ก ค ำน ำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่มนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียน ทำให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ได้ในเชิงบูรณา การด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปความรู้ด้วยตนเอง ทำให้ นักเรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี นำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่มนี้ได้จัดทำตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ วิเคราะห์หลักสูตรและตัวชี้วัด จัดทำกำหนดการสอน โครงสร้างรายวิชา โดยได้นำเสนอ แผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมงตามหน่วยการเรียนรู้ และในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ยังมีการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้จะช่วยให้การเรียนการสอน กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ดำเนินไปด้วยดี และทำให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ กระบวนการ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรต่อไป นางสาวสุภาพร ปะละทัง ผู้จัดทำ
ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คำนำ............................................................................................................................................ .................. ก สารบัญ................................................................................................................................... ........................ ข คำอธิบายรายวิชา........................................................................................................... ................................ ๑ โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย........................................................................................................................... ๒ ปฏิทินการสอน…………………………………………………………………….......…........................................................ ๕ กำหนดการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักการใช้ภาษาไทย.....…........................................................ ๖ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗๔ เรื่อง การเขียนเรื่องเชิงสร้างสรรค์….…..…………………………………….................. ๗ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗๕ เรื่อง พลังงานคือชีวิตสะกิดประโยค................................................................. ๑๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗๖ เรื่อง ภูมิใจภาษาไทยของเรา……..…………........................................................ ๒๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗๗ เรื่อง เรียบเรียงคำเป็นประโยค…………......……….............................................. ๓๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗๘ เรื่อง การอ่านสะกดคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด............................. ๔๗ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗๙ เรื่อง การอ่านคำที่ออกเสียง อะ....................................................................... ๕๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘๐ เรื่อง การอ่านคำที่มีตัวสะกดมาตราแม่กกและแม่กบ…………………………......... ๖๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘๑ เรื่อง การอ่านสะกดคำที่มีสระลดรูป…….......................................................... ๗๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘๒ เรื่อง พยางค์ คำ กลุ่มคำ………………………........................................................ ๘๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘๓ เรื่อง การอ่านคำที่มี รร (ร หัน)......………......................................................... ๙๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘๔ เรื่อง การอ่านและเขียนคำขวัญ..................................................................... ๑๐๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘๕ เรื่อง วรรณคดีลำนำ กระต่ายไม่ตื่นตูม (สำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย).......... ๑๑๙ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘๖ เรื่อง ภาษาถิ่น……………………………............................................................... ๑๒๙ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘๗ เรื่อง คำศัพท์ในบทเรียนเรื่อง ป่านี้มีคุณ........................................................ ๑๓๙
