The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pickviper, 2021-09-27 10:29:16

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

36

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยท่ี..........4.......

ช่อื หน่วย โครงสร้างและสว่ นประกอบของเครือ่ งยนตด์ ีเซล สอนครงั้ ท่ี.............
ชั่วโมงรวม.............

จาํ นวนชั่วโมง..........

1. สาระสําคญั
ช้ินส่วนท่ีเคล่อื นทขี่ องเคร่ืองยนตค์ ือช้ินสว่ นทุกช้ินส่วนของเคร่ืองยนตท์ ่ีเคล่อื นทไี่ ปในขณะเครอื่ งยนตก์ าลงั

ทางาน ซ่ึงชน้ิ ส่วนเหกลา่ นมิ้ คี วามสาคัญอย่างยงิ่ ในการทางานของเครอื่ งยนตห์ ากช้นิ ส่วนใดทางานผดิ พลาดหรอื
บกพร่องย่อมสง่ ผลให้ประสิทธิภาพของเครอ่ื งยนตล์ ดลงหรอื ถึงขนั้ ไมส่ ามารถทางานได้ จงึ จาเปน็ อย่างย่ิงทจ่ี ะตอ้ ง
ศึกษาหน้าทกี่ ารทางานของชนิ้ ส่วนต่างๆทเ่ี คลือ่ นทีใ่ หเ้ ข้าใจ
2.สมรรถนะประจาํ หน่วย

นกั เรยี นแสดงความร้คู วามสามารถในการบังคับและการควบคมุ รถยนต์วิธกี ารขบั รถยนต์เดนิ หนา้ วิธีการขบั
รถยนตถ์ อยหลงั ไดอ้ ย่างถกู ต้อง
3.จดุ ประสงค์การเรียนรู้

3.1 ดานความรู
1. เพือ่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับชอ่ื ของชน้ิ สว่ นทมี่ กี ารเคลอื่ นที่ ตลอดจนหนา้ ท่ีการทางานและ
โครงสรา้ งของชิ้นส่วนเหลา่ น้ัน
2. เพ่อื ให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจคาศพั ท์ที่เกี่ยวข้องกบั โครงสร้างและสว่ นประกอบของเครื่องยนต์ดีเซล
3. เพื่อให้เห็นคุณค่าของชิน้ สว่ นที่เคล่ือนที่ในเคร่อื งยนต์ดีเซล

3.2 ดานทักษะ
1. สามารถบอกชอื่ และจาแนกชนิ้ ส่วนทเ่ี คล่ือนท่ไี ด้
2. สามารถอธบิ ายหน้าทกี่ ารทางานของชิ้นส่วนทเี่ คล่ือนท่ีได้
3. สามารถบอกคาศพั ท์ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับโครงสร้างและส่วนประกอบของเคร่ืองยนต์ดีเซลได้

3.3 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค
3.3.1.นักเรยี นมีความสนใจฝกั ใฝใ่ นการเรยี นรู้
3.3.2.นกั เรยี นเข้าเรยี นตรงตามเวลา
3.3.3.นักเรียนทางานเสร็จสมบรู ณแ์ ละสง่ ตามเวลา
3.3.4.นกั เรยี นกลา้ แสดงออกในการเรยี นรนู้ าเสนองาน
3.3.5.นกั เรียนใช้เครื่องมอื การใชร้ ถฝกึ หัดขบั ด้วยความปลอดภยั ประหยดั รอบคอบ คุ้มค่า

37

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยท่ี........4........

ชือ่ หนว่ ย โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของเครอ่ื งยนต์ดีเซล สอนคร้ังท่ี.............
ชว่ั โมงรวม.............

ชว่ั โมงรวม.............

4.เนื้อหาสาระการเรียนรู้
3. ชิน้ สว่ นท่ีเคลื่อนที่ (Moving Parts)

ชิ้นส่วนท่มี กี ารเคลอื่ นท่แี บง่ ออกไดต้ ามลกั ษณะการเคลอ่ื นทดี่ ังน้ี
3.1 ชิน้ สว่ นที่เคลื่อนทก่ี ลับไปกลับมา (Reciprocation Motion)
1) ลูกสบู (Piston) ลูกสบู จะรับแรงดันทีเ่ กิดจากการเผาไหม้ แล้วสง่ พลงั งานนน้ั ไปทเ่ี พลาข้อเหวี่ยงผ่านทางกา้ นสูบ
ในขณะเดีย่ วกันก็จะผลกั ดันแกด๊สทีเ่ กิดจากการเผาไหมอ้ อกจากกระบอกสูบทางช่องไอเสียดงั นน้ั ลกู สูบจึงตอ้ งทามา
จากวสั ดตดบิ ท่ีสามารถทนทานตอ่ ความรอ้ นและความกดดนั สงู ได้

รูปที่ 4.2.1 ลักษณะลกู สบู

หนา้ ทขี่ องลูกสูบ
1. เปน็ ซลี ปอ้ งกันการรวั่ ถงึ กันระหวา่ งหอ้ งเผาไหม้กบั ห้องเพลาขอ้ เหวีย่ ง
2. เปน็ สว่ นหนง่ึ ของห้องเผาไหม้
3. ระบายความร้อน
4. รับแรงดันจากการขยายตวั ของแกส๊ ในจงั หวะระเบดิ (จงั หวะกาลัง)วสั ดุที่ใช้ทาลกู สูบควรมีคุณสมบตั ิดังนี้
5. มีการถ่ายเทความรอ้ นหรอื ระบายความรอ้ นได้ดี
6. มีความแขง็ แรงสูง
7. มีน้าหนักเบา
8. มคี ุณสมบตั ิในการล่ืนไถลได้ดี
9. มอี ัตราการขยายตวั ต่า
10. ราคาถูก

2) แหวนลูกสบู (Piston Ring) แหวนลูกสูบจะติดต้ังอยใู่ นร่องแหกวนทางตอนบนของลกู สบู นอกจากเคล่อื นตัวขน้ึ
ลงพร้องกบั ลูกสบู แลว้ ยงั เคลื่อนตวั ขึน้ ลงอย่ใู นรอ่ งแหวนของลูกสูบอกี ด้วย

38

รปู ที่ 4.2.2 แหวนลกู สูบ
หนา้ ทข่ี องแหวนลกู สูบ
1. ช่วยระบายความร้อนของลูกสูบ
2. เปน็ ส่วนหนึ่งของห้องเผาไหม้ (แหวนตัวบนสดุ )
3. ป้องกนั ไม่ให้กาลังอดั และก๊าซท่เี กิดจากกการผาไหม้ร่วั ไหลลงหอ้ งเพลาข้อเหว่ียง
4. ป้องกันไมใ่ ห้น้ามนั เครอ่ื งจากห้องเพลาข้อเหวย่ี งขึน้ ไปยงั หอ้ งเผาไหม้
วสั ดุท่ีใชท้ าแผนลกู สูบ
1. ราคาถกู
2. ลืน่ ไถลได้ดี
3. เปน็ สปริงได้ดี
4. มกี รรมวธิ กี ารผลิตที่ง่าย
5. ทนตอ่ แรงระเบดิ
แหวนลูกสบู ที่ใช้กบั เคร่ืองยนต์มี 2 ชนิดคือ

1. แหวนอัด (Compression Ring) ถูกติดตัง้ อย่ใู นร่องแหวนร่องบนของลกู สบู ทาหนา้ ที่ป้องกันไม่ให้
อากาศทถี่ กู อัด และแก๊สท่ีเกดิ จากการระเบดิ ร่วั ลงสูห่ ้องเพลาขอ้ เหวย่ี ง นอกจากนี้ยังชว่ ยระบายความรอ้ นจากลูกสบู
ไปยงั กระบอกสูบ

แหวนอัดมีหลายชนิดดังน้ี
- แบบเรยี บ (Plain Type)
- แบบเรียว (Taper Type)
แบบบาก (Inner Bevel Type)

2. แหวนนา้ มัน (Oil Control Rings) ประกอบถดั จากแหวนอดั ลงมามี 1-3 ตวั ทาหน้าที่กวาด
น้ามันหล่อลืน่ เมอื่ เล่อื นลง และไปกาจัดฟิล์มนา้ มันเครอ่ื งท่ผี นังกระบอกสูบเมอ่ื เลอื่ นขนึ้ แหวนนา้ มนั มหี ลายชนิดดังน้ี
- One - Piece Slotted Type
- Multipiece Type

- Spring Loaded Type
- Three - Piece Type

รปู ท่ี 4.2.4 แหวนนา้ มนั แบบตา่ งๆ
3) สลกั ลูกสูบ(Piston Pins) ทาหน้าทย่ี ดึ กา้ นสบู และลูกสูบเข้าด้วยกัน

39

รูปท่ี 4.2.5 ลักษณะของลกู สูบและการใช้งาน
วิธจี ับยึดกา้ นสบู และลกู สบู เข้าด้ายกันโดยใช้สลักลูกสูบ มหี ลายวธิ กี ารดังนี้
1).แบบตาย (Fixed Pin) วธิ นี ี้เป็นการลอ็ คสลักลูกสบู ดว้ ยสกรู ทาให้สลกั ลกู สบู ไมส่ ามารถหมุนไปในลกู สบู ได้ ดงั รปู

2).แบบกึง่ ลอย (Semi Floating Pin) วิธีน้ีสวมอัดสลักลกู สบู เขา้ ในลกู สูบและกา้ นสบู โดยมโี บลทย์ ึดท่กี า้ นสูบ
สลกั ลกู สบู สามารถหมนุ ไปมาได้ ดังรูป ข
3).แบบลอย (Full - Floating Pin) วิธนี ี้สวมอดั สลักลกู สูบเขา้ ในลูกสบู และก้านสูบ โดยมีแหวน (Snap Ring)
กันสลักลูกสบู เลอื่ นออกทางด้านขา้ ง ดังรปู ค

กา้ นสูบทาหนา้ ที่ส่งแรงที่ได้รับจากลูกสูบไปยังเพลาขอ้ เหวีย่ ง และดว้ ยเหตทุ ี่กา้ นสูบนีต้ ้องทางานในสภาวะทีม่ แี รงกด
และแรงบิดสูงขณะท่ีเครอ่ื งยนต์ทางาน ดงั นนั้ วัสดทุ ่ีใช้ทากา้ นสูบจึงต้องมีความแข็งแรง่ เพยี งพอ ขณะเดยี วกันตอ้ งมี
น้าหนกั เบาเช่นเดียวกับลกู สูบ

รปู ท่ี 4.2.7 ลกั ษณะของกา้ นสูบ
5). ลน้ิ และกลไกลิ้น (Valve and Valve Trains) ล้ินหรือวาล์วโครงสรา้ งจะเปน็ รปู ดอกเหด็ ทั้งลน้ิ ไอดี
และลนิ้ ไอเสีย หน้าสัมผัสจะทาเปน็ มมุ เอียง 45 องศา และนง่ั แนบสนทิ บนบ่าลนิ้ ป้องการรั่วของอากาศในกระบอก
สูบ ส่วนปลายกา้ นล้ินจะเซาะเป็นร่องสาหรับยึดประกบ เพ่ือรองรับแปน้ สปรงิ ล้ิน และใหล้ ้นิ นัง่ บนบา่ ล้นิ ดว้ ยความ
แนบสนิท

เนอ่ื งจากล้นิ ต้องทางานอยกู่ บั แก๊สที่มีอณุ หภูมิสูง และไดร้ บั การกระทบกระแทกจากแรงระเบิดของการ
เผาไหมข้ องเชือ้ เพลิง และล้นิ ต้องมคี วามแข็งแกร่งพอทจี่ ะรับความร้อนและแรงกระแทกจานวนมากได้

รูปที่ 4.2.8 ลกั ษณะของล้ินไอดแี ละลนิ้ ไอเสีย 40

สปริงล้นิ (Spring Valve) สปริงเหลา่ น้จี ะทาให้ล้นิ ปิดสนทิ แนน่ ข้นึ เม่อื เพลาลูกเบ้ยี วมกี ารเตลอ่ื นไหว

กระเดอื่ งกดลิ้น (Rocker Arms) จะอยูภ่ ายในฝาสบู และมีเพลาหมุนอยตู่ รงกลาง ครงึ่ ของกระเดอ่ื งกด

ลนิ้ จะทางานตามความเคลือ่ นไหวของลกู เบ้ยี ว

ลูกกระทงุ้ มีลกั ษณะเปน็ รูปทรงกระบอกซึง่ จะสัมผัสกับเพลาลกู เบีย้ วจะเปลี่ยนการหมนุ ของเพลาลกู เบ้ียว

มาเป็นจงั หวะข้ึนๆลงๆ เพอ่ื สง่ กาลงั งานต่อไปยงั กา้ นกระทุง้ ลนิ้

กา้ นกระทุ้งลิ้น (Push Rods) จะทาหน้าที่ถา่ ยการเคล่อื นไหวของลกู กระทุ้งไปยังกระเด่ืองกดลนิ้
ปลอกนาล้นิ (Valve Guides) เป็นปลอกท่มี ีขนาดรใู กล้เคียงกับกา้ นล้ินโดยยอมให้มชี ่องว่างเพียง
เลก็ น้อยเพือ่ การขยายตวั จะอย่กู ับสบู เป็นที่สาหรบั ให้ลิ้นขยับขึ้นลงเพ่ือเปิดปดิ ล้ิน
บ่าลิ้น (Valve Seats) ทาหนา้ ที่ให้หนา้ ล้นิ นัง่ สมั ผสั บนบา่ ล้ินอย่างแนบสนิท โดยตัดบา่ เปน็ มุมเอยี งรับ
มมุ เอียงของหน้าลน้ิ จะเป็นแหวนอดั ไวใ้ นฝาสูบ สามารถเปล่ยี นได้ถ้ามีการสกึ หรอมาก
เพลาลกู เบี้ยว (Camshaft) ทาหน้าทรี่ ับแรงหมุนจากเพลาข้อเหวี่ยงเพ่ือถา่ ยทอดกาลังใหม้ ีการเปดิ ปิดล้นิ
กลา่ วคอื จุดเหนอื สุดบนเพลาจะผลกั ลิน้ ใหเ้ ปิด ในขณะทีส่ ่วนล่างจะปล่อยให้ลน้ิ ปดิ ด้วยแรงของสปรงิ

