๙๙ ๕. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้ นฐานภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนาพานิชจำกัด ๖. คู่มือการสอนภาษาไทย ชั้ นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนาพานิชจำกัด ๗. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ บริษัทสำนักพิมพ์ วัฒนาพานิชจำกัด กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การอธิบายและบอกลักษณะของคำที่มี รร (ร หัน) ๒. การแต่งประโยคโดยใช้คำที่มี รร (ร หัน) ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการอธิบายและบอกลักษณะของคำที่มี รร (ร หัน) ๒. แบบประเมินการแต่งประโยคโดยใช้คำที่มี รร (ร หัน) ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการอธิบายและบอกลักษณะของคำที่มี รร (ร หัน) ไม่น้อยกว่าร้อย ละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการแต่งประโยคโดยใช้คำที่มี รร (ร หัน) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความ มุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. ครูติดบัตรคำบนกระดาน ให้นักเรียนอ่านออกเสียงพร้อมกัน กรรไกร ธรรมดา มรรยาท สรรเสริญ วรรคตอน พรรคพวก กรรมกร หรรษา ๒. นักเรียนสังเกตคำจากบัตรคำทุกคำว่ามีลักษณะใดที่เหมือนกันทุกคำ และคำลักษณะนี้เรียกว่า อะไร ๓. ครูสนทนาซักถามความรู้ของนักเรียนเกี่ยวกับคำที่มีรร (ร หัน) ว่ามีวิธีการอ่านอย่างไรตามที่ได้รับ มอบหมายให้ไปศึกษามา
๑๐๐ ขั้นสอน ๔. ครูเรียกนักเรียนทีละคนให้อ่านบัตรคำบนกระดาน เมื่อเพื่อนอ่านจบ ๑ คำ ให้นักเรียนช่วยกันบอก ว่าพยางค์หน้าของคำนั้นอ่านออกเสียงอย่างไร ๕. ครูเขียนพยางค์หน้าของแต่ละคาบนกระดานให้นักเรียนช่วยกันจำแนกว่าพยางค์ใดออกเสียง อัน พยางค์ใดออกเสียง อะ ประสมด้วยตัวสะกด ๖. ครูสรุปเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า คำที่มี รร (ร หัน) อ่านออกเสียงได้๒ แบบ คือ เมื่ออยู่ หลัง พยัญชนะต้นไม่มีตัวสะกด อ่านออกเสียงเป็น อัน ถ้าอยู่หลังพยัญชนะต้นแล้วมีตัวสะกดให้อ่านออกเสียง อะ ประสมกบเสียงตัวสะกดตัวนั้ น ๗. ครูติดบัตรคำบนกระดาน ให้นักเรียนอ่านออกเสียงพร้อมกันทั้งชั้นเรียน แล้วครูสุ่มเรียกให้อ่านเป็น รายบุคคลจนอ่านได้คล่องทุกคน กรรเชียง จรรยา มหัศจรรย์ ภรรยา ทรรศนะ สร้างสรรค์ หรรษา ผิวพรรณ ๘. นักเรียนแต่ละคนนำคำบนกระดานแต่งประโยคเขียนด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดลงสมุด ขั้นสรุป ๕. ครูและนักเรียนนักเรียนช่วยกันสรุปเรื่อง การอ่านคำที่มี รร (ร หัน) แล้วบันทึกลงสมุด ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นน ำ ๑. ครูให้นักเรียนสรุปการอ่านคำที่มีรร (ร หัน) เป็นการทบทวน ขั้นสอน ๒. นักเรียนจับคู่ โดยให้แต่ละคู่รวบรวมคำที่มีรร (ร หัน) จากพจนานุกรม และจดบันทึกคำอ่าน เมื่อ ครูตรวจสอบความถูกต้องแล้วให้นักเรียนเลือกคำศัพท์ที่รวบรวมได้มาทำบัตรคำให้เพื่อนฝึกอ่านออกเสียง ๓. ให้นักเรียนคู่เดิมเล่นเกมต่อคำที่มีรร (ร หัน) โดยครูเป็นผู้เริ่มบอกคำที่มีรร (ร หัน) ๑ คำ ครูชี้ไป ที่คู่ใด ให้คู่น ั้นบอกคำที่มีรร (ร หัน) ๑ คำภายในเวลาที่กำหนด เมื่อเล่นจบให้นับคะแนน คู่ที่ได้คะแนนมาก ที่สุดเป็นผู้ชนะ สำหรับคู่ที่ตอบไม่ได้ภายในเวลาที่กำหนดให้ออกมาหน้าชั้นเรียนและให้ทำตามที่เพื่อนบอก ๔. นักเรียนทำใบ เรื่อง คำที่มีรร (ร หัน) แล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นสรุป ๖. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง คำที่มี รร (ร หัน) จากนั้นนักเรียนเขียนเป็นแผ่นผัง ความคิด
๑๐๑ แบบประเมินกำรอธิบำยและบอกลักษณะของค ำที่มี รร (ร หัน) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่อธิบำยและบอกลักษณะของค ำที่มี รร (ร หัน) ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรอธิบำยค ำที่ มี รร (ร หัน) ได้ กำรบอก ลักษณะของค ำ ที่มี รร (ร หัน) ได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรอธิบำยและ บอกลักษณะ ของค ำที่มี รร (ร หัน) ได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๐๒ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรอธิบำยและบอกลักษณะของค ำที่มี รร (ร หัน) ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรอธิบำยค ำที่มี รร (ร หัน) ได้ สามารถอธิบายคำที่มี รร (ร หัน) ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถอธิบายคำที่มี รร (ร หัน) ไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถคำที่มี รร (ร หัน) ได้ ๒. กำรบอกลักษณะของ ค ำที่มี รร (ร หัน) ได้ สามารถบอกลักษณะ ของคำที่มี รร (ร หัน) ได้ ถูกต้องครบถ้วน สามารถบอกลักษณะของคำที่ มี รร (ร