๑ ค ำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย รหัสวิชำ ท ๑๓๑๐๑ วิชำภำษำไทยพื้นฐำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง/ปี ฝึกอ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคำและ ข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์สรุปความรู้ข้อคิด จาก เรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่ อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจำวัน เขียนเรื่องตาม จินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดง ความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หน้าที่ของคำ ใช้ พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ เลือกใช้ภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลง กล่อม เด็ก เพื่อปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน ท่องจำบทอาขยาน ตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความกระบวนการ แก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูด แสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอดเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๕ มำตรฐำน ๓๑ ตัวชี้วัด
๒ โครงสร้ำงรำยวิชำภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๖ ภำคเรียนที่ ๒ จ ำนวน ๑๐๐ ชั่วโมง รวมเวลำตลอดทั้งปี ๒๐๐ ชั่วโมง ครูผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง (ครูเบียร์) ล ำดับ ที่ ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน ๑ การอ่าน ท ๑.๑ ป.๓/๖ - การอ่านกลอนบทละคร ๒ ๓ ท ๑.๑ ป.๓/๗ - สมบัติของผู้ดี - ก้าวทันโลก ๔ ๔ ท ๑.๑ ป.๓/๘ - อ่านเพิ่มเติมความหมาย ๒ ๓ ท ๑.๑ ป.๓/๙ - การอ่านออกเสียงบทเรียนแต่เด็กซื่อไว้ - การอ่านออกเสียงบทเรียนป่านี้มีคุณ - การอ่านคำควบกล้ำ (คำควบกล้ำแท้) - การอ่านคำควบกล้ำ (คำควบกล้ำไม่ แท้) ๘ ๕ ๒ การเขียน ท ๒.๑ ป.๓/๔ - การเขียนจดหมาดลาครู ๒ ๓ ท ๒.๑ ป.๓/๕ - กวางป่าสามพี่น้อง - การใช้กระบวนการเขียนพัฒนางาน เขียน - การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนด ๗ ๔ ท ๒.๑ ป.๓/๖ - มารยาทในการเขียน - เครื่องหมายวรรคตอน ๔ ๔ ๓ การฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การกล่าวคำขอบคุณ ขอบใจ และขอ โทษ - การแสดงบทบาทสมมติจากการอ่าน นิทาน - กิจกรรมท้ายบทเรียน - บทร้อยกรอง ประถม ก กา ๙ ๕ ท ๓.๑ ป.๓/๕ - การใช้ถ้อยคำสุภาพ ๘ ๕
๓ ล ำดับ ที่ ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน - การผันวรรณยุกต์ - คำที่ประวิสรรชนีย์และไม่ประ วิสรรชนีย์ ท ๓.๑ ป.๓/๖ - มารยาทในการฟัง - มารยาทในการดู - มารยาทในการพูด - ทำดี...อย่าหวั่นไหว ๗ ๔ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย ท ๔.๑ ป.๓/๔ - การเขียนเรื่องเชิงสร้างสรรค์ - พลังงานคือชีวิตสะกิดประโยค - ภูมิใจภาษาไทยของเรา - เรียบเรียงคำเป็นประโยค - การอ่านสะกดคำที่มีตัวสะกดตรงตาม มาตราตัวสะกด - การอ่านคำที่ออกเสียง อะ - การอ่านคำที่มีตัวสะกดมาตราแม่กก และแม่กบ - การอ่านสะกดคำที่มีสระลดรูป - พยางค์ คำ กลุ่มคำ - การอ่านคำที่มี รร (ร หัน) ๑๙ ๑๐ ท ๔.๑ ป.๓/๕ - การอ่านและเขียนคำขวัญ ๓ ๓ ท ๔.๑ ป.๓/๖ - วรรณคดีลำนำ กระต่ายไม่ตื่นตูม (สำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย) - ภาษาถิ่น - คำศัพท์ในบทเรียนเรื่อง ป่านี้มีคุณ ๖ ๔ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ท๕.๑ ป.๓/๓ - วรรณคดีลำนำ แม่ไก่อยู่ในตะกร้า (๒) - วรรณคดีลำนำ แม่ไก่อยู่ในตะกร้า (๓) - วรรณคดีลำนำ คำบอกเสียง - สอนใจด้วยนิทาน - นิทานอีสป - นิทานสุภาษิต ๑๕ ๑๐
๔ ล ำดับ ที่ ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด สำระส ำคัญ เวลำ (ชั่วโมง) น้ ำหนัก คะแนน - ชวนคิด ชวนอ่านภูมิใจภาษาไทยของ เรา - อ่านเสริม เพิ่มความรู้ภูมิใจภาษาไทย ของเรา ท ๕.๑ ป.๓/๔ - วรรณคดีลำนำบทอาขยานวิชาหนาเจ้า ๒ ๓ รวม ๙๘ ๗๐ สอบกลางปี ๒ ๓๐ รวมกลางปี ๑๐๐ ๑๐๐
๕
