะสมท่ีสุด อีกท้ังยังสามารถลดผลกระทบท่ีมีต่อส่ิงแวดล้อมของ
ชุมชนด้วย การมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถ่ินจึงเป็นเป้าหมายสาคัญซ่ึงได้รับการเน้นให้มีในกระบวนการ
ท่องเท่ียวแนวใหม่ ถือได้ว่าเป็นพื้นฐานของการพัฒนาที่ย่ังยืน การมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นได้เน้นการ
ให้ความสาคัญแก่ประชาชนในท้องถิ่นในการท่ีจะมีบทบาทในการกากับดูแลและควบคุมการท่องเท่ียวได้มาก
ขึ้น และสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีศักด์ิศรี เน่ืองจากประชาชนเป็นเจ้าของท้องถิ่นสามารถเป็นศูนย์กลาง
เชอ่ื มโยงทอ้ งถิ่นกับหน่วยงานของรฐั หรือของเอกชนที่เกยี่ วข้องในกระบวนการท่องเที่ยวระดับต่างๆ ได้

กล่าวโดยสรุป จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีข้างต้น การพัฒนาการท่องเท่ียวเป็นการเปล่ียนแปลง
ชุมชนในทิศทางท่ีคาดหวังว่าจะดีข้ึนกว่าเดิม โดยส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ซึ่ง
เปน็ การกาหนดวิถชี วี ติ ของตนเองและนาไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวตามความต้องการของชุมชน และในการ
มีส่วนร่วมนั้นต้องให้ประชาชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินงานพัฒนา ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ โดยได้รับ
ความร่วมมือจากทุกองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เก่ียวข้องเพื่อให้กระบวนการพัฒนาการท่องเท่ียวมี
เป้าหมายและทิศทางเดียวกัน ซ่ึงจากแนวคิดต่างๆ สามารถประมวลลักษณะและขั้นตอนเพื่อใช้เป็นกรอบ
แนวคิดในการศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการขจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา
ชุมชนบา้ นคลองสน กง่ิ อาเภอเกาะชา้ ง จงั หวัดตราด ได้ดงั น้ี

1. การมสี ่วนร่วมในการคน้ หาปัญหาและสาเหตขุ องปัญหา
2. การมสี ่วนรว่ มในการวางแผนงานกจิ กรรม
3. การมีส่วนรว่ มในการปฏบิ ัตกิ าร
4. การมีส่วนรว่ มในการติดตามประเมนิ ผล
ผมู้ สี ่วนเก่ียวข้องหลกั ในการจัดการการทอ่ งเทย่ี วชุมชน
การจัดการการทอ่ งเท่ียวชมุ ชนจะต้องมีผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องหลักเพ่ือให้การดาเนินการเกิดการบรู ณาการ
จากหลายๆภาคส่วนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆเกิดความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันทาให้การจัดการท่องเที่ยว
ชมุ ชนประสบความสาเรจ็
พมิ พ์ระวี โรจน์รงุ่ สตั ย์ (2553 : 37-40) ไดก้ ล่าวถึงผู้มีสว่ นรว่ มในการดาเนินการเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
ในชุมชนนั้น มี 4 ภาคส่วน คอื
1. ชมุ ชน (Community)
2. ผู้มอี านาจตดั สนิ ใจ เชน่ รฐั (Decision maker)
3. ภาคธรุ กจิ (Business operator)
4. นักท่องเทย่ี ว (Visitor)

86

และทุกภาคส่วนควรได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน รวมท้ังร่วมคิดถึงแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดปัญหาร่วมกัน
ดงั ภาพต่อไปนี้

ชมุ ชน ผลประโยชนใ์ นแง่บวกสาหรบั ภาครัฐบาล
ภาคธรุ กิจ ทกุ ฝา่ ย นกั ทอ่ งเท่ยี ว

ภาพท่ี 4.3 ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วข้องหลกั ของการจัดการการท่องเท่ียวชุมชน
ท่มี า : พมิ พร์ ะวี โรจนร์ ุ่งสัตย์ (2553)

ในการพัฒนาและจัดการการท่องเที่ยวชุมชนควรระบุให้ชัดเจนว่าใครคือผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องและใน
ลักษณะหรือรูปแบบใด ผู้ที่ควรจะหรืออาจจะมีส่วนร่วมได้หากจะแจกแจงโดยละเอียดข้ึนกว่ารูปภาพข้างต้น
อาจจะพิจารณาภาคส่วนต่างๆ เช่น องค์กรท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ตัวอย่างเช่น องค์กรทางด้านวัฒนธรรม องค์กร
ดา้ นส่ิงแวดล้อม หรือองค์กรภาครฐั ในทอ้ งถิ่นที่เกย่ี วข้องมีองค์กรใดบา้ ง เป็นต้น

ภาพท่ี 4.4 การมีส่วนร่วมของชมุ ชนในการถ่ายทอดภูมปิ ญั ญา การทาตุ้มนกตุ้มหนใู หก้ บั นกั ท่องเที่ยว
กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุไทดาบ้านนาป่าหนาด ตาบลเขาแก้ว อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย

นอกจากน้ีวิธีการท่ีเราสามารถที่จะระบุผู้มีส่วนเกี่ยวข้องก็สามารถทาได้โดยวิธีการต่างๆ เช่น
สอบถามพูดคุยกับชุมชน อ่านจากเอกสารายงานที่มีอยู่ และอาจหาบุคคลหรือองค์กรที่สนใจท่ีจะเข้ามามสี ว่ น
ร่วมด้วยความเต็มใจ ต่อจากนั้นก็สามารถดาเนินการสร้างเครือข่ายของชมุ ชนและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในเบอื้ งต้น
และควรมีการจัดประชุมกลุ่มผู้ท่ีจะร่วมดาเนินการจัดการการท่องเที่ยวในชุมชน เพ่ือท่ีจะหารือ เพื่อมีการ
เพ่มิ เติมบคุ คลทีอ่ าจจะเป็นผมู้ ีส่วนเกย่ี วข้องซง่ึ ไม่ได้อยูใ่ นกลุ่มแรก หรอื สอบถามวา่ ใครที่ไมม่ ีสว่ นเกยี่ วข้องและ

87

ใครควรท่ีจะมีส่วนเก่ียวข้อง เม่ือเกิดความชัดเจนข้ึนซึ่งอาจมีการขับเคลื่อนในรูปแบบองค์กรทางด้านการ
ท่องเทย่ี ว อันจะเกดิ ความชัดเจนว่าใครคือผ้นู าหรือกลุม่ ผูน้ าหลักในการจดั การ และจะมีกระบวนการให้ชุมชน
มสี ่วนร่วมอย่างทั่วถึงอย่างไร รวมท้ังระบบการกระจายผลประโยชนแ์ ละรายไดส้ ู่ชมุ ชนควรเปน็ ลกั ษณะใด และ
การต้อนรับนักท่องเท่ียวจะเป็นไปอย่างไร เมื่อมีกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องท่ีชัดเจน งานต่างๆ ที่จะดาเนินต่อมาก็จะ
ชดั เจนย่ิงข้นึ

ในการเร่ิมต้นนากลุ่มต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามารวมตัวกันในเบื้องต้นน้ันไม่ใช่เรอ่ื งง่าย ดังนั้น ควร
ที่จะมีการศึกษาก่อนโดยละเอียดเก่ียวกับบริบทชุมชนหรือพ้ืนที่ที่จะมีการจัดการทางด้านขึ้น หรือมีอยู่แล้วแต่
ต้องการท่ีจะปรับปรุงเพ่ือพัฒนาให้ดีย่ิงข้ึน การศึกษาในเร่ืองของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีจะเข้ามามีส่วน
เกี่ยวข้องน้ันถึงแม้อาจจะเหมือนซับซ้อน แต่ก็สามารถจัดการศึกษาไปทีละหน้าที่ของแต่ละส่วน ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้

กอ่ นทจ่ี ะดาเนนิ การพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในชมุ ชน ควรมกี ารศกึ ษาเกย่ี วกบั ผมู้ ีส่วนรว่ มกอ่ น ดังนี้
1. ใครคือเจ้าของของพื้นท่ีท่ีจะจัดการการท่องเที่ยว หรือพ้ืนท่ีที่มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการจัดการกา
ทอ่ งเท่ยี วนน้ั ครอบคลุมถึงสว่ นใด และใครรบั ผิดชอบอยู่บ้าง
2. ใครคือผู้ใช้สถานท่ีหรือท้องทน่ี ัน้ ๆ อยู่ เช่น อาจเปน็ ท่สี าหรับกิจกรรมชุมชน
3. ใครคือผู้ที่เก่ียวขอ้ งในการจดั การด้านสาธารณูปโภคในพ้ืนทน่ี น้ั
4. นอกจากการพิจารณาโดยภาพรวมแล้ว อาจมีการพิจารณาผู้มีส่วนร่วมโดยแบ่งสัดส่วนความ
รับผดิ ชอบตามหวั ขอ้ หลัก เชน่
ด้านพื้นท่ีที่จะพฒั นา ควรมกี ารศกึ ษาว่า
1. ใครเปน็ ผ้มู คี วามร้หู รือความเชีย่ วชาญดา้ นธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมในสถานทนี่ ั้น
2. ใครดาเนนิ การจดั การพืน้ ทีท่ จ่ี ะพัฒนาเปน็ สถานทที่ ่องเทยี่ วนน้ั อยู่เดิมบ้าง
3. ใครคอื เจา้ ของประเพณีพ้นื เมืองในพืน้ ท่ี
4. ใครอาศยั หรอื เคยอาศัยอยู่ในสถานท่ีนัน้ ๆ
5. ใครมหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบอยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมายในสถานทน่ี น้ั
6. ใครคือผู้มีอานาจตดั สนิ ใจในสง่ิ ทีส่ ามารถสง่ ผลกับพ้นื ทีน่ ัน้
7. กลุ่มใดทมี่ คี วามสนใจหรอื าจจะมคี วามสนใจตอ่ สถานที่นน้ั
8. ผู้เชีย่ วชาญดา้ นใดบา้ งท่ีจะสนใจร่วมพฒั นาสถานทแ่ี ห่งนัน้
9. องค์กรอิสระใดที่มีส่วนดาเนินการอยู่ในพื้นท่ีน้ัน หรืออาจมีความสนใจร่วมดาเนินการพัฒนาการ
ท่องเทยี่ ว
10. มีใครอื่นอีกบ้างที่อาจจะสนใจการดาเนินการพัฒนาการท่องเท่ียวในครั้งน้ี หรืออาจจะให้ความ
ช่วยเหลือได้
11. ทบทวนอยา่ งละเอียดวา่ ใครอกี ท่เี ปน็ ผใู้ ช้พ้ืนท่นี ั้น
12. มีนกั วชิ าการทางการศึกษาที่ควรจะเขา้ มามสี ว่ นเก่ยี วขอ้ งหรือไม่
13. ใครเป็นเจ้าของธุรกิจทางการท่องเท่ียวในส่วนนั้นอยู่เดิม และใครมีแนวโน้มท่ีจะร่วมพัฒนา
ธรุ กิจ

88
ดา้ นการทอ่ งเทีย่ วโดยตรง ควรมกี ารศกึ ษาวา่
1. ใครจะร่วมเป็นนักลงทุนได้บ้าง ไม่ว่าจะเป็นจากชุมชน หรือจากภายนอก แต่ควรดูสัดส่วนใหเ้ กิด

ความยตุ ธิ รรมในการกระจายรายได้
2. ใครเปน็ ผูใ้ ห้บรกิ ารดา้ นอาหารและท่พี ักในแหลง่ ท่องเทยี่ ว
3. ใครเป็นผู้ใหบ้ รกิ ารด้านการขนสง่
4. ใครเป็นผู้ดาเนินการด้านการนานักท่องเท่ยี วเขา้ มาเที่ยวในแหล่งท่องเทย่ี วของชุมชน เช่น บริษัท

ทัวรใ์ ด
5. ใครทีเ่ ป็นผู้ใหบ้ รกิ ารด้านอื่นๆ ท่ีมีสว่ นเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว
6. องคก์ รใดมสี ่วนดา้ นการตลาดและการวางแผนทางการท่องเทยี่ วในท้องถ่ิน
7. องคก์ รหรือสมาคมใดบ้างมีสว่ นเก่ยี วข้องทางด้านการพฒั นาเศรษฐกิจของชุมชน
8. ใครเป็นผ้อู อกใบอนญุ าต หรอื อนุมตั ิดา้ นการดาเนินการดา้ นการค้า
9. ใครสนบั สนนุ หรอื อาจจะสนับสนุนงบประมาณสาหรับการพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในท้องถน่ิ นนั้
10. ใครสามารถช่วยในการพิมพ์คู่มือนักท่องเที่ยว หรือผลิตสื่อท่ีจะเผยแพร่เก่ียวกับการท่องเท่ียว

ของชุมชนน้นั แก่สาธารณชน
11. นักท่องเท่ียวหรือกลุ่มใดบ้างเป็นผู้ใช้สินค้า ส่ิงอานวยความสะดวกและการบริการทางการ

ทอ่ งเท่ียวในชมุ ชน
การเข้าใจธรรมชาติ หรือความสนใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือกาลังจะมีส่วนเก่ียวข้องกับการ

ดาเนนิ การดา้ นการทอ่ งเทย่ี วของชุมชนในแต่ละส่วน จะชว่ ยใหก้ ารดาเนนิ การนั้นชดั เจนยิง่ ข้ึน แต่ละส่วนของผู้
มสี ่วนเกีย่ วข้องจะมีความสนใจที่แตกต่างกันออกไป และมหี น้าท่ตี ่างกนั เชน่ บางสว่ นอาจมีหน้าท่ีเพยี งรับรู้ถึง
การดาเนินงานการพัฒนาการท่องเทีย่ วต่อไปในอนาคต บางสว่ นอาจต้องเข้าร่วมในการให้คาปรึกษาหารือและ
บางสว่ นจะเป็นผดู้ าเนนิ การจรงิ ซงึ่ ควรมีชมุ ชนรวมอยู่ดว้ ย เป็นตน้

ภาพท่ี 4.5 การมีส่วนร่วมของชมุ ชนในการจัดการการท่องเท่ยี วเชิงสร้างสรรคก์ ลุ่มชาติพันธไ์ุ ทกะเลิง
ตาบลหนองสงั ข์ อาเภอนาแก จังหวดั นครพนม

89
วธิ ีการในการทจี่ ะนาผทู้ ่มี สี ่วนเก่ียวข้องเขา้ มามีสว่ นรว่ ม

การท่ีจะนาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมจะต้องใช้ท้ังศาสตร์และศิลป์ เพื่อให้ผู้ที่จะเข้ามาร่วม
ได้รับรูก้ ารเป็นสว่ นหน่ึงในการดาเนินกิจกรรมที่สาคัยที่จะเกิดข้นึ กบั ชุมชนนัน้ ๆ

พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์ (2553 : 40-44) ได้อธิบายถึงการให้ข้อมูลและนาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการท่ี
จะพัฒนาการท่องเท่ียวให้เข้ามามีส่วนร่วมนั้นเป็นเรอ่ื งที่ซับซ้อนและจะต้องใช้เวลามาก แต่หากสามารถทาได้
จะทาให้เกิดการทางานร่วมกันในแนวทางที่มีระบบ ความแตกต่างของแต่ละกลุ่มน้ันหากได้รับการจัดการหรือ
บูรณาการอยา่ งดีแล้วจะนาไปสู่การพฒั นาโครงการ แผนการและสินค้าทางการท่องเท่ยี วที่ประสบความสาเร็จ
ได้ กระบวนการการปรึกษาจากกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องน้ีสามารถมุ่งประเด็นไปที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลักๆ ก่อน เช่น
อาจดาเนินการเพ่ือให้ข้อมูลแก่ชุมชนผู้ที่จะต้องเข้ามามีส่วนร่วมหลัก และสร้างการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการมี
ส่วนรว่ มอย่างแท้จรงิ ข้ึน

วิธีการที่จะปรึกษาขอคาแนะนา ความคิดเห็นหรือขอความร่วมมือจากผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการ
พัฒนาการท่องเที่ยวนั้นมีได้หลายวิธี ควรที่จะเลือกวิธีท่ีเหมาะสมท่ีสุดในสภาวะแวดล้อมของชุมชนน้ันๆ
รวมทั้งพิจารณาบุคลากรที่มีอยู่ และงบประมาณท่ีมี วิธีการบางวิธีนั้นเป็นการขอความเห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
โดยรวม บางวธิ ีจะเป็นเพยี งเฉพาะกลมุ่ และเจาะจงวธิ กี ารนนั้ มหี ลายวธิ ไี ม่จากดั ตัวอย่างเชน่

1. การประชมุ ชมุ ชน
2. การสมั ภาษณ์โดยรวม
3. สัมภาษณ์เฉพาะกลมุ่ คน
4. การจดั นิทรรศการแกส่ าธารณชน ซง่ึ มกี ารแสดงวัฒนธรรมและเอกสารขอ้ มลู
5. การตง้ั คณะกรรมการท่ีปรกึ ษา
6. การจดั ประชุมผ่านส่อื เพ่ือขอความเหน็
7. การเขยี นโครงการเสนอเพอื่ ใหพ้ จิ ารณา
8. การหาขอ้ มูลทางโทรศัพท์ และเก็บขอ้ มูลภาคสนาม
9. การเปดิ ขอความเห็นจากประชามติ
10. การจดั สัมมนาหรอื การประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ
11. การแสดงความคิดเหน็ จากผู้ที่อยู่อาศยั ในสถานท่ีนน้ั ๆ
12. การร่างภาพเพ่ือให้เกดิ ความเข้าใจ (Visual mapping)
13. การมภี าพวาดและภาพถา่ ยใหเ้ ป็นตวั อยา่ ง

90
ในการระดมความเห็นของผู้มีส่วนเก่ียวข้องนั้นอาจมีการหารือ หรือนาผู้เช่ียวชาญท่ีได้รับการฝึก และมี
ประสบการณ์ในด้านการเป็นท่ีปรึกษาเพื่อให้คาปรึกษาเร่ืองเทคนิควิธีการมาชว่ ยเหลือได้ แตค่ วรคานงึ ถงึ การมี
ชุมชนเขร้ ว่ มนอกเหนือจากกลมุ่ ผู้ที่บรหิ ารงานหรือผเู้ ชี่ยวชาญเปน็ สาคัญ เพราะบางครัง้ กลุ่มชุมชนกส็ ามารถท่ี
จะเป็นผู้ท่ีสรา้ งบรรยากาศที่ดีและทาใหเ้ กดิ มมุ มองใหม่ๆ ท่นี า่ สนใจได้

ภาพที่ 4.6 การประชุมผู้มสี ว่ นเก่ียวขอ้ งในการจดั ทาแผนยุทธศาสตรก์ ารท่องเท่ียวจงั หวดั อดุ รธานี
2560 – 2564 ณ โรงแรมประจักษ์ตรา ดีไซน์ อุดรธานี

การพัฒนาการทางานร่วมกนั อย่างมีปะสิทธภิ าพ
พมิ พร์ ะวี โรจนร์ งุ่ สัตย์ (2553)ไดก้ ล่าวถึง การพฒั นาการทางานร่วมกนั อย่างมีปะสทิ ธิภาพดังน้ี
1. การพฒั นาความสมั พนั ธใ์ นการทางานร่วมกัน
มีตัวแปรหลายตวั แปรซึ่งจะก่อให้เกิดความแตกต่างในการท่ีจะสร้างหรือพัฒนาความสัมพนั ธ์

ในการทางานรว่ มกันใหไ้ ด้อยา่ งประสิทธภิ าพ ตวั อย่างเชน่
1. การระบผุ ู้ทเ่ี ป็น “กาลงั ขับเคลื่อนหลกั ” หรอื ผ้นู าทีช่ ัดเจน
2. การระบบุ ุคคลสาคญั ทีจ่ ะเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการตดิ ต่อสื่อสารอย่างสมา่ เสมอและ
3. การระบผุ ้ทู จ่ี ะเป็นหนุ้ ส่วนสาคัญ

2. ผ้ทู เ่ี ป็น “กาลงั ขับเคล่ือนหลกั ” หรอื ผู้นา
ในทุกๆ โครงการ หรือกระบวนการน้ันต้องการบุคคลผู้ที่จะเป็นผู้ท่ีคอยประสานกิจกรรม

ต่างๆ และนาหรือรวบรวมกลุ่มชุมชนเข้าด้วยกัน รวมทั้งเป็นศูนย์กลางของการตดิ ต่อ บุคคลผู้นี้อาจจะเป็นผ้ทู ่ี
ริเร่ิมกระบวนการต่างๆ ก่อนที่จะส่งต่องานไปยังผู้อ่ืนหรือกลุ่มอื่น หรืออาจเป็นบุคคลที่ถูกคัดเลือกจาก
คณะทางานเพื่อใหเ้ ป็นแกนหลักและใหเ้ ป็นผู้ประสานงาน บุคคลผนู้ แ้ี ละคนอ่ืนๆ ทต่ี ้องไดรบการติดต่อนั้นควร
ท่ีจะได้รับการแต่งตั้งให้ชัดเจน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องท่ีสาคัญท้ังหมดควรได้รับรู้ถึงบทบาทหน้าที่ของตนเอง
และมีทอ่ี ยสู่ าหรับการตดิ ตอ่ ทีช่ ดั เจนเกบ็ เป็นฐานขอ้ มูลไว้

91

3. กลมุ่ คนทีท่ างานและคณะกรรมการดาเนินการ
หากเป็นไปได้ ควรท่ีจะยึดกลไกการดาเนินงานอย่างมีการติดต่อส่ือสารเพื่อให้ทุกฝ่าย

รับทราบข้อมูล เพื่อที่จะทางานร่วมกันได้อย่างดี หากไม่สามารถหากลุ่มที่ปรึกษาได้ก็ควรท่ีจะก่อตั้งกลุ่มคนท่ี
ทางานขึ้นเพ่ือร่วมกันวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและประเด็นต่างๆ ในชุมชน จุดประสงค์ของคณะทางานนี้ควร
ยึดถือการสื่อสารระหว่างองค์กรหรือทุกกลุ่มท่ีมีสว่ นเกย่ี วข้องและรวบรวมข้อมูลเพ่ือความเข้าใจความต้องการ
ของทุกฝ่ายทั้งในด้านการท่องเที่ยว ด้านวัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนการ
ดาเนนิ งานของกระบวนการต่างๆ

4. ผ้ทู คี่ วรเขา้ มามสี ่วนรว่ มในคณะทางานหากเปน็ ไปไดค้ อื

ชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ ผูด้ าเนินการและภาค
สว่ นธรุ กจิ