หัน) ไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถบอกลักษณะของ คำที่มี รร (ร หัน) ได้ ๓. กำรเรียบเรียงค ำใน ก ำ รอ ธิบ ำ ย แ ล ะบ อ ก ลักษณะของค ำที่มี รร (ร หัน) ได้ สามารถเรียบเรียงคำใน การอธิบายและบอก ลักษณะของคำที่มี รร (ร หัน) ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำในการ อธิบายและบอกลักษณะของ คำที่มี รร (ร หัน) ไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายและบอก ลักษณะของคำที่มี รร (ร หัน) ได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรอธิบำยและบอกลักษณะของค ำที่มี รร (ร หัน) กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๐๓ แบบประเมินกำรแต่งประโยคโดยใช้ค ำที่มี รร (ร หัน) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่แต่งประโยคโดยใช้ค ำที่มี รร (ร หัน) ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๐๔ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรแต่งประโยคโดยใช้ค ำที่มี รร (ร หัน) ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรแต่งประโยคโดยใช้ค ำที่มี รร (ร หัน) กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๐๕ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงษ์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๐๖ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๑๐๗ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................
๑๐๘ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๔ เรื่อง กำรอ่ำนและเขียนค ำขวัญ เวลำเรียน ๓ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๕ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกความหมายและลักษณะของคำขวัญได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถแต่งคำคล้องจองและคำขวัญได้(P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ - ความหมายและลักษณะของคำขวัญ - การเขียนคำขวัญ สำระส ำคัญ คำขวัญ เป็นข้อความสั้นๆ กะทัดรัด มักนิยมให้คล้องจองกันเพื่อให้จำได้ง่าย มีความหมายไปในทางที่ ดี จูงใจ ให้ข้อคิด มีคติเตือนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งนำไปใช้ประกอบได้ทั้งการพูดและการเขียน สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. แผนภูมิตัวอย่างคำขวัญ ๒. ใบความรู้เกี่ยวกับคำคล้องจอง ๓. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๔. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
๑๐๙ กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การบอกความหมายและลักษณะของคำขวัญ ๒. การแต่งคำคล้องจองและคำขวัญ ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการบอกความหมายและลักษณะของคำขวัญ ๒. แบบประเมินการแต่งคำคล้องจองและคำขวัญ ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการบอกความหมายและลักษณะของคำขวัญไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการแต่งคำคล้องจองและคำขวัญไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมี ความมุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. ครูนำคำขวัญวันเด็กมาเขียนบนกระดาน แล้วขออาสาสมัครนักเรียน ๑ คน ออกมาอ่านคำขวัญ ให้ เพื่อนฟังที่หน้าชั้นเรียน จากนั้นครูให้เวลานักเรียน ๑ - ๒ นาทีจำคำขวัญวันเด็กที่ครูยกมาเป็นตัวอย่างให้ได้ ค ำขวัญ วันเด็ก ปี ๒๕๕๓ คิดสร้างสรรค์ ขยันใฝ่รู้ เชิดชูคุณธรรม นำยอภิสิทธิ์ เวชชำชีวะ ขั้นสอน ๒. ครูลบคำขวัญวันเด็กบนกระดานทิ้ง แล้วครูขออาสาสมัครนักเรียนที่จำคำขวัญวันเด็กได้ออกมาพูด คำขวัญให้เพื่อนฟังที่หน้าชั้นเรียน โดยครูถามถึงวิธีในการจำของนักเรียน และนักเรียนคิดว่า คำขวัญที่ครูยก มาจำง่ายหรือยากมากน้อยเพียงใด ๓. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนที่จำคำขวัญได้ถูกต้อง เพื่อเป็นการเสริมสร้างกำลังใจ ๔. ครูอธิบายว่า คำขวัญวันเด็กที่ครูยกมาข้างต้น มีคำคล้องจองกัน ได้แก่ คำว่า สรรค์- ขยัน, คำว่า รู้- ชู ทำให้เกิดความไพเราะและจดจำง่าย