๖ ก ำหนดกำรสอน หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย หน่วยกำรเรียนรู้ เรื่อง จ ำนวนชั่วโมง หน่วยที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย ๒๘ ชั่วโมง แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๔ การเขียนเรื่องเชิงสร้างสรรค์ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๕ พลังงานคือชีวิตสะกิดประโยค ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๖ ภูมิใจภาษาไทยของเรา ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๗ เรียบเรียงคำเป็นประโยค ๑ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๘ การอ่านสะกดคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา ตัวสะกด ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๙ การอ่านคำที่ออกเสียง อะ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๐ การอ่านคำที่มีตัวสะกดมาตราแม่กกและแม่กบ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๑ การอ่านสะกดคำที่มีสระลดรูป ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๒ พยางค์ คำ กลุ่มคำ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๓ การอ่านคำที่มี รร (ร หัน) ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๔ การอ่านและเขียนคำขวัญ ๓ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๕ วรรณคดีลำนำ กระต่ายไม่ตื่นตูม (สำนวนไทย เกี่ยวกับกระต่าย) ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๖ ภาษาถิ่น ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๗ คำศัพท์ในบทเรียนเรื่อง ป่านี้มีคุณ ๒
๗ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๔ เรื่อง กำรเขียนเรื่องเชิงสร้ำงสรรค์ เวลำเรียน ๒ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและรูปแบบการแต่งประโยคได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถแต่งประโยคได้ (P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ - การแต่งประโยค - การเขียนเรื่องจากโครงเรื่อง - การเขียนเรื่องจากภาพ กิจกรรมการเรียนรู้ สำระส ำคัญ - การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการเขียนคำ ประโยคหรือเรื่องราวได้อย่างถูกต้อง แปลกใหม่ไม่ซ้ำแบบใคร มีคุณค่า โดยจะต้องเขียนได้อย่างหลากหลายและคล่องแคล่ว เสร็จทันเวลาที่กำหนด - การฝึกให้ผู้เรียนแสดงความคิดต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึ่งอาจจะเป็นภาพ ข้อความ บุคคล หรือเหตุการณ์ โดยไม่จำกัดความคิดเห็น เป็นการฝึกที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ที่ดีได้วิธีหนึ่ง - การฝึกให้ผู้เรียนเขียนเรื่องจากการวิเคราะห์โครงเรื่อง จะทำให้ผู้เรียนเป็นคนที่มีเหตุผล รู้จัก วิเคราะห์วิจารณ์เรื่อง ซึ่งจะช่วยให้สามารถเขียนเรื่องอย่างสร้างสรรค์ได้ สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน
๘ สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. แผนภูมิบทร้อยกรอง “เด็กเอ๋ยเด็กน้อย” “วิชาหนาเจ้า” ๒. บัตรคำ ๓. บัตรรูปภาพ ๔. แผนภาพโครงเรื่อง ๕. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๖. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การอธิบายความหมายและรูปแบบการแต่งประโยค ๒. การแต่งประโยค ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการอธิบายความหมายและรูปแบบการแต่งประโยค ๒. แบบประเมินการแต่งประโยค ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการอธิบายความหมายและรูปแบบการแต่งประโยคไม่น้อยกว่าร้อย ละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการแต่งประโยคไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความ มุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. นักเรียนเล่นเกมเรียงฉันหน่อย ๒. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาทบทวนเนื้อเรื่องในบทเรียน โดยเล่าเรื่องต่อกันคนละประโยคจนจบ ขั้นสอน ๓. ครูนำเสนอแผนภูมิแผนภาพโครงเรื่อง (ภาคผนวก) ให้นักเรียนดูบนกระดานดำ ๔. นักเรียนและครูช่วยกันอภิปราย และเติมคำถาม และเหตุการณ์ตามแผนภาพโครงเรื่องได้ดังนี้ เช่น ใคร : ………………………………………………… ที่ไหน : ………………………………………………… เมื่อไร : ………………………………………………… เหตุการณ์ : ………………………….........................................………………………