รฐั บาลส่วนท้องถนิ่ สว่ น คณะทางาน องค์กรทางการ
ภมู ิภาค และอื่นๆ ทอ่ งเที่ยว

องค์กรทางดา้ นมรดก ฝ่ายอุทยานและองคก์ รการ
และวัฒนธรรม จัดการดา้ นสงิ่ แวดล้อม

ภาพที่ 4.7 ผู้ท่เี ขา้ มามีสว่ นรว่ มในการดาเนินงาน ทม่ี า : พิมพ์ระวี โรจนร์ ุง่ สตั ย์ (2553)
ในการทางานเป็นคณะกรรมการหรือคณะทางานนั้นควรที่จะแต่งตั้งสมาชิกและมอบหมายหน้าที่ที่
ชัดเจน เช่น การทางานในฝายการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่กลุ่ม และให้แก่ชุมชนโดยทั่วไป กลุ่มท่ีจัดตั้ง
ขึ้นมานี้สามารถเป็นได้ท้ังอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การก่อตั้งกลุ่มนี้ สิ่งท่ีสาคัญคือ การรายงาน
ผลงานและการติดต่อสื่อสารระหว่างคนเพ่ือการเข้าถึงข่าวสารข้อมูล พร้อมทั้งค้นหาแนวทางหลากหลาย
แนวทางในการดาเนินงานด้านการท่องเท่ียว เพ่ือการตัดสินใจในประเด็นต่างๆ ได้ชัดเจนและถูกทิศทาง และ
ได้รับความร่วมมือจากกลุ่มชุมชนโดยท่ัวไป คณะทางานนั้นควรท่ีจะประกอบด้วยผู้สนใจที่อยากจะเข้ามามี
บทบาทสาคัญ มีความคิดเพ่ือส่วนร่วมและควรประกอบด้วยบุคคลท่ีสาคัญหรือองค์กรท่ีมีหน้าที่เกี่ยวกับการ
ท่องเทีย่ วเปน็ หลกั หลักการตอ่ ไปน้ีจะช่วยในการก่อตัง้ คณะทางานได้ กล่าวคือ
ควรมีความชัดเจนในเรื่องของบทบาทของคณะทางาน เช่น กาหนดฝ่าย กาหนดการประชุมว่าจะมี
บ่อยคร้งั เพยี งใด และอะไรเป็นสง่ิ ทค่ี ณะทางานคาดหวัง
กลุ่มทางานไม่ควรเริ่มจากจานวนคนที่มากเพราะการทางานท่ีมีคนน้อยค่อนข้างที่จะเกิดประสิทธิภาพ
มากกว่าคนมาก แต่ควรที่จะส่ือสารให้ทุกฝ่ายรับทราบว่าคณะทางานกาลังดาเนินการอย่างไร และกระตุ้นให้
คณะทางานประชาสัมพันธ์ถึงกระบวนการการดาเนินงานโดยกระจายข่าวสารเก่ียวกับกระบวนการ และ
ประเดน็ หลกั ๆ เพื่อให้เกดิ ความโปร่งใส

92
เลือกตงั้ บคุ คลทีจ่ ะเป็นผทู้ ตี่ ิดตอ่ และประสานงาน หรือตง้ั ระบบในการเวยี นตาแหน่งดังกล่าวตามวาระ

และ
ให้แน่ใจว่าทุกคนมีสิทธิและเสียงเท่าเทียมกัน ควรมีการประชุมเพื่อชี้แจงประเด็นต่างๆ ให้ชัดเจนแก่

ทุกฝ่ายท่เี กย่ี วข้อง รวมท้งั กรอบของระยะเวลา และการคาดการณผ์ ลลพั ธ์ท่จี ะเกิดขน้ึ
5. การพฒั นาไปสู่กล่มุ ภาคีรว่ ม
การพัฒนาการท่องเท่ียวที่จะประสบความสาเรจ็ น้ันจะต้องไม่ขึ้นอยู่กับองค์กรใดเพียงองค์กร

เดียว ดังน้ัน ภาคีที่มีส่วนร่วมจึงเป็นหลักสาคัญที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพเมื่อมีการดาเนินการทางด้านการ
ท่องเท่ียว ภาคีเหล่านี้สามารถช่วยในด้านการส่งเสริมให้เกิดการสนับสนุนและร่วมมืออย่างท่ัวถึงขึ้นได้ และ
ช่วยในการประสานงานแทนที่จะทางานอย่างซ้าซ้อน การนาภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมต้ังแต่ชว่ งแรกจะ
ทาให้ช่วยในเร่ืองการอนุมัติเรอ่ื งต่างๆ และยืนยันได้ว่าโครงการท่ีทาได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เนื่องจากได้ผ่านการ
กลั่นกรองจากหลายฝา่ ยในแต่ละชว่ งของการดาเนนิ งาน

ขนั้ ตอนทสี่ าคญั ในการพัฒนาส่กู ลมุ่ ภาคีทม่ี ีส่วนรว่ ม คือ
1. คน้ หาว่าภาคีใดท่ีจะชว่ ยใหก้ ารดาเนินงานให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงคไ์ ด้
2. คน้ หาผทู้ จี่ ะเข้ารว่ มหรือควรทจ่ี ะเขา้ มาร่วมในการดาเนนิ งาน
3. สรา้ งความสัมพันธอ์ นั ดใี นทุกฝ่าย
4. สรา้ งความเข้าใจให้ตรงกันในประเด็นต่างๆ
5. ร่วมกันสร้างเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ซึ่งแสดงถึงพันธะสัญญาท่ีมีต่อกันระหว่างกลุ่มภาคีที่
เกี่ยวข้องและร่วมกันดาเนินการในการปฏิบัติงานท้ังในปัจจุบันและต่อไปในอนาคตอย่างเห็นพ้องร่วมกัน
เนือ่ งจากมเี ป้าหมายท่ีตรงกัน เชน่ การพัฒนาการท่องเทีย่ วไปสกู่ ารท่องเทีย่ วในชมุ ชนอยา่ งยั่งยืน เปน็ ตน้
จากการที่ทราบถึงผู้มีส่วนเก่ียวข้องหลักและความสาคัญในบทบาทแต่ละส่วนทาให้เข้าใจถึงมุมมอง
หนึ่งคือ ในการท่องเที่ยวชุมชนนั้น ชุมชนควรที่จะได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ควรปล่อยให้
ชุมชนดาเนินการอย่างโดดเดี่ยว การดาเนินงานต่างๆ ควรเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปและพิจารณาบทบาท
หนา้ ที่ขององคก์ รหรือผู้ท่เี ขา้ มามีสว่ นเกีย่ วข้องให้เหมาะสม ชดั เจน เพือ่ ไมใ่ หป้ ัญหาเกดิ ข้ึนอย่างยากทีจ่ ะแก้ไข
หรือชมุ ชนไม่ได้มีบทบาทอยา่ งแทจ้ รงิ ดังนัน้ การพิจารณาเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของการเข้ามามสี ว่ นรว่ มของ
ภาคส่วนต่างๆ จึงถอื เป็นส่ิงหนึ่งทคี่ วรให้ความสาคญั สาหรับการพฒั นาการท่องเทยี่ วชุมชน

บทสรปุ
การมีส่วนร่วมของชุมชนน้ันเป็นสิ่งสาคัญเป็นรูปแบบและขั้นตอนในการกาหนดทิศทางร่วมกันของ

ชุมชน โดยคานึงถึงผู้มีส่วนเก่ียวข้องในทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเท่ียวแบบยั่งยืน
รว่ มกนั โดยยดึ หลกั การ เข้าใจความต้องการของชุมชนก่อนว่าจะเปิดตวั เองและบริหารจดั การอย่างไร จากน้ัน
การเข้าถึงบริบท อัตลักษณ์และทรัพยากรในด้านต่างๆและนาผลที่ได้จากการมีส่วนร่วมท่ีสรุปร่วมกันนามา
จัดการและพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยืนโดย การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการจัดการการท่องเที่ยว
แบบย่ังยืนโดยจะต้องคานึงถึงแนวคิดหลักการต่าง เช่น ความหมายของการมีส่วนร่วม ความหมายของการมี
ส่วนร่วมของชุมชน ลักษณะและขั้นตอนการมีส่วนร่วม ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน แนวคิด
เกี่ยวกบั การมสี ่วนรว่ มของชุมชนในการจัดการการท่องเทีย่ ว ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วข้องหลักในการจัดการการท่องเที่ยว
ชุมชน วิธีการในการท่ีจะนาผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งแนวคิดหลักการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการ
สร้างความเข้มแขง็ ให้กับชุมชนได้อยา่ งยัง่ ยืน

93

แบบฝึกหดั ท้ายบท
1. จงอธิบายความหมายของการมีส่วนรว่ ม
2. จงอธบิ ายความหมายของการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน
3. จงอธิบายลักษณะและข้นั ตอนการมีส่วนรว่ มของชมุ ชนในการจัดการท่องเทย่ี วอย่างย่ังยนื
4. จงบอกประโยชนข์ องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจดั การท่องเทีย่ วอย่างยั่งยนื
5. จงสรปุ แนวคิดเก่ียวกับการมสี ว่ นร่วมของชุมชนในการจดั การการท่องเทย่ี ว
6. จงอธบิ ายวธิ ีการผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้องหลักในการจัดการการทอ่ งเที่ยวชมุ ชน
7. จงสรปุ และบรู ณาการวิธกี ารในการที่จะนาผทู้ ่ีมสี ่วนเกย่ี วขอ้ งเข้ามามีส่วนรว่ มในการจัดการการ
ท่องเที่ยวไดอ้ ย่างไร
8. นกั ศึกษาจะมวี ธิ กี ารอย่างไรทจ่ี านาคนในชมุ ชนของนักศึกษาได้เข้ามามสี ว่ นร่วมในการพฒั นา
ชมุ ชนของตนเอง

94

เอกสารอ้างองิ
การมีส่วนรว่ มของประชาชน.http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title. สบื คน้ เมือ่ วนั ท่ี 20 มกราคม 2558.
เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. (2528). การระดมประชาชนเพื่อการพัฒนาชนบท. วารสารเศรษฐศาสตร์ปริทัศน์.

กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
ณักษ์ กุลิสร์และคณะ. (2553). แผนการตลาดการท่องเท่ียวเชิงบูรณาการบนฐานข้อมูลพฤติกรรม

นักท่องเท่ียวและการมีส่วนร่วมของชุมชนจังหวัดชัยนาท. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.).
ทวีศิลป์ กุลนภาดล. (2553). การพัฒนาภาวะผู้นาเพ่ือเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถ่ินของ
ประชาชน. สานักงานคณะกรรมการอดุ มศึกษาและสานักงานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ัย.
ประจวบ อมแก้ว. (2543). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่า. วารสารพัฒนาชุมชน, มิถุนายน,
39-44.
ฝาตีม๊ะ เกนุ้ย และคณะ. (2556). วิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลตาบลรูปแบบ
“เกิดผลเร็ว” โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจพัฒนาพื้นที่ ตาบลนาทอน
อาเภอทุง่ หวา้ จังหวัดสตลู . สานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว).
พมิ พ์ระวี โรจน์ร่งุ สตั ย์ (2553). การท่องเทยี่ วชมุ ชน. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1: กรุงเทพ สานกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร์.
เพิ่มศักด์ิ มกราภิรมย์. (2543). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่า: กรอบคิดข้อจากัดและการ
วเิ คราะหท์ างเลอื ก. วารสารพัฒนาชุมชน, มถิ นุ ายน.
วีระพงษ์ บุญโญภาสและคณะ. (2556). การจดั การความรเู้ กยี่ วกับการสร้างการมสี ่วนร่วมของประชาชนใน
การสนบั สนนุ การป้องกนั และปราบปรามอาชญากรรม. สานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ัย(สกว).
สจุ ติ ราภา พันธว์ ิไล และธรี เทพ ชนไมตร.ี (2550). ศักยภาพและความต้องการในการวางแผนและจดั การ

การทอ่ งเท่ียวของชุมชนในจงั หวัดเชียงราย: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.).
Schiffman, L.G. and Kaunuk, L.L. (1991). Consumer Behavior. 4th. Prentice-Hall, Singapore.

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 6
องคป์ ระกอบของแผนกลยุทธ์ในการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแบบย่ังยืน

เนือ้ หาประจาบท
1. โครงสร้างพ้นื ฐานเพื่อการทอ่ งเท่ียว
2. มลภาวะ ส่ิงอานวยความสะดวกและการบริการ
3. ทพ่ี กั อาศัย
4. การวิเคราะหด์ ้านอปุ สงคต์ ามสภาพทเ่ี ปน็ จริง
5. การพฒั นาท่ีพักของนกั ท่องเทย่ี ว รา้ นอาหาร การจบั จ่ายซือ้ ของ
6. บรกิ ารท่องเทย่ี วและบริษัททวั ร์
7. การนันทนาการและการบันเทงิ
8. ระบบการดแู ลสุขภาพ เหตุฉุกเฉนิ ระบบความปลอดภัย
9. แหล่งท่องเทย่ี ว
10. สรปุ
11. แบบฝึกหดั ทา้ ยบท

วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายโครงสรา้ งพืน้ ฐานเพ่อื การท่องเท่ียว
2. อธิบายลักษณะมลภาวะ สิ่งอานวยความสะดวกและการบริการในการพัฒนาการ

ทอ่ งเทยี่ วแบบยงั่ ยนื
3. สรปุ ลักษณะท่พี ักอาศยั ในการพัฒนาการท่องเท่ยี วแบบย่งั ยืน
4. สรปุ การวเิ คราะหด์ า้ นอปุ สงคต์ ามสภาพทีเ่ ปน็ จริงในการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแบบยั่งยืน
5. บอกลกั ษณะการพัฒนาท่ีพักของนกั ท่องเทีย่ ว ร้านอาหาร การจับจ่ายซ้อื ของ
6. อธิบายลกั ษณะการบริการทอ่ งเทยี่ วและบริษัททวั ร์ในการพัฒนาการท่องเทีย่ วแบบย่ังยืน
7. อธบิ ายลักษณะการนันทนาการและการบนั เทิงในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยนื
8. สรปุ ระบบการดูแลสขุ ภาพ เหตฉุ ุกเฉนิ ระบบความปลอดภัยในการพัฒนาการท่องเที่ยว

แบบย่ังยืน
9. สรุปและอธิบายลักษณะแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วในการพฒั นาการท่องเท่ียวแบบยงั่ ยืน

วิธสี อน
1. ศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอนวชิ าการพัฒนาการท่องเท่ยี วอย่างยัง่ ยนื
2. อาจารยผ์ สู้ อนใหห้ วั ข้อผ้เู รียนอภิปรายผลและสรุป
3. ใชป้ ัญหาเป็นฐาน ถาม-ตอบผู้เรยี น
4. บรรยายและยกตวั อย่างประกอบ

122
กิจกรรม
1. แบง่ กลุ่มใหน้ กั ศกึ ษาสรุปเนอ้ื หาสาคญั และนาเสนอ
2. การแสดงบทบาทสมมติ
3. ค้นควา้ เพิ่มเติมจากอินเตอรเ์ น็ต
4. ตอบคาถามระหว่างบรรยาย
5. ทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
สื่อการเรยี นการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาการท่องเทย่ี วอย่างย่ังยืน
2. PowerPoint ประกอบการบรรยาย
3. ภาพประกอบตา่ งๆจากอินเตอรเ์ นต็
การวัดและประเมนิ ผล
1. ประเมินผลจากการนาเสนอรายงาน
2. ประเมินผลจากการทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
3. สงั เกตพฤติกรรมผ้เู รยี นในการถาม-ตอบ
4. สังเกตจากพฤติกรรมความสนใจและการร่วมกจิ กรรมในชั้นเรียน

123

บทท่ี 6
องคป์ ระกอบของแผนกลยุทธ์ในการพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแบบยัง่ ยืน

การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบย่ังยืนมีบทบาทสาคัญเป็นอย่างยิ่งในการรักษาไว้ซึ่งวิถีชีวิต วัฒนธรรม
ทรัพยากรในด้านต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงนักท่องเท่ียวมีความต้องการที่แตกต่างๆกัน พ้ืนฐานองค์ประกอบที่จะ
ตอบโจทย์ความต้องการเดินทางไปท่องเท่ียวของผู้มาค้นหาประสบการณ์ใหม่ในรูปแบบการท่องเที่ยวต่างๆ
จะต้องคานึงถึงโครงสร้างพ้ืนฐานที่จะคอยอานวยความสะดวกเพื่อให้การท่องเที่ยวมีความสะดวกสบาย
ปลอดภัยและตอบโจทย์ความต้องการของนักท่องเที่ยวได้ นอกจากน้ีแล้วโครงสร้างพื้นฐานยังจะสร้าง
ประโยชน์ให้กับชุมชนท่ีมีการท่องเที่ยวให้ได้รับประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังน้ันกลไกการขับเคล่ือน
เพ่ือพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเท่ียวจึงไม่สามารถดาเนินการได้เพียงลาพัง แต่ต้องคานึงถึงส่ิงแวดล้อมและ
โครงสร้างพ้ืนฐานที่เก่ียวข้องด้วย ในบทน้ีจะกล่าวถึง โครงสร้างพื้นฐานเพ่ือการท่องเที่ยว ซ่ึงประกอบไปด้วย
การขนส่ง ระบบการจัดส่งน้าประปา ไฟฟ้าและพลังงาน ระบบการกาจัดสิ่งปฏิกูล การไปรษณีย์และการ
โทรคมนาคม กลไกในการควบคุมมลภาวะ สิ่งอานวยความสะดวกและการบริการ ที่พักอาศัย การวิเคราะห์
ด้านอุปสงค์ตามสภาพท่ีเป็นจริง การพัฒนาท่ีพักของนักท่องเท่ียว ร้านอาหาร การจับจ่ายซื้อของ บริการ
ท่องเท่ียวและบริษัททัวร์ การนันทนาการและการบันเทิง ระบบการดูแลสุขภาพ เหตุฉุกเฉิน ระบบความ
ปลอดภัย และแหล่งท่องเท่ียว
โครงสรา้ งพืน้ ฐานเพอ่ื การท่องเท่ียว

องคป์ ระกอบของแผนกลยทุ ธ์ในการพัฒนาการท่องเท่ยี วแบบยั่งยนื จะต้องคานึงถงึ โครงสร้างพนื้ ฐาน
เพ่อื การท่องเท่ยี วดังตอ่ ไปนี้

เทิดชาย ช่วยบารุง (2552) ได้กล่าวถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจะต้องอาศัยโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่อื
การท่องเที่ยว (Infrastructure) ประกอบดว้ ยระบบสาธารณปู โภคทอี่ านวยความสะดวกแกน่ ักทอ่ งเที่ยวในการ
เดินทางและทอ่ งเท่ยี วในแหล่งท่องเท่ยี วทเี่ ป็นจดุ หมายปลายทางไดอ้ ยา่ งสะดวกและปลอดภยั ดงั นี้

โครงสร้างพน้ื ฐานเพอื่ การท่องเท่ียว

ระบบคมนาคมขนส่ง
ระบบไฟฟ้า

ระบบประปา
ระบบการสื่อสาร
ระบบสาธารณสุข
ระบบระบายน้าและกาจดั นา้ เสีย
ระบบกาจัดขยะ

ภาพที่ 6.1 โครงสร้างพ้นื ฐานเพ่อื การท่องเท่ยี ว ทมี่ า : เทิดชาย ชว่ ยบารงุ (2552)

124

ศูนย์เพ่ือการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549: 29-57) ได้
กล่าวถึงการดาเนินการและบทบาทหน้าท่ีของการอานวยความสะดวก การบริการ และการสนับสนุนการ
ท่องเท่ยี วนั้นเปน็ ส่ิงท่ีขึ้นอยู่กบั เครือข่ายของโครงสร้างพืน้ ฐานที่เกยี่ วข้องเน่ืองกบั การท่องเที่ยวหมายความรวม
ปึงระบบการขนส่ง ระบบนา้ ใช้ พลังงาน/เชอื้ เพลงิ การกาจัดของเสีย และระบบการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคม
ยิ่งไปกว่านั้นเพ่ือท่ีจะให้คุณภาพของสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ การอานวยความสะดวกให้กับการ
ทอ่ งเที่ยวจาเปน็ ต้องมีกลไกขน้ั ตอนการดาเนินงาน และกฎข้อบังคบั เกย่ี วกับการควบคุมมลพิษ

ปัจจุบันยังมีข้อถกเถียงในประเด็นท่ีว่า แหล่งการท่องเที่ยวควรจะต้องมีเครือข่ายโครงสร้างพื้นฐานท่ี
พร้อมท้ังหมดเสียก่อนท่ีกิจกรรมการท่องเที่ยวจะเริ่มดาเนินการ ซึ่งเหตุผลในการแย้งคือในบางประเทศกาลัง
พฒั นาบางประเทศนั้น จะเห็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วสามารถดาเนินการไปได้และก็เป็นท่ีพอใจของลูกค้าทั้งๆ ทม่ี ไิ ด้มี
โครงสร้างพื้นฐานที่สมบูรณ์พร้อม นอกจากสาหรับกิจกรรมบางรูปแบบเช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หรือการ
ท่องเที่ยวที่อยู่ในพ้ืนทธี่ รรมชาติท่ีมีความเปราะบางนัน้ ก็อาจถือวา่ เป็นการดีหรือข้อได้เปรียบ จากการท่ีไม่ได้มี
ถนนหลวงตัดผ่าน เนื่องจากการที่ไม่มีเครือข่ายของถนนน้ีเป็นการป้องกันการท่องเท่ียวแบบหล่ังไหลของผ้คู น
(Mass Tourism) ท่ีอาจทาให้สิ่งแวดล้อมของแหล่งนั้นเสียหายได้ในบางกรณี เช่น รีสอร์ทท่ีอยู่ไกลออกไป
มักจะมีระบบโครงสร้างพื้นฐานแบบพ่ึงตนเอง โดยไม่ต้องพ่ึงระบบหลักของส่วนกลางแบบเมืองหรือระบบใน
ภูมิภาคแต่งอย่างใด อยา่ งไรก็ตาม เน่ืองจากรสี อรท์ ลักษณะน้จี ะมีการวางโครงสร้างการใช้อานวยความสะดวก
ต่างๆ เพ่ือให้เพียงพอกับความต้องการของรีสอร์ทเอง ดังนั้น จึงอาจทาให้เกิดปัญหาการขาดแคลนน้าและ
ปัญหาการกาจดั ขยะปฏิกลู ต่อพืน้ ท่ีท่อี ยใู่ กลเ้ คยี งได้

โดยปกติแล้วในเชิงของการวางแผนการท่องเท่ียวจะมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ครอบคลุม สิ่ง
อานวยความสะดวกตา่ งๆ เพ่ือรองรับกจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ ว ซง่ึ โดยมากการระบบโครงสรา้ งพนื้ ฐานน้ีจะถือเป็น
ความรบั ผิดชอบของภาครัฐเน่ืองจากการพิจารณาข้อเทจ็ จรงิ ดังตอ่ ไปน้ี

1. เครือข่ายการบริการต่างๆ สามารถให้บริการได้ท้ังนักท่องเที่ยวและสมาชิกชมุ ชนผู้อาศัยในท้องถ่นิ
น้นั

2. การบริการมีคุณภาพทีส่ ม่าเสมอและไดม้ าตรฐาน
3. การวางระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานที่เน้นบูรณาการนั้น จะส่งเสรมิ การพัฒนาดา้ นอนื่ ๆ ท่ีไม่ได้เกี่ยวกับ
การท่องเทย่ี วในภูมภิ าคนน้ั ไปดว้ ย
4. เครือข่ายโครงสร้างพ้ืนฐานสามารถสนับสนุนการพัฒนา ซึ่งจะส่งผลต่อเศรษฐกิจท่ีดีขึ้นของ
ประชาชนในพืน้ ที่
5. เครือข่ายควรจะได้รับการบารุงรักษาจากหน่วยงานของรัฐ เพ่ือให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานท่ี
กาหนดไว้
แผนการพัฒนาการท่องเท่ยี วแบบย่ังยนื ควรจะมกี ารวางแผนแนวทางการจดั การโครงสรา้ งพ้นื ฐานที่
ชดั เจน เพ่อื ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ดา้ นส่งิ แวดลอ้ มและสงั คม โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ท่จี าเป็นในอตุ สาหกรรมการ
ทอ่ งเท่ียวประกอบไปดว้ ย 6 ส่วนหลัก ดังแสดงในภาพ 6.2