๑๑๐ ๕. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง คำคล้องจอง ในหนังสือเรียน จากนั้นครูให้นักเรียนฝึกอ่านตัวอย่าง คำคล้องจอง ในหนังสือเรียนพร้อมกัน โดยครูคอยสังเกตการอ่านออกเสียงของนักเรียนว่าถูกต้องชัดเจน มาก น้อยเพียงใด และครูคอยให้คำแนะนำเพิ่มเติม ๖. นักเรียนจับคู่ ให้แต่ละคู่ช่วยกันทำแบบฝึกหัด ดังนี้ - เรียงคำที่กำหนดให้คล้องจองกันไปเรื่อยๆ - เขียนคำคล้องจองต่อจากคำที่กำหนด จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละคู่ออกมานำเสนอผลงานที่ หน้าชั้นเรียน โดยครูคอยตรวจสอบความถูกต้องและให้คำแนะนำเพิ่มเติม ๗. ครูและนักเรียนร่วมกันคัดเลือก และชมเชยผลงานของแต่ละคู่ที่นำเสนอผลงานได้ดีที่สุด ๘. ทำแบบฝึกหัดที่ ๖ ทักษะภาษา ข้อ ๕ หน้า ๖๒ ขั้นสรุป ๙. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านและเขียนคำขวัญ จากแผนภาพความคิดที่ครูติด บนกระดาน ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นน ำ ๑. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิมจากชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน ๒. นักเรียนจับคู่เดิม โดยครูนำแผนภูมิตัวอย่างคำขวัญที่รวบรวมไว้ให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน - เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ เด็กฉลาดชาติเจริญ - เด็กไทยคือหัวใจของชาติ - เด็กจะเจริญ ต้องรักเรียน เพียรทำดี - เด็กที่ดีต้องมีสัมมาคารวะ มานะบากบั่น และสามัคคี - เด็กในวันนี้ คือผู้ใหญ่ที่ดีในวันหน้า - เรียนให้สนุก เล่นให้ได้ความรู้ ขั้นสรุป ๓. จากนั้นร่วมกันสนทนาถึงเรื่องคำขวัญ ให้แต่ละคู่ช่วยกันคิดคำขวัญเกี่ยวกับโรงเรียน ๑ คำขวัญ ๔. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดที่ ๖ ทักษะภาษา ข้อ ๕ หน้า ๖๒ ชั่วโมงที่ ๓ ขั้นน ำ ๑. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง คำคล้องจอง ในหนังสือเรียน จากนั้นครูให้นักเรียนฝึกอ่านตัวอย่าง คำคล้องจอง ในหนังสือเรียนพร้อมกัน โดยครูคอยสังเกตการอ่านออกเสียงของนักเรียนว่าถูกต้องชัดเจน มาก น้อยเพียงใด และครูคอยให้คำแนะนำเพิ่มเติม ขั้นสอน ๒. นักเรียนจับคู่ โดยแต่ละคู่ช่วยกันเขียนคำขวัญรณรงค์ให้ตระหนักหรือเชิญชวนในเรื่องต่อไปนี้มา หัวข้อละ ๑ คำขวัญ
๑๑๑ - การสวมหมวกนิรภัยขับขี่รถจักรยานยนต์ - การข้ามถนนโดยใช้สะพานลอย - การอ่านหนังสือ - การใช้ไฟฟ้าหรือใช้น้ำอย่างประหยัด เขียนเสร็จแล้วส่งครูตรวจ ครูคัดเลือกคำขวัญที่ดีเขียนไว้ที่ป้ายประกาศ ๓. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ โดยการคัดลอกคำขวัญหรือแต่งขึ้นเองเกี่ยวกับหัวข้อที่กำหนดให้เสร็จ แล้วนำส่งครู ร่วมกันตัดสินหาคำขวัญที่ดีที่สุดของหัวข้อต่างๆ ติดไว้ที่ป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป ๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปถึงเรื่อง การอ่านและเขียนคำขวัญ แล้วเขียนเป็นแผนผังความคิด
๑๑๒ แบบประเมินกำรบอกควำมหมำยและลักษณะของค ำขวัญ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่บอกควำมหมำยและลักษณะของค ำขวัญ ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรบอก ควำมหมำย ของค ำขวัญได้ กำรบอก ลักษณะของ ค ำขวัญได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรบอก ควำมหมำย และลักษณะ ของค ำขวัญได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๑๓ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรบอกควำมหมำยและลักษณะของค ำขวัญ ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรบอกควำมหมำย ของค ำขวัญได้ สามารถบอกความหมาย ของคำขวัญได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถบอกความหมายของ คำขวัญไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถบอกความหมาย ของคำขวัญได้ ๒. กำรบอกลักษณะของ ค ำขวัญได้ สามารถบอกลักษณะ ของคำขวัญได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถบอกลักษณะของ คำขวัญไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถบอกลักษณะของ คำขวัญได้ ๓. กำรเรียบเรียงค ำใน กำรบอกควำมหมำยและ ลักษณะของค ำขวัญได้ สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย และลักษณะของคำขวัญ ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำในการ บอกความหมายและลักษณะ ของคำขวัญไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการบอกความหมาย และลักษณะของคำขวัญได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรบอกควำมหมำยและลักษณะของค ำขวัญ กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๑๔ แบบประเมินกำรแต่งค ำคล้องจองและค ำขวัญ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่แต่งค ำคล้องจองและค ำขวัญ ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๑๕ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรแต่งค ำคล้องจองและค ำขวัญ ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรแต่งค ำคล้องจองและค ำขวัญ กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๑๖ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๑๗ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๑๑๘ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................