๙ ………………………......................................…………………………… …………………………......................................………………………… ………………......................................…………………………………… ……...……………......................................……………………………… อย่างไร : ……………….........................................………………………………… ข้อคิด : ………………………............................................……………………… .........................................………………………………………………… …………………………………......................................………………… ๕. อาสาสมัครออกมาเล่าเรื่องตามเหตุการณ์จากแผนภาพโครงเรื่องบน กระดานดำให้เพื่อนๆ ฟังส่วน นักเรียนคนอื่นๆ คอยช่วย แก้ไขเพิ่มเติม ถ้าเพื่อนเล่าเรื่องผิด ๖. นักเรียนแต่ละคนเขียนเรื่องตามแผนภาพโครงเรื่อง ด้วยคำพูดของนักเรียนเอง ลงในกระดาษที่ครู แจกให้ (ในแบบฝึกพัฒนาการเรียนรู้) ๗. ให้นักเรียนที่อาสาสมัครออกมานำเสนอผลงาน ๒ - ๓ คน ให้เพื่อนๆ ฟัง ส่วนนักเรียนที่เหลือและ ครูคอยแก้ไขและเพิ่มเติม ๘. มอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดทักษะภาษา บทที่ ๓ ข้อ ๖ ขั้นสรุป ๙. นักเรียนช่วยกันสรุปเรื่อง การเขียนเรื่องเชิงสร้างสรรค์แล้วบันทึกลงสมุด ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นน ำ ๑. นักเรียนเล่นเกมเรียงคำทำความ ๒. นักเรียนอ่านคำใหม่จากบัตรคำ เช่น แล้วแต่งประโยคปากเปล่าคนละหนึ่งประโยค ขั้นสอน ๓. นักเรียนจับคู่ โดยแข่งขันเขียนประโยคจากคำที่กำหนดให้มามากที่สุด ซึ่งครูกำหนดคำให้คู่ละ ๔ - ๕ คำ แต่ละคำให้สมาชิกในคู่ช่วยกันเขียนประโยคที่ใช้คำนั้นมาให้มากที่สุดตามเวลาที่กำหนดลงบน กระดาษที่แจกให้ แล้วส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ๔. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนแนวคิดของบทเรียนดังนี้ “ไม่อ่านไม่รู้ ไม่ดูไม่เห็น ไม่ทำไม่เป็น” ๕. ครูเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ดังนี้ หลักการ : ........................................................ เหตุผล : ........................................................ รายละเอียด : ........................................................ บทสรุปและข้อคิด : ........................................................ ๖. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย โดยใช้ความรู้จากเรื่องเด็กเอ๋ยเด็กน้อย มาเขียนโครงเรื่อง ๗. นักเรียนแต่ละคนเขียนเรื่อง ประโยชน์ของการอ่านหนังสือ ด้วยภาษาของตนเอง ลงในแบบฝึก พัฒนาการเรียนรู้ พร้อมกับวาดภาพประกอบและระบายสีให้สวยงามโดยมีขั้นตอนดังนี้
๑๐ - นักเรียน และครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับรูปภาพ - นักเรียนบอกเหตุการณ์ในภาพเป็นตอนๆ แล้วเล่าเรื่องจากภาพ ตามความเข้าใจของ นักเรียน - เขียนบรรยายภาพประมาณ ๔ - ๕ บรรทัด พร้อมกับเขียน แนวคิดจากเรื่องของการกระทำ ในภาพ ๘. ให้นักเรียนอาสาสมัครนำเสนอผลงานของตนเองประมาณ ๒ - ๓ คน ขั้นสรุป ๙. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน ๑๐. มอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดทักษะภาษา บทที่ ๓ (เป็นการบ้าน)
๑๑ แบบประเมินกำรอธิบำยควำมหมำยและรูปแบบกำรแต่งประโยค ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่อธิบำยควำมหมำยและรูปแบบกำรแต่งประโยค ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรอธิบำย ควำมหมำยกำร แต่งประโยคได้ กำรรูปแบบ กำรแต่ง ประโยคได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรอธิบำย ควำมหมำยและ รูปแบบกำรแต่ง ประโยคได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๒ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรอธิบำยควำมหมำยและรูปแบบกำรแต่งประโยค ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรอธิบำยควำม หมำยกำรแต่งประโยคได้ สามารถอธิบายความ หมายการแต่งประโยคได้ ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถอธิบายความหมาย การแต่งประโยคไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถอธิบายความ หมายการแต่งประโยคได้ ๒. กำรอธิบำยรูปแบบ กำรแต่งประโยคได้ สามารถอธิบายรูปแบบ การแต่งประโยคได้ ถูกต้องครบถ้วน สามารถอธิบายรูปแบบ การแต่งประโยคไม่ค่อย ตรงประเด็น ไม่สามารถอธิบายรูปแบบ การแต่งประโยคได้ ๓. กำรเรียบเรียงค ำใน กำรอธิบำยควำมหมำย แ ล ะ รูป แบบ ก ำ ร แ ต่ ง ประโยคได้ สามารถเรียบเรียงคำใน การอธิบายความหมาย และรูปแบบการแต่ง ประโยคได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายความหมาย และรูปแบบการแต่งประโยค ไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายความหมาย และรูปแบบการแต่ง ประโยคได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรอธิบำยควำมหมำยและรูปแบบกำรแต่งประโยค กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๓ แบบประเมินกำรแต่งประโยค ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่แต่งประโยค ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๔ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรแต่งประโยค ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรแต่งประโยค กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๕ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงษ์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๖ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๑๗ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................