125

ระบบการขนส่ง ระบบการจัดส่ง ไฟฟ้าและพลังงาน
นา้ ประปา

โครงสร้างพื้นฐานเพอื่ การท่องเที่ยว

ระบบการกาจัดสิง่ การไปรษณยี ์และ กลไกในการควบคมุ
ปฏิกูล การโทรคมนาคม มลภาวะ

ภาพที่ 6.2 โครงสรา้ งพื้นฐานเพอ่ื การท่องเท่ียว
ทีม่ า : ศนู ยเ์ พื่อการวางแผนการท่องเทยี่ วและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549)
การขนส่ง
เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวในด้านของการคมนาคมขนส่ง
นานาชาติและการเดินทางที่สะดวกสบายภายในแหล่งท่องเท่ียวเป็นสิ่งสาคัญอันดับแรกในการพัฒนาการ
ท่องเท่ียว นอกจากนั้นปัจจัยท้ังสองประการเป็นส่วนประกอบสาคัญที่ท้ังสนับสนุนระบบการติดต่อส่ือสารให้
สมบรู ณ์ และทั้งเปน็ สว่ นหน่ึงของระบบการตดิ ต่อสอ่ื สารที่สมบูรณ์
ส่งิ หนงึ่ ทอ่ี าจเป็นอุปสรรคต่อการติดต่อส่ือสารทมี่ ีประสิทธภิ าพ คอื การท่รี ะบบขนส่งประเภทต่างๆ มี
หน่วยงานดูแลรับผิดชอบหลายหน่วยงานแตกต่างกันไป อีกทั้งยังมีการวางระบบและเครือข่ายการขนส่งท่ี
แตกตา่ งกนั ในภมู ิภาคเอเชีย-แปซิฟกิ การวางแผนและการจดั การโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่งประกอบไป
ด้วย
1. การบริการของสายการบินและสนามบนิ นานาชาติ
2. การบรกิ ารของสายการบนิ ภายในประเทศ
3. ระบบการขนสง่ ภาคพืน้ ดนิ และเสน้ ทางสายตา่ งๆ
4. การขนสง่ ทางนา้

126

ภาพที่ 6.3 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกับการขนส่งเพอื่ การท่องเท่ยี ว
ทม่ี า : http://marisaof.blogspot.com/2010/11/blog-post_11.html
การบรกิ ารของสายการบินนานาชาติ
ปัจจัยหนึ่งที่ควบคุมลักษณะและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติ คือ การมีบริการของสายการ
บินนานาชาตทิ ี่มาในประเทศแหล่งท่องเท่ียว โดยปจั จัยสาคัญที่เป็นตวั กาหนดจานวนนักท่องเท่ียวต่างชาติท่ีใช้
บริการการบินระหว่างประเทศ ตารางบิน ความถ่ีของเที่ยวบิน จานวนที่นั่งบนเคร่ืองบินท่ีอยู่ในเส้นทางบิน
สัดส่วนของท่ีน่ังบนเครื่องบินท่ีมุ่งจุดท่องเที่ยวสาคัญ เส้นทางของสายการบินและเชื่อมโยงที่เมืองเป็ น
ศูนย์กลางของการขนส่งทางอากาศ ระยะเวลาการเดินทางค่าโดยสาร จุดเร่ิมต้นและปลายทาง ตลอดจนการ
ตัดสินใจเลือกสายการบิน
ปจั จัยสาคญั ดังกล่าวอาจไดร้ ับผลกระทบจากปัจจัยด้านการดาเนินการของอาคารสนามบิน ซง่ึ รวมไป
ถงึ
1. ระยะเวลาการทางาน (จานวนชวั่ โมงใน 1 วัน)
2. ประเภทของการดาเนนิ การ
3. ลกั ษณะของการดาเนนิ การ-ระบบนาทาง-ทางว่ิง-ทีจ่ อดเครื่องบนิ -ความสามารถในการขนถ่าย
กระเป๋าผโู้ ดยสาร-ความจขุ องอาคารผูโ้ ดยสาร-ความสามารถในการขนถ่ายสนิ ค้า-ท่กี ักเก็บเชอ้ื เพลงิ -ทจ่ี อดรถ
4. กระบวนการอานวยความสะดวก (การตรวจคนเข้าเมือง การพิธศี ลุ กากร)
5. สง่ิ อานวยความสะดวกพเิ ศษ (การบรหิ ารงาน การบรกิ ารฉุกเฉนิ หอ้ งพักบุคคลสาคญั )
การมีการดาเนินงานที่ดีของปัจจัยท่ีกล่าวมาเบ้ืองต้นน้ี ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยทาให้การท่องเท่ียว
ประสบความสาเร็จเท่านนั้ แตท่ ่สี าคญั คือ ส่วนของการบรกิ ารและการอานวยความสะดวกทจ่ี ะกล่าวถึงต่อไปน้ี
ซ่งึ จาเปน็ ตอ้ งมคี วามเหมาะสมกบั จานวนของผูโ้ ดยสารที่จะใช้บริการสายการบินเพ่ือมายงั แหล่งทอ่ งเทย่ี ว

127
การบรกิ ารสายการบินภายในประเทศ

ในบางประเทศยงั ไม่มกี ารพัฒนาสายการบินภายในประเทศและการบริการท่ีดพี อ แตใ่ นบางประเทศก็
มกี ารพฒั นาระบบเครือข่ายการบินภายในท่ดี ี ซึง่ แสดงใหเ้ ห็นว่า หากประเทศใดต้องการจะได้รับประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจอย่างเต็มท่ีจากการท่องเท่ียว ประเทศน้ันจาเป็นต้องมีเครือข่ายของสนามบินท่ีดีในการรองรับการ
เติบโตและการกระจายตัวของการท่องเท่ียว ภาคเอกชนควรจะได้รับการสนับสนุนให้พัฒนาบริการด้านสาย
การบนิ ทม่ี คี วามปลอดภยั และมคี วามน่าเชอ่ื ถือเพอื่ ส่งเสรมิ การท่องเทย่ี วในภมู ภิ าค

ภาพท่ี 6.4 ตัวอย่างสายการบินภายในประเทศ
ท่ีมา : http://thaipublica.org/2015/06/icao-1/
ระบบและเส้นทางการคมนาคมขนส่งทางบก
การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางบกให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแผนการใช้ที่ดินเป็นสิ่งที่
จาเป็น เพื่อใหบ้ รรลใุ นสงิ่ ตอ่ ไปนี้
1. ทาให้สามารถกาหนด วางแผน และจัดสรรงบประมาณสาหรับระบบเสน้ ทางเดนิ รถสายหลกั ได้
2. ทาให้เกิดการเช่ือมโยงระหว่างศนู ยก์ ารทอ่ งเท่ียวและแหล่งทอ่ งเที่ยวต่างๆ
3. ทาใหส้ ามารถจดั ระบบขนสง่ ทางบกประเภทตา่ งๆ ตามลาดบั ความสาคัญที่เหมาะสม
4. ทาให้เกิดเส้นทางเข้าถึงพ้ืนท่ีใหม่ๆ ทาให้เข้าถึงแหล่งท่องเท่ียวได้ง่ายข้ึน และทาให้เกิดการ
เชอ่ื มโยงสถานทที่ ่องเทยี่ วต่างๆ ไว้ด้วยกนั อกี ดว้ ย
อย่างไรก็ตาม เราไม่จาเป็นท่ีจะต้องมีเครือข่ายถนนที่ครอบคลุมทุกๆ แหล่งท่องเท่ียวอย่างสมบูรณ์
แบบ อันที่จริงในบางเส้นทางที่ไม่มีการพัฒนาถนนหนทางให้ดีพออาจเป็นการดี เนื่องจากเป็นการช่วยจากัด
จานวนและกิจกรรมการท่องเท่ียวท่จี ะเกดิ ขึ้นในพ้ืนที่น้ันๆ ได้
ในการวางระบบเส้นทางคมนาคมทางบกท่ีสมบูรณ์แบบน้ัน จาเป็นต้องมีการประเมินจานวน
ยานพาหนะส่วนตัว รถโดยสารประจาทาง รถแทก็ ซี่ รถเช่า และการขนสง่ แบบท้องถ่ินเพื่อบริการนักท่องเที่ยว
สง่ิ เหล่าน้ีควรจะปลอ่ ยใหเ้ ปน็ หน้าท่ีของบริษัทเอกชนและมีการดาเนนิ การตามกลไกความต้องการของตลาดจะ
ดกี ว่า โดยทางภาครัฐอาจเปน็ ผู้ควบคมุ โดยการออกใบอนญุ าตให้

128

การคมนาคมขนสง่ ทางนา้
ในมุมมองของการพัฒนาการท่องเท่ียว ระบบการคมนาคมขนส่งทางน้าเป็นสิ่งสาคัญ การขนส่งทาง

น้าใช้เป็นเส้นทางการเดินทางไปยังแหล่งท่ีไม่มีถนน หรือแหล่งท่องเที่ยวท่ียังไม่ได้รับการพัฒนา และในหลาย
กรณี ถอื เปน็ การสร้างประสบการณก์ ารท่องเทยี่ วในท้องถนิ่ ที่แสดงเอกลกั ษณ์ของท้องถ่ินไดอ้ ย่างน่าสนใจ

ในการพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางน้านั้น เป็นส่วนหน่ึงของกลยุทธ์ การบริการการคมนาคมขนส่ง
ซงึ่ จาเปน็ ต้องคานึงถึงประเภทตา่ งๆ ของเรือและการใช้สอยที่แตกต่างกันไป เช่น

1. เรอื ท่ีใช้เปน็ การคมนาคมท่ัวไป (สาหรับคนท้องถนิ่ นักธุรกิจ เจา้ หนา้ ท่ีของรฐั และนักท่องเทยี่ ว)
2. เรือทแี่ ล่นตามเสน้ ทางท่องเท่ยี ว เช่น การนานกั ท่องเท่ยี วจากแผน่ ดินใหญไ่ ปตามเกาะต่างๆ
3. เรือสาหรบั การท่องเท่ียวแบบเชา้ ไปเย็นกลับ เรือสาหรับเทีย่ วแวะชมสถานที่ และเรือสาหรับการ
เดินทางระยะสนั้ ๆ
4. เรอื ท่องเทยี่ วสาหรับการท่องเทย่ี วระยะสัน้
5. เรอื พเิ ศษใชด้ านา้ ดูปะการงั หรอื ใชใ้ นกิจกรรมชายฝั่ง ตกปลาย และเรือท่องเที่ยวตามลากูน
(Lagoon) หรือใช้ดชู วี ติ สัตว์ใต้ทะเล
ระบบการประปา
ความต้องการท่ีสาคัญที่สุดในการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกทางการท่องเท่ียวคือ ปริมาณน้าใช้ที่
เพียงพอ และความสมา่ เสมอในการจดั ส่งนา้ ท่ีสะอาดสาหรับการดื่มกิน การใชใ้ นครวั เรอื นและการนันทนาการ
ในประเทศท่ีกาลังพัฒนาบางประเทศ ความรับผิดชอบในการจัดส่งและการกรองน้าเป็นความรับผิดชอบของ
โครงการพัฒนาการท่องเท่ียวนั้น ในกรณีอ่ืนๆ รัฐจะเป็นผู้รับผิดชอบ เพ่ือประโยชน์ของทั้งนักท่องเท่ียวและ
ของประชาชนทอ้ งถ่ิน
บางประเทศจะมีปัญหาในเรื่องของความไม่เท่าเทียมกันในด้านปริมาณและคุณภาพของน้าประปาใน
เมืองใหญ่ เมืองเล็ก และในเขตชนบทท่ีห่างออกไป การปรับปรุงยกระดับของการจัดส่งน้าอาจถือเป็นความ
รับผิดชอบของเจา้ ของโครงการและยงั สามารถเออ้ื ประโยชน์ให้แกช่ ุมชนท้องถิ่นท่อี ยใู่ กล้เคียงอกี ด้วย
ความต้องการของการใช้น้าน้ันมีอยู่อย่างหลากหลายและมีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ประเภท
การใชน้ า้ เพอื่ การทอ่ งเทยี่ วมีดังต่อไปน้ี
1. นา้ สาหรับใชใ้ นครวั เรือน
2. ในโรงแรมและรา้ นอาหาร
3. ในการซักผา้
4. ในสระว่ายน้าและใช้ในการนันทนาการ (เช่น การรดน้าสนามกอล์ฟ)
5. ใช้ล้างถนน
6. ใช้ในระบบชลประทาน
7. ใชใ้ นการดบั เพลิง
ในการคานวณปริมาณความต้องการการใช้น้าข้ันพ้ืนฐานน้ัน บอ่ ยครงั้ ท่ีมิได้คานงึ ความต้องการการใช้
ประเภทอ่ืนๆ อนั เกดิ จากปัจจยั ทน่ี อกเหนือไปจากการใชป้ กติ ปัจจัยดงั กลา่ ว เช่น
1. สภาพของสภาวะอากาศ
2. แนวโน้มการใชน้ ้าอย่างฟุ่มเฟอื ยของนกั ท่องเท่ยี ว
3. ความตอ้ งการน้าท่ีมากข้นึ เพื่อใชใ้ นการเตรยี มอาหารและเคร่อื งดม่ื ในสถานท่ีหา่ งไกล
4. แนวโน้มของบริษัทและหน่วยงานของรัฐท่ีจะใช้น้าอย่างฟุ่มเฟือยเพ่ือท่ีจะรักษาสภาพของสถานท่ี
นน้ั ๆ ซ่ึงนกั ทอ่ งเที่ยวไปใช้บรกิ ารเป็นจานวนมาก

129

ความสามารถของระบบในการแจกจ่ายน้ามัน บางคร้ังต่ากว่าท่ีประเมินไว้ เนื่องจากระบบการ
แจกจ่ายน้าอาจจะถูกพวกทาลายข้าวของสาธารณะทาให้ชารุดเสียหาย อาจมีการร่ัวซึมและการขัดข้องของ
ระบบทไี่ ม่มปี ระสทิ ธภิ าพเหล่านส้ี ่งผลใหค้ วามดนั ของน้าลดลงและทาให้ระบบล้มเหลวในที่สุด
ความต้องการน้า

กิจกรรมการท่องเที่ยวมีความต้องการน้าต่อคนสูงมาก มาตรฐานท่ีใช้ท่ัวไปในเอเชียและแปซิฟิก (ต้น
คริสต์ทศวรรษ 1990s) คือประมาณ 6,000 ลิตรต่อห้องโรงแรมต่อวัน (สาหรับโรงแรม 2-3 ดาว) รวมทั้งน้าที่
ใช้ในห้องอาหาร สระว่ายน้า การเก็บกักน้าในโรงแรม และจากการใช้โดยตรงของแขกท่ีเข้าพัก หากโรงแรม
ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ท่ีมีความชื้นสูง และเป็นโรงแรมมีระดับโรงแรมอาจมีความต้องการน้าในระดับท่ีสูงกว่า
โรงแรมอ่ืน และหากในพ้ืนทีน่ ัน้ มสี นามกอล์ฟหลายแห่ง ก็อาจทาให้มคี วามต้องการน้าถึง 2.5 ล้านลติ รต่อวนั

ความต้องการปริมารน้าจะไม่มีความแน่นอน ทั้งนี้ข้ึนกับคุณภาพของน้า การบาบัดน้าเพื่อการบริโภค
จะได้คุณภาพน้าที่ต่างจากน้าเพื่อใช้ในการชลประทาน เพ่ือการทาความสะอาด เพื่อนันทนาการ หรือเพ่ือการ
ดบั เพลิง ความตอ้ งการคณุ ภาพนา้ จะต่างกนั ไปตามประเภทเชน่

1. น้าด่ืม น้าที่ใช้ประกอบอาหาร และล้างชาม ต้องเป็นน้าที่ผ่านการฆ่าเช่ือแล้ว ปราศจากการ
ปนเปือ้ น

2. น้าเพื่อการอุปโภคในครวั เรือนเช่น การอาบน้าและซักผ้า น้าจะต้องปราศจากการปนเปื้อน โดยใน
บางกรณีอาจใช้นา้ บาดาลท่ผี ่านการบาบัดแลว้ ได้

3. สระว่ายนา้ ตอ้ งการนา้ ทส่ี ะอาด ปราศจากเชอื้ และผา่ นการกรองแล้ว
4. นา้ เพอ่ื การชลประทาน อาจใช้นา้ ทผี่ า่ นการใช้แลว้ และนามาหมุนเวียนใช้ใหม่ หรอื อาจเปน็ น้าเสีย
ทีผ่ ่านมากรองมาแล้วก็ได้
แหลง่ น้า
แหล่งน้าที่สาคัญๆ รวมถึง น้าฝน น้าบาดาล และแม่น้าต่างๆ ซึ่งการจัดส่งน้าจะข้ึนอยู่กับปริมาณ
น้าฝน อ่างเก็บน้า บ่อน้าบาดาลและความสามารถในการจัดเก็บน้า ถ้าสภาพของอากาศมีการเปล่ียนแปลง ก็
จะมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการกักเก็บน้าและการบาบัดน้า ดังน้ัน ในการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวใหม่ๆ ควร
จะต้องมีการเตรียมความพรอ้ มในเร่ืองของการพง่ึ พาจนเองในการเกบ็ กักและบาบดั น้า
ในกรณีของโรงแรมหรือรสี อร์ทแบบครบวงจร ซึ่งจาเป็นต้องพึ่งตนเองในเรอ่ื งแหลง่ นา้ นนั้ จาเป็นต้อง
มีการวางแผนและออกแบบดังนี้
1. ต้องมกี ารปกปอ้ งแหล่งน้า
2. ต้องมหี ลกั ประกนั ความแน่นอนในการจดั สง่ นา้ จากแหลง่ นา้
3. ต้องมีการบาบัดน้าอย่างเหมาะสม การบารุงรักษาแหล่งกักเก็บน้า การเลือกแหล่งน้าท่ีอยู่ห่างจาก
จดุ ท่ีมีการปล่อยนา้ เสียและบริเวณทอี่ ยแู่ ออดั
โดยท่ัวไปแล้วทางเลือกที่เป็นที่นิยมคือ ระบบน้าแบบศูนย์รวมจากส่วนกลางที่สูบจากระบบจัดส่ง
สาธารณะซงึ่ มกี ารดาเนนิ การตามวิธีที่กล่าวขา้ งตน้ แล้วและมกี ารตรวจสอบคุณภาพน้าอยา่ งสม่าเสมอดว้ ย
สถานที่ต้ังของรีสอร์ทอาจจะถูกกาหนดโดยความใกล้ต่อแหลง่ น้าที่สะอาด การจัดส่งอาจจะใช้นา้ จาก
ลาธาร บ่อบาดาล หรือไม่ก็วิธีในการเก็บกักน้าฝน (เช่น การใช้หลังคาที่ทาจากโลหะสังกะสีผสมอลูมิเนียม
แทนการใช้หลงั คาทีท่ าจากใบไม)้







133

ภาพท่ี 6.5 การบาบัดและกาจดั น้าเสยี
ท่ีมา : http://www.snapa.co.th/th/wastewater_treatment.html.
การระบายลงส่ทู ะเล
การระบายลงสทู่ ะเลเป็นการทาใหเ้ จือจางโดยปล่อยน้าเสียลงสทู่ ะเล วิธีนี้จะมตี น้ ทุนการติดตงั้ ระบบที่
ราคาสูงแต่ต้นทุนการดาเนินงานจะถูกตาแหน่งท่ีจะทาการปล่อยน้าเสียจะต้องอยู่ห่างไกลจากที่เลน่ นา้ และดา
น้า และจาเป็นต้องคานึงถึงการใช้ประโยชน์จากกระแสน้าน้นั จะช่วยพัดพาเอาน้าเสียออกไปจากฝั่งทะเล โดย
จดุ ปล่อยนา้ เสยี น้จี ะตอ้ งไม่อยใู่ นแอง่ นา้ ทะเลสาบ หรอื แม่นา้ สายเล็กๆ
การระบายลงใตด้ ิน
น้าเสียจะถูกระบายออกทางคูระบายน้า ประสิทธิภาพของวิธีนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถในการดูดซึม
ของดินตรงนั้น แต่วิธีนี้จะไม่เหมาะสมหากพ้ืนท่ีระบายน้าอยู่ในบริเวณเดียวกับท่ีมีการดูดน้าบาดาลจากใต้ดิน
ขึน้ มาเพื่อใช้สอย และอาจเกิดการปนเป้อื นของนา้ ผวิ ดินไดห้ ากมนี ้าท่วมเกิดข้นึ ในบรเิ วณนัน้
ขยะ
วิธีการและข้ันตอนต่างๆ ในการบริหารการกาจัดขยะก็มีความสาคัญไม่น้อยไปกว่าการกาจัดน้าเสีย
ประเด็นหลักๆ จะเกี่ยวกับการจัดเก็บ การบาบัด และการกาจัด อุตสาหกรรมท่องเท่ียวก่อให้เกิดขยะจานวน
มากไม่ว่าจะมาจากอาหาร กระดาษ พลาสติกต่างๆ เคมีภัณฑ์ รวมท้ังขวดและเศษโลหะชนิดต่างๆ ซ่ึงขยะแต่
ละประเภทสามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ทั้งน้ัน ถ้าวิธีการกาจัดไม่ได้พอก็อาจจะทาให้สิ่งแวดล้อม
เสื่อมโทรมลงได้ และจะมีผลกระทบต่อความงดงาม ของธรรมชาติเป็นอันตรายต่อชีวิตของสัตวห์ ากินและปลา
ต่างๆ
อันตรายและปญั หาจากขยะมีดังน้ี
1. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงต่างๆ ทเี่ ปน็ พาหะนาโรค
2. เป็นท่อี าศยั ของหนแู ละแมลงหรือสตั วท์ ี่เปน็ อนั ตรายอน่ื ๆ
3. อาจจะเป็นตน้ เหตขุ องไฟไหมแ้ ละควนั พิษต่างๆ
4. กลน่ิ เหมน็ จากการบดู เนา่ ของขยะ
5. การเสอ่ื มโทรมของส่งิ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาพที่ไมน่ ่าดูของแหลง่ น้าบนผิวดินและแหล่งน้า
ใต้ดนิ ทีเ่ กิดจากนา้ การไหลบา่ ของน้าฝน

134
แนวทางในการเก็บกักขยะชนิดต่างๆ มีอยู่หลายวิธีด้วยกันที่ช่วยให้การเก็บขยะและการกาจัดทาได้

ง่ายขึ้นระบบในการจัดเก็บน้ันรวมไปถึงการลาเลียงขยะจากบ้านเรือนท่ีอยู่อาศัย ห้างร้านค้าต่างๆ รวมไปถึง
จากแหลง่ ท่องเที่ยวไปยังท่เี กบ็ ขยะของสว่ นกลาง และจากน้นั จัดเกบ็ โดยหน่วยงานสาธารณะหรือผ้รู บั เหมา

การกาจัดขยะมีความสาคัญอย่างย่ิงในการดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม การกาหนดยุทธศาสตร์ของ
การกาจัดขยะมปี จั จัยตา่ งๆ ทคี่ วรคานงึ ไว้ดงั นี้