๑๑๙ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๕ เรื่อง วรรณคดีล ำน ำ กระต่ำยไม่ตื่นตูม (ส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย) เวลำเรียน ๒ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๖ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายและบอกความหมายของคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ายได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ายได้(P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ สำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย สำระส ำคัญ คำสำนวนไทย คือ ถ้อยคำที่เรียบเรียงเป็นข้อความ หรือคำพูดที่เป็นชั้นเชิง ไม่ตรงตามรูปแบบภาษา เป็นถ้อยคำหรือคำพูดที่มีลักษณะเฉพาะตัว มีความหมายโดยนัยแฝงอยู่และนำมาใช้ในชีวิตประจำวันในเชิงให้ ข้อคิดและคติสอนใจ สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. บัตรคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย ๒. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๓. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
๑๒๐ กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การอธิบายและบอกความหมายของคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย ๒. การยกตัวอย่างคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการอธิบายและบอกความหมายของคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย ๒. แบบประเมินการยกตัวอย่างคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการอธิบายและบอกความหมายของคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการยกตัวอย่างคำสำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ายไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมี ความมุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. ครูนำนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับประเด็นดังต่อไปนี้ - ลูกกระต่ายขาวและลูกกระต่ายดำในเรื่องนี้มีลักษณะนิสัยเหมือนกับกระต่ายในนิทาน เรื่อง กระต่ายตื่นตูมหรือไม่อย่างไร - หากนักเรียนเป็นตัวละครในบทนี้จะเลือกเป็นตัวละครใด เพราะเหตุใด - นักเรียนเคยฟังข่าวหรือพบเห็นเหตุการณ์ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับนิทาน เรื่อง กระต่ายตื่น ตูมบ้างหรือไม่อย่างไร ขั้นสอน ๒. ครูแจกบัตรคำสำนวนไทยให้นักเรียนทุกคน โดยบัตรคำแต่ละใบจะแยกคำสำนวนไทยออกเป็น ๒ ส่วน เพื่อให้นักเรียนค้นหาและนำมาต่อกันให้เป็นคำสำนวนไทยที่ถูกต้อง ๓. เมื่อนักเรียนจับคู่คำสำนวนไทยได้ครบถ้วนและถูกต้องทั้งหมดแล้วให้นำมาบันทึกลงในสมุด พร้อม ทั้งหาความหมายของคำสำนวนไทยนั้น ๔. ครูสังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนของนักเรียน และบันทึกลงในแบบประเมิน ขั้นสรุป ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนของคำสำนวนไทยอีกครั้ง ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและ การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
๑๒๑ ๖. ครูนัดแนะเกี่ยวกับการเรียนในครั้งต่อไป ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นน ำ ๑. ครูนำบัตรคำสำนวนไทยมาติดไว้บนกระดาน แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงคำสำนวนไทยที่ครูติดไว้ พร้อมๆ กันทีละสำนวน เช่น คำสำนวนว่า กระต่ายขาเดียว กระต่ายหมายจันทร์ เป็นต้น ขั้นสอน ๒. นักเรียนอ่านความรู้จากชวนอ่าน ชวนคิด การอ่านสำนวนอื่นๆ ที่เกี่ยวกับกระต่าย จากหนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลำนำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๓. ครูให้นักเรียนเลือกสำนวนจากกิจกรรมข้อ ๕ มาวาดภาพประกอบ เขียนสำนวน และความหมาย ทำเป็นแผนภาพสำนวนไทยคนละ ๑ สำนวน ๔. ครูสรุปองค์ความรู้เพิ่มเติม ความหมายและลักษณะของคำสำนวนไทย โดยยกตัวอย่างจากกิจกรรม ดังกล่าวข้างต้น ขั้นสรุป ๕. ครูและนักเรียนร่วมสรุปเกี่ยวกับเรื่อง สำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่าย โดยเขียนเป็นแผนผังความคิด
๑๒๒ แบบประเมินกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่อธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรอธิบำยค ำ ส ำนวนไทย เกี่ยวกับ กระต่ำยได้ กำรบอก ควำมหมำย ของค ำส ำนวน ไทยเกี่ยวกับ กระต่ำยได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรอธิบำย และบอก ควำมหมำยของ ค ำส ำนวนไทย เกี่ยวกับ กระต่ำยได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๒๓ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรอธิบำยค ำส ำนวน ไทยเกี่ยวกับกระต่ำยได้ สามารถอธิบายคำ สำนวนไทยเกี่ยวกับ กระต่ายได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถอธิบายคำสำนวนไทย เกี่ยวกับกระต่ายไม่ค่อยตรง ประเด็น ไม่สามารถอธิบายคำสำนวน ไทยเกี่ยวกับกระต่ายได้ ๒. กำรบอกควำมหมำย ของค ำส ำนวนไทยเกี่ยว กับกระต่ำยได้ สามารถบอกความหมาย ของคำสำนวนไทยเกี่ยว กับกระต่ายได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถบอกความหมาย ของคำสำนวนไทยเกี่ยวกับ กระต่ายไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถบอกความหมาย ของคำสำนวนไทยเกี่ยวกับ กระต่ายได้ ๓. ก ำ รเ รี ยบเ รี ย ง ค ำ ในกำรอธิบำยและบอก ค ว ำ ม ห ม ำ ย ข อ ง ค ำ ส ำ น ว นไ ท ย เ กี่ ย ว กั บ กระต่ำยได้ สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายและ บอกความหมายของ คำสำนวนไทยเกี่ยว กับกระต่ายได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำในการ อธิบายและบอกความหมาย ของคำสำนวนไทยเกี่ยวกับ กระต่ายไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายและบอก ความหมายของคำสำนวน ไทยเกี่ยวกับกระต่ายได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๒๔ แบบประเมินกำรยกตัวอย่ำงค ำส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่ยกตัวอย่ำงค ำส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๒๕ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรยกตัวอย่ำงค ำส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรยกตัวอย่ำงค ำส ำนวนไทยเกี่ยวกับกระต่ำย กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๒๖ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๒๗ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๑๒๘ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................
๑๒๙ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๖ เรื่อง ภำษำถิ่น เวลำเรียน ๒ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๖ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายและบอกความหมายของคำภาษาไทยกลางและคำภาษาถิ่นได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถเลือกเขียนภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ (P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ - การอ่านออกเสียงและเขียนภาษาไทยกลางและคำภาษาถิ่น - การเขียนภาษาไทยกลางและคำภาษาถิ่นเพื่อใช้ในการสื่อสาร สำระส ำคัญ ภาษาถิ่น คือ ภาษาที่ใช้อยู่ในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งของประเทศ ในประเทศไทยมีภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นเป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน จึงควรศึกษาและใช้ให้ ถูกต้อง สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๒. แบบฝึกหัดชุดภาษาเพื่อชีวิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๓. เพลงแฟนจ๋า ๔. ใบงานภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น
๑๓๐ กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การอธิบายและบอกความหมายของคำภาษาไทยกลางและคำภาษาถิ่น ๒. การเลือกเขียนภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการอธิบายและบอกความหมายของคำภาษาไทยกลางและคำภาษาถิ่น ๒. แบบประเมินการเลือกเขียนภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการอธิบายและบอกความหมายของคำภาษาไทยกลางและคำ ภาษาถิ่นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการเลือกเขียนภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมี ความมุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. ครูให้นักเรียนฟังเพลงแฟนจ๋า ซึ่งขับร้องโดยธงไชย แมค อินไตยและให้นักเรียนสังเกตคำในท่อนที่ มีนักร้องหญิงออกมาร้อง ๒. ครูให้นักเรียนฟังเพลงนี้ ๒ รอบ ขั้นสอน ๓. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่าในประเทศไทยนอกจากภาษาไทยมาตรฐานที่เราใช้อ่าน ใช้พูด ใช้ สื่อสารกันในชีวิตประจำวันแล้วยังมีภาษาท้องถิ่นที่ใช้กันในแต่ละภูมิภาค ๔. ครูถามนักเรียนว่ามีใครเป็นคนท้องถิ่นภาคเหนือ ภาคอีสานหรือภาคใต้บ้าง ให้ออกมาพูด ยกตัวอย่างคำภาษาถิ่น ขั้นสรุป ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนเกี่ยวกับภาษาถิ่น ในประเด็นเกี่ยวกับความหมายและการ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๖. ครูนัดแนะเกี่ยวกับการเรียนในครั้งต่อไป
๑๓๑ ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นน ำ ๑. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความรู้ในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน ๒. ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านออกเสียงจากหนังสือเรียนภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ หน้า ๑๐๙ ๓. มอบหมายภาระงานให้นักเรียนทำดังต่อไปนี้ ๓.๑ ให้นักเรียนจับคู่ ๓.๒ แจกใบงานภาษาท้องถิ่นให้นักเรียนทุกคนภายในแต่ละคู่ ๓.๓ นำนักเรียนไปห้องคอมพิวเตอร์เพื่อค้นคว้าหาคำภาษาถิ่นภาคต่างๆ ภาคละ ๕ คำและ นำมาเทียบกับภาษาไทยมาตรฐานและนำคำที่หามาแต่งประโยคให้ได้ใจความ ๓.๔ คู่ใดทำเสร็จให้นำงานมาส่งครู ขั้นสรุป ๔. ครูและนักเรียนร่วมสรุปเกี่ยวกับเรื่อง ภาษาถิ่น โดยเขียนเป็นแผนผังความคิด