๑๘ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๕ เรื่อง พลังงำนคือชีวิตสะกิดประโยค เวลำเรียน ๒ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยคได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถแต่งประโยคได้ (P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ - การอ่านออกเสียงคำศัพท์ใหม่ในบทเรียนเรื่อง ทำดีอย่าหวั่นไหว - การบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่ในบทเรียน - การนำคำศัพท์ใหม่ไปแต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา สำระส ำคัญ ในการอ่านไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของการอ่านในใจหรืออ่านออกเสียง นักเรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐาน ของคำศัพท์ใหม่ในบทเรียน อ่านออกเสียงคำศัพท์ใหม่ในบทเรียนรวมทั้งบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่ใน บทเรียนเพื่อการรับสารที่มีคุณภาพได้ สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. บัตรคำใหม่ในบทเรียน ๒. ใบงานเขียนคำศัพท์และใบงานแต่งประโยควาดภาพ
๑๙ กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยค ๒. การแต่งประโยค ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยค ๒. แบบประเมินการแต่งประโยค ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยคไม่น้อย กว่าร้อยละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการแต่งประโยคไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความ มุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. ครูสนทนาถึงพลังงานกับชีวิตประจำวันที่เราต้องใช้เช่น ไฟฟ้า น้ำประปา ก๊าซหุงต้ม น้ำมัน พร้อม กับให้นักเรียนยกตัวอย่างพลังงานในรูปแบบอื่นๆ ขั้นสอน ๒. นักเรียนอ่านออกเสียงคำใหม่ในบทเรียนจากบัตรคำที่ครูนำมาแสดงพร้อมกันทั้งชั้นเรียน ตัวอย่าง คำ เช่น การขนส่ง สวิตซ์รีโมทคอนโทรล เครื่องเล่นวีดีทัศน์ รถเมล์ ลิฟต์ฯลฯ ๓. นักเรียนร่วมกันอ่านออกเสียงและอ่านแจกลูกสะกดคำ คำศัพท์จากบัตรภาพจนเกิดความชำนาญ และคล่องแคล่วในการออกเสียง ขั้นสรุป ๔. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการแต่งประโยค แล้วบันทึกลงสมุด ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นน ำ ๑. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อทบทวนความรู้ชั่วโมงที่แล้ว ๒. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าถ้าไม่มีพลังงานใช้จะเป็นอย่างไรและจะดำรง ชีวิตประจำวันอยู่ได้หรือไม่ ขั้นสอน ๓. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความหมายของคำศัพท์ใหม่ในบทเรียน
๒๐ ๔. นักเรียนจับคู่ จากนั้นให้ดำเนินการดังต่อไปนี้ ๔.๑ ตั้งชื่อของแต่ละคู่ ๔.๒ แจกใบงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ๔.๓ ให้นักเรียนนำคำศัพท์ที่อ่านออกเสียงไปร่วมกันแต่งประโยคให้ถูกต้องตามหลัก ภาษาไทยและวาดภาพคำศัพท์ในใบงาน ๔.๔ เมื่อแต่ละกลุ่มทำเสร็จแล้วให้รวบรวมมาส่งครู ขั้นสรุป ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านออกเสียงคำพร้อมกับร่วมกันบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่ใน บทเรียนและแต่งประโยคเป็นการบ้าน
๒๑ แบบประเมินกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่บอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรบอก ควำมหมำย ของค ำศัพท์ ใหม่ได้ กำรน ำไปแต่ง ประโยคได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรบอก ควำมหมำยของ ค ำศัพท์ใหม่ และน ำไปแต่ง ประโยคได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๒๒ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรบอกควำมหมำย ของค ำศัพท์ใหม่ได้ สามารถบอกความ หมายของคำศัพท์ใหม่ ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่ไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่ได้ ๒. กำรน ำไปแต่งประโยค ได้ สามารถนำไปแต่ง ประโยคได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถนำไปแต่งประโยคไม่ ค่อยตรงประเด็น ไ ม ่ ส า ม