1. ลกั ษณะ ปริมาณ และคณุ ภาพของขยะ
2. ท่ีดินที่สามารถใช้ได้ในการกาจัด รวมไปถึงความเหมาะสมทางด้านกายภาพและความเหมาะสมใน
ดา้ นอนื่ ๆ ของที่ดิน
3. การเลือกในการใชเ้ ทคโนโลยีตา่ งๆ
4. ต้นทนุ ค่าใชจ้ ่ายของทางเลือกอน่ื ๆ
ทางเลือกอื่นๆ ในการกาจัดรวมไปถึงการฝังกลบแบบควบคุม คือ การเททับชั้นขยะด้วยวัสดุท่ีไม่
ก่อให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี เช่น ดิน ทราย กรวด หรือข้ีเลื่อย หรือจะเป็นแบบหลุมปิด แบบขยะสารพิษชนิด
พเิ ศษ และแบบเตาเผา ซึ่งแตล่ ะแบบกต็ อ้ งมวี ธิ ีการทางดา้ นวศิ วกรรมและแนวทางในการปฏิบตั ิเฉพาะด้าน

ภาพที่ 6.6 อีกด้านของงานฟูลมนู ปาร์ตี้ เกาะพะงนั จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
ที่มา : http://www.oknation.net/blog/Chatsamui/2013/02/01/entry-1.
การนากลบั มาหมนุ เวียนใชป้ ระโยชน์-รีไซเคิล
ในปัจจุบันมีแนวโน้มว่าทั่วโลกกาลังหันไปสู่วธิ ีการที่จะนาขยะท่ีท้ิงแล้วกลับมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์
หรือรีไซเคิลซ่ึงมีเหตุผลหลายอย่างท่ีสนับสนุนแนวคิดนี้เช่น เหตุผลด้านนิเวศวิทยา ด้านเศรษฐศาสตร์ และ
ดา้ นภูมิศาสตร์
เหตุผลด้านนิเวศวิทยาในการหมุนเวียนเอาขยะกลับมาใช้ ก็สืบเนื่องมาจากความเสียหายของ
สิ่งแวดล้อมและมลพิษที่อาจเกิดข้ึนได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากใช้วิธีการทิ้งขยะลงไปในทะเลโดยตรงซ่ึงจุด
ปล่อยอาจอยู่ในแนวรัศมีปะการังหรือในจดุ ที่ไม่มีคล่ืนและการเปลี่ยนแปลงของการไหลวนของนา้ ทะเลมาช่วย
พัดพาของเสียออกไป หรือแม้แต่ใช้วิธีการกาจัดขยะโดยวิธีการฝังกลบก็ยังไม่สามารถยืนยันได้ว่าจะไม่
ก่อให้เกดิ ผลกระทบต่อทรพั ยากรดนิ และแหล่งน้าในบริเวณนน้ั เหตุผลทางเศรษฐศาสตร์กค็ อื เมื่อเทยี บกันแล้ว

135

ค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ในการกาจัดขยะโดยวิธีต่างๆ น้ันต่ากว่าค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ในการฟื้นฟูสภาพส่ิงแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทาลายไปเป็นอย่างมาก ส่วนในด้านของภูมิศาสตร์ก็คือในการกาจัดขยะต่างๆ ที่
เกิดข้นึ น้นั จาเป็นต้องใชท้ ด่ี นิ ท่ีมีอยู่เปน็ จานวนมาก

จากเหตุผลต่างๆ เหล่าน้ีทาให้กระบวนการกาจัดขยะมุ่งเน้นไปในการหมุนเวยี นนากลับมาใชใ้ หม่มาก
ขึน้ เรือ่ ยๆ ว่าเป็นวิธีการทเี่ หมาะสมทส่ี ุด กระบวนการดาเนินการคือ การแยกประเภทขยะทีส่ ามารถนากลับมา
ใช้ใหม่ได้ เช่น กระดาษ พลาสติก กระจกแก้วต่างๆ และโลหะบางชนิด และการสร้างระบบการเก็บขยะ การ
จัดเกบ็ การอดั แนน่ และการเผาทาลาย

ในประเทศที่พัฒนาแล้วสามารถดาเนินการวิธีน้ีได้ค่อนข้างง่ายไม่ว่าจะเป็นระบบจัดเก็บ การจัดสรร
และการแปรสภาพเนื่องจากในประเทศเหล่านี้มีตลาดท่ีพร้อมในการรองรับขยะท่ีเกิดจากอุตสาหกรรมต่างๆ
อยู่แล้วซึ่งวิธีการนาขยะกลับมาใช้ใหม่นี้อาจปฏิบัติได้ยากสาหรับประเทศเล็กๆ ที่มีลักษณะเป็นเกาะท้ังหลาย
อย่างไรก็ตามการคิดค้นวิธีที่เหมาะสมในการหมุนเวียนขยะบางชนิดอาจนาไปสู่การพัฒนาสินค้าส่งออกใหม่ๆ
ขน้ึ ได้ หรอื อาจจะช่วยลดแรงกดดันตอ่ ส่ิงแวดล้อมท่เี ปราะบางในบรเิ วณทีใ่ ช้ในการเก็บกักขยะ หรอื ไม่ก็อาจจะ
เกดิ วสั ดุใหม่ ขน้ึ เพ่ือปอ้ นอุตสาหกรรมท้องถิน่
การไปรษณีย์และการโทรคมนาคม

การเข้าถึงการบริการด้านไปรษณีย์และการโทรคมนาคม ความสะดวก และความมีประสิทธิภาพของ
ระบบส่อื สารมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อนักธรุ กิจในระหวา่ งการเดินทางไปสถานทีต่ ่างๆ

ระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานของการบริการด้านไปรษณีย์และการสื่อสารโทรคมนาคมรวมไปถึงการบริการ
ทางด้านส่งจดหมายและเอกสาร โทรศัพท์ โทรสาร และระบบการส่ือสารด้านอิเลคทรอนิกส์อื่นๆ การส่ง
สัญญาณวิทยุและโทรทัศน์ นอกเหนือจากเครือข่ายเหล่าน้ีอันเปน็ การบริการสาธารณะแล้วธุรกิจบริการขนาด
ใหญ่ เช่น โรงแรมหรือรีสอร์ทก็มีบริการเหล่านี้เป็นของตัวเองด้วย การวางแผนโครงสร้างพ้ืนฐานในกลุ่มนี้
จาเป็นต้องคานึงถึงเส้นทางสื่อสาร ชุมสายโทรศัพท์ สถานีถ่ายทอด ระบบเสาอากาศ และการส่งสัญญาณ ซ่ึง
ระบบสาธารณูปโภคเหล่าน้ีมีแนวโน้มที่จะมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วเมื่อมีการพัฒนา
เทคนิคใหมๆ่ เกิดข้นึ กม็ ีความต้องการความเช่ียวชาญในการบริหารและการปฏิบตั ิเพมิ่ ข้ึนเป็นเงาตามตัว

การบริการทางไปรษณีย์ระหว่างสถานที่ท่องเที่ยวในแถบเอเชียและแปซิฟิกกับนอกภูมิภาคน้ัน
จาเป็นต้องอาศัยสายการบินระหว่าประเทศ และเช่ือมโยงสถานท่ีที่ห่างไกลด้วยบริการของสายการบิน
ภายในประเทศ รวมถงึ การคมนาคมทางทะเล

การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีทางดา้ นส่อื สารโทรคมนาคมและสารสนเทศทาใหม้ ีความ
จาเป็นท่ีต้องนาเร่ืองเหล่านี้เข้าพิจารณาในระดับกลยุทธ์ย่อยซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของการวางแผนและกลยุทธห์ ลกั
ของการทอ่ งเท่ยี วระดบั ชาติ
กลไกในการควบคมุ มลภาวะ

การรักษาสภาพแวดล้อมให้มีความสมบูรณ์สวยงามและสะอาดอยู่เสมอน้ันเป็นสิ่งจาเป็น โดยท่ัวไป
แล้วระดบั คณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม เชน่ คุณภาพน้าและอากาศซ่ึงปราศจากมลภาวะรวมทัง้ ระดับของความสวยงาม
ของสภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อความดึงดูดความน่าสนใจของแหล่งท่องเท่ียวเป็นอย่างมาก หากสิ่งอานวย
ความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐานไม่ได้เตรียมจะรองรับขยะและน้าเสียท่ีเกิดจากกิจกรรมท่องเที่ยว และไม่มี
ระบบควบคุมท่ีเหมาะสมก็จะทาให้เกิดมลภาวะต่อส่ิงแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว ซ่ึงแน่นอนว่าจะส่งผลลบตอ่
นักท่องเท่ียว ผลที่ตามมาก็คือ จานวนนักท่องเที่ยวที่ลดลง รวมทั้งรายได้ท่ีควรจะได้ลดลงด้วย มลพิษต่อ

136
ส่ิงแวดล้อมไม่เพียงแต่จะทาให้รายได้จากการท่องเที่ยวลดลงเท่านั้น แต่ยังทาให้คุณภาพส่ิงแวดล้อมน้ันเส่ือม
ลงดว้ ย

การควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปแล้วมักจะปรากฏอยู่ในกฎพระราชบัญญัติต่างๆ เช่น
ข้อบังคับเก่ียวกับการควบคุมคุณภาพน้า มาตรฐานน้าเสียท่ีจะปล่อยออกมา กฎเทศบาลและมาตรฐานท่ัวไป
ของสาธารณูปโภค ในบางประเทศกฎหมายเก่ียวกับการประเมินผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม (EIA) ซึ่งรวมถึง
มาตรฐานต่างๆ อันเป็นท่ียอมรับ พร้อมกับมาตรฐานต่างๆ ในการจัดการให้เกิดมลภาวะน้อยที่สุด กฎหมาย
บางข้อก็กาหนดให้มีระบบในการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม การระวังและบังคับใช้มาตรการการควบคุม
มลภาวะนน้ั โดยทว่ั ไปแลว้ มักจะอยู่ภายใต้หนว่ ยงานตา่ งๆ ของรัฐบาล หรือไม่กอ็ ยภู่ ายใต้ความรับผดิ ชอบของ
องค์กรต่างๆ ที่ทาหน้าทเี่ กยี่ วกบั สาธารณสขุ กจิ การสาธารณะท่ีดิน และการอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม

มาตรการควบคุมมลภาวะ หมายถึง การควบคุมมลภาวะทางน้า มลภาวะทางอากาศ มลภาวะทาง
เสียง และมลภาวะทางดิน มลภาวะเหล่าน้ีเกิดข้ึนเน่ืองจากการจัดการท่ีไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอในเรื่อง
ตา่ งๆ ต่อไปน้ี คือ

1. การกาจดั ขยะของเสีย
2. การทิง้ ขยะไมเ่ ปน็ ทเ่ี ปน็ ทาง
3. การกาจัดส่งิ ปฏกิ ลู
4. ตาแหนง่ ทปี่ ล่อยนา้ เสีย
5. สถานท่กี ลบฝงั ขยะ
6. กลนิ่ เหมน็ เนา่
7. ควนั จากทอ่ ไอเสยี
8. เสยี งดงั จากโรงงานอุตสาหกรรม
ในการควบคมุ มลภาวะทมี่ ปี ระสทิ ธิผลจาเปน็ ตอ้ งมปี ัจจัยต่างๆ ประกอบดงั นี้
1. มีการออกกฎหมายทเ่ี หมาะสมและมีการบงั คบั ใช้โดยออกกฎข้อบงั คับต่างๆ
2. มีองค์กรหรือกลุ่มขององค์กรที่มีอานาจหน้าท่ีในการดาเนินงาน ติดตามดูแลและดาเนินการให้
เป็นไปตามกฎหมาย
1. ระบบของการทางานทเ่ี ปน็ มาตรฐาน
2. ตอ้ งมรี ะบบตรวจสอบและเฝ้าระวงั ทีด่ ี ซ่ึงอาจจะเปน็ การบริหารของหน่วยงานของรัฐ
3. มีบทลงโทษสาหรบั ผฝู้ ่าฝนื
ปัจจุบันบางประเทศมีระบบการควบคุมมลภาวะที่ยังไม่ดีพอซ่ึงอาจมีสาเหตุมาจากการท่ีไม่ได้รับการ
สนับสนุนอย่างเพียงพอจากส่วนกลาง หรืออาจขาดงบประมาณสนับสนุน หรืออาจขาดความชัดเจนและความ
เข้มแข็งของหน่วยงานในการปฏิบัติงาน ซ่ึงระดับของการเอาใจใส่ของรัฐบาลในเรื่องนั้นจะสะท้อนให้เห็นถึง
แนวทางนโยบายของรฐั ในเร่ืองส่งิ แวดล้อม โดยบางรัฐบาลอาจตอ้ งการทจ่ี ะผลกั ดนั การพัฒนาในทกุ ๆ ดา้ นโดย
มิได้มีการคานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางด้านสุขาภิบาลและสาธารณสุข ดังนั้น รัฐบาลควรตระหนักว่า
มาตรการควบคุมมลภาวะนั้นมิได้เป็นอุปสรรคของการพัฒนา แต่ควรจะมองว่าเป็นเคร่ืองมือท่ีจะช่วยให้เกิด
ประโยชน์ทั้งกบั แหลง่ ท่องเท่ียว นักท่องเทย่ี ว รวมไปถึงชาวบ้านทอ่ี ยู่ในชมุ ชนด้วย

137

ส่งิ อานวยความสะดวกและการบริการ
ในบริบทของกลยุทธ์ทางด้านการท่องเท่ียวเชิงบูรณาการนั้น มีความจาเป็นที่จะต้องรู้ถึงศักยภาพการ

ใช้ทรัพยากรและขีดความสามารถด้านการรองรับ และประเภทของสิ่งอานวยความสะดวกท่ีจาเป็นต้องมีและ
ได้มาตรฐานที่เหมาะสมด้วย โดยท่ัวไปสิ่งอานวยความสะดวกและการบริการในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวน้ี
เป็นตัวกาหนดท่ีสาคัญว่าแหล่งท่องเที่ยวใดจะประสบความสาเร็จหรือไม่ นี่เป็นความจริงในด้านที่วา่ สิง่ เหลา่ นี้
ช่วยเสริมภาพพจน์ให้กับแหล่งท่องเที่ยวซ่ึงอาจจะดึงดูดให้นักท่องเท่ียวอยู่นานขึ้นและอาจจะกลับมาเท่ียวซ้า
อกี

เม่ือการวางแผนได้นาไปสู่การปฏิบัติเป็นระยะเวลาหน่ึงแล้ว คาแนะนาก็คือว่า ถ้ามาตรฐานและคุ
คุณภาพของส่ิงอานวยความสะดวกและการบริการเหล่านั้นย่ิงสูงเท่าใดก็ยิ่งทาให้ปร ะเทศนั้นเป็นที่น่าเที่ยว
ย่งิ ขึ้นน้แี สดงให้เห็นถึงความสาคัญของเรอ่ื งตา่ งๆ ในสามกลุม่ หลกั

1. ส่งิ อานวยความสะดวกและการ 2. สง่ิ อานวยความสะดวกและการ 3. การให้บริการด้านอนื่ ๆ
บริการหลกั - การบรกิ ารด้านสขุ ภาพ
บรกิ ารรอง อนามยั
- ทพ่ี ัก (โรงแรม) - ด้านฉกุ เฉินและความ
- รา้ นอาหาร - แหล่งจับจา่ ยซื้อของ ปลอดภัย
- การบรกิ ารการเดนิ ทางทางบก นา้ - สถานทีบ่ นั เทิง พกั ผ่อนหย่อนใจ - การบริการดา้ นการเงนิ
อากาศ - สถานทก่ี ารใหข้ อ้ มูลท่องเทย่ี ว - การเอาใจใสด่ ูแลนักทอ่ งเที่ยว
- การบริการนาเท่ียวของบริษทั ทวั ร์
ตา่ งๆ

ภาพที่ 6.7 โครงสร้างพ้นื ฐานเพ่ือการท่องเท่ียว
ทม่ี า : ศนู ยเ์ พ่ือการวางแผนการท่องเทีย่ วและการแก้ไขปญั หาความยากจนแห่งเอเชยี (2549)
คณุ ลกั ษณะพ้ืนฐาน
โดยท่วั ไประดบั ของสิ่งอานวยความสะดวกและการบริการขนั้ พ้นื ฐานของแหล่งท่องเท่ยี วแตล่ ะแห่งน้ัน
จะมีความแตกต่างกันข้ึนกับประเภทกิจกรรมของนักท่องเท่ียว และแตกต่างกันไปตามแต่ประเทศว่าเป็น
ประเทศหรือแหลง่ ทด่ี ึงดูดนักทอ่ งเทย่ี วมากหรอื น้อย
ความซับซ้อนในการวางแผนส่ิงอานวยความสะดวกและการบริการขั้นพ้ืนฐานขึ้นอยู่กับทัศนคติของ
รัฐบาลแต่ละประเทศวา่ เปน็ อยา่ งไร ในบางประเทศแนวทางการวางแผนอาจเปน็ ไปตามกลไกของตลาด ดงั นน้ั
การจดั สรรสิ่งอานวยความสะดวกและบริการรวมไปถึงคุณภาพและปริมาณ และพน้ื ท่ที ี่ส่ิงอานวยความสะดวก
จะเข้าถึงจะขึน้ กบั แรงผลกั ดนั ทางการตลาด
แต่ในอีกด้านหนึ่งการพัฒนาการท่องเที่ยวอาจจะอยู่ในความดูแลและควบคุมโดยรัฐบาลทาให้การ
ดาเนินนโยบายและการปฏิบัติในการพัฒนาสอดคล้องกับการใช้ที่ดินและดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจอย่าง
ระมัดระวัง ในส่วนนี้โดยทั่วไปแล้วใช้ได้ด้วยกันท้ังสองแบบถึงแม้ว่าการนามาปฏิบัติแล้วมักจะเป็นวิธีแบบ
ควบคมุ การวางแผนการทอ่ งเทีย่ วมากกวา่
สาหรับรีสอร์ทที่มีการวางแผนแบบบูรณาการ มักเป็นไปได้และก็สมเหตุสมผลท่ีจะทาให้สิ่งอานวย
ความสะดวกและบรกิ ารมีความเอือ้ อานวยซ่ึงกนั และกันในเร่ืองของมาตรฐานขีดความสามารถ การกระจายตัว
ของสิ่งอานวยความสะดวกและ....หรือระดับการให้บริการ โดยทั่วไปแล้วลักษณะพื้นฐานของสิ่งอานวยความ
สะดวกและการบริการในการทอ่ งเท่ียวประกอบไปด้วย

138

1. ความหลากหลายในเร่ืองของขีดความสามารถ ขอบข่าย ระดับของความมากน้อย คุณภาพ และ
ปริมาณ

2. แบบปดิ หรอื เขตท่มี ีแนวโน้มในการจดั ไม่ซบั ซ้อนระหว่างตวั เช่ือมหลกั และเสน้ ทางย่อย
3. สถาปตั ยกรรมทค่ี ลา้ ยคลึงกนั การโฆษณา การเลือกสถานท่ี
4. จุดเด่นหรือสิ่งที่น่าสนใจของสิ่งอานวยความสะดวกไม่วา่ จะอยู่ในลักษณะของกิจกรรมท่ีสาคัญเช่น
โรงแรมขนาดใหญ่ หรือตาบลที่มีธุรกิจสาคัญๆ เช่นเป็นที่รวมของธนาคารต่างๆ หรือไม่ก็อาจจะเป็นร้านขาย
ปลกี ขนาดใหญ่กไ็ ด้
ส่วนมากการจัดส่ิงอานวยความสะดวกและริการจะคานึงถึงประเภท คุณภาพ มาตรฐาน ระดับชั้น
และส่งิ ทเ่ี คยปฏิบตั ิกนั มานอกเหนือจากนี้แลว้ ยังขึ้นอยู่กับทัศนคตขิ องประชาชนท้องถิ่นและความคาดหวังของ
นักท่องเท่ียว การกระจายตัวของส่ิงอานวยความสะดวกและบริการยังอาจจะถูกกาหนดโดยแหล่งรวมของ
ศิลปะ การแสดง และหัตถกรรมท้องถิ่น อีกเรื่องหนึ่งท่ีแสดงให้เห็นถึงสภาวะของชุมชนน้ันๆ ก็คือ การที่ส่ิง
อานวยความสะดวกและบริการตามปกติได้รบั การเกื้อหนุนด้วยการจัดตลาดนัดในรูปแบบต่างๆ ขึ้น ซึ่งอาจจะ
เป็นเวลาใดเวลาหนึ่งของวันหรอื ไม่กเ็ ปน็ วันใดวันหนงึ่ ของแต่ละอาทติ ย์
สิง่ อานวยความสะดวกและการบรกิ ารในเขตทอ่ งเทย่ี ว
ก่อนที่จะพิจารณาถึงสิ่งอานวยความสะดวกและบริการแต่ละอย่างเป็นการพิจารณาเพื่อเป็นแนว
ทางการวางแผนทางยุทธวิธีและการปฏิบัติเพ่ือท่ีจะนามาใช้ให้เกิดความต่อเนื่องกันทางภูมิทัศน์ การวางแผน
เชงิ บูรณาการของสิ่งอานวยความสะดวกและการบริการอาจจะสัมฤทธผิ ลได้ โดยใชเ้ คร่อื งทางการวางแผนเช่น
เขตธุรกจิ การทอ่ งเท่ยี ว (Tourism Business District-TBD) เครื่องมือในการวางแผนนี้ได้มาจาก
1. ศูนย์กลางของเขตเศรษฐกิจตามปกติ (Central business District-CBD) ซ่ึงการค้าส่วนใหญ่จะ
ประกอบด้วยรา้ นค้า สถานบันเทงิ และสานักงานซง่ึ ปกตจิ ะรวมตัวกนั อย่อู ย่างหนาแน่น
2. เขตธุรกิจนันทนาการ (Recreational Business District-RBD) ซึ่งได้มาจากการศึกษาในประเทศ
อเมรกิ าเหนือเกยี่ วกับการทาธุรกิจตา่ งๆ ในเมืองทอ่ งเท่ียว
เขตธุรกจิ การท่องเท่ยี ว (TBD) อาจอยู่ในรูปแบบใดในสามประการต่อไปน้ี
1. ในเขตการค้าทั้งหมดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมืองพักผ่อนเล็กๆ ท่ีมีลักษณะทางภูมิทัศน์เช่นเดียวกับ
ศนู ย์กลางของเขตเศรษฐกิจปกติ (CBD)
2. การรวมตัวกันแบบพิเศษของกิจกรรมที่สืบเน่ืองจากการท่องเที่ยวที่ชัดเจนเป็นสัดเป็นส่วน
เชน่ เดยี วกับเขตพกั ผ่อนหย่อนใจและธุรกิจนนั ทนาการ (RBD)
3. แถบพ้ืนที่ทางราบท่ีเช่ือมโยงระหว่างเขตการค้าสองแหง่ หรืออาจจะเป็นแถบพื้นที่ขนานไปกับแถบ
ทะเลหรอื รสี อร์ทชายหาด หรืออาจจะเปน็ เสน้ ทางทม่ี ่งุ ไปสสู่ ถานท่ีท่องเท่ยี ว
ในแต่ละกรณีเขตธุรกิจการท่องเที่ยว (TBD) ต้องได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษเน่ืองจากมาตรฐานการ
วางแผนและแนวความคิดในการพัฒนาซึ่งนามาใช้กับการจัดระเบียบทางรูปธรรมของสิ่งอานวยความสะดวก
และบริการอาจจะมีผลกระทบที่สาคัญตอ่ ภาพพจน์ของแหลง่ ท่องเที่ยว
การใช้ความต้องการของตลาดเป็นตัวกาหนดลักษณะของการรวมกลุ่มและการจัดระเบียบของส่ิง
อานวยความสะดวกและบริการกเ็ ปน็ ทางเลือกของกลยุทธข์ องการวางแผนและเป็นแนวทางที่สมเหตุสมผล แต่
ต้องมีมาตรการในการควบคุมการก่อสร้างระบบจราจร สาธารณสุขและความสวยงาม ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย
“แบบเสรีเต็มที่” คือให้ตลาดเป็นตัวกาหนดหรือไม่ก็ตาม ควรจะต้องคานึงไว้ว่าทางเลอื กแบบการวางแผน ซ่ึง
อาศัยรูปแบบของเขตธุรกิจการท่องเท่ียว (TBD) น้ันอาจจะมีส่วนช่วยให้เกิดความน่าสนใจโดยรวม ความมี
ประสิทธิภาพและความพงึ พอใจของลูกค้าในศนู ย์ธุรกจิ การทอ่ งเท่ียวแห่งน้ันอาจเพ่ิมข้ึนอย่างมาก