รูปท่ี 4.2.9 ส่วนประกอบของกลไกวาลว์
ในเครอื่ งยนต์ 4 จังหวะ กระบอกสูบแต่ละอนั จะประกอบด้วยล้ินไอดี และลิน้ ไอเสยี กระบอกสบู ละตวั
หรือสองตวั กลไกล้นิ เปน็ อปุ กรณท์ ่ใี ช้เปิดและปิดวงลอ้ ในเวลาทเ่ี หมาะสม
ท่ีสุด เพือ่ ให้การเคลือ่ นที่ของล้นิ สอดคลอ้ งกับการเคลือ่ นทขี่ องลูกสูบขณะเคลอ่ื นที่ขนึ้ ลง กลไกล้นิ ส่วนมากมี 3 แบบ
ดังน้ี
โอ เอช วี (OHV :Over Head Valve) หรือลิน้ หรอื ฝาสูบกลไกนจี้ ะมีเพลาลูกเบีย้ วอยูท่ างด้านข้างของ
กระบอกสูบ การเคลอ่ื นตวั ของลกู เบย้ี วเปน็ ไปได้ด้วยการอาศัยกา้ นกระทุ้ง กระเดอ่ื งกดลิ้น หรือกลไกอืน่ ๆ ทีเ่ ปิดและ
ปิดล้ิน ซงึ่ อยู่บนห้องเผาไหม้ ดงั รูป

รูปท่ี 4.2.10 กลไกลน้ิ แบบ OHV
โอ เอช ซี (OHC :Over Head Camshaft) หรอื เพลาลกู เบี้ยวอยเู่ หนือฝาสูบ เป็นกลไกทเี่ พลาลกู เบี้ยวอยู่
มนฝาสูบ การเคลอื่ นตวั ของเพลาลูกเบ้ียวจะอาศัยกระเดอื่ งกดล้นิ ไปทาให้ล้นิ เคล่อื นท่ี ดังรูป

41

รปู ที่ 4.2.11 กลไกลิ้นแบบ OHC
ดี โอ เอช ซี ( DOHC : Dual Over Head Camshaft) หรอื เพลาลกู เบ้ยี วอยู่เหนอื ฝาสูบ เปน็ กลไก
ท่มี ีเพลาลูกเบยี้ วสองอัน อนั หนึง่ ใชส้ าหรับลนิ้ ไอดีโดยเฉพาะ และอีกอนั หน่งึ ใช้สาหรับล้นิ ไอเสยี ซง่ึ ทาหนา้ ท่ีเปดิ และ
ปิดลิ้นโดยตรง ดังรปู

รูปที่ 4.2.12 กลไกลิน้ แบบ DOHC
เคล่ือนทีข่ ึ้นลงของลกู สบู ที่เกิดจากแรงดนั การเผาไหมใ้ นแตล่ ะกระบอกสบู ใหเ้ ปน็ การหมนุ แบบหมุนเป็น
วงกลม นอกจากน้ที าใหเ้ กดิ การจงั หวะการเคลือ่ นไหวอย่างต่อเนอื่ ง โดยเปน็ ตวั

รปู ท่ี 4.2.13 ลกั ษณะของเพลาข้อเหวย่ี ง
แบริง่ (Bearing) หรือลูกปนื จะติดอย่ใู นส่วนของแบริง่ ซึ่งจะกลายเปน็ ศนู ยก์ ลางของการหมนุ ของเพลา
ขอ้ เหวีย่ ง และอยู่ในกา้ นสบู ซงึ่ เชอื่ มลกู สบู กับเพลาข้อเหว่ยี ง แบร่งิ จะทาหนา้ ท่ีช่วยใหก้ ารหมุนเรียบขนึ้ พร้อมกับการ
สึกหรอ
- แบริง่ หลัก (Main Bearing) จะทาหนา้ ทีร่ องรบั เพลาข้อเหวีย่ ง ดงั รูป

รูปที่ 4.2.14 ลักษณะของแบริง่ หลัก

- แบริ่งกา้ นสบู (Connecting Rod Bearing) ทาหน้าทีร่ องรบั กา้ นสบู

รูปท่ี 42.15 ลกั ษณะของแบร่งิ ก้านสูบ

คุณสมบตั ขิ องแบรงิ่ ท่ีดีมดี ังตอ่ ไปนี้
1. ทนต่อภาระทเี่ กดิ ข้ึนในจงั หวะท่ีลูกสบู เล่อื นขนึ้ และเล่ือนลง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในจังหวะกาลงั
2. ทนต่อการกดั กร่อนจากสภาพต่างๆในเพลาข้องเหวีย่ ง
3. มีคณุ สมบตั ใิ นการปรับสภาพ
4. เปน็ ตวั นาความรอ้ นทีด่ ี เพอื่ สง่ ถ่ายความร้องท่เี กิดจากการเสียดสีไปยงั กา้ นสูบ
5. ทางานไดท้ กุ สภาพอณุ หภูมิ
6. มีสมบัตใิ ห้อนภุ าคเลก็ ท่ีแขง็ มากๆ ฝงั ตัวได้
7. วัสดุท่ใี ชท้ าแบริ่ง จะตอ้ งไม่ทาใหเ้ พลาขอ้ เหว่ียงหรือก้านสูบมรี อยขดี ขว่ น

2. เพลาลกู เบย้ี ว (Camshaft) ทาหน้าที่ดนั ให้ลนิ้ เปิดปิด และท่ีเพลาลกู เบ้ียวจะมเี ฟอื ง ซึ่งจะทาห้าที่ขับจานจา่ ย

รปู ที่ 4.2.16 ลักษณะของเพลาลูกเบยี้ ว
เพลาลูกเบี้ยวจะถูกขับด้วยเพลาขอ้ เหวีย่ ง ซึ่งการส่งกาลังอาจจะใช้แบบเฟืองสองตวั ขบกันกบั เฟอื งใช้โซก่ ็
ได้ ดงั รูป

รปู ท่ี 4.2.17 การส่งกาลงั แบบใช้เฟอื งสองตวั รปู ที่
4.2.18 การสง่ กาลังแบบใช้โซ่

3. ลอ้ ช่วยแรง (Flywheel) มีรปู รา่ งเปน็ ล้อหรอื จานทม่ี นี ้าหนกั มากประกอบติดอยกู่ ับปลายเพลาขอ้
เหวี่ยงจะทาหน้าทีเ่ กบ็ พลังงานจลยเ์ อาไว้
พลังงานไว้ กเมา่อืรใคชวล้ าอ้มชเรว่ ว็ ยขแอรงงเพจละาชขว่ อ้ ยเหใหว้ม่ยี ีคงหวามมุนเเรรว็ ็วขขอน้ึ งเคจระ่ือคงายยนพตลม์ ังีคงาวนามอเอรกว็ มสามช่าดเสเชมยอกด็ตีขอ่ึ้นเมโ่ือดเยพทลี่ลาอ้ข้อชเ่วหยวแยี่ รงงหจมะเุน4ก3ช็บ้า
ลง ถา้ ลอ้ ชว่ ยแรงมนี า้ หนกั มากและขนาดโตเพม่ิ ขน้ึ เคร่ืองยนตจ์ ะหมนุ ด้วยความเร็วสม่าเสมอมากขนึ้

รปู ที่ 4.2.19 ลักษณะของล้อชว่ ยแรง
5. คาํ ศพั ทโ์ ครงสรา้ งและส่วนประกอบของเคร่ืองยนตด์ เี ซล

ชน้ิ สว่ นท่ีอยกู่ บั ที่ Stationary Parts
กระบอกสบู Cylinder
เปลอื กน้า Water Jacket
ช่องทางส่งน้ามนั Oil Gallery
แบรงิ่ เพลาข้อเหวีย่ ง Crankshaft Bearing
ปลอกสูบ Sleeve
ฝาสูบ Cylinder Head
อ่างน้ามันเครือ่ ง Oil Pan
ชน้ิ สว่ นที่เคลอื่ นที่
ชน้ิ ส่วนท่เี คลื่อนที่กลบั ไปกลับมา Moving Parts
ลกู สบู Reciprocation Motion
แหวนลกู สูบ
แหวนอัด Piston
แหวนนา้ มนั Piston Ring
สลักลกู สบู
กา้ นสูบ Compression Ring
ลิน้ และกลไกลน้ิ Oil Control Ring
สปรงิ ล้ิน Piston Pins
กระเด่อื งกดลน้ิ
กา้ นกระทงุ้ Connecting Rods
ปลอกนาลิน้ Valve and Valve Train
บ่าลน้ิ
เพลาลูกเบ้ยี ว Spring Valve
เพลาข้อเหว่ยี ง Rocker Arms
ล้อชว่ ยแรง Push Rods
Valve Guides

Valve Seats
Camshaft
Crankshaft
Flywheel

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 44
ช่ือหน่วย โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของเครอื่ งยนตด์ เี ซล หนว่ ยที่.......4..........
สอนครัง้ ที่.............

ช่ัวโมงรวม.............
ชัว่ โมงรวม.............

5.1 การนาํ เขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครูซกั ถามนักเรียนเกี่ยวกบั ช้ินส่วนในเครอ่ื งยนต์ว่าช้ินส่วนใดบา้ งท่มี กี ารเคลอื่ นท่ี และมกี าเคลื่อนที่ใน

ลักษณะใด โดยการสุ่มประมาณ 4-5 คน

5.2 การเรยี นรู
1. ครูให้นักเรยี นดู Power Point รูปภาพของช้นิ สว่ นทมี่ กี ารเคลือ่ นท่ีเชน่ ลกู สูบ ก้านสูบ เพลาข้อเหว่ียง

ฯลฯ แลว้ ซกั ถามความเขา้ ใจเกี่ยวกับหนา้ ทแ่ี ละลักษณะการทางาน
2. ครูอธบิ ายหนา้ ที่การทางานของช้นิ ส่วนทีม่ กี ารเคล่ือนท่ี โดยใช้ Power Point ประกอบการอธิบาย
3. ครูเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นซักถามข้อสงสัยต่างๆ
4. ครบู อกคาศพั ทท์ ี่เกีย่ วข้องกบั โครงสร้างและสว่ นประกอบของเครือ่ งยนตด์ ีเซล เสร็จแล้วทดสอบความร้โู ดย

ให้นักเรียนบอกคาศัพทท์ ่ีตนเองรู้จกั มาคนละคาศัพท์พร้อมบอกความหมายด้วย

5.3 การสรปุ
1. ครใู ห้นักเรยี นชว่ ยกันสรปุ เนอื้ หาท้งั หมดโดยแบง่ หวั ขอ้ กนั เองแลว้ ออกมารายงานหน้าชั้นเรยี น
2. ครสู รุปเน้ือหาท้ังหมดให้นักเรยี นฟังอกี คร้ังแลว้ เปดิ โอกาสให้นักเรยี นถามขอ้ สงสยั ต่างๆ
3. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดประมาณ 30 นาที
4. ครูให้นักเรียนเปล่ียนสมุดเพอ่ื ตรวจแบบฝกึ หดั

5.4 การวัดและประเมินผล
- ความตรงตอ่ เวลา
- ความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สงั เกตความสนใจในห้องเรยี น

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 45
ชือ่ หนวย โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของเคร่อื งยนต์ดีเซล หนวยท่ี........4.........
สอนคร้ังที่.............

ชั่วโมงรวม.............
ชัว่ โมงรวม.............

6.สอ่ื การเรียนรู/แหลงการเรียนรู
6.1 สอื่ ส่งิ พมิ พ

1. เอกสารประกอบการเรยี นหน่วยที่ 4 โครงสร้างและสว่ นประกอบของเครอ่ื งยนต์ดเี ซล
2. แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบ 4

6.2 สื่อโสตทัศน (ถาม)ี
1. เครื่องฉาย projector
2. PowerPoint เรอ่ื ง โครงสร้างและสว่ นประกอบของเครอื่ งยนต์ดเี ซล

6.3 หนุ จาํ ลองหรอื ของจรงิ (ถามี)
1. เครอ่ื งยนตด์ เี ซล
2. รถโตโยต้า วโี ก้

6.4 อ่นื ๆ (ถาม)ี
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1. ใบความรู
2. ใบงาน
8. การบูรณาการ/ความสัมพันธกบั วิชาอ่นื
1. ภาษาอังกฤษและการส่อื สาร
2. ไฟฟ้าและอิเลค็ โทรนคิ เบ้ืองตน้

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 46
ช่อื หนวย โครงสร้างและส่วนประกอบของเครื่องยนตด์ เี ซล หนวยท.่ี .......4.........
สอนคร้ังที่.............

ชั่วโมงรวม.............
ช่วั โมงรวม.............

9. การวดั และประเมินผล
9.1 กอนเรียน

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรียน
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลงั เรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................
.................................................................................................... ...........................................................................
10. บันทึกหลังสอน

10.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 47
ชอ่ื หนวย โครงสรา้ งและส่วนประกอบของเครอื่ งยนต์ดีเซล หนว่ ยท่ี.......4..........
สอนครั้งท.่ี ............
ช่วั โมงรวม.............

ชวั่ โมงรวม.............

10.2 ผลการเรยี นรูของนักเรยี น นกั ศึกษา

............................................................................................................................. ..................................................
.......................................................................................................................................................................... .....
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
10.3 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรยี นรู
......................................................................................................................................................... ........................

.................................................................................................. ..............................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

............................................................................................................................ ........................................................

............................................................................................................................. ....................................................

....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 48
ช่ือหน่วย ป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลงิ
หนว่ ยที่..........5.......
สอนครั้ง ที่.............
ชัว่ โมงรวม.............
จํานวนชั่วโมง..........