า ร ถ น ำ ไ ป แ ต ่ ง ประโยคได้ ๓. กำรเรียบเรียงค ำใน กำรบอกควำมหมำยของ ค ำศัพท์ใหม่และน ำไป แต่งประโยคได้ สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และ นำไปแต่งประโยคได้ ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และนำไป แต่งประโยคไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และนำ ไปแต่งประโยคได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค กำหนดไว้ ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๒๓ แบบประเมินกำรแต่งประโยค ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่แต่งประโยค ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๒๔ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรแต่งประโยค ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรแต่งประโยค กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๒๕ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงษ์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๒๖ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๒๗ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................
๒๘ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๖ เรื่อง ภูมิใจภำษำไทยของเรำ เวลำเรียน ๒ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยคได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถแต่งประโยคได้ (P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ - การอ่านออกเสียงคำศัพท์ใหม่ในบทเรียนเรื่อง ทำดีอย่าหวั่นไหว - การบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่ในบทเรียน - การนำคำศัพท์ใหม่ไปแต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา สำระส ำคัญ ในการอ่านไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของการอ่านในใจหรืออ่านออกเสียง นักเรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐาน ของคำศัพท์ใหม่ในบทเรียน อ่านออกเสียงคำศัพท์ใหม่ในบทเรียนรวมทั้งบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่ใน บทเรียนเพื่อการรับสารที่มีคุณภาพได้ สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. บัตรคำใหม่ในบทเรียน ๒. ใบงานเขียนคำศัพท์และใบงานแต่งประโยค
๒๙ กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยค ๒. การแต่งประโยค ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยค ๒. แบบประเมินการแต่งประโยค ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยคไม่น้อย กว่าร้อยละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการแต่งประโยคไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความ มุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. ครูสนทนากับนักเรียนถึงความสำคัญของวิชาภาษาไทย ขั้นสอน ๒. นักเรียนอ่านออกเสียงคำใหม่ในบทเรียนจากบัตรคำที่ครูนำมาแสดงพร้อมกันทั้งชั้นเรียน ดังนี้ กิจกรรม คำประพันธ์ ดอกพุด ต้นหว้า ปักเป้า แปรผัน พระธรรมเทศนา รัฐบาล ศักดิ์ศรี วันพระ ทำนองเสนาะ มุ่ย ๓. นักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคำคำศัพท์จากบัตรภาพ โดยครูให้นักเรียนจับคู่และร่วมกันอ่านออก เสียงแบบแจกลูกสะกดคำ ขั้นสรุป ๔. ร่วมกันอ่านออกเสียงคำศัพท์ใหม่ในบทเรียนร่วมกันอีกครั้งเพื่อเป็นการสรุปและทบทวน
๓๐ ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นน ำ ๑. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามของครูว่าภาษาไทยมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง ขั้นสอน ๒. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความหมายของคำศัพท์ใหม่ในบทเรียนพร้อมกับยกตัวอย่างการใช้ คำศัพท์ใหม่ในบทเรียนมาแต่งประโยค ให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย ๓. นักเรียนคัดคำศัพท์ใหม่ด้วยลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดลงในสมุด และเลือกคำมาแต่งประโยคให้ ถูกต้อง ขั้นสรุป ๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านออกเสียงคำพร้อมกับร่วมกันบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่ใน บทเรียนและแต่งประโยคเป็นการบ้าน