139

เขตธุรกิจการท่องเท่ียว (TBD) ไม่เพียงแต่จะเป็นจุดรวมของสิ่งอานวยความสะดวกและการบริการท่ี
เก่ียวข้องกับการท่องเท่ียวเพ่ือชาวต่างชาติและนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะ แต่ยังเป็นสถานที่เข้าถึงได้และใช้
ประโยชน์ของชุมชนท่ีอาศัยอยู่ในบริเวณน้ันด้วย ในบางทัศนะเขตพิเศษเช่นน้ีเปรียบเสมือนปรากฏการณ์ทาง
สังคมควบคู่ไปกับทางด้านเศรษฐกจิ ทาให้นกั ท่องเที่ยวและชมุ ชนนั้นใช้ชวี ิตประจาวันรวมกัน ไม่ว่าจะเป็นการ
เดินดูของตามร้านค้า สนุกสนานไปกับการบนั เทิงท่ีจัดขึ้นในที่สาธารณะ การได้เข้าถึงสินค้าพิเศษต่างๆ การใช้
บริการของร้านอาหารกลางแจ้งและร้านกาแฟรมิ ถนนต่างๆ เป็นตน้
เขตพเิ ศษนอ้ี าจจะเปน็ ศนู ย์รวมของยุทธศาสตร์ในการใช้พ้ืนท่ีเพือ่ กิจกรรมหนึ่งในสามรูปแบบดังนี้

1. เปน็ เขตการค้าท่หี นาแน่น (Concentrated commercial District)
2. เขตทีม่ กี ิจกรรมเกี่ยวเนือ่ งกับการทอ่ งเทีย่ ว (Discrete Tourism-Related Precinct)
3. หรืออาจจะเป็นบริเวณหรือเส้นทางที่มีกิจกรรมของการท่องเที่ยว (Linear Corridor of Tourism
Activity)
การกาหนดเขตไม่เป็นเพียงเคร่ืองมือในการวางแผนในรีสอร์ทขนาดใหญ่เท่าน้ัน หลักการของการ
กาหนดเขตก็คือ การจัดระเบียบของสิ่งอานวยความสะดวกและบริการต่างๆ เพื่อให้ส่ิงเหล่านเ้ี ป็นจุดเด่นของรี
สอร์ทซง่ึ พร้อมไปด้วยเอกลกั ษณ์ของความสวยงาม ความมปี ระสิทธภิ าพและความสะดวกสบาย
เขตธุรกจิ การทอ่ งเท่ยี ว (TBD) ในมติ ขิ องการเป็นเครื่องมอื ของการวางแผนอาจนามาใชเ้ พ่ือให้เกิดการ
รวมตัวกนั และทาให้เกดิ จดุ เดน่ ในสิง่ อานวยความสะดวกและการบริกาต่างๆ ทีส่ รา้ งสรรค์ขน้ึ มาเพือ่ สนองความ
ต้องการของนักท่องเท่ียว เครื่องมือน้ีไม่จาเป็นต้องเป็นกฎเกณฑ์เพ่ือนาไปปฏิบัติในครั้งเดียวหรือนาไปใช้กับ
พ้ืนที่ใหญ่โต สาหรับบางประเทศแล้วการดาเนินนโยบายแบบก้าวหน้าไปเร่ือยๆ ตามความเจริญของการ
ท่องเที่ยว เขตพิเศษเชนนี้อาจจะกาหนดข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนให้การพัฒนาเป็นไปตามท่ีกาหนด
ไว้
ท่ีพักอาศัย
ในเง่ือนไขของการลงทุนโดยเฉพาะอย่างย่ิงโดยภาคเอกชนแล้วท่ีพักอาศัยของนักท่องเที่ยวเป็นการ
ลงทนุ ทแี่ พงทีส่ ุดในสิ่งอานวยความสะดวกของรีสอร์ทต่างๆ ในระยะแรกของการวางแผนจาเปน็ ทีจ่ ะต้องมีการ
สารวจท่ีพักอาศัยท่ีมีอยู่แล้วอย่างละเอียด พร้อมท้ังพยากรณ์ถึงแนวโน้มและความต้องการที่น่าจะเกิดข้ึน
นอกจากนี้แล้วในระยะเร่ิมต้นของการวางแผนแบบองค์รวมน้ี จาเป็นต้องมีการประเมินตาแหน่งของสถานทที่ ี่
ต้องการ (แยกเป็นตาแหน่งของสถานท่ีเด่ียวๆ หรือรวมกันเป็นกลุ่มในเขตพิเศษ) และลักษณะของ
สถาปัตยกรรมที่เปน็ นิยมต้องการดว้ ย
มีหลักฐานที่ชี้ให้เห็นว่าเอกลักษณ์และรูปแบบของรีสอร์ทได้แปรเปลี่ยนไปอย่างมากมายภายในไม่กี่
สิบปีมานี้ ท่ีพักอาศัยแบบใหม่เช่น แบบทาอาหารกินเอง หรือโรงแรมแบบประหยัด และสถานที่ต้ังแคมป์ได้
พัฒนาขึ้นมากเพ่ือสนองความต้องการของตลาดท่ีเพ่ิมมาข้ึนเร่ือยๆ ในด้านความต้องการความเป็นอิสระ การ
พึ่งพาตนเอง การไม่เป็นพิธีรีตอง ความประหยัด และความสะดวกสบายการเปล่ียนแปลงน้ีมีอิทธิพลมาจาก
การเปลี่ยนพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวโดยการเปล่ียนแปลงเหล่นี้ทาให้เกิดการพัฒนาเพ่ือที่จะตอบสนองต่อ
ความต้องการพิเศษนนั้ ๆ เช่น
1. ความตอ้ งการเฉพาะเจาะจงของนักท่องเท่ียวทม่ี ีเวลาน้อย ทาให้เกดิ การสร้างโมเต็ลและโรงแรมขึ้น
ท่สี นามบิน
2. ความตอ้ งการในการพักผ่อนเฉพาะอยา่ ง เชน่ ริมนา้ ท่มี ที า่ เทยี บเรือ โรงแรมรีสอรท์ ท่ีเนน้ เร่ืองกีฬา
และสุขภาพ
3. ความตอ้ งการเฉพาะของนักธรุ กิจท่องเทย่ี ว รวมถึงผแู้ ทนทเ่ี ขา้ ร่วมการประชุมและสมั มนา

140

4. ห้องพักท่ีจดั สรรใหพ้ กั อาศัยเป็นคร้งั คราว (Time-Share Apartments)
5. ศูนย์การค้าแบบครบวงจร ซึ่งทพี่ กั ของนักทอ่ งเที่ยวกเ็ ปน็ ส่วนหน่งึ ของศนู ย์
การสารวจทีพ่ ักอาศัยที่มอี ย่แู ล้ว
ข้อมลู หลักทีต่ ้องการในการทาความสารวจ คอื
1. จานวนของท่ีพักอาศยั ท่ีลงทะเบียนอย่างถูกต้อง รวมถึงจานวนหอ้ งและเตียง
2. การกระจายตัวด้านภูมิประเทศ ตาแหน่งท่ีต้ังต้ัง ชนิด และมาตรฐาน สถานที่ๆ ได้ลงทะเบียนไว้
แลว้ จานวนหอ้ งและจานวนเตยี ง
3. ขอบข่ายของการบริการและเครื่องไม้ใช้สอยสาหรับแขกท่ีมาพัก ณ สถานที่นั้น (ห้องอาหาร สิ่ง
อานวยความสะดวกด้านนนั ทนาการ) และนอกสถานท่ี (เสน้ ทางเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่ง)
นอกจากน้ียังมีความจาเป็นที่จะต้องใหม้ ีความชดั เจนต้ังแต่เร่ิมต้นการสารวจในการจาแนกท่ีพักอาศัยออกเป็น
ชนดิ ตา่ งๆ ซง่ึ อาจจะรวมถงึ
1. โรงแรมในตวั เมืองอยู่ในศนู ย์กลางของเขตเศรษฐกจิ ปกติ (CBD) และเขตธรุ กจิ การท่องเท่ยี ว (TBD)
รีสอรท์ อยใู่ นสถานที่ทีโ่ ดดเดีย่ ว โรงแรมประเภททรานชทิ (Transit hotels) ทส่ี นามบินหรือตามถนนหลวง
2. โรงแรมแบบอพาร์ตเม้นท์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเภทที่เจ้าของไม่ได้อยู่เอง มีผู้พักอาศัยชั่วคราว ผู้
ลงทุน และพวกไทม์แชร์ (Time shares)
3. คอนโดมเิ นียม
4. ทีพ่ ักรวมบริการด้านอาหาร (Boarding house) เกสตเ์ ฮาส์ โรงแรมส่วนตัวเล็กๆ หรอื ไมก่ เ็ ป็นบ้าน
เช่าทีเ่ ปิดหอ้ งใหน้ กั ท่องเทย่ี วเขา้ พัก
5. ท่ีพกั สาหรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วประเภท Backpacker
6. สถานทีท่ ี่ต้งั แคมป์
7. การต้งั แคมป์ กระท่อม รวมถงึ กระท่อมใบและกระท่อมซาฟารี
การวเิ คราะห์ดา้ นอปุ สงค์ตามสภาพท่เี ปน็ จริง
ประเทศท่ีการพัฒนาการท่องเทีย่ วแล้วหรือทีก่ าลังพฒั นาอยู่ อาจจะทาการประเมินได้อย่างม่ันใจโดย
อาศัยข้อมูลจากปริมาณนักท่องเท่ียวท่ีผ่านเข้ามาและจากการลงทุน แต่บางประเทศยังคงต้องระวังกับ
คาดคะเนของการเตบิ โตจากการที่สัดสว่ นการลงทนุ ของอสงั หารมิ ทรัพยข์ องโรงแรมและรสี อรท์ มีอตั ราทีส่ ูง ทา
ให้ไม่สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงของความต้องการลักษณะต่างๆ ของกลไกตลาดได้อย่าง
งา่ ยดาย โดยท่ัวไปแลว้ การพยากรณค์ วามตอ้ งการควรจะต้องคานึงถึง
1. ความสวยงามโดยทั่วไปของแหล่งท่องเทีย่ ว
2. การเดนิ ทางไปทางทสี่ ะดวกของนักท่องเทย่ี วระหว่างประเทศ (สายการบนิ ระหวา่ งประเทศ ตาราง
การบนิ และราคา)
3. การแขง่ ขนั ในระดบั พืน้ ท่ใี กลเ้ คยี ง
4. กระแสของนักทอ่ งเทยี่ วต่างประเทศโดยทวั่ ไป
5. ชนิดท่พี ักอาศัยที่เหมาะกับความคาดหวังของตลาด
6. ประเภทของนกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งประเทศทตี่ ้องการ
7. ความแตกต่างของนักท่องเทีย่ วตามฤดูกาล
รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวสาหรับบางประเทศในแถบเอเชียและแปซิฟิกไม่ได้เป็นไปตามความ
ต้องการของตลาดและศักยภาพของแต่ละประเทศมากนัก แต่กลับเน้นการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกและ

141

บริการท่ีจะมาสนับสนุนแหล่งท่องเท่ียวเชงิ ธรรมชาติและวัฒนธรรม การทดสอบท่ีแท้จริงอยู่ที่ความสามารถที่
จะสร้างสินค้าการท่องเที่ยวซึ่งเปรียบเหมือนกับด้านอุปทานของสมการกลไกตลาด และในบางกรณี การ
พยากรณค์ วามต้องการทีแ่ ทจ้ ริงจะต้องคานงึ ถึงขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ี

1. ระดับข้ันของการพัฒนาการท่องเที่ยวในปัจจุบันและโอกาสความสนใจของผู้ลงทุนต่างประเทศใน
ดา้ นอุตสาหกรรมท่องเทยี่ ว

2. แหล่งดงึ ดูดนักทอ่ งเที่ยวทีม่ อี ยู่
3. เงินทุนท่ีหาได้จากฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายเอกชนที่จะมาสนับสนุนการก่อสร้างที่พักอาศัยใหม่ พร้อม
กับส่งิ อานวยความสะดวก การบริการ และเคร่อื งไม้ใชส้ อย
4. ความจากัดทางกายภาพในการพฒั นา เชน่ สถานที่ทีเ่ หมาะสม
5. วสั ดุกอ่ สรา้ งทมี่ อี ยใู่ นท้องถ่นิ คนงาน ความสามารถดา้ นเทคนคิ และความสามารถดา้ นการจัดการ
ในบางกรณีระดับและความเร็วของการพัฒนาการท่องเที่ยวจะข้ึนกับการมีอยู่ของโรงแรมและ
รสี อร์ท ตลอดจนสง่ิ อานวยความสะดวกและการบริการในแหล่งและสง่ิ ท่นี า่ สนใจอื่นๆ
ความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบในการประเมินมีดังน้ี: ในสมการของอุปสงค์ความต้องการและอุปทาน
การตอบสนองก็คือ ปริมาณของสินค้าทางการท่องเที่ยวที่มีอยู่เป็นปัจจัยกาหนดทิศทาง การสร้างสินค้าใหม่
ข้ึนมาเป็นก้าวแรกเป็นสิ่งสาคัญ สินค้านี้เป็นสิ่งท่ีตามมาหลังการสร้างที่พักที่เหมาะสมให้กับนกั ท่องเท่ียว ซ่ึงก็
จะเป็นตัวกาหนดปริมารของนักท่องเท่ียว หลังจากน้ีก็เป็นไปได้ท่ีจะเช่ือมโยงการประเมินความต้องการของ
การขนส่ง การท่องเท่ียวและการบริการของบรษิ ัทจัดทัวร์ต่างๆ รวมทั้งประเมินความต้องการท่ีตามมาในเรื่อง
ของส่ิงอานวยความสะดวก ร้านอาหาร และการบันเทิง การประเมินอาจจะตั้งอยู่บนฐานของอุปสงค์ความ
ตอ้ งการ (ในกรณีทีม่ สี นิ คา้ กาท่องเทยี่ วอยู่แล้วและมีการคาดการณ์ว่าจะมีการขยายตัวต่อไป) หรือคานวณจาก
อุปทานการตอบสนอง (การพัฒนาการท่องเที่ยวใดใดก็ตามย่อมข้ึนอยู่กับการก่อสร้างท่ีพักอาศัยเป็นอันดับ
แรก)
สาหรับประเทศเลก็ ๆ หลายแห่งในขณะทีจ่ านวนนักท่องเท่ียวท่ีเข้ามาในประเทศยงั มปี ริมาณค่อนข้าง
น้อยกลยุทธ์ในการวางแผนกาท่องเที่ยวมักจะเป็นการอุปทานการตอบสนอง (Supply-Driven) ในกรณีเช่นน้ี
ขอบขา่ ยและขนาดของการจดั อุปทานที่พักอาศยั ของนกั ท่องเทย่ี วมีความสาคัญยิ่งในการวางแผนกลยทุ ธ์
การพฒั นาทพ่ี ักของนักท่องเท่ียว
การกาหนดขนาดและความหนาแน่นของที่พักจะพิจารณาจากแนวความคิดของแผนพัฒนาการ
ท่องเที่ยวขั้นพ้ืนฐานและจากมาตรฐานการออกแบบท่ีนามาใช้ในรีสอร์ท ทั้งนี้แนวความคิดและมาตรฐาน
ดังกล่าว มีส่วนสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อบริเวณที่มีความสวยงาม สถานท่ีที่มีความสาคัญมีคุณค่าทาง
ประวตั ิศาสตร์ คณุ ค่าทางสถาปัตยกรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี คุณลักษณะของตวั อาคารและการบูรณา
การการวางแผนและออกแบบให้กลมกลืนกับจุดที่ตั้งและตาบลนั้นจะนามาซึ่งความสนใจของ รีสอร์ทเป็น
อย่างยิ่ง โจทย์สาคัญต่างๆ จะเกี่ยวเน่ืองกับระดับความสูง ขนาดความใหญ่โต การตกแต่งที่สวยงาม (รวมถึง
การจัดภูมิทัศน์) และความลงตัวเข้ากับวิถีชีวิตของท้องถ่ิน นอกจากน้ียังมีสิ่งสาคัญพึงพิจารณาอีกหลาย
ประการ อาทิ ความสะดวกในการเข้าถึง ความเป็นไปได้ในการให้บริการ และการจัดระบบการจราจรท้ังของ
คนและรถสาหรับนักท่องเที่ยวแล้วเร่ืองสาคัญๆ ในสถานท่ีท่องเท่ียวน้ันก็มี อาทิ ขอบข่ายของการให้บริการ
การเตรียมส่วนท่ีเป็นพ้ืนที่สาธารณะและพื้นท่ีท่ีว่าง การเข้าถึงสิ่งต่างๆ ในโรงแรมและรีสอร์ท และมาตรฐาน
ของทพ่ี ัก

142

ตาแหน่งท่ีต้ังเป็นปัญหาที่สาคัญในการพัฒนาท่ีพักสาหรับนักท่องเที่ยว ในบางกรณีสูตรของเขตธรุ กิจ
การทอ่ งเทย่ี ว (TBD) อาจนามาใชเ้ พื่อเปน็ แนวทางที่จะเลือกสถานท่ที ่ีจะสร้างที่พักใหม่ในอนาคต มีหลักฐานท่ี
ชี้ให้เห็นว่าทาเลท่ีต้ังและการกระจายตัวของท่ีพักเปน็ ตวั แปรท่ีสาคัญในการกาหนดขอบข่ายและแบบแผนของ
เขตธุรกิจการท่องเที่ยว (TBD) คงจะเป็นจริงในกรณีท่ีท่ีพักเหล่าน้ีรวมตัวกันอยู่ตามแนวชายหาด ซึ่งถือว่าเป็น
กลยุทธ์รองที่จะค้นหาพ้ืนที่และทาเลท่ีดึงดูดนักท่องเท่ียวในเขตธุรกิจการท่องเที่ยว (TBD) และค่อยทาการ
พัฒนาการบรกิ ารเพ่ือเตมิ ใหเ้ ตม็ ช่องว่าง เพ่ือจะให้บรรลวุ ัตถุประสงคน์ ก้ี ารตัดสนิ ใจหลกั ๆ มดี ังน้ี

1. พจิ ารณาจากัดให้ทพี่ ักอาศัยอยใู่ นตาแหนง่ ทดี่ ึงดูดภายในเขตธุรกจิ การท่องเท่ยี ว (TBD) หรอื ไม่
2. จะกาหนดเขตที่มีศักยภาพในการสร้างท่ีพักอาศัยของนักท่องเท่ียวให้เปน็ อาณาเขตที่สมบูรณ์แบบ
ในตัวเองหรือจะเป็นในลักษณะของการรวมหลายๆ เขตท่ีประกอบไปด้วยบริการต่างๆ ที่สอดคล้องกันสาหรับ
นักทอ่ งเที่ยว
3. หรือจะจัดท่ีพักอาศัยให้กระจุกตัวอยู่ในบริเวณท่ีสาคัญแห่งเดียว หรือจะกระจายออกไปหลายๆ
แห่ง
4. จะรวมทีพ่ กั อาศัยใหอ้ ยู่ตามตาแหนง่ ตา่ งๆ บนชายหาด
5. จะใช้กลยทุ ธใ์ นการกระจายออกไปเพ่ือให้เกิดความสมดลุ ทางภูมิประเทศ หรอื วา่ จะใช้กลยทุ ธ์แบบ
คอ่ ยๆ ปรบั ความมีระดับให้สูงขนึ้ เพือ่ ก่อใหเ้ กดิ การกาหนดเขตของทพ่ี ักข้นึ เอง
การเตรียมกลยทุ ธท์ างดา้ นการวางแผนจัดการพ้ืนท่เี พื่อการพฒั นาในอนาคตไม่ใช่เรื่องงา่ ย แต่เปน็ สิ่งท่ี
จาเป็นต้องทาอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากต้องการให้ที่พักอาศัยเป็นส่วนหน่ึงที่เสริมให้เกิด
ความสวยงามของแหล่งทอ่ งเทยี่ ว
รา้ นอาหาร
ในหลายปีที่ผ่านมานี้มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่น่าสังเกตเกิดขึ้นกับความต้องการและความนิยม
ชมชอบของนักทอ่ งเทีย่ วต่างชาติ ในสมัยก่อนนกั ท่องเทย่ี วเหล่านี้จะใชบ้ รกิ ารร้านอาหารของโรงแรม เพราะว่า
ร้านอาหารเป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของโรงแรมหรือรีสอร์ท แต่ในปัจจุบันความนิยมน้ีค่อยๆ เปลี่ยนไป
นักท่องเที่ยวอยากจะออกไปทดลองร้านอาหารชนิดต่างๆ มากข้ึน มีการกล่าวอ้างกันว่าร้านอาหารดีๆ และมี
สถานท่ขี ายอาหารหลากหลายชนิดเปน็ ตัวบ่งชี้ท่สี าคัญวา่ นักท่องเที่ยวพอใจในแหล่งท่องเท่ียวน้ันหรือไม่ ความ
ต้องการที่เปลี่ยนไปทาให้อาหารพ้ืนเมืองได้เป็นส่วนหนึ่งของอาหารนานาชาติ ทาให้เกิดร้านอาหารต่างๆ ที่
เป็นเอกเทศ ไม่ข้ึนกับทางโรงแรมและรีสอร์ทแบบครบวงจร ร้านหารเหล่าน้ีส่วนใหญ่จะเป็นอาหารของชาว
เอเชยี เป็นอาหารพ้ืนเมืองและใช้วตั ถดุ ิบจากทอ้ งถิ่น โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ บรรดาอาหารทะเล ผกั และผลไม้
การรวมตัวกันจานวนมากของร้านอาหารเหล่าน้เี พ่ือให้บริการแก่นักท่องเที่ยวนานาชาติจะพบมากใน
ศูนยก์ ลางของแหลง่ เศรษฐกิจปกติ (CBD) หรือเขตธุรกจิ การท่องเทย่ี ว (TBD) ซงึ่ ก็มีหลายแห่งท่ีมีความสัมพันธ์
กับโรงแรมขนาดใหญ่ การรวมตวั กนั ในท่อี ่นื ๆ กม็ ักจะอยู่แถวชายหาดหรอื ใกลก้ บั สนามบิน
การสารวจข้อมลู จากนักทอ่ งเทย่ี ว แสดงว่าบางสว่ นก็รู้สึกเป็นกังวลกับมาตรฐานของความสะอาด การ
บริการ คุณภาพอาหาร ราคาอาหาร และคุณภาพของร้านอาหาร (โต๊ะ เก้าอ้ี การตกแต่ง) มีการพูดถึง
เหตุการณ์เหล่าน้ีในสถานท่ีห่างไกล และโดดเดี่ยว และเป็นร้านที่อ้างว่าเป็นอาหารของท้องถ่ินแท้ๆ ในเม่ือ
ประสบการณ์ทางดา้ นอาหารมสี ว่ นช่วยใหน้ ักท่องเทีย่ วเกิดการพึงพอใจเป็นอย่างมาก จงึ มคี วามจาเปน็ ท่ีต้องมี
การตรวจสอบจากฝ่ายรัฐบาลให้เข้าไปสอดส่องเรื่องของมาตรฐานและแนะนาให้มีการฝึกอบรมและวิธีการ
ดาเนินงานท่ถี ูกตอ้ งโดยใชร้ ะบบของการออกใบอนุญาต
กิจกรรมชนิดนี้อาจจะอยู่ในความสามารถของเจ้าของกิจกรรมท้องถิ่นที่จะดาเนินงาน แผนการ
ทอ่ งเท่ยี วบางแหล่งสนับสนุนเจ้าของกจิ การท้องถ่ินด้วยการให้ความชว่ ยเหลือในการลดภาษี การปล่อยสินเชื่อ