1. สาระสําคัญ
ปมั๊ ดูดนา้ มนั หรือปมั๊ แรงดนั ต่า จะทาหน้าทีด่ ดู น้ามนั เชอ้ื เพลิงจากถงั ปอ้ นให้กับปัม๊ ฉีดเชื้อเพลิง ซึง่ จะทางาน

ด้วยลูกเบี้ยว อาจจะโยกด้วยมือใหน้ ้ามันป้อนเขา้ ปม๊ั ฉดี กอ่ นเดินเคร่ืองก็ได้ ปม๊ั ดดู นา้ มันทใี่ ช้กนั สว่ นมากมีอยู่ 2 แบบ
คือแบบลกู สูบและแบบแผน่ ผา้ ไดอะแฟรม
2.สมรรถนะประจําหนว่ ย

แสดงความรู้ความสามารถในการเลอื กใช้เกยี ร์ให้เหมาะสมกบั ความเร็วสภาพทีเ่ หมาะสมกบั การใช้เกยี ร์
อตั โนมัติวธิ ีการใช้เกยี ร์อัตโนมัติ
.3.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ดานความรู
1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจขนั้ ตอนการถอดประกอบป๊ัมดูดนา้ มนั
2. เพอื่ ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจการตรวจสอบปมั๊ ดูดนา้ มนั
3. เพอ่ื ให้ตระหนักถงึ คุณคา่ และความสาคัญของปมั๊ ดูดนา้ มัน

3.2 ดานทักษะ
1. สามารถถอดและประกอบป๊มั ดดู นา้ มนั ได้อย่างถกู ตอ้ ง
2. สามารถตรวจสอบปั๊มดูดนา้ มนั ได้

3.3 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค
3.3.1.นักเรียนมีความสนใจฝักใฝ่ในการเรียนรู้
3.3.2.นักเรยี นเข้าเรยี นตรงตามเวลา
3.3.3.นักเรยี นทางานเสรจ็ สมบูรณแ์ ละสง่ ตามเวลา
3.3.4.นักเรียนกลา้ แสดงออกในการเรยี นรูน้ าเสนองาน
3.3.5.นักเรียนใชเ้ ครือ่ งมอื การใชร้ ถฝึกหัดขบั ดว้ ยความปลอดภยั ประหยัด รอบคอบ คุ้มค่า

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 49
ชอื่ หน่วย การเปล่ียนเกียร์และการเลอื กใช้เกียร์ หน่วยที่........5........
สอนครง้ั ท่ี.............
ชั่วโมงรวม.............
ชว่ั โมงรวม.............

4.เนอื้ หาสาระการเรียนรู้
1. งานตรวจปัม๊ ดูดนา้ มนั กอ่ นซ่อม
ปั๊มดดู นา้ มันในทนี่ ี้ หมายถึงป๊ัมดดู นา้ มนั แบบลกู สบู สาหรับปัม๊ น้ามันแบบเรียงแถวสามารถสง่ น้ามนั ได้

มากกว่าเคร่อื งยนต์ต้องการ ในวงจรจึงมลี น้ิ ระบายกลบั สู่ถัง ใหต้ รวจทุก 20,000 กม. หรือตรวจก่อนท่ีจะถอดออก
จากเคร่ืองยนต์

1. 1 การตรวจปั๊มมือ การตรวจปม๊ั มอื เมื่อคลายเกลียวแป้นกดปมั๊ มือหลดุ แกนปม๊ั มอื ตอ้ งเด้งขึ้นดว้ ย
ความแรงสปริง ตรวจสมรรถนะป๊ัมมือด้วยการป๊ัมน้ามนั สงู 1 ม. ถ้าปั๊มสามารถดดู นา้ มันผ่านป๊ัมได้ 60 ครง้ั ใน
1 นาที แสดงวา่ ปกติ หากตอ้ งป๊มั มากกวา่ 120 ครัง้ ให้ซอ่ มป๊ัมมอื

1.2 งานตรวจลน้ิ ระบายทีห่ มอ้ กรอง การตรวจลน้ิ ระบายทีห่ มอ้ กรองโดยตอ่ เกจวดั ความดนั ที่ท่อน้ามนั ออกจาก
ลิ้นระบาย ใชป้ ๊มั มอื อัดน้ามนั หลาย ๆ ครงั้ จนนา้ มันระบายออกทางลิ้นระบายไดป้ ระมาณ 1.5 – 1.6 กโิ ลกรัมตอ่
ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร หากไมอ่ ยใู่ นพิกดั นตี้ อ้ งเปลี่ยนล้ินระบาย

1.3 งานตรวจปม๊ั ด้วยมือเปล่า ตรวจการทางานของป๊มั ดดู น้ามนั โดยใช้หวั แมม่ ือกดลกู กระทุง้ ลงจนสุด ลกู กระทุ้ง
ตอ้ งเคลื่อนตัวลงได้สดุ เม่อื ปลอ่ ยจะถกู สปริงในป๊ัมดูดนา้ มนั ผลักดันให้เดง้ กลบั คืนได้อยา่ งคล่องตวั

50

2. งานถอดแยกชนิ้ ปั๊มดดู น้ามนั

2.1 งานตรวจการเคลอ่ื นตวั ลกู สูบปั๊มมือ เมื่อคลายเกลียวแป้นเกลียว ลูกสูบปมั๊ มอื ต้องเคล่ือนทีข่ ้ึนเอง
ไดอ้ ย่างคล่องตัว ด้วยแรงสปรงิ ของปม๊ั มือ

2.2 งานตรวจสมรรถนะปัม๊ มอื
2.2.1 หัวแม่มือปิดล่าง แลว้ กดลงต้องมแี รงอัดอากาศ
2.2.2 ปลอ่ ยให้เป็นอิสระต้องสปริงกลับได้ด้วยแรงสปริง และมแี รงดูดอากาศท่หี วั แม่มือ
2.2.3
2.3 งานลา้ งไสก้ รองปัม๊ ดูด ไสก้ รองปม๊ั ดดู เปน็ ไสก้ รองเบอ้ื ต้น หยาบ ๆ ปอ้ งกันส่งิ สกปรกหยาบ ๆ เข้าไปในปม๊ั

ดูด มขี นาดเลก็ ต้องหมน่ั ลา้ งทาความสะอาด 51

2.4 งานตรวจลิ้นและสปรงิ
2.4.1 ตรวจรอยชารุดบา่ ลิน้ ทเ่ี สือ้ สบู
2.4.2 ตรวจหนา้ สัมผัสลิน้
2.4.3 ตรวจสปรงิ ลนิ้

2.5 งานตรวจลูกกระทุ้ง
2.5.1 ตรวจสภาพผวิ และรูตัวลกู กระทุง้
2.5.2 ตรวจสภาพผิวลูกกล้งิ และเดือยลอ็ ค
2.5.3 ตรวจระยะคลอนลูกกล้งิ ทั้งชดุ

3. งานประกอบและตรวจปั๊มดูดนํา้ มัน
หมายเหตุ : ให้ประกอบตามลาดบั หมายเลข

52
3.1 งานตรวจแกนลกู สูบ ถา้ ไม่จาเปน็ ไมถ่ อดแกนลูกสูบ เพราะเป็นงานประกอบประณีต หากถอด
ออกให้ประกอบในทศิ ทางอยา่ งเดมิ อยา่ กลับหัวท้าย

3.2 งานตรวจลูกสูบป๊ัมดดู น้ามนั
3.2.1 ตรวจสภาพการเคลอ่ื นตวั ของลกู สูบ
3.2.2 ตรวจสภาพผวิ ลกู สบู และลูกสูบและรลู ูกสูบไม่เปน็ ตามด
3.2.3 ตรวจเคลียแรนซ์

ลูกสูบ 0.009 – 0.013 มม.
แกนลกู สูบ 0.003 – 0.006 มม.

3.3 งานประกอบลกู กระทงุ้ ปม๊ั
3.3.1 สอดลกู กระทงุ้ เข้าไปภายในเสือ้ ป๊ัม และยดึ ให้แน่นดว้ ยแหวนลอ็ ค
3.3.2 ประกอบชิ้นสว่ นอ่นื ๆ ตามลาดบั กลบั กับการถอดแยกช้ินส่วน

3.4 งานตรวจป๊ัมรวั่ ซึม ตรวจน้ามนั ร่วั ซมึ ออกจากป๊ัมดูดน้ามนั ใหต้ อ่ ลมอดั 2 กิโลกรมั ต่อ ลูกบาศก์เซนติเมตร
เข้าทางน้ามันเขา้ และปดิ ทางน้ามนั ออกให้สนิท จุ่มลงในถงั นา้ มัน ถ้าอากาศร่วั ซมึ ออกมากกวา่ 30 ซีซี / นาที
แสดงวา่ ป๊ัมดดู น้ามันยงั ใช้ไมไ่ ด้

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 53
หนว่ ยที่.......5..........

ชือ่ หนว่ ย ป๊มั น้ามันเช้อื เพลิง สอนคร้งั ท่ี.............
ชวั่ โมงรวม.............

ช่วั โมงรวม.............

5.1 การนาํ เขา้ สู่บทเรียน
1. ครซู กั ถามนักเรยี นวา่ ในระบบส่งจ่ายน้ามันเช้ือเพลงิ น้ามนั ต้องผา่ นอุปกรณใ์ ดบ้าง
2. ครอู ธิบายเกี่ยวกบั ป๊มั ดูดนา้ มัน

5.2 การเรยี นรู
1. ครูแบง่ นักเรยี นออกเปน็ กลุม่ ๆ ละประมาณ 5-6 คน แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุม่ สง่ ตัวแทนออกมารบั ใบงาน ใบ

รายงานการปฏบิ ัติงาน เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ต่างๆ
2. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษาใบงานให้เข้าใจ แลว้ ลงมือถอดปมั๊ ดดู น้ามนั โดยครูคอยให้คาแนะนา

และสังเกตการปฏิบตั งิ าน บนั ทึกในใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน
3. ครอู ธบิ ายวธิ กี ารตรวจสอบปัม๊ ดูดน้ามันและให้นกั เรยี นชว่ ยกันตรวจสอบ

4. ครูใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ประกอบปมั๊ ดูดนา้ มัน
5.3 การสรุป

1. ครูตรวจสอบความเรียบร้อยอีกครง้ั หนึง่ และให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มชว่ ยกันบันทกึ ใบรายงานการปฏิบัติงาน
สง่

2. ครใู ห้นักเรียนชว่ ยกนั ทาความสะอาดและเก็บเคร่อื งมอื อปุ กรณ์ให้เรียบรอ้ ย
5.4 การวัดและประเมินผล

- ความตรงต่อเวลา
- ความรบั ผิดชอบตอ่ งานท่ีมอบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สังเกตความสนใจในห้องเรยี น

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 54
หนวยท.ี่ .......5.........

ชื่อหนวย ปมั๊ น้ามนั เชอื้ เพลิง สอนครงั้ ที่.............
ช่วั โมงรวม.............

ช่วั โมงรวม.............

6.ส่อื การเรียนรู/แหลงการเรียนรู
6.1 สือ่ สิง่ พมิ พ

1. เอกสารประกอบการเรียนหนว่ ยท่ี 5 ปั๊มนา้ มันเชือ้ เพลิง
2. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและแบบทดสอบ 5

6.2 สือ่ โสตทศั น (ถาม)ี
1. เครอ่ื งฉาย projector
2. PowerPoint เร่อื ง ปัม๊ นา้ มนั เช้ือเพลิง

6.3 หนุ จาํ ลองหรอื ของจรงิ (ถาม)ี
1. เคร่อื งยนตด์ ีเซล
2. รถโตโยต้า วโี ก้

6.4 อื่นๆ (ถามี)
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1. ใบความรู
2. ใบงาน
8. การบูรณาการ/ความสมั พันธกับวชิ าอ่นื
1.ภาษาองั กฤษและการส่อื สาร
2. ไฟฟา้ และอิเล็คโทรนิคเบอื้ งต้น

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 55
หนวยที่........5.........

ช่อื หนวย ปัม๊ น้ามันเชือ้ เพลิง สอนครงั้ ท่ี.............
ช่วั โมงรวม.............

ช่ัวโมงรวม.............

9. การวัดและประเมินผล
9.1 กอนเรยี น

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลงั เรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................
.................................................................................................... ...........................................................................

10. บนั ทกึ หลังสอน
10.1 ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้

............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..................................................

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 56
หนว่ ยที่.......5..........

ช่อื หนวย ป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลงิ สอนครัง้ ท.ี่ ............
ชั่วโมงรวม.............

ชัว่ โมงรวม.............

10.2 ผลการเรยี นรูของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
10.3 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู
.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................. ..............................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

............................................................................................................................ ........................................................

............................................................................................................................. ....................................................
....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 57
หนว่ ยท่ี..........6.......

ชอื่ หน่วย หวั ฉดี สอนครัง้ ที่.............
ชัว่ โมงรวม.............

จาํ นวนชว่ั โมง..........

1. สาระสําคญั
หัวฉดี เป็นอปุ กรณท์ ีท่ าหนา้ ท่ีในการฉีดเชื้อเพลิงเป็นฝอยละออง เขา้ สหู่ ้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ เพ่ือทาให้

เกดิ การเผาไหม้ ซง่ึ หัวฉีดแบง่ ออกได้หลายชนิด แตล่ ะชนดิ กม็ ีลกั ษณะการทางานแตกต่างกนั จึงจาเป็นต้องศกึ ษาถงึ
หน้าทีข่ องชิ้นสว่ นในหวั ฉีดใหเ้ ข้าใจ เพอ่ื ให้สามารถนาไปใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสม
2.สมรรถนะประจําหน่วย

แสดงความร้เู กีย่ วกบั การออกตวั ของรถวธิ กี ารเรง่ ความเรว็ การเปล่ียนเกยี ร์วิธกี ารและข้ันตอนในการแซงได้
อย่างถูกตอ้ ง
3.จุดประสงค์การเรียนรู้

3.1 ดานความรู
1. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ชนิดและโครงสรา้ งของหวั ฉีดแบบตา่ งๆ
2. เพ่ือให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจหลักการทางานของหัวฉดี ชนดิ ตา่ งๆ
3. เพือ่ ใหร้ ู้คาศัพท์ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั หัวฉดี
4. เพือ่ ใหต้ ระหนักถึงคณุ คา่ และความสาคัญของหัวฉีด

3.2 ดานทักษะ
1. สามารถจาแนกชนิด และบอกโครงสร้างของหัวฉดี แตล่ ะชนดิ ได้
2. สามารถบอกหน้าทกี่ ารทางานของหัวฉีดได้
3. สามารถอ่านและเขียนคาศพั ทท์ ่เี กย่ี วข้องกบั หวั ฉดี ได้อย่างถกู ต้อง

3.3 คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค
1.นกั เรยี นมีความสนใจฝกั ใฝ่ในการเรยี นรู้
2.นกั เรยี นเขา้ เรยี นตรงตามเวลา
3.นักเรยี นทางานเสรจ็ สมบรู ณ์และส่งตามเวลา
4.นักเรยี นกล้าแสดงออกในการเรยี นรู้นาเสนองาน
5.นักเรียนใชเ้ ครอ่ื งมอื การใชร้ ถฝึกหดั ขบั ดว้ ยความปลอดภยั ประหยัด รอบคอบ คมุ้ คา่

58

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยท่ี........6........

ชื่อหน่วย หัวฉดี สอนครงั้ ท่ี.............
ชว่ั โมงรวม.............

ชั่วโมงรวม.............

4.เนอื้ หาสาระการเรียนรู้

หวั ฉีด
หวั ฉีดนา้ มันเชอ้ื เพลง (Spray Valve หรือ Spray Nozzle) เปน็ อุปกรณ์ทใี่ ช้ จ่ายน้ามันเชื้อเพลิงใหแ้ ตก

เปน็ ฝอยละอองเลก็ ๆ ฉีดเข้าไปสันดาบภายในเวลา ที่กาหนดและปรมิ าณอนั ถูกตอ้ ง หัวฉดี จะตอ้ งทางานภายใต้กาลัง
อัดที่สูงมาก สามารถกระจายเช้ือเพลิงออกเปน็ ฝอยละเอยี ดเพอื่ การจดุ ระเบดิ ได้งา่ ย และยงั จะต้องทางานไดร้ วดเร็ว
ทนตอ่ การรับอุณหภูมไิ ด้สูง เพอื่ ที่เครือ่ งยนต์น้ันๆ จะทางานอย่างมสี มรรถนะใชง้ านได้อยา่ งยาวนานตลอดไป

1. การทาํ งานของหวั ฉดี
การทางานของหัวฉดี อาจแยกออกได้เปน็ 2 ประเภท คือ หวั ฉีดประเภททางานด้วยกลไกทางกล และ

หัวฉีดประเภททางานดว้ ยแรงดนั ของเหลว
1. แบบทํางานด้วยกลไกทางกล ( Mechanical Injection Valve ) หัวฉดี แบบนีต้ ัวเขม็ หัวฉีดทางาน

เปดิ ปดิ รูฉดี ดว้ ยกลไกสาคัญ 2 อยา่ ง คือ กระเดื่องยกเข็มและสปริงกดเข็ม เข็มหัวฉดี จะเปิดให้น้ามันผ่านออกไป
โดยอาศยั กระเดื่องซึ่งมลี กู เบยี้ วเปน็ ตัวยก ลกู เบย้ี วทางานโดยได้รบั กาลังจากเครื่องยนต์ ทานองเดียวกันลกู เบ้ยี วราว
ลนิ้ ของเครื่องยนต์ ขณะที่ส่วนยกของลูกเบี้ยวเคลือ่ นไปสมั ผัสก้านต่อกระเดือ่ งยกเข็มหวั ฉีดก็จะยกขน้ึ ชนะแรงกดดนั
สปรงิ น้ามันซึง่ มแี รงดันสปริงประมาณ 140 ถงึ 560 กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเซนติเมตร (2000 ถงึ 8000 ปอนด์ตอ่
ตารางน้วิ ) จะฉดี ผา่ นรูเข้าไปในห้องสันดาปทันที และทป่ี ลายระยะการฉีดของนา้ มัน แรงดันของน้ามนั จะลดต่าลง
สมั พันธ์พอดีกับขณะท่สี ว่ นยอดของลกู เบ้ยี วเคลอ่ื นผ่านไปแล้ว สปริงมีกาลงั กดเหนือกวา่ จงึ กดให้เขม็ หัวฉดี ปดิ รู
ดังกล่าว แสดงใหเ้ ห็นหลกั การง่าย ๆ ของกลไกหวั ฉีดแบบกล

รูปท่ี 7.1 หลักการทาํ งานของหวั ฉีดแบบกลไกทางกล 59

2. แบบทา้ งานดว้ ยแรงดันน้ามัน(Hydraulic Injection Valve) หัวฉีดแบบนี้ ในขณะปกตหิ ัวเข็มฉดี จะ

ปดิ ไม่ใหน้ า้ มนั ออก โดยนัง่ อยู่บนบา่ ( seat) ท่ีรบั รองโดยแรงกดของสปรงิ ซงึ่ สวมอยบู่ นแกนต่อหัวเขม็ ฉีดตอนบน เมื่อ
น้ามันมอี ยุ่เตม็ ภายในกระบอกหัวฉดี และทอ่ ทางเดนิ นา้ มนั ท่ีต่อมาจากป้มั ไดร้ ับแรงดันจากป้มั จนชนะแรงกดของสปรงิ
จงึ ดนั เขม็ หัวฉีดยกขึน้ เปดิ และฉีดนา้ มันออกจากปลายหัวฉดี เข้าหอ้ งสันดาป เมอ่ื สนิ้ สดุ การฉีด แรงดนั น้ามนั ลดตา่ ลง
กว่าแรงกดของสปรงิ สปริงจะกดใหเ้ ข็มหัวฉีดปิดรูน้ามนั สาหรับแรงดนั น้ามนั ทใ่ี ช้กับหวั ฉดี แบบนี้จะตอ้ งสงู กว่าแบบ
กล อยใู่ นเกณฑ์ประมาณ 200 – 420 กโิ ลกรมั ต่อตารางเซนตเิ มตร ( 3000 ถงึ 6000 ปอนด์ตอ่ ตารางนว้ิ ) ทงั้ น้ีข้ึนอยู่
กบั ชนิดของหวั ฉดี ความหนาแน่นของนา้ มันและชนิดของเคร่ืองยนต์บางชนดิ อาจต้องการแรงดนั ตา่ งกนั

รปู ท่ี 7.2 หัวฉีดประเภทยกเขม็ ดว้ ยแรงอดั ดนั ของน้ามัน
2. ชนิดของหัวฉดี

หัวฉีดอาจแบง่ ออกเป็น 2 แบบคอื แบบไมใ่ ชเ้ ข็มหรือแบบเปิด (Open Injection Nozzle)
และแบบใช้เข็มหรอื แบบปิด (Close Injection Nozzle)

1. หวั ฉดี แบบเปิด คอื หัวฉดี แบบไม่ใชเ้ ขม็ ควบคุม หวั ฉีดชนดิ นจ้ี ะเจาะรใู หน้ ้า
มันผา่ นออกไปยังเตาเผาหรอื ห้องสนั ดาปตลอดเวลา ไมม่ เี ข็มปดิ เปิด แต่ก็อาจจะใช้ลิน้ กนั กลบั ใส่ไว้ 2 หรือ 3
ตัว เพอื่ ป้องกันกา๊ ซสนั ดาปย้อนกลับเขา้ ไปในท่อยางเดินนา้ มัน ตัวอยา่ ง เช่น หวั ฉีดเครอ่ื งกงั หนั ก๊าซ ( Gas
Turbine) เปน็ หวั ฉีดแบบเปิด ดงั รูปปกตหิ ัวฉีดประเภทนจ้ี ะมกี รองน้าประกอบอยดู่ ว้ ย นา้ มนั จะผ่านออกไปตรงรู
กลางของหัวฉีดแล้วฉดี ออกทางรทู แยงด้านข้าง เป็นผลทาใหเ้ กดิ การเคล้าหมนุ วนของละอองน้ามัน ละอองนา้ มัน
กระจายออกในลกั ษณะเป็นรูปกรวย แรงดันของนา้ มันตา่ สดุ ประมาณ
2. หวั ฉดี แบบปดิ หวั ฉดี แบบนีใ้ ชอ้ ยู่ทั่ว ๆ ไปกบั เครื่องยนต์ดเี ซล ประกอบด้วยสปรงิ กดใหเ้ ข็มหัวฉีดเปดิ บงั คับให้เข็ม
หวั ฉีดเปดิ ไดด้ ้วยกลไกทางกลหรอื ดว้ ยแรงดันของนา้ มนั เองกไ็ ด้ สว่ นประกอบท่สี าคัญของหัวฉีดชนิดนีอ้ าจแสดงให้เห็น
ดังรปู หวั ฉดี แบบน้สี ว่ นมากจะแบง่ แยกออกเปน็ 2 ส่วนคอื สว่ นตวั ของหวั ฉดี หรอื ตัวเรือนของหวั ฉีดกบั ส่วนปลายของ
หวั ฉดี ทัง้ น้ีเพอ่ื สะดวกในการถอดเปลยี่ นซ่อมแซมไดง้ า่ ย ทั้ง 2 สว่ นน้ีจะประกอบเขา้ ดว้ ยกันโดยอาศัยนัตยึด (
Nozzle Nut) เป็นตัวยดึ เนอ่ื งจากสว่ นปลายน้ีเป็นสว่ นท่ีไดร้ บั ความรอ้ นจัด ปลายของหวั ฉดี บางชนดิ จงึ ออกแบบให้มี
ช่องนา้ เพอื่ ระบายความร้อนดว้ ย

รปู ที่ 7.4 สว่ นประกอบของหวั ฉดี แบบปิด
3. ตวั เรอื นสว่ นปลายและเขม็ หวั ฉดี

ตัวเขม็ หวั ฉดี ทางานด้วยระบบไฮดรอลกิ ส์ ส่วนมากจะใช้สปริงกดใหเ้ ข็มหวั ฉดี ปดิ และยังปอ้ งกนั แรงดนั สงู จาก
ห้องสนั ดาปเข้าไปยงั ท่อทางเดินน้ามนั ในระหวา่ งทป่ี มั๊ ส่งน้ามนั แรงดันจะเพมิ่ ข้ึนรวมทัง้ แรงอัดของอากาศที่มอี ยู่ในหอ้ ง
สันดาปจะดนั เขม็ หวั ฉีดใหเ้ ปดิ โดยชนะแรงกดของสปรงิ น้ามันเช้อื เพลงิ จงึ ฉดี ผ่านรูหัวฉีดออกไปยังหอ้ งเผาไหม้ ลักษณะ
ของรหู ัวฉีดทนี่ ้ามนั ฉีดออกนอี้ าจเปน็ รูแบบเดยี วหรอื หลายรูก็ได้
3. ตัวเรือนส่วนปลายและเข็มหัวฉดี

60

ตวั เขม็ หวั ฉดี ทางานดว้ ยระบบไฮดรอลกิ ส์ ส่วนมากจะใชส้ ปรงิ กดให้เข็มหวั ฉดี ปดิ และยงั ป้องกันแรงดันสงู จาก
ห้องสนั ดาปเข้าไปยังทอ่ ทางเดินน้ามนั ในระหวา่ งทป่ี ัม๊ ส่งนา้ มัน แรงดนั จะเพม่ิ ข้ึนรวมทงั้ แรงอดั ของอากาศที่มีอยู่ในห้อง
สันดาปจะดันเข็มหวั ฉีดใหเ้ ปิดโดยชนะแรงกดของสปรงิ นา้ มันเชอ้ื เพลงิ จงึ ฉดี ผา่ นรูหวั ฉีดออกไปยังหอ้ งเผาไหม้ ลกั ษณะ
ของรูหัวฉีดที่น้ามันฉดี ออกน้อี าจเป็นรูแบบเดียวหรอื หลายรกู ็ได้

ตวั เรือนสว่ นปลายหัวฉดี แบบเปดิ ทีใ่ ชอ้ ยใู่ นปัจจบุ ันพอจะจาแนกออกเปน็ พวก ใหญ่ ๆ ได้ 5 กลุ่ม คอื แบบรู
เดยี ว, แบบหลายรู, แบบเดือย , แบบดเี ลย์ และแบบเดือยมีรชู ว่ ยพเิ ศษ

รปู ท่ี
7.5 หัวฉีดแบบปดิ ชนดิ ตา่ ง ๆ
หวั ฉดี แบบรเู ดี่ยว(Single Hole ) มลี กั ษณะเป็นแบบงา่ ย ๆ มรี ูฉีดนา้ มันออกเพยี งรูเดยี วตรงกลางปลาย
หวั ฉีด บางชนิดเจาะรูใหฉ้ ีดแทยงออกไปขา้ งหนึง่ เพื่อความเหมาะสมสัมพันธ์กบั ตาแหน่งท่ีติดตง้ั เข้ากับห้องสนั ดาป ตัว
เข็มหัวฉีดมีลกั ษณะเป็นปลายแหลม เมือ่ ปิดจะนงั่ อยบู่ นบ่ารองรบั ทีม่ ีขนาดมมุ เดยี วกันท่ัว ๆ ไป มมี ุมประมาณ 50

องศา ถงึ 60 องศาลกั ษณะฝอยนา้ มนั จะกระจายเปน็ รปู กรวยทามุมประมาณ 5 องศา ถงึ 15 องศา ขนาดโตของรู
ตัง้ แต่ 0.2 มลิ ลิเมตรข้ึนไป กาลงั ดนั ทางานของหวั ฉดี แบบนใ้ี ช้ได้สงู บางชนิดอาจเกนิ กว่า 150 กิโลกรัมต่อตาราง
เซนติเมตร (2,250 ปอนด์ต่อตารางน้ิว หรือประมาณ 150 บรรยากาศ) ตวั อยา่ งหัวฉีดแบบรเู ดี่ยวน้ีจะเป็นดงั รูปที่ 10.5
(ก) และ(ข)

หัวฉดี แบบหลายรู (Multiple Hole) ตวั อยา่ งหวั ฉดี แบบน้ีแสดงไวใ้ นรปู ท่ี10.5 (ค) ปลายหัวฉีดเจาะไว้
หลายรู ขนาดของรูและจานวนรูท่เี จาะข้นึ อยกู่ ับความตอ้ งการของเครอื่ ง หวั ฉีดแบบหลายรนู ีม้ ีทงั้ แบบเข็มส้ันและเขม็
ยาว แบบเขม็ ยาวมลี ักษณะดงั รปู ท่ี 10.5 (จ) แบบน้ีสว่ นมากใชก้ บั ห้องสนั ดาปแบบไดเรก็ อินเจก็ ช่ัน (DI)

รปู ท่ี 7.6 ลกั ษณะหวั ฉีดแบบเดอื ย

หวั ฉดี แบบเดอื ย (Pintle) หัวฉดี แบบน้อี าจสงั เกตได้งา่ ย จะเห็นปลายเข็มหวั ฉดี ยนื่ ออกมา หัวฉีดแบบเดือย
นีม้ ีหลายชนิด เช่นชนิดมาตรฐาน (Standard) และชนิดเดอื ยยาว (Throtlling) ลักษณะของฝอยนา้ มนั ทฉี่ ดี ออกจะมี
ลักษณะเป็นรูปกรวยบาน เน่อื งจากน้ามัน
ฉีดผา่ นชอ่ งวา่ งรอบปลายเข็มหวั ฉีด ฝอยนา้ มันเปน็ ฝอยละเอียดเหมาะท่ีจะใชก้ ับหอ้ งเผาไหมแ้ บบล่วงหน้า หรือแบบ
เซลล์พลังงาน โอกาสทีร่ ูหัวฉีดจะสกปรกอุดตนั ยากเพราะเข็มหัวฉีดแยงผา่ นรหู วั ฉีดตลอดเวลา จงึ เท่ากบั ทาความ
สะอาดเข็มหัวฉดี ไปในตัว

หัวฉดี แบบดีเลย์ (Delay) หวั ฉีดชนดิ นี้ดดั แปลงมาจากแบบเดือยธรรมดา โดยให้สามารถลดอตั ราการฉีด
นา้ มนั ในจังหวะฉดี ให้น้อยลง น้ามนั เชื้อเพลิงส่วนใหญจ่ ะยังไมฉ่ ีดจนกวา่ เชื้อเพลงิ สว่ นแรกจะเรม่ิ สนั ดาป วิธีน้จี งึ เป็น
การแก้ไขเร่อื งดีเซลนอ็ ค ลักษณะของเขม็ หัวฉีดแบบน้จี ะเป็นดังรปู ท่ี 10.5 (ฉ)

หัวฉีดแบบเดอื ยและมีรชู ่วยพิเศษ (Pintaux) หัวฉีดแบบนไ้ี ดพ้ ฒั นามาจากหัวฉดี แบบเดือย โดยเจาะรฉู ีด
น้ามันเชื้อเพลงิ ชว่ ยพเิ ศษขนึ้ อีก 1 รูเพ่ือช่วยในการเริ่มเดินเคร่ือง โดยเฉพาะที่อุณหภูมิตา่ ๆ หรอื ที่ความเร็วรอบต่า ใน
รูปท่ี 10.6 (ก) แสดงให้เหน็ สว่ นภาคตัดภายในของหัวฉีดแบบเดอื ยพิเศษ เมอื่ ปั๊มหวั ฉีดทางานทคี่ วามเร็วขณะสตารท์
เครอื่ ง แรงดันน้ามันในชอ่ ง A ซ่ึงไดร้ ับมาจากป๊ัมจะยกเขม็ B แตย่ ังไมส่ งู พอทจ่ี ะยกให้เข็มเปิดเต็มที่ ดงั น้นั ในตอนเริม่
สตาร์ทเครือ่ ง นา้ มันจึงเขา้ ไปในชอ่ ง C ฉดี ผ่านรูชว่ ยพิเศษ D นาออกไปก่อน เม่ือเครื่องยนต์สตารท์ ติดแล้วและ
ความเร็วรอบเพ่มิ ข้ึน แรงดนั ฉดี น้ามันจากป๊มั เพิ่มสูงข้นึ จะยกเข็มให้เปดิ เต็มท่ี นา้ มนั จึงฉดี ผ่านออกทางเดือยเข็ม
หัวฉีด ปกติหวั ฉดี แบบน้ี น้ามันจะฉดี ออกทางรชู ่วยพเิ ศษตลอดเวลาที่เคร่ืองยนต์ทางาน แต่ทค่ี วามเรว็ รอบประมาณ
600 รอบตอ่ นาที ปริมาณนา้ มันทฉ่ี ีดออกทางรูช่วยจะลดลงเหลือประมาณ 10 ถงึ 11% ของปรมิ าณน้ามนั ทฉ่ี ีดทงั้ หมด

4. สญั ลักษณ์ประจําหวั ฉีด
หัวฉีดนา้ มันดีเซลแบบตา่ งๆ ทีก่ ล่าวมาแล้วท้งั หมดนั้นผลิตจากโรงงานของบรษิ ัทตา่ งๆ เพราะเหตุน้บี างครัง้ จงึ
เรียกหัวฉีดตามชอ่ื ของบรษิ ทั ของผผู้ ลิต เช่นหัวฉดี ซเี อวี ไบรซ์ ซิมม์ เลยแ์ ลนด์ และการด์ เนอร์ บริษัทท่ีผลิตหัวฉีด
เหล่าน้ีจะกาหนดเบอร์หรือสัญลักษณซ์ ึง่ เรยี กวา่ ฟอร์มลู า (Formula) ไว้ประจา สาหรับหัวฉดี แต่ละรุ่น ฟอร์มลู านจ้ี ะ
กาหนดไวท้ ั้งของตัวเรอื นหวั ฉดี และสว่ นปลายหวั ฉีด
รุ่นพสิ ยั ปกติ เป็นหวั ฉดี แบบธรรมดาทโี่ รงงานของบริษทั ซีเอวี ผลติ ออกมาตง้ั แตเ่ ริม่ สร้างเบอร์ของตัวเรอื น
หัวฉดี ร่นุ พสิ ยั ปกตนิ ้เี ช่น BKB50S24

รปู ท่ี 7.8 สญั ลกั ษณบ์ นหวั ฉีด

62

ความหมายของแต่ละส่วนจะเป็นดงั นี้

สว่ นท่ี 1 หมายถงึ ประเทศผู้ผลิต (B คือ British)
ส่วนที่ 2 หมายถงึ รูปรา่ งลกั ษณะและการตดิ ต้งั ของตัวเรือนหวั ฉีดเข้ากับสูบ จะใช้อกั ษร 2 ตัว หรือ 3 ตัว
(KB เป็นแบบยดึ ติดตัง้ โดยใช้แคลมปย์ ึด KC เปน็ แบบใช้เกลยี ว) ถ้าเป็นแบบใชอ้ ักษร 3 ตัว อกั ษรที่เพ่มิ เขา้ มาแสดง
ความหมายถงึ ลักษณะของนัตทใ่ี ช้ยดึ สว่ นปลายหัวฉีดเข้ากบั ตัวเรือน เช่นในรูปที่ (L เปน็ แบบที่ใช้กบั หัวฉดี ชนดิ กา้ น
เข็มยาว)
ส่วนที่ 3 จะเป็นตวั เลขหมายถงึ ความยาวของรูก้านส่งเขม็ หัวฉดี มขี นาดเปน็ มลิ เิ มตร ตัวเลขท่ใี ช้อาจใช้ 2 ตัว
หรอื 3 ตัวก็ไดแ้ ล้วแตค่ วามยาวของก้านสบู
ส่วนท่ี 4 หมายถึงรหัสบอกขนาดของหัวฉดี ที่จะนามาใชก้ บั ตัวเรือนหวั ฉดี ชนดิ นไ้ี ด้ ปกตจิ ะมีใช้อยู่ 5 ขนาด
คอื ขนาด 16 มิลลิเมตรใชอ้ ักษร R 17 มิลลิเมตรใช้อกั ษร S 22 มิลลิเมตรใชอ้ ักษร T 30 มิลลเิ มตรใชอ้ กั ษร U และ
42 มลิ ลเิ มตรใชอ้ ักษร V
สว่ นท่ี 5 หมายถงึ โค้ดที่กาหนดออกมาจากโรงงาน จะใช้เปน็ ตัวเลขหรือเปน็ ตัวอักษรก็ได้
5. คําศพั ทท์ ่ีเกยี่ วข้องหวั ฉีด

หวั ฉดี Injection
หวั ฉีดเชอ้ื เพลิง Spray nozzle
หัวฉดี แบบปิด Closed injection nozzle
หัวฉีดแบบเปิด Open injection nozzle
หวั ฉดี แบบรูเดีย่ ว Single hole
หัวฉดี แบบหลายรู Multiple hole

56

หัวฉีดแบบเดือย Pintle
หัวฉดี แบบดีเลย์ Delay
หัวฉดี แบบเดือยมรี แู บบพิเศษ Pintaux

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 63
ชอ่ื หน่วย หวั ฉีด หน่วยที่.......6..........
สอนคร้ังท่ี.............

ชัว่ โมงรวม.............
ชว่ั โมงรวม.............

5.1 การนาํ เข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครเู ล่าเร่ืองราวต่างๆ ใหน้ ักเรยี นฟัง และซักถามนักเรียนวา่ หวั ฉีดทาหนา้ ที่อะไร และทางานอย่างไร

5.2 การเรยี นรู
1. ครขู นึ้ แผ่นใสอธบิ ายการทางานของหวั ฉดี เสร็จแล้วซักถามความเข้าใจ
2. ครูข้นึ แผ่นใสรปู ภาพหัวฉีดแบบต่างๆ และอธบิ ายเก่ยี วกับหวั ฉีดแต่ละแบบ
3. ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซักถามข้อสงสยั ตา่ งๆ จากหวั ขอ้ ท่ีครอู ธบิ ายมา
4. ครอู ธบิ ายเกี่ยวกบั สัญลักษณ์บนหัวฉดี เสรจ็ แลว้ ทดสอบความเขา้ ใจ โดยการส่มุ นกั เรยี น 2 – 3 คน ให้บอก

ความหมายของสญั ลักษณ์บนหัวฉดี

5.3 การสรปุ
1. ครูใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั สรปุ เน้ือหาทั้งหมดทค่ี รูอธิบายมา
2. ครูสรุปเนือ้ หาเพมิ่ เตมิ อีกครง้ั

3. ครใู ห้นักเรยี นทาแบบฝึกหัดสง่ ทา้ ยช่ัวโมง

5.4 การวัดและประเมนิ ผล
- ความตรงต่อเวลา
- ความรับผิดชอบตอ่ งานที่มอบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สังเกตความสนใจในห้องเรียน

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 64
ชื่อหนวย หัวฉีด หนวยท.่ี .......6.........
สอนครั้งที่.............

ช่วั โมงรวม.............
ช่ัวโมงรวม.............

6.สื่อการเรียนรู/แหลงการเรยี นรู
6.1 ส่อื สิง่ พมิ พ

3. เอกสารประกอบการเรยี นหน่วยที่ 6 หัวฉดี
4. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบ 6

6.2 สื่อโสตทัศน (ถามี)
3. เครอื่ งฉาย projector
4. PowerPoint เร่ือง หวั ฉีด

6.3 หนุ จาํ ลองหรอื ของจริง (ถาม)ี
1. เครื่องยนตด์ ีเซล
2. รถโตโยต้า วโี ก้

6.4 อืน่ ๆ (ถาม)ี
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1. ใบความรู
2. ใบงาน
8. การบูรณาการ/ความสมั พนั ธกบั วิชาอื่น
1. ภาษาองั กฤษและการสื่อสาร
2. ไฟฟ้าและอเิ ลค็ โทรนคิ เบื้องตน้

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 65
ชอื่ หนวย หวั ฉดี หนวยท.่ี .......6.........
สอนครง้ั ท่ี.............

ช่ัวโมงรวม.............
ช่วั โมงรวม.............

9. การวดั และประเมินผล
9.1 กอนเรยี น

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลงั เรียน
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................
............................................................................................................................. ..................................................

10. บันทึกหลังสอน
10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้

......................................................................................................................................................... ......................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..................................................

6606

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยท่ี.......6..........
ชือ่ หนวย หวั ฉดี สอนครั้งที่.............
ช่ัวโมงรวม.............

ช่วั โมงรวม.............

10.2 ผลการเรียนรูของนกั เรียน นกั ศกึ ษา
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
10.3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู
.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................. .......................................................................... ....

............................................................................................................................. ....................................................

....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................
....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................

67

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยที่..........7.......

ช่ือหน่วย ระบบหลอ่ ล่ืน สอนครั้ง ที่.............
ชวั่ โมงรวม.............

จาํ นวนชว่ั โมง..........

1. สาระสาํ คญั
ในเครอื่ งยนต์มีท้ังชน้ิ สว่ นท่ีเคล่อื นทีแ่ ละช้นิ ส่วนท่ีอยูก่ ับท่ี ซึ่งช้นิ สว่ นทเ่ี คลอื่ นทีน่ ้ันยอ่ มกอ่ ให้เกิดความฝดื และความ
ร้อนเน่ืองจากผวิ สมั ผสั ของชิน้ ส่วน สง่ิ ทจี่ ะทาให้ความฝดื และความรอ้ นลดลงได้ก็คือระบบหลอ่ ลืน่ นั่นเอง จึง
จาเป็นตอ้ งศึกษาถงึ หนา้ ท่ี ชนิด และอุปกรณ์ของระบบหลอ่ ลน่ื รวมถึงประเภทน้ามันหลอ่ ลื่นให้เข้าใจ เพ่อื ให้สามารถ
นาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และเหมาะสมต่อไป
2.สมรรถนะประจําหนว่ ย

3.จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดานความรู
1. เพอ่ื ใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจหน้าที่ และชนดิ ของระบบหลอ่ ล่นื ในเครอ่ื งยนต์
2. เพ่ือใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในอปุ กรณ์ต่าง ๆ ของระบบหล่อลน่ื
3. เพอ่ื ใหม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจการแบ่งประเภทนา้ มนั หล่อลน่ื สาหรบั เครื่องยนต์
4. เพอ่ื ให้มีความรูค้ วามเขา้ ใจคาศัพทท์ ี่เก่ียวขอ้ งกบั ระบบน้ามนั หลอ่ ลืน่
3.2 ดานทกั ษะ
1. สามารถบอกหน้าที่ ชนดิ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ในระบบหล่อลน่ื เครอ่ื งยนต์ได้อยา่ งถูกตอ้ ง
2. สามารถแบ่งประเภทของน้ามันหล่อลื่นและเลอื กใช้นา้ มนั หล่อลน่ื สาหรับเครื่องยนตป์ ระเภทตา่ ง ๆ ได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
3. สามารถอา่ นและเขียนคาศัพท์ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับระบบหลอ่ ลืน่ พรอ้ มทงั้ นาไปใช้ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค
1. นักเรียนมีความสนใจฝกั ใฝใ่ นการเรยี นรู้
2. นกั เรยี นเขา้ เรยี นตรงตามเวลา
3. นกั เรียนทางานเสรจ็ สมบรู ณแ์ ละส่งตามเวลา
4. นกั เรยี นกล้าแสดงออกในการเรียนรู้นาเสนองาน
5. นักเรยี นใชเ้ คร่ืองมอื การใชร้ ถฝึกหดั ขบั ดว้ ยความปลอดภัย ประหยดั รอบคอบ คมุ้ ค่า

68

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยท่ี........7........

สอนครัง้ ท่ี.............
ช่อื หน่วยการเลีย้ วรถยนต์ การขบั รถเลยี้ วซา้ ย เลี้ยวขวา การกลบั รถ

ชว่ั โมงรวม.............

ช่ัวโมงรวม.............

4.เน้อื หาสาระการเรยี นรู้

ระบบหล่อลื่น
การทช่ี ้ินสว่ นของเครือ่ งยนต์เคลื่อนท่สี มั ผัสกันโดยตรงน้ัน ยอ่ มจะทาใหเ้ กดิ ความฝืดในรูปของแรงตา้ นการ

เคลือ่ นท่ี ซึ่งงานท่ใี สเ่ ข้าไปเพื่อใหช้ นิ้ สว่ นเคลือ่ นทไ่ี ด้ตอ้ งเอาชนะแรงตา้ นนนั้ และเมือ่ เคลอื่ นที่แล้วงานท่ใี สเ่ ข้าไปก็
ย่อมเกดิ การสญู เสียเทา่ กบั งานทเ่ี กิดจากแรงต้าน โดยการสญู เสยี จะออกมาในรปู ของความร้อน ดงั นัน้ ถ้าความฝืดมาก
เท่าใดการสูญเสียก็ย่อมมากเท่านน้ั ซง่ึ กห็ มายความวา่ ความร้อนจะมากข้ึน จนทาให้ผวิ ของช้ินสว่ นทสี่ มั ผัสกนั หลอม
ละลายเกดิ การติดหรอื ชารดุ เสยี หายจนใชก้ ารไมไ่ ด้ จึงจาเปน็ ตอ้ งลดความฝดื ทเี่ กดิ ข้ึนลง ซง่ึ การลดความฝืดทไ่ี ด้ผล
มากคือการนาของเหลวมาใสไ่ วร้ ะหว่างผวิ ของช้นิ ส่วนที่สมั ผัสกัน จากท่ีกล่าวมาเคร่ืองยนต์ยนตด์ ีเซลในปจั จบุ นั จงึ
จาเปน็ จะต้องมรี ะบบท่ที าหนา้ ท่ีนาของเหลวมาใส่ไวร้ ะหวา่ งผิวของชน้ิ สว่ นท่ีสมั ผสั กนั ทุกชิ้นส่วน ระบบดังกล่าวก็คือ
ระบบหลอ่ ลื่นนั่นเอง
1. หน้าที่ของระบบหลอ่ ลนื่

ในเครื่องยนตเ์ ครือ่ งหนึง่ ๆ จะประกอบไปดว้ ยชนิ้ ส่วนที่มกี ารหมุนอยู่มาก และในขณะที่
เคร่อื งยนต์ทางาน ช้นิ สว่ นเหลา่ น้ีจะผลิตความรอ้ นจากความฝดื ของชน้ิ สว่ นของโลหะ ซ่ึงมีการสัมผสั โดยตรงกบั
ชิ้นส่วนโลหะอืน่ ๆ การสกึ หรอความรอ้ นจากการเคลอ่ื นไหว และความฝืดทัง้ หมดนย้ี อ่ มทาใหเ้ ครอื่ งยนตช์ ารุดและ
เสียหายไดง้ ่าย อุปกรณก์ ารหล่อลน่ื จะชว่ ยสร้างฟิลม์ ของน้ามนั ลดความฝืด ทาให้ชนิ้ สว่ นรถยนต์ทางานได้เรียบขนึ้
หน้าที่ของระบบหลอ่ ลื่นในเครือ่ งยนต์ มีดงั นี้
1. ลดความฝดื ระหวา่ งชิน้ สว่ นท่เี คล่ือนที่
2. ระบายและถ่ายเทความรอ้ น
3. กันมใิ หก้ ๊าซรวั่ ออกจากช่องระหว่างแหวนลูกสบู และผนงั กระบออกสูบ
4. ชว่ ยลดเสียงทีเ่ กิดจาการเคลอ่ื นท่ีของช้นิ สว่ นต่าง ๆ
5. ทาความสะอาดโดยการชะล้างชิน้ สว่ นต่าง ๆ

69
2. ชนิดของการหลอ่ ลนื่ ทีใ่ ช้อยู่ในปัจจบุ ันมอี ยู่ 3 ชนิด

1) ระบบวิดสาด ( Spash System ) ในระบบน้ีจะมีชอ้ นวัก (Dipper ) อยู่ทสี่ ว่ น
ปลายด้านลา่ งฝากรอบกา้ นสูบ เม่อื เพลาข้อเหวีย่ งหมนุ ช้อนวกั จะตกั นา้ มนั สาดไปหล่อล่ืนชิน้ สว่ น
ในห้องเพลาขอ้ เหวย่ี งซงึ่ ได้แก่ เพลาลกู เบ้ียว ส่วนประกอบของวาลว์ สลักลกู สูบ และผนงั กระบอกสบู โดยท่วั ไป
แล้วระบบการหลอ่ ล่นื แบบนีจ้ ะใชส้ าหรับเครอ่ื งยนต์ขนาดเล็ก พจิ ารณาได้จากรปู

2) ระบบใชแ้ รงดัน (Pressure System) ในระบบนีจ้ ะใช้แรงดันน้ามนั เคร่ืองจากปัม๊ ส่งไปหลอ่ ลื่น
ชนิ้ สว่ นตา่ ง ๆ ไดแก่ แบร่งิ ข้อเหว่ียง เพลาลูกเบยี้ ว สลกั ลูกสูบ และผนังกระบอกสบู เปน็ ตน้ พจิ ารณาได้จากรูป

3) ระบบการใช้แรงดันและการสาด (Pressure and Spash System ) ระบบนี้น้ามันหล่อล่นื จะถกู ดนั
ผ่านชอ่ งเกบ็ นา้ มนั หล่อล่นื ไปยงั เมนแบรงิ่ แบริ่งก้านสูบ แบริ่งเพลาลูกเบี้ยว เพลากระเดอ่ื งกดล้ิน และหมอ้ กรอง
กระบอกสบู ลูกสูบ และสลกั ลกู สบู
คุณสมบตั ขิ องนา้ มันหลอ่ ลน่ื นา้ มันหลอ่ ล่ืนที่ดีต้องทาหน้าท่ีตา่ ง ๆ ได้ดังน้ี

1. หล่อลน่ื โดยแทรกตัวเป็นฟลิ ม์ บาง ๆ อย่รู ะหว่างช้นิ ส่วนโลหะ 2 ชิ้นปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ผิวโลหะ สัมผัสกนั

เมือ่ มีการเคลือ่ นที่
2. ลดความฝืด
3. ระบายความรอ้ น
4. ปอ้ งกนั การสึกหรอ
5. ปอ้ งกันสนิมและการกัดกรอ่ น
6. เป็นซลี ป้องกันการรัว่ ไหล
7. ขจดั คราบสกปรกไมใ่ หเ้ กาะตดิ กับช้ินสว่ นโลหะ
8. กระจายคราบสกปรกและสงิ่ เจอื ปนไมใ่ หร้ วมตัวกันเป็นยางเหนียว

70

นา้ มนั หล่อล่ืนทด่ี ีตอ้ งมคี ณุ สมบัติดังนี้

1. ความขน้ ใสเหมาะสม ไมข่ น้ หรือใสจนเกินไป

2. ไม่เป็นฟองไดง้ ่าย

3. คงทนตอ่ ความรอ้ น และทนตอ่ ปฏกิ ริ ิยากับออกซิเจน

4. รบั แรงกดได้สูง

5. เป็นดา่ งอย่างอ่อน

6. มีความสามารถในการชะล้าง

3. อปุ กรณ์ของระบบหลอ่ ลืน่ ประกอบดว้ ย

- ปม๊ั นา้ มันหลอ่ ลน่ื ( Oil Pump)

- เครื่องควบคุมแรงดันน้ามัน ( Oil pressure Regulator )

- หม้อกรองน้ามนั หลอ่ ลืน่ ( Oil Filter )

- อ่างนา้ มันเคร่อื ง ( Oil Pan )

- เคร่อื งหล่อเย็นสาหรบั หล่อลืน่ (Oil Cooler)

พิจารณาวงจรการหลอ่ ลน่ื ของเครอ่ื งยนตด์ ังรปู

3.1 ปั๊มนา้ มันหลอ่ ลนื่ ( Oil Pump ) ปมั๊ น้ชี ่วยในการหมุนเวยี นของนา้ มันเครอ่ื ง

ดูดซบั นา้ มันทกี่ กั อยูใ่ นอา่ งนา้ มัน สรา้ งแรงดัน และสง่ น้ามนั ไปยงั แบรงิ่ ลกู สูบ เพลาลูกเบ้ียว วาล์ว และสว่ นอื่นของ
ปัม๊ น้ามนั หลอ่ ล่นื ทใ่ี ชอ้ ยู่ในปัจจุบนั มี 2 แบบ

2) ปม๊ั น้ามันหลอ่ ลน่ื แบบโรเตอร์ หรือแบบเฟืองดา้ นในลักษณะของปมั๊ นี้ โรเตอร์หรือเฟืองตวั ในจะหมนุ อยู่
ในแหวนโรเตอรห์ รอื เฟืองตัวนอก โดยที่เฟอื งตัวในจะมีฟนั นอ้ ยกว่าเฟอื งตวั นอกหนึง่ ฟัน และเฟอื งตวั ในจะหมนุ กวาด
น้ามันหลอ่ ล่ืนออกไปยังด้านนอก พิจารณาจากรูป

3.2 เครอื่ งควบคมุ แรงดันน้ามนั (Oil Pressure Regulator ) เมือ่ เครอื่ งทางานที่
ความเรว็ สูง เครอ่ื งมือชว่ ยปรับปริมาณน้ามนั เขา้ ไปท่ีเครือ่ งยนตใ์ นจานวนพอเหมาะ เมอื่ ความดันสงู ขนึ้ ลน้ิ ระบาย
ภายในเคร่อื งยนตค์ วบคมุ แรงดนั น้ามันจะเปดิ ปล่อยใหน้ า้ มนั สว่ นเกินไหลกลบั ไปท่อี า่ งนา้ มนั เคร่อื ง ดงั รูป

71
3.3 หมอ้ กรองนา้ มนั ( Oil Filter ) หม้อกรองนา้ มนั จะอยู่กึ่งกลางระหวา่ งวงจรการหล่อลนื่ ซ่งึ จะชว่ ยขจดั
เศษโลหะท่ีมาจากการสกึ กร่อนของชิน้ ส่วนเครอ่ื งยนต์ อันเน่ืองมาจากความฝดื รวมท้งั ฝ่นุ ละอองผงถา่ น และสง่ิ
สกปรก อน่ื ๆ ท่ีตดิ มากับนา้ มัน ถา้ ส่วนประกอบของหมอ้ กรองน้ามนั ( กระดาษกรอง ) ซ่ึงเปน็ ตวั ขจัดส่งิ สกปรกจาก
นา้ มันเกดิ อดุ ตนั จะมลี ้นิ ระบายอยู่ภายในหมอ้ กรองเพอื่ ช่วยใหก้ ารไหลของน้ามนั ไม่ตดิ ขัดในขณะท่ีมีนา้ มันพยายามจะ
ไหลผ่านวัสดุทอ่ี ุดตนั น้ัน พจิ ารณาได้ดงั รูป
3.4 อา่ งน้ามันเครอ่ื ง (Oil Pan) จะเก็บรวบรวมนา้ มันเคร่อื ง สว่ นใหญจ่ ะทาจากแผ่นเหลก็ อัดซ่ึงมสี ่วน
หนึ่งลกึ กวา่ และมแี ผน่ แบ่งตดิ ไว้ภายในเพือ่ ป้องกนั ไมใ่ หน้ ้ามนั กระฉอกไปมา นอกจากนย้ี งั มปี ล๊ักปล่อยนา้ ท้งิ ขา้ งใตอ้ ่าง
นา้ มันเพ่อื ปลอ่ ยนา้ มนั ออกในกรณที เ่ี กดิ ความจาเป็น
ดงั รูป

3.5 เครือ่ งหล่อเยน็ นา้ มันหลอ่ ลื่น ( Oil Cooler ) เครอื่ งยนตด์ เี ซลขนาดใหญ่จะมีปริมาณความร้อนทถ่ี ูก

นามาโดยน้ามนั หลอ่ ล่นื มาก ซึง่ หากจะให้ความร้อนสว่ นนีร้ ะบายออกอ่างนา้ มันหล่อลน่ื กจ็ ะตอ้ งใช้อ่างขนาดใหญ่ นน่ั
ก็หมายความวา่ จาเป็นจะตอ้ งใชป้ รมิ าณของน้ามันหล่อล่ืนมาก ซ่งึ จะทาใหส้ ิ้นเปลอื งคา่ ใชจ้ ่ายในการเปลีย่ นเม่ือครบ
อายุการใช้งาน

ดงั นัน้ เพอื่ เป็นการแก้ปญั หาดงั กล่างเคร่ืองยนต์ดเี ซลขนาดใหญ่จงึ นิยมตดิ ตั้งเครอ่ื งหลอ่ เย็น น้ามันหลอ่ ล่นื
สาหรับเครื่องหล่อเยน็ นา้ มนั หลอ่ ล่ืนทใ่ี ช้กันอยูจ่ ะมี 2 แบบ คือ

1) แบบใช้น้าเป็นตวั หล่อเย็น ( Water Oil Type ) เครื่องหล่อเย็นแบบนจี้ ะใชน้ ้าจากหมอ้ นา้ มาผ่าน
เครอื่ งหลอ่ เยน็ น้าจะนาความรอ้ นจากนา้ มันหล่อล่นื กลบั ไปทหี่ มอ้ นา้ แล้วพัดลมก็จะเป่าลมผา่ นหม้อน้านาความร้อน
ออกจากน้าไปอกี ท่ีหนึ่ง เครื่องหลอ่ เยน็ แบบใช้น้าเปน็ ตัวหลอ่ เย็นนี้อาจติดตง้ั ไวภ้ ายในเคร่ืองยนต์ ซ่งึ นยิ มติดไว้ทก่ี นั
อ่างนา้ มันหล่อเย็น และอาจติดตัง้ ภายในตัวเคร่ืองกไ็ ด้

72
2) แบบใช้อากาศเปน็ ตวั หลอ่ เย็น ( Air Oil Type ) เครื่องหลอ่ เย็นแบบน้เี ปน็ แบบท่ีใชอ้ ากาศที่เปา่ ผ่าน
หมอ้ นา้ เป็นตัวหลอ่ เยน้ ดังนนั้ เครื่องหลอ่ เย็นน้ามันหล่อล่นื แบบนี้จึงติดตัง้ ไวก้ บั หมอ้ นา้ ลักษณะจะเปน็ ท่อขดไปขดมา
ดงั รปู ทง้ั นี้เพอ่ื เพิ่มพื้นทีผ่ วิ ในการสัมผสั อากาศ
4. การแบ่งประเภทนํ้ามันหลอ่ ล่ืนสําหรบั เครื่องยนต์
เพอ่ื ให้เลอื กใช้นา้ มันหลอ่ ล่ืนถูกต้องและเหมาะสมกบั เครือ่ งยนตแ์ ตล่ ะชนดิ สามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะคือ
1. แบง่ ตามลักษณะการใชง้ าน ไดแ้ ก่ การแบง่ ตามมาตรฐานสถาบนั ปโิ ตเลยี มของอเมรกิ า
หรือ API (American Petroleum Institute)

2.แบง่ ตามความฝืด โดยแบ่งตามมาตรฐานสถาบันวศิ วกรรมยายยนตข์ องอเมริกา หรอื
SAE ( Society of Automotive Engineers )

- แบ่งตามลักษณะการใชง้ านแบง่ ได้ 9 ประเภท คือ
1. SA Ulitary Gasoline and diesel Engine Service ใชไ้ ด้ท้งั เครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี
และเครื่องยนต์ท่ไี ม่ต้องการคุณสมบัตินา้ มันสาหรับปอ้ งกนั รักษาเคร่ือง
2. SB Minimum Duty Gosoline Engine Service ใชก้ ับเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี ทใ่ี ชง้ านเบาต้องการ
นา้ มนั ประเภทมีไขชว่ ยหล่อล่นื และปอ้ งกนั ปฏกิ ริ ิยากับออกซเิ จน รวมทง้ั ป้องกนั แบริ่งสึกกรอ่ นดว้ ยซงึ่ เริม่ ใชเ้ มื่อ คศ.
1930
3. SC 1964 Gasoline Engine Warranty Maintenance Service ใชก้ ับเคร่อื งยนต์แกส๊ โซลีน
สาหรับรถร่นุ ปี คศ. 1964 – 1967 ท้ังรถนง่ั และรถบรรทกุ มคี ุณสมบตั ิป้องกนั คราบตะกอนทีอ่ ุณหภูมิสูงและตา่
ปอ้ งกันการสึกหรอ สนิม และการกัดกร่อน ซึง่ ตรงกับมารตฐานทางทหารของอเมรกิ าคอื MIL - L 2104 C

4. SD 1968 Gasoline Engine Warranty Maintenance Service ใช้กับเครื่องยนต์แกส๊
โซลนี สาหรับร่นุ ปี คศ. 19968 - 1971 ทง้ั รถน่ังและรถบรรทุก ทีม่ ีคุณสมบัติสงู กว่าระดับ SC
5. SE 1972 Gasoline Engine Warranty Maintenance Service ใช้กับเครื่องยนต์แก๊สโซลนี สาหรับร่นุ ปี
คศ. 1972 ข้นึ ไป ทั้งรถนง่ั และรถบรรทกุ มีคุณสมบัติป้องกันเครือ่ งยนตไ์ ด้สูง เชน่ ป้องกนั ปฏกิ ิรยิ าออกซเิ จน
ปอ้ งกันคราบตะกอนที่อณุ หภูมิสงู ปอ้ งกนั สนิมและการกัดกร่อน และมคี ุณสมบัตสิ ูงกว่าระดับ SD และ SC
ซง่ึ ตรงกบั มาตรฐานทางทหารของอเมรกิ าคอื MIL - L - 46152

6. CA Light Duty Diesel Engine Service ใช้กบั เคร่อื งยนตท์ ่ีใชง้ านเบา และเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี ทีใ่ ช้
งานขนาดปานกลาง สาหรบั รถรุ่นปี คศ. 1940 -1950 มีคณุ สมบัติการกัดกรอ่ นและป้องกนั คราบตะกอนท่ี
อณุ หภูมิสงู ตรงกบั มาตรฐานทางทหารของอเมริกา คอื MIL -L- 2104 A ท่ปี ระกาศใช้เม่อื ปี คศ 1954 และได้
ยกเลกิ แลว้

7. CB Moderate Duty Diesel Engine ใช้กบั เครอ่ื งยนต์ ดเี ซลที่ใช้งานเบาขนาดปานกลาง มี
คุณสมบตั ิ ป้องกนั การสกึ หรอและคราบตะกอน และยังใช้กับเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีนทใี่ ชง้ านเบาไดอ้ ีกดว้ ย

8. CC Moderate Duty Diesel and Gasoline Engine Service ใชเกับเคร่ืองยนต์ดเี ซลซเู ปอร์
ชาร์จเจอร์และเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี ทใี่ ช้งานปานกลางสาหรับรถบรรทกุ เคร่อื งยนต์สาหรบั อตุ สาหกรรมและรถ
แทรกเตอร์ มีคุณสมบัติป้องกันคราบตะกอนที่อุณหภมู ิสงู ปอ้ งกันสนิม และการกัดกรอ่ นสาหรับเครื่องยนต์ดเี ซล
ซูเปอรช์ าร์จเจอร์ และปอ้ งกันคราบตจะกอนท่อี ุณหภูมติ า่ ในเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี

73

9. CD Servere Duty Diesel Engine Service ใช้กับเครือ่ งยนตด์ เี ซลซเู ปอร์ชารจ์ เจอร์หมุนรอบสูง

ที่ใชง้ านหนัก มีคุณสมบัตปิ อ้ งกันการสกึ หรอและคราบตะกอน ป้องกันการกดั กร่อน และคราบตะกอนทอ่ี ุณหภมู สิ งู

เมื่อใช้นา้ มนั เช้อื เพลงิ คุณภาพต่า ซ่ึงตรงกบั มาตรฐาน Superior Lubricant (Series 3 ) ของบริษทั แคทเตอร์

พิลลา่ ร์ และมาตรฐานทางทหารของอเมริกา คือ MIL - L 2104C

- แบง่ ตามความหนดื ซงึ่ นิยมแบ่งตามมาตรฐานทางวศิ วกรรมยานยนตข์ องอเมริกา โดยจะแบ่งออกเปน็

4 ประเภท เรม่ิ ตงั้ แตน่ า้ มันท่ีมคี วามหนดื น้อยจนถึงความหนดื มาก คอื 5W , 10W, 15W, 20W, 20, 30

, 50, 75W, 80W, 90, 140 และ 250

5. คําศัพทร์ ะบบหลอ่ ลืน่

ระบบวดิ สาด Spash System

ระบบใชแ้ รงดัน Pressure System
ระบบใช้แรงดนั และกนั สาด Pressure and Spash System
ป๊มั นา้ มนั หลอ่ ล่ืน Oil Pump
เครอ่ื งควบคุมปมั๊ น้ามนั หล่อล่นื Oil Pressure Regulator
หมอ้ กรองนา้ มันหล่อลื่น Oil Filter
อ่างนา้ มันหล่อลื่น Oil Pan
เคร่อื งหล่อเย็นน้ามันหล่อลื่น Oil Cooler
สถาบนั วิศวกรรมยานยนต์ของอเมรกิ า Society of Automotive Engineers

74

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยที่.......7..........
ชอ่ื หนว่ ย ระบบหล่อลืน่ สอนครง้ั ท่ี.............

ชั่วโมงรวม.............
ช่ัวโมงรวม.............

5.1 การนาํ เขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครูสมุ่ นักเรียน 4- 5 คน ซกั ถามเกย่ี วกับหน้าท่ีของระบบหลอ่ ล่นื ในเครอ่ื งยนต์

5.2 การเรียนรู
1. ครูอธิบายหน้าท่ีของระบบหลอ่ ล่นื ในเครอ่ื งยนตใ์ หน้ กั เรียนฟงั
2. ครูอธิบายชนดิ ของการหลอ่ ลนื่ ใหน้ ักเรยี นฟงั
3. ครใู ห้นักเรียนดแู ผ่นใส่รูปภาพอปุ กรณ์ของระบบหล่อล่นื แล้วให้บอกชอ่ื และหนา้ ทขี่ องอปุ กรณ์เหลา่ นั้น
4. ครอู ธิบายแผน่ ใสรปู ภาพใหน้ กั เรียนฟังอธิบายเสรจ็ เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนซักถามขอ้ สงสัย
5. ครอู ธิบายการแบง่ ประเภทของนา้ มนั หลอ่ ลนื่ สาหรบั เครือ่ งยนตใ์ หน้ กั เรียนฟัง อธบิ ายเสรจ็ ซกั ถามความ

เขา้ ใจนกั เรยี นเกยี่ วกับนา้ มันหลอ่ ล่ืนที่ใชก้ ับเครอื่ งยนต์ประเภทต่าง ๆ ทีละคน
6. ครบู อกคาศพั ท์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั ระบบหลอ่ ลื่นให้นกั เรยี นฟงั

5.3 การสรปุ
. ครูสรุปเนอื้ หาทัง้ หมดให้นกั เรียนฟงั เสร็จแล้วซักถามความเขา้ ใจอกี ครงั้
2. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซกั ถามปญั หาข้อสงสัยต่าง ๆ อีกครง้ั หนง่ึ

3.ครูให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ส่งท้ายชว่ั โมง

5.4 การวัดและประเมินผล
- ความตรงต่อเวลา
- ความรับผดิ ชอบตอ่ งานท่ีมอบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สงั เกตความสนใจในห้องเรียน

75

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หนวยท่.ี .......7.........
ช่อื หนวยระบบหล่อลื่น สอนคร้ังท่ี.............

ชว่ั โมงรวม.............
ช่วั โมงรวม.............

6.ส่ือการเรยี นรู/แหลงการเรียนรู
6.1 ส่ือสิง่ พิมพ

1. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 7 ระบบหลอ่ ล่ืน
2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบ 7

6.2 ส่อื โสตทศั น (ถามี)
1. เครอื่ งฉาย projector
2. PowerPoint เรอ่ื ง ระบบหล่อลืน่

6.3 หนุ จาํ ลองหรือของจริง (ถาม)ี
1. เครอื่ งยนต์ดีเซล
2. รถโตโยตา้ วโี ก้

6.4 อื่นๆ (ถาม)ี
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1. ใบความรู
2. ใบงาน
8. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธกับวิชาอืน่
1. ภาษาอังกฤษและการส่อื สาร
2. ไฟฟา้ และอิเลค็ โทรนคิ เบ้ืองต้น

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 76
ช่ือหนวย ระบบหล่อล่ืน หนวยท่ี........7.........
สอนครง้ั ท่ี.............

ชั่วโมงรวม.............
ชว่ั โมงรวม.............

9. การวัดและประเมินผล
9.1 กอนเรยี น

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรียน
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลงั เรียน
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................
.................................................................................................... ...........................................................................

10. บนั ทึกหลังสอน
10.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้

............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..................................................

77

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยที่.......7..........
ชือ่ หนวย ระบบหล่อล่ืน สอนคร้งั ท่ี.............
ชัว่ โมงรวม.............

ชั่วโมงรวม.............

10.2 ผลการเรยี นรูของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
......................................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................ ...................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
10.3 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู
.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................. ..................................................... .........................

............................................................................................................................. ....................................................

....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................
....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................

78

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยท่ี..........8.......

ชอื่ หน่วย ระบบระบายความร้อน สอนครง้ั ท่ี.............
ชวั่ โมงรวม.............

จํานวนช่วั โมง..........

1. สาระสาํ คญั
ระบบระบายความรอ้ นมีความสาคัญอยา่ งยงิ่ ในการทจี่ ะช่วยลดอณุ หภูมิของเครอ่ื งยนตล์ งเพอื่ ป้องกัน

ไม่ให้ชิ้นสว่ นของเคร่อื งยนต์ชารดุ เสยี หาย ระบบระบายความร้อนที่ใช้กันมอี ยู่ 2 แบบคอื แบบใช้อากาศและแบบใช้
ของเหลว เพ่อื ให้เขา้ ใจหลกั การทางานของระบบระบายความร้อนท้ังสองแบบ จงึ จาเป็นจะต้องศกึ ษาเกย่ี วกับระบบ
ระบายความรอ้ น
2.สมรรถนะประจําหน่วย

แสดงความรเู้ ก่ียวกบั การการขับรถบนทางแยก ทางแยกแบบตวั T ทางแยกแบบตวั Y
การเขา้ สู่ทางแยกแบบต่างๆ ข้อควรปฏิบัติอย่างปลอดภัยในการขบั รถเขา้ สู่ทางแยก การเขา้ รว่ มเส้นทาง การขับ
รถยนตเ์ ข้าสู่ทางวงเวยี นได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
3.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ดานความรู
1. เพอ่ื ใหม้ ีความรูค้ วามเข้าใจหน้าทขี่ องระบบระบายความร้อน
2. เพอื่ ใหม้ คี วามรูค้ วามเขา้ ใจประโยชน์ของการระบายความร้อน
3. เพอื่ ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับระบบระบายความรอ้ นและข้อดีข้อเสียของระบบระบายความรอ้ น
แบบต่างๆ
4. เพอื่ ให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจคาศพั ท์ระบบระบายความร้อน
5. เพือ่ ให้เห็นคุณคา่ ของระบบระบายความรอ้ น

3.2 ดานทักษะ
1. สามารถบอกหนา้ ทีข่ องระบบระบายความร้อน
2. สามารถบอกประโยชน์ของระบบระบายความรอ้ นได้
3. สามารถอธบิ ายเกี่ยวกบั ระบบระบายความร้อนแบบต่างๆและบอกขอ้ ดีข้อเสียได้
4. สามารถบอกคาศัพท์ท่ีเก่ยี วข้องกบั ระบบระบายความร้อนและนาไปใช้ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

3.3 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค
1. นกั เรยี นมีความสนใจฝักใฝ่ในการเรียนรู้
2. นักเรียนเข้าเรยี นตรงตามเวลา
3. นักเรียนทางานเสร็จสมบูรณ์และส่งตามเวลา
4. นกั เรียนกล้าแสดงออกในการเรียนรู้นาเสนองาน
5. นักเรียนใชเ้ คร่อื งมอื การใช้รถฝกึ หัดขบั ด้วยความปลอดภยั ประหยัด รอบคอบ คุ้มค่า

79

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยที่........8........

ชอ่ื หน่วย ระบบระบายความรอ้ น สอนครง้ั ท่ี.............
ช่ัวโมงรวม.............

ชว่ั โมงรวม.............

4.เนื้อหาสาระการเรียนรู้

ระบบระบายความรอ้ น
เครอื่ งยนตด์ ีเซลเป็นเคร่อื งยนตท์ ี่ทาหน้าท่ีเปล่ียนพลังงานเคมีที่สะสมไว้ในตัวเช้ือเพลิงใหเ้ ปน็ พลังงานความ

ร้อนและเป็นพลงั งานกล เพอื่ นาไปใชง้ านในที่สุดน้ี ความรอ้ นทเี่ กิดจากการเผาไหม้ระหวา่ งเช้อื เพลงิ และอากาศ ไม่
สามารถเปล่ียนใหเ้ ป็นพลงั งานกลไดท้ งั้ หมด ซึ่งโดยท่วั ไปแล้วถา้ คิดค่าความรอ้ นทเ่ี กดิ จากการเผาไหม้ทัง้ หมดเปน็ 100
สว่ น จะสามารถเปลีย่ นเปน็ พลังงานกลเพ่อื นาไปใช้งานได้เพยี งประมาณ 30 ส่วน ดังนั้นจึงมีความร้อนเหลืออย่อู กี 40
สว่ น ทตี่ อ้ งระบายให้ได้ มฉิ ะนัน้ ความร้อนทสี่ ะสมก็จะทาใหช้ นิ้ ส่วนต่างๆของเคร่ืองยนต์มีอณุ หภมู ิสูงจนอาจเกดิ การ
หลอมละลายตติ ตายและชารุดจนใช้งานไมไ่ ด้ในที่สุด ด้วยเหตุนจ้ี ึงจาเป็นทีจ่ ะต้องอุปกรณ์ ตา่ งๆ มาใช้ในการระบาย
ความร้อนออกไปจากเครือ่ งยนต์ซงึ่ เรียกวา่ ระบบระบายความรอ้ น นน่ั เอง
1. หน้าท่ีของระบบระบายความร้อน

เคร่ืองยนตท์ ุกชนดิ จะทางานได้ดกี ย็ ่อมขึ้นอยู่กับการนาเอาความรอ้ นออกไปจากกระบอกสูบ ลกู สูบ และล้ิน
ในขณะทเ่ี ครือ่ งยนตเ์ ดนิ เคร่อื ง การระบายความร้อนจากระบบ ความรอ้ นจากเคร่ืองยนตจ์ ะถูกจากัดไว้ท่อี ณุ หภมู ิ
ทางาน ถา้ อุณหภูมขิ องกระบอกสบู สูงมากเกินไปน้ามันหลอ่ ล่นื จะกลายเปน็ ไอ ลูกสบู จะเสียดสกี บั กระบอกสูบ ทาให้
เกิดการสกึ หรอ

ระบบระบายความรอ้ นของเครอื่ งยนตม์ ีความสาคัญ เครื่องยนต์จะทางานไดด้ ีทสี่ ุดคอื ท่ีอณุ หภูมิทางาน ซง่ึ อยู่
ระหวา่ ง 80 – 90 องศาเซลเซียส ระบบระบายความรอ้ นที่ทางานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพจะตอ้ งขจดั ความรอ้ นได้
ประมาณ 30 % ของความรอ้ นทเี่ กิดขึน้

ระบบระบายความร้อน มหี น้าทีส่ าคญั พอสรุปได้ดงั น้ี
1. เพือ่ ป้องกันไม่ใหเ้ ครอ่ื งยนต์ร้อนจัดจนเกินไป ช้ินสว่ นต่างๆของเคร่ืองยนตถ์ ูกออกแบบใหท้ างานภายใต้อณุ หภมู ทิ ี่
กาหนด ดงั นน้ั หากอณุ หภูมิสูงจนเกินไป จะทาใหช้ ิ้นสว่ นของเครอ่ื งยนตบ์ างช้นิ หลอมละลาย ระบบระบายความร้อน
จึงนาเอาความร้อนส่วนทเ่ี กนิ ออกไป
2. เพ่อื ควบคมุ อณุ หภูมขิ องตัวเคร่อื งให้อยูใ่ นระดบั ทเ่ี หมาะสมตอ่ การทางาน หากเครื่องยนตร์ ้อนเกนิ ไป ช้นิ สว่ นของ
เครอ่ื งยนตอ์ าจหลอมละลาย แต่ถ้าเคร่ืองยนต์เยน็ เกนิ ไป ชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์จะเกิดการสกึ หรอ เนอ่ื งจากระบบ
หลอ่ ลน่ื ทางานได้ไมเ่ ต็มที่
2. ประโยชน์ของการระบายความร้อน

เครื่องยนต์ทม่ี ีความร้อนทีอ่ ุณหภมู ิทางานจะทาให้การทางานของเคร่ืองยนตม์ ีประสทิ ธิภาพ ประโยชนข์ องการ
ระบายความร้อนคอื

1. การกลนั่ ตวั เป็นหยดน้าของไอนา้ ทีเ่ กิดจากการสนั ดาปหมดไปทาใหเ้ ยือ่ บางของนา้ มนั หลอ่ ล่ืนขา้ งกระบอกสบู ไม่

ตอ้ งถกู ชะลา้ ง

2. น้ามนั หล่อลื่นมีความหนดื น้อยลง น้ามันท่ีฉาบไล้กระบอกสูบใสขึน้ ความฝดื จากความหนืดของน้ามันหลอ่ ลื่น

น้อยลง ทาให้เคร่อื งยนต์ทางานมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ 80
3. ยดื อายุการทางานของน้ามนั หล่อลนื่ และไมท่ าให้นา้ มนั หลอ่ ลน่ื เปน็ ตะกอน

4. ยืดอายกุ ารทางานของแหวนลูกสูบและกระบอกสูบใหใ้ ช้งานได้ยาวนานขึ้น

5. ลดความส้ินเปลอื งของเช้อื เพลิง

3. แบบของระบบระบายความรอ้ น

3.1 ระบบระบายความร้อนด้วยอากาศ โดยจะใหอ้ ากาศไหลผา่ นเครอื่ งยนต์ โดยถ่ายเทความร้อนออกจาก

เคร่อื งยนต์ไปกับอากาศโดยตรง กระบอกสบู และฝาสบู ทาจากโลหะผสมโดยทาเป็นครบี ไวโ้ ดยรอบ ระบบระบายความ

ร้อนด้วยอากาศแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 แบบคือ

- ระบบระบายความร้อนโดยใชล้ มปะทะ โดยปกติทวั่ ๆไปใช้กบั รถจักรยานยนต์ การระบายความร้อนจะมากหรือ

น้อยข้นึ อย่กู บั ความเรว็ ของรถท่ีขับข่ี

- ระบบระบายความร้อนโดยใช้พัดลม ทาได้โดยใช้ฝาครอบที่เครือ่ งยนตบ์ งั คับทิศทางของลมให้ไหลวนไปตาม

ทศิ ทางท่ตี ้องการระบายความรอ้

ข้อดีและขอ้ เสยี ของระบบระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ

ข้อดี ขอ้ เสีย

1. มนี ้าหนกั ต่อแรงมา้ ต่า 1. เสยี งเครือ่ งยนต์ดังกวา่

2. มีการทางานท่แี นน่ อน 2. พัดลมตอ้ งการทางานท่ีสูงกวา่

3. ใหอ้ ุณหภูมิการทางานที่สูงกวา่ จึงปอ้ งกันการ 3. อณุ หภูมทิ างานในแต่ละสูบไมเ่ ทา่ กนั หรอื

เกิดสนมิ เปลีย่ นแปลงแตกตา่ งกนั

3.2 ระบบระบายความรอ้ นดว้ ยของเหลว สว่ นมากจะใช้นา้ เพ่อื ใหไ้ หลผ่านชอ่ งตา่ งๆ ทจ่ี ัดทาข้ึนใน

ตัวเครื่องยนต์ เพ่ือใหค้ วามรอ้ นจากเครื่องยนต์ถ่ายเทใหก้ ับน้า แลว้ น้าทร่ี อ้ นจะไหผา่ นหมอ้ นา้ ความรอ้ นจากนา้ จะ
81
ถกู ถ่ายเทให้กับอากาศ หลงั จากนนั้ น้ากจ็ ะไหลกลับเข้าเครอ่ื งยนต์อีก

1. หมอ้ นา้ หนา้ ทีส่ าคัญคอื ทานา้ ในหมอ้ นา้ ให้เย็นลงและเป็นที่เก็บนา้ ดว้ ย โดยจะคลายความร้อนไปที่ส่วนของ
รังผึ้ง ผวิ หน้ารังผึ้งจะเป็นตัวระบายความร้อน ผิวหนา้ รังผ้งึ ผ่านการออกแบบเปน็ พิเศษ บนรังผง้ึ หม้อน้า
ดา้ นบนประกอบด้วยคอเตมิ น้า ฝาปดิ หมอ้ นา้ ท่อน้าลน้ ให้ไอนา้ สว่ นดา้ นลา่ งจะมกี ๊อกเปิดน้าทง้ิ และจะมีท่อ
นา้ รอ้ น ตอ่ ระหว่างเคร่อื งยนต์กบั หม้อน้า และอปุ กรณ์รดั ทอ่ ให้ติดแน่นกับทอ่ นา้ ออกและน้าเขา้ รังผึง้

รปู ที่ 9.3 หมอ้ นํา้
2. ถังน้าส้ารอง ระบบระบายความรอ้ นด้วยน้าจะต้องมถี ังนา้ สารอง เพือ่ ให้นา้ ในหม้อนา้ ขยายตัวได้ โดยจะมที ่อ
น้าที่ออกจากคอหม้อนา้ น้าหล่อเยน็ ในระบบระบายความรอ้ นจะขยายตวั เม่ือมคี วามร้อนสูงข้นึ น้าในหมอ้ นา้ จะถกู สง่
เข้าไปในถงั นา้ สารอง

เมือ่ เคร่อื งยนต์หยุดการทางาน น้าในระบบระบายความรอ้ นจะไมม่ แี รงดัน หมอ้ น้าจึงเกดิ สุญญากาศดดู ให้น้า
จากถงั นา้ สารองไหลกลบั เข้าหม้อน้า จึงทาให้นา้ ในระบบระบายความร้อนยังคงรกั ษาระดับเอาไว้ได้

3. ยางทอ่ น้า ยางท่อน้าทน่ี ามาใช้กบั ระบบระบายความร้อนดว้ ยน้า จะต้องคานงึ ถงึ อณุ หภูมคิ วามรอ้ นและแรงดันท่ี
เกดิ ขึ้นภายในระบบ ยางท่อน้าที่ผลิตขึน้ จะตอ้ งประกอบด้วยยาง ชัน้ ผา้ ใบ และขดลวดเหล็กกล้า

รปู ที่ 9.5 ยางท่อนาํ้

4. ฝาปดิ หมอ้ น้า ทน่ี ยิ มใช้กบั เคร่ืองยนตโ์ ดยทวั่ ไป เป็นฝาปิดแบบรกั ษาความดนั เพือ่ ทาหนา้ ท่ีเพ่ิมแรงดันในระบบ
ใหส้ งู ขึน้ และรกั ษาแรงดนั ให้คงสภาพ การเพิ่มแรงดันในระบบจะทาให้จุดเดือดของนา้ สูง นา้ ที่ใช้ในระบบจะต้องมี


Click to View FlipBook Version