๓๑ แบบประเมินกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่บอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรบอก ควำมหมำย ของค ำศัพท์ ใหม่ได้ กำรน ำไปแต่ง ประโยคได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรบอก ควำมหมำยของ ค ำศัพท์ใหม่ และน ำไปแต่ง ประโยคได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๓๒ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรบอกควำมหมำย ของค ำศัพท์ใหม่ได้ สามารถบอกความ หมายของคำศัพท์ใหม่ ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่ไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่ได้ ๒. กำรน ำไปแต่งประโยค ได้ สามารถนำไปแต่ง ประโยคได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถนำไปแต่งประโยคไม่ ค่อยตรงประเด็น ไ ม ่ ส า ม า ร ถ น ำ ไ ป แ ต ่ ง ประโยคได้ ๓. กำรเรียบเรียงค ำใน กำรบอกควำมหมำยของ ค ำศัพท์ใหม่และน ำไป แต่งประโยคได้ สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และ นำไปแต่งประโยคได้ ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และนำไป แต่งประโยคไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และนำ ไปแต่งประโยคได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค กำหนดไว้ ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๓๓ แบบประเมินกำรแต่งประโยค ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่แต่งประโยค ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๓๔ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรแต่งประโยค ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรแต่งประโยค กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๓๕ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงษ์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๓๖ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๓๗ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................
๓๘ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๗ เรื่อง เรียบเรียงค ำเป็นประโยค เวลำเรียน ๑ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยคได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถแต่งประโยคได้ (P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ - บทเรียนเรื่อง ความฝันเป็นจริงได้ - คำยากในบทเรียน สำระส ำคัญ การเรียนรู้คำ ผู้เรียนต้องเรียนรู้ทั้งในด้านองค์ประกอบ หลักการอ่านแจกลูกสะกดคำ ความหมายและ หลักการใช้จึงจะสามารถนำคำไปใช้ได้ถูกต้อง การอ่านเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เริ่มเรียนการ อ่านออกเสียงผู้อ่านต้องรู้ที่มาและ องค์ประกอบของคำ จึงจะทำให้อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ การฝึกให้ นักเรียนเขียนคำโดยการเขียนตามคำบอกช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ศัพท์ใหม่ การนำคำมาแต่งประโยค เป็นการ นำคำในบทเรียนมาแต่งประโยคให้ได้ใจความ จะต้องเข้าใจความหมายของคำจึงจะสามารถแต่งประโยคได้ ถูกต้อง สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน
๓๙ สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนภาษาไทย ชุด ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๒. หนังสือแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ทักษะภาษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยค ๒. การแต่งประโยค ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยค ๒. แบบประเมินการแต่งประโยค ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยคไม่น้อย กว่าร้อยละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการแต่งประโยคไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความ มุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับคำและความหมายที่เรียนผ่านมาและให้นักเรียนเขียนตาม คำบอกจำนวน ๑๐ คำ ๒. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำที่เขียนตามคำบอกบนกระดาน และให้นักเรียนแก้ไขคำที่เขียนผิด ให้ถูกต้อง ขั้นสอน ๓. ให้นักเรียนคัดเลือกคำมา ๑ คำ ครูเขียนคำบนกระดานและให้นักเรียนช่วยกันแต่งประโยค ๔. ให้นักเรียนเลือกคำจากบทเรียนเรื่องความฝันเป็นจริงได้จำนวน ๑๐ คำ เพื่อฝึกแต่งประโยค และ นำเสนอหน้าชั้นเรียนคนละ ๑ ประโยค ครูให้คำแนะนำเพิ่มเติม ๕. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ ขั้นสรุป ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านออกเสียงคำพร้อมกับร่วมกันบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่ใน บทเรียนและแต่งประโยคเป็นการบ้าน