143
และการฝึกอบรม ร้านอาหารเป็นบริการท่ีเสริมกับท่ีพักอาศัยและการกระจายตัวของร้านเหล่าน้ีมักขึ้นอยู่กับ
การกระจายตัวของที่พักนักท่องเท่ียวด้วย อย่างไรก็ตาม แหล่งท่ีเป็นท่ีนิยมมากอาจจะรวมทั้งชายหาด จุดชม
วิว สถานที่สวยงาม ถนนหลวงขนาดใหญ่ พ้ืนท่ีอยู่ใกล้กับที่พักอาศัยขนาดใหญ่ของนักท่องเท่ียว สถานที่ธุรกิจ
ขนาดใหญ่ และสถานีขนส่งทีส่ าคัญต่างๆ ในเมอื่ การรบั ประทานและการด่ืมเป็นส่วนสาคัญในการสร้างประสบ
การณ์ให้กับนักท่องเที่ยว การวางแผนที่มีประสิทธิภาพของร้านอาหาร ควรจะบูรณาการเป็นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการวางแผนการทอ่ งเที่ยวทั่วไป
การจบั จ่ายซอ้ื ของ

การจับจ่ายซื้อของนับเป็นประสบการณ์ที่เสริมการท่องเท่ียวได้ดี นาไปสู่ความมีเสน่ห์ของแหล่ง
ท่องเท่ียว และควรจะได้รับการพิจารณาให้เป็นปัจจัยหนึ่งของแผนบูรณาการของการท่องเที่ยว มีแผนการ
ทอ่ งเท่ยี วจานวนมากข้ึนเร่ือยๆ ท่ีให้ความสาคญั ในการพัฒนาแหล่งซ้ือของให้น่าดึงดูดใจยงิ่ ขึน้ โดยเนน้ ในเรื่อง
รายละเอียดของการออกแบบบริเวณท่ีค้าขาย เขตของการค้าขาย และเวลาปิดทาการ สาหรับเร่ืองขอบข่าย
ของสินค้า แผนการท่องเท่ียวโดยท่ัวไปจะเน้นที่สินค้านาเข้าที่มีคุณภาพ สินค้าหัตถกรรมของชนพื้นเมือง
สินค้าปลอดภาษี และเสื้อผ้าที่ใส่เล่น มีหลักสาคัญอยู่สองประการในการวางแผน (ก) ทาเลที่ต้ังแล ะการ
กระจายตัวของสินคา้ และ (ข) ขอบข่ายของสนิ ค้าทนี่ าเสนอ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ศักยภาพการเข้าร่วมของสินค้า
พน้ื เมือง

โดยทั่วไปแล้วแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ อาจจะเป็นท่ีรองรับของร้านค้าที่มีจานวนมากจนเกินกาลังการ
จับจ่ายของผู้คนที่น่ัน เหตุการณ์เช่นนี้ทาให้สถานพักผ่อนมีความอ่อนไหวต่อจานวนร้านค้าท่ีมากเกินไป
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งถ้าท่ตี รงนัน้ ต้องเจอกับอตั ราขึ้นลงของนักท่องเท่ยี วตามฤดูกาล แหล่งท่องเท่ยี วหลายๆ แหง่
อาจตอ้ งเจอกบั ปญั หานี้ แตส่ ่วนใหญ่แลว้ เรอ่ื งนี้ควรปลอ่ ยให้เปน็ ไปตามกลไกของตลาด

การจับจ่ายใชส้ อยได้เข้ามาเป็นส่วนหนงึ่ ของสงั คมไปแล้ว และก็เป็นกิจกรรมด้านหนึ่งของเศรษฐกิจที่
ให้ประสบการณ์แก่นักท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นไปโดยสภาวะตามธรรมชาติหรือเป็นผลมาจากการวางแผนกต็ าม
สถานที่ค้าขายเหล่านี้ในแหล่งท่องเท่ียวหลายๆ แห่งเป็นเหมือนสถานพักผ่อนหย่อนใจและแหล่งบันเทิงไปใน
ตัวซึ่งพร้อมไปด้วยบรรยากาศท่ีเกิดข้ึนโดยธรรมชาติหรืออาจจะสร้างสรรค์ขึ้นมาท่ามกลางกิจกรรมท่ีไม่มี
พิธีรีตอง ข้อยกเว้นน้ีอาจจะเป็นพวกศูนย์การค้าท่ีอยู่ในอาคาร มีร้านบูติกราคาแพง และร้านท่ีมีสินค้า
คณุ ภาพสงู ประสบการณ์ในการซอื้ ของรา้ นเหล่านกี้ ใ็ หค้ วามร้สู ึกหรหู ราไม่ธรรมดาไปอีกแบบหน่ึง

แหล่งซื้อของของนกั ทอ่ งเทีย่ วอาจจะอยใู่ นรปู แบบดงั ต่อไปนี้
1. อยู่ในอาคารท่ีปดิ ควบคมุ สภาพอากาศ เช่น ในศนู ย์การค้า
2. รา้ นคา้ ปกตติ ามข้างถนน
3. ศูนยก์ ารคา้ ทเ่ี ปน็ สว่ นหนึง่ ของอาคารในโรงแรม ในอาคารพาณชิ ย์ หรือในสนามบิน
4. หา้ งสรรพสนิ ค้าขนาดใหญ่
5. ตลาดสดทีม่ หี ลังคาปิด หรอื กลางแจง้
6. ศูนย์การค้าของตาบลที่ให้บรกิ ารกบั ชาวบา้ น
7. สถานที่คา้ ขายเลก็ ๆ ข้างถนนหลวง
8. ร้านคา้ ทอ่ี ยโู่ ดดเด่ียว กระจดั กระจายกนั อยู่
9. รา้ นคา้ ท่คี วามสัมพันธก์ ับสถานทท่ี ีด่ ึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว
10. รา้ นคา้ ในสาถนทีท่ ีค่ นพนื้ เมืองมรี า้ นค้าสนิ ค้างานฝมี ือและสินค้าศลิ ปะพืน้ เมือง

144

ปัจจุบันมีการส่งเสริมและสนับสนุนการเปิดร้านและสถานที่ค้าขายเพ่ือเป็นที่จาหน่ายสินค้าพื้นเมือง
มากข้ึน ซ่ึงถือเปน็ กลยุทธ์ทชี่ ว่ ยในการกระจายรายไดจ้ ากการท่องเที่ยวไปยังชาวบ้าน และสาหรบั บางประเทศ
ท่ีประชาชนอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย ผลประโยชน์น้ีก็ตกไปอยู่กับประชาชนในถิ่นห่างไกล โอกาสในการ
ค้าขายนีอ้ าจจะเป็นตัวกระตุ้นให้มีการผลิตสินคา้ พนื้ เมืองมากข้ึน ซงึ่ ชว่ ยให้ผลิตภัณฑท์ างศลิ ปะและวัฒนธรรม
ย่ังยืนต่อไป

ส่ิงหนึ่งที่เป็นปัญหาสาคัญ คือ การท่ีสินค้าพื้นเมืองน้ันถูกสินค้าท่ีคล้ายคลึงกันที่นาเข้ามาจาก
ต่างประเทศอย่างถูกๆ มาแย่งตลาดไป น่ีถือเป็นเรื่องของรัฐบาลที่จะต้องดาเนินการควบคุมโดยศุลกากรและ
สรรพสามิต

ในเมืองการจับจ่ายใช้สอยได้บูรณาการเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงของประสบการณ์การท่องเท่ียวจึง
จาเป็นต้องให้ความเอาใจใส่ และไม่ควรเน้นเฉพาะกับศูนย์การค้าขนาดใหญ่และตามถนนท่ีเป็นย่านค้าขาย
เท่าน้ัน แต่ควรจะรวมไปถึงตลาดสด ร้านขายของ หัตถกรรมของหมู่บ้าน และแผงลอยขายสินค้าหัตถกรรม
ตามข้างถนน นอกจากการซื้อของท่ีระลึกแล้วยังมีเส้ือผ้าใส่เล่นและสินค้าปลอดภาษี ตลอดจนร้านขายของ
ทว่ั ไป

ส่ิงควรท่ีจะพิจารณา คือ ความสาคัญของสิ่งอานวยความสะดวกและบริการเสริม บริการเหล่าน้ีเป็น
สิ่งจาเป็นสาหรับการดูแลตัวเอง อาทิ ร้านขายยา ร้านตกแต่งผม และร้านซักผ้า คาแนะนาและการดูแลจาก
ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้าน เช่น คาแนะนาด้านกฎหมาย ด้านธนาคาร และการแลกเปล่ียนสกุลเงิน รวมทั้งการ
บารุงรักษาเช่น การซ่อมรถ น้ามันเช้ือเพลิง การซักแห้ง และสิ่งของจาเป็นสาหรับแค้มป์ป้ิง ความกดดันทาง
การตลาดอันเน่ืองมาจากผลกระทบของราคาท่ีดินและค่าเช่าท่ีแพงทาให้ส่ิงอานวยความสะดวกและบริการ
เหล่านจ้ี าต้องยา้ ยหา่ งออกไปยงั เขตค้าขายทดี่ ้อยกว่า นี่ก็เปน็ พลังของการตลาดเชน่ กัน ..กาหนดความตอ้ งการ
ในส่ิงอานวยความสะดวกและบริการเหล่านี้ กลยุทธ์ในการวางแผนควรจะเผื่อสถานที่ไว้ให้บริการเหล่าน้ีมา
รวมกนั อยู่รอบๆ เขตของธุรกจิ การทอ่ งเท่ียว (TBD)
บรกิ ารท่องเที่ยวและบริษัททัวร์

การจดั บริการท่องเทย่ี วเป็นงานทีส่ าคัญของการจัดทาแผนการท่องเที่ยวระดบั ชาติ ผใู้ ห้บรกิ ารเหล่านี้
ก็คือคนกลางระหว่างแหล่งท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยว หน้าท่ีของพวกเขานับรวมตั้งแต่การกล่าวต้อนรับ กา
รับส่งจากสนามบิน การพาไปชมสถานท่ีสาคัญๆ การให้บริการนักท่องเที่ยวแต่ละคน การจัดบริการกรุ๊ปทัวร์
จัดหาตั๋วต่างๆ การจองห้องพัก และประสานงานระหว่างบริษัทท่องเที่ยวต่างประเทศ นอกจากนี้ ผู้จัดบริการ
การทอ่ งเท่ียวยังเป็นตัวเชื่อมระหว่างนักท่องเท่ียวกับผดู้ าเนินงานทางดา้ นบรกิ ารและส่ิงอานวยความสะดวกใน
ทอ้ งถิน่

ส่ิงท่ีเห็นได้ชัดของการให้บริการท่องเท่ียวก็คือ ต้องเอาใจใส่ในรายละเอียด โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการ
ดูแลมาตรฐานของที่อยู่อาศัยท่ีได้รับการจองล่วงหน้าแล้ว และมาตรบานของยานพาหนะที่ใช้ (รถโดยสาร รถ
แท็กซี่ รถโคช้ เรือแทก็ ซี่ หรอื เรือพาย)

อกี ประการหนึ่งของการจัดบริการท่องเทีย่ วท่นี ่าเป็นหว่ งก็คือ มาตรฐานการนาเท่ยี ว (มคั คเุ ทศก)์ บาง
ประเทศ ได้พัฒนาไปได้อย่างรวดเร็วจนถึงมีการฝึกอบรมและการออกใบอนุญาตเพื่อรักษาคุณภาพของการ
บริการ นอกจากการนาเท่ียวแล้วกิจกรรมหลายๆ อย่างที่เกี่ยวกับการท่องเท่ียวก็เหมาะกับการปฏิบัติโดย
เจ้าของกิจกรรมซ่ึงเป็นคนท้องถิ่น มีตัวอย่างอยู่มากมายโดยเฉพาะในด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่
ผปู้ ระกอบการท้องถิ่นได้ฉวยโอกาสทีจ่ ะใช้ทรพั ยากรทางธรรมชาติและทางวฒั นธรรมใหเ้ ป็นประโยชน์

145

ศูนย์ให้ข้อมูลแก่นักท่องเท่ียวเป็นสิ่งท่ีจาเป็นมากในแหล่งท่องเท่ียว โดยศูนย์น้ีควรที่จะมี
ความสามารถให้ความร้แู กน่ ักท่องเทยี่ วไม่ว่าจะดา้ นความสาคญั ของสถานที่ การประชาสัมพันธ์ส่งิ ที่ควรและไม่
ควรปฏบิ ตั ขิ ณะอยู่ในแหล่งข้อมลู ของท้องถ่ินพร้อมสถานทีๆ่ น่าสนใจ ขอ้ มลู ที่พักอาศยั ทางเลอื กต่างๆ ในการ
เดินทางและการท่องเที่ยว นอกจากนี้ศูนย์เหล่านี้ยังขยายบริการไปถึงการจัดแสดง (displays) ศิลปะและ
หัตถกรรมอย่างถาวร การจัดแสดง ทางเสียงและภาพ ตลอดจนการขายของท่ีระลึก ในบางคร้ังระดับความรู้
ของบุคลากรในการให้ข้อมูลก็เป็นปัญหาหนึ่ง เนื่องจากการขาดการฝึกอบรมบุคลากรหรือไม่ก็เป็นผลมาจาก
การตัดสินใจที่จะให้ข้อมูลเพียงเล็กน้อย ถึงแม้ว่า นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่จะมีความกระหายในข้อมูลมากก็ตาม
การให้ข้อมูลท่ีผิดพลาดในเรื่องของการให้บริการ และความต้องการจะมีผลกระทบต่อประสบการณ์ของ
นกั ท่องเทยี่ วอยา่ งมาก
การนนั ทนาการและการบนั เทงิ

สิ่งอานวยความสะดวกทางด้านการนนั ทนาการและการบันเทิงควรจะจดั ให้อยู่ในลกั ษณะทสี่ ร้างความ
สนใจทาให้อยากเข้าไปร่วมดว้ ย และเอ้ือใหก้ ับกจิ กรรมและการใช้ประโยชน์อนื่ ในพนื้ ที่การท่องเที่ยว พรอ้ มกัน
น้ันก็สร้างบรรยากาศของความสนุกสนานและความต่ืนเต้น อาจจะมีความจาเป็นท่ีต้องกันสถานท่ีนันนทการ
และบันเทิงนี้ออกจากบริเวณอ่ืนเพื่อไม่ให้สร้างความรบกวน การใช้สอยและกิจกรรมของกลุ่มนี้อาจจะสร้าง
ปัญหาให้กับนักวางแผนทางการท่องเที่ยวอันเน่ืองมาจากสาเหตุที่ไม่ได้คาดหมายไว้ มีข้อมูลเป็นหลักฐานว่า
นักท่องเท่ียวอาจจะชอบหาวิธีพักผ่อนหย่อนใจ และการบันเทิงของตนเองมากกว่าที่จะใช้บริการท่ีจัดให้แบบ
เบด็ เสร็จ อย่างไรก็ตามควรจะเข้าใจไวว้ า่ ขอบข่ายของความชอบในกิจกรรมต่างๆ ข้ึนอย่กู ับประเภทของตลาด
ของนกั ท่องเทยี่ วด้วย ความนา่ สนใจของแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วและส่ิงอานวยความสะดวกก็มอี ิทธพิ ลเช่นเดียวกัน

ขอบข่ายของส่ิงอานวยความสะดวกด้านนันทนาการและการบันเทิงน้ัน มิได้ขึ้นอยู่กับลักษณะของ
นักทอ่ งเท่ยี ว และอปุ สรรคความต้องการที่เกีย่ วข้องกันเท่าน้ัน ทวา่ ขน้ึ อยู่กบั ระดบั และทาเลท่ีตั้งของที่พักผ่อน
แหง่ นัน้ ดว้ ย ขอบข่ายเหลา่ นอ้ี าจจะรวมถงึ

1. ภาพยนตร์ (ในปจั จบุ นั อาจจะเปน็ หอ้ งฉาย VDO ในโรงแรม)
2. ห้องจัดเล้ียงเอนกประสงค์ใช้สาหรับจัดงานแสดงดนตรี ละครเวที งานชุมนุมสังสรรค์ และงาน
บันเทิงรนื่ เริงต่างๆ
3. โรงละครกลางแจง้ (ขึน้ อยกู่ ับสภาพของอากาศ)
4. หอ้ งสมุดและห้องอ่านหนงั สือ
5. พิพิธภัณฑ์ ห้องแสดงศิลปะแสดงงานหัตถกรรมท้องถิ่น ศิลปะต่างๆ เร่ืองเล่าขานตานานความเชื่อ
ท่สี ืบทอดกันมาแลประวัตศิ าสตร์
6. ไนตค์ ลับและโรงเต้นรา
7. สถานคาสิโน
8. สนามเดก็ เลน่ และสวนสาธารณะ
9. หอ้ งโถงสาหรบั เล่นกฬี าต่างๆ
10. สระวา่ ยน้า (ถงึ แม้วา่ รีสอร์ทนั้นอาจจะอยูร่ มิ ทะเลก็ตาม)
11. สนามกอล์ฟ
ในกิจกรรมของกลุ่มน้ีมีความหลากหลายมาก สาหรับการบันเทิง นันทนาการและวัฒนธรรม
คาแนะนาในการวางแผนท่องเทยี่ วหลายๆ แหง่ ไมค่ ่อยสอดคล้องตรงกัน ตวั อย่างเชน่ ในแหล่งท่องเท่ียวขนาด
ใหญ่ ส่งิ อานวยความสะดวกด้านบนั เทงิ ซงึ่ อยภู่ ายในอาคารอาจจะต้องถูกบบี เน่อื งจากทาเลทตี่ ั้งทาให้ต้องย้าย
อกไปในบริเวณท่ีเป็นเอกเทศ สิ่งอานวยความสะดวกชนิดอ่ืนอาจจะเข้าไปรวมกระจุกตัวกันอยู่ใกล้ๆ ศูนย์

146

บริหารราชการและการเมืองของเมืองน้ัน การใช้พ้ืนท่ีขนาดใหญ่ เช่น สนามกอล์ฟและสนามกีฬา ตามปกติ
แล้วกจ็ ะอยแู่ ถวรอบนอกของแหลง่ ทอ่ งเท่ียว ความยุ่งยากทเ่ี พิม่ ขน้ึ สิง่ อานวยความสะดวกและบรกิ ารของกลุ่ม
นี้มาจากแนวโนม้ ท่ีพยายามจะรวมสง่ิ เหลา่ นท้ี ัง้ หมดเขา้ ไว้ดว้ ยกันภายในอาคารเดยี วกนั

ในแง่มุมของการวางแผน กลยุทธ์โดยทั่วไปจงกาหนดให้มีแนวเขตที่เรียงรายตามแนวยาวและเน้น
ความหนาแน่น โดยแนวเขตนี้ส่วนใหญ่จะเช่ือมโยงกับถนนท่ีมีแหล่งร้านค้าและมีความหนาแน่นต่อเนื่องกับ
อาณาเขตรอบนอก สถานทพ่ี กั ผอ่ นรสี อรท์ ขนาดใหญอ่ าจจะมีเขตของการบนั เทิงเปน็ สดั สว่ นเอกเทศ
ระบบการดูแลสุขภาพ เหตฉุ ุกเฉนิ และระบบความปลอดภยั

สิ่งอานวยความสะดวกและบริการของกลุ่มนี้ใหช้ ุมชนในการสนับสนนุ การบริการท่ีมีคุณภาพสูงด้านที่
พักอาศยั ร้านอาหาร รา้ นค้า การนนั ทนาการและการบนั เทงิ รืน่ เริง

นอกเหนือจากการบริการที่เป็นโครงสร้างทางกายภาพและการบริการด้านบุคลากร ซ่ึงโดยปกติจะ
เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานของรัฐ ปัจจุบันนี้กลายเป็นเหมือนกับเป็นหน้าท่ีของรีสอร์ทและโรงแรม
ขนาดใหญ่ รวมถึงสถานการค้าขนาดใหญ่ท่ีจะต้องให้ความสาคัญกับสุขอนามัยและความสะอาดที่มีมาตรฐาน
ทงั้ ในสถานทแ่ี ละส่ิงแวดลอ้ มรอบนอก

มาตรฐานของพื้นท่ีว่าง ตาแหน่งท่ีต้ัง การกระจายตัว และรายละเอียดของการออกแบบมีความ
แตกต่างกันอยู่บ้างในหมู่รีสอร์ทและโรงแรมต่างๆ ท้ังนี้บริการและส่ิงอานวยความสะดวกเหล่าน้ีไม่ใคร่ได้รับ
การจัดให้อยู่ในเขตของธุรกิจการท่องเท่ียว (TBD) ทว่าสิ่งที่เหมือนกันอย่างหนึ่ง ก็คือ ความนิยมต้องการที่จะ
ใหบ้ รกิ ารแตล่ ะอยา่ งได้ตัง้ อยใู่ นทาเลทต่ี ั้งจะเขา้ ถึงแหล่งท่องเทยี่ วไดท้ ุกจดุ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
แหลง่ ท่องเทย่ี ว

ถึงแม้ว่านักท่องเที่ยวจะประสบกับความยุ่งยากพอสมควรในการตัดสินใจว่าจะเลือกท่ีใดที่จะไปเที่ยว
แต่ก็มีหลักฐานบ่งช้ีที่มากพอว่า ความน่าสนใจและกิจกรรมเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะกระตุ้นความสนใจและการ
ตัดสินใจในที่สุด เม่ือเป็นเช่นน้ีธรรมชาติ คุณภาพ และปริมาณของแหล่งท่องเที่ยวก็มีอิทธิพลต่อประเภทและ
จานวนของนักท่องเที่ยวที่จะไปยังสถานท่ีนั้นและยังเป็นตัวกาหนดระยะเวลาของการอยู่ที่นั่นด้วย ส่ิงดึงดูด
ความสนใจของนกั ท่องเทีย่ วนเ้ี องท่ีทาให้เกดิ ฐานการท่องเที่ยวทม่ี ีศักยภาพของบรรดาประเทศสว่ นใหญใ่ นแถบ
เอเชียแปซฟิ ิก

ปัจจยั ท่ดี ึงดูดความสนใจนักทอ่ งเที่ยวใหม้ าเท่ียวในแถบภูมภิ าคน้ี มดี งั น้ี
1. ความมอี ธั ยาศัยไมตรที ่ีดีของผคู้ น
2. ประวตั ิศาสตร์และประเพณที ่ีนา่ ตน่ื ตาต่นื ใจ
3. มีสถานที่ท่องเท่ียวและรูปแบบการทอ่ งเที่ยวทห่ี ลากหลาย
4. มีชายทะเลและการผจญภัยใตท้ ะเล
5. มีโอกาสทจี่ ะเรียนรูแ้ ละมีสว่ นร่วมในกจิ กรรม
6. มีหลักฐานรอ่ งรอยทน่ี ่าสนใจ ต้ังแต่กอ่ นไดเ้ อกราช
7. มีการผสมผสานประเพณีวฒั นธรรมของชนเผ่าชนชาติพนั ธก์ุ ลมุ่ ต่างๆ
8. มกี ารแสดงประเพณวี ฒั นธรรม
ในการท่ีจะรักษาสัดส่วนของตลาดไว้ประเทศในแถบเอเชียแปซิฟิกจาเป็นต้องมีการพัฒนาสินค้า
เหล่าน้ีให้มีความได้เปรียบมากยิ่งขึ้น การจัดทาฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่ปัจจุบันเป็นจุดเริ่มต้นท่ีสาคัญ
โดยสามารถแบ่งเป็น 3 หมวดหมูด่ งั นี้

147
1. ความนา่ สนใจท่ีข้ึนอยกู่ ับทรพั ยากรธรรมชาติที่มีลกั ษณะพเิ ศษ
2. ความนา่ สนใจด้านทรพั ยากรเชิงประเพณวี ัฒนธรรมและประวตั ศิ าสตรท์ ่พี ิเศษ
3. ความน่าสนใจในเหตุการณ์พิเศษ กิจกรรมโดยท่ัวไปของนักท่องเท่ียว (เช่น แหล่งจับจ่ายใช้สอย
พิเศษ) แหล่งที่เน้นการกีฬาและนันทนาการ หรือแหล่งท่ีเป็นสถานที่สาหรบั จัดการประชุมทางธรุ กิจ
ในการวางแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวจาเปน็ ทีจ่ ะต้องค้นหาสิ่งท่ดี ึงดูดความสนใจ และศักยภาพท่ีจะ
เพม่ิ ขึ้นได้ในอนาคตและสิง่ ดงึ ดูดความสนใจทีจ่ ะเพมิ่ ได้อีกจากการสร้างความต้องการของตลาดเฉพาะขน้ึ หรอื
การที่เรามีสินคา้ การทอ่ งเที่ยวท่ดี กี ว่าคู่แข่ง
แหลง่ ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ
การรวบรวมข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติสามารถทาได้ในสองระดับ แหล่งท่ีมีความ
สวยงามโดยท่ัวไป และแหล่งท่ีมีความสวยงามเฉพาะตัว ในการรวบรวมข้อมูลนั้น ควรทาการเก็บข้อมูล
ประเด็นดังตอ่ ไปนีด้ ว้ ย
1. ทรัพยากรทไี่ ด้รบั แรงกดดันท่เี กดิ จากการใชง้ าน
2. ทรัพยากรทคี่ วรจะมีมาตรการควบคุม
3. ทรัพยากรท่ีมีอาจจะต้องการงบประมาณในการดูแลรักษาเพื่อก่อให้เกิดความสนใจในหมู่
นกั ท่องเทยี่ วอยา่ งต่อเนือ่ ง
ถ้าได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเหมาะสมและมีประสิทธิภาพแล้ว ทรัพยากรธรรมชาติน้ันถือว่ามี
ศกั ยภาพสูงในการดงึ ดูดนกั ทอ่ งเทีย่ วโดยมรี ปู แบบหลักๆ อยู่ 4 ประเภท คอื
1. การก่อรปู ของทดี่ นิ ภูมปิ ระเทศ และธรณีวทิ ยา
2. ส่ิงแวดลอ้ มทางทะเล ชายฝ่ัง แม่นา้ และทะเลสาบบนเกาะ
3. พืชพรรณไม้
4. สัตวต์ ่างๆ
นักท่องเที่ยวทั่วไปมักมีความหวังว่าทรัพยากรเหล่านี้ควรจะมีสภาพยังดีอยู่ ดังนั้น เพ่ือที่จะให้การทา
ตลาดของสินค้านี้มีจุดท่ีได้เปรียบ การวางแผนระดับชาติควรจะเน้นความย่ังยืนและสภาพของความสมบูรณ์
ของทรัพยากรเปน็ สาคญั
สาหรบหลายประเทศในเอเชียแปซิฟิกแล้ว ระดับความสนใจในทรัพยากรธรรมชาติเป็นเรื่องท่ีเพ่ิงจะ
ได้รับการพฒั นาเมือ่ ไมน่ านมานี้ ดงั นั้น จึงมีความจาเปน็ ทจี่ ะตอ้ ง
1. เตรยี มทาฐานข้อมลู ทรพั ยากรอย่างถีถ่ ว้ น
2. พัฒนาระบบข้อมูลบนฐานประวัติศาสตร์ความเป็นมาของทรัพยากรธรรมชาติซึ่งนักท่องเท่ียว
สามารถเขา้ ถึงไดง้ ่าย
3. สร้างส่ิงอานวยความสะดวกพิเศษ เพ่ือนักท่องเที่ยวสามารถสัมผัสกับสัตว์ป่า พืชพรรณ และ
ลักษณะของภมู ิประเทศได้
4. พัฒนาและปฏบิ ัติตามนโยบายการจัดการที่วางไว้ เพ่อื ใหแ้ น่ใจไดว้ ่าความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
และการคมุ้ ครองทรัพยากรธรรมชาตเิ ป็นไปด้วยกันได้ บนหลกั ของความยั่งยนื
5. ให้ขอ้ มูลท่อี ธบิ ายได้อย่างชดั เจน ณ จุดหรือสถานที่น้นั
6. พฒั นาแหลง่ บรกิ ารข้อมูลข่าวสารและบรกิ ารพาชม ณ ทาเลทเ่ี หมาะสม
ในการประเมินความดึงดูดใจโดยรวมของทรัพยากรธรรมชาติ ควรจะต้องตระหนักด้วยว่าความ
สวยงามของธรรมชาติโดยรวมกบั ระบบนเิ วศต่างๆ อาจจะมผี ลในการเพม่ิ ความนา่ สนใจและความสวยงามด้วย

148

ในกรณที ีท่ รัพยากรนนั้ อาจจะไม่มคี วามสวยงามมากถงึ ระดบั โลกหรือระดบั ภมู ิภาค แตค่ วามนา่ สนใจอาจจะอยู่
ท่ีมคี ุณค่าของความเปน็ เอกลกั ษณป์ ระจาท้องถ่ินรวมกบั ระบบนเิ วศท่แี ตกตา่ ง

บรรดาประเทศในแถบเอเชียแปซิฟิก มีความสวยงามเป็นอย่างมากในด้านของพืชพรรณ สัตว์ป่า
สิ่งแวดล้อมทางทะเล ธรณีวิทยา ทิวทัศน์ท่ีสวยงามและชายหาด จังนับเป็นส่ิงจาเป็นที่จะต้องให้ข้อมูล
นักท่องเที่ยวต้ังแต่ก่อนการเดินทาง (สิ่งพิมพ์ VDO สไลด์ หรือรูปภาพสี) การเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียว อุปกรณ์
อานวยความสะดวกในการดูและการอธบิ าย ณ ทาเลสถานท่ีท่องเทยี่ ว ซ่งึ จะทาเป็นส่ิงพิมพ์หรือโดยมัคคุเทศก์
ก็ได้

บรรยากาศท่ีแปลกและพิเศษของธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรวมกับความห่างไกล และค่อนข้างโดด
เด่ียวของแหล่งท่องเที่ยวก็ทาให้บางประเทศมีความน่าสนใจเป็นพิเศษเช่นกัน ทั้งน้ี ส่ิงแวดล้อมไม่จาเป็นต้อง
อย่ใู นเขตป่าสงวนหรืออุทยานแห่งชาติจึงจะเป็นแหล่งดึงดดู นักท่องเที่ยวได้ ทวิ ทัศนแ์ ละทรัพยากรธรรมชาติที่
เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินชีวติ ของผู้คนตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันก็เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความดึงดูดใจได้อยา่ ง
สาคญั ยง่ิ
แหลง่ ท่องเทย่ี วทางวฒั นธรรม

แหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรม อาจจะปรากฏชัดในรูปแบบของการก่อสร้าง วัฒนธรรม การดาเนิน
ชีวิต ขนบประเพณี การจัดระเบียบทางสังคม ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี การเต้นรา หรือ
ประวัติศาสตร์ (ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นซากท่ีเหลือจากสงคราม และอิทธิพลท่ีหลงเหลือจากยุคอาณานิคม)
สิ่งดึงดูดความสนใจเหล่านี้อาจจะมีอย่างจากัดเฉพาะในหมู่บ้านด้ังเดิม สถานท่ีศักด์ิสิทธิ์ สถานที่ค้นพบวัตถุ
โบราณ หรอื สถานที่มคี วามสาคัญทางประวัติศาสตร์ ความเป็นเอกลักษณ์ การมอี ตั ตาลักษณข์ องทรัพยากรจะ
เป็นตัวกาหนดความดงึ ดดู ใจทีส่ าคญั ของแต่ละประเทศและเป็นเพราะส่งิ เหล่านีก้ ่อให้เกิดความไดเ้ ปรียบในการ
แขง่ ขนั

การจัดหมวดหมทู่ ่ีน่าสนใจทางวัฒนธรรม สงั คม และประวตั ิศาสตร์ มีดังน้ี
1. วัฒนธรรมดั้งเดิม (การเต้นรา ดนตรี ศลิ ปะ ภาษา วรรณคดแี ละหตั ถกรรม)
2. การดาเนนิ ชวี ติ ด้งั เดิม (การใชช้ วี ติ ประจาวนั งานพธิ ี พิธีกรรมทางศาสนา และโครงสร้างของสงั คม)
3. ส่งิ ก่อสรา้ งและสถาปตั ยกรรม
4. สถานโบราณคดแี ละประวัตศิ าสตรก์ ่อนสมยั อาณานิคม
การพัฒนาฐานข้อมูลรายการทรัพยากรวัฒนธรรม สังคม และประวัติศาสตร์อย่างละเอียดเป็นสิ่งท่ี
สาคัญมากในข้ันตอนการวางแผน นอกจากนั้น การจัดการท่ีดีก็เป็นสิ่งจาเป็นท่ีจะทาให้นักท่องเท่ียวได้เข้าถึง
การดูแลคุ้มครองความละเอียดอ่อนของวัฒนธรรม การช่วยอธิบายสิ่งท่ีพบเห็นให้เป็นท่ีเข้าใจแก่นักท่องเท่ียว
และใหม้ น่ั ใจวา่ นกั ทอ่ งเทยี่ วไมท่ ารา้ ยสถานที่หรือแสดงความลบหลตู่ ่องานพธิ ีต่างๆ
กลยุทธ์ใดที่จะช่วยให้นักท่องเที่ยวเข้าถึงทรัพยากรวัฒนธรรม สังคม และประวัติศาสตร์ควรคานึงถึง
ความจาเป็นที่จะต้องปกป้องทรัพยากรดั้งเดิมไว้ด้วย ความจาเป็นที่จะต้องรักษาความถูกต้อง การควบคุม
จานวนนักท่องเท่ียวท่ีเหมาะสม และความจาเป็นท่ีจะต้องสืบทอดงานพิธี ขนบธรรมเนียมประเพณีให้ยืนยาว
ต่อไป ลักษณะทั่วไปของสิ่งดึงดูดความสนใจด้านวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตร์ควรจะได้รับการส่งเสริม
ด้วยการแสดงสิ่งของที่สะสมไว้เป็นพิเศษโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานท่ีพิเศษ ในสถานท่ีเช่นนี้อาจแสดงให้เห็น
ถึงเหตุการณ์ท่ีสาคัญในอดีต ผู้คนที่แตกต่างกันออกไป การรวบรวมสถานการณ์พิเศษหรือแปลกๆ เข้าไว้
ด้วยกัน ลักษณะพิเศษของอาคารและสิ่งก่อสร้าง ลักษณะเฉพาะของบางสถานท่ี ในแต่ละกรณีกระบวนการ
จัดการและการปฏิบัติต้องให้แน่ใจว่าต้องมีแนวทางการเข้าถึงท่ีเหมาะสมและเพียงพอ และมีการส่ือ

149

ความหมายท่ีถูกต้องและเหมาะสมในสิ่งท่ีนักท่องเที่ยวได้พบเห็น ท้ังน้ีเพื่อไม่ให้เป็นเพียงแค่การบันเทิง แต่ยัง
เป็นการใหค้ วามร้แู ก่นกั ทอ่ งเท่ยี วในเชงิ ความสาคัญของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอีกด้วย
แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วประเภทอน่ื ๆ

ถึงแม้ว่าส่ิงที่ดึงดูดความสนใจหลักๆ ในประเทศเอเชียแปซิฟิกอาจจะเป็นทรัพยากรธรรมชา ติหรือ
ทรัพยากรวัฒนธรรม สังคม และประวัติศาสตร์ ทว่าอาจจะมีสิ่งที่น่าสนใจอ่ืนๆ อีกที่จะช่วยเสริมส่ิงที่ดึงดูด
ความสนใจหลัก เพ่อื ให้เกิดการได้เปรียบเชิงการแขง่ ขัน สง่ิ ทีด่ ึงดูดความสนใจเสรมิ อาจจะรวมถงึ

1. งานพิธีพิเศษต่างๆ (การฉลองการได้รับเอกราช งานเฉลิมฉลองต่างๆ การแห่แหนการแข่งขันกีฬา
และงานระลกึ ถึงสง่ิ หรือวาระทส่ี าคญั )

2. สิ่งอานวยความสะดวกพิเศษทางธุรกิจ (คาสิโน รีสอร์ทขนาดใหญ่ สวนสนุก สวนสาธารณะ แหล่ง
สงวนพันธ์สัตวป์ า่ และศนู ย์การค้าปลอดภาษ)ี

3. สิ่งอานวยความสะดวกและบริการของรัฐบาล (อาคารรัฐสภาและปริมณฑล การบริการทาง
การศึกษาหรอื การฝึกอบรมพิเศษ และอนุสาวรยี ์ท่ีแสดงออกถึงความรกั ชาต)ิ

นอกจากนี้ อาจมีสิ่งน่าสนใจอื่นๆ ที่สามารถรวมเขากับกาหนดการการท่องเที่ยว เช่น เรือกสวนไร่นา
สถานีวิจัย โรงกล่ัน เบียร์ และเหล้าองุ่น โรงงานอุตสาหกรรม ศูนย์ศึกษาและสะสมแสตมป์ และอาคารทาง
ศาสนา ถ้าเหตุผลในการมาท่องเที่ยวทางแถบประเทศเอเชียแปซิฟิกเพ่ือที่จะชมความพิเศษของส่ิงแวดล้อม
ของธรรมชาตแิ ละประเพณีวัฒนธรรมแล้ว ส่ิงท่ีน่าสนใจเสรมิ เหล่านจ้ี ะทาให้เกิดความสมดุลและเปน็ ทางเลอื ก
ที่ดีอยา่ งหน่ึง
แหลง่ ท่องเท่ียวท่มี ีความพิเศษเฉพาะตัว

ภาพรวมของการท่องเที่ยวได้แตกแขนงออกไปเป็นการท่องเที่ยวที่หลากหลายย่ิงขึ้น มีท้ังการ
ท่องเท่ียวท่ัวๆ ไป และการท่องเที่ยวท่ีสนใจเฉพาะเรื่องเป็นพิเศษ ปัจจุบันน้ีแหล่งท่องเท่ียวต่างๆ ได้รับการ
กดดันให้เลือกจัดการตลาดการท่องเท่ียวแบบรวมหมู่จานวนมากๆ หรือตลาดแบบความสนใจพิเศษ หรือเป็น
แบบตลาดเฉพาะเลก็ ๆ สาหรบั ประเทศส่วนใหญใ่ นแถบเอเชยี แปซิฟิก โดยเฉพาะประเทศที่มีนักท่องเท่ยี วน้อย
ความจากัดของทรพั ยากรทาให้ไม่มีทางเลือกในการวางกลยุทธ์มากนัก

การท่องเท่ียวในแบบของความสนใจพิเศษเฉพาะเรื่อง อาจจะสะท้อนให้เห็นถึงความไม่พึงพอใจกับ
ประสบการณ์ของนักท่องเท่ียวแบบรวมหมู่จานวนมากๆ ส่วนหน่ึงอาจจะมาจากการเปล่ียนแปลงท่ีอยาก
แก้ปัญหาของนักท่องเท่ียวกลุ่มใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ต้องการเรียนรู้ด้วยการท่องเท่ียวในรูปแบบนี้ได้รับ
การขนานนามว่าเป็นนักท่องเท่ียวท่ีต้องการค้นหาความแปลกใหม่ ความเป็นของแท้ และเน้นคุณภาพของ
ประสบการณ์ของการท่องเทย่ี ว จุดเน้นของนกั ทอ่ งเทีย่ วเชิงความสนใจพิเศษคือ

1. ทอ่ งเท่ยี วในเขตตัวเมอื ง
2. ท่องเท่ยี วในเขตชนบท
3. ท่องเทย่ี วแบบธรรมชาติ
4. ทอ่ งเท่ียวเชงิ วัฒนธรรม
แต่ละประเภทต่างมสี ่วนทน่ี ่าท้าทาย การผจญภยั การแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ประสบการณ์ การได้
สัมผัสและเรียนรู้วิถีของธรรมชาติและความจริงแท้ การเข้าถึงส่ิงแวดล้อมที่ยังคงความบริสุทธ์ิหรือใน
สภาพแวดล้อมเชงิ วฒั นธรรมเฉพาะอยา่ ง การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ณ แหล่งท่องเท่ียวจรงิ ๆ (โดยเฉพาะอยา่ ง
ยงิ่ กับคนท้องถ่ิน)

150
บทสรุป

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งกับอุตสาหกรรมท่องเท่ียว โดย
องค์ประกอบของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวจะต้องคานึงถึงกลยุทธ์บางอย่างท่ีจะทาให้การพัฒนาการท่องเทีย่ ว
ประสบความสาเร็จตามความต้องการของชุมชนหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภาคส่วนต่างๆ และสามารถตอบคาถาม
ความต้องการของชุมชนได้อย่างสมดุลและส่งผลกระทบน้อยท่ีสุดกับมิติทางด้าน สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม
และสิ่งแวดล้อม โดยในบทนี้จะกล่าวถึงองค์ประกอบของแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาการท่องเท่ียวแบบยั่งยืน
จะต้องให้ความสาคัญกับ โครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือการท่องเที่ยว ซึ่งประกอบไปด้วย การขนส่ง ระบบการจัดส่ง
น้าประปา ไฟฟ้าและพลังงาน ระบบการกาจัดส่ิงปฏิกูล การไปรษณีย์และการโทรคมนาคม กลไกในการ
ควบคุมมลภาวะ สิ่งอานวยความสะดวกและการบริการ ทพ่ี ักอาศัย การวิเคราะหด์ ้านอุปสงค์ตามสภาพที่เป็น
จริง การพัฒนาท่ีพักของนักท่องเท่ียว ร้านอาหาร การจับจ่ายซ้ือของ บริการท่องเที่ยวและบริษัททัวร์ การ
นันทนาการและการบันเทิง ระบบการดูแลสุขภาพ เหตุฉุกเฉิน ระบบความปลอดภัย และแหล่งท่องเที่ยว ซ่ึง
องค์ประกอบเหล่านี้เป็นแนวทางพ้ืนฐานในการสร้างกลยุทธ์ท่ีจะนาไปพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนซ่ึงมี
ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งที่พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวให้มีความเข้มแข็งและสามารถสรา้ งภมู ิคุ้มกันต่างให้กับชมุ ชน
ไดเ้ ปน็ อย่างดี

แบบฝึกหดั
1. จงอธิบายโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการท่องเที่ยวในการนามาพฒั นาการท่องเท่ยี วอย่างย่ังยืนมี
ความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งไร
2. จงอธบิ ายลกั ษณะมลภาวะ ส่ิงอานวยความสะดวกและการบริการในการพฒั นาการท่องเท่ียวแบบ
ย่ังยนื มลี ักษณะอย่างไร
3. สรปุ ลักษณะทพ่ี ักอาศยั ในการพฒั นาการท่องเทย่ี วแบบย่งั ยนื มาใหถ้ ูกต้อง
4. สรปุ การวิเคราะหด์ ้านอปุ สงคต์ ามสภาพท่ีเปน็ จริงในการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแบบยั่งยืนควรมี
ลักษณะอยา่ งไร
5. บอกลกั ษณะการพัฒนาท่ีพักของนักท่องเทย่ี ว รา้ นอาหาร การจบั จ่ายซื้อของ มลี กั ษณะอย่างไร
6. อธบิ ายลกั ษณะการบริการทอ่ งเท่ยี วและบรษิ ัททวั ร์ในการพฒั นาการท่องเทีย่ วแบบยั่งยืนมาให้
ถูกต้อง
7. อธบิ ายลักษณะการนนั ทนาการและการบนั เทิงในการพัฒนาการท่องเท่ยี วแบบยงั่ ยืนมาให้เขา้ ใจ
8. สรปุ และอภปิ รายประเดน็ ระบบการดูแลสุขภาพ เหตุฉุกเฉนิ ระบบความปลอดภยั ในการ
พัฒนาการทอ่ งเทยี่ วแบบย่งั ยืน
9. สรุปและอธิบายลกั ษณะแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วในการพฒั นาการท่องเทยี่ วแบบยงั่ ยืนมีลักษณะอยา่ งไร

151
เอกสารอ้างองิ
ฉัตร ณ สมุย. (2009). อีกด้านของงานฟูลมูนปาร์ตี้ เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี.ค้นเม่ือวันท่ี 20
กันยายน 2558.จาก http://www.oknation.net/blog/Chatsamui/2013/02/01/entry-1.
เทิดชาย ช่วยบารุง. (2552).บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง
ยง่ั ยืน บนฐานเศรษฐกิจพอเพียง.วิทยาลยั การปกครองท้องถ่นิ สถาบนั พระปกเกลา้ .
บริษัท ส (นภา)ประเทศไทย จากัด. (2015). การบาบัดและกาจัดน้าเสีย.ค้นเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2558.
จากhttp://www.snapa.co.th/th/wastewater_treatment.html.
บุญลาภ ภูสุวรรณ. (2015).สายการบินภายในประเทศ. ค้นเมื่อวันท่ี 20 กันยายน 2558. จาก
http://thaipublica.org/2015/06/icao-1/.
มาริษา แก้วบารุง. (2553).ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการขนส่งเพ่ือการท่องเท่ียว.ค้นเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม
2558.จาก http://marisaof .blogspot.com / 2010/11/blog-post_11.html.
ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549). แนวทางการวาง
แผนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน : คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศนู ยร์ ังสิต.

95

แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 5
การวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยนื

เนื้อหาประจาบท
1. กระบวนการการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วสคู่ วามย่ังยืน
2. พฒั นาอย่างไรสกู่ ารท่องเท่ียวชุมชนอยา่ งยง่ั ยืน
3. ขนั้ ตอนในการพฒั นาสู่การทอ่ งเทย่ี วชุมชน
4. ต้นทุนและผลประโยชนจ์ ากการท่องเท่ียว
5. การวางแผนกลยทุ ธ์การท่องเท่ียวอยา่ งยัง่ ยนื ในเชิงบูรณาการ
6. เนือ้ แทข้ องแผนการท่องเท่ียวเชงิ ยทุ ธศาสตร์
7. หลกั การของการวางแผนเชงิ กลยทุ ธ์
8. การวางแผนท่องเที่ยวเชงิ กลยุทธ์-กระบวนการปฏิบัติ
9. การจัดทานโยบายดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว
10. สรปุ
11. แบบฝึกหดั ทา้ ยบท

วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายกระบวนการการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วสูค่ วามยั่งยืนได้
2. อธิบายการพฒั นาอย่างไรสู่การท่องเทย่ี วชุมชนอยา่ งย่ังยืนได้
3. อธิบายขั้นตอนในการพัฒนาสกู้ ารทอ่ งเที่ยวชมุ ชนได้
4. บอกตน้ ทนุ และผลประโยชนจ์ ากการท่องเทย่ี วได้
5. สรุปการวางแผนกลยุทธก์ ารท่องเท่ียวอย่างยง่ั ยืนในเชงิ บูรณาการได้
6. อธบิ ายเนอ้ื แท้ของแผนการท่องเทีย่ วเชิงยุทธศาสตรไ์ ด้
7. สรปุ หลักการของการวางแผนเชิงกลยุทธไ์ ด้
8. วางแผนทอ่ งเทีย่ วเชงิ กลยุทธ์-กระบวนการปฏิบตั ิได้
9. อธบิ ายการจดั ทานโยบายด้านการท่องเทีย่ วได้

วธิ สี อน
1. ศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอนวิชาการพฒั นาการท่องเท่ียวอย่างยงั่ ยืน
2. อาจารยผ์ ้สู อนใหห้ วั ขอ้ ผู้เรียนอภปิ รายผลและสรปุ
3. ใชป้ ญั หาเป็นฐาน ถาม-ตอบผู้เรยี น
4. บรรยายและยกตัวอยา่ งประกอบ

กิจกรรม
1. แบ่งกลุ่มใหน้ กั ศึกษาสรุปเนอ้ื หาสาคัญและนาเสนอ
2. การแสดงบทบาทสมมติ
3. คน้ คว้าเพ่มิ เติมจากอินเตอรเ์ น็ต
4. ตอบคาถามระหว่างบรรยาย
5. ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

96

สือ่ การเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาการท่องเทย่ี วอย่างย่ังยืน
2. PowerPoint ประกอบการบรรยาย
3. ภาพประกอบตา่ งๆจากอินเตอรเ์ นต็

การวดั และประเมนิ ผล
1. ประเมินผลจากการนาเสนอรายงาน
2. ประเมนิ ผลจากการทาแบบฝกึ หดั ท้ายบท
3. สังเกตพฤติกรรมผเู้ รียนในการถาม-ตอบ
4. สังเกตจากพฤติกรรมความสนใจและการรว่ มกิจกรรมในชั้นเรียน

97

บทที่ 5
การวางแผนพฒั นาการท่องเท่ียวอยา่ งย่งั ยนื

การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนเป็นแนวทางที่จะสร้างความสมดุลด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและการ
จัดการสิ่งแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมซึง่ การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่งั ยืนจะต้องมีการวางแผนเพ่ือกาหนดแนวทาง
ในการขับเคล่ือนในมิติต่างๆให้เกิดความสมดุลมากที่สุด การวางแผนถือได้ว่าเป็นแนวทางในการกาหนด
ทิศทางเพื่อให้กิจกรรมหรือสิ่งที่จะดาเนินการบรรลุวัตถุประสงค์และเกิดผลกระทบ กับสิ่งที่จะดาเนินการน้อย
ที่สุด การวางแผนจงึ เปน็ วธิ ีการที่สามารถส่อื ถึงการดาเนินการท่ีได้ผา่ นการกลัน่ กรองวธิ ีการต่างๆมาเปน็ อย่างดี
การวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนเป็นการนาการท่องเที่ยวมาเป็นเครื่องมือเพ่ือใช้ในการบริหาร
จัดการโดยนาการพัฒนามาเป็นตัวขับเคล่ือนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งแต่การ
เปลี่ยนแปลงจะต้องนาไปสู่สิ่งท่ีดีขึ้นและสามารถเห็นเป็นรูปธรรมท่ีชัดเจน และการเปลี่ยนแปลงนั้นจะต้อง
เกิดผลกระทบกับสิ่งเดิมน้อยที่สุดในบทนี้จะกล่าวถึง กระบวนการการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน
พัฒนาอย่างไรสู่การท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน ขั้นตอนในการพัฒนาสู่การท่องเท่ียวชุมชน ต้นทุนและ
ผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว การวางแผนกลยุทธ์การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนในเชิงบูรณาการ เนื้อแท้ของ
แผนการท่องเท่ียวเชิงยุทธศาสตร์ หลักการของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผนท่องเที่ยวเชิงกลยุทธ์-
กระบวนการปฏิบัติ การจัดทานโยบายดา้ นการทอ่ งเท่ียว ซึ่งรายละเอียดทั้งหมดจะนาไปสู่แนวทางการวางแผน
พฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไป
กระบวนการการพฒั นาแหล่งท่องเทย่ี วส่คู วามย่ังยืน

การพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวสู่ความย่ังยืนจะต้องมีกระบวนการวางแผนให้มีระบบเพ่ือให้เกิดความสมดุล
ในมติ ิต่างๆอย่างชัดเจนและลดผลกระทบให้เกดิ ขึน้ น้อยทสี่ ุด

เทิดชาย ช่วยบารงุ (2552) ไดอ้ ธบิ ายถงึ กระบวนการวางแผนการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วสู่ความยั่งยืน
ควรกาหนดทิศทางการพัฒนาใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดยี วกัน โดยแหล่งทอ่ งเทีย่ วนั้นจะแบ่งเป็นหลายขนาดตั้งแต่
ขนาดเล็ก เช่น วัด พิพิธภัณฑ์ ฯลฯ เมือง ประเทศหรือแม้แต่ภูมิภาค โดยการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวน้ันต้องใช้
กระบวนการมีส่วนร่วมตั้งแต่เริ่มต้นกล่าวคือให้โอกาสชุมชนได้มีสิทธิเลือกว่าท้องถ่ินของตนเองน้ันควรจะเปน็
แหล่งท่องเที่ยวหรือไม่ถ้าชุมชนไม่ต้องการและยินดีกับส่ิงที่พวกเขามีก็ไม่ควรพัฒนาการท่ องเที่ยวเพราะแหลง่
ท่องเท่ียวนั้นจะล่มสลายไปในท่ีสุด เน่ืองจากชุมชนถือเป็นด่านแรกท่ีนักท่องเท่ียวจะได้พบปะแต่หากชุมชนใด
ยินดตี ้อนรบั การทอ่ งเท่ียวก็ควรคานึงถึงระบบรวมทางการทอ่ งเท่ียวกล่าวคือต้องทราบวา่ ท้องถิน่ ของตนเองอยู่
ในฐานะ “จุดผ่าน” หรือ “จุดหมายปลายทาง” ฐานะทางการท่องเท่ียวที่แตกต่างกันย่อมมีแนวทางการ
พัฒนาการท่องเที่ยวที่แตกต่างกัน ปัญหานี้สะท้อนภาพการพัฒนาการท่องเท่ียวของไทยเพราะโดยส่วนใหญ่
เม่อื กลา่ วถงึ การพฒั นาการท่องเท่ียวการพัฒนานน้ั จะมุ่งเนน้ ท่ีการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกหรือทรพั ยากร
การทอ่ งเท่ยี วทเี่ ป็นจดุ ดึงดูดแตไ่ ม่สนใน “ฐานะ” ของทอ้ งถนิ่ เลย ภาพที่ 5.1

98

กระบวนการวางแผนการจดั การแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยงั่ ยืน

แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
(มองในทกุ ระดบั : ประเทศ ภาค จงั หวดั ท้องถ่ิน)

กระบวนการการตดั สนิ ใจของทกุ ภาคใี นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
ได้แก่ ชาวบ้าน ชมุ ชน อบต. อบจ. กานนั ผ้ใู หญ่บ้าน ททท. ภาคเอกชน ฯลฯ

ไมต่ ้อนรับอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว ตอ้ นรบั อุตสาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว

กรอบแนวคิดการวางแผนการพฒั นาและจดั การการทอ่ งเทย่ี ว

องคป์ ระกอบทางการท่องเท่ยี ว ผลิตภัณฑท์ างการทอ่ งเทย่ี ว ระบบทางการทอ่ งเทย่ี ว
- การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ - จุดเริ่มตน้ เดินทางของ
- ทพี่ ัก - การทอ่ งเทีย่ วเชงิ เกษตร นกั ท่องเท่ยี ว
- สิ่งดงึ ดดู ใจ - การท่องเที่ยวชมุ ชน - จดุ แวะพกั ระหว่างการ
- การคมนาคม - การท่องเที่ยวเชิง เดนิ ทางของนักทอ่ งเท่ยี ว
- สิ่งอานวยความสะดวก ศลิ ปวัฒนธรรม - จดุ หมายปลายทางของ
- กจิ กรรมตา่ งๆด้านการ - การท่องเที่ยวในแหลง่ ที่มนษุ ย์ นกั ทอ่ งเทย่ี ว
ท่องเท่ยี ว สร้างขึ้น - หน่วยงานส่งเสรมิ การ
- โฮมสเตย์ ฟารม์ สเตย์ ทอ่ งเท่ียว
- การประชมุ การทอ่ งเท่ยี วเพอื่ - ปจั จัยสง่ เสริมการท่องเท่ยี ว
เป็นรางวลั การประชุม
นานาชาติ งานแสดงสินคา้

ภาพท่ี 5.1 กระบวนการการพฒั นาแหล่งท่องเท่ียวสู่ความยัง่ ยนื
ทมี่ า : เทิดชาย ช่วยบารุง (2552)

99
พัฒนาอย่างไรสู่การทอ่ งเท่ยี วชมุ ชนอย่างยัง่ ยนื

การพัฒนาชุมชนเพ่ือให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจะต้องมีแนวทางหรือวิธีการเป็นเข็มทิศในการ
ดาเนินการส่ิงที่ต้องคานึงถึงเพื่อให้เกิดความสมดุลคือ ด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและการจัดการ
ส่ิงแวดล้อมโดยการพัฒนาจะต้องคานึงถึงผลท่ีจะเกิดขึ้นท้ังด้านบวกและด้านลบซ่ึงการพัฒนาจะต้องเข้าใจ
ชมุ ชน เข้าถึงชมุ ชนจากน้นั จึงเริ่มพัฒนาร่วมกบั ชุมชนอยา่ งคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป

Michael, Jordan, Kliment (2012) ได้กล่าวถึงการวางแผนเชิงพ้ืนที่และการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน
เป็นพ้ืนฐานสาหรับการพัฒนาสถานที่ท่องเท่ียวท่ีมีการแข่งขัน การเพิ่มข้ึนและการขยายตัวของตลาดการ
ท่องเท่ียวมีขนาดใหญ่และจานวนมากขึ้นสถานท่ีท่องเท่ียวหรือการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเทยี่ ว
โดยรวมคาดว่าจะก้าวแบบท่ีไม่เคยมีมาก่อนในทศวรรษท่ีผ่านมา จะทาให้เกิดผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อ
เศรษฐกิจ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับในทางกายภาพ สิ่งแวดล้อม เป็นสิ่งจาเป็นระดับโลก ที่ควร
รักษา รวมท้ังการพัฒนาการท่องเท่ียว รีสอร์ท สถานท่ีท่องเที่ยว จะเกิดความแออัด ผู้คนจะหลั่งไหลเข้าชม
แหล่งทอ่ งเที่ยว ความสาคญั ของการเปล่ียนแปลงรว่ มสมัยในการท่องเทย่ี วจะต้องมีการปรบั ตัวของทุกภาคส่วน
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด แนวคิดใหม่เพ่ือให้บรรลุความสามารถทางการแข่งขันได้รับการ
พัฒนา เช่น การพัฒนาอย่างยั่งยืนของสถานท่ีท่องเท่ียว การวางแผนการจัดการปลายทางและการดาเนินการ
แบบบูรณาการทม่ี ีคณุ ภาพ ดังภาพที่ 5.2

การวางแผนพัฒนาจดุ หมายปลายทาง
- ประเมนิ ความสาคญั ของศักยภาพแหลง่
ท่องเทย่ี ว
-ใหค้ าปรกึ ษาและความรว่ มมือ
-ลงทนุ ดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐาน

จุดหมายปลายทางของตลาด การแขง่ ขนั การจัดการจดุ หมายปลายทาง
- การวิจยั ของจุดหมาย
- ตลาดเปา้ หมาย ปลายทาง - การปอ้ งกันทรัพสมบตั ิตา่ งๆ
- ความตระหนัก - คณุ ภาพของประสบการณ์
- สารวจและผลตอบแทน - การเจริญเตบิ โตอยา่ งย่งั ยืน

ภาพท่ี 5.2 แนวคดิ การวางแผนการจดั การจดุ หมายปลายทาง ทีม่ า : Michael, Jordan, Kliment (2012)

100

Ahmad Fitri Amir, Ammar Abd Ghapar, Salamiah A. Jamal, and Khairun Najiah Ahmad
(2015) ไดก้ ลา่ วถงึ การพฒั นาการท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื : การศกึ ษาชมุ ชน ความยดื หย่นุ สาหรบั การท่องเทย่ี วใน
ชนบทในประเทศมาเลเซีย โดยให้ความสาคัญกับความยืดหยุ่นของชุมชนในชนบทในประเทศมาเลเซียด้วย
ความช่วยเหลือจากการวางแผนการพฒั นาอย่างยั่งยืนในการท่องเทย่ี วในชนบท มนั ครอบคลุมชนบท หลังการ
พฒั นาทย่ี ่ังยืนองคป์ ระกอบความยืดหยุ่นชุมชนและบทบาทของรฐั บาลท้องถิ่น วธิ ีการรวมถึงการสังเกตสถานที่
และการทบทวนวรรณกรรมทก่ี วา้ งขวางผลการวิจัยชใ้ี ห้เหน็ ว่าการพฒั นาทอ่ งเที่ยวอย่างยัง่ ยืนในพนื้ ที่ชนบทจะ
ส่งผลให้ดีข้ึนความยืดหยุ่นในชมุ ชนท้องถ่ิน กลยุทธ์บางอย่างท่ีมีความจาเปน็ เพื่อให้แน่ใจว่าการพัฒนาที่ยง่ั ยืน
หรือชนบทการท่องเที่ยวและการรักษาความยืดหยุ่นของชุมชนท้องถิ่น โดยการวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียว
อย่างยง่ั ยนื จะตอ้ งมคี วามยึดหยุ่นของท้งั แผน พื้นทีแ่ ละคนในชนบท

พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์ (2553 : 57-66) ได้อธิบายถึงการที่จะเข้าใจถึงขั้นตอนในการพัฒนาสู่การ
ท่องเที่ยวชุมชนนั้นมิได้ง่ายๆ หลายๆ ชุมชนพยายามถาม พยายามหาว่ามีสูตรสาเร็จของการพัฒนาการ
ท่องเที่ยวชุมชนอย่างไร บอกได้เลยว่าไม่มีสูตรสาเร็จท่ีตายตัว อาจมีหนังสือท่ีเห็นออกมาอยู่ทั้งในและ
ต่างประเทศที่จัดทาเป็นคู่มือในการพัฒนาการท่องเที่ยวให้แก่ชุมชน คู่มือเหล่านั้นก็ไม่ใช่สูตรสาเร็จ หากเป็น
เพียงคาแนะนา เป็นแนวทางในการดาเนินงานท่ีแตะละชุมชนต้องนาไปปรับใชใ้ ห้เข้ากับสภาวะของตนเอง ใน
บทน้ีจึงเป็นแนวทางเพื่อการท่องเท่ียวและขั้นตอนการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปเพื่อการพัฒนาสู่การ
ท่องเท่ียวท่ียั่งยืนโดยได้ให้หลักการท่ีสาคัญเก่ียวกับการพัฒนาการท่องเท่ียวจะต้องให้ความสาคัญกับ พ้ืนฐาน
สาหรับการพัฒนาการท่องเที่ยวในการที่นักท่องเท่ียวเดินทางหรือตัดสินใจเที่ยวน้ันเกิดข้ึนจากสาเหตุ
หลากหลาย การพัฒนาทางการท่องเที่ยวในชุมชนน้ันแม้จะมีจุดเด่นหรือทรัพยากรดีๆ อยู่ในชุมชนแล้วแต่
เพียงแค่นี้ยังไม่พอ ดังนั้นก่อนอื่นต้องเข้าใจเป็นเบื้องต้นก่อนว่า ทาไมนักท่องเท่ียวจาเดินทางมา อะไรที่พวก
เขาคาดหวังที่อย่างนอ้ ยเปน็ พื้นฐานว่าพวกเขาจะได้รบั เม่ือเดินทางมาถึงแหล่งท่องเที่ยว ส่ิงท่ีน่าท้าทายคือ ทา
อย่างไรให้นักท่องเที่ยวตัดสินใจเดินทางมายังชุมชนท่องเท่ียวชุมชนน้ันๆ ต้องมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจ และ
แน่นอนว่าเมอ่ื มาแล้วตอ้ งเกิดความแระทับใจกลับไป ทาให้อยากที่จะกลับมาเทย่ี วอีก

ทาอยา่ งไรนักท่องเท่ียงจึงจะเลอื กเดนิ ทางมายังชุมชนของทา่ น
การที่นักท่องเที่ยวจะเลือกเดินทางหรือตัดสินใจมาท่องเที่ยวยังพื้นที่ของท่าน จะต้องให้ความสาคัญ

กบั ส่วนประสมทางด้านการท่องเทย่ี วที่เป็นพนื้ ฐานหลักดงั นี้
พิมพร์ ะวี โรจนร์ ุ่งสัตย์ (2553 : 57-66) ไดอ้ ธบิ ายถงึ การเดินทางนนั้ อาจใช้เวลานานและและอาจไกล

จากถ่ินอาศัยของนักท่องเที่ยวหรืออาจไม่ไกลนัก ดังนั้นความหลากหลายของประเภทนักท่องเที่ยว รูปแบบ
ของการเดินทางสงิ่ ท่ีจูงใจนัน้ มีมากเสยี จนเสมือนเปน็ เรื่องราวที่เลา่ ไมม่ ีวันจบ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ตอ้ งคิดวา่ ทา
อย่างไรนักท่องเท่ียวจึงจะเดินทางมายังแหล่งท่องเที่ยวของท่านไม่ได้เลือกไปท่ีอื่นๆส่วนประสมที่เป็นพื้นฐาน
หลกั ของการพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วใหส้ าเร็จก็คือ ตอ้ งมี “5 A’s”ก่อนเบอื้ งตน้ คอื

1. Attitude หรอื ทศั นคติของคนในชมุ ชน

2. Access หรือการเข้าถึง

3. Accommodation หรือสถานที่พัก
4. Attractions หรอื ส่ิงดงึ ดูดท่ีนา่ สนใจสาหรบั การท่องเท่ียว
5. Advertising หรือการโฆษณาประชาสมั พันธ์

101
ในสว่ นแรก คือ Attitude
การทอ่ งเทย่ี วนนั้ เปน็ ธรุ กิจของชุมชนส่วนรวม ชมุ ชนนนั้ อาจม่ที รัพยากร เช่น ววิ ทิวทัศน์ทงี่ ดงาม หรอื
ที่พักท่ีสวยงาม แต่นักท่องเท่ียวอาจไม่รู้สึกได้รับการต้อนรับท่ีดี ไม่ประทับใจ หรือตัดสินใจไม่กลับมาเที่ยวอีก
รวมถึงกลับไปบอกต่อๆ ทาให้คนอ่ืนๆ ไม่อยากจะมาด้วยก็ได้ มีการพูดท่ัวไปว่าหากลูกค้ามีความพอใจกับการ
ให้บริการแล้วลูกค้าก็จะบอกต่ออย่างน้อยอีก 3 คน ถึงความประทับใจของเขา และถ้าลูกค้าไม่มีความสุขเกิด
ความไม่พอใจข้ึนมา เขาก็บอกต่อเรื่องราวที่ไม่ประทับใจนั้นๆ เช่นกัน แต่บอกในจานวนอย่างน้อย 12 คน
ดังนั้นทัศนคติของคนในชุมชนเป็นพ้ืนฐานหลักท่ีสาคัญท่ีควรจะมีเม่ือตัดสินใจพัฒนาการท่องเท่ียวในชุมชน
เพื่อนาไปสกู่ ารพฒั นาท่ีสาเร็จต่อไปในเรอ่ื งการท่องเทย่ี ว
นอกจากจากนี้ควรท่ีจะทาให้นักท่องเที่ยวรู้สกึ ว่าได้รับการต้อนรับอย่างจริงใจ นักท่องเที่ยวจะรู้สึกว่า
การต้อนรับที่ตนได้รับนั้นมาจากความจริงใจของชมุ ชนหรือไม่ โดยตัดสินใจจากหลายๆอย่าง เช่น รอยยมิ้ การ
ทกั ทายทอ่ี บอุ่นยนิ ดี ใหค้ วามช่วยเหลอื ในดา้ นข้อมูลอย่างจริงจงั หรือบอกทางหากนักท่องเที่ยวหลงทาง ดังน้นั
ชุมชนท่ีมที ศั นคตทิ ี่ดีต่อนักท่องเท่ียวจะแสดงความช่วยเหลือ หรอื มิตรภาพออกมาอย่างจรงิ ใจต่อนักท่องเท่ียว
ซึ่งถือเปน็ กุญแจสคู่ วามสาเรจ็ อยา่ งหนึง่ ท่ขี าดมไิ ด้

ภาพท่ี 5.3 การต้อนรับนกั ท่องเทย่ี วจากประเทศเกาหลใี ต้ โดยการแลกเปล่ยี นวฒั นธรรม
ในส่วนท่ี 2 คือ Accessคนส่วนใหญ่นั้นจะเดินทางไปท่องเที่ยวในแหล่งท่องเท่ียวท่ีเข้าถึงได้สะดวก
มากกวา่ ทจ่ี ะไปในทที่ ีเ่ ดินทางเข้าถึงลาบาก หรอื ตอ้ งมีคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางมาก ส่ิงน้จี ึงเป็นอีกองค์ประกอบ
พ้ืนฐานท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จของการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างไรก็ตามสาหรับชุมชนท่ีอยู่ห่างไกลหาก
แก้ปัญหา โดยการมบี ริการด้านรับ-สง่ สาหรบั นักทอ่ งเทย่ี วตรงตามเวลาไมว่ า่ จะประจาวัน ประจาอาทิตย์ หรอื
อืน่ ๆ หากมีการจดั ตารางทแ่ี น่นอนลงตัวและสม่าเสมอ นกั ทอ่ งเที่ยวกจ็ ะรบั ทราบข้อมลู และสามารถเดนิ ทางมา
ไดเ้ ช่นกัน หากตรงกับเวลาลงตวั ของเขา ท้ังนี้ขน้ึ อยู่กบั การดาเนินการทดี่ ี


Click to View FlipBook Version