๑๓๒ แบบประเมินกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำภำษำไทยกลำงและค ำภำษำถิ่น ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่อธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำภำษำไทยกลำงและค ำภำษำถิ่น ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรอธิบำยค ำ ภำษำไทยกลำง และค ำภำษำ ถิ่นได้ กำรบอก ควำมหมำย ของค ำ ภำษำไทย กลำงและค ำ ภำษำถิ่นได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรอธิบำย และบอก ควำมหมำยของ ค ำภำษำไทย กลำงและค ำ ภำษำถิ่นได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๓๓ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำภำษำไทยกลำงและค ำภำษำถิ่น ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรอธิบำยค ำ ภำษำไทยกลำงและ ค ำภำษำถิ่นได้ สามารถอธิบายคำ ภาษาไทยกลางและ คำภาษาถิ่นได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถอธิบายคำภาษาไทย กลางและคำภาษาถิ่นไม่ค่อย ตรงประเด็น ไม่สามารถอธิบายคำ ภาษาไทยกลางและ คำภาษาถิ่นได้ ๒. กำรบอกควำมหมำย ของค ำภำษำไทยกลำง และค ำภำษำถิ่นได้ สามารถบอกความหมาย ของคำภาษาไทยกลาง และคำภาษาถิ่นได้ ถูกต้องครบถ้วน สามารถบอกความหมายของ คำภาษาไทยกลางและคำ ภาษาถิ่นไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถบอกความหมาย ของคำภาษาไทยกลางและ คำภาษาถิ่นได้ ๓. ก ำ รเ รี ยบเ รี ย ง ค ำ ในกำรอธิบำยและบอก ค ว ำ ม ห ม ำ ย ข อ ง ค ำ ภำษำไทยกลำงและค ำ ภำษำถิ่นได้ สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายและ บอกความหมายของ คำภาษาไทยกลางและ คำภาษาถิ่นได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำในการ อธิบายและบอกความหมาย ของคำภาษาไทยกลางและคำ ภาษาถิ่นไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายและบอก ความหมายของคำ ภาษาไทยกลางและคำ ภาษาถิ่นได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำภำษำไทยกลำงและค ำภำษำ ถิ่น กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๓๔ แบบประเมินกำรเลือกเขียนภำษำไทยมำตรฐำนและภำษำถิ่น ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่เลือกเขียนภำษำไทยมำตรฐำนและภำษำถิ่น ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๓๕ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรเลือกเขียนภำษำไทยมำตรฐำนและภำษำถิ่น ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรเลือกเขียนภำษำไทยมำตรฐำนและภำษำถิ่น กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๓๖ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงษ์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๓๗ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๑๓๘ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................
๑๓๙ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย (รำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑) ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง หลักกำรใช้ภำษำไทย ภำคเรียนที่ ๒ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๘๗ เรื่อง ค ำศัพท์ในบทเรียนเรื่อง ป่ำนี้มีคุณ เวลำเรียน ๒ ชั่วโมง สอนวันที่………….เดือน………………………….พ.ศ…………… ผู้สอน นำงสำวสุภำพร ปะละทัง มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๓/๖ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายและบอกความหมายของคำภาษาไทยมาตรฐานได้ (K) ๒. นักเรียนสามารถเลือกเขียนภาษาไทยมาตรฐานได้เหมาะสมกับกาลเทศะ (P) ๓. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) สำระกำรเรียนรู้ - การอ่านออกเสียงและเขียนภาษาไทยมาตรฐาน - การเขียนภาษาไทยกลางมาตรฐานเพื่อใช้ในการสื่อสาร สำระส ำคัญ ภาษาถิ่น คือ ภาษาที่ใช้อยู่ในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งของประเทศ ในประเทศไทยมีภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นเป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน จึงควรศึกษาและใช้ให้ ถูกต้อง สมรรถนะส ำคัญของผู้เรียน ๑. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน สื่อกำรเรียนรู้/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. บัตรคำ ๒. แบบฝึกทักษะที่ ๑ ๓. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๔. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
๑๔๐ กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑. วิธีกำรวัดและประเมินผล ๑. การอธิบายและบอกความหมายของคำภาษาไทยมาตรฐาน ๒. การเลือกเขียนภาษาไทยมาตรฐาน ๓. การสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๒. เครื่องมือ ๑. แบบประเมินการอธิบายและบอกความหมายของคำภาษาไทยมาตรฐาน ๒. แบบประเมินการเลือกเขียนภาษาไทยมาตรฐาน ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน ๓. เกณฑ์กำรประเมิน ๑. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการอธิบายและบอกความหมายของคำภาษาไทยมาตรฐานไม่น้อย กว่าร้อยละ ๗๐ % ๒. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนการเลือกเขียนภาษาไทยมาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % ๓. นักเรียนทุกคนมีผลคะแนนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมี ความมุ่งมั่นในการทำงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ % กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นน ำ ๑. พูดคุยสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับภาพประกอบในเรื่องป่านี้มีคุณ ๒. ครูทบทวนความรู้ในชั่วโมงก่อนโดยให้นักเรียนอ่านทีละคน ขั้นสอน ๓. นักเรียนอ่านออกเสียงจากเนื้อเรื่อง ป่านี้มีคุณโดยให้คู่เดิม หรือตัวแทนของแต่ละคู่ที่อ่านหนังสือได้ เป็นคนอ่านนำ แล้วให้นักเรียนในห้องอ่านตาม คู่ละ ๑ คน คนละ ๑ ย่อหน้า ๔. ให้นักเรียนอ่านออกเสียงจากเรื่องป่านี้มีคุณครูแนะนำวิธีการอ่านออกเสียงที่ถูกต้องให้นักเรียน ปฏิบัติ คือ มารยาทในการอ่าน เช่น - ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น - ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน - ไม่ทำลายหนังสือ - ไม่ควรแย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกำลังอ่าน ๕. เมื่ออ่านจบ ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบปากเปล่า - กระแสพระราชดำรัสของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสใด - สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ คือใคร - วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๔๔ สำคัญอย่างไร - ป่านี้มีคุณสำคัญอย่างไร
๑๔๑ - ใครประกวดคัดลายมือได้ที่หนึ่ง - ครูอารีให้นักเรียนไปค้นคว้าความรู้เรื่องอะไร - ใครนอนฝันเห็นสัตว์ประหลาด - มีสัตว์อะไรบ้างที่เข้าประกวดร้องเพลงที่เกี่ยวกับความดีให้สัตว์ประหลาดฟัง ๖. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดที่ ๓ ในหนังสือทักษะภาษา ข้อ ๓ - ๔ หน้า ๒๓ เป็นการบ้าน ขั้นสรุป ๗. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนเกี่ยวกับเรื่อง คำศัพท์ในบทเรียนเรื่อง ป่านี้มีคุณ โดยบันทึกลง ในสมุด ๘. ครูนัดแนะเกี่ยวกับการเรียนในครั้งต่อไป ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นน ำ ๑. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความรู้ในชั่วโมงที่แล้ว ขั้นสอน ๒. ครูพูดคุยสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านในชั่วโมงก่อน มีตัวละคร ใคร ทำอะไร ที่ไหน จากเรื่อง ป่านี้มีคุณ . ๓. นักเรียนจับคู่และร่วมกันเล่าเรื่อง ป่านี้มีคุณ ตามลำดับเหตุการณ์ ๔. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ ตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็นจากเนื้อเรื่องที่อ่าน (แบบฝึกทักษะ ที่ ๑) ขั้นสรุป ๕. ครูและนักเรียนร่วมสรุปเกี่ยวกับเรื่อง คำศัพท์ในบทเรียนเรื่อง ป่านี้มีคุณ อีกครั้งโดยเขียนเป็นแผนผัง ความคิด
๑๔๒ แบบประเมินกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำภำษำไทยมำตรฐำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่อธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำภำษำไทยมำตรฐำน ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม กำรอธิบำยค ำ ภำษำไทย มำตรฐำนได้ กำรบอก ควำมหมำย ของค ำ ภำษำไทย มำตรฐำนได้ กำรเรียบ เรียงค ำใน กำรอธิบำย และบอก ควำมหมำยของ ค ำภำษำไทย มำตรฐำนได้ ตรงตำมเวลำ ที่ก ำหนด ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๔๓ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำภำษำไทยมำตรฐำน ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. กำรอธิบำยค ำ ภำษำไทยมำตรฐำนได้ สามารถอธิบายคำ ภาษาไทยมาตรฐาน ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถอธิบายคำภาษาไทย มาตรฐานไม่ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถอธิบายคำ ภาษาไทยมาตรฐานได้ ๒. กำรบอกควำมหมำย ของค ำภำษำไทย มำตรฐำนได้ สามารถบอกความ หมายของคำภาษาไทย มาตรฐานได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถบอกความหมายของ คำภาษาไทยมาตรฐานไม่ค่อย ตรงประเด็น ไม่สามารถบอกความหมาย ของคำภาษาไทยมาตรฐาน ได้ ๓. ก ำ รเ รี ยบเ รี ย ง ค ำ ในกำรอธิบำยและบอก ค ว ำ ม ห ม ำ ย ข อ ง ค ำ ภำษำไทยมำตรฐำนได้ สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายและบอก ความหมายของคำ ภาษาไทยมาตรฐาน ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถเรียบเรียงคำในการ อธิบายและบอกความหมาย ของคำภาษาไทยมาตรฐานไม่ ค่อยตรงประเด็น ไม่สามารถเรียบเรียงคำ ในการอธิบายและบอก ความหมายของคำ ภาษาไทยมาตรฐานได้ ๔. ตรงตำมเวลำที่ก ำหนด สามารถตอบคำถาม หรือส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด ตอบคำถามหรือส่งงานช้ากว่า เวลาที่กำหนด ไม่ตอบคำถามและส่งงานที่ ครูมอบหมายให้ทำ เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรอธิบำยและบอกควำมหมำยของค ำภำษำไทยมำตรฐำน กำหนดไว้ ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๔๔ แบบประเมินกำรเลือกเขียนภำษำไทยมำตรฐำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินขีด ลงในช่องที่เลือกเขียนภำษำไทยมำตรฐำน ที่ ชื่อ – สกุล แบบรำยงำนกำรสังเกต รวม เวลำ มำรยำท ในกำรเขียน กำรเว้นวรรค ตอนถูกต้อง ควำมสะอำด เป็นระเบียบ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ๑ เด็กชายพีรวัตถ์ หงส์จำนงค์ ๒ เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓ เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔ เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๔๕ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรเลือกเขียนภำษำไทยมำตรฐำน ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน/ระดับ ๓ (ดี) ๒ (ปำนกลำง) ๑ (ปรับปรุง) ๑. เวลำ ส่งงานตามเวลาที่ กำหนด ส่งงานหลังเวลาที่กำหนดปาน กลาง ไม่ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๒. มำรยำทในกำรเขียน มีสมาธิ และมีความ ตั้งใจในการเขียนอย่าง สม่ำเสมอ ไม่พูดคุย เล่น ระหว่างทำงาน มีความตั้งใจในการเขียน พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทำงานเป็นบางครั้ง ไม่มีความตั้งใจในการเขียน พูด คุย เล่น ระหว่างทำงาน ตลอดเวลาต้องคอยตักเตือน ๓. กำรเว้นวรรคตอน ถูกต้อง การเขียนเว้นวรรคตอน ได้ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง การเขียนเว้นวรรคตอนผิดบ้าง เป็นบางครั้ง การเขียนเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้นจน จบเรื่อง ๔. ควำมสะอำดเป็น ระเบียบ ตัวอักษรสม่ำเสมอ เรียบร้อย สวยงาน ผลงานสะอาด ไม่มี รอยลบขีดฆ่า ตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ ผลงานไม่สะอาด มีรอยลบขีด ฆ่า ๓ - ๕ แห่ง ตัวอักษรไม่สมำเสมอมีรอย ลบขีดฆ่ามากกว่า ๖ แห่ง เกณฑ์กำรให้คะแนนควำมถูกต้องในกำรเลือกเขียนภำษำไทยมำตรฐำน กำหนดไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๘ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๑๑ – ๑๒ ดี ๘ – ๑๐ ปานกลาง ๐ – ๗ ปรับปรุง
๑๔๖ แบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓ ค ำชี้แจง : ครูผู้สอนท ำเครื่องหมำย ลงในช่องที่นักเรียนแสดงพฤติกรรม ที่ ชื่อ – สกุล รำยกำรประเมิน รวม สรุป มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในกำรท ำงำน ๓ ๓ ๓ ๙ ผ่ำน ไม่ผ่ำน ๑. เด็กชายพีรวัตถ์ หงษ์จำนงค์ ๒. เด็กหญิงชนิดา สุพวงแก้ว ๓. เด็กหญิงพิญชญา เถาว์ชาลี ๔. เด็กหญิงจินดารัตน์ สุมุลละ รวมผลกำรประเมิน ข้อเสนะแนะเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) วันที่.......เดือน.........................พ.ศ.................
๑๔๗ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน รำยกำรประเมิน ๓ (ดีมำก) ๒ (ดี) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มีวินัย ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นอย่างดี ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและ ข้อบังคับของ โรงเรียนได้เป็นบางครั้ง ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อบังคับ ของโรงเรียนได้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ นักเรียนตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้เป็นบางครั้ง นักเรียนไม่ตั้งใจสนใจในการ เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในกำร ท ำงำน ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น อย่างดี ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน และ ทำงานด้วยความเพียร พยายามและอดทนได้เป็น บางส่วน ไม่ตั้งใจทำงานและไม่ รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การงาน และทำงานด้วยความ เพียรพยายามและอดทนไม่ได้ เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินกำรสังเกตพฤติกรรมควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นกำรท ำงำน กำหนด ไว้ดังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง ปานกลาง ๑ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรประเมิน ๗๐ % ขึ้นไป (๕ คะแนนขึ้นไป) ช่วงคะแนน ระดับคุณภำพ ๘ – ๙ ดี ๖ – ๗ ปานกลาง ๐ – ๕ ปรับปรุง
๑๔๘ ควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางจุฬาลักษณ์ อรรคชัย) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบึงโคกสะอาด รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองไผ่ ............/................................./.......................... บันทึกผลหลังกำรสอน ๑. ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑.๑ ด้ำนควำมรู้ (K) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (P) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ด้ำนคุณลักษณะ (A) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ...................................................ผู้สอน (นางสาวสุภาพร ปะละทัง) ........../........................../...................