๔๐ แบบประเมินกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่บอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรบอก ควำมหมำย ของค ำศัพท์ ใหม่ได้ กำรน ำไปแต่ง ประโยคได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรบอก ควำมหมำยของ ค ำศัพท์ใหม่ และน ำไปแต่ง ประโยคได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๔๑ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรบอกควำมหมำย ของค ำศัพท์ใหม่ได้ สามารถบอกความ หมายของคำศัพท์ใหม่ ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่ไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่ได้ ๒. กำรน ำไปแต่งประโยค ได้ สามารถนำไปแต่ง ประโยคได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถนำไปแต่งประโยคไม่ ค่อยตรงประเด็น ไ ม ่ ส า ม า ร ถ น ำ ไ ป แ ต ่ ง ประโยคได้ ๓. กำรเรียบเรียงค ำใน กำรบอกควำมหมำยของ ค ำศัพท์ใหม่และน ำไป แต่งประโยคได้ สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และ นำไปแต่งประโยคได้ ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และนำไป แต่งประโยคไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย ของคำศัพท์ใหม่และนำ ไปแต่งประโยคได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรบอกควำมหมำยของค ำศัพท์ใหม่และน ำไปแต่งประโยค กำหนดไว้ ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๔๒ แบบประเมินกำรแต่งประโยค ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่แต่งประโยค ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๔๓ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรแต่งประโยค ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรแต่งประโยค กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๔๔ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงษ์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๔๕ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๔๖ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................
๔๗ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗๘ เรื่อง กำรอ่ำนสะกดค ำที่มีตัวสะกด ตรงตำมมำตรำตัวสะกด เวลำเรียน ๒ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยคได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถเรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามความหมายที่ต้องการ (P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ การอ่านสะกดคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด สำระส ำคัญ การอ่านสะกดคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกดถูกต้อง เป็นพื้นฐานสำคัญในการอ่านและการ เขียนคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราที่พบในสาระการเรียนรู้อื่นและในชีวิตประจำวัน สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. แถบข้อความ ๒. บัตรคำ ๓. ชุดคำฝึกอ่าน ๔. สลาก ๕. ใบงาน เรื่อง คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด
๔๘ ๖. สื่อการเรียนรู้ภาษาไทยสมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๑ บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๗. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนาพานิชจำกัด ๘. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้ นฐานภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนาพานิชจำกัด ๙. คู่มือการสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนาพานิชจำกัด ๑๐. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ บริษัทสำนักพิมพ์ วัฒนาพานิชจำกัด กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยค ๒. การเรียบเรียงคำเป็นประโยค ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยค ๒. แบบประเมินการเรียบเรียงคำเป็นประโยค ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการบอกความหมายของคำศัพท์ใหม่และนำไปแต่งประโยคไม่น้อย กว่าร้อยละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการเรียบเรียงคำเป็นประโยคไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความ มุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. นักเรียนอ่านแถบข้อความบนกระดาน แล้วบอกความแตกต่างของข้อความ เราดูปูในนา กินลมชมวิว ๒. ครูแนะให้นักเรียนเห็นว่าข้อความแรกใช้คำที่ไม่มีตัวสะกดส่วนข้อความหลังใช้คำที่มีตัวสะกดทุกคำ ๓. ครูสุ่มเรียกให้นักเรียนยกตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดและคำที่ไม่มีตัวสะกดตามที่ได้รับมอบหมาย ๔. ครูนำสนทนาโยงเข้าเรื